You are on page 1of 27

หน่วยการเรียนท่ี 1

ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
(Intro ducti on of pr ocess costin g)
จุดประสงค์การเรียนรู้ (ปลายทาง)
ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความหมาย ลักษณะ ขัน ้
ตอน และวงจรของระบบต้นทุนช่วงการผลิต สามารถอธิบายความแตก
ต่างระหว่างระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต กับระบบการบัญชีต้นทุน
งานสัง่ทำา และจัดทำารายงานต้นทุนการผลิตอย่างง่ายได้อย่างถูกต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้ (นำาทาง)
1. อธิบายความหมายของระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต และ
ระบบการบัญชีต้นทุน
งานสัง่ทำาได้
2. อธิบายลักษณะของการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตได้
3. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการ
ผลิต กับระบบการ
บัญชีต้นทุนงานสัง่ทำาได้
4. อธิบายขัน
้ ตอนของการจัดทำารายงานต้นทุนการผลิตได้

สาระสำาคัญ
ในการคำานวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำาเร็จรูปของกิจการ
อุตสาหกรรม มีวิธีการคำานวณได้หลายวิธีตามลักษณะการผลิตของ
กิจการ ซ่ ึงกิจการสามารถเลือกใช้วิธีการคำานวณให้เหมาะสมกับการผลิต
ได้ เช่น วิธีการบัญชีต้นทุนงานสัง่ทำา วิธีการบัญชีต้นทุนมาตรฐาน วิธี
การบัญชีต้นทุนจริง และการคำานวณต้นทุนการผลิตตามระบบการบัญชี
ต้นทุนช่วงการผลิตก็เป็ นอีกวิธีหน่ ึงท่ีนิยมใช้กันและเป็ นวิธีการคิดต้นทุน
ท่ีเหมาะสำาหรับกิจการท่ีผลิตสินค้าอย่างต่อเน่ ืองเป็ นจำานวนมาก อาจมี
การผ่านการผลิตหลายแผนก และได้สินค้าสำาเร็จรูปเหมือน ๆ กัน ดัง
นัน้ จึงต้องเข้าใจความหมาย ลักษณะท่ีสำาคัญของระบบการบัญชีต้นทุน
ช่วงการผลิต และอธิบายความแตกต่างกันระหว่างระบบต้นทุนช่วงการ
ผลิตกับระบบการบัญชีต้นทุนงานสัง่ทำา เพ่ ือความเข้าใจในขัน ้ ตอน และ
2

สามารถรวบรวมข้อมูลท่ีใช้ในการจัดทำารายงานต้นทุนการผลิตได้อย่างถูก
ต้องและเหมาะสม

เน้ือหา
1. ความหมายของการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตและการบัญชีต้นทุน
งานสัง่ทำา
2. ลักษณะของการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
3. ความแตกต่างระหว่างระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตกับ
ระบบการบัญชีต้นทุน
งานสัง่ทำา
4. ขัน
้ ตอนในการจัดทำารายงานต้นทุนการผลิต

ความหมายของการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต (Proc es s C os ti ng )
สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ได้ให้
คำาจำากัดความของการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตไว้ว่า การบัญชีต้นทุนช่วง
การผลิต หมายถึง วิธีการบัญชีต้นทุนอย่างหน่ ึงใช้ในกิจการท่ีผลิต
สินค้าหรือให้บริการมีลก ั ษณะเป็ นช่วง ๆ วัตถุดิบ แรงงาน และค่าใช้จา่ ย
การผลิตต่าง ๆ อาจจะใส่เข้ามาในช่วงการผลิตต่าง ๆ ได้ (1)
สมนึก เอ้ือจิระพงษ์พันธ์ กล่าวว่า การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
ถือเป็ นวิธีการในการคำานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์อีกวิธีหน่ ึงท่ีมักจะถูกนำามา
ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ท่ีมีการผลิตแบบต่อเน่ ือง เป็ นกระบวนการ
และในสายการผลิตหน่ ึงๆ ก็จะทำาการผลิตสินค้าเพียงอย่างเดียว หลังจาก
ท่ีผลิตเสร็จแล้วก็จะนำาไปเก็บไว้ในคลังสินค้าเพ่ ือรอการจำาหน่ายต่อไป (2)
ดวงมณี โกมารทัต อธิบายว่าการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
เป็ นการคำานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์อีกวิธีหน่ ึงซ่ ึงใช้กบั กิจการท่ีมีการผลิต
ต่อเน่ ืองกันไป และในระหว่างการผลิตไม่สามารถแยกได้ว่าส่วนใดของ
การผลิตเป็ นของงานชิน ้ ใด เป็ นการผลิตรวมกันไป ปกติจะผลิตสินค้า
เพ่ ือเก็บไว้ขายในภายหลัง (3)
เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฎ์ กล่าวว่า การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต เป็ นวิธี
การคิดต้นทุนอีกแบบหน่ ึง ซ่ ึงเหมาะสำาหรับโรงงานอุตสาหกรรมท่ีทำาการ
ผลิตผลิตภัณฑ์เป็ นจำานวนมาก ๆ ติดต่อกัน โดยท่จี ำานวนหน่วยท่ีผลิตได้
ประกอบด้วยหน่วยเหมือน ๆ กัน แต่ละหน่วยทำาการผลิตในลักษณะ
เดียวกัน และเป็ นการผลิตในระบบต่อเน่ ืองกัน (4)
3

