You are on page 1of 113

สาขา: เหมืองแร วิชา: MN17 Metallurgy of Metal Joining

ขอที่ : 1


การสงถายน้ําโลหะในการเชื่อมโดยใชกาซคลุม (MIG/MAG) แบบไหนที่ใหการซึมลึกต่ําที่สุด

่ า
คําตอบ 1 : แบบเม็ดโต (Globular)


คําตอบ 2 : แบบพน (Spray)

ํจาห
คําตอบ 3 : แบบลัดวงจร (Short Circuit)
คําตอบ 4 : แบบพัลส (Pulse)

้ าม
ขอที่ : 2

ิธ์ ห
กาซคลุมใดที่ไมเหมาะสมสําหรับการเชื่อมทิก(TIG)
คําตอบ 1 : อารกอน
คําตอบ 2 : ฮีเลียม

สิท
คําตอบ 3 : คารบอนไดออกไซด


คําตอบ 4 : อารกอน/ฮีเลียม

ขอที่ :

ง ว

3
ธาตุใดที่ถูกใสเขาไปในทังสเตนบริสุทธิ์เพื่อใชทําแทงอิเลคโตรดสําหรับการเชื่อมทิก (TIG)

ขอ
คําตอบ 1 : ทอเรียม (Thorium)


คําตอบ 2 : เซอรโคเนียม (Zirconium)


คําตอบ 3 : โคลัมเบียม (Columbium)


คําตอบ 4 : ทอเรียม (Thorium) และเซอรโคเนียม (Zirconium)

าวศ

ขอที่ : 4

สภ
ขอความใดถูกตองเกี่ยวกับงานเชื่อม
คําตอบ 1 : บอหลอมละลายรอยเชื่อมมีอัตราการเย็นตัวสูง
คําตอบ 2 : การหลอมละลายและการแข็งตัวเกิดขึ้นอยางตอเนื่องกัน
คําตอบ 3 : การแข็งตัวของบอหลอมจะเริ่มจากผนังของบอหลอมซึ่งติดกับเนื้อโลหะชิ้นงาน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 5 1 of 113
กรรมวิธีการเชื่อมใดเหมาะสําหรับการเชื่อมยัดไส (root pass) ในทอไอน้ํา
คําตอบ 1 : การเชื่อมแบบอารคใตฟลักซ
คําตอบ 2 : การเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟลักซ
คําตอบ 3 : การเชื่อมทิก


คําตอบ 4 : การเชื่อมมิก/แมก

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 6
ในการเชื่อมงานโครงสรางทางวิศวกรรม เชน ตึกหรือสะพาน ทานคิดวาควรใชลวดเชื่อมหุม ฟลักซ ชนิดใด
คําตอบ 1 : ชนิดรูไทล


คําตอบ 2 : ชนิดไฮโดรเจนต่ํา

้ า
คําตอบ 3 : ชนิดเซลลูโลส

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ชนิดฟลักซเปนกรด

ิท
ขอที่ : 7


Ferro-Manganese ในลวดเชื่อมหุมฟลักซ มีหนาที่อะไร

วน
คําตอบ 1 : เพิ่มคาความแข็งแรงใหกับเนื้อเชื่อม


คําตอบ 2 : ชวยลดออกซิเจนในเนื้อเชื่อม


คําตอบ 3 : ชวยลดปริมาณไฮโดรเจนในเนื้อเชื่อม


คําตอบ 4 : ชวยปองกันการขึ้นสนิมในเนื้อเชื่อม

ขอที่ :

ก ร8


ในการเชื่อมทิกเหล็กกลาชนิดหนึ่ง ใชกระแส 110A ใชแรงดันเชื่อม 15V และความเร็วในการเชื่อม 10 cm./min. ใหหาคาความรอนเขา (Heat Input) ในการ



เชื่อมนี้


คําตอบ 1 :


10.9 kJ/cm.
คําตอบ 2 :

สภ
7.9 kJ/cm.
คําตอบ 3 : 8.9 kJ/cm.
คําตอบ 4 : 9.9 kJ/cm.

ขอที่ : 9
ประโยชนของการเชื่อมคือ อะไร
คําตอบ 1 : ใชเชื่อมโลหะสองชนิดที่เหมือนกัน
2 of 113
คําตอบ 2 : ใชเชื่อมโลหะสองชนิดที่ไมเหมือนกัน
คําตอบ 3 : ก และ ข
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

่ าย
ขอที่ : 10


ขอใดตอไปนี้คือขอดีของการเชื่อม

ํจาห
คําตอบ 1 : การเชื่อมมีตนทุนต่ํากวาการตอโลหะวิธีอื่น
คําตอบ 2 : โลหะสองชนิดที่เหมือนและไมเหมือนกันตอกันได
คําตอบ 3 : ชางเชื่อมตองผานการทดสอบ


คําตอบ 4 : ตองมีการเตรียมรอยกอนการเชื่อม

ขอที่ : 11

ิธ์ ห้ า
ขอใดที่เปนปจจัยสําคัญทําใหรอยเชื่อมตอกันสมบูรณ

ิท
คําตอบ 1 : พลังงาน


คําตอบ 2 : ลวดเชื่อม

วน
คําตอบ 3 : ความดัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

อ ส

12


โลหะแบงเปนกี่กลุม อะไรบาง


คําตอบ 1 : 2 กลุม เหล็กและนอกกลุมเหล็ก


คําตอบ 2 : 2 กลุม โลหะเบาและโลหะหนัก



คําตอบ 3 : 2 กลุม โลหะทนและไมทนอุณภูมิสูง

าว
คําตอบ 4 : 2 กลุม โลหะผสมและโลหะไมผสม

สภ
ขอที่ : 13
การเชื่อมวิธีใดที่ไมใชแรงกดดันหรือความดัน
คําตอบ 1 : การเชื่อมใชความตานทาน (Resistance welding)
คําตอบ 2 : การเชื่อมดวยการอารกไฟฟา
คําตอบ 3 : การเชื่อมดวยการทุบ (Force welding)
คําตอบ 4 : การเชื่อมดวยคลื่นอุลตราโซนิก
3 of 113
ขอที่ : 14
อะไร คือ สาเหตุของอุบัติเหตุในการเชื่อม
คําตอบ 1 : ทํางานเหนือความสามารถ


คําตอบ 2 : ขาดความรูเพียงพอในงานนั้น

่ า
คําตอบ 3 : เรงรีบใหงานเสร็จ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 15

ํจาห

ขอตอไปนี้ขอใด คือสิ่งที่ตองพึงระวัง สังเกตในการเชื่อม

้ า
คําตอบ 1 : เปลี่ยนขนาดกระแสตองปดสวิชทเครื่องเชื่อม

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : มองอารกดวยตาเปลา
คําตอบ 3 : ใชโตะสําหรับงานเชื่อม

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส

ขอที่ : 16


เมื่อมีผูประสบอุบัติเหตุในงานเชื่อม การชวยเหลือผูปวยเบื้องตน (First aid) คือ อะไร


คําตอบ 1 : การชวยเหลือผูปวยบรรเทาอาการบาดเจ็บ


คําตอบ 2 : การชวยเหลือผูปวยกอนถึงมือแพทย


คําตอบ 3 : การชวยผูปวยกอนสงโรงพยาบาล


คําตอบ 4 : การปฐมพยาบาลผูปวย

วก


ขอที่ : 17


กาซที่ไมสรางปญหารูพรุนในรอยเชื่อม คือ


สภ
คําตอบ 1 : ไนโตรเจน อารกอน
คําตอบ 2 : คารบอนไดออกไซด ออกซิเจน
คําตอบ 3 : อารกอน ฮีเลียม
คําตอบ 4 : ออกซิเจน ไนโตรเจน

ขอที่ : 18
ขอตอไปนี้คือ เชื้อเพลิงใชในการเชื่อมดวยกาซ (Gas welding)
4 of 113
คําตอบ 1 : กาซออกซิเจน และ กาซอะเซติลิน
คําตอบ 2 : กาซอะเซติลิน และ กาซธรรมชาติ
คําตอบ 3 : กาซธรรมชาติและ LPG
คําตอบ 4 : LPG และ CNG

่ าย

ขอที่ : 19

ํจาห
คา Brittle temperature range (BTR) คือ
คําตอบ 1 : ความแตกตางของจุดหลอมเหลวขณะเหล็กเย็นตัว
คําตอบ 2 : ชวงอุณหภูมิการแข็งตัวของโลหะ


คําตอบ 3 : ชวงอุณหภูมิที่เกิดการแตกราวขณะรอน

้ า
คําตอบ 4 : ชวงอุณหภูมิระหวาง NDT และ NST

ขอที่ : 20
ิธ์ ห
ิท
ทําไมตองเคลือบผิวลวดเชื่อมเหล็กดวยทองแดง


คําตอบ 1 : เพื่อปองกันสนิม

วน
คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของเนื้อเชื่อม


คําตอบ 3 : เพื่อการนําไฟฟาที่ดี


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ร ข
21


การตัดโลหะควรใชวิธีการตัดดวยเปลวไฟเหมาะสม ขอใดถูก


คําตอบ 1 : Oxy-acetylene กับ เหล็กกลาคารบอน เหล็กหลอ



คําตอบ 2 : Metal powder oxygen cutting กับ ทองแดง

าว
คําตอบ 3 : Flux injection cutting กับ เหล็กกลาไรสนิม เหล็กผสมสูง

สภ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 22
อะไรคือ การเชื่อมโลหะดวยอารกไฟฟา
คําตอบ 1 : การตอโลหะสองชนิดโดยใหกระแสไฟฟาไหลผาน
คําตอบ 2 : การไหลของอิเล็กตรอนระหวางขั้วโลหะบวกและลบ
คําตอบ 3 : กระแสไฟฟาแรงสูงไหลผานขั้วโลหะสองขั้ว 5 of 113
คําตอบ 4 : การไหลของกระแสผานชองวางโลหะ

ขอที่ : 23


การตอโลหะในสภาวะที่โลหะแข็งจําเปนตอง

่ า
คําตอบ 1 : อุณหภูมิสูงกวาจุด Recrystallization แตไมถึงจุดหลอมเหลว


คําตอบ 2 : ตองกําจัดผิวออกไซดและคราบสิ่งสกปรก

ํจาห
คําตอบ 3 : ความดัน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

้ าม
ขอที่ : 24

ิธ์ ห
ขอตอไปนี้คือ ไมใชกระบวนการตอโลหะขณะที่โลหะเปนของแข็ง
คําตอบ 1 : Frictions stir welding
คําตอบ 2 :

ิท
Ultrasonic welding
คําตอบ 3 :


Upset welding
คําตอบ 4 :


Diffusion welding

ขอที่ : 25

ง ว

การเชื่อมแบบ Spot welding ใชในอุตสาหกรรมใดมากสุด

ขอ
คําตอบ 1 : ประกอบรถยนต


คําตอบ 2 : ประกอบตูเย็น หองเย็น


คําตอบ 3 : ประกอบอุปกรณ เครื่องมือ จากโลหะแผน


คําตอบ 4 : ประกอบเครื่องใชไฟฟา

าวศ

ขอที่ : 26

สภ
อะไร คือ ขอดีของการเชื่อมอารกในบรรยากาศกาซเฉื่อย
คําตอบ 1 : สามารถเชื่อมไดดวยมือและใชระบบอัตโนมัติ
คําตอบ 2 : มองเห็นอารกได
คําตอบ 3 : การเชื่อมเสร็จสิ้นเองดวยตัวมันเอง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 27 6 of 113
กาซชนิดใดใชกับการเชื่อมทิก
คําตอบ 1 : อารกอน ไนโตรเจน ออกซิเจน
คําตอบ 2 : อารกอน ฮีเลียม คารบอนไดออกไซด
คําตอบ 3 : อารกอน ฮีเลียม ไฮโดรเจน


คําตอบ 4 : อารกอน ฮีเลียม ซีนอน

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 28
ขอดีของการเชื่อมแบบมิก คือ
คําตอบ 1 : ความเร็วเชื่อมสูง


คําตอบ 2 : ไมจําเปนตองทําความสะอาดสแลก

้ า
คําตอบ 3 : รอยซึมลึกสูง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 29


การเชื่อมมิกตางจากการเชื่อมแมก คือ

วน
คําตอบ 1 : กาซปกคลุม


คําตอบ 2 : การเชื่อมแมกมี Spatter มากกวา


คําตอบ 3 : การเชื่อมมิกใหรอยซึมลึกสูง


คําตอบ 4 : การเชื่อมแมกสามารถใชความเร็วไดสูงกวา

ขอที่ :

ก ร ข
30


โดยทั่วไปมีหลักการเลือกลวดเชื่อมอยางไร



คําตอบ 1 : ใหคาความแกรงสูงกวาเนื้อโลหะเดิม

าว
คําตอบ 2 : ใหความแข็งแรงสูงกวาเนื้อโลหะเดิม

สภ
คําตอบ 3 : มีสวนผสมเคมีใกลเคียงกับเนื้อโลหะเดิม
คําตอบ 4 : มีไฮโดรเจนต่ํา

ขอที่ : 31
กาซชนิดใดใชกับการเชื่อมมิก (MIG) และ แมก (MAG)

คําตอบ 1 : อารกอน ไนโตรเจน ออกซิเจน


คําตอบ 2 : อารกอน ออกซิเจน คารบอนไดออกไซด 7 of 113
คําตอบ 3 : อารกอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน
คําตอบ 4 : อารกอน ฮีเลียม คารบอนไดออกไซด


ขอที่ : 32

่ า
อะไรคือขอแตกตางระหวาง บัดกรีออน และบัดกรีแข็ง


คําตอบ 1 : ความแข็งแรงของรอยบัดกรีแข็งสูงกวา

ํจาห
คําตอบ 2 : อุณหภูมิบัดกรีออนใกลจุดยูเทกติก
คําตอบ 3 : โลหะที่ถูกตอไมละลาย
คําตอบ 4 : ลวดบัดกรีแข็งทําดวยทองเหลือง

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 33
สวนผสมของลวดบัดกรีออน คือ
คําตอบ 1 :

ิท
Pb/Sn = 50/50
คําตอบ 2 :


Pb/Sn = 60/40
คําตอบ 3 :


Pb/Sn/ = 63/37


คําตอบ 4 : Pb/Sn = 70/30

ขอที่ :

สง

34
รอยตอแบบ Lab Joint ใชกับเหล็กแผนหนา

ร ข
คําตอบ 1 : ไมเกิน 2 มม.


คําตอบ 2 : ไมเกิน 3 มม.


คําตอบ 3 : ไมเกิน 4 มม.



คําตอบ 4 : ไมเกิน 5 มม.

าว
สภ
ขอที่ : 35
ลวดเชื่อม AWS 7018- R หมายถึง
คําตอบ 1 : หุมฟลักซชนิดเซลลูโลส ความแข็งแรงเนื้อเชื่อม 70,000 psi
คําตอบ 2 : หุมฟลักซชนิดรูไทล ความแข็งแรงเนื้อเชื่อม 70,000 psi
คําตอบ 3 : หุมฟลักซชนิดดาง ความแข็งแรงเนื้อเชื่อม 70,000 psi
คําตอบ 4 : หุมฟลักซชนิดกรด ความแข็งแรงเนื้อเชื่อม 70,000 psi

8 of 113
ขอที่ : 36
ขอใดคือโครงสรางผลึกของเหล็กกลาคารบอนต่ํา (Low Carbon Steels) ที่อุณหภูมิหอง
คําตอบ 1 : Face Center Cubic (FCC)
คําตอบ 2 : Body Center Cubic (BCC)


คําตอบ 3 :

่ า
Tetragonal Center Cubic (TCC)
คําตอบ 4 :


Hexagonal Closed Pack (HCP)

ํจาห
ขอที่ : 37
อะไรคือความแตกตางระหวาง Resistance Spot Welding และ Projection Welding?


คําตอบ 1 : Projection Welding ไมตองการ Spot Welding Electrode

้ า
คําตอบ 2 : Projection Welding ตองการเตรียมชิ้นงานสําหรับการเชื่อม

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Projection Welding ไมจัดอยูในกลุม Resistance Welding
คําตอบ 4 : Projection Welding ไมตองการแรงทางกลเพื่อทําใหชิ้นงานเชื่อมติดกัน

ขอที่ : 38

สิท
วน
ปจจัยใดที่ทําใหการเชื่อมความตานทาน (Resistance Welding) ตางจากการเชื่อมอารค (Arc Welding)


คําตอบ 1 : ไมตองการโลหะเติม (Filler Metal)


คําตอบ 2 : ไมตองการแรงกระทําทางกลเพื่อทําใหโลหะเกิดการเชื่อม


คําตอบ 3 : มีเปลวของการอารคเกิดขึ้นระหวางการเชื่อม


คําตอบ 4 : ตองทําใหเนื้อโลหะหลอมเหลวกอนการเชื่อม

ก ร

ขอที่ : 39



อิเล็คโทรดชนิดใดเหมาะสมสําหรับการเชื่อมประสานเหล็กกลาความแข็งแรงสูง (High-Strength Steel) ดวยกระบวนการการเชื่อม Shield Metal Arc


Welding


คําตอบ 1 :

สภ
Cellulosic Coating Electrode
คําตอบ 2 : Rutile Coating Electrode
คําตอบ 3 : Acid Coating Electrode
คําตอบ 4 : Basic Coating Electrode

ขอที่ : 40
วิธีการเชื่อมใดไมจัดอยูในกลุม Consumable Arc Welding
9 of 113
คําตอบ 1 : Gas Tungsten Arc Welding (GTAW)
คําตอบ 2 : Submerged Arc Welding (SAW)
คําตอบ 3 : Gas Metal Arc Welding (GMAW)
คําตอบ 4 : Shielded Metal Arc Welding (SMAW)

่ าย

ขอที่ : 41

ํจาห
อะไรคือความสัมพันธที่ถูกตองระหวางอัตราความรอนปอนเขา (Heat Input Rate) และ อัตราการเย็นตัว (Cooling Rate)
คําตอบ 1 : อัตราความรอนปอนเขาลดลง -> อัตราการเย็นตัวลดลง
คําตอบ 2 : อัตราความรอนปอนเขาเพิ่มขึ้น -> อัตราการเย็นตัวเพิ่มขึ้น


คําตอบ 3 : อัตราความรอนปอนเขาเพิ่มขึ้น -> อัตราการเย็นตัวลดลง

้ า
คําตอบ 4 : ไมมีความสัมพันธกันระหวางอัตราความรอนปอนเขาและอัตราการเย็นตัว

ขอที่ : 42
ิธ์ ห
ิท
การเชื่อมดวยเทคนิคใดจําเปนตองปฏิบัติงานในหองสุญญากาศ (Vacuum Chamber) เทานั้น ?


คําตอบ 1 :


Laser Beam Welding (LBW)


คําตอบ 2 : Electron Beam Welding (EBW)


คําตอบ 3 : Friction Stir Welding (FSW)


คําตอบ 4 : Electroslag Welding (ESW)

ขอที่ :

ร ข
43


การทดสอบทางกลชนิดใดเหมาะสําหรับใชทดสอบหาความสามารถในการรับแรงกระแทกของแนวเชื่อม ?


คําตอบ 1 : การทดสอบแรงดึง (Tensile Test)



คําตอบ 2 : การทดสอบแรงกระแทก (Impact Test)

าว
คําตอบ 3 : การทดสอบความแข็ง (Hardness Test)

สภ
คําตอบ 4 : การทดสอบการคืบ (Creep Test)

ขอที่ : 44
ตัวแปรใดมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงสัดสวนความลึกตอความกวาง (d/w ratio) ของแนวเชื่อม ?

คําตอบ 1 : สัมประสิทธิ์การนําความรอนของเหล็กกลา
คําตอบ 2 : แรงอารค (Arc Force) ของการเชื่อม
คําตอบ 3 : ปริมาณคารบอนของเหล็กกลา 10 of 113
คําตอบ 4 : ความหนาของชิ้นงาน

ขอที่ : 45


วิธีการเชื่อมใดสามารถเทคนิค Keyhole Welding

่ า
คําตอบ 1 : Friction Stir Welding (FSW)


คําตอบ 2 : Laser Beam Welding

ํจาห
คําตอบ 3 : Shielded Metal Arc Welding
คําตอบ 4 : Flux Cored Arc Welding

้ าม
ขอที่ : 46

ิธ์ ห
กาซชนิดใดจัดอยูในกลุม Reactive Gas สําหรับใชผสมเปนกาซปกคลุมของการเชื่อม
คําตอบ 1 : กาซฮีเลียม
คําตอบ 2 : กาซคารบอนไดออกไซด

ิท
คําตอบ 3 : กาซมีเทน


คําตอบ 4 : กาซอารกอน

ขอที่ : 47

ง วน

ขอดีของการผสมกาซออกซิเจนในกาซปกคลุมของการเชื่อมแบบ Gas Metal Arc Welding

ขอ
คําตอบ 1 : ชวยปรับปรุงความเสถียรของการอารค (Arc Stability)


คําตอบ 2 : ชวยเพิ่มความลึกของแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : ไมทําปฏิกิริยากับโลหะ


คําตอบ 4 : ลดความเสี่ยงการเกิดโพรงขนาดเล็กในแนวเชื่อม

าวศ

ขอที่ : 48

สภ
ขอดีของการผสมกาซฮีเลียมไปในกาซปกคลุมสําหรับการเชื่อมโลหะ
คําตอบ 1 : ชวยลดปริมาณคารบอนของแนวเชื่อม
คําตอบ 2 : สามารถใชเชื่อมทาเหนือหัว (Overhead Position)
คําตอบ 3 : ชวยลดปริมาณออกซิเจนของแนวเชื่อม
คําตอบ 4 : ชวยลดราคาตนทุนของกาซปกคลุม

ขอที่ : 49 11 of 113
อะไรคือความแตกตางระหวาง Soldering และ Brazing
คําตอบ 1 : Soldering ไมตองการโลหะเติม (Filler Metal)
คําตอบ 2 : Brazing ใชอุณหภูมิสูงกวา Soldering
คําตอบ 3 : Brazing ไมตองการวัสดุชวยประสาน (Flux)


คําตอบ 4 : Soldering ไมตองการแหลงกําเนิดความรอน

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 50
โลหะเติมชนิดใดไมมีการใชงานสําหรับกระบวนการ Brazing
คําตอบ 1 : เงินผสม


คําตอบ 2 : ทองคําผสม

้ า
คําตอบ 3 : ทองแดงผสม

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เหล็กกลาผสม

ิท
ขอที่ : 51


ขอใดคือเหตุผลของการเพิ่มปริมาณทอเรียมออกไซด (Thorium Oxide) ในอิเล็คโทรดทังสเตน

วน
คําตอบ 1 : ชวยเพิ่มอายุการใชงานของอิเล็ดโทรด


คําตอบ 2 : ลดการปลดปลอยอิล็คตรอน (Electron Emission) ของอิเล็คโทรด


คําตอบ 3 : สําหรับใชเชื่อมกับกระแสสลับ


คําตอบ 4 : สําหรับใชเชื่อมอลูมิเนียมและแมกนีเซียม

ขอที่ :

ก ร ข
52


อะไรคือสาเหตุของการเกิดโพรง (Porosity) ในแนวเชื่อมเหล็กกลาผสมต่ํา



คําตอบ 1 : การลดความเร็วการเชื่อม

าว
คําตอบ 2 : การเพิ่มกระแสการเชื่อม

สภ
คําตอบ 3 : คราบน้ํามันและความชื้นของผิวชิ้นงาน
คําตอบ 4 : การลดปริมาณธาตุคารบอนของแนวเชื่อม

ขอที่ : 53
การเชื่อม GTAW แบบกระแสตรงอิเล็คโทรดขั้วบวก (Direct Current Electrode Positive; DCEP) มีผลกระทบอยางไรตอการเชื่อม

คําตอบ 1 : ไดรอยซึมลึกแนวเชื่อมเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ไดความกวางแนวเชื่อมเพิ่มขึ้น 12 of 113
คําตอบ 3 : ไมมีผลกระทบตอรูปรางแนวเชื่อม
คําตอบ 4 : เหมาะสําหรับการเชื่อมแผนเหล็กกลาหนา


ขอที่ : 54

่ า
กาซปกคลุมชนิดใดไมเหมาะสําหรับการใชงานในการเชื่อมดวย GTAW


คําตอบ 1 : กาซฮีเลียม (He)

ํจาห
คําตอบ 2 : กาซอารกอน (Ar)
คําตอบ 3 : กาซคารบอนไดออกไซด (CO2)
คําตอบ 4 : กาซฮีเลียม+กาซอารกอน

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 55
ขอใดคือขอดีของ Hot-wire GTAW
คําตอบ 1 : สามารถเติมลวดเชื่อมดวยมือ (Manual Feeding)

ิท
คําตอบ 2 : ชวยเพิ่มอัตราการเติมลวด (Deposition Rate)


คําตอบ 3 : ไมตองใชกาซปกคลุม

วน
คําตอบ 4 : ไมตองกใชโลหะเติม

ขอที่ :

สง

56
วิธีทดสอบใดสามารถใชหาสวนผสมทางเคมี (Chemical Composition) ของโลหะพื้นเพื่อเทียบกับคากําหนด (Specification) ?

ร ข
คําตอบ 1 : Hardness Test


คําตอบ 2 : Tensile Test


คําตอบ 3 : Spark Emission Spectrometry



คําตอบ 4 :


Impact Test


สภ
ขอที่ : 57
กาซปกคลุมชนิดใดที่เกิดขึ้นปกคลุมบอโลหะหลอมเหลว (Weld Pool) ในระหวางการเชื่อมดวย SMAW
คําตอบ 1 : กาซคารบอนไดออกไซด
คําตอบ 2 : กาซไนโตรเจน
คําตอบ 3 : กาซไฮโดรเจนซัลไฟด
คําตอบ 4 : กาซมีเทน

13 of 113
ขอที่ : 58
เนื่องจากความสามารถในการนําความรอนของโลหะมีบทบาทสําคัญในการเชื่อมโดยที่โลหะผสมที่ประกอบดวยธาตุที่มีความสามารถในการนําความรอนสูงจะทํา
ใหความรอนผาน Fusion Zone ไดเร็ว ดังนั้นโลหะผสมพวกนี้ตองการความรอนมากกวาปกติเมื่อเทียบกับโลหะผสมที่ประกอบไปดวยธาตุที่มีความสามารถใน
การนําความรอนไดต่ําทําใหมีความรอนสะสมอยูนานกวา ถามวาโลหะผสมกลุมใดมีการสูญเสียความรอนระหวางเชื่อมเนื่องจากการนําความรอ


คําตอบ 1 : โลหะผสมกลุมนิกเกิล-โครเมียม และกลุมนิกเกิล-โครเมียม-เหล็ก

่ า
คําตอบ 2 : กลุมเหล็กกลาคารบอน


คําตอบ 3 : กลุมเหล็กกลาไรสนิมประเภทออสเทเนติก

ํจาห
คําตอบ 4 : โลหะผสมกลุมนิกเกิลและกลุมนิกเกิล-ทองแดง


ขอที่ : 59

้ า
โดยทั่วไปแลวการทํา Preheat กอนการทําการเชื่อมโลหะผสมพิเศษที่มีอนุภาคแกมมาไพรมควรเปนการอบชุบ ทางความรอนประเภทใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Aging การบมแข็ง
คําตอบ 2 : Stress relieving การคลายความเครียด
คําตอบ 3 : Solution treatment การทําใหเปนสารละลายของแข็ง

ิท
คําตอบ 4 : Annealing การอบออน

นส

ขอที่ : 60


หลังจากการทําการเชื่อมแลว Post heat จะถูกทําตามมาในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษประเภทที่มีกลไกการเพิ่มความแข็งแรงแบบการตกตะกอนของแข็ง


ของอนุภาคแกมมาไพรม แตปญหาสวนใหญที่พบในชวงนี้คือ Strain age cracking ซึ่งมีสาเหตุเนื่องมาจาก


คําตอบ 1 : ความเครียดตกคางภายหลังการเชื่อม

ร ข
คําตอบ 2 : ความเครียดที่เพิ่มขึ้นจากการตกตะกอนของอนุภาคแกมมาไพรมขณะการทํา Post heat


คําตอบ 3 : ถูกทั้งขอ ก. และ ข.


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

าวศ

ขอที่ : 61

สภ
มีวิธีการใดบางที่พอจะลดปญหา Strain age cracking ในขณะทํา Post heat หลังจากการเชื่อมโลหะผสมพิเศษ
คําตอบ 1 : ประเภทที่มีกลไกการเพิ่มความแข็งแรงแบบตกตะกอนของแข็ง
คําตอบ 2 : การทํา Preheat ที่เหมาะสม
คําตอบ 3 : การอบคลายความเครียดภายหลังการเชื่อมโดยอุณหภูมิที่ใชจะต่ํากวาอุณหภูมิการตกตะกอนของอนุภาคแกมมาไพรม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 62 14 of 113
สิ่งที่ตองคํานึงถึงเปนอยางมากในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษแบบ Brazing คือขอใด
คําตอบ 1 : จุดหลอมเหลวของ braze metal ที่ใชทํา filler
คําตอบ 2 : ความแข็งแรงของ filler
คําตอบ 3 : ความสามารถในการอบชุบทางความรอนของ filler


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 63
การเชื่อมโลหะผสมพิเศษแบบไหนที่มีการปองกันบรรยากาศจากภายนอกดีที่สุด
คําตอบ 1 : Shield Metal Arc Welding (SMAW)


คําตอบ 2 :

้ า
Submerged Arc Welding (SAW)
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
Plasma Arc Welding (PAW)
คําตอบ 4 : Electron Beam Welding (EBW)

ิท
ขอที่ : 64


การเชื่อม Arc วิธีไหนที่เหมาะสมกับการเชื่อมแผนโลหะผสมพิเศษที่มีขนาดบาง

วน
คําตอบ 1 : Gas Tungsten Arc Welding (GTAW)


คําตอบ 2 : Gas Metal Arc Welding (GMAW)


คําตอบ 3 : Shield Metal Arc Welding (SMAW)


คําตอบ 4 : Submergld Arc Welding (SAW)

ขอที่ :

ก ร ข
65


การเชื่อม Arc วิธีไหนที่เหมาะสมกับการเชื่อมโลหะผสมพิเศษที่มีความหนาตั้งแต 1 นิ้วขึ้นไป



คําตอบ 1 :


Gas Tungsten Arc Welding (GTAW)


คําตอบ 2 : Gas Metal Arc Welding (GMAW)

สภ
คําตอบ 3 : Shield Metal Arc Welding (SMAW)
คําตอบ 4 : Submergld Arc Welding (SAW)

ขอที่ : 66
กาซชนิดใดที่นิยมใชสําหรับ Shielding gases ในการเชื่อมแบบ Gas Tungsten Arc Welding (GTAW) และ Gas Metal Arc Welding (GMAW)

คําตอบ 1 : ไนโตรเจน
คําตอบ 2 : ออกซิเจน 15 of 113
คําตอบ 3 : คารบอนไดออกไซด
คําตอบ 4 : อารกอน, ฮีเลียม หรือผสมกัน


ขอที่ : 67

่ า
Filler Metals สําหรับการเชื่อมโลหะผสมพิเศษในการเชื่อมแบบ (GTAW) ควรมีสมบัติในขอใด


คําตอบ 1 : มีสวนผสมทางเคมีใกลเคียงกับวัสดุที่จะถูกเชื่อม

ํจาห
คําตอบ 2 : มีการเกิดรูพรุนในขณะทําการเชื่อมต่ํา
คําตอบ 3 : ทําใหรอยเชื่อมมีโอกาสเกิด “Hot Cracking” ต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 68
ธาตุใดบางที่ผสมลงไปใน Brazing Filler Metals ในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษแบบ Brazing โดยทําหนาที่ลดจุดหลอมเหลวของตัว Brazing Filler Metals
เอง

ิท
คําตอบ 1 : ออกซิเจน, คารบอน หรือไนโตรเจน


คําตอบ 2 : ซิลิกอน, ออกซิเจน, หรือโบรอน


คําตอบ 3 : ซิลิกอน, โบรอน หรือฟอสฟอรัส

ง ว
คําตอบ 4 : คารบอน, โบรอน หรือไนโตรเจน

ขอที่ : 69

อ ส

Fluxes ที่ทําจากเกลือ Halide ที่ผสมกันหลายชนิดสําหรับการเชื่อมแบบ Gas Welding, Brazing และ Soldering ในโลหะผสมอลูมิเนียมมีหนาที่อยางไร

ก ร
คําตอบ 1 : ทําหนาที่ทะลุทะลวงผานชั้นออกไซดเขาไปที่ผิวของโลหะหลอมเหลว, กระจายตัวและลายฟลม ออกไซด


คําตอบ 2 : ปองกันการซึมผานของกาซออกซิเจนไปในเนื้อโลหะหลอมเหลว



คําตอบ 3 : ปองกันการซึมผานของกาซไฮโดรเจนไปในเนื้อโลหะหลอมเหลว


คําตอบ 4 : ปองกันการซึมผานของกาซไนโตรเจนไปในเนื้อโลหะหลอมเหลว


สภ
ขอที่ : 70
ขอที่สําคัญที่สุดในการเชื่อมแบบ Fusion Welding ของโลหะผสมอลูมิเนียมที่มีผลึกขนาดเล็กมาก ๆ คือขอใด
คําตอบ 1 : ลดปริมาณของออกไซดฟลม
คําตอบ 2 : ลดปริมาณของรูพรุนเนื่องจากกาซ
คําตอบ 3 : ลดปริมาณของฟลมเหลวระหวางผลึก
คําตอบ 4 : ลดความเครียดภายในเนื่องจากการหดหรือขยายตัวเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
16 of 113
ขอที่ : 71
ารเชื่อมแบบใดที่มีประสิทธิภาพต่ําที่สุด เนื่องจากปญหาการเกาะติดกัน (Adherence) และความสามารถในการละลายของธาตุตาง ๆ ระหวาง Electrodes ที่ทํา
ดวยโลหะผสมทองแดงและแผนโลหะแทนทาลัมที่ถูกเชื่อม


คําตอบ 1 : Gas Metal Arc Welding

่ า
คําตอบ 2 : Gas Tungsten Arc Welding


คําตอบ 3 : Plasma Arc Welding และ Electron Beam Welding

ํจาห
คําตอบ 4 : Resistance Spot Welding


ขอที่ : 72

้ า
กระบวนการเชื่อมแบบ SMAW ตรงตามขอใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : กระบวนการเชื่อมอารคดวยลวดเชื่อมชนิดหุมสารพอก
คําตอบ 2 : กระบวนการเชื่อมหลอมละลายดวยลวดเชื่อมตอเนื่อง

ิท
คําตอบ 3 : กระบวนการเชื่อมดวยความรอนจากเปลวไฟแกส


คําตอบ 4 : กระบวนการเชื่อมดวยความตานทานไฟฟา

ขอที่ : 73

ง วน

กระบวนการเชื่อมแบบ GMAW ยอมาจากอะไร


คําตอบ 1 : Gas Metal active welding


คําตอบ 2 : Gas Manual active welding


คําตอบ 3 : Gas Manual arc welding


คําตอบ 4 :


Gas Metal arc welding

วศ

ขอที่ :


74
สารพอกหุมลวด มีหนาที่สําคัญตรงตามขอใด

สภ
คําตอบ 1 : ทําใหอารคไดเรียบและชวยถายเทหยดโลหะใหสม่ําเสมอ
คําตอบ 2 : สลายตัวเปนแกสและขี้ตะกรันปกคลุมบอหลอมละลาย
คําตอบ 3 : เพิ่มธาตุเจือที่ตองการใหกับรอยเชื่อมของชิ้นงาน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 75
รูพรุน(Porosity) ที่พบในแนวเชื่อม เกิดจากสาเหตุในขอใด 17 of 113
คําตอบ 1 : ใชแกสปกคลุมที่ทําปฏิกิริยากับเนื้อเชื่อมเกิดเปนฟองแกส
คําตอบ 2 : สวนผสมในลวดเชื่อม ไมหลอมละลายเปนเนื้อเดียวกันกับเนื้อเชื่อม
คําตอบ 3 : แกสไฮโดรเจน ลอยหนีออกมาไมทันในขณะที่บอหลอมละลายแข็งตัว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย

ขอที่ : 76

ํจาห
ในงานเชื่อม TIG วัสดุที่นิยมใชทําขั้วไฟฟาอิเล็คโทรด คือขอใด
คําตอบ 1 : ไททาเนียม
คําตอบ 2 : ทังสเตน


คําตอบ 3 : นิกเกิลผสมโครเมียม

้ า
คําตอบ 4 : โคบอลต

ขอที่ : 77
ิธ์ ห
ิท
ในงานเชื่อมแกสปกคลุม (Shielding gas) มีหนาที่อะไร


คําตอบ 1 : รักษาความรอนในบอหลอมละลาย

วน
คําตอบ 2 : ชวยละลายฟองแกสในบอหลอมละลาย


คําตอบ 3 : ปองกันบรรยากาศภายนอกเขามาในบอหลอมละลาย


คําตอบ 4 : ชวยเติมธาตุผสมในบอหลอมละลาย

ขอที่ :

ร ข
78


คุณสมบัติของแกสปกคลุมในงานเชื่อม TIG ขอใดกลาวถูกตอง


คําตอบ 1 : แกสอารกอนเหมาะกับงานเชื่อมโลหะหนา



คําตอบ 2 : แกสคารบอนไดออกไซดทําใหการอารคเรียบ สม่ําเสมอ

าว
คําตอบ 3 : แกสฮีเลียมชวยการซึมลึกสูง

สภ
คําตอบ 4 : แกสฮีเลียมหนักกวาแกสอารกอน 10 เทา

ขอที่ : 79
กระบวนการเชื่อมแบบ GTAW กระแสเชื่อม เปนตัวแปรที่ควบคุมปจจัยตามขอใด

คําตอบ 1 : ควบคุมการซึมลึกของแนวเชื่อม
คําตอบ 2 : อัตราการเติมลวดเชื่อม
คําตอบ 3 : คุณภาพของแนวเชื่อม 18 of 113
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 80


ขอดีในการเชื่อมพอกผิว คือขอใด

่ า
คําตอบ 1 : เพื่อเพิ่มความตานทานการสึกหรอ


คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการผุกรอน

ํจาห
คําตอบ 3 : ซอมเพิ่มความหนาของชิ้นงานที่สึกหรอจาการใชงาน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

้ าม
ขอที่ : 81

ิธ์ ห
อะไรคือแหลงพลังงานหลักสําหรับการเชื่อมโดยแสงเลเซอร
คําตอบ 1 : ความรอนที่เกิดจากการขัดสีของชิ้นงานเชื่อม
คําตอบ 2 : ความรอนที่เกิดขึ้นระหวางการอารคของอิเล็กโทรดกับชิ้นงาน

ิท
คําตอบ 3 : ความรอนที่เกิดขึ้นจาก eddy current


คําตอบ 4 : ความรอนในชิ้นงานที่เกิดจากการรับพลังงานจากแสงเลเซอร

ขอที่ : 82

ง วน

วิธีการเชื่อมตอไปนี้วิธีการเชื่อมใดไมจัดเปนการเชื่อมแบบ Fusion welding

ขอ
คําตอบ 1 : MIG welding


คําตอบ 2 : TIG Welding


คําตอบ 3 : Laser welding


คําตอบ 4 : Diffusion bonding

าวศ

ขอที่ : 83

สภ
ในการเชื่อมโดยวิธีการ Fusion welding น้ําโลหะในอางโลหะหลอมเหลวจะเกิดการเคลื่อนที่ ขอใดตอไปนี้ไมใชปจจัยที่ทําใหน้ําโลหะเคลื่อนที่
คําตอบ 1 : Surface tension force
คําตอบ 2 : Buoyancy force
คําตอบ 3 : Electromagnetic force
คําตอบ 4 : Clamping force

ขอที่ : 84 19 of 113
สภาวะในการเชื่อมใดที่ไมมีผลตอการเกิด Keyhole mode welding ในการเชื่อมดวยแสงเลเซอร
คําตอบ 1 : ความเร็วของการเชื่อม
คําตอบ 2 : อัตราการจายพลังงาน(Laser power)
คําตอบ 3 : ความสามารถในการดูดซับแสงเลเซอรของโลหะนั้น


คําตอบ 4 : ขนาดของลําแสงเลเซอรที่ตกกระทบบนผิวชิ้นงาน

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 85
เลเซอรประเภทใดบางที่ถูกนํามาใชในงานเชื่อมโลหะ
คําตอบ 1 : คารบอนไดออกไซดเลเซอร


คําตอบ 2 :

้ า
YAG laser
คําตอบ 3 :

ิธ์ ห
Diode laser
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 86


การเชื่อมใดไมจัดเปนการเชื่อมประเภท Solid state welding

วน
คําตอบ 1 : FSW(friction stir welding)


คําตอบ 2 : Diffusion bonding


คําตอบ 3 : Magnetics pulse welding


คําตอบ 4 : MIG welding

ขอที่ :

ก ร ข
87


วิธีการยึดชิ้นสวนโลหะแบบใดไมไดจัดเปนการเชื่อม



คําตอบ 1 :


Bolt and nut


คําตอบ 2 : MIG welding

สภ
คําตอบ 3 : TIG welding
คําตอบ 4 : FSW(friction stir welding)

ขอที่ : 88
วิธีการยึดโลหะสองชิ้นใหติดกันวิธีการใดไมจัดเปน Mechanical Fastening

คําตอบ 1 : Bolt and nut


คําตอบ 2 : Diffusion bonding 20 of 113
คําตอบ 3 : Self piercing rivets
คําตอบ 4 : Clinching


ขอที่ : 89

่ า
ขอใดคือขอดอยของการเชื่อมวิธี Electron beam welding เมื่อเทียบกับ laser welding


คําตอบ 1 : ความสะอาดของรอยเชื่อม

ํจาห
คําตอบ 2 : ตองการการเชื่อมภายใตสูญญากาศ
คําตอบ 3 : สามารถเกิดการเชื่อมแบบ Keyhole mode welding ได
คําตอบ 4 : ไมตองใชลวดเชื่อม

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 90
ขอใดแสดงวิธีการยึดติดชิ้นสวนโลหะไดครบถวน
คําตอบ 1 :

ิท
Mechanical Fastening
คําตอบ 2 :


Welding, brazing and soldering
คําตอบ 3 :


Adhesive


คําตอบ 4 : ทุกขอรวมกัน

ขอที่ :

สง

91
ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับ Diffusion bonding

ร ข
คําตอบ 1 : ตองทําในบรรยากาศที่ปองกันการเกิดออกซิไดซ


คําตอบ 2 : ตองการการเตรียมผิวชิ้นงานที่สะอาดมาก


คําตอบ 3 : เปนกระบวนการเชื่อมที่ชิ้นงานเชื่อมอยูในสภาพของแข็ง



คําตอบ 4 : ใชเวลาในการเชื่อมสั้น

าว
สภ
ขอที่ : 92
Solid state welding คือ การเชื่อมประเภทใด
คําตอบ 1 : การเชื่อมที่ตองอาศัยลวดเชื่อม
คําตอบ 2 : เปนการเชื่อมที่ชิ้นงานเชื่อมไมมีการหลอมเหลวระหวางการเชื่อม
คําตอบ 3 : เปนการเชื่อมที่บริเวณเชื่อมเกิดการหลอมเหลวบางสวนแตบริเวณอื่นยังอยูในสภาพของแข็ง
คําตอบ 4 : เปนการเชื่อมที่ใชแสงเปนแหงพลังงาน

21 of 113
ขอที่ : 93
ขอใดตอไปนี้ไมใชกาซที่ใชปกคลุมรอยเชื่อม
คําตอบ 1 : คลอรีน
คําตอบ 2 : ไนโตรเจน


คําตอบ 3 : อารกอน

่ า
คําตอบ 4 : ฮีเลียม


ํจาห
ขอที่ : 94
กาซใดตอไปนี้มีคาสัมประสิทธิ์การนําความรอนสูงสุด


คําตอบ 1 : ฮีเลียม

้ า
คําตอบ 2 : อารกอน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ไนโตรเจน
คําตอบ 4 : คารบอนไดออกไซด

ขอที่ : 95

สิท
วน
กระบวนการเชื่อมใดไมนิยมใชในอุตสาหกรรมยานยนต


คําตอบ 1 : TIG welding


คําตอบ 2 : MIG welding


คําตอบ 3 : Laser welding


คําตอบ 4 : Diffusion bonding

ก ร

ขอที่ : 96



ขอใดไมจัดวาเปนการเชื่อมโดยใชความตานทานไฟฟา (Resistance welding)

าว
คําตอบ 1 : เชื่อมจุด (Spot welding)

สภ
คําตอบ 2 : เชื่อมตะเข็บ (Seam welding)
คําตอบ 3 : เชื่อมดวยแรงระเบิด (Explosive welding)
คําตอบ 4 : เชื่อมชนวาบ (Flash welding)

ขอที่ : 97
กาซที่ใชปกคลุมงานเชื่อม โดยวิธีการเชื่อมไฟฟาดวยลวดเชื่อมหุมฟลักซ หรือ Shield metal arc welding นั้นเกิดขึ้นโดย

คําตอบ 1 : ฟลักซที่หุมลวดอิเล็กโตรดถูกเผาไหมจนเกิดเปนกาซปกคลุม 22 of 113


คําตอบ 2 : การระเหยของชิ้นงานที่นํามาเชื่อมเมื่อไดรับความรอน
คําตอบ 3 : การทําปฏิกิริยาระหวางน้ําโลหะหลอมเหลวกันอากาศ
คําตอบ 4 : การแตกตัวของอากาศรอบๆชิ้นงานเชื่อม

่ าย
ขอที่ : 98


ขอใด ไม ชวยแกปญหา Arc blow ที่เกิดขึ้นในการเชื่อมแบบ Shield metal arc welding

ํจาห
คําตอบ 1 : ใชไฟกระแสสลับ
คําตอบ 2 : หากใชไฟกระแสตรงใหลดกระแสไฟและลดความเร็วในการเชื่อม
คําตอบ 3 : เพิ่มจํานวนหัวอิเล็กโตรดที่ใชในการเชื่อม


คําตอบ 4 : หันหัวอิเล็กโตรดในทิศทางตรงขามกับทิศทางการเกิด Arc blow

ขอที่ : 99

ิธ์ ห้ า
ในการเชื่อมแบบ Multiple-arc welding โดยใชหัวอิเล็กโตรดจํานวน 2 อัน เราควรตอกระแสไฟในการเชื่อมแบบใดเพื่อลดการเกิด Arc blow

ิท
คําตอบ 1 : ตอกระแสตรงทั้งสองอันโดยใชขั้วสลับกัน


คําตอบ 2 : ตอกระแสตรงทั้งสองอันโดยใชขั้วเหมือนกัน

วน
คําตอบ 3 : ตอกระแสตรงและกระแสสลับอยางละอัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

อ ส

100


วิธีการในขอใดไมไดเปนการปรับปรุงโครงสรางของเกรนในเนื้องานเชื่อม


คําตอบ 1 : Arc pulsation


คําตอบ 2 : Arc oscillation



คําตอบ 3 :


Magnetic arc stirring


คําตอบ 4 : Arc blowing

สภ
ขอที่ : 101
ในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนปานกลาง บริเวณ Heat Affected Zone จะมีคาความแข็งเพิ่มขึ้นเมื่อ
คําตอบ 1 : แนวเชื่อมเย็นตัวอยางชาๆ
คําตอบ 2 : เมื่อชิ้นงานเชื่อมบาง
คําตอบ 3 : แนวเชื่อมเย็นตัวอยางเร็ว
คําตอบ 4 : เมื่อมีการอุนชิ้นงานกอนเชื่อม
23 of 113
ขอที่ : 102
การเพิ่มคาคารบอนเทียบเทา (Carbon Equivalent) ในเหล็กกลา จะทําใหเกิดผลอะไรไดบาง
คําตอบ 1 : เพิ่มความเหนียว (Ductility)


คําตอบ 2 : เพิ่มคาความแข็ง (Hardness)

่ า
คําตอบ 3 : เพิ่มคาความแข็งแรงกระแทก (Impact Strength)


คําตอบ 4 : เพิ่มความสามารถในการเชื่อม

ขอที่ : 103

ํจาห

ถาไฮโดรเจนแพรเขาไปในเนื้อเชื่อมขณะหลอม จะทําใหเกิดอะไรขึ้น

้ า
คําตอบ 1 : เกิดรูหรือโพรง (Porosity)

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : แตกใตแนวเชื่อม (Underbead cracking)
คําตอบ 3 : แตกในระยะเวลาตอมา (Delayed cracking)

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทั้งหมด

นส

ขอที่ : 104


โครงสรางใดในบริเวณ HAZ มีความแข็งมากที่สุด


คําตอบ 1 : มารเทนไซท


คําตอบ 2 : เฟอรไรท


คําตอบ 3 : ไบไนท


คําตอบ 4 : เพิรลไลท

วก


ขอที่ : 105


ในการกําหนดคาอุณหภูมิในการอุนชิ้นงาน ควรคํานึงถึงอะไรบาง


สภ
คําตอบ 1 : คาคารบอนเทียบเทา
คําตอบ 2 : ความหนาของชิ้นงานที่เชื่อม
คําตอบ 3 : คาความรอนเขาในการเชื่อม (Heat Input)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 106
ธาตุตัวใดสามารถใชเปนตัวลดออกซิเจน (Deoxidation) ในเนื้อเชื่อมได
24 of 113
คําตอบ 1 : Si
คําตอบ 2 : Mn
คําตอบ 3 : Al
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย

ขอที่ : 107

ํจาห
ความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกลา (weldability of steels) ชนิดใดตอไปนี้ ดีที่สุด
คําตอบ 1 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.1%
คําตอบ 2 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.15%


คําตอบ 3 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.25%

้ า
คําตอบ 4 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.4%

ขอที่ : 108
ิธ์ ห
ิท
ความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกลา (weldability of steels) ชนิดใดตอไปนี้ แยที่สุด


คําตอบ 1 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.15%

วน
คําตอบ 2 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.25%


คําตอบ 3 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.4%


คําตอบ 4 : เหล็กกลาที่มีคารบอนผสม 0.6%

ขอที่ :

ร ขอ
109


เหล็กกลาผสม 3% หรือ 9% Ni (Ni-steel) เหมาะสมกับงานประเภทใด


คําตอบ 1 : งานอุณหภูมิสูง



คําตอบ 2 : งานทนการกัดกรอน

าว
คําตอบ 3 : งานอุณหภูมิต่ําที่ตองการคํานวณคาความเหนียว (Toughness) สูง

สภ
คําตอบ 4 : งานที่ตองการความแข็งแรงสูง

ขอที่ : 110
ธาตุตัวใดอาจจะเปนสาเหตุของการแตกรอน (hot crack) ในแนวเชื่อม

คําตอบ 1 : คารบอน
คําตอบ 2 : ไฮโดรเจน
คําตอบ 3 : ออกซิเจน 25 of 113
คําตอบ 4 : ซัลเฟอร

ขอที่ : 111


ทานคิดวาในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนปานกลาง บริเวณใดจะมีคาความแข็งสูงที่สุด

่ า
คําตอบ 1 : บริเวณเนื้อเชื่อม


คําตอบ 2 : บริเวณที่มีผลกระทบเนื่องมาจากความรอน (HAZ)

ํจาห
คําตอบ 3 : บริเวณเนื้อโลหะเดิม (Base Metal)
คําตอบ 4 : บริเวณที่มีรอยแตกในแนวเชื่อม

้ าม
ขอที่ : 112

ิธ์ ห
การเย็นตัวอยางรวดเร็วของเหล็กกลาคารบอน มีชื่อเรียกวา
คําตอบ 1 : quenching
คําตอบ 2 :

ิท
tempering
คําตอบ 3 :


normalizing
คําตอบ 4 :


stress relieving

ขอที่ : 113

ง ว

การแตกของเนื้อเชื่อมอยางทันทีทันใด เรียกวา

ขอ
คําตอบ 1 : Ductility


คําตอบ 2 : Brittleness


คําตอบ 3 : Hardness


คําตอบ 4 : Elastic limit

าวศ

ขอที่ : 114

สภ
โลหะตัวใดตอไปนี้ เปนโลหะแบบเหนียว
คําตอบ 1 : ทองแดง
คําตอบ 2 : อลูมิเนียม
คําตอบ 3 : สังกะสี
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 115 26 of 113


ขอใดไมเกี่ยวของกับการปองกันการแตกในการเชื่อมเหล็กหลอ
คําตอบ 1 : อุนชิ้นงานกอนการเชื่อม
คําตอบ 2 : เชื่อมแนวสั้นๆ เชน ประมาณ 50 มม.
คําตอบ 3 : มีการใชฆอนเคาะหลังการเชื่อม (peening)


คําตอบ 4 : ใหเย็นตัวอยางรวดเร็วหลังเชื่อม

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 116
คารบอนในเหล็กหลอมีผลอยางไรบาง
คําตอบ 1 : เพิ่มความสามารถในการเชื่อม


คําตอบ 2 : ลดคาความเหนียว (ductility)

้ า
คําตอบ 3 : เพิ่มอุณหภูมิหลอมเหลว

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เพิ่มคาความแข็งแรง

ิท
ขอที่ : 117


ในการเชื่อมไทเทเนียม ควรจะทําอยางไร

วน
คําตอบ 1 : ทําการเชื่อมภายใตบรรยากาศควบคุม ปราศจากอากาศภายนอก


คําตอบ 2 : โดยการเชื่อมกาซ (Oxyfuel)


คําตอบ 3 : ตองมีการใหความรอนกอนเชื่อม


คําตอบ 4 : โดยการเชื่อมไฟฟาดวยลวดเชื่อมหุมฟลักซเทานั้น

ขอที่ :

ก ร ข
118


เหล็กกลาสเตนเลสออสเตนิติก 18-8 หมายถึงอะไร



คําตอบ 1 : 18% นิเกิล, 8% โครเมียม

าว
คําตอบ 2 : 18% โครเมียม, 8% นิเกิล

สภ
คําตอบ 3 : มีโครเมียมและนิเกิลเทียบเทา 18% และที่เหลือเปนอยางอื่น
คําตอบ 4 : มีคารบอน 0.18%

ขอที่ : 119
เหล็กกลาคารบอนสูง (High Carbon Steels) มีแนวโนมที่จะเกิดอะไร ถาเชื่อมโดยปราศจากการอุนชิ้นงานกอนเชื่อม (Preheating) และใหความรอนหลังเชื่อม
(Postheating)
คําตอบ 1 : แข็งและเปราะ
27 of 113
คําตอบ 2 : แข็งและเหนียว
คําตอบ 3 : เหนียวและนุม
คําตอบ 4 : เปราะและแข็งแรง

่ าย
ขอที่ : 120


เหล็กกลาคารบอนต่ํา มี C ผสมอยูเทาไร

ํจาห
คําตอบ 1 : เทาไร < 1%
คําตอบ 2 : 1% < 0.03%
คําตอบ 3 : 0.03% < 0.3%


คําตอบ 4 :

้ า
0.3% < 3%

ิธ์ ห
ขอที่ : 121
ในการใชงานเชื่อมจริงเหล็กขอใดที่ใชการเชื่อมมากสุด

ิท
คําตอบ 1 : เหล็กที่ผานการขึ้นรูป


คําตอบ 2 : เหล็กหลอ

วน
คําตอบ 3 : เหล็กกลาคารบอน


คําตอบ 4 : เหล็กกลาผสม

ขอที่ :

อ ส

122


ในการใชงานเชื่อมจริงโลหะขอใดที่ใชการเชื่อมมากสุด


คําตอบ 1 : ทองแดง


คําตอบ 2 : อะลูมิเนียม



คําตอบ 3 : สังกะสี

าว
คําตอบ 4 : ทองเหลือง

สภ
ขอที่ : 123
การเกิดรูพรุนในเนื้อเชื่อมมีสาเหตุจากขอใด
คําตอบ 1 : กาซ
คําตอบ 2 : กระแสเชื่อม
คําตอบ 3 : ความเร็วเชื่อม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
28 of 113
ขอที่ : 124
ฟลักซในงานเชื่อมแบงออกเปนกี่แบบ อะไรบาง
คําตอบ 1 : 3 แบบ กรด กลางและดาง


คําตอบ 2 : 3 แบบ ไมมีไฮโดรเจน ไฮโดรเจนต่ําและสูง

่ า
คําตอบ 3 : 3 แบบ เซลลูโลส รูไทล และดาง


คําตอบ 4 : 3 แบบ ใหความแข็งแรงสูง ปานกลาง และต่ํา

ขอที่ : 125

ํจาห

ทําไมตองมีการใชฟลักซหรือกาซคลุมรอยเชื่อมสําหรับการเชื่อมอารก

้ า
คําตอบ 1 : ปองกันออกซิเจนทําปฏิกิริยา

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : เพื่อใหเนื้อเชื่อมมีความแข็งแรงสูง
คําตอบ 3 : ใหเกิดอารกเสถียร รอยเชื่อมไมมีตําหนิ

ิท
คําตอบ 4 : เพื่อใหการเชื่อมตอสมบูรณ

นส

ขอที่ : 126


ขอใดถูกที่สุด


คําตอบ 1 : การอารกทําใหกาซละลายในเนื้อเชื่อมมากขึ้น


คําตอบ 2 : การเชื่อมดวยแสงเลเซอรเหมาะใชกับเหล็กที่สุด


คําตอบ 3 : การอบลวดเชื่อมทําใหเชื่อมงายขึ้น


คําตอบ 4 : การเชื่อมแบบอารกใตฟลักซใหพลังงานสูงสุด

วก


ขอที่ : 127


โครงสรางจุลภาคที่สรางปญหาแกการเชื่อมเหล็กมากที่สุด คือ


สภ
คําตอบ 1 : เฟอรไรต มารเตนไซต
คําตอบ 2 : ซีเมนตไตต เบนไนต
คําตอบ 3 : มารเตนไซต ซีเมนตไตต
คําตอบ 4 : เพริลไลต มารเตนไซต

ขอที่ : 128
การแตกราวจากการเชื่อมเหล็กมีกี่ชนิดอะไรบาง
29 of 113
คําตอบ 1 : 2 ชนิด แตกราวขณะเชื่อมและแตกราวหลังเชื่อม
คําตอบ 2 : 2 ชนิด แตกราวขณะรอนและแตกราวขณะเย็น
คําตอบ 3 : 2 ชนิดแตกราวเพราะไฮโดรเจนและแตกราวเพราะกํามะถัน
คําตอบ 4 : 2 ชนิด แตกราวเพราะความแข็งสูงและการแข็งตัว

่ าย

ขอที่ : 129

ํจาห
สําหรับการเชื่อมเหล็ก ปจจัยสําคัญตอการแตกราวเพราะไฮโดรเจน (Hydrogen Induced Cracking) คือ
คําตอบ 1 : ความเคน
คําตอบ 2 : มารเตนไซด


คําตอบ 3 : ก และ ข ถูก

้ า
คําตอบ 4 : ปริมาณไฮโดรเจนสูงกวา 5 ml/g

ขอที่ : 130
ิธ์ ห
ิท
ปจจัยสําคัญสําหรับการแตกราวขณะรอนของเหล็ก คือ


คําตอบ 1 : ความเคนขณะเชื่อม

วน
คําตอบ 2 : ความหนาของแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : จุดหลอมเหลวของธาตุ


คําตอบ 4 : สวนผสมของกํามะถัน

ขอที่ :

ร ขอ
131


การแตกราวขณะรอนและขณะเย็นตางกันอยางไร


คําตอบ 1 : การแตกราวขณะรอนเกิดขึ้นที่อุณหภูมิสูงกวา



คําตอบ 2 : การแตกราวขณะรอนเกิดขึ้นที่ความเคนสูงกวา

าว
คําตอบ 3 : การแตกราวขณะเย็นเกิดขึ้นเพราะความเคนขณะเย็นตัว

สภ
คําตอบ 4 : การแตกราวขณะเย็นเกิดขึ้นกับเหล็ก

ขอที่ : 132
การตัดเหล็กแผนดวยกาซมีขอเสีย คือ
คําตอบ 1 : ขอบตัดไมสวยงามตองเจียรแตง
คําตอบ 2 : เกิดการสูญเสียเนื้อเหล็กมากเกินความจําเปน
คําตอบ 3 : ขอบตัดเปราะแตกหักงายเพราะคารบอนแทรกซึม 30 of 113
คําตอบ 4 : ใชตัดเหล็กแผนหนาตั้งแต 5 มม. ขึ้นไป

ขอที่ : 133


ขอใดคือ คุณสมบัติของลวดเชื่อมเหล็กคารบอนปานกลาง

่ า
คําตอบ 1 : มีปริมาณคารบอนต่ํา


คําตอบ 2 : มีความแข็งแรงสูง

ํจาห
คําตอบ 3 : มีกํามะถันต่ํา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

้ าม
ขอที่ : 134

ิธ์ ห
โลหะชนิดใดที่ไมตองใชฟลักซขณะเชื่อม
คําตอบ 1 : เหล็กหลอ
คําตอบ 2 : เหล็กกลาไรสนิม

ิท
คําตอบ 3 : เหล็กผสมต่ํา


คําตอบ 4 : โลหะนอกกลุมเหล็ก

ขอที่ : 135

ง วน

ขั้นตอนที่จําเปนเพื่อการตัดโลหะดวยกาซใหผลดีที่สุด

ขอ
คําตอบ 1 : กาซออกซิเจนตองบริสุทธิ์


คําตอบ 2 : ความเร็วตองเหมาะสม


คําตอบ 3 : ขนาดรูของหัวตัดตองเหมาะสม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

าวศ

ขอที่ : 136

สภ
ทําไมไมใชการตัดหรือการเชื่อมดวยกาซกับโครเมียมและเหล็กผสมโครเมียม นิกเกิล
คําตอบ 1 : เพราะเกิดออกไซดที่ผิว
คําตอบ 2 : เพราะเกิดการสูญเสียคารบอน
คําตอบ 3 : เพราะตองใชอุณหภูมิสูงมาก
คําตอบ 4 : ก และ ค

ขอที่ : 137 31 of 113


ทําไมไมใชการตัดหรือการเชื่อมดวยกาซกับโลหะผสมทองแดงและโลหะผสมอะลูมิเนียม
คําตอบ 1 : เพราะเกิดออกไซดที่ผิว
คําตอบ 2 : เพราะเกิดคารบอนแทรกซึม
คําตอบ 3 : เพราะตองใชอุณหภูมิสูงมาก