เยาวพา ณ นคร อธิบายว่าการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ใช้


สำาหรับกิจการท่ีผลิตภัณฑ์เป็ นจำานวนมากเพ่ ือเก็บไว้ขาย ไม่ได้ผลิตตาม
คำาสัง่ของลูกค้าแต่ละราย สินค้าท่ีผลิตทุกหน่วยจะเหมือนกัน โดยผ่าน
การผลิตเป็ นขัน้ ตอนต่อเน่ ืองกันไป และเป็ นมาตรฐานเดียวกัน (5)

สรุป การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต หมายถึงวิธีการคำานวณต้นทุน


การผลิตสินค้าวิธีหน่ ึงท่ีเหมาะสำาหรับกิจการท่ีทำาการผลิตสินค้าเพ่ ือขาย
เองอย่างต่อเน่ ือง เป็ นจำานวนมาก และผ่านกระบวนการผลิตหลาย
แผนก สินค้าท่ีผลิตได้จะเป็ นสินค้าชนิดเดียวกัน และกิจการไม่
สามารถแยกได้ว่าต้นทุนการผลิตเป็ นของงานชิน ้ ใดชิน
้ หน่ ึงโดยเฉพาะ
สินค้าท่ีผลิตได้จะนำาไปเก็บไว้เพ่ ือส่งขายต่อไป

ความหมายของการบัญชีต้นทุนงานสั่งทำา (J ob ord er c os ti ng)


สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ได้ให้
คำาจำากัดความของการบัญชีต้นทุนงานสัง่ทำาไว้ว่าเป็ นวิธีการบัญชีต้นทุน
อย่างหน่ ึง ท่ีรวบรวมข้อมูลตามประเภทของงาน สัญญา หรือคำาสัง่ผลิต
แต่ละงานไว้ต่างหากจากกัน ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการคำานวณต้นทุน
ประเภทนีใ้นกิจการโรงพิมพ์ กิจการบริการซ่อมแซม อุตสาหกรรม
ต่อเรือ และอุตสาหกรรมก่อสร้าง ซ่ ึงส่วนใหญ่แล้วลักษณะของสินค้าท่ี
ผลิตจะถูกกำาหนดโดยลูกค้า และจะดำาเนินการผลิตก็ต่อเม่ ือได้รับคำาสัง่
ซ้ือจากลูกค้า ต้นทุนรวมของงานประกอบด้วย วัตถุดิบ ค่าแรงและค่าใช้
จ่ายโรงงาน ซ่ ึงสามารถระบุเข้างานแต่ละงานได้โดยตรง ส่วนค่าใช้จ่าย
โรงงานท่ีไม่สามารถระบุเข้างานแต่ละงานได้โดยตรง จะถูกรวมเป็ นต้น
ทุนของงานแต่ละงานโดยวิธีการปั นส่วน (6)
สมนึก เอ้ือจิระพงษ์พันธ์ อธิบายว่า การบัญชีต้นทุนงานสัง่ทำา
คือระบบบัญชีท่ีใช้ในการสะสมข้อมูลเก่ียวกับต้นทุนการผลิตของงานสัง่
ทำาหรือสินค้าท่ีมีการผลิตเป็ นรุ่น ๆ โดยการบันทึกและสะสมต้นทุนนัน ้ ๆ
จะทำาโดยแยกตามงานสัง่ทำาของลูกค้าแต่ละราย หรือตามรุ่นและชนิดของ
สินค้าท่ีทำาการผลิต (7)
ดวงมณี โกมารทัต ได้ให้ความหมายไว้วา่ การบัญชีต้นทุนงานสัง่
ทำา เป็ นวิธีเก็บรวบรวมและสะสมต้นทุนการผลิตของงานตามคำาสัง่ผลิต
ของลูกค้า เน่ ืองจากลักษณะของคำาสัง่ผลิตแต่ละงานแตกต่างกัน จึงมี
4