คําตอบ 4 : ก และ ข

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 138
ปญหาการเชื่อมโลหะผสมอะลูมิเนียม คือ
คําตอบ 1 : เกิดรูพรุนไดงาย


คําตอบ 2 : ผิวมีออกไซดตองกําจัด

้ า
คําตอบ 3 : ความแข็งแรงลดลงเพราะโครงสรางจุลภาคถูกทําลาย

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 139


โครงสรางจุลภาคใดที่ใหความแกรงเนื้อเชื่อมเหล็กกลาคารบอนผสมแมงกานีสสูง

วน
คําตอบ 1 : โพรยูเต็กตอยเฟอรไรต


คําตอบ 2 : เบนไนต


คําตอบ 3 : อะซิคูลาเฟอรไรต


คําตอบ 4 : เพริลไลต

ขอที่ :

ก ร ข
140


ขอใดที่ทําใหกาซละลายในเนื้อเชื่อมสูงขึ้น



คําตอบ 1 : การเพิ่มกระแสเชื่อม

าว
คําตอบ 2 : การเพิ่มไนโตรเจนในกาซอารกอนสําหรับเชื่อมทิก

สภ
คําตอบ 3 : การเพิ่มความเร็วเชื่อม
คําตอบ 4 : การเพิ่มสวนผสมเคมีของเนื้อเชื่อม

ขอที่ : 141
ขอใดไมถูกตองในเรื่องการละลายของกาซไฮโดรเจนในเหล็ก
คําตอบ 1 : ละลายในเหล็กเดลตาไดนอยมาก
คําตอบ 2 : แพรกระจายในเหล็กแกมมาไดชากวาเหล็กเดลตา 32 of 113
คําตอบ 3 : ทําใหเหล็กแตกราวหลังจากเชื่อมเสร็จได
คําตอบ 4 : สรางปญหารูพรุนในเนื้อเชื่อม


ขอที่ : 142

่ า
ขอใดไมใชขอบกพรองในงานเชื่อม


คําตอบ 1 : รอยแหวง รอยแตก spatter

ํจาห
คําตอบ 2 : Crater สารฝงใน lack of fusion
คําตอบ 3 : Blow and worm holes การบิดตัว
คําตอบ 4 : ความแข็งแรง ความแกรง นอย

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 143
ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับคําวา “คุณสมบัติการเชื่อมได (Weldability) ของโลหะ”
คําตอบ 1 : คุณสมบัติของโลหะที่เชื่อมไดงายมาก

ิท
คําตอบ 2 : คุณสมบัตินี้ขึ้นอยูกับลักษณะรอยตอ


คําตอบ 3 : คุณสมบัตินี้ขึ้นอยูกับวิธีการเชื่อม

วน
คําตอบ 4 : คุณสมบัตินี้ขึ้นอยูกับคุณสมบัติกล

ขอที่ :

สง

144
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับคําวา “คุณสมบัติการเชื่อมได (Weldability) ของโลหะ”

ร ข
คําตอบ 1 : อะลูมิเนียมมีสมบัติการเชื่อมไดสูง


คําตอบ 2 : เหล็กมีสมบัติการเชื่อมไดสูง


คําตอบ 3 : ทองแดงมีสมบัติการเชื่อมไดต่ํากวาอะลูมิเนียม



คําตอบ 4 : ไททาเนียมมีสมบัติการเชื่อมไดใกลเคียงอะลูมิเนียม

าว
สภ
ขอที่ : 145
ปริมาณคารบอนสมมูล (Carbon Equivalence) เทาใดที่ทําใหคาคุณสมบัติการเชื่อมของเหล็กกลาต่ํา
คําตอบ 1 : 0.25%
คําตอบ 2 : 0.35%
คําตอบ 3 : 0.45%
คําตอบ 4 : 0.55%

33 of 113
ขอที่ : 146
สวนผสมซิลิคอนของลวดเชื่อมอะลูมิเนียมที่ทําใหเกิดรอยแตกขณะรอนในเนื้อเชื่อมอะลูมิเนียม คือ
คําตอบ 1 : 0.5%
คําตอบ 2 : 1%


คําตอบ 3 :

่ า
1.5%
คําตอบ 4 :


2%

ํจาห
ขอที่ : 147
ปญหาการเชื่อมเหล็กหลอไดยากเพราะ


คําตอบ 1 : ความแข็งสูง

้ า
คําตอบ 2 : เกิดโครงสรางมารเตนไซตไดงาย

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เกิดรอยแตกขณะรอนไดงาย
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 148

สิท
วน
ลวดเชื่อมตอไปนี้นิยมใชเชื่อมเหล็กไดหลายเกรด


คําตอบ 1 : ลวดเชื่อมเหล็กคารบอนต่ํา


คําตอบ 2 : ลวดเชื่อมเหล็กคารบอนความแข็งแรงสูง


คําตอบ 3 : ลวดเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติก


คําตอบ 4 : ลวดเชื่อมโลหะผสมนิกเกิล

ก ร

ขอที่ : 149



ลวดเชื่อมเหล็กหลอมักมีสวนผสมธาตุใด

าว
คําตอบ 1 : นิกเกิล

สภ
คําตอบ 2 : คารบอน
คําตอบ 3 : ซิลิคอน
คําตอบ 4 : โครเมียม

ขอที่ : 150
ปญหา Strain-age embrittlement ของเหล็กกลาคารบอนแมงกานีสมาจากสารประกอบใด

คําตอบ 1 : เหล็กไนไตรด 34 of 113


คําตอบ 2 : เหล็กคารไบด
คําตอบ 3 : อะลูมิเนียมไนไตรด
คําตอบ 4 : เหล็กคารโบไนไตรด

่ าย
ขอที่ : 151


ปญหารูพรุนไนโตรเจนในเนื้อเชื่อมเหล็กกลาคารบอนจะเกิดขึ้นถาสวนผสมไนโตรเจนในเนื้อเหล็กมากกวา

ํจาห
คําตอบ 1 : 0.025%
คําตอบ 2 : 0.035%
คําตอบ 3 : 0.045%


คําตอบ 4 :

้ า
0.055%

ิธ์ ห
ขอที่ : 152
การเชื่อมที่มีสแลก เมื่อความเปนดางของสแลกเพิ่มขึ้นจะทําให

ิท
คําตอบ 1 : สวนผสมออกซิเจนของเนื้อเชื่อมลดลง


คําตอบ 2 : สวนผสมแมงกานีสของเนื้อเชื่อมลดลง

วน
คําตอบ 3 : สวนผสมซิลิคอนของเนื้อเชื่อมเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : สวนผสมอะลูมิเนียมของเนื้อเชื่อมเพิ่มขึ้น

ขอที่ :

อ ส

153


การแกปญหารอยแตกขณะรอนของเหล็กกลาคารบอนแมงกานีสลดลง คือ


คําตอบ 1 : ลดปริมาณคารบอน


คําตอบ 2 : ลดปริมาณกํามะถันและฟอสฟอรัส



คําตอบ 3 : เพิ่มปริมาณแมงกานีส

าว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

สภ
ขอที่ : 154
ขอใดไมเกี่ยวของกับการแตกราวขณะรอน (Hot cracking)
คําตอบ 1 : Coherence temperature
คําตอบ 2 : Nil-ductility temperature
คําตอบ 3 : Brittle temperature
คําตอบ 4 : จุดหลอมเหลว
35 of 113
ขอที่ : 155
ขอใดไมถูกตองสําหรับการหลีกเลี่ยงการแตกราวขณะเย็น (Cold cracking) ของเหล็กกลาคารบอน
คําตอบ 1 : การเลือกสวนผสม


คําตอบ 2 : การออกแบบรอยตอ

่ า
คําตอบ 3 : การเลือกกระบวนการเชื่อม


คําตอบ 4 : การใชวิธีการเชื่อมอารก

ขอที่ : 156

ํจาห

ขอใดไมถูกตองสําหรับการแตกราวแบบ “Lamellar”

้ า
คําตอบ 1 : รอยแตกขนานกับผิวแผนเหล็ก

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : แกปญหาไดโดยการทํา Buttering
คําตอบ 3 : เกิดกับรอยตอรูปตัวที

ิท
คําตอบ 4 : เกิดเพราะไฮโดรเจน

นส

ขอที่ : 157


ขอใดไมใชขอควรระวังสําหรับการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนสําหรับโครงสราง


คําตอบ 1 : ปริมาณคารบอนมากกวา 0.45%


คําตอบ 2 : การอุนรอน 100-250 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : การแตกราวขณะรอน


คําตอบ 4 : การควบคุมปริมาณไฮโดรเจนในเนื้อเชื่อม

วก


ขอที่ : 158


ขอใดไมใชขอควรระวังสําหรับการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนความแข็งแรงสูง


สภ
คําตอบ 1 : ปริมาณไฮโดรเจนในเนื้อเชื่อม
คําตอบ 2 : การแตกราวขณะรอน
คําตอบ 3 : คา Through-thickness ductility ระหวาง 25%-35%
คําตอบ 4 : ปริมาณคารบอนสมมูลนอยกวา 0.45%

ขอที่ : 159
ขอใดคือคุณลักษณะของทอเหล็กกลาคารบอนใชในอุตสาหกรรมปโตรเลียม
36 of 113
คําตอบ 1 : โครงสรางจุลภาคเปนเฟอรไรท
คําตอบ 2 : มีคารบอนไมเกิน 0.4%
คําตอบ 3 : มีความแกรงสูงแมที่อุณหภูมิต่ํามาก
คําตอบ 4 : มีคาการยึดตัวไมเกิน 25%

่ าย

ขอที่ : 160

ํจาห
กระบวนการเชื่อมใดใชสําหรับทอเหล็กกลาคารบอนใชในอุตสาหกรรมปโตรเลียม
คําตอบ 1 : SAW (เชื่อมใตฟลักซ)
คําตอบ 2 : MAG หรือ MIG


คําตอบ 3 : PAW (เชื่อมอารกพลาสมา)

้ า
คําตอบ 4 : เชื่อมดวยแสงเลเซอร

ขอที่ : 161
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเกี่ยวของกับวิธีการเชื่อม (Welding procedure) ทอเหล็กกลาคารบอนใชในอุตสาหกรรมปโตรเลียม


คําตอบ 1 : ใชความรอนการเชื่อมต่ํา

วน
คําตอบ 2 : ปญหากาแตกราวขณะเย็นนอย


คําตอบ 3 : ใชลวดเชื่อมหุมฟลักซเปนเซลลูโลส


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดผิด

ขอที่ :

ร ขอ
162


ขอใดถูกสําหรับเหล็กกลาใชงานที่อุณหภูมิต่ํา


คําตอบ 1 : มีความเหนียวสูงมากแมที่อุณหภูมิต่ํา



คําตอบ 2 : มีนิกเกิลผสมเพื่อเพิ่มความแกรง

าว
คําตอบ 3 : มีคารบอนต่ําเพื่อเพิ่มความเหนียว

สภ
คําตอบ 4 : มีธาตุอื่นนอกจากคารบอนผสมเพื่อเพิ่มความแกรง

ขอที่ : 163
มาตรฐานงานเชื่อมใดนิยมใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนมากสุด
คําตอบ 1 : AWS D1.1
คําตอบ 2 : BS 5500
คําตอบ 3 : ASME 37 of 113
คําตอบ 4 : ASTM

ขอที่ : 164


ธาตุกลุมใดที่เพิ่มการแตกราวขณะรอนของเหล็กกลาคารบอน

่ า
คําตอบ 1 : Mo, Cr, B, Nb


คําตอบ 2 : B, Nb, Al, Ni

ํจาห
คําตอบ 3 : Zr, B, V, Al
คําตอบ 4 : B, Ni, V, Ti

้ าม
ขอที่ : 165

ิธ์ ห
สําหรับการเชื่อมทิกขอใดทําใหรอยซึมลึกนอยหรือเนื้อเชื่อมของเหล็กกลาไรสนิมกวาง
คําตอบ 1 : มีสวนผสมกํามะถันหรือออกซิเจนสูง
คําตอบ 2 : ผสมไนโตรเจนในกาซปกคลุมอารกอน

ิท
คําตอบ 3 : ผสมไฮโดรเจนในกาซปกคลุมอารกอน


คําตอบ 4 : ใชกาซอารกอนบริสุทธิ์

ขอที่ : 166

ง วน

ขอใดไมจัดอยูในขอกําหนดของ IIW (International Institute of Welding) เรื่องการหลีกเลี่ยงระยะซึมลึกของเนื้อเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติกไมสม่ํา


เสมอ

ร ข
คําตอบ 1 : มีสวนผสมของธาตุหายาก (Rare earth) ไมเกิน 0.01%


คําตอบ 2 : สวนผสมกํามะถันไมนอยกวา 0.01%


คําตอบ 3 : มีสวนผสมอะลูมิเนียมไมเกิน 0.01%



คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

าว
สภ
ขอที่ : 167
เนื้อเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติกมักเกิดขอบกพรองใด
คําตอบ 1 : รอยแตกขณะเย็น
คําตอบ 2 : รอยแตกขณะรอน
คําตอบ 3 : ปริมาณเดลตาเฟอรไรตสูง
คําตอบ 4 : เกิดเฟสซิกมาทําใหเปราะ

38 of 113
ขอที่ : 168
ธาตุใดจัดอยูในหมูสมมูลโครเมียม
คําตอบ 1 : Mo, Mn, Cu, Al
คําตอบ 2 : Al, Cu, N, Mo


คําตอบ 3 :

่ า
Mo, Si, Nb, Ti
คําตอบ 4 :


Mn, N, Cu, Al

ํจาห
ขอที่ : 169
การแข็งตัวของเหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติกแบบใดที่มีโอกาสทําใหเกิดรอยแตกราวขณะรอนมาก


คําตอบ 1 : เกิดเฟอรไรตกอน

้ า
คําตอบ 2 : เกิดปฏิกิริยาเพอริเทกติก

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เกิดปฏิกิริยายูเทกติก
คําตอบ 4 : เกิดออสเตนไนตกอน

ขอที่ : 170

สิท
วน
ขอใดจัดอยูในกลุมเหล็กกลาไรสนิม


คําตอบ 1 : มารเตนซิติก เฟอริติก ออสเตนนิติก ดูเพล็กซ และ พีเอช


คําตอบ 2 : AISI 201, 409, 304, 316, 430, 446


คําตอบ 3 : 18-8 Cr-Ni steel, 17-4, 13-8 Mo


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ก ร

ขอที่ : 171



คา Cr equivalence ตอ Ni equivalence เทาใดที่ทําใหเนื้อเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติกเกิดรอยแตกขณะรอนไดยาก

าว
คําตอบ 1 : 1.0-1.4

สภ
คําตอบ 2 : 1.5-1.9
คําตอบ 3 : 1.2-1.7
คําตอบ 4 : 1.4-1.6

ขอที่ : 172
ขอใดไมใชวิธีการแกปญหาการตกตะกอนโครเมียมคารไบดในรอยเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม
คําตอบ 1 : ปริมาณคารบอนไมเกิน 0.03% 39 of 113
คําตอบ 2 : ผสมธาตุไนโอเบียม ไททาเนียม วาเนเดียม
คําตอบ 3 : อบละลายหลังการเชื่อมที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : อบหลังการเชื่อมที่อุณหภูมิ 870-900 องศาเซลเซียส เปนเวลา 2 ชั่วโมง

่ าย
ขอที่ : 173


การเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมเกรดใดงายที่สุด

ํจาห
คําตอบ 1 : มารเตนซิติก
คําตอบ 2 : เฟอรริติก
คําตอบ 3 : ออสเตนนิติก


คําตอบ 4 : ดูเพล็กซ

ขอที่ : 174

ิธ์ ห้ า
ปญหาการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมเฟอริติก คือ

ิท
คําตอบ 1 : เกรนโต และเปราะในสวน HAZ


คําตอบ 2 : แตกราวขณะรอนไดงาย

วน
คําตอบ 3 : เกิดเฟสซิกมาและเปราะ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

อ ส

175


ขอใด คือ ปญหาที่ตองควบคุมปริมาณเดลตาเฟอรไรตในเนื้อเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติก


คําตอบ 1 : ความแกรงลดลง


คําตอบ 2 : เกิดการแตกขณะรอนไดงาย



คําตอบ 3 : เกิดเฟสซิกมาทําใหเนื้อเชื่อมเปราะ

าว
คําตอบ 4 : เกิดสารประกอบคารไบดตกตะกอน

สภ
ขอที่ : 176
ขอใด คือ ปญหาการเชื่อมพอกผิวแผนเหล็กกลาผสมต่ําดวยเหล็กกลาไรสนิม
คําตอบ 1 : การแตกราวเพราะไฮโดรเจน
คําตอบ 2 : การแตกราวตรงรอยตอ
คําตอบ 3 : สวนผสมเคมีของรอยตอเนื้อเชื่อมกับผิวพื้น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
40 of 113
ขอที่ : 177
กระบวนการเชื่อมพอกผิวแผนเหล็กที่นิยมใช คือ
คําตอบ 1 : SAW, ESW


คําตอบ 2 :

่ า
MIG, FCAW
คําตอบ 3 :


SMAW, MAG
คําตอบ 4 : ESW, LW

ขอที่ : 178

ํจาห

คูขอใดถูกตองสําหรับการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม

้ า
คําตอบ 1 : AISI 304 กับ E308

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : AISI 321 กับ E347
คําตอบ 3 : AISI 316 กับ E 316L

ิท
คําตอบ 4 : AISI 316 กับ E309

นส

ขอที่ : 179


ขอใดคือปญหาการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมพีเอช (PH alloy)


คําตอบ 1 : โครงสรางจุลภาคที่แข็งมาก


คําตอบ 2 : การอบหลังการเชื่อมเพื่อปรับโครงสรางจุลภาค


คําตอบ 3 : คุณสมบัติกลเปลี่ยนไปหลังการเชื่อม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

วก


ขอที่ : 180


อะลูมิเนียมเกรดใดที่สามารถเชื่อมได


สภ
คําตอบ 1 : 7075, 6063, 5154
คําตอบ 2 : 1060, 6061, 5456
คําตอบ 3 : 1006, 3003, 2014
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 181
กาซใดกอปญหารูพรุนในเนื้อเชื่อมทองแดง
41 of 113
คําตอบ 1 : ไนโตรเจน
คําตอบ 2 : ไฮโดรเจน
คําตอบ 3 : ออกซิเจน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย

ขอที่ : 182

ํจาห
ธาตุที่ทําใหทองแดงเกิดรอยแตกขณะรอนไดงาย คือ
คําตอบ 1 : นิกเกิล อะลูมิเนียม ซิลิคอน
คําตอบ 2 : บิทมัส ตะกั่ว ซิลิคอน


คําตอบ 3 : ฟอสฟอรัส ซิลิคอน ตะกั่ว

้ า
คําตอบ 4 : กํามะถัน นิกเกิล อะลูมิเนียม

ขอที่ : 183
ิธ์ ห
ิท
ธาตุที่ทําใหนิกเกิลและโลหะผสมนิกเกิลเกิดรอยแตกขณะรอนไดงาย


คําตอบ 1 : ทองแดง เหล็ก ซิลิคอน

วน
คําตอบ 2 : บิทมัส ตะกั่ว โครเมียม


คําตอบ 3 : กํามะถัน ฟอสฟอรัส ตะกั่ว


คําตอบ 4 : กํามะถัน อะลูมิเนียม โครเมียม

ขอที่ :

ร ขอ
184


มาตรฐานงานเชื่อมใดที่ไมใชมาตรฐานงานเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม


คําตอบ 1 : ASME



คําตอบ 2 :


BS 5500


คําตอบ 3 : AWS A5.4

สภ
คําตอบ 4 : EN

ขอที่ : 185
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเชื่อมไททาเนียม
คําตอบ 1 : เปราะ เพราะ คารบอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน
คําตอบ 2 : โลหะผสมประเภท อัลฟา ไมสามารถเชื่อมได
คําตอบ 3 : โลหะผสม Ti-6Al-4V เชื่อมไดงาย 42 of 113
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 186


การแตกราวชนิดใดที่มีโอกาสเกิดขึ้นในการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค AISI 316L

่ า
คําตอบ 1 : การแตกราวขณะเย็น (Cold Cracking)


คําตอบ 2 : การแตกราวที่มีสาเหตุมาจากไฮโดรเจน ( Hydrogen Induced Cracking)

ํจาห
คําตอบ 3 : การแตกราวที่มีสาเหตุมาจากการตกผลึกโครเมียมคารไบด
คําตอบ 4 : การแตกราวขณะรอน (Hot Cracking)

้ าม
ขอที่ : 187

ิธ์ ห
อะไรคือปญหาที่มักจะเกิดขึ้นจากการเชื่อมเหล็กกลาที่มีปริมาณคารบอนสูง
คําตอบ 1 : มีโอกาสแตกราวในบริเวณรอยกระทบรอน (Heat Affected Zone) งาย
คําตอบ 2 : ไมสามารถใชเพิ่มความเร็วการเชื่อมได

ิท
คําตอบ 3 : ตองการกระแสอารค (Arc Current) สูง


คําตอบ 4 : ตองการกาซปกคลุมชนิดพิเศษ

ขอที่ : 188

ง วน

ขอใดคือตัวแปรสําคัญของการออกไซด (Oxide) ในเนื้อโลหะแนวเชื่อมเหล็กกลาผสมต่ํา

ขอ
คําตอบ 1 : ปริมาณไนโตรเจนของเนื้อโลหะแนวเชื่อม


คําตอบ 2 : ปริมาณไฮโดรเจนของเนื้อโลหะแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : ปริมาณออกซิเจนของเนื้อโลหะแนวเชื่อม


คําตอบ 4 : ปริมาณฟอสฟอรัสของเนื้อโลหะแนวเชื่อม

าวศ

ขอที่ : 189

สภ
ทําไมการเชื่อมเหล็กกลาผสมต่ําและเหล็กกลาคารบอนดวย GMAW ไมนิยมใชกาซปกคลุมที่มีสวนผสมของกาซไฮโดรเจน ?
คําตอบ 1 : ปองกันการเกิดการแตกราวเนื่องจากไฮโดรเจน
คําตอบ 2 : ลดความเร็วการเชื่อม
คําตอบ 3 : ลดคาความตางศักยอารค (Arc Voltage)
คําตอบ 4 : ปองกันการระเบิดในระหวางการเชื่อม

ขอที่ : 190 43 of 113


เหตุใด Iron-Carbon Equilibrium Diagram จึงไมเหมาะสมสําหรับใชอธิบายโครงสรางจุลภาคของรอยกระทบรอนเหล็กกลาผสมต่ํา
คําตอบ 1 : รอยกระทบรอนมีอัตราการเย็นตัวอยางรวดเร็ว
คําตอบ 2 : โลหะพื้น (Base Metal) มีปริมาณคารบอนสูงกวาปกติ
คําตอบ 3 : เนื้อโลหะเกิดการหลอมเหลวในระหวางการเชื่อม


คําตอบ 4 : ไมเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางจุลภาคหลังจากการเชื่อม

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 191
คุณสมบัติขอใดที่ตองนํามาพิจารณากอนปฏิบัติการเชื่อมประสานเหล็กกลาผสมต่ํา
คําตอบ 1 : มีปริมาณคารบอนเทียบเทาไมเกิน 0.4 เปอรเซ็นต


คําตอบ 2 : มีคา Hardenability สูง

้ า
คําตอบ 3 : มีคา Weldability ต่ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : มีปริมาณโครเมียมสูงเพียงพอ

ิท
ขอที่ : 192


ตัวแปรใดสามารถใชบงชี้วาเหล็กกลาประเภทใดสามารถนํามาเชื่อมประสานไดหรือไม

วน
คําตอบ 1 : คุณภาพผิวของเหล็กลา


คําตอบ 2 : การเตรียมรอยบากชนแผนเหล็กกลาสําหรับการเชื่อมประสาน


คําตอบ 3 : ความหนาของแผนเหล็กกลา


คําตอบ 4 : คาคารบอนเทียบของเหล็กกลาชนิดนั้น

ขอที่ :

ก ร ข
193


ขอใดเปนปญหาหลักที่พบไดบอยในการเชื่อมอลูมิเนียม



คําตอบ 1 : ไมเกิดการแตกราวขณะรอน (Hot Cracking)

าว
คําตอบ 2 : เกิดผิวออกไซดบนแนวเชื่อมไดงาย

สภ
คําตอบ 3 : เกิดการแตกราวขณะเย็น (Cold Cracking)
คําตอบ 4 : โครงสรางจุลภาคของแนวเชื่อมไมเกิดการเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 194
วิธีการใดที่เหมาะสําหรับการเชื่อมแผนอลูมิเนียมความหนาสูง
คําตอบ 1 : Gas Tungsten Arc Welding (GTAW)
คําตอบ 2 : Gas Metal Arc Welding (GMAW) 44 of 113
คําตอบ 3 : Shielded Metal Arc Welding (SMAW)
คําตอบ 4 : Electron Beam Welding (EBW)


ขอที่ : 195

่ า
เหตุใดจึงมีการใชเทคนิค Alternating Current Gas Tungsten Arc Welding สําหรับการเชื่อมอลูมิเนียม


คําตอบ 1 : เพื่อลดระดับอุณหภูมิของชิ้นงานระหวางการเชื่อม

ํจาห
คําตอบ 2 : เพื่อกําจัดออกไซดออกจากผิวแนวเชื่อมในระหวางการเชื่อม
คําตอบ 3 : เพื่อหลีกเลี่ยงการทํา Preheat กอนการเชื่อม
คําตอบ 4 : เพื่อเพิ่มความเร็วการเชื่อม (Welding Speed)

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 196
อะไรคือปจจัยสําคัญที่ทําใหการเชื่อมประสานอลูมิเนียมยากกวาเหล็กกลาผสมต่ํา
คําตอบ 1 : มีชั้นอลูมิเนียมออกไซดบนผิว

ิท
คําตอบ 2 : อลูมิเนียมมีคาการนําความรอน (Thermal Conductivity) ต่ํา


คําตอบ 3 : อลูมิเนียมมีคาสัมประสิทธิ์การขยายตัวทางความรอน (Thermal Expansion Coefficient) ต่ํา

วน
คําตอบ 4 : อลูมิเนียมมีจุดหลอมเหลวต่ํา

ขอที่ :

สง

197
ลวดเชื่อม (Coated Electrode) ชนิดใดเหมาะสําหรับการเชื่อมเหล็กกลาความแข็งแรงสูง (High Strength Steel) เพื่อปองกันการแตกราวขณะเย็น (Cold

ร ข
Cracking)


คําตอบ 1 : Cellulosic Electrode


คําตอบ 2 : Rutile Electrode



คําตอบ 3 : Acid Electrode


คําตอบ 4 :


Basic Electrode

สภ
ขอที่ : 198
เหตุใดปริมาณออกซิเจนในแนวเชื่อมของเหล็กกลาผสมต่ําจึงตองมีการควบคุมใหอยูในระดับต่ํา
คําตอบ 1 : เพื่อความสามารถการยืดตัวของเหล็กกลา
คําตอบ 2 : เพื่อลดการเกิดโครงสรางมารเทนไซตในบริเวณรอยกระทบรอน (HAZ)
คําตอบ 3 : เพื่อลดอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมในระหวางการเย็นตัว
คําตอบ 4 : ปองกันการเกิดโครงสรางมารเทนไซต
45 of 113
ขอที่ : 199
ขอใดที่ไมมีอิทธิพลตอการเกิดแตกราวขณะรอนของแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 1 : สวนผสมทางเคมี (Chemical Composition)


คําตอบ 2 : ความรอนปอนเขาที่สูงเกินไป (Excessive Heat Input)

่ า
คําตอบ 3 : รูปแบบการยึดชิ้นงาน (Intensity of Restraint)


คําตอบ 4 : ปริมาณไฮโดรเจน (Hydrogen)

ขอที่ : 200

ํจาห

สารมลทินชนิดใดตองมีการควบคุมในอยูในระดับต่ําเพื่อปองกันการแตกราวขณะรอน

้ า
คําตอบ 1 : ซัลเฟอรและฟอสฟอรัส

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ดีบุกและตะกั่ว
คําตอบ 3 : ทังสเตนและวานาเดียม

ิท
คําตอบ 4 : ไนโตรเจนและคารบอน

นส

ขอที่ : 201


ขอใดสามารถใชเพื่อประเมินคาความสามารถในการเชื่อม (Weldability) ของเหล็กกลาผสมต่ํา


คําตอบ 1 : ปริมาณโครเมียมเทียบเทา (Chromium Equivalent)


คําตอบ 2 : ปริมาณคารบอนเทียบเทา (Carbon Equivalent)


คําตอบ 3 : ปริมาณนิกเกิลเทียบเทา (Nickel Equivalent)


คําตอบ 4 : ปริมาณออกซิเจน

วก


ขอที่ : 202


ความไมสมบูรณของแนวเชื่อมขอใดเปนผลมาจากการเลือกใชพารามิเตอรการเชื่อมไมเหมาะสม


สภ
คําตอบ 1 : Undercut
คําตอบ 2 : รอยแตกราวขณะเย็น
คําตอบ 3 : รอยแตกราวขณะรอน
คําตอบ 4 : โพรงอากาศในเนื้อโลหะแนวเชื่อม

ขอที่ : 203
เหล็กกลาไรสนิมเกรดใดเหมาะสําหรับนํามาเชื่อมมากที่สุด
46 of 113
คําตอบ 1 : AISI 304
คําตอบ 2 : AISI 304L
คําตอบ 3 : AISI 420
คําตอบ 4 : AISI 430

่ าย

ขอที่ : 204

ํจาห
การผสมธาตุชนิดใดในเหล็กกลาไรสนิมมารเทนซิติคทําใหอุณหภูมิการเกิดมารเทนไซต (Ms Temperature) เพิ่มขึ้น
คําตอบ 1 : คารบอน
คําตอบ 2 : โมลิบดินั่ม


คําตอบ 3 : นิกเกิล

้ า
คําตอบ 4 : แมงกานิส

ขอที่ : 205
ิธ์ ห
ิท
ควรเติมธาตุชนิดใดลงไปในเหล็กกลาคารบอนเพื่อปองกันปญหาการแตกราวขณะรอนระหวางการเชื่อม


คําตอบ 1 : คารบอน

วน
คําตอบ 2 : ซิลิกอน


คําตอบ 3 : แมงกานีส


คําตอบ 4 : นิกเกิล

ขอที่ :

ร ขอ
206


โลหะชนิดใดมีความเสี่ยงตอการเกิดแตกราวขณะเย็นหลังจากผานกระบวนการเชื่อม


คําตอบ 1 : เหล็กกลาผสมต่ําความแข็งแรงสูง



คําตอบ 2 : อลูมิเนียมอัลลอย

าว
คําตอบ 3 : เหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติค

สภ
คําตอบ 4 : นิกเกิลอัลลอย

ขอที่ : 207
ขอใดคือสาเหตุสําคัญของปญหาการกัดกรอนตามขอบเกรน (Intergranular Corrosion) บริเวณแนวเชื่อมและรอยกระทบรอน (HAZ) ของเหล็กกลาไรสนิมออ
สเทนนิติค
คําตอบ 1 : การลดปริมาณคารบอนในเหล็กกลาไรสนิม
คําตอบ 2 : การเพิ่มปริมาณไนโตรเจนในเหล็กกลาไรสนิม
47 of 113
คําตอบ 3 : การเกิดชั้นฟลมโครเมียมออกไซดบนผิวเหล็กกลา
คําตอบ 4 : การเกิดผลึกโครเมียมคารไบดบริเวณขอบเกรน


ขอที่ : 208

่ า
ธาตุชนิดใดชวยลดการเกิดผลึกโครเมียมคารไบดในรอยกระทบรอนของเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค?


คําตอบ 1 : ไนโตรเจน

ํจาห
คําตอบ 2 : อลูมีเนียม
คําตอบ 3 : ไททาเนียม
คําตอบ 4 : แมงกานีส

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 209
เหตุใดตองมีการควบคุมปริมาณออกซิเจนของแนวเชื่อมเหล็กกลาผสมต่ํา
คําตอบ 1 : เพื่อลดความสามารถในการยืดตัวของแนวเชื่อม

ิท
คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มความสามารถในการรับแรงกระแทกของแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : ลดระดับความแข็งของแนวเชื่อม

วน
คําตอบ 4 : ปองกันการแตกราวขณะรอน

ขอที่ :

สง

210
กาซปกคลุมชนิดใดชวยลดปริมาณเดลตาเฟอรไรทในแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค

ร ข
คําตอบ 1 : อารกอน


คําตอบ 2 : อารกอน+ฮีเลียม


คําตอบ 3 : อารกอน+ไฮโดรเจน



คําตอบ 4 : อารกอน+ไนโตรเจน

าว
สภ
ขอที่ : 211
ธาตุชนิดใดไมจัดอยูในกลุมที่ทําใหเกิดโครงสรางออสเทนไนทในแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 1 : คารบอน
คําตอบ 2 : โครเมียม
คําตอบ 3 : นิกเกิล
คําตอบ 4 : แมงกานีส

48 of 113
ขอที่ : 212
ปญหาการแตกราวชนิดใดสามารถพบแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมมารเทนซิติค
คําตอบ 1 : การแตกราวขณะเย็น
คําตอบ 2 : การแตกราวขณะรอน


คําตอบ 3 : การแตกราวในเกรนออสเทนไนต

่ า
คําตอบ 4 : การแตกราวระหวางเกรนเฟอรไรตและออสเทนไนต


ํจาห
ขอที่ : 213
ปจจัยใดชวยลดความเสี่ยงของการเกิดแตกราวขณะรอนในแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค


คําตอบ 1 : การเพิ่มปริมาณเดลตาเฟอรไรทในเนื้อโลหะรอยเชื่อม

้ า
คําตอบ 2 : การลดสัดสวนของโครเมียมเทียบเทาตอนิกเกิลเทียบเทา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การเพิ่มปริมาณสารมลทินในเนื้อโลหะรอยเชื่อม
คําตอบ 4 : การลดอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อม

ขอที่ : 214

สิท
วน
วิธีการเชื่อมใดสามารถนํามาใชงานเพื่อปองกันการเกิดแตกราวขณะรอนของแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค


คําตอบ 1 : Shielded Metal Arc Welding


คําตอบ 2 : Gas Tungsten Arc Welding


คําตอบ 3 : Gas Metal Arc Welding


คําตอบ 4 : Laser Beam Welding

ก ร

ขอที่ : 215



เหตุใดจึงไมเกิดโครงสรางมารเทนไซตในแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค

าว
คําตอบ 1 : มีปริมาณธาตุในกลุมเพิ่มความเสถียรโครงสรางออสเทนไนตสูง

สภ
คําตอบ 2 : ระดับอุณหภูมิการเกิดมารเทนไซตสูงกวาอุณหภูมิหอง
คําตอบ 3 : อัตราการเย็นตัวหลังของแนวเชื่อมต่ํา
คําตอบ 4 : มีปริมาณโครเมียมต่ํา

ขอที่ : 216
วิธีการเชื่อมวิธีใดไมเหมาะสําหรับการเชื่อมไททาเนียมอัลลอย
คําตอบ 1 : Shielded Metal Arc Welding 49 of 113
คําตอบ 2 : Gas Tungsten Arc Welding
คําตอบ 3 : Plasma Arc Welding
คําตอบ 4 : Electron Beam Welding

่ าย
ขอที่ : 217


อะไรคือขอจํากัดของการเลือกใชวิธีการเชื่อมสําหรับไททาเนียม

ํจาห
คําตอบ 1 : ไททาเนียมทําปฏิกริยากับออกซิเจนไดงาย
คําตอบ 2 : ไททาเนียมมีผิวมันวาว
คําตอบ 3 : ไททาเนียมมีราคาแพง


คําตอบ 4 : ไททาเนียมมีความแข็งแรงสูง

ขอที่ : 218

ิธ์ ห้ า
อะไรคือสาเหตุการเกิดโครงสรางมารเทนไซตในรอยกระทบรอนของเหล็กกลาผสมต่ํา

ิท
คําตอบ 1 : อัตราการเย็นตัวหลังการเชื่อมสูง


คําตอบ 2 : มีปริมาณคารบอนต่ํา

วน
คําตอบ 3 : ระดับอุณหภูมิการเกิดมารเทนไซตต่ํากวาอุณหภูมิหอง


คําตอบ 4 : มีปริมาณไนโตรเจนเพียงพอสําหรับการเกิดโครงสรางมารเทนไซต

ขอที่ :

อ ส

219


การทดสอบวิธีใดสามารถใชประเมินหาความสามารถตานทานการแตกราวขณะเย็นของเหล็กกลาผสมต่ําได


คําตอบ 1 : การทดสอบแรงกระแทก


คําตอบ 2 : การทดสอบแรงดึง



คําตอบ 3 : การทดสอบความแข็ง

าว
คําตอบ 4 : การทดสอบแบบ Tekken (Tekken Test)

สภ
ขอที่ : 220
การทดสอบวิธีใดสามารถใชประเมินหาความสามารถตานทานการเกิดแตกราวขณะรอนของเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 1 : Cruciform Cracking Test
คําตอบ 2 : Implant Test
คําตอบ 3 : Varestraint Test
คําตอบ 4 : Tekken Test
50 of 113
ขอที่ : 221
ขอใดคือโครงสรางผลึกของเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 1 : Face Center Cubic (FCC)


คําตอบ 2 :

่ า
Body Center Cubic (BCC)
คําตอบ 3 :


Tetragonal Center Cubic (TCC)
คําตอบ 4 : Hexagonal Closed Pack (HCP)

ขอที่ : 222

ํจาห

วิธีการเชื่อมแบบใดนิยมใชสําหรับการเชื่อมประกอบตัวถังรถยนต

้ า
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
Spot Welding
คําตอบ 2 : Electron Beam Welding
คําตอบ 3 : Gas Tungsten Arc Welding

ิท
คําตอบ 4 : Submerged Arc Welding

นส

ขอที่ : 223


เหตุใดลวดเชื่อม (Filler Metal) จึงจําเปนตองมีสวนผสมทางเคมีใกลเคียงกับโลหะพื้นฐาน (Base Metal)


คําตอบ 1 : เพื่อเพิ่มความแข็งใหกับแนวเชื่อม


คําตอบ 2 : เพื่อลดความแข็งแรงของแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกลของแนวเชื่อม


คําตอบ 4 : เพื่อเพิ่มความสวยงามใหกับแนวเชื่อม

วก


ขอที่ : 224


ขอใดคือสาเหตุที่ทําใหความสามารถในการรับแรงกระแทกของรอยกระทบรอนแนวเชื่อมเหล็กกลาผสมต่ําลดลง


สภ
คําตอบ 1 : การลดปริมาณออกซิเจนของรอยกระทบรอนแนวเชื่อม
คําตอบ 2 : การเพิ่มปริมาณ Inclusion ของรอยกระทบรอนแนวเชื่อม
คําตอบ 3 : การลดขนาดเกรนของรอยกระทบรอนแนวเชื่อม
คําตอบ 4 : การอบคลายความเครียดหลังจากการเชื่อม

ขอที่ : 225
ความสัมพันธขอใดถูกตอง
51 of 113
คําตอบ 1 : ปริมาณอินคลูชั่น (Inclusion) มีอิทธิพลตอคุณสมบัติการรับแรงกระแทกของแนวเชื่อม
คําตอบ 2 : ปริมาณคารบอนไมมีผลตอการเกิดโครงสรางเบนไนตในรอยกระทบรอน
คําตอบ 3 : การเพิ่มปริมาณเฟอรไรทแบบเข็ม (Acicular Ferrite) ไมมีผลการรับแรงกระแทกของแนวเชื่อม
คําตอบ 4 : การลดขนาดเกรนออสเตนไนตไมมีอิทธิพลตอการเกิดโครงสรงแบบเบนไนต

่ าย

ขอที่ : 226

ํจาห
ขอดีของเดลตาเฟอรไรทที่ปรากฏอยูในแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 1 : ชวยเพิ่มความตานทานการกัดกรอนแบบรูเข็มของแนวเชื่อม
คําตอบ 2 : ชวยเพิ่มความตานทานการแตกราวขณะรอนของแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : ชวยเพิ่มความสามารถในการยืดตัวของแนวเชื่อม

้ า
คําตอบ 4 : ชวยลดขนาดเกรนของออสเตนไนทในระหวางการเชื่อม

ขอที่ : 227
ิธ์ ห
ิท
ธาตุชนิดใดที่มีอิทธิพลตอการแตกราวขณะรอนของแนวเชื่อมเหล็กกลาคารบอน


คําตอบ 1 : ซัลเฟอร

วน
คําตอบ 2 : ไฮโดรเจน


คําตอบ 3 : ดีบุก


คําตอบ 4 : แมงกานีส

ขอที่ :

ร ขอ
228


ขอใดคือโครงสรางผลึกของอลูมิเนียม


คําตอบ 1 : Face Center Cubic (FCC)



คําตอบ 2 :


Body Center Cubic (BCC)


คําตอบ 3 : Tetragonal Center Cubic (TCC)

สภ
คําตอบ 4 : Hexagonal Closed Pack (HCP)

ขอที่ : 229
เหล็กกลาคารบอนปานกลาง (Medium Carbon Steel) ควรมีปริมาณคารบอนอยูในชวงใด

คําตอบ 1 : นอยกวา 0.25 เปอรเซ็นต


คําตอบ 2 : 0.25 ถึง 0.50 เปอรเซ็นต
คําตอบ 3 : 0.50 ถึง 1.00 เปอรเซ็นต 52 of 113
คําตอบ 4 : มากกวา 1.1 เปอรเซ็นต

ขอที่ : 230


อุณหภูมิหลอมเหลว (Melting Temperature) ของอลูมิเนียมออกไซดคือ

่ า
คําตอบ 1 : ประมาณ 660 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : ประมาณ 1,050 องศาเซลเซียส

ํจาห
คําตอบ 3 : ประมาณ 1,930 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : ประมาณ 2,200 องศาเซลเซียส

้ าม
ขอที่ : 231

ิธ์ ห
วิธีการใดเหมาะสมสําหรับใชเชื่อมทองแดงผสมแผนบางมากที่สุด
คําตอบ 1 : GMAW
คําตอบ 2 :

ิท
SMAW
คําตอบ 3 :


SAW
คําตอบ 4 :


GTAW

ขอที่ : 232

ง ว

อุณหภูมิหลอมเหลว (Melting Temperature) ของเหล็กกลาคารบอนปานกลาง

ขอ
คําตอบ 1 : ประมาณ 721 องศาเซลเซียส


คําตอบ 2 : ประมาณ 910 องศาเซลเซียส


คําตอบ 3 : ประมาณ 1,400 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : ประมาณ 1,530 องศาเซลเซียส

าวศ

ขอที่ : 233

สภ
โดยทั่วไปแลวทําไมการเชื่อมโลหะผสมพิเศษเบสนิกเกิลที่มีกลไกการเพิ่มความแข็งแรงโดยอนุภาคแกมมาไพรมที่ตกตะกอนออกมาจึงทําไดยากกวาโลหะผสม
พิเศษเบสนิกเกิลที่มีความแข็งแรงแบบสารละลายของแข็งอยางเดียว
คําตอบ 1 : ปญหาเรื่อง “Strain age cracking”
คําตอบ 2 : ปญหาเรื่อง “การทํา Preheat” ที่เหมาะสม
คําตอบ 3 : ปญหาเรื่อง “การทํา Post heat” ที่เหมาะสม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

53 of 113
ขอที่ : 234
ปญหาที่ยุงยากในทางปฏิบัติในขั้นตอนการเชื่อมโลหะผสมพิเศษสําหรับการใชงานที่อุณหภูมิสูงที่ประกอบไปดวยธาตุอะลูมิเนียมและไทเทเนียมคืออะไร
คําตอบ 1 : การเกิดออกไซดฟลมจากธาตุทั้ง 2 ขณะทําการเชื่อมทําใหรอยเชื่อมไมมีความแข็งแรง
คําตอบ 2 : ตองใชกาซเฉื่อย เชน กาซอารกอนพนตรงบริเวณที่จะถูกเชื่อมเพื่อปองกันฟลมออกไซด


คําตอบ 3 : ตองเตรียม Chamber พิเศษเชนมีสภาวะสุญญากาศสําหรับปองกันการเกิดออกไซดฟลม

่ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ํจาห
ขอที่ : 235
ในการเชื่อมโลหะนิกเกิล คุณสมบัติของนิกเกิลที่ตองพึงระวังในการเชื่อมโดยทั่วไป คือ


คําตอบ 1 : มีคุณสมบัติละลายกาซไดดี ทําใหเกิดรอยพรุนในเนื้อเชื่อมได

้ า
คําตอบ 2 : เกิดสารประกอบนิกเกิลซัลไฟด (NiS) ทําใหเกิดรอยแตกราวขณะรอน (Hot Cracking)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การเกิดขึ้นของนิกเกิลออกไซด (NiO) ทําใหเกิดบอน้ําโลหะ (Weld pool)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 236

สิท
วน
การเชื่อมแบบใดที่เหมาะสมสําหรับทําการเชื่อมโลหะผสมพิเศษนิกเกิลที่มีความแข็งแรงมาจากการกระจายตัวของอนุภาคออกไซดอยูทั่วไปภายในเนื้อพื้น


(Matrix) ที่ผลิตจากกรรมวิธีโลหะผง


คําตอบ 1 : Gas Tungsten Arc Welding (GTAW)


คําตอบ 2 : Gas Metal Arc Welding (GMAW)


คําตอบ 3 : Shielded Metal Arc Welding (SMAW)


คําตอบ 4 : Brazing

วก


ขอที่ : 237


ในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษโคบอลตแบบ Brazing, Filler metals ที่ทําดวยโลหะชนิดใดที่ใหคาความแข็งแรง และความตานทานตอการเกิด Oxidation ที่


อุณหภูมิสูงต่ําสุด

สภ
คําตอบ 1 : เงินหรือทองแดง
คําตอบ 2 : นิกเกิล
คําตอบ 3 : โคบอลค
คําตอบ 4 : ทอง-พาลาเดียม

ขอที่ : 238
54 of 113
โดยทั่วไปแลวในการเชื่อมโลหะผสมไทเทเนียม นอกจากวิธีการเชื่อมแบบ GTAW(TIG), GMAW(MIG), Plasma Arc Welding (PAW), Electron
Beam Welding (EBW), Laser Beam Welding (LBW), Resistance Spot Welding (SPOT) และ Seam Welling (SEAM) แลวยังมีวิธีการเชื่อมแบบ
ใดไดอีก
คําตอบ 1 : Flash welding (FW)
คําตอบ 2 : Diffusion bonding (DW)


คําตอบ 3 : Ultrasonic welding (UW)

่ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ํจาห
ขอที่ : 239
โลหะผสมไทเทเนียมที่มีโครงสรางแบบใดที่ไมเหมาะสมกับการเชื่อมประเภท Fusion welding


คําตอบ 1 : โครงสรางที่มีเฟส อัลฟา อยางเดียว

้ า
คําตอบ 2 : โครงสรางที่มีเฟส อัลฟา เปนสวนใหญ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : โครงสรางผสมที่มีเฟส อัลฟา- เบตา
คําตอบ 4 : โครงสรางที่มีเฟส เบตา เปนสวนใหญ

ขอที่ : 240

สิท

สิ่งที่ตองคํานึงถึงอยางมากในการเชื่อมขอใดของโลหะผสมไทเทเนียมที่เหมือนกับการเชื่อมโลหะผสมพิเศษ

ง ว
คําตอบ 1 : การควบคุมบรรยากาศการเชื่อม


คําตอบ 2 : การควบคุมเฟสที่ตกผลึกออกมาได


คําตอบ 3 : การทํา Pre weld และ Post weld


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ก ร

ขอที่ : 241



โลหะประเภทใดที่เกิดปญหาโดยรอยเชื่อมมีความเปราะไดงายที่สุด


คําตอบ 1 : โลหะไทเทเนียม


คําตอบ 2 : โลหะผสมไทเทเนียมที่มีเฟสเปนโครงสรางแบบ อัลฟา นอยมาก

สภ
คําตอบ 3 : โลหะผสมไทเทเนียมที่มีเฟสเปนโครงสรางแบบ เบตา ที่เสถียรเล็กนอย
คําตอบ 4 : โลหะผสมไทเทเนียมที่มีเฟสเปนโครงสรางแบบ เบตา ที่เสถียรมาก

ขอที่ : 242
การเชื่อมโลหะผสมไทเทเนียมประเภทอัลฟา-เบตา และเบตา เราสามารถเพิ่มความแข็งแรงของวัสดุไดโดยวิธีใด

คําตอบ 1 : Cold work


55 of 113
คําตอบ 2 : Hot work
คําตอบ 3 : การอบออน (Annealing) ในชวง Pre weld treatment
คําตอบ 4 : การบมแข็ง (Aging) ในชวง Post weld treatment

่ าย
ขอที่ : 243


ความเหนียวของรอยเชื่อม (Weld ductility) ในโลหะผสมไทเทเนียมที่มีโครงสรางแบบ อัลฟา-เบตา สวนใหญจะมีคาต่ําเนื่องจากสาเหตุใด

ํจาห
คําตอบ 1 : ออกไซดฟลมในรอยเชื่อม
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงของเฟสในแนวรอยเชื่อมหรือในบริเวณ HAZ
คําตอบ 3 : เกิดการตกตะกอนของไฮไดรดในแนวรอยเชื่อม


คําตอบ 4 : เปนไปไดทุกขอ

ขอที่ : 244

ิธ์ ห้ า
ในการใชโลหะไทเทเนียมเปน Filler-Metal ในการเชื่อมโลหะผสมไทเทเนียมแบบ GTAW มีขอดีอยางไร

ิท
คําตอบ 1 : ทําใหรอยเชื่อมมีโอกาสเกิดเฟสเบตาไดนอยลง


คําตอบ 2 : ลดปริมาณการเกิดการเปลี่ยนแปลงของเฟสในรอยเชื่อม

วน
คําตอบ 3 : เพิ่มสมบัติความเหนียวของรอยเชื่อม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

อ ส

245


โดยทั่วไปแลว Filler-metals ที่ทําดวยโลหะไทเทเนียมและมีสวนผสมของออกซิเจนไฮโดรเจน, ไนโตรเจนและคารบอนในปริมาณเล็กนอย ในการเชื่อมโลหะ


ผสมไทเทเนียมมีหนาที่หลักในดานใด


คําตอบ 1 : ปองกันการเกิดฟลมตาง ๆ ที่รอยเชื่อม



คําตอบ 2 : ควบคุมขนาดของผลึกในรอยเชื่อม


คําตอบ 3 : เพิ่มความแข็งแรงของรอยเชื่อม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

สภ
ขอที่ : 246
ในการเชื่อมโลหะไทเทเนียมดวยวิธีการเชื่อมแบบ Electron Beam Welding (EBW) มีขอดีกวาการเชื่อมแบบ Arc Welding อยางไร

คําตอบ 1 : สามารถเชื่อมรอยเชื่อมที่มีหนากวางนอยและมีความลึกมากไดดี
คําตอบ 2 : มีบริเวณของ Heat –Affected zone (HAZ) นอยกวา
คําตอบ 3 : มีความทนทานตอการเปลี่ยนรูปเมื่อมีการขยายหรือหดตัวจากความรอนที่สูงกวา
56 of 113
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 247


ขอใดเปนวิธีการเชื่อมหลักสําหรับโลหะผสมพิเศษ

่ า
คําตอบ 1 : Mechanical Joining


คําตอบ 2 : Fusion Welding

ํจาห
คําตอบ 3 : Solid State Welding
คําตอบ 4 : Brazing

้ าม
ขอที่ : 248

ิธ์ ห
โลหะผสมพิเศษกลุมใดที่มีปญหายุงยากในการเชื่อมโดยเฉพาะตองคํานึงถึงปญหาแบบ strain-age cracking
คําตอบ 1 : Inconel 718, Inconel X, และ Nimonic มากที่สุด
คําตอบ 2 : Inconel 702, Warpoloy , และ Rene 41

ิท
คําตอบ 3 : Mar-M-200, Udimet 500 และ Udimet 700


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 249

ง วน

โลหะผสมพิเศษกลุมใดตอไปนี้ที่มีความยุงยากในการเชื่อมนอยที่สุด

ขอ
คําตอบ 1 : โลหะผสมพิเศษเหล็ก-นิกเกิล แบบ Precipitation Strengthening


คําตอบ 2 : โลหะผสมพิเศษนิกเกิลแบบ Precipitation Strengthening ที่ไดจากการรีด


คําตอบ 3 : โลหะผสมพิเศษนิกเกิลแบบ Precipitation Strengthening ที่ไดจากการหลอ


คําตอบ 4 : โลหะผสมพิเศษโคบอลตแบบ Carbide Strengthening

าวศ

ขอที่ : 250

สภ
สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษนิกเกิลแบบสารละลายของแข็ง (Solid Solution Strengthening) ที่ไดจากการรีดอีกประการหนึ่งคือ ขนาดของ
ผลึกเริ่มตนเพราะสามารถสงผลในดาน
คําตอบ 1 : ความสามารถในการเชื่อม
คําตอบ 2 : ความตานทานสูงสุดตอการคืบ
คําตอบ 3 : ความสามารถในการเปลี่ยนรูป (Ductility) และความยืดหยุน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

57 of 113
ขอที่ : 251
การเชื่อมโลหะผสมพิเศษนิกเกิลแบบ Gamma-Precipitation Strengthening ในอากาศอาจเกิดเหตุการณใดไดบาง
คําตอบ 1 : ธาตุอะลูมิเนียมและไทเทเนียมอาจสูญเสียจากเนื้อโลหะพื้น (Matrix)
คําตอบ 2 : สัดสวนเชิงปริมาณของอนุภาค Gamma ลดลง


คําตอบ 3 : การกระจายตัวของอนุภาค Gamma เกิดการบิดเบือนในโครงสราง

่ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ํจาห
ขอที่ : 252
ในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษนิกเกิลประเภทที่มีความแข็งแรงเนื่องจากอนุภาคคารไบด (Carbide Hardening) และโลหะผสมพิเศษโคบอลต โดยทั่วไปแลว


filler ควรจะมีลักษณะที่สําคัญที่สุด

้ า
คําตอบ 1 : หาไดงาย

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ราคาถูก
คําตอบ 3 : ไมเกิดออกไซดขณะทําการเชื่อม

ิท
มีสวนผสมทางเคมีของธาตุที่จะทําใหเกิดคารไบด เชน โครเมียม, ไนโอเนียม และคารบอนที่อิ่มตัวอยางยิ่งยวดนอยกวาโลหะผสมพิเศษที่จะ
คําตอบ 4 :
ถูกเชื่อม

นส

ขอที่ : 253


ธาตุตัวใดที่ไมถือวาเปนสิ่งปนเปอนในโลหะผสมพิเศษที่สามารถสงผลใหเกิด Liquation Cracking ในระหวางการเชื่อมโลหะผสมพิเศษ

อ ส
คําตอบ 1 : ซัลเฟอร


คําตอบ 2 : ฟอสฟอรัส


คําตอบ 3 : ตะกั่ว


คําตอบ 4 : โบรอน


ิ ว

ขอที่ : 254


โลหะใดบางที่ตองระวังในขณะทําการเชื่อม เนื่องจากมีจุดหลอมเหลวต่ํา สามารถแพรเขาไปแทรกอยูที่ขอบผลึกไดทําใหความแข็งแรงของผลึกลดลง (หมาย

สภ
เหตุ : อุปกรณการเชื่อมและ Chills สวนใหญทําจากโลหะประเภทนี้และนิยมใชกันอยางกวางขวางตองระวังไมมีการหลุดลงไปที่ผิวของชิ้นงานเชื่อมของโลหะ
ผสมพิเศษ
คําตอบ 1 : ทองแดง
คําตอบ 2 : ตะกั่ว
คําตอบ 3 : ทองเหลือง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

58 of 113
ขอที่ : 255
การเชื่อมโลหะผสมพิเศษเบสโคบอลต การเชื่อมประเภทไหนที่นิยมใชกันทั่วไป
คําตอบ 1 : GTAW, GMAW และ SMAW
คําตอบ 2 : EBW และ PAW


คําตอบ 3 :

่ า
Laser Beam Welding (LBW)
คําตอบ 4 :


Resistance Spot/Seam Welding (RSW/RSEW)

ํจาห
ขอที่ : 256
การเชื่อมประเภทใดที่นิยมใชสําหรับการเชื่อมโลหะผสมพิเศษนิกเกิล (Precipitation Strengthening) ที่ไดจาก การหลอ


คําตอบ 1 :

้ า
TIG
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
EBW
คําตอบ 3 : LBW
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 257

สิท
วน
โลหะผสมกลุมใดที่เหมาะสําหรับเปน Filler Metals ในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษนิกเกิล-เหล็ก เกรด IN-718 ในการเชื่อมแบบ GTAW เพื่อใหไดคาบมแข็ง


เชิงกลสูงสุด


คําตอบ 1 : Rene 41, GMS 235 และ IN-718 (โลหะผสมพิเศษนิกเกิล-เหล็กที่บมแข็งได)


คําตอบ 2 : Hostelloy S และ Inconel 82 (โลหะผสมพิเศษนิกเกิลที่ไดความแข็งแรงแบบสารละลายของแข็ง)


คําตอบ 3 : WI-52, X-40 และ FSX-414 (โลหะผสมพิเศษโคบอลตที่ไดความแข็งแรงแบบสารละลายของแข็ง)


คําตอบ 4 : ใชกลุมใดก็ได

วก


ขอที่ : 258


ปญหาที่เกิดขึ้นในการเชื่อมประเภท Fusion Welding โดยเฉพาะการแตกราวของรอยเชื่อมขณะแข็งตัว และปญหาการลดลงของความแข็งแรงแบบดึงโดย


เฉพาะที่ Heat-Affected Zone (HAZ) ในโลหะประเภทใด ตอไปนี้เกิดขึ้นไดงายที่สุด

สภ
คําตอบ 1 : โลหะอลูมิเนียม
คําตอบ 2 : โลหะผสมอลูมิเนียม-แมกนีเซียม
คําตอบ 3 : โลหะผสมอลูมิเนียม-แมงกานีส
คําตอบ 4 : โลหะผสมอลูมิเนียมที่มีความแข็งแรงสูง

ขอที่ : 259
59 of 113
แกสชนิดใดถามีปริมาณสูงเกินไปสามารถทําใหเกิดรูพรุน(Porosity) ในรอยเชื่อมแบบวิธี Gas Metal Arc Welding (High Current) ในโลหะผสมอลูมิเนียม
ได
คําตอบ 1 : ไฮโดรเจน
คําตอบ 2 : ออกซิเจน
คําตอบ 3 : คารบอนไดออกไซด


คําตอบ 4 : ไนโตรเจน

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 260
โดยทั่วไปแลวในการเชื่อมโลหะอลูมิเนียมยิ่งใชอุณหภูมิสูงขึ้นจะทําใหกาซออกซิเจนมีโอกาสในการละลายลง ไปในรอยเชื่อมไดมากขึ้น นําไปสูการเกิดอนุภาค
ของอลูมินา (Al2O3) ละลายอยูในเนื้ออลูมิเนียม ซึ่งสามารถทําใหเกิดปญหาที่สําคัญใดตามมา


คําตอบ 1 : เปนแหลงเริ่มตนของรูพรุนแกส

้ า
คําตอบ 2 : Hot Cracking

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความไมสม่ําเสมอของแนวเชื่อม
คําตอบ 4 : เกิดฟลมออกไซดที่แนวเชื่อม

ขอที่ : 261

สิท

การทําใหรอยเชื่อมของโลหะผสมอลูมิเนียมมีผลึกขนาดเล็กมาก ๆ เพื่อที่จะลด Crack Sensivity นั้น สามารถนําเทคนิคใดมาใชได

ง ว
คําตอบ 1 : การอบชุบทางความรอน


คําตอบ 2 : การควบคุมการเปนตัวของชิ้นงานที่ถูกเชื่อม


คําตอบ 3 : ผสมออกไซดบางชนิดลงไประหวางเชื่อมเพื่อทําใหผลึกไมสามารถโตตอไปได


คําตอบ 4 : การสั่นหรือกวน Weld Pool ดวยเครื่อง Ultrasonic หรือเครื่องกวนแบบ Electromagnetic

ก ร

ขอที่ : 262



โดยทั่วไปแลวจะนิยมเชื่อมแผนโลหะผสมอลูมิเนียมที่ผานการขึ้นรูปมา(ซึ่งมีความเครียดภายในตกคางอยู) ดวย วิธีการเชื่อม Gas Tungsten Arc Welding


เพื่อลดการสูญเสียความแข็งแรงของรอยเชื่อมดวยเหตุผลใด


คําตอบ 1 : ลดความกวางของ Heat-affected zone

สภ
คําตอบ 2 : เพื่อทําใหออกไซดกระจายตัวอยางสม่ําเสมอ
คําตอบ 3 : เพื่อทําใหรอยเชื่อมไดรับความรอนเปนปริมาณสูงขึ้น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 263
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะอลูมิเนียม และโลหะผสมอลูมิเนียมโดยทั่วไปนิยมใชวิธีเชื่อมแบบใด
คําตอบ 1 : Solid Phase Welding 60 of 113
คําตอบ 2 : Adhesive Welding
คําตอบ 3 : Resistance Welding
คําตอบ 4 : Fusion Welding

่ าย
ขอที่ : 264


ปญหาที่สําคัญที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการเชื่อมโลหะแมกนีเซียม (Magnesium) และโลหะผสมแมกนีเซียม ซึ่งมีลักษณะคลายกับการเชื่อมโลหะอลูมิเนียม และ

ํจาห
โลหะผสมอลูมิเนียมคือขอใด
คําตอบ 1 : Refractory Oxide ที่ผิวของโลหะหลอมเหลวขณะทําการเชื่อม
คําตอบ 2 : การควบคุมการโตของผลึกในรอยเชื่อม


คําตอบ 3 : การควบคุมการเนนตัวของรอยเชื่อม

้ า
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 265
ิธ์ ห
ิท
กรรมวิธีการเชื่อมแบบ Fusion Welding ชนิดใดที่นิยมใชแพรหลายในการเชื่อมโลหะแมกนีเซียม และโลหะผสมแมกนีเซียม


คําตอบ 1 : Gas Tungsten Arc Welding


คําตอบ 2 :


Gas Metal Arc Welding


คําตอบ 3 : Shielded Metal Arc Welding


คําตอบ 4 : Submerged Arc Welding

ขอที่ :