การรวบรวมและสะสมต้นทุนแยกตามคำาสัง่ผลิตหรือชิน ้ งาน ทำาให้


ทราบต้นทุนการผลิตของแต่ละงานได้ทันที (8)

สรุป การบัญชีต้นทุนงานสัง่ทำา หมายถึง วิธก ี ารคำานวณต้นทุนการ


ผลิตสินค้าตามท่ีลูกค้าสัง่ เหมาะสำาหรับกิจการท่ีรับจ้างทำาการผลิตสินค้า
ซ่ ึงสินค้าท่ีผลิตจะมีลักษณะแตกต่างกันตามคำาสัง่ของลูกค้า การ
รวบรวมต้นทุนจะแยกตามชนิดของสินค้าท่ีผลิต โดยสะสมต้นทุน
ตัง้แต่เร่ิมผลิต
จนเสร็จเป็ นสินค้าสำาเร็จรูป และเม่ ือผลิตเสร็จแล้วจะส่งมอบให้ลูกค้า
ทันที ไม่มีการเก็บไว้เพ่ ือขายในภายหลัง

ลักษณะของการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตเป็ นการคำานวณต้นทุนการผลิต ซ่ ึงใช้
กับกิจการท่ีทำาการผลิตสินค้าเป็ นจำานวนมาก มีการผลิตต่อเน่ ืองกันไป
ปกติจะผลิตสินค้าเพ่ ือเก็บไว้ขายในภายหลัง เช่น กิจการผลิตปูนซีเมนต์
น้ำามัน นอกจากนีก ้ ารผลิตท่ีต้องผ่านกระบวนการผลิตหลายแผนก
กิจการจะต้องกำาหนดกระบวนการผลิตท่ีเป็ นมาตรฐานเดียวกัน และมีการ
แบ่งงานกันในแต่ละแผนก ต้นทุนการผลิตทัง้ทางตรงและทางอ้อมไม่
สามารถคิดเข้ากับงานชิน ้ ใดชิน
้ หน่ ึงได้ การรายงานต้นทุนและรายงาน
สรุปต้นทุนแต่ละแผนกจะทำาได้เม่ ือสิน ้ งวดโดยทัว่ไปนิยมรวบรวมต้นทุน
ของแผนกต่าง ๆ ตามงวดเวลา 1 เดือน

ลักษณะสำาคัญของการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตคือ
1. จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับต้นทุนการผลิตและจัดทำา
รายงานแยกเป็ นรายแผนก ซ่ ึงถือว่าเป็ นการบันทึกและสรุปต้นทุนการ
ผลิตประจำางวด ตามปกติจะจัดทำาตามลักษณะของการทำางาน เช่น
แผนกตัด แผนกเล่ ือย เป็ นการบันทึกและสรุปต้นทุนการผลิตประจำา
งวด
2. ต้นทุนการผลิต ประกอบด้วยต้นทุนท่ีเป็ นวัตถุดิบ ค่าแรงงาน
และค่าใช้จ่ายการผลิตท่ีเกิดขึ้นจริงในแต่ละแผนกจะถูกรวบรวมเป็ นงวด
ๆ และนำาไปบันทึกบัญชีด้าน เดบิต ของบัญชีงานระหว่างทำาของแต่ละ
แผนก เม่ ือทำาการผลิตเสร็จในแผนกแต่ละแผนกแล้วจะโอนสินค้าไป
ผลิตในแผนกต่อไป กิจการจะต้องโอนต้นทุนท่ีเก่ียวข้องไปด้วย โดย
เครดิตบัญชีงานระหว่างทำาของแผนกท่ีโอนออก และเดบิตงานระหว่างทำา
ของแผนกท่ีรับโอน
5