ร ขอ
266


ธาตุใดที่เปนสวนผสมในโลหะผสมแมกนีเซียมที่มีปริมาณมากเกินไปจะสงผลใหเกิดความเสี่ยงในการเกิดการแตกราวของรอยเชื่อมขณะแข็งตัว


คําตอบ 1 : ธอเรียม (Thorium)



คําตอบ 2 : อลูมิเนียมและแมกนีเซียม


คําตอบ 3 : เซอรโคเนียม


คําตอบ 4 : สังกะสีและแคลเซียม

สภ
ขอที่ : 267
โดยทั่วไปแลวโลหะผสมแมกนีเซียมที่มีสวนผสมของธาตุอลูมิเนียมอยูดวยจะมีความเสี่ยงในการเกิดรอยราวแบบถูกกัดกรอนและมีความเคนรวมดวย (Stress
Corrosion Cracking) ใน HAZ ของรอยเชื่อมภายหลังการเชื่อมแบบ Fusion Welding ถามวาวิธีการใดที่ถูกนํามาใชเพื่อหลีกเหลี่ยงปญหาในขอนี้
คําตอบ 1 : การ Coating ผิวรอยเชื่อม
คําตอบ 2 : การทํา Annealing
คําตอบ 3 : การทํา Precipitate Aging 61 of 113
คําตอบ 4 : การทํา Stress-Relieving

ขอที่ : 268


โลหะผสมทองแดงประเภทใดที่ประกอบไปดวยธาตุ Deoxidizing ทําใหสามารถเชื่อมได โดยไมตองใช Filler Metal ที่มีสวนผสมพิเศษเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิด

่ า
รูพรุนในรอยเชื่อม


คําตอบ 1 : Aluminium Bronze

ํจาห
คําตอบ 2 : Tin Bronze
คําตอบ 3 : Silicon Copper
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 269
โดยทั่วไปแลวการเชื่อมโลหะประเภททองเหลืองจะคอนขางทําไดยาก เนื่องจากปญหาในการเกิดรูพรุนแบบ Weld Deposit เนื่องจากการกลายเปนไอของธาตุ
ผสมใด

ิท
คําตอบ 1 : ทองแดง


คําตอบ 2 : ดีบุก


คําตอบ 3 : สังกะสี


คําตอบ 4 : เงิน

สง

ขอที่ : 270


โลหะทองแดงและโลหะผสมทองแดง โดยทั่วไปแลวหลังการเชื่อมแลวจะมีแนวโนมที่มีความเปราะและมีความเสี่ยงในการเกิด Hot Cracking ถามีสวนผสม


ของธาตุที่มีจุดหลอมเหลวต่ําเชน


คําตอบ 1 : ซิลิกอนและเงิน


คําตอบ 2 : บิสมัทและตะกั่ว

วศ

คําตอบ 3 : โครเมียม


คําตอบ 4 : เบริลเลียม

สภ
ขอที่ : 271
ปญหาแบบ “Hot-Shortness” ในโลหะนิกเกิลและโลหะผสมนิกเกิลในการเชื่อมการเกิดขึ้นเนื่องจากมีสวนผสม ปนเปอนของธาตุใด
คําตอบ 1 : ซัลเฟอร
คําตอบ 2 : ตะกั่ว
คําตอบ 3 : ฟอสฟอรัส
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ 62 of 113
ขอที่ : 272
โดยทั่วไปแลวธาตุผสมตัวใดในโลหะนิกเกิลหรือโลหะผสมนิกเกิลที่ตองระวังใหมีปริมาณที่ต่ําเพื่อลดปญหา “Intergranular Corrosion Attack” ของรอยเชื่อม
เพื่อใชงานไปเปนระยะเวลานาน ๆ


คําตอบ 1 : โบรอน

่ า
คําตอบ 2 : โคเมียม


คําตอบ 3 : อลูมิเนียม

ํจาห
คําตอบ 4 : คารบอน


ขอที่ : 273

้ า
โดยทั่วไปแลวปญหาที่สําคัญในการเชื่อมโลหะประเภทเบริลเลียม, ไนโอเบียม, โมลิบดีนัม, แทนทาลัม, ไทเทเนียม, ทังสเตน และเซอรโคเนียม คือขอใด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีความสามารถในการละลายกาซออกซิเจนและไนโตรเจนดีที่อุณหภูมิสูงโดยเฉพาะในบริเวณ “Molten Weld Pool”
คําตอบ 2 : แนวรอยเชื่อมมีคาความแข็งแรงสูงเกินไปทําใหมีความยืดหยุนต่ํา

ิท
คําตอบ 3 : การโตขึ้นของผลึกในแนวรอยเชื่อม


คําตอบ 4 : ขอ ก. กับ ข. ถูก

ขอที่ : 274

ง วน

สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการเชื่อมแบบ Diffusion Bonding ในโลหะผสมไทเทเนียม คืออะไร


คําตอบ 1 : เวลาที่ตองใชในการแพรของอะตอมตาง ๆ


คําตอบ 2 : อุณหภูมิที่ใชสูงกวาหรือต่ํากวาการเปลี่ยนแปลงของเฟสอัลฟา-เบตา


คําตอบ 3 : โหลดที่ตองใชในการกดชิ้นงานที่ถูกเชื่อมใหติดกัน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ิ ว

ขอที่ : 275


Braze filler metal ตัวใดที่นํามาใชเชื่อมแบบ Brazing แลวทนความรอนไดนอยที่สุด

สภ
คําตอบ 1 : เงิน-พาลาเดียม
คําตอบ 2 : เงิน-ลิเทียม-ทองแดง-อลูมิเนียม-ดีบุก
คําตอบ 3 : ไทเทเนียม-นิกเกิล-ทองแดง
คําตอบ 4 : ไทเทเนียม

ขอที่ : 276
63 of 113
กาซใดบางที่ตองระวังระหวางการเชื่อมแบบ Arc Welding ไมใหถูกดูดซับลงไปในรอยเชื่อมที่อุณหภูมิสูง ณ ขณะเชื่อมโลหะเซอรโคเนียม โลหะผสมเซอรโค
เนียม และโลหะฮาฟเนียม
คําตอบ 1 : ไนโตรเจน
คําตอบ 2 : ออกซิเจน
คําตอบ 3 : คารบอนไดออกไซด


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 277
ขอไดเปรียบที่เห็นเดนชัดในการเชื่อมโลหะผสมเซอรโคเนียมที่เหนือกวาโลหะเซอรโคเนียมแบบ Arc Welding คือขอใด (ประโยชนของโลหะธาตุผสมในการ
เชื่อม)


คําตอบ 1 : ทําใหอุณหภูมิในการเปลี่ยนจากเฟสอัลฟา อัลฟา (HCP)ไปเปนเฟสเบตา เบตา (BCC) สูงขึ้น

้ า
คําตอบ 2 : ทําใหมีการขยายตัวเมื่อไดรับความรอนต่ํา

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรนอยเมื่อเฟสเปลี่ยนไปทําใหเกิดการบิดเบี้ยวของงานเชื่อมยาก
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 278

สิท

ในการเชื่อมแบบ Arc Welding สําหรับโลหะไนโอเบียมและโลหะผสมไนโอเบียม ธาตุใดในอากาศที่สามารถทําปฏิกริยากับรอยเชื่อมไดงายที่อุณหภูมิสูง

ง ว
คําตอบ 1 : ออกซิเจน และ ไนโตรเจน


คําตอบ 2 : ไฮโดรเจน และคารบอน


คําตอบ 3 : อารกอน และ ฮีเลียม


คําตอบ 4 : ขอ ก. กับ ข. ถูก

ก ร

ขอที่ : 279



เหตุผลหลักที่ไมสามารถเชื่อมโลหะไนโอเนียมและโลหะผสมไนโอเนียม ตอโลหะชนิดอื่นเชนเหล็ก ทองแดงและอลูมิเนียมคือขอใด


คําตอบ 1 : เหนี่ยวนําทําใหเกิดการผุกรอนไดงาย


คําตอบ 2 : ธาตุตาง ๆ ของโลหะเหลานี้ละลายในกันและกันไดดีเกินไป

สภ
คําตอบ 3 : รอยเชื่อมมีความเปราะมาก
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 280
โลหะแทนทาลัมไมสมควรนําไปเชื่อมติดกับโลหะประเภทใด เนื่องจากอาจกอใหเกิดสารประกอบระหวาง โลหะ (inter metallic compounds) และทําใหรอย
เชื่อมเปราะแตกหักงาย
คําตอบ 1 : ทังสเตน 64 of 113
คําตอบ 2 : ฮาฟเนียม
คําตอบ 3 : ไนโอเนียม
คําตอบ 4 : เหล็กกลาไรสนิม

่ าย
ขอที่ : 281


ปญหาที่พบไดบอยในการเชื่อมโลหะเบริลเลียมแบบ Arc Welding คือขอใด

ํจาห
คําตอบ 1 : เกิดปญหา Hot Cracking ไดงาย
คําตอบ 2 : การควบคุมขนาดของผลึกที่บริเวณโลหะที่ถูกเชื่อม และ HAZ
คําตอบ 3 : มีคา Affinity ในการทําปฏิกริยากับกาซออกซิเจนสูง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 282

ิธ์ ห้ า
โดยทั่วไปแลวธาตุใดบางที่ตองควบคุมใหมีปริมาณนอยเปนพิเศษในฐานะของสิ่งปนเปอนในการเชื่อมโลหะ เบริลเลียมแบบ Arc Welding

ิท
คําตอบ 1 : ทองแดง และสังกะสี


คําตอบ 2 : นิกเกิล และโคบอลต

วน
คําตอบ 3 : เหล็ก และอลูมิเนียม


คําตอบ 4 : เงิน และทองคํา

ขอที่ :

อ ส

283


ธาตุใดตอไปนี้ที่ถูกเชื่อมที่อุณหภูมิสูงแลวมีโอกาสที่ขนาดของผลึกจะโตมากกวาโลหะเดิมกอนการเชื่อม


คําตอบ 1 : นิกเกิล และโคบอลต


คําตอบ 2 : โมลิบดีนัม และทังสเตน



คําตอบ 3 : เหล็ก และเหล็กกลา

าว
คําตอบ 4 : อลูมิเนียม และไทเทเนียม

สภ
ขอที่ : 284
โลหะประเภทใดตอไปนี้ถามีธาตุเชนออกซิเจน, คารบอน และไนโตรเจน แทรกตัวอยูแบบ Interstitial atoms ขณะทําการเชื่อมจะทําใหรอยเชื่อมมีปญหาเรื่อง
ความเหนียวต่ําที่สุด
คําตอบ 1 : เหล็ก
คําตอบ 2 : ไนโอเนียม
คําตอบ 3 : แทนทาลัม
65 of 113
คําตอบ 4 : โมลิบดีนัมและทังสเตน

ขอที่ : 285


ธาตุใดตอไปนี้ที่เติมลงไปใน Brazing Filler Metals สําหรับทําการเชื่อมโลหะผสมนิกเกิลทนความรอน โดยมีจุดประสงคเพื่อเพิ่มความความตานทานตอการ

่ า
เกิดออกซิเดชั่นและการกัดกรอนของรอยเชื่อม Brazing


คําตอบ 1 : ฟอสฟอรัส

ํจาห
คําตอบ 2 : โบรอน
คําตอบ 3 : ซิลิกอน
คําตอบ 4 : โครเมียม

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 286
ธาตุใดตอไปนี้ที่เติมลงไปใน Brazing Filler Metals สําหรับทําการเชื่อมโลหะผสมโคบอลตทนความรอน โดยมีจุดประสงคเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของรอยเชื่อม
Brazing

ิท
คําตอบ 1 : นิกเกิล


คําตอบ 2 : โครเมียม


คําตอบ 3 : ทังสเตน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

สง

ขอที่ : 287


Brazing Filler Metals ประเภทใดที่มีความแข็งแรงและทนตอการกัดกรอนที่อุณหภูมิสูง ต่ําที่สุดในการเชื่อมโลหะผสมโคบอลต


คําตอบ 1 : นิกเกิล หรือ โคบอลต

วก
คําตอบ 2 : ทอง หรือ พาลาเดียม



คําตอบ 3 : เงิน หรือ ทองแดง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


สภ
ขอที่ : 288
ในงานเชื่อมเหล็กหลอกราไฟตกอนกลม (GGG) หลังงานเชื่อมตองนําไปอบความรอนอีกครั้ง ขอใดกลาวถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : เพื่อลดความเคนตกคางในชิ้นงาน
คําตอบ 2 : เพื่อสลายคารบอนที่จับตัวกับโครเมียม
คําตอบ 3 : เพื่อใหกราไฟต ฟอรมรูปเปนกอนกลม
คําตอบ 4 : เพื่อใหตกตะกอนเปนกราไฟตกอนกลม
66 of 113
ขอที่ : 289
โครงสรางจุลภาคในงานเชื่อมที่มีคุณสมบัติทนตอแรงกระแทกดี คือขอใด
คําตอบ 1 : ferrite


คําตอบ 2 :

่ า
acicular ferrite
คําตอบ 3 :


austenite
คําตอบ 4 : martensite

ขอที่ : 290

ํจาห

ที่อุณหภูมิสูงเกรนออสเทนไนตมีขนาดโตมาก เมื่อถูกเย็นตัวในอากาศที่รวดเร็วหลังการเชื่อมลักษณะที่เปนเกรนหยาบ เปนโครงสรางจุลภาคที่เรียกวาอะไร

้ า
คําตอบ 1 :

ิธ์ ห
bainite
คําตอบ 2 : widmanstatten structure
คําตอบ 3 : martensite

ิท
คําตอบ 4 : pearite

นส

ขอที่ : 291


โครงสราง widmanstatten พบในบริเวณใดของงานเชื่อม


คําตอบ 1 : Weld metal


คําตอบ 2 : Grain coarsening


คําตอบ 3 : Grain refining


คําตอบ 4 :


Partail grain refining


ิ ว
ขอที่ : 292


ชิ้นงานในงานเชื่อมที่ผสมธาตุใดในปริมาณสูง เปนสาเหตุของการแตกราวแบบรอนได


สภ
คําตอบ 1 : สังกะสี โคบอลต
คําตอบ 2 : กํามะถัน สังกะสี
คําตอบ 3 : ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม
คําตอบ 4 : กํามะถัน ฟอสฟอรัส

ขอที่ : 293
ปรากฏการณการเปราะในงานเชื่อม เกิดมาจากสาเหตุขอใด
67 of 113
คําตอบ 1 : ความเคนหลงเหลือ
คําตอบ 2 : การเกิดเฟสมารเทนไซต
คําตอบ 3 : การแยกตัวของธาตุตาง ๆ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย

ขอที่ : 294

ํจาห
สําหรับเหล็กกลาไรสนิม ที่มีความเคนหลงเหลือแบบความเคนดึงอยูในแนวเชื่อม ผลของความรอนจากงานเชื่อมสงผลเสียอยางไร
คําตอบ 1 : Transgranular craeking
คําตอบ 2 : Intergranular craeking


คําตอบ 3 :

้ า
Stress relief craeking
คําตอบ 4 : ขอ ก และ ข ถูก

ขอที่ : 295
ิธ์ ห
ิท
ในงานเชื่อมสาเหตุของการเกิดรอยราวแบบเย็น คือขอใด


คําตอบ 1 : ชิ้นงานมีความสามารถในการเปลี่ยนรูปต่ํา

วน
คําตอบ 2 : การเกิดเฟสมารเทนไซตทําใหเปราะ


คําตอบ 3 : ไฮโดรเจนแทรกซึมไปในเนื้อเชื่อม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ร ขอ
296


อะไรคือปญหาที่สามารถพบในการเชื่อมแมกเนเซียมผสมเกรด AZ91


คําตอบ 1 : การเกิดการแยกตัวของสารประกอบเชิงโลหะเนื่องจากอัตราการเย็นตัวที่รวดเร็ว



คําตอบ 2 : การเกิดฟองกาซ

าว
คําตอบ 3 : การสูญเสียโลหะเนื่องจากการระเหย

สภ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 297
เทคนิคใดที่ไมไดชวยลดความเคนตกคางในการเชื่อม
คําตอบ 1 : การใชคอนเคาะ (peening)
คําตอบ 2 : ลดความเคนโดยใชการสั่นสะเทือน (vibration)
คําตอบ 3 : ลดความเคนโดยใชความรอน (thermal) 68 of 113
คําตอบ 4 : จับยึดชิ้นงานใหแนน

ขอที่ : 298


การอุนชิ้นงานกอนเชื่อมใหผลอะไรบาง

่ า
คําตอบ 1 : อัตราการเย็นตัวเร็วขึ้น และบริเวณ HAZ กวางขึ้น


คําตอบ 2 : อัตราการเย็นตัวชาขึ้น และบริเวณ HAZ แคบลง

ํจาห
คําตอบ 3 : อัตราการเย็นตัวชาลง และบริเวณ HAZ กวางขึ้น
คําตอบ 4 : อัตราการเย็นตัวเร็วลง และบริเวณ HAZ แคบลง

้ าม
ขอที่ : 299

ิธ์ ห
การเย็นตัวอยางรวดเร็วจากเฟสออสเตนไนท จะเกิดขึ้นบริเวณใดในการเชื่อมเหล็กกลา คารบอนปานกลาง
คําตอบ 1 : เกิดบริเวณแนวเชื่อม
คําตอบ 2 : เกิดบริเวณโลหะฐาน (Base Metal)

ิท
คําตอบ 3 : เกิดบริเวณลวดเชื่อม


คําตอบ 4 : เกิดบริเวณที่มีผลกระทบอันเนื่องมาจากความรอน (HAZ)

ขอที่ : 300

ง วน

ขอใดคือวัตถุประสงคหลักของการทํา PWHT (Post Weld Heat Treatment)

ขอ
คําตอบ 1 : เพื่อเพิ่มความแข็งในแนวเชื่อม


คําตอบ 2 : ตองการลดความเคนตกคางในแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : เพื่อลดปริมาณไฮโดรเจนในแนวในเนื้อเชื่อม


คําตอบ 4 : เพื่อลดการเกิดรูพรุน (porosity) ในเนื้อเชื่อม

าวศ

ขอที่ : 301

สภ
t 8/5 ในการเชื่อมหมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : เวลาที่เนื้อเชื่อมและบริเวณ HAZ เย็นตัวจากชวงอุณหภูมิ 800 ถึง 500 C
คําตอบ 2 : เวลาที่เนื้อเชื่อมและบริเวณ HAZ เย็นตัวจากชวงอุณหภูมิ 80 ถึง 50 C
คําตอบ 3 : เวลาที่เนื้อเชื่อมและบริเวณ HAZ เย็นตัวจากชวงอุณหภูมิ 8 ถึง 5 C
คําตอบ 4 : เวลาที่เนื้อเชื่อมและบริเวณ HAZ รอนขึ้นจากชวงอุณหภูมิ 500 ถึง 800 C

ขอที่ : 302 69 of 113


ทําไมบริเวณที่มีผลกระทบอันเนื่องมาจากความรอน (Heat Affected Zone) ในเหล็กกลาคารบอน จึงมีขนาดของเกรนไมเทากัน
คําตอบ 1 : เพราะไดรับความรอนไมเทากัน
คําตอบ 2 : เพราะมีอัตราเย็นตัวตางกัน
คําตอบ 3 : เพราะมีคารบอนตางกัน


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 303
บริเวณกระทบรอนแบงเปนกี่สวน อะไรบาง
คําตอบ 1 : 2 สวน เกรนใหญ เกรนละเอียด


คําตอบ 2 : 3 สวน Fusion line เกรนใหญ เกรนละเอียด

้ า
คําตอบ 3 : 3 สวน High Citrical Medium

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 2 สวน ความแข็งสูงมาก ความแข็งปานกลาง

ิท
ขอที่ : 304


คาความรอนการเชื่อม (Heat input, HI) สัมพันธกับอัตราเร็วการเย็นตัว (Cooling rate, CR) แบบใด

วน
คําตอบ 1 : แบบผกผัน ถา HI สูง CR ต่ํา


คําตอบ 2 : แบบไฮเปอรโบลา


คําตอบ 3 : แปรตรงกัน ถา HI สูง CR สูง


คําตอบ 4 : แบบเอกซโปเนนเชียล

ขอที่ :

ก ร ข
305


เดลตา T8/5 หมายถึง



คําตอบ 1 : ชวงอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ถึง 500 องศาเซลเซียส ที่เกิดมารเตนไซต

าว
คําตอบ 2 : ชวงอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ถึง 500 องศาเซลเซียส

สภ
คําตอบ 3 : ชวงการเปลี่ยนโครงสรางจาก 800 องศาเซลเซียส ถึง 500 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : ชวงเวลาเย็นตัวจาก 800 องศาเซลเซียส ถึง 500 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 306
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับความเคนเหลือในแนวเชื่อม
คําตอบ 1 : มีสาเหตุจากแนวเชื่อมถูกยึด
คําตอบ 2 : เพิ่มคุณสมบัติกลของแนวเชื่อม 70 of 113
คําตอบ 3 : มีสาเหตุจากการขยายและหดตัวแนวเชื่อม
คําตอบ 4 : มีคาแปรผันตรงกับความหนาแผนโลหะ


ขอที่ : 307

่ า
ขอใดคือ วิธีการทดสอบการแตกราวขณะรอน


คําตอบ 1 : Rigid restraint test

ํจาห
คําตอบ 2 : Tekken test
คําตอบ 3 : CTR test
คําตอบ 4 : Implant test

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 308
ขอใดไมเกี่ยวของความเคนเหลือในงานเชื่อมเหล็กแผน
คําตอบ 1 : ความหนา

ิท
คําตอบ 2 : การเคาะชิ้นงานขณะเชื่อม


คําตอบ 3 : การอุนรอนกอนการเชื่อม

วน
คําตอบ 4 : การอบชิ้นงานหลังการเชื่อม

ขอที่ :

สง

309
ธาตุใดไมเกี่ยวของกับ Reheat cracking

ร ข
คําตอบ 1 : Cr, Mo, V, Nb, Ti


คําตอบ 2 : Cr, Mo, Cu, B, S


คําตอบ 3 : Cr, Mo, Si, Mn



คําตอบ 4 :


Cu, V, Nb, P


สภ
ขอที่ : 310
เมื่อความเร็วเชื่อมมากขึ้นการจัดเรียงตัวของเกรนในเนื้อเชื่อมเหล็กกลาคารบอนต่ําจะเปนตามลําดับดังนี้
คําตอบ 1 : Partially equiaxed structure, centerline, competitive columnar, stray, axial
คําตอบ 2 : Partially equiaxed structure, competitive columnar, centerline, axial, stray
คําตอบ 3 : Axial, stray, competitive columnar, centerline, partially equiaxed structure
คําตอบ 4 : Axial, stray, centerline, competitive columnar, partially equiaxed structure

71 of 113
ขอที่ : 311
อะไรคือขอแตกตางระหวางการแข็งตัว (Solidification) ของน้ําโลหะในกระบวนการเชื่อม (Welding) และการแข็งตัวของน้ําโลหะในกระบวนการหลอโลหะ
(Casting)
คําตอบ 1 : ความชันอุณหภูมิ (Temperature Gradient) ของน้ําโลหะหลอมเหลวที่เกิดในกระบวนการเชื่อมมีคาต่ํากวาที่เกิดในกระบวนการหลอโลหะ


คําตอบ 2 : อัตราการเย็นตัว (Cooling Rate) และอัตราการแข็งตัว (Solidification Rate) ของน้ําโลหะมีคาสูงในกระบวนการเชื่อมโลหะ

่ า
คําตอบ 3 : กระบวนการเชื่อมทําใหเกิดการผสมกันของน้ําโลหะนอยกวาเมื่อเทียบกับกระบวนการหลอโลหะ


คําตอบ 4 : ไมมีความแตกตางของการแข็งตัวของน้ําโลหะในกระบวนการเชื่อมและกระบวนการหลอ

ขอที่ : 312

ํจาห

ขอใดสงผลกระทบตอการเกิดรูปแบบการแข็งตัว (Solidification Mode) ชนิด Planar Growth

้ า
คําตอบ 1 : ระดับตางอุณหภูมิ (Temperature Gradient) สูง

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : ระดับตางอุณหภูมิ (Temperature Gradient) ต่ํา
คําตอบ 3 : อัตราการโตของผลึก (Growth Rate)สูง

ิท
คําตอบ 4 : ระดับตางอุณหภูมิ (Temperature Gradient) ไมมีผลกระทบตอรูปแบบการแข็งตัว

ขอที่ : 313

นส
ง ว
กระบวนการเชื่อมใดที่มีคา Power Density ต่ําที่สุด


คําตอบ 1 : Gas Tungsten arc Welding (GTAW)


คําตอบ 2 : Plasma Arc Welding (PAW)


คําตอบ 3 : Laser Beam Welding (LBW)


คําตอบ 4 : Electron Beam Welding (EBW)

วก


ขอที่ : 314


ขอใดคือคําจํากัดความของ Interpass Temperature


คําตอบ 1 : อุณหภูมิสูงสุดที่ทําใหเหล็กกลาเกิดการหลอมเหลว

สภ
คําตอบ 2 : อุณหภูมิที่โครงสรางทางจุลภาคของเหล็กกลาเปลี่ยนจากเฟอรไรทเปนออสเตนไนท
คําตอบ 3 : ระดับอุณหภูมิที่กําหนดไวสําหรับการเย็นตัวกอนจะเชื่อมแนวเชื่อมอื่นตอไป
คําตอบ 4 : อุณหภูมิที่เหล็กกลาเปลี่ยนจากของเหลวเปนของแข็ง

ขอที่ : 315
ขอใดคือวัตถุประสงคหลักของการอบทางความรอนหลังการเชื่อม (Post Weld Heat Treatment)
72 of 113
คําตอบ 1 : ลดอัตราการเย็นตัว (Cooling Rate) ของโลหะที่ผานการเชื่อม
คําตอบ 2 : เพิ่มความแข็งใหกับแนวเชื่อมและรอยกระทบรอน
คําตอบ 3 : ลดความเคนตกคางที่เกิดจากการเชื่อมประสาน
คําตอบ 4 : ลดความสามารถในการรับแรงกระแทกของแนงเชื่อม

่ าย

ขอที่ : 316

ํจาห
ทําไมการตัดเหล็กกลาคารบอนดวยหัวตัดแกส (Oxyfuel Gas Cutting) ผสมระหวางออกซิเจนและอะซิทีลีน (Acetylene) ทําใหผิวรอยตัดมีความแข็งเพิ่มขึ้น
คําตอบ 1 : มีปริมาณคารบอนที่ผิวรอยตัดเพิ่มสูงขึ้น
คําตอบ 2 : รอยตัดและบริเวณใกลเคียงมีอัตราการเย็นต่ํา


คําตอบ 3 : โครงสรางจุลภาคของรอยตัดเปนออสเตนไนท

้ า
คําตอบ 4 : มีปริมาณเฟสเฟอรไรทเพิ่มขึ้น

ขอที่ : 317
ิธ์ ห
ิท
อะไรคือขอแตกตางของการอบชุบทางความรอนชนิด Annealing, Stress Relieving และ Normalizing


คําตอบ 1 : กาซปกคลุมปองกันการเกิดออกไซด

วน
คําตอบ 2 : ระดับอุณหภูมิของการอบชุบทางความรอน


คําตอบ 3 : อุปกรณสําหรับใหความรอนชิ้นงาน


คําตอบ 4 : สวนผสมทางเคมีของเหล็กกลา

ขอที่ :

ร ขอ
318


เหตุใดบริเวณรอยกระทบรอนจึงเปนบริเวณที่เสี่ยงตอการเกิดการความเสียหายมากที่สุด


คําตอบ 1 : มีความสามารถการยืดตัวต่ําที่สุด



คําตอบ 2 : มีความเคนตกคาง ( Residual Stress) ต่ํากวาบริเวณอื่น

าว
คําตอบ 3 : มีความแข็ง (Hardness) ลดลง

สภ
คําตอบ 4 : โครงสรางจุลภาคไมเปลี่ยนแปลงในระหวางการเย็นตัว

ขอที่ : 319
ขอใดคือโครงสรางผลึกของเหล็กกลาผสมต่ํากอนที่จะเกิดการหลอมเหลวในระหวางการเชื่อม
คําตอบ 1 : Face Centered Cubic Structure (FCC)
คําตอบ 2 : Body Centered Cubic Structure (BCC)
คําตอบ 3 : Hexagonal Close Packed Structure (HCP) 73 of 113
คําตอบ 4 : Tetragonal Center Cubic (TCC)

ขอที่ : 320


แผนภาพใดเหมาะสําหรับใชอธิบายสวนประกอบโครงสรางจุลภาคของแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค

่ า
คําตอบ 1 : แผนภาพสมดุลเหล็ก-คารบอน (Fe-C Equilibrium Diagram)


คําตอบ 2 : แผนภาพ Time Temperature Transformation (TTT)

ํจาห
คําตอบ 3 : แผนภาพ Continuous Cooling Transformation (CCT)
คําตอบ 4 : แผนภาพ Delong (Delong Diagram)

้ าม
ขอที่ : 321

ิธ์ ห
ขอดีของการทํา Preheating กอนการเชื่อมเหล็กกลาผสมต่ําคือ
คําตอบ 1 : กําจัดสิ่งสกปรกบนผิวเหล็กกลากอนลงมือเชื่อม
คําตอบ 2 : ลดอัตราการเย็นตัวของเหล็กกลาหลังจากการเชื่อม

ิท
คําตอบ 3 : ลดปริมาณคารบอนของเหล็กกลา


คําตอบ 4 : ลดระดับความเคนตกคาง (Residual Stress) ในเนื้อเหล็กกลาหลังจากการเชื่อม

ขอที่ : 322

ง วน

อะไรคือความหมายที่ถูกตองของอุณหภูมิระหวางชั้น (Interpass Temperature)

ขอ
คําตอบ 1 : อุณหภูมิของแนวเชื่อมหลังการเชื่อมสิ้นสุดลง


คําตอบ 2 : อุณหภูมิของแนวเชื่อมกอนเริ่มการเชื่อม


คําตอบ 3 : อุณหภูมิของแนวเชื่อมในขณะเกิดการอารค


คําตอบ 4 : อุณหภูมิของแนวเชื่อมกอนเริ่มเชื่อมแนวถัดไปในการเชื่อมหลายแนวซอนทับ (Multiple Pass Weld)

าวศ

ขอที่ : 323

สภ
อัตราการเย็นตัวในชวงอุณหภูมิใดที่ผลตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางจุลภาคของเหล็กกลาผสมต่ําหลังการเชื่อมซึ่งสงผลตอการแตกราวขณะเย็น
คําตอบ 1 : ชวง 1200 ถึง 800 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 : ชวง 800 ถึง 500 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : ชวง 500 ถึง 300 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : ชวง 300 ถึง 100 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 324 74 of 113


ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : เดลตาเฟอรไรทเกิดขึ้นในแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเตนนิติค
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงอัตราการเย็นตัวไมสงผลกระทบตอปริมาณเดลตาเฟอรไรทของแนวเชื่อม
คําตอบ 3 : เดลตาเฟอรไรทชวยลดความแข็งแรงของแนวเชื่อม


คําตอบ 4 : เดลตาเฟอรไรทชวยเพิ่มความสามารถในการยืดตัวของแนวเชื่อม

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 325
ตัวแปรสําคัญสําหรับกําหนดระดับอุณหภูมิของการอบความรอนกอนการเชื่อมสําหรับเหล็กกลาไรสนิมมารเทนซิติคคือ
คําตอบ 1 : สภาพความชื้นของสิ่งแวดลอม


คําตอบ 2 : รูปทรงชิ้นงาน

้ า
คําตอบ 3 : คาคารบอนเทียบเทาของเหล็กกลา

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ปริมาณออสเทนไนตตกคาง

ิท
ขอที่ : 326


ขอใดคือเหตุผลของการอบทางความรอนหลังการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมเฟอรริติค

วน
คําตอบ 1 : เปลี่ยนโครงสรางจุลภาคจากมารเทนไซตเปนเฟอรไรตที่สมบูรณ


คําตอบ 2 : ปรับปรุงสภาพผิวของแนวเชื่อม


คําตอบ 3 : ลดปริมาณคารบอน


คําตอบ 4 : เพิ่มปริมาณออกซิเจนใหกับแนวเชื่อม

ขอที่ :

ก ร ข
327


การเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติคจําเปนตองทําการอบกอนการเชื่อมหรือไม



คําตอบ 1 : ไมจําเปน เพราะไมเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเปนมารเทนไซต

าว
คําตอบ 2 : ไมจําเปน เพราะไมสามารถชวยกําจัดสารมลทินได

สภ
คําตอบ 3 : จําเปน เพราะลดความเสี่ยงการเกิดแตกราวขณะรอน
คําตอบ 4 : จําเปน เพราะชวยลดปริมาณปริมาณมารเทนไซต

ขอที่ : 328
ขอใดคือวัตถุประสงคหลักของการอบความรอนหลังการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 1 : สรางความเสถียรใหแกชั้นฟลมโครเมียมออกไซด
คําตอบ 2 : ลดระดับความเคนตกคาง 75 of 113
คําตอบ 3 : เพิ่มขนาดของเกรน
คําตอบ 4 : เพิ่มความแข็งแรงใหแนวเชื่อม


ขอที่ : 329

่ า
อัตราการเย็นตัวชวงอุณหภูมิใดใชพิจารณาความเสี่ยงของการเกิดแตกราวขณะรอนของแนวเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค


คําตอบ 1 : 1200 – 800 องศาเซลเซียส

ํจาห
คําตอบ 2 : 800 – 500 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 : 500 – 300 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 : 300 – 100 องศาเซลเซียส

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 330
ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : อัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมเร็วทําใหลดความเสี่ยงการแตกราวขณะรอน

ิท
คําตอบ 2 : อัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมชาทําใหลดความเสี่ยงการแตกราวขณะรอน


คําตอบ 3 : ปริมาณความรอนเขา (Heat Input) เพิ่มขึ้นทําใหลดความเสี่ยงการแตกราวขณะรอน

วน
คําตอบ 4 : อัตราการเย็นตัวเร็วทําใหปริมาณเดลตาเฟอรไรทลดลง

ขอที่ :

สง

331
ความเร็วการเชื่อมมีผลอยางไรตออัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อม

ร ข
คําตอบ 1 : การเพิ่มความเร็วการเชื่อมทําใหอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมลดลง


คําตอบ 2 : การเพิ่มความเร็วการเชื่อมทําใหอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมเพิ่มขึ้น


คําตอบ 3 : การเพิ่มความเร็วการเชื่อมไมสงผลกระทบตออัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อม



คําตอบ 4 : การเพิ่มความเร็วการเชื่อมทําใหอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมไมสม่ําเสมอ

าว
สภ
ขอที่ : 332
ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : การเพิ่มความตางศักยอารค (Arc Voltage) ทําใหอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : การเพิ่มกระแสอารค (Arc Current) ทําใหอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อมลดลง
คําตอบ 3 : การเพิ่มความเร็วการเชื่อมตองจําเปนตองลดกระแสการอารคลงเพื่อรักษาระดับการซึมลึกของแนวเชื่อม
คําตอบ 4 : การเพิ่มกระแสการอารค (Arc Current) ไมมีผลตออัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อม

76 of 113
ขอที่ : 333
โลหะชนิดใดมีคุณสมบัติการนําความรอนสูงที่สุด
คําตอบ 1 : เหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 2 : เหล็กกลาผสมต่ํา


คําตอบ 3 : ทองแดง

่ า
คําตอบ 4 : อลูมิเนียม


ํจาห
ขอที่ : 334
ขอใดสอดคลองกับการเกิด Heterogeneous Nucleation ในบริเวณเสนกลาง (Centerline) ของแนวเชื่อม


คําตอบ 1 : ความเร็วการเชื่อมต่ํา

้ า
คําตอบ 2 : ความเร็วการเชื่อมสูง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความเร็วการเชื่อมสูงและปริมาณความรอนการเชื่อมสูง
คําตอบ 4 : ความเร็วการเชื่อมต่ําและปริมาณความรอนการเชื่อมต่ํา

ขอที่ : 335

สิท
วน
เหตุใดบริเวณรอยกระทบรอนจึงเกิดการแตกราวไดงายเมื่อเทียบกับโลหะพื้น


คําตอบ 1 : รอยกระทบรอนมีเกรนละเอียด


คําตอบ 2 : รอยกระทบรอนมีอัตราการยืดตัวต่ํา


คําตอบ 3 : รอยกระทบรอนมีโครงสรางจุลภาคแบบออสเตนไนต


คําตอบ 4 : รอยกระทบรอนมีระดับความเคนตกคางต่ํา

ก ร

ขอที่ : 336



โครงสรางจุลภาคชนิดใดบริเวณรอยกระทบรอนเกิดจากการเย็นตัวในอัตราเร็วที่สุด

าว
คําตอบ 1 : Martensite

สภ
คําตอบ 2 : Upper Bainite
คําตอบ 3 : Lower Bainite
คําตอบ 4 : Widmanstätten Ferrite

ขอที่ : 337
เหตุใดโครงสรางมารเทนไซตจึงไมเกิดในรอยกระทบรอนของการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมออสเทนนิติค
คําตอบ 1 : รอยกระทบรอนมีปริมาณคารบอนต่ํา 77 of 113
คําตอบ 2 : รอยกระทบรอนมีอัตราการเย็นตัวต่ํา
คําตอบ 3 : รอยกระทบรอนมีปริมาณโมลิบดินั่มสูง
คําตอบ 4 : รอยกระทบรอนมีปริมาณของธาตุเพิ่มความเสถียรของโครงสรางออสเทนไนต

่ าย
ขอที่ : 338


ขอใดไมมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางจุลภาคของแนวเชื่อมและรอยกระทบรอนของเหล็กกลาคารบอนต่ํา

ํจาห
คําตอบ 1 : สวนผสมทางเคมี
คําตอบ 2 : ปริมาณความรอนปอนเขา (Heat Input)
คําตอบ 3 : การแยกตัว (Segregation) ของผลึกในแนวเชื่อม


คําตอบ 4 : การเตรียมแนวเชื่อม (Edge Preparation)

ขอที่ : 339

ิธ์ ห้ า
แรงชนิดใดไมมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงรูปรางของบอน้ําโลหะ (Weld Pool) จากงการเชื่อม GTAW

ิท
คําตอบ 1 :


Lorentz forces
คําตอบ 2 :


Buoyancy forces


คําตอบ 3 : Surface tension forces


คําตอบ 4 : Thermodynamic forces

ขอที่ :

อ ส

340


วิธีการใดจัดอยูในกลุมการเชื่อมแบบสถานะของแข็ง (Solid State Welding)


คําตอบ 1 : Stud arc welding


คําตอบ 2 : Projection arc welding



คําตอบ 3 :


Friction welding


คําตอบ 4 : Resistance spot welding

สภ
ขอที่ : 341
โดยทั่วไปแลวทําไมถึงตองทําการอบคลายความรอน (Stress Relieving) ตอชิ้นงานโลหะผสมไทเทเนียมภายหลังการเชื่อมแบบ Fusion Weld
คําตอบ 1 : ปองกันการเกิด Weld Cracking
คําตอบ 2 : ลดการเกิด Stress-Corrosion Cracking ในระหวางการใชงาน
คําตอบ 3 : เพิ่มความตานทานการลา
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
78 of 113
ขอที่ : 342
ในการทําการอบเพื่อคลายความรอนของงานเชื่อมโลหะผสมไทเทเนียมประเภทที่มีโครงสรางแบบอัลฟา สิ่งที่ตองคํานึงถึงคืออุณหภูมิ และเวลาที่ใชเพื่อปองกัน
การเกิด


คําตอบ 1 : การโตของชั้นออกไซดฟลมที่ผิว

่ า
คําตอบ 2 : ปองกันการโตของอนุภาคที่ตกผลึกภายใน


คําตอบ 3 : ความเปราะของรอยเชื่อม

ํจาห
คําตอบ 4 : การโตขึ้นของผลึกในแนวรอยเชื่อม


ขอที่ : 343

้ า
Hot Cracking แตกตางกับ Post Weld Strain Age Cracking อยางไร ในการเชื่อมโลหะผสมพิเศษ

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Hot Cracking เกิดขึ้นไดภายหลังการเชื่อมโดยสวนใหญมีขนาดเล็กกวา
คําตอบ 2 : Post Weld Strain Age Cracking เกิดขึ้นไดในชวงการอบสุขทางความรอนเพื่อคืนสภาพเชิงกลในกับวัสดุ

ิท
คําตอบ 3 : Post Weld Strain Age Cracking เกิดขึ้นไดในชวงการทํา Stress relief ภายหลังการเชื่อม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 344

ง วน

MC คารไบด และ Laves เฟสในเนื้อพื้น (Matrix) ที่เกิดขึ้นในชวงการแข็งตัว สามารถถูกละลายเริ่มแรกในชวง HAZ ระหวางการเชื่อม และสามารถขยายตัว
ตอไปตามขอบผลึกได โดยถามีความเครียดที่เกิดจากความรอนเพียงพอจะทําใหเกิดรอยแตกราว ตามขอบผลึกในชวง HAZ แลวขยายตอไปในชวง Fusion


Zone รอยราว ประเภทนี้ถูกเรียกวาอยางไร

ร ข
คําตอบ 1 : Hot Cracking


คําตอบ 2 : Microfissuring


คําตอบ 3 : Liquation



คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

าว
สภ
ขอที่ : 345
ปจจัยใดบางที่สงผลตอการเกิด “Liquation Cracking”
คําตอบ 1 : ผลึกที่มีขนาดใหญ
คําตอบ 2 : ปริมาณมวลการตกตะกอนของเฟสที่สามารถละลายในเนื้อพื้น (Matrix) ได
คําตอบ 3 : ตําแหนงระหวางอนุภาคที่ตกตะกอนออกมาในผลึก
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

79 of 113
ขอที่ : 346
การเชื่อมประเภท fusion welding แบบไหนที่ทําใหไดรอยเชื่อมมีความถูกตองแมนยํา และมี HAZ นอยที่สุด
คําตอบ 1 : Plasma Arc Welding (PAW)
คําตอบ 2 : Electron Beam Welding (EBW)


คําตอบ 3 :

่ า
Laser Beam Welding (LBW)
คําตอบ 4 :


Resistance Spot Welding (RSW)

ํจาห
ขอที่ : 347
ลักษณะของน้ําโลหะหลอมเหลวตกคาง (Residual Liquid) ระหวางผลึกแบบใดที่สงผลเสียนอยที่สุดในการเชื่อมโลหะผสมอลูมิเนียมแบบ Fusion Welding


คําตอบ 1 :

้ า
Continuous intergranular film
คําตอบ 2 :

ิธ์ ห
Irregular shape
คําตอบ 3 : Needle shape
คําตอบ 4 : Very fine globular form

ขอที่ : 348

สิท
วน
โดยทั่วไปแลวในการเชื่อมโลหะผสมอลูมิเนียมที่มีความแข็งแรงสูงอาจเกิดปญหาแบบ “Liquation Cracking” ขึ้นไดเนื่องจากมีสวนผสมของธาตุที่มีจุดหลอม


เหลวต่ําในโครงสรางโลหะสามารถลดปญหาหรือหลีกเลี่ยงได โดยวิธีใดบาง


คําตอบ 1 : เพิ่มอัตรา Heat input


คําตอบ 2 : ใช Filler ที่ทําดวยโลหะผสมที่มีจุดหลอมเหลวต่ํา


คําตอบ 3 : เพิ่มความเร็วในการเชื่อม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

วก


ขอที่ : 349


การทํา Stress Relieving ภายหลังการเชื่อมโลหะโมลิบดีนัม และทังสเตนมีจุดประสงคเพื่ออะไร


คําตอบ 1 : ลดความเครียดตกคางภายใน

สภ
คําตอบ 2 : เพื่อความเหนียวของชิ้นงานเชื่อม
คําตอบ 3 : รักษาระดับอุณหภูมิ Ductile-to-Brittle transition ใหคงที่
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 350
โดยทั่วไปแลวนิยมทํา “Preheating” กอนการเชื่อมโลหะผสมโมลิบดีนัม และทังสเตนเพื่อจุดประสงคใด
80 of 113
คําตอบ 1 : ลดโอกาสในการเกิดการแตกราวเนื่องจาก Thermal Shock
คําตอบ 2 : ลดโอกาสในการเกิดการแตกราวเนื่องจาก Thermal Shock
คําตอบ 3 : ทําให Thermal gradient ของชิ้นงาน 2 ชิ้น (ขนาดเล็กกับขนาดใหญ) มีปริมาณใกลเคียงกัน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย

ขอที่ : 351

ํจาห
สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการเลือกสภาวะของการทํา “Preheating” ใหกับโลหะผสมโมลิบดีนัมและทังสเตนคือขอใด
คําตอบ 1 : ขนาดของชิ้นงานที่จะถูกเชื่อม
คําตอบ 2 : รูปรางของชิ้นงานที่จะถูกเชื่อม


คําตอบ 3 : ความออนไหวในการเกิดการแตกราวของโลหะผสมแตละเกรด

้ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 352
ิธ์ ห
ิท
การลดความเคนตกคางในแนวเชื่อม ดวยการอบออน มีขอเสียอยางไร


คําตอบ 1 : เกิดตะกอนของคารไบดเพิ่มขึ้น

วน
คําตอบ 2 : เกิดการแตกราวแบบรอนได ในขณะเย็นตัว


คําตอบ 3 : รักษารูปรางเดิมไดยาก


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ร ขอ
353


Fusion line เปนเสนแสดงรอยตอของบริเวณใดในงานเชื่อม


คําตอบ 1 : Weld metal-Grain coarsening



คําตอบ 2 :


Grain coarsening- Grain refining


คําตอบ 3 : Grain refining-Patial grain refining

สภ
คําตอบ 4 : Patial gain refining-Base metal

ขอที่ : 354
ผลของความรอนในงานเชื่อมของเหล็กกลาไรสนิม สงผลตอโครงสรางจุลภาคอยางไร
คําตอบ 1 : เกิดการแยกตัวของคารไบดตามบริเวณของเกรน
คําตอบ 2 : เกิดเฟสออสเทนไนตตกคางในเนื้อเชื่อมสูง
คําตอบ 3 : ทําใหความตานทานตอการลาเพิ่มขึ้น 81 of 113
คําตอบ 4 : ทําใหความตานทานการกัดกรอนเพิ่มขึ้น

ขอที่ : 355


ขอใดกลาวไดไมถูกตอง

่ า
คําตอบ 1 : ในการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมประเภทออสเตนนิติกตองระวังการเกิดโครเมียมคารไบดตามขอบเกรน


คําตอบ 2 : ในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนสูงตองระวังการเกิดโครงสรางมาเทนไซดบริเวณ HAZ

ํจาห
คําตอบ 3 : ในการเชื่อมอะลูมิเนียมกับเหล็กกลาใหติดกันตองระวังการกอตัวของสารประกอบเชิงโลหะระหวางอะลูมิเนียมกับเหล็ก
คําตอบ 4 : ในการเชื่อมนิเกิลกับทองแดงตองระวังการกอตัวของสารประกอบเชิงโลหะระหวางนิเกิลกับทองแดง

้ าม
ขอที่ : 356

ิธ์ ห
อะไรไมใชปญหาที่พบซึ่งเกิดจากผลของความรอนในการเชื่อมเหล็กกลา
คําตอบ 1 : การโกงงอของชิ้นงาน
คําตอบ 2 : การเกิดมารเทนไซดบริเวณ HAZ

ิท
คําตอบ 3 : การเกิดโครเมียมคารไบดตามขอบเกรน


คําตอบ 4 : การเกิด Thermal stress

ขอที่ : 357

ง วน

ขอใดคือผลทางความรอนที่มีตอชิ้นงานเชื่อม

ขอ
คําตอบ 1 : การบิดงอ


คําตอบ 2 : การตกผลึกบริเวณ HAZ


คําตอบ 3 : การเติบโตของเกรนบริเวณ HAZ


คําตอบ 4 : ทุกขอถูกหมด

าวศ

ขอที่ : 358

สภ
วิธีการเชื่อมใดที่กอใหเกิดบริเวณกระทบรอนแคบที่สุด
คําตอบ 1 : Electron beam welding
คําตอบ 2 : TIG welding
คําตอบ 3 : MIG welding
คําตอบ 4 : Diffusion bonding

ขอที่ : 359 82 of 113


วิธีการเชื่อมใดที่กอใหเกิดบริเวณกระทบรอนกวางที่สุด
คําตอบ 1 : Laser beam welding
คําตอบ 2 : Resistance spot welding
คําตอบ 3 : Diffusion bonding


คําตอบ 4 :

่ า
TIG welding


ํจาห
ขอที่ : 360
ขอใดไมใชผลทางความรอนที่พบในการเชื่อมโลหะผสมแมกนีเซียม
คําตอบ 1 : Liquation


คําตอบ 2 : การแยกตัวของเฟสตางๆขณะการแข็งตัวของรอยเชื่อม

้ า
คําตอบ 3 : การเติบโตของเกรน

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : การตกผลึกของโครเมียมคารไบด

ิท
ขอที่ : 361


ขอใดไมใชผลทางความรอนที่พบในการเชื่อมโลหะแมกนีเซียม

วน
คําตอบ 1 : การบิดงอ


คําตอบ 2 : การแยกตัวของเฟสขณะเย็นตัวของน้ําโลหะ


คําตอบ 3 : เกิดรอยแตกจากความรอน


คําตอบ 4 : การเกิดการโตของเกรนบริเวณกระทบรอน

ขอที่ :

ก ร ข
362


โลหะผสมใดบางที่ไมนาจะพบปญหาการเกิด liquation



คําตอบ 1 : เหล็กกลา

าว
คําตอบ 2 : อะลูมิเนียมผสม

สภ
คําตอบ 3 : แมกนีเซียมผสม
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ขอที่ : 363
การเย็นตัวมีผลมากตอการเชื่อมเหล็กหลอเทาขอใดกลาวถูกตอง
คําตอบ 1 : เนื่องจากการเย็นตัวที่รวดเร็วรอยเชื่อมจึงมีโอกาสกลายเปนเหล็กหลอขาวหลังการเชื่อม
คําตอบ 2 : เนื่องจากชิ้นงานไดรับความรอนอีกครั้งกราฟไฟตอาจจะเปลี่ยนรูปรางเปนกลมมากขึ้น 83 of 113
คําตอบ 3 : เนื่องจากการเย็นตัวที่รวดเร็วรอยเชื่อมจึงมีโอกาสกลายเปนเหล็กหลอกราฟไฟตตัวหนอนหลังการเชื่อม
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก


ขอที่ : 364

่ า
ขอใดกลาวผิด


คําตอบ 1 : การเชื่อมดวยความเร็วทําใหความรอนลงสูชิ้นงานในบริเวณหนึ่งๆนอยลง

ํจาห
คําตอบ 2 : การเชื่อมดวยความเร็วสูงทําใหอัตราการเย็นตัวของชิ้นงานเชื่อมเปนไปอยางรวดเร็ว
คําตอบ 3 : การเชื่อมดวยความเร็วสูงทําใหลดการบิดงอของชิ้นงาน
คําตอบ 4 : การเชื่อมดวยความเร็วสูงทําใหชิ้นงานเกิดการออกซิเดชันไดมาก

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 365
ทําอยางไรจึงจะลดขนาดของบริเวณกระทบรอน (Heat affected zone) ลงได
คําตอบ 1 : เพิ่มขนาดหัวอิเล็กโตรด

ิท
คําตอบ 2 : ลดปริมาณ Shielding gas


คําตอบ 3 : ออกแบบรองชิ้นงานใหมีรอยเชื่อมขนาดเล็ก

วน
คําตอบ 4 : เพิ่มกระแสไฟที่ใชในการเชื่อม

ขอที่ :

สง

366

ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
84 of 113
จากรูปที่กําหนดใหการแตกในรอยเชื่อมทางซายมือเกิดจากสาเหตุใด
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ร ข
คําตอบ 1 : เกิดจากการเชื่อมชิ้นงานทางขวามือกอนเชื่อมชิ้นงานทางซายมือ


คําตอบ 2 : เกิดจากรอยเชื่อมทางขวามือดึงชิ้นงานไว


คําตอบ 3 : เนื่องจากการหดตัวระหวางการแข็งตัวของเนื้องานเชื่อม



คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

าว
สภ
ขอที่ : 367
ขอใดไมใชขอดีการเชื่อมโดยแสงเลเซอรแบบใชเทคนิคTwin laser beam ชนิดลําแสงเลเซอรที่สองเดินตามลําแสงเลเซอรแรก
คําตอบ 1 : เราสามารถทําการอบกอนการเชื่อมไดดวยการเชื่อมเพียงครั้งเดียว
คําตอบ 2 : เราสามารถทําการอบหลังการเชื่อมไดดวยการเชื่อมเพียงครั้งเดียว
คําตอบ 3 : สามารถปองกันการเกิดโครเมียมออกไซดในการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมเกรดออสเตนนิติคได
คําตอบ 4 : ลดการแตกหักหลังการเชื่อมได

85 of 113
ขอที่ : 368
การแตกหักใดเกิดขึ้นระหวางขั้นตอนการเพิ่มความรอนในการเชื่อม
คําตอบ 1 : การแตกที่ผิวบริเวณรอบๆรอยเชื่อมหางจาบริเวณหลอมละลายเล็กนอย
คําตอบ 2 : การแตกที่ผิวบริเวณใจกลางรอยเชื่อม


คําตอบ 3 : การแตกในบริเวณ Fusion zone

่ า
คําตอบ 4 : การแตกใบนผิวในบริเวณที่เกิดการหลอมเหลว


ํจาห
ขอที่ : 369
ขอใดเปนการปองกันการเกิด Weld decay ที่พบในการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม


คําตอบ 1 : เลือกใชเหล็กกลาไรสนิมที่มีปริมาณคารบอนสูง

้ า
คําตอบ 2 : นําชิ้นงานหลังการเชื่อมมาผานการบวนการทางความรอน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ทําความสะอาดชิ้นงานทุกครั้งกอนการเชื่อม
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 370

สิท
วน
บริเวณกระทบรอน (Heat-affected zone) เปนบริเวณที่เกิดปรากฏการณตางๆ ยกเวน


คําตอบ 1 : เนื้อโลหะเกิดการตกผลึกใหม


คําตอบ 2 : เนื้อโลหะเกิดการคลายตัวของความเคนสะสม


คําตอบ 3 : เนื้อโลหะเกิดการเปลี่ยนแปลงเฟส/โครงสราง


คําตอบ 4 : เนื้อโลหะเกิดบริเวณกึ่งแข็งกึ่งเหลว

ก ร

ขอที่ : 371



ในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนสูง (High carbon steels) นิยมอุนชิ้นงานใหรอนกอนการเชื่อม (Preheating) เพื่อวัตถุประสงคใด เปนหลัก

าว
คําตอบ 1 : เพิ่มปริมาณความรอนใหกับชิ้นงานทําใหเชื่อมไดเร็วขึ้น

สภ
คําตอบ 2 : ลดอัตราการเย็นตัวเพื่อลดความเสี่ยงที่จะทําใหชิ้นงานเปราะ
คําตอบ 3 : เพิ่มปริมาณคารบอนในชิ้นงานเชื่อม
คําตอบ 4 : ลดขนาดของรอยเชื่อม

ขอที่ : 372
การเชื่อมโลหะอลูมิเนียมผสมเกรด 2xxx ที่ผานกระบวนการทางความรอนที่ T6 (Solution treatment +artificial aging) นั้นพบวา คาความแข็งที่บริเวณ
กระทบรอนมีการเปลี่ยนแปลง คือ
86 of 113
คําตอบ 1 : คาความแข็งลดลง
คําตอบ 2 : คาความแข็งเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : คาความแข็งไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 4 : คาความแข็งไมสามารถทํานายได

่ าย

ขอที่ : 373

ํจาห
หลังจากการเชื่อมอลูมิเนียมเกรด 2xxx ที่ผานกระบวนการทางความรอนที่ T6 (Solution treatment +artificial aging) พบวาบริเวณกระทบรอนของชิ้นงาน
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโลหวิทยา ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เกิดการละลายกลับของเฟสที่เกิดการตกผลึกระหวางกระบวนการทางความรอน


คําตอบ 2 : เฟสที่เกิดการตกผลึกระหวางกระบวนการทางความรอนขนาดใหญขึ้น

้ า
คําตอบ 3 : เกิดการสูญเสียแรงยึดเหนี่ยวระหวางเฟสที่เกิดการตกผลึกระหวางกระบวนการทางความรอนกับโลหะพื้น

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เกิดการกลายเปนของเหลวบางสวนที่ขอบเกรนของชิ้นงาน

ิท
ขอที่ : 374


การเชื่อมโลหะหรือโลหะผสมใด liquation สามารถเปนปญหาการเชื่อมได


คําตอบ 1 :


Stainless steel


คําตอบ 2 : Magnesium pure


คําตอบ 3 : Magnesium alloy AZ31


คําตอบ 4 : Steel

ขอที่ :

ก ร ข
375


ในการเชื่อมตอเหล็กกลาเขากับอะลูมิเนียมผสมอะไรคือผลของความรอนที่สําคัญที่สุดตอสมบัติของรอยเชื่อมที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทาง



จุลภาคที่


คําตอบ 1 : การกอตัวของสารประกอบเชิงโลหะ


คําตอบ 2 : การเกิด Liquation ใน อะลูมิเนียมผสม

สภ
คําตอบ 3 : การเกิดมารเทนไซนในเหล็กกลา
คําตอบ 4 : การเกิดการโตของเกรนในอะลูมิเนียม

ขอที่ : 376
ขอใดไมใชการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางจุลภาคที่เกิดจากความรอนในการเชื่อมในบริเวณกระทบรอน
คําตอบ 1 : การเกิดโครเมียมคารไบดบริเวณขอบเกรนในเหล็กกลาไรสนิมเกรดออสเตนนิติด
คําตอบ 2 : การเกิดการตกผลึกในการเชื่อมอะลูมิเนียมแผนที่ผานการรีดมา 87 of 113
คําตอบ 3 : การเกิดเดลตาเฟอรไรตในการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมเกรดออสเตนนิติด
คําตอบ 4 : การเกิดมารเทนไซนในการเชื่อมเหล็กกลา 1080


ขอที่ : 377

่ า
ในการเชื่อมหลายแนว (Multi-pass welding) นั้น ทานคิดวาแนวการเชื่อมแรก (First weld bead) และแนวการเชื่อมที่สอง (Second weld bead) จะมีอัตรา


การเย็นตัวแตกตางกันอยางไร

ํจาห
คําตอบ 1 : แนวการเชื่อมแรกจะมีอัตราการเย็นตัวที่เร็วกวาแนวการเชื่อมที่สอง
คําตอบ 2 : แนวการเชื่อมที่สองจะมีอัตราการเย็นตัวที่เร็วกวาแนวการเชื่อมแรก
คําตอบ 3 : แนวการเชื่อมทั้งสองมีอัตราการเย็นตัวที่เทากัน


คําตอบ 4 : ลําดับการเชื่อมไมสัมพันธกับอัตราการเย็นตัว

ขอที่ : 378

ิธ์ ห้ า
ในการเชื่อมหลายแนว (Multi-pass welding) นั้นจะเกิดบริเวณที่มีความละเอียดของโครงสรางที่ไมเหมือนกัน เรียกวา As-deposited area และ Reheated

ิท
area ซึ่งหมายถึง


คําตอบ 1 : บริเวณที่เปนโครงสรางเดิมของ Weld bead และบริเวณที่ไดรับความรอนจาก Weld bead ถัดไป ตามลําดับ


คําตอบ 2 : บริเวณที่ไดรับความรอนจาก Weld bead ถัดไปและบริเวณโครงสรางเดิมของ Weld bead ตามลําดับ


คําตอบ 3 : บริเวณที่เปนโครงสรางใหมของ Weld bead และบริเวณที่ไดรับความรอนจาก Weld bead ถัดไป ตามลําดับ


คําตอบ 4 : บริเวณที่ไดรับความรอนจาก Weld bead ถัดไปและบริเวณที่เปนโครงสรางใหมของ Weld bead ตามลําดับ

อ ส

ขอที่ : 379


การเชื่อมหลายแนว (Multi-pass welding) ในเหล็กกลาคารบอนต่ํานั้นจะเกิดโครงสรางของเนื้อเชื่อมที่ละเอียดขึ้นบริเวณรอยตอระหวาง Weld bead เนื่อง


จาก


บริเวณโครงสรางที่เคยเปนเฟอรไรทกลายเปนออสเตนไนตเมื่อไดรับความรอน จากนั้นจะเกิดการเปลี่ยนโครงสรางเปนเกรนละเอียดของ



คําตอบ 1 :
เฟอรไรท เมื่อเกิดการเย็นตัว

าว
บริเวณโครงสรางที่เคยเปนเพิรลไลทกลายเปนออสเตนไนตเมื่อไดรับความรอน จากนั้นจะเกิดการเปลี่ยนโครงสรางเปนเกรนละเอียดของ
คําตอบ 2 :
เฟอรไรท เมื่อเกิดการเย็นตัว

สภ
บริเวณโครงสรางที่เคยเปนเพิรลไลทและเฟอรไรทกลายเปนออสเตนไนตทั้งหมดเมื่อไดรับความรอน จากนั้นจะเกิดการเปลี่ยนโครงสรางเปน
คําตอบ 3 :
เกรนละเอียดของเฟอรไรทและเพิรลไรท เมื่อเกิดการเย็นตัว
คําตอบ 4 : บริเวณโครงสรางที่เคยเปนออสเตนไนตกลายเปนเพิรลไลทและเฟอรไรทเมื่อไดรับความรอน

ขอที่ : 380
การเชื่อมเหล็กกลาคารบอนสูงนั้นจะเกิดโครงสรางที่เปราะขึ้นในบริเวณกระทบรอนหากเลือกใชวิธีการเชื่อมที่มี Power density สูง เชน Electron beam
welding อยากทราบวา โครงสรางที่แข็งและเปราะนั้นคือ 88 of 113
คําตอบ 1 : เฟอรไรต
คําตอบ 2 : เพิรลไลต
คําตอบ 3 : มารเทนไซต
คําตอบ 4 : ออสเตนไนต

่ าย

ขอที่ : 381

ํจาห
การเชื่อมหลายแนว (Multi-pass welding) ในเหล็กกลาคารบอนต่ํานั้นจะเกิดโครงสรางเกรนของ Weld bead ที่หยาบ (Columnar grains) และละเอียด
(Refined grains) หากตองการบริเวณที่เปนเกรนละเอียดที่มากขึ้นเพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกล เราควร
คําตอบ 1 : ลดจํานวน Weld bead ในการเชื่อม


คําตอบ 2 : ลดขนาดหัวอิเล็กโตรด

้ า
คําตอบ 3 : เพิ่มกระแสไฟในการเชื่อม

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 382


การเชื่อมหลายแนว (Multi-pass welding) ในเหล็กกลาคารบอนต่ํานั้นพบวาจะเกิดโครงสรางที่ไมสม่ําเสมอเนื่องจาก


คําตอบ 1 : Weld bead เกิดโครงสรางหยาบ (Columnar grains) ในบริเวณที่เปน As-deposited area

ง ว
คําตอบ 2 : Weld bead เกิดโครงสรางละเอียด (Refined grains) ในบริเวณที่เปน Reheated area


คําตอบ 3 : Weld bead มีขนาดแปรตามขนาดของอิเล็กโตรดที่ใชในการเชื่อม


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ก ร ข
383


ในการเชื่อมหลายแนว (Multi-pass welding) ในเหล็กกลาคารบอนต่ํา บริเวณบางสวนของ Weld bead ที่ไดรับอิทธิพลจากความรอนจะเกิดเกรนละเอียดแค



เพียงบางสวน (Partial refined grains) นั้น โลหะบริเวณนั้นจะถูกทําใหรอนขึ้นที่อุณหภูมิใดเมื่อเปรียบเทียบใน Phase diagram


คําตอบ 1 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน A1 แตไมเกิน A3


คําตอบ 2 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน A3 แตไมเกินอุณหภูมิเพอริเทคติก

สภ
คําตอบ 3 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน liquidus
คําตอบ 4 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน Acm

ขอที่ : 384
ในการเชื่อมหลายแนว (Multi-pass welding) ในเหล็กกลาคารบอนต่ํา บริเวณบางสวนของ Weld bead ที่ไดรับอิทธิพลจากความรอนจะเกิดการเปลี่ยนเฟสก
ลับไปเปนออสเตนไนตทั้งหมดในระหวางที่ทําการเชื่อม โลหะบริเวณนั้นจะถูกทําใหรอนขึ้นที่อุณหภูมิใดเมื่อเปรียบเทียบใน Phase diagram

คําตอบ 1 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน A1 แตไมเกิน A3 89 of 113


คําตอบ 2 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน A3 แตไมเกินอุณหภูมิเพอริเทคติก
คําตอบ 3 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน liquidus
คําตอบ 4 : ชวงอุณหภูมิเหนือเสน Acm

่ าย
ขอที่ : 385


ขอใด ผิด เกี่ยวกับการเกิด Liquation cracking ในชิ้นงานเชื่อมอะลูมิเนียมผสม

ํจาห
คําตอบ 1 : เกิดการตกผลึกของอนุภาคของเฟสที่สองภายในเกรน
คําตอบ 2 : การเกิด Liquation cracking นั้นมักเกิดการแตกตามบริเวณขอบเกรน
คําตอบ 3 : เกิดการแยกชั้นของสวนผสมยูเทคติกบริเวณขอบเกรนทําใหเกิดการเปราะ


คําตอบ 4 : บางบริเวณเกิดการเปลี่ยนแปลงของโครงสรางเปนกึ่งแข็งกึ่งเหลวระหวางการเชื่อม

ขอที่ : 386

ิธ์ ห้ า
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ
การทดสอบวาชิ้นงานเชื่อมมีแนวโนมที่จะเกิดปญหา Liquation cracking โดยใชวิธี Circular patch testing นั้น หากวาชิ้นงานเชื่อมเกิดปญหาดังกลาว เราจะ
90 of 113
พบรอยแตกบริเวณใด
่ าย

ํจาห
้ าม
ิธ์ ห
สิท
ง วน
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
สภ คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
บริเวณที่ยึดชิ้นงาน
บริเวณภายในของรอยเชื่อม
คําตอบ 3 : บริเวณขอบดานนอกของรอยเชื่อม
คําตอบ 4 : บริเวณขอบดานในของรอยเชื่อม 91 of 113
ขอที่ : 387
ความหนาของชิ้นงานเชื่อมมีผลตอการโกงตัวของชิ้นงานเชื่อมที่ไดจากการเชื่อมแบบ Fusion welding และ ใชการเชื่อมแบบตอชนหรือไมอยางไร
คําตอบ 1 : ไมมี


คําตอบ 2 : มี ยิ่งความหนาของชิ้นงานมาก การโกงตัวของชิ้นงานเชื่อมนอย เพราะชิ้นงานหนาจะแข็งแรงกวาชิ้นงานบาง

่ า
คําตอบ 3 : มี ยิ่งความหนาของชิ้นงานมากขึ้น การโกงตัวของชิ้นงานเชื่อมจะนอยลง เพราะใชความรอนมากขึ้นทําใหความเครียดจากความรอนนอยลง


คําตอบ 4 : มี ยิ่งความหนาของชิ้นงานมากขึ้น การโกงตัวของชิ้นงานเชื่อมจะมากขึ้นเพราะการหดตัวของชิ้นงานเชื่อมระหวางแข็งตัวมีมากขึ้น

ขอที่ : 388

ํจาห

ขอใดไมใชลักษณะของ Solidification crack

้ า
คําตอบ 1 : พบในการเชื่อมประเภท Fusion welding

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : มันพบเปนรอยแตกที่รอบๆบริเวณที่เกิดการหลอมเหลวในการเชื่อม
คําตอบ 3 : มักเปนการแตกแบบ interganular crack

ิท
คําตอบ 4 : เกิดจากการที่ความเคนแรงดึงที่เกิดบริเวณไกลขอบเกรนขณะเย็นตัวมีคามากกวาความแข็งแรงของโลหะที่เพิ่งแข็งตัว

นส

ขอที่ : 389


ขอใดไมใชลักษณะของ Hydrogen cracking


คําตอบ 1 : มักเกิดที่ใจกลางของบริเวณที่หลอมละลายในงานเชื่อม


คําตอบ 2 : เปนผลของการละลายของไฮโดเจนสูงานเชื่อมที่อุณหภูมิสูง


คําตอบ 3 : มักเกิดหลังการการเชื่อมแลวเสร็จ


คําตอบ 4 : มักพบการแตกหักในบริเวณที่มีโครงสรางงายตอการแตกหักเชน มารเทนไซน

วก


ขอที่ : 390


ในระหวางการเชื่อมประเภท Fusion กาซตางๆจากบรรยากาศจะซึมเขาสูน้ําโลหะอยากทราบวาการจับคูระหวางโลหะและกาซคูใดไมเหมาะสม


สภ
คําตอบ 1 : เหล็ก ไฮโดรเจน
คําตอบ 2 : อะลูมิเนียม ไฮโดรเจน
คําตอบ 3 : เงิน ออกซิเจน
คําตอบ 4 : ทองแดง คลอรีน

ขอที่ : 391
โครงสรางการแข็งตัวของบริเวณที่หลอมเหลวขณะทําการเชื่อมสามารถแปรเปลี่ยนไปตามความรอนที่ใหกับชิ้นงาน และความเร็วในการเชื่อม ทานคิดวาถูกหรือ
ไม 92 of 113
คําตอบ 1 : ไมถูก เพราะความรอนที่ใหกับชิ้นงาน เปนฟงกชันของความเร็วในการเชื่อม
ถูก เพราะแมวาใหความรอนกับชิ้นงานเหมือนกันในการเชื่อมโลหะเดียวกันแตความเร็วที่ใชเชื่อมตางกันยังผลใหโครงสรางการแข็งตัวของชิ้น
คําตอบ 2 :
งานเชื่อมที่หลอมเหลวก็ตางกัน
คําตอบ 3 : ไมถูกตอง เพราะ ความรอนที่ใหกับชิ้นงานไมเกี่ยวของกับอัตราการเย็นตัว


คําตอบ 4 : ไมถูกตอง เพราะ ทั้งความรอนที่ใหกับชิ้นงานเชื่อมและความเร็วไมมีสวนเกี่ยวของกับโครงสรางการแข็งตัว

ขอที่ :

น่ า
ํจาห
392
ในการเชื่อมอะลูมิเนียมที่ผานการรีดเย็นมาโครงสรางทางจุลภาคมันเกิดการเปลี่ยนแปลงบริเวณกระทบรอนอยากทราบวาขอใดกลาวผิด
คําตอบ 1 : เกิดการตกผลึกของเกรนใหมซึ่งเปนผลจากการรีดรวมกับความรอนที่ใหระหวางการเชื่อม


คําตอบ 2 : เมื่อเกิดการตกผลึกไดเกรนใหมในอะลูมิเนียมที่ผานการรีดมายังผลใหความแข็งแรงที่เกิดจากการรีดสูญเสียไป

้ า
คําตอบ 3 : เมื่อเกิดการตกผลึกไดเกรนใหมในอะลูมิเนียมที่ผานการรีดมายังผลใหความแข็งลดลง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เมื่อเกิดการตกผลึกไดเกรนใหมในอะลูมิเนียมที่ผานการรีดมายังผลใหความแข็งแรงที่ไดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการไดเกรนที่ละเอียดขึ้น

ิท
ขอที่ : 393


ในการเชื่อมโลหะตางชนิดระหวางเหล็กกลาและอะลูมิเนียมผสมโดยวิธีการใชแสงเลเซอรวิธีการใดตอไปนี้ที่นาจะสามารถเชื่อมไดผลดีที่สุด


คําตอบ 1 : ทําการเชื่อมแบบตอชนโดยใหเลเซอรตกกระทบที่เหล็กกลา

ง ว
คําตอบ 2 : ทําการเชื่อมแบบซอนเกยกันโดยใหเหล็กกลาอยูดานบนของการซอนเกยและทําการเชื่อมที่มุมของการซอนเกย


ทําการเชื่อมแบบซอนเกยกันโดยใหเหล็กกลาอยูดานบนของการซอนเกยและทําการเชื่อมที่มุมของการซอนเกยแตใหแรงดันกับขิ้นงานที่
คําตอบ 3 :
ซอนเกยใหเกิดกับติดกันที่ดีขึ้น


คําตอบ 4 :


การเชื่อมแบบตอชนโดยใหแสงเลเซอรตกกระทบบริเวณรอยตอของการตอชนของโลหะสองประเภท

ขอที่ :

ก ร

394
อะไรคือกุญแจสําคัญในการทําการเชื่อมโลหะตางชนิดระหวางไททาเนียมและอะลูมิเนียมผสมใหไดผลดี

วศ

คําตอบ 1 : ทําการเชื่อมโดยควบคุมไมใหเกิดการผสมกันของโลหะไททาเนียมที่หลอมเหลวและโลหะอะลูมิเนียมที่หลอมเหลว


คําตอบ 2 : ทําการเชื่อมโดยควบคุมการกอตัวของสารประกอบเชิงโลหะระหวางไททาเนียมและอะลูมิเนียมใหกอตัวนอยที่สุด

สภ
คําตอบ 3 : ทําการเชื่อมที่ความเร็วการเชื่อมสูงๆ
คําตอบ 4 : ทําการเชื่อมโดยการซอนเกยกันระหวางไททาเนียมแผนและอะลูมีเนียมแผน

ขอที่ : 395
ถาการแตกหักของชิ้นงานเกิดขึ้นระหวางการใหความรอนกับชิ้นงานในการเชื่อมแบบ laser spot welding ขอใดแสดงลักษณะของรอยแตกไดถูกตอง

คําตอบ 1 : รอยแตกจะเริ่มเกิดที่ผิวชิ้นงานแลวขยายตัวลงสูใตผิว
คําตอบ 2 : รอยแตกเกิดใตผิวในบริเวณที่เกิดการหลอมละลาย 93 of 113
คําตอบ 3 : รอยแตกมักเกิดใตผิวและมักเกิดบริเวณใกลๆกับอางน้ําโลหะหลอมเหลว และมีทิศพุงออกจากอางน้ําโลหะหลอมเหลว
คําตอบ 4 : รอยแตกจะพบบริเวณรอบๆบริเวณที่หลอมเหลว


ขอที่ : 396

่ า
ขอบกพรองในงานเชื่อมโลหะผสมแมกนีเซียมใดที่บงใหทราบวาเกิดจากการใหความรอนมากไป


คําตอบ 1 : เกิดฟองกาซ

ํจาห
คําตอบ 2 : เกิดการหลอมทะลุ
คําตอบ 3 : เกิดการหายไปของโลหะ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 397
วิธีการเชื่อมใดตอไปนี้ที่สามารถลดผลเสียที่เกิดจากความรอนไดมากสุด
คําตอบ 1 :

ิท
Laser welding
คําตอบ 2 :


MIG
คําตอบ 3 :


MAG


คําตอบ 4 : TIG

ขอที่ :

สง

398
ขอใดไมใชผลของความรอนที่ใหกับชิ้นงานที่มากเกิดความตองการในการเชื่อมในการเชื่อมแบบfusion welding

ร ข
คําตอบ 1 : ความผสมกันของโลหะที่เชื่อม


คําตอบ 2 : การแตกหักจากควมเคนทางความรอน


คําตอบ 3 : การเกิด blow hole



คําตอบ 4 : การเกิด gas porosity

าว
สภ
ขอที่ : 399
ในการประกันคุณภาพงานเชื่อม ในบางครั้งการทดสอบแบบไมทําลายอาจจะไดรับการรองขอจากผูวาจางอยากทราบวาขอใดไมใชการทดสอบแบบไมทําลาย
คําตอบ 1 : Tensile test
คําตอบ 2 : Visual inspection test
คําตอบ 3 : Magnetics inspection test
คําตอบ 4 : Ultrasonics test

94 of 113
ขอที่ : 400
ขอใดคือขอเสียของการทดสอบแบบไมทําลายโดยวิธี ultrasonic testing ในการตรวจหาขอบกพรองของชิ้นงาน
คําตอบ 1 : หัว probe ตองสัมผัสกับชิ้นงานเปนอยางดี
คําตอบ 2 : ไมสามารถตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมที่ทําจากวัสดุเชิงประกอบได(composition materials)


คําตอบ 3 : ไมมีขอถูก

่ า
คําตอบ 4 : ถูกทั้งสองขอ


ํจาห
ขอที่ : 401
ขอใดจัดเปนขอดีของการทดสอบแบบไมทําลายประเภท ultrasonic testing


คําตอบ 1 : ใชไดกับโลหะทุกประเภท

้ า
คําตอบ 2 : ใหหาขอบกพรองใตผิวชิ้นงานได

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : สามารถระบุตําแหนงของขอบกพรองในชิ้นงานได
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 402

สิท
วน
ขอใดสัมพันธกันอยางถูกตอง


คําตอบ 1 : Visual inspection สามารถตรวจสอบหารอยแตกใตผิวชิ้นงานได


คําตอบ 2 : Magnetic penetration test สามารถตรวจสอบหารอยแตกที่ลึกลงไปใตผิวชิ้นงานมากๆได


คําตอบ 3 : Ultrasonic test สามารถตรวจสอบหารอยแตกในชิ้นงานได


คําตอบ 4 : Dye penetration test สามารถตรวจสอบหารอยแตกใตผิวชิ้นงานได

ก ร

ขอที่ : 403



ขอบกพรองในการเชื่อมใดไมสามารถใชวิธีการตรวจสอบแบบไมทําลายประเภท Visual inspection test ได

าว
คําตอบ 1 : Centerline crack

สภ
คําตอบ 2 : Inclusions
คําตอบ 3 : Melt-through
คําตอบ 4 : Incomplete fusion

ขอที่ : 404
อะไรคือขอดีของทางตรวจสอบรอยเชื่อมโดยวิธีการ Visual inspection

คําตอบ 1 : ราคาถูก 95 of 113


คําตอบ 2 : เปนการทดสอบแบบไมทําลาย
คําตอบ 3 : ใชเวลาตรวจสอบสั้น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย
ขอที่ : 405


ขอใดคือมาตรฐานของการเชื่อมที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติและการรับรองผูตรวจสอบงานเชื่อม

ํจาห
คําตอบ 1 : AWS A5.1
คําตอบ 2 : AWS QC1-88
คําตอบ 3 : AWS D1.1


คําตอบ 4 :

้ า
AWS A2.4

ิธ์ ห
ขอที่ : 406
ตามมาตรฐานของ American Society for Nondestructive Testing แบงระดับความสามารถของผูตรวจสอบแบบไมทําลายออกเปนกี่ระดับ

ิท
คําตอบ 1 :


3
คําตอบ 2 :


4


คําตอบ 3 : 5


คําตอบ 4 : ไมมีการกลาวถึง

ขอที่ :

อ ส

407


ตามขอกําหนดรหัสหมายเลข ASNT TC-1A ผูตรวจสอบแบบไมทําลายระดับใดจะสามารถรับผิดชอบงานดานการตรวจสอบไดอยางเต็มที่


คําตอบ 1 : ระดับ 1


คําตอบ 2 : ระดับ 2



คําตอบ 3 : ระดับ 3

าว
คําตอบ 4 : ไมมีการกลาวถึง

สภ
ขอที่ : 408
ขอใดไมใชหนาที่ของผูตรวจสอบแบบไมทําลายระดับ 1 ตามมาตรฐาน ISO TC 135
คําตอบ 1 : ปรับเครื่องมือตามขั้นตอนของการตรวจสอบ
คําตอบ 2 : บันทึกผลการตรวจสอบ
คําตอบ 3 : แยกประเภทผลการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบ
คําตอบ 4 : จัดเตรียมวิธีการตรวจสอบ
96 of 113
ขอที่ : 409
เพื่อการติดตอสื่อสารกันระหวางผูออกแบบงานเชื่อม และเพื่องายตอการตรวจสอบในการควบคุมคุณภาพการเชื่อม จึงไดมีการออกแบบสัญลักษณงานเชื่อมขึ้น
และไดกําหนดเปนมาตรฐาน ขอใดตอไปนี้ไมใชมาตรฐานของสัญลักษณงานเชื่อม


คําตอบ 1 : JIS Z3021

่ า
คําตอบ 2 : AWS A 2.4


คําตอบ 3 : DIN 32520-1

ํจาห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ขอที่ : 410

้ า
ขอใดกลาวไดถูกตอง

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การตรวจสอบรอยแตกที่ผิวสามารถทําไดโดยวิธีการ liquid penatration testing
คําตอบ 2 : การตรวจสอบรอยแตกที่ผิวโดยวิธี liquid penetration testing ไมสามารถบอกความยาวของรอยแตกบนผิวอยางคราวๆได

ิท
คําตอบ 3 : การตรวจสอบรอยแตกที่ผิวโดยวิธี liquid penetration testing สามารถบอกความลึกของรอยแตกได


คําตอบ 4 : Liquid penetration testing สามารถหาขอบกพรองของชิ้นงานไดทุกประเภททุกบริเวณ

ขอที่ : 411

ง วน

ขอใดแสดงความสัมพันธไดอยางถูกตอง


คําตอบ 1 : liquid penetration testing : สีของสารแทรกซึมที่ถูกดูดซับกลับโดยสารดูดซับ


คําตอบ 2 : ultrasonics testing : ความแตกตางของเวลาที่เสียงสะทอนกลับ


คําตอบ 3 : radiation testing : ความแตกตางของสีบนแผนฟลมที่ผานการลางมา


คําตอบ 4 : eddy current testing : ความแตกตางของการกระจายตัวของผงโลหะบนผิวชิ้นงานทดสอบ


ิ ว

ขอที่ : 412


ขอใดไมใชมาตาฐานที่เกี่ยวของกับการทดสอบแรงกระแทก

สภ
คําตอบ 1 : JIS Z 2242
คําตอบ 2 : ASTM E23-06
คําตอบ 3 : ASTM E8
คําตอบ 4 : JIS Z 3112

ขอที่ : 413
ขอใดไมใชหนาที่ของผูตรวจสอบแบบไมทําลายระดับความสามารถที่ 2 97 of 113
คําตอบ 1 : ควบคุมงานการตรวจสอบแบบไมทําลาย
คําตอบ 2 : สามารถเลือกวิธีการตรวจสอบโดยยึดถือมาตรฐานได
คําตอบ 3 : วิเคราะหผลจากรายงานการตรวจสอบแบบไมทําลายได
คําตอบ 4 : สามารถตั้งเกณฑการตรวจสอบแบบไมทําลายที่ไมมีในมาตรฐานได

่ าย

ขอที่ : 414

ํจาห
ในการถายภาพดวยรังสี ของใดตอไปนี้กลาวไดถูกตอง
คําตอบ 1 : ความเร็วในการถายภาพสูง การจําแนกสวนประกอบในภาพทําไดดี
คําตอบ 2 : ความเร็วในการถายภาพสูง ความละเอียดของภาพต่ํา


คําตอบ 3 : ความเร็วในการถายภาพต่ํา ความละเอียดของภาพสูง

้ า
คําตอบ 4 : ความเร็วในการถายภาพต่ํา การจําแนกสวนประกอบในภาพทําไดดี

ขอที่ : 415
ิธ์ ห
ิท
ขอใดกลาวผิด


คําตอบ 1 : ฟลมที่ใชในการทดสอบแบบไมทําลายวิธีการถายภาพรังสีเหมือนกันทุกประเภท

วน
คําตอบ 2 : การเลือกใชฟลมตองใหเหมาะสมกับประเภทของโลหะ


คําตอบ 3 : การเลือกใชฟลมตองใหเหมาะสมกับความหนาของโลหะ


คําตอบ 4 : การเลือกใชฟลมตองใหเหมาะสมกับประเภทของรังสีที่ใช

ขอที่ :

ร ขอ
416


ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับ ultrasonic testing


คําตอบ 1 : อาศัยหัว probe ในการสราง สงถาย และรับกลับของคลื่นเสียง



คําตอบ 2 : probe ตองติดกับผิวชิ้นงานอยางดี

าว
คําตอบ 3 : สามารถบอกตําแหนงของจุดบกพรองอยางคราวได

สภ
คําตอบ 4 : ใชตรวจหาขอบกพรองในชิ้นงานบางมากๆได

ขอที่ : 417
ในการตรวจสอบรอยเชื่อมที่มีรูพรุนโดยใชวิธีฉายรังสี (Rediographic examination) นั้นจะเห็นบริเวณรูพรุนบนแผนฟลมเปนอยางไร

คําตอบ 1 : บริเวณที่เปนรอยสีเขม
คําตอบ 2 : บริเวณที่เปนรอยสวาง
คําตอบ 3 : บริเวณที่เปนสีฟา 98 of 113
คําตอบ 4 : บริเวณที่เปนสีออน

ขอที่ : 418


ตามมาตรฐาน JIS Z3104 ไดแบงชนิดของความรุนแรงของความบกพรองในรอยเชื่อมเปน 3 ระดับใหญ ขอบกพรองใดจัดอยูในกลุมรอยบกพรองชนิดที่ 3 ซึ่งมี

่ า
ความรุนแรงสูงสุด


คําตอบ 1 : รอยแตกแบบตางๆในรอยเชื่อม

ํจาห
คําตอบ 2 : รอยบกพรองที่เปนโพรงอากาศขนาดเล็กๆ
คําตอบ 3 : รอยสแลกเจือปนขนาดเล็กๆ
คําตอบ 4 : รอยสแลกเจือปนที่ถูกยึดเปนสนยาวๆ

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 419
รังสีชนิดใดที่นิยมนํามาใชในการถายภาพดวยรังสีสําหรับการตรวจสอบแบบไมทําลาย
คําตอบ 1 : รังสีอัลฟา

ิท
คําตอบ 2 : รังสีเอ็กซ


คําตอบ 3 : รังสีเบตา


คําตอบ 4 : แสงจากดวงอาทิตย

ง ว

ขอที่ : 420


ขอใดกลาวไดถูกตอง

ร ข
คําตอบ 1 : คาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีในวัสดุประเภทเดียวกันจะเพิ่มขึ้นเมื่อความยาวคลื่นของรังสีต่ําลง


คําตอบ 2 : คาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีในวัสดุตางชนิดกันวัสดุใดที่ความหนาแนนมากกวาจะมีคาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีที่นอยกวา


คําตอบ 3 : คาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีในวัสดุตางชนิดกันวัสดุใดที่น้ําหนักอะตอมมากกวาจะมีคาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีที่นอยกวา



คําตอบ 4 : คาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีไมขึ้นกับประเภทของวัสดุ

าว
สภ
ขอที่ : 421
ขอใดสัมพันธกันไมถูกตอง
คําตอบ 1 : Contrast meter ใชแผนทดสอบแบบขั้นบันได
คําตอบ 2 : รังสีเอ็กซสามารถสรางขึ้นไมได
คําตอบ 3 : Image Quality Indicator ใชเข็มขนาดตางๆวางบนแผนพลาสติก
คําตอบ 4 : รังสีเอ็กซสามารถทําใหวัสดุฟลูออเรสเซนตเรื่องแสงเปนสีเหลือง

99 of 113
ขอที่ : 422
รางรถไฟควรมีการตรวจสอบรอยเชื่อมระหวางการใชงานดวยวิธีการตางๆ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการใชงาน ยกเวน
คําตอบ 1 : การตรวจสอบโดยใชคลื่นอุลตราโซนิค (Ultrasonic examination)
คําตอบ 2 : การตรวจสอบโดยใชสารซึมลึก (Liquid penetrant)


คําตอบ 3 : การตรวจสอบรอยแตกโดยใชกระแสไหลวน (Eddy Current)

่ า
คําตอบ 4 : ตรวจสอบความตานทานตอแรงดึง (Tensile strength)


ํจาห
ขอที่ : 423
การเชื่อมทออะลูมิเนียมนั้น ไมควร ใชการตรวจสอบรอยเชื่อมประเภทใด


คําตอบ 1 : การตรวจสอบโดยใชคลื่นอัลตราโซนิค (Ultrasonic examination)

้ า
คําตอบ 2 : การตรวจสอบโดยใชสารซึมลึก (Liquid penetrant)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การตรวจสอบโดยใชผงแมเหล็ก (Magnetic particle examination)
คําตอบ 4 : สามารถทําการตรวจสอบไดทุกประเภทที่กลาวขางตน

ขอที่ : 424

สิท
วน
การเชื่อมทอไททาเนียมคาดวาจะพบโพรงกาซอยูภายในเนื้องานเชื่อม เราควรทําการตรวจสอบโดยวิธีใด


คําตอบ 1 : ทดสอบโดยใชผงแมเหล็ก


คําตอบ 2 : ทดสอบโดยการใชสารละลายแทรกซึม


คําตอบ 3 : ทดสอบโดยใชคลื่นอัลตราโซนิค


คําตอบ 4 : ทดสอบโดยการดึงชิ้นงานจนเกิดการแตกหักเพื่อหาตําแหนงของตําหนิดังกลาว

ก ร

ขอที่ : 425



ขอใดผิดเกี่ยวกับการทดสอบแบบไมทําลาย

าว
คําตอบ 1 : ชิ้นงานไมถูกทําลายระหวางการทดสอบ

สภ
คําตอบ 2 : สามารถทําการตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมที่ผลิตในโรงงานได 100%
คําตอบ 3 : แตละวิธีการทดสอบมีประสิทธิภาพที่ไมเทากัน
คําตอบ 4 : สามารถเปรียบเทียบผลกับการทดสอบแบบทําลายได

ขอที่ : 426
การทดสอบเชิงกลของชิ้นงานเชื่อมนั้นควรตองมีการบันทึกขอมูลตางๆ ซึ่งมีผลตอสมบัติเชิงกลที่ได อยากทราบวาขอมูลใดมีความจําเปนนอยที่สุด
คําตอบ 1 : ตําแหนงของชิ้นงานที่ตัดออกจากงานเชื่อม และทิศทางของแนวการเชื่อมเทียบกับแรงกระทํา 100 of 113
คําตอบ 2 : กระบวนการเชื่อมที่ใชและพารามิเตอรตางๆที่ใชในการเชื่อม
คําตอบ 3 : โลหะที่ใชเชื่อมและกระบวนการทางความรอนภายหลังการเชื่อม
คําตอบ 4 : ผูที่ทําการเชื่อม วันเวลาที่เชื่อม

่ าย
ขอที่ : 427


ในการทดสอบความแกรงหรือ Fracture toughness ของชิ้นงานเชื่อมจะตองมีการบันทึกทิศทางการเติบโตของรอยแตก และระนาบของรอยแตกที่อยูในรอย

ํจาห
เชื่อมนั้น อยากทราบวาชิ้นงานเชื่อมทดสอบที่มีระนาบของรอยแตกตามทิศทางการเชื่อม และมีทิศทางการโตของรอยแตกตามความหนาของชิ้นงาน
คําตอบ 1 : NQ
คําตอบ 2 : PQ


คําตอบ 3 : NP

้ า
คําตอบ 4 : PN

ขอที่ : 428
ิธ์ ห
ิท
การตรวจสอบขนาดของรอยเชื่อมโดยใช Gauge วัดนั้น ไมสามารถ ใชวัดหรือตรวจสอบขอมูลใดไดเสมอไป


คําตอบ 1 : ความนูนของเนื้องานเชื่อม


คําตอบ 2 : ความเวาของเนื้องานเชื่อม

ง ว
คําตอบ 3 : การซึมลึกของเนื้องานเชื่อม


คําตอบ 4 : ความกวางของรอยเชื่อม

ขอที่ :

ร ขอ
429


ขอใด ผิด เกี่ยวกับการตรวจสอบงานเชื่อมโดยวิธีใชสารแทรกซึม


คําตอบ 1 : ราคาถูกกวาวิธีการทดสอบอื่น



คําตอบ 2 : สามารถตรวจสอบรอยแตกที่ผิวของชิ้นงานเชื่อมได


คําตอบ 3 : สามารถตรวจสอบรูพรุนภายในชิ้นงานเชื่อมได


คําตอบ 4 : ไมจําเปนตองทําการตรวจสอบภายในหองทดลองเทานั้น

สภ
ขอที่ : 430
การตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมโดยใชสารแทรกซึมนั้น น้ํายาที่ใชมักนิยมใชสีใด
คําตอบ 1 : ดํา
คําตอบ 2 : แดง
คําตอบ 3 : เหลือง
101 of 113
คําตอบ 4 : น้ําตาล

ขอที่ : 431


ในการตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมโดยใชผงแมเหล็กนั้นมีการทําใหเกิดสนามแมเหล็กในชิ้นงานเชื่อม โดยทิศทางของสนามแมเหล็กจะวิ่งจาก

่ า
คําตอบ 1 : ขั้วเหนือไปขั้วใต


คําตอบ 2 : ขั้วใตไปขั้วเหนือ

ํจาห
คําตอบ 3 : ขั้วลบไปขั้วบวก
คําตอบ 4 : ขั้วบวกไปขั้วลบ

้ าม
ขอที่ : 432

ิธ์ ห
ขอใด ผิด เกี่ยวกับการตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมโดยใชผงแมเหล็ก
คําตอบ 1 : สามารถตรวจตําหนิไดเฉพาะที่ผิวของชิ้นงานเทานั้น
คําตอบ 2 : ไมสามารถใชตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมอะลูมิเนียมได

ิท
คําตอบ 3 : สามารถตรวจสอบรอยแตกที่เกิดขึ้นภายในชิ้นงานเชื่อมได


คําตอบ 4 : สามารถทําการตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมที่เปนเหล็กหลอได

ขอที่ : 433

ง วน

การตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมโดยใชผงแมเหล็ก หากพบขอตําหนิเราจะสังเกตไดวา

ขอ
คําตอบ 1 : ผงแมเหล็กเกิดการฟุงกระจายบริเวณรอยแตกหรือตําหนิ


คําตอบ 2 : ผงแมเหล็กมีการเปลี่ยนสีบริเวณรอยแตกหรือตําหนิ


คําตอบ 3 : ผงแมเหล็กจะมากองอยูบริเวณรอยแตกหรือตําหนิ


คําตอบ 4 : ผงแมเหล็กจะหมดสภาพการเปนแมเหล็กบริเวณรอยแตกหรือตําหนิ

าวศ

ขอที่ : 434

สภ
ขอใดเปนชนิดของรังสีที่ใชในการตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมโดยวิธีการฉายรังสี
คําตอบ 1 : แกมมา
คําตอบ 2 : แอลฟา
คําตอบ 3 : เบตา
คําตอบ 4 : แลมดา

ขอที่ : 435 102 of 113


ขอควรระวังในการตรวจสอบรอยเชื่อมโดยใชผงแมเหล็กคือ
คําตอบ 1 : ผงแมเหล็กที่ใชตองเปนแบบชนิดแหงเทานั้น
คําตอบ 2 : ไมสามารถใชในการทดสอบพื้นผิวงานเชื่อมที่เปนสวนโคงเชน ทอ ได
คําตอบ 3 : ตองทําการนําสภาพแมเหล็กออกจากชิ้นงานเชื่อมทุกครั้งหลังจากการทดสอบ


คําตอบ 4 : ผงแมเหล็กที่ใชไมควรเปนสีหรือเรืองแสงเนื่องจากทําใหประสิทธิภาพลดลง

น่ า
ํจาห
ขอที่ : 436
ขอใด ถูก เกี่ยวกับการตรวจสอบตําหนิในชิ้นงานเชื่อมดวยคลื่นอัลตราโซนิกคือ
คําตอบ 1 : สามารถบอกตําแหนงของรอยตําหนิในชิ้นงานเชื่อมได


คําตอบ 2 : สามารถตรวจสอบรอยตําหนิในชิ้นงานเชื่อมไดที่ผิวเทานั้น

้ า
คําตอบ 3 : ไมสามารถทําการตรวจสอบภายนอกหองปฏิบัติการได

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ชิ้นงานเชื่อมตองสามารถนําไฟฟาไดเทานั้น

ิท
ขอที่ : 437


ขอใด ถูก เกี่ยวกับการตรวจสอบตําหนิในชิ้นงานเชื่อมดวยคลื่นอัลตราโซนิก

วน
คําตอบ 1 : สามารถบอกตําแหนงของรอยตําหนิในชิ้นงานเชื่อมได


คําตอบ 2 : สามารถตรวจสอบรอยตําหนิในชิ้นงานเชื่อมไดที่ผิวเทานั้น


คําตอบ 3 : ไมสามารถทําการตรวจสอบภายนอกหองปฏิบัติการได


คําตอบ 4 : ชิ้นงานเชื่อมตองสามารถนําไฟฟาไดเทานั้น

ขอที่ :

ก ร ข
438


ใน Welding procedure ควรระบุขอมูลตางๆเพื่อเปนประโยชนในการเชื่อม ขอมูลใดมีความจําเปนนอยที่สุด



คําตอบ 1 : Shielding gas ที่ใชในการเชื่อมและอัตราการไหล

าว
คําตอบ 2 : ชนิด ขนาด และชิ้นงานที่ใชในการเชื่อม

สภ
คําตอบ 3 : วิธีการเชื่อมและพารามิเตอรที่ใช เชน กระแส ความเร็วในการเชื่อม
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ระดับความชื้นในหองที่ทําการเชื่อม

ขอที่ : 439
การทดสอบแบบไมทําลายในรอยเชื่อมแบบใดที่ใชตรวจสอบขอบกพรองภายในชิ้นงาน
คําตอบ 1 : การทดสอบโดยใชผงแมเหล็ก
คําตอบ 2 : การทดสอบโดยใชการซึมของของเหลว 103 of 113
คําตอบ 3 : การทดสอบโดยใชกระแสไหลวน
คําตอบ 4 : การทดสอบโดยใชรังสี


ขอที่ : 440

่ า
ในการตรวจสอบแบบไมทําลายวิธีการใดสามารถตรวจสอบรอยแตกระหวางการขยายตัวของรอยแตกได


คําตอบ 1 : การทดสอบโดยใชรังสี

ํจาห
คําตอบ 2 : การทดสอบโดยใชอัลตราโซนิก
คําตอบ 3 : การทดสอบโดยอคูสติก อิมิสชัน
คําตอบ 4 : การทดสอบโดยใชกระแสไหลวน

้ าม
ิธ์ ห
ขอที่ : 441
สารแทรกซึมที่ใชในการตรวจสอบรอยแตกหลังการเชื่อมบริเวณผิวตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ยกเวนขอใด
คําตอบ 1 : สามารถแรกซึมเขาสูรอยแตกไดดี

ิท
คําตอบ 2 : สามารถแทรกซึมไดดีและไมถูกกําจัดไปขณะทําการขจัดสารแทรกซึมบริเวณผิว


คําตอบ 3 : รักษาสภาพของสีที่แตกตางกับสีของพื้อนหลังไดเปนอยางดี

วน
คําตอบ 4 : มีสภาพเปนกรดเพื่อใหเกิดปฏิกิรยาดูดเขาสูรอยแตกไดงาย

ขอที่ :

สง

442
ขอบกพรองที่เกิดจากการเชื่อมขอบกพรองใดสามารถใชวิธีการตรวจสอบแบบไมทําลายชนิดใชสารแทรกซึมตรวจหาได

ร ข
คําตอบ 1 : รอยแตกใตตะเข็บ(Underbead crack)


คําตอบ 2 : รอยแตกจากกํามะถัน(Surfur crack)


คําตอบ 3 : การหลอมตัวไมดีระหวางชิ้นงานกับวัสดุเติม



คําตอบ 4 : รอยแตกตามขวาง

าว
สภ
ขอที่ : 443
ทานเปนวิศวกรงานเชื่อมที่ตองการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑหลังการเชื่อมและทานก็ไดใหลูกนองทําการตรวจสอบคุณภาพโดยใชตาเปลาอยากทราบวารอย
บกพรองใดสามารถตรวจพบโดยวิธีการนี้บาง
คําตอบ 1 : การขาดการซึมลึกในการเชื่อมแบบครั้งเดียว
คําตอบ 2 : ชิ้นงานบิดเบี้ยว
คําตอบ 3 : Crater
คําตอบ 4 : รอยแตกทุกชนิดที่เกิดจากการเชื่อม
104 of 113
ขอที่ : 444
ขอใดเรียงลําดับขั้นตอนการตรวจสอบแบบไมทําลายโดยสารแทรกซึมไดถูกตอง ก. ทําความสะอาดผิวกอนการตรวจสอบ ข. ทําการแทรกซึมดวยน้ํายาแทรกซึม
ค. สรางภาพของรอยบกพรองโดยใชสารดูดซับ ง. กําจัดสารแทรกซึม จ. ตรวจสอบรอยแตก ฉ. ทําความสะอาดหลังการตรวจสอบ


คําตอบ 1 : กขคงจฉ

่ า
คําตอบ 2 : กขงคจฉ


คําตอบ 3 : กงขคจฉ

ํจาห
คําตอบ 4 : กงขจคฉ


ขอที่ : 445

้ า
ทานเปนวิศวกรที่ตองการตรวจสอบรอยเชื่อมตอของทอโลหะ สิ่งที่ทานทราบคือการตรวจสอบแบบไมทําลายชนิดใชกระแสไหลวนเปนวิธีการที่สามารถตรวจ

ิธ์ ห
สอบไดรวดเร็ว แตวิธีการดังกลาวก็มีขอจํากัดขอใดตอไปนี้ไมใชขอจํากัดของการตรวจสอบแบบไมทําลายโดยกระแสไหลวน
คําตอบ 1 : ไมสามารตรวจหาจุดบกพรองบนผิวชิ้นงานได
คําตอบ 2 : ไมสามารถแยกแยะ ชนิด รูปราง ขนาดของรอยบกพรองไดงาย

ิท
คําตอบ 3 : มีประสิทธิภาพต่ําในการตรวจหารอยกพรองของชิ้นงานที่ซับซอน


คําตอบ 4 : การสั่นสะเทือนมีผลตอความถูกตองในการวัดไดงาย

ขอที่ : 446

ง วน

การตรวจสอบแบบไมทําลายวิธีการใดสามารถทําการตรวจสอบขอบกพรองไดเฉพาะในวัสดุที่นําไฟฟาเทานั้น

ขอ
คําตอบ 1 : การตรวจสอบแบบไมทําลายโดยใชอัลตราโซนิก


คําตอบ 2 : การตรวจสอบแบบไมทําลายโดยใชรังสี


คําตอบ 3 : การตรวจสอบแบบไมทําลายโดยใชกระแสไหลวน


คําตอบ 4 : การตรวจสอบแบบไมทําลายโดยการซึมของของเหลว

าวศ

ขอที่ : 447

สภ
ในการตรวจสอบรอยเชื่อมดวยวิธีฉายรังสี (Radiographic examination) นั้นมีขอจํากัดเกี่ยวกับทิศทางการเรียงตัวของรอยแตกที่สัมพันธกับทิศทางการฉาย
รังสี อยากทราบวา รอยแตกในขอใดไมสามารถตรวจพบบนแผนฟลม
คําตอบ 1 : รอยแตกภายในชิ้นงานเชื่อมที่มีทิศทางขนานกับทิศทางการฉายรังสี
คําตอบ 2 : รอยแตกภายในชิ้นงานเชื่อมที่มีทิศทางตั้งฉากกับทิศทางการฉายรังสี
คําตอบ 3 : รอยภายในชิ้นงานเชื่อมที่มีทิศทางเฉียงทํามุมกับทิศทางการฉายรังสี
คําตอบ 4 : สามารถตรวจสอบไดทุกลักษณะที่กลาวมา

105 of 113
ขอที่ : 448
การตรวจสอบรอยเชื่อมดวยวิธีใดมีขอจํากัดในเรื่องวัสดุที่เชื่อม
คําตอบ 1 : Ultrasonic examination
คําตอบ 2 : Liquid penetration


คําตอบ 3 :

่ า
Magnetic powder inspection
คําตอบ 4 :


Visual inspection

ํจาห
ขอที่ : 449
เพราะเหตุใด จึงตองมีการบันทึกทิศทางและตําแหนงของรอยเชื่อมในชิ้นงานทดสอบแรงดึง กอนที่จะทําการทดสอบสมบัติเชิงกลดังกลาว


คําตอบ 1 : ทิศทางของรอยเชื่อมมีผลตอการสอบเทียบเครื่องมือทดสอบ

้ า
คําตอบ 2 : ทิศทางของรอยเชื่อมมีผลตอการเกิดและเติบโตของรอยแตก

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ทิศทางของรอยเชื่อมมีผลตอความแมนยําของเครื่องมือทดสอบแรงดึง
คําตอบ 4 : ทิศทางของรอยเชื่อมมีผลตอการเปลี่ยนเฟสระหวางการทดสอบ

ขอที่ : 450

สิท
วน
การทดสอบแรงดึงในชิ้นงานเชื่อม โดยมีการเตรียมชิ้นงานใหมีรอยเชื่อมอยูบริเวณกึ่งกลางของ Gage length มักพบวาคาการยืดตัวในชิ้นงานเชื่อมจะมีคาต่ํากวา


ชิ้นงานทดสอบแรงดึงของโลหะพื้นมาก เนื่องจาก


คําตอบ 1 : เกิด Stress concentration บริเวณจุดที่เปนชิ้นงานเชื่อม


คําตอบ 2 : เกิดการหดตัวที่ไมสม่ําเสมอตลอดชิ้นงานทดสอบ


คําตอบ 3 : รอยเชื่อมมักมีความแข็งที่ต่ํากวาโลหะพื้น


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

วก


ขอที่ : 451


หากทําการทดสอบสมบัติการทนตอแรงกระแทกหรือ Impact testing ของชิ้นงานเชื่อมในชวงอุณหภูมิหนึ่งโดยเปรียบเทียบชิ้นงานปกติของโลหะพื้น พบวา


คําตอบ 1 : Transition temperature ในชิ้นงานเชื่อมมีคามากกวาในชิ้นงานปกติ

สภ
คําตอบ 2 : Transition temperature ในชิ้นงานเชื่อมมีคานอยกวาในชิ้นงานปกติ
คําตอบ 3 : Energy absorption ในชิ้นงานเชื่อมมีคามากกวาในชิ้นงานปกติ
คําตอบ 4 : Energy absorption ในชิ้นงานเชื่อมมีคาเทากับในชิ้นงานปกติ

ขอที่ : 452
การทดสอบ Bend test ของชิ้นงานเชื่อมนั้นจะมีการจัดวางชิ้นงานทดสอบอยางไร
106 of 113
คําตอบ 1 : Four-point bending
คําตอบ 2 : Three-point bending
คําตอบ 3 : Two-point bending
คําตอบ 4 : Single-point bending

่ าย

ขอที่ : 453

ํจาห
ขอใดไมใชการทดสอบงานเชื่อมดวยวิธี Destructive testing
คําตอบ 1 : Free bend
คําตอบ 2 : Guided bend


คําตอบ 3 :

้ า
Break test
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
Scratch test

ขอที่ : 454

ิท
ในการทดสอบ Ductility ในชิ้นงานเชื่อมโดยวิธี bend test ซึ่งทําการทดสอบใหเกิดการโคงงอในชิ้นงานเชื่อมโดยใชชิ้นงานเชื่อม 4 ชิ้นดวยกัน พบวาทั้ง 4 ชิ้น


ทําใหเกิดองศาของการโคงงอที่ตางกันโดยไมเกิดการแตกหัก อยากทราบวาการชิ้นงานเชื่อมใดมี Ductility ที่ดีที่สุด


คําตอบ 1 : ชิ้นงานเชื่อมที่ 1: 30 อาศา

ง ว
คําตอบ 2 : ชิ้นงานเชื่อมที่ 2: 45 อาศา


คําตอบ 3 : ชิ้นงานเชื่อมที่ 3: 90 อาศา


คําตอบ 4 : ชิ้นงานเชื่อมที่ 4: 180 อาศา

ขอที่ :

ก ร ข
455


ขอใด ผิด เกี่ยวกับการทดสอบชิ้นงานเชื่อมโดยวิธี Guided bend test และ Free bend test



คําตอบ 1 : Free bend test ไมตองใช Guide ในการทดสอบ


คําตอบ 2 : เปนการทดสอบสมบัติการยืดตัวของชิ้นงานเชื่อม


คําตอบ 3 : ชิ้นงานเชื่อมจะตองถูกงอใหเกิดการแตกหัก

สภ
คําตอบ 4 : ชิ้นงานเชื่อมมีรอยเชื่อมอยูกึ่งกลางซึ่งเปนตําแหนงที่รับ Bending

ขอที่ : 456
ในการทดสอบแรงดึงในชิ้นงานเชื่อมแผนหนึ่ง มีเตรียมชิ้นงานทดสอบที่ตางกันคือ ชิ้นแรกเปนชิ้นงานทดสอบที่มีรอยเชื่อมขนานกับ Gauge length หรือ All
weld metal tension specimen และชิ้นงานที่สองเปนชิ้นงานทดสอบที่มีรอยเชื่อมขวางอยูกึ่งกลางของชิ้นงานทดสอบ อยากทราบวา ชิ้นงานทั้งสองชิ้นนี้จะมี
การตอบสนองตอแรงดึงอยางไร
คําตอบ 1 : ชิ้นงานแรกจะมีการเปลี่ยนรูปของชิ้นงานที่ไมสม่ําเสมอตลอด Gauge length 107 of 113
คําตอบ 2 : ชิ้นงานที่สองจะมีการเปลี่ยนรูปของชิ้นงานที่สม่ําเสมอตลอด Gauge length
คําตอบ 3 : ทิศทางการเรียงตัวของเกรน/โครงสรางของงานเชื่อมตอแรงที่มากระทําตางกันในชิ้นงานทดสอบทั้งสอง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ าย
ขอที่ : 457


ในการทดสอบแรงดึงในชิ้นงานเชื่อมโลหะไททาเนียมผสมดวยวิธี Autogenous TIG welding มีการเตรียมชิ้นงานทดสอบโดยใหรอยเชื่อมอยูตําแหนงกึ่งกลาง

ํจาห
ของ Gauge length เมื่อทําการทดสอบ พบวา มีคา Yield strength ที่เพิ่มขึ้นเล็กนอย แตมีคาเปอรเซ็นตการยืดตัวที่ลดลงอยางมาก หากทานตองการเชื่อม
โลหะไททาเนียมผสมนี้ในครั้งตอไปเพื่อใหไดสมบัติเชิงกลที่ดีขึ้น ทานควร
คําตอบ 1 : ใช Grain refiner


คําตอบ 2 : เพิ่มขนาดเนื้องานเชื่อม

้ า
คําตอบ 3 : ลดการใช Shielding gas

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เพิ่มกระแสในการเชื่อม

ิท
ขอที่ : 458


ชิ้นงานเชื่อมเหล็กกลาคารบอนสูงความหนา 5 mmโดยวิธี Shield metal arc welding มีขนาดความกวางของรอยเชื่อมประมาณ 10 มิลลิเมตรถูกนํามาทําการ


ทดสอบสมบัติเชิงกล เชนการทดสอบแรงดึง การทดสอบคาความแข็ง พบวา


คําตอบ 1 : คาเปอรเซ็นตการยืดตัวของชิ้นงานเชื่อมนั้นมีคาเพิ่มขึ้นเล็กนอย


คําตอบ 2 : คาความแข็งในเนื้องานเชื่อมนอยกวาในโลหะพื้น


คําตอบ 3 : บริเวณรอยเชื่อมจะเกิด Strain ที่คอนขางจํากัด เมื่อเทียบกับบริเวณโลหะพื้น


คําตอบ 4 : Work hardening exponent มีคาเพิ่มขึ้น

ขอที่ :

ก ร ข
459


ในการทดสอบ Bend test ของงานเชื่อม Groove welding มีการเตรียมชิ้นงานทดสอบโดยขึ้นอยูกับดานของรอยเชื่อม 3 ประเภทดวยกัน ขอใดไมใชลักษณะ



ชิ้นงานเชื่อมที่เตรียมทดสอบ Bend test

าว
คําตอบ 1 : Face bend test

สภ
คําตอบ 2 : Root bend test
คําตอบ 3 : Side bend test
คําตอบ 4 : Front bend test

ขอที่ : 460
ในการทดสอบชิ้นงานเชื่อมโดยวิธี Guided bend test เราตองทําการทดสอบใหเกิดการงอในชิ้นงานเชื่อม โดยดานนอกสุดของงานเชื่อมที่เกิดการโคงงอจะอยู
ภายใตสถาวะของแรงที่เปน
108 of 113
คําตอบ 1 : Shear
คําตอบ 2 : Tension
คําตอบ 3 : Torsion
คําตอบ 4 : Compressive

่ าย

ขอที่ : 461

ํจาห
วัสดกันรังสีมีความจําเปนตอการถายภาพรังสีเพื่อตรวจสอบรอยเชื่อมหรือไม
คําตอบ 1 : ไมจําเปน ไมใชก็ได
คําตอบ 2 : ไมจําเปน เพราะเปนแคอุปกรณเสริม


คําตอบ 3 : จําเปนเพราะจะชวยลดการเกิดหมอกสีดําบนแผนฟลมที่โดนรังสีตรงๆ

้ า
คําตอบ 4 : จําเปนเพราะ ตองการนําฟลมสวนที่ไมควรโดนรังสีกลับไปใชใหม

ขอที่ : 462
ิธ์ ห
ิท
เพื่อใหงานเชื่อมที่ไดจากการเชื่อมโดยวิธีการอารคแบบลวดเชื่อมมีสารพอกนั้น ขอใดตอไปนี้ผูเชื่อมตองคํานึงถึงในการเชื่อม


คําตอบ 1 : การชื้นของลวดเชื่อม

วน
คําตอบ 2 : ความสะอาดของชิ้นงาน


คําตอบ 3 : ประเภทของกระแสไฟที่ใช


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ :

ร ขอ
463


ขอใดคือความหมายที่ใกลเคียงที่สุดของคําวาการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ


คําตอบ 1 : การรับรองวาชิ้นงานที่ผลิตขึ้นไดตามมาตรฐานที่ตองการของลูกคา



คําตอบ 2 : การควบคุมกระบวนการผลิตเพื่อใหไดผลิตภัณฑที่มีคุณภาพตามที่ตองการ

าว
คําตอบ 3 : รูปของกิจกรรมในองคกรที่เปนระบบและออกแบบมาเพื่อสรางความมั่นใจในคุณภาพของผลิตภัณฑขององคกรนั้นๆใหกับลูกคา

สภ
คําตอบ 4 : การควบคุมกระบวนการออกแบบ การผลิต และการขนสงผลิตภัณฑ

ขอที่ : 464
ขอใดคือความหมายที่ใกลเคียงที่สุดของคําวาการควบคุมคุณภาพ
คําตอบ 1 : กิจกรรมทีทําอยางเปนระบบในองคกรเพื่อการสรางความมั่นใจในผลิตภัณฑขององคกร
คําตอบ 2 : การควบคุมการผลิต การออกแบบ และการขนสงสูลูกคา
คําตอบ 3 : กิจกรรมที่ทําขึ้นในองคกรอยางเปนระบบเพื่อการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑที่องคกรผลิตขึ้นใหเปนไปตามความตองการขององคกร 109 of 113
คําตอบ 4 : การควบคุมการผลิตใหดีที่สุด

ขอที่ : 465


แนวคิดการควบคุมคุณภาพแบบ TQM ตางจาก Six Sigma อยางไร

่ า
คําตอบ 1 : No mass training in statistics and quality


คําตอบ 2 : Quality initiative

ํจาห
คําตอบ 3 : Largely within a single function
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

้ าม
ขอที่ : 466

ิธ์ ห
ขอใดคือสาเหตุของการควบคุมคุณภาพในงานเชื่อม
คําตอบ 1 : เพราะตองการลดตนทุนการเชื่อมจากการลดของเสีย
คําตอบ 2 : เพราะตองการความปลอดภัยในการนําไปใชงาน

ิท
คําตอบ 3 : เพราะตองการความเชื่อมั่นในงานเชื่อมที่ผลิตขึ้นมา


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 467

ง วน

ในการบัดกรีวงจรอิเล็กทรอนิกสนั้นไดมีการประยุกตใชการตรวจสอบแบบไมทําลายมีดวยกันหลายวิธี อยากทราบวาวิธีการใดถูกใชเฉพาะในการตรวจสอบรอย


เชื่อมวงจรอิเล็กทรอนิกเทานั้น

ร ข
คําตอบ 1 : การตรวจสอบดวยตาปลาว


คําตอบ 2 : การตรวจสอบดวยการใชภาพถายรังสี


คําตอบ 3 : การตรวจสอบการนําไฟฟาและไมนําไฟฟาของขั้วตางๆในวงจร



คําตอบ 4 : การตรวจสอบโดยใชคลื่นเสียงความถี่สูง

าว
สภ
ขอที่ : 468
ในการควบคุมคุณภาพการเชื่อมวงจรอิเล็กทรอนิกสวิธีการตรวจสอบรอยเชื่อมวิธีการใดไดรับความนิยมสูงสุดในคําตอบตางๆตอไปนี้
คําตอบ 1 : วิธีการ Automated optical inspection
คําตอบ 2 : วิธีการตรวจสอบแบบกระแสไหลวน
คําตอบ 3 : วิธีการตรวจสอบแบบคลื่นเสียงอัลตราโซนิกส
คําตอบ 4 : วิธีการตรวจสอบแบบสารแทรกซึม

110 of 113
ขอที่ : 469
ขอใดคือขอดวยของการตรวจสอบแบบไมทําลายชนิด Automated optical inspection ในการตรวจรอยบัดกรีในวงจรอิเล็กทรอนิกส
คําตอบ 1 : รอยเชื่อมอยูใตผิวชิ้นงาน
คําตอบ 2 : รอยเชื่อมอยูในบริเวณที่แสงสองไมถึง


คําตอบ 3 : รอยเชื่อมไมอยูในระนาบที่ถายภาพได

่ า
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ํจาห
ขอที่ : 470
ในการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมแผนหนาเกรดออสเตนนิกที่ตองการการเชื่อมหลายๆครั้งปญหาที่มักพบและตองการวิศวกรหาทางแกไขกอนการเชื่อมเพื่อลดของ


เสียคืออะไร

้ า
คําตอบ 1 : การแตกบริเวณ HAZ ซึ่งเกิดจากการตกผลึกของโครเมียมคารไบด

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : การเกิดมารเทนไซนบริเวณ HAZ
คําตอบ 3 : การเกิดความลาเนื่องจากความรอนซ้ําของชิ้นงานเชื่อม

ิท
คําตอบ 4 : การเกิดการสูญเสียโครเมียมจากบริเวณหลอมละลาย

ขอที่ : 471

นส
ง ว
ขอใดคือขอจํากัดของการตรวจสอบแบบไมทําลายชนิดใชคลื่นเสียงอัลตราโซนิก


คําตอบ 1 : หัวโพรบตองสัมผัสกับผิวชิ้นงานอยางดี


คําตอบ 2 : ใชกับวัสดุไดเกือบทุกประเภท


คําตอบ 3 : สามารถบอกตําแหนงของจุดบกพรองได


คําตอบ 4 : สามารถบอกขนาดของจุดบกพรองอยางคราวๆได

วก


ขอที่ : 472


เปนไปไดหรือไมที่จะทดสอบแบบไมทําลายชนิดใชคลื่นเสียงอัลตราโซนิกโดยที่หัวโพรบไมสัมผัสกับชิ้นงานอยางดี(ใชสารเคลือบกอนการวางหัวโพรบ)


คําตอบ 1 : เปนไปไมไดเพราะวาคลื่นเสียงจะเกิดการกระเจิงเมื่อผานตัวกลางที่ไมตอเนื่อง

สภ
คําตอบ 2 : เปนไปไมไดเพราะวาคลื่นเสียงจะเกิดการกระเจิงเมื่อผานตัวกลางที่เนื่อไมสม่ําเสมอเชนอากาศที่ไหลตลอดเวลา
คําตอบ 3 : เปนไปไดถาอากาศที่เปนตัวนําคลื่นเสียงอัลตราโซนิกมีความสม่ําเสมอตลอดเวลาการตรวจสอบแบบไมทําลาย
คําตอบ 4 : นาจะถูกทั้งขอ 2 และ 3

ขอที่ : 473
ขอใดเปนการทดสอบแบบทําลายของรอยเชื่อม
111 of 113
คําตอบ 1 : Ultrasonic test
คําตอบ 2 : Radiographic test
คําตอบ 3 : Bending test
คําตอบ 4 : Magnetic particle test

่ าย

ขอที่ : 474

ํจาห
ขอใดจัดเปนการตรวจสอบแบบไมทําลายที่ใชตรวจสอบรอยเชื่อม
คําตอบ 1 : Ultrasonic test
คําตอบ 2 : Tensile test


คําตอบ 3 :

้ า
Bending test
คําตอบ 4 :

ิธ์ ห
Impact test

ขอที่ : 475

ิท
การทดสอบแรงกระแทกในรอยเชื่อมทําขึ้นเพื่ออะไร


คําตอบ 1 : เพื่อทราบความสามารถในการดูดซับพลังงานกอนการแตกหักโดยภาระกรรมแบบฉับพลัน

วน
คําตอบ 2 : เพื่อทราบความแข็งแรงของวัสดุ


คําตอบ 3 : เพื่อทราบถึงความสามารถในการงอ


คําตอบ 4 : เพื่อทราบความสามารถในการบิด

ขอที่ :

ร ขอ
476


การเชื่อมจัดเปนงานที่มีอันตราย อุปกรณใดตอไปนี้ไมจัดเปนอุปกรณปองกันอันตรายจากงานเชื่อม


คําตอบ 1 : ชุดหนังกันความรอน



คําตอบ 2 : แวนตากันแดด

าว
คําตอบ 3 : หนากากเชื่อม

สภ
คําตอบ 4 : หมวกกันกระแทก

ขอที่ : 477
ขอใดผิดเกี่ยวความปลอดภัยในการใชเครื่องเชื่อมเลเซอร
คําตอบ 1 : เครื่องเลเซอรประเภท 4 เปนเครื่องเลเซอรที่ปลอดภัย
คําตอบ 2 : แวนตากันแสงเลเซอรประเภท YAG laser สามารถใชงานไดเฉพาะการเชื่อมโดยแสงเลเซอรประเภท YAG laser เทานั้น
คําตอบ 3 : ไมควรมองไปที่บริเวณเชื่อมดวยตาปลาวเมื่อทําการเชื่อมดวยคารบอนไดออกไซดเลเซอร 112 of 113
คําตอบ 4 : แมวาเลเซอรบอกตําแหนงในการเชื่อมจะมีกําลังนอยแตก็ไมควรมอง

ขอที่ : 478


ขอใดไมจัดเปนหลักความปลอดภัยในงานเชื่อม

่ า
คําตอบ 1 : มองรอยเชื่อมขณะเชื่อมดวยการมองผานแวนตาดํา


คําตอบ 2 : สวมเสื้อหรือชุดที่ปองกันสะเก็ดไฟได

ํจาห
คําตอบ 3 : ไมเอามือที่เปยกปรับกําลังเครื่องเชื่อมไฟฟา
คําตอบ 4 : ไมจับชิ้นงานหลังงานเชื่อมทันที่

้ าม
ขอที่ : 479

ิธ์ ห
Acetylene gas จะเกิดระเบิดไดเมื่อกรณีใด
คําตอบ 1 : มี Acetylene gas อยูในอากาศระหวาง 2-82 เปอรเซนต
คําตอบ 2 : Acetylene gas ไดรับแรงดันที่สุดเกิดคาหนึ่งแมไมมีอากาศ

ิท
คําตอบ 3 : Acetylene gas อยูในบรรยากาศที่เย็นจัด


คําตอบ 4 : มีคําตอบถูกเกินสองขอ

ขอที่ : 480

ง วน

การเชื่อมดวยเครื่องเชื่อมอัตโนมัติ หรือ หุนยนตเชื่อม มีหลักความผลอดภัยหลายขออยากทราบวาขอใดคือหลักความปลอดภัย

ขอ
คําตอบ 1 : กําหนดบริเวณที่หุนยนตเชื่อมสามารถเคลื่อนที่ถึงเปนบริเวณอันตราย


คําตอบ 2 : สวมอุปกรณกันกระแทกเพื่อปองกันการกระแทกของเครื่องจักรกับตัวผูปฏิบัติงานอันเนื่องมาจากความผิดพลาดจากการทํางาน


คําตอบ 3 : ควรอยูบริเวณที่ปลอดภัยในขณะหุนยนตเชื่อมทํางาน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

าวศ

ขอที่ : 481

สภ
ความไมปลอดภัยที่พบในงานเชื่อมเกิดไดหลายสาเหตุ ขอใดตอไปนี้ไมเปนสาเหตุของความไมปลอดภัยในงานเชื่อมบาง
คําตอบ 1 : การระเหิดของลวดบัดกรีในขณะบัดกรี
คําตอบ 2 : แสงสวางที่เกิดจากการอารค
คําตอบ 3 : สะเก็ดไฟในการเชื่อม
คําตอบ 4 : การใสหนากากปองกันแสงจากการอารคทําใหทํางานยาก

113 of 113

You might also like