3. มีการรวบรวมข้อมูลจำานวนหน่วยท่ีผลิตเสร็จของแต่ละแผนก ใน
กรณีท่ีมีงานระหว่างทำาคงเหลือต้นงวดและปลายงวดจะต้องปรับหน่วย
งานระหว่างทำาให้อยู่ในรูปของหน่วยเทียบสำาเร็จรูป
4. คำานวณต้นทุนต่อหน่วยของแต่ละแผนกตามงวดท่ีจด ั ทำารายงาน
ต้นทุน ซ่ ึงต้นทุนการผลิตจะประกอบด้วย วัตถุดบ ิ ค่าแรงงาน และค่า
ใช้จา่ ยการผลิต ซ่ ึงตามวิธีนีจ้ะแยกต้นทุนทัง้ 3 ตัว ออกเป็ น 2 ส่วน คือ
ต้นทุนวัตถุดบ ิ และต้นทุนเปล่ียนสภาพ (ค่าแรงงาน + ค่าใช้จ่ายการ
ผลิต)
5. ต้นทุนของหน่วยท่ีผลิตเสร็จจะโอนออกจากงานระหว่างทำาไปยัง
บัญชีงานระหว่างทำาของแผนกถัดไป หรือสินค้าสำาเร็จรูป ต้นทุนการ
ผลิตแต่ละแผนกจะถูกสะสมไว้ตัง้แต่แผนกแรกจนถึงแผนกสุดท้ายท่ี
ผลิตสินค้านัน ้ เสร็จ ซ่ ึงต้นทุนท่ีสะสมไว้ในแผนกแรก เม่ ือโอนไป
แผนกท่ี 2 จะเรียกว่าต้นทุนโอนมา และเม่ ือสะสมไปจนถึงแผนกสุดท้าย
เม่ ือผลิตสินค้าเสร็จก็จะเรียกว่าต้นทุนผลิตสินค้าสำาเร็จรูป
6. การสะสมต้นทุนรวมและต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละแผนกจะนำาไป
แสดงไว้ในรายงานต้นทุนการผลิต ซ่ ึงจัดทำาแยกตามแผนกการผลิต

ลักษณะการผลิตตามวิธีการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
การผลิตตามวิธีการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต มีหลายแบบท่ีแตกต่าง
กันตามลักษณะกระบวนการผลิต ซ่ ึงแยกออกเป็ น
1. การผลิตแบบเรียงลำาดับ (Sequential processing) เป็ นการผลิตท่ี
ผลิตภัณฑ์ทัง้หมดผ่านกระบวนการผลิตทุกแผนกตามลำาดับ ต้นทุนจะ
เก็บสะสมจากแผนกท่ี 1 โอนไปจนถึงแผนกสุดท้าย และเม่ ือผลิตเสร็จใน
แผนกสุดท้าย ต้นทุนท่ีได้จะเรียกว่าต้นทุนผลิตสินค้าสำาเร็จรูป การผลิต
แบบนีเ้หมาะสำาหรับกิจการท่ีผลิตสินค้าเพียงอย่างเดียว หรือผลิตสินค้าท่ี
เหมือน ๆ กัน เช่น โรงงานผลิตขนมปั ง โรงงานผลิตน้ำาตาล

1. 1 รูปแบบกระบวนการผลิตแบบเรียงลำาดับ

แผนกผลิตท่ี แผนกผลิตท่ี 2 สินค้า


1 ต้ ต้นทุนโอนมา
ต้นทุนโอนไป สำาเร็จรูป
วัตถุดบิ (วัตถุดบ ิ ) ต้นทุน
ค่าแรงงาน ค่าแรงงาน แผนกท่ี 1
ค่าใช้จ่ายการ ค่าใช้จ่ายการ +
ผลิต ผลิต ต้นทุน
6

ต้นทุนขาย
ตทุน ขาย

งานระหว่างทำาแผนกท่ี 1 งานระหว่างทำาแผนกท่ี 2 สินค้าต้นทุน


ต้นทุนขาย
วัตถุดบิ ต้นทุนโอนไป ต้นทุนโอนมา (1) ต้นทุนโอนไป ต้นทุนการผลิต
ต้นทุนขาย สินค้าสำาเร็จรูป
ค่าแรงงาน งานระหว่างทำา- วัตถุดิบ งานระหว่างทำา-
ค่าใช้จ่าย- ปลายงวด ค่าแรงงาน ปลายงวด
การผลิต ค่าใช้จ่ายการผลิต

2. การผลิตแบบขนาน (Parallel Processing) เป็ นการผลิตผลิตภัณฑ์


มากกว่าหน่ ึงชนิดเหมาะสำาหรับผลิตภัณฑ์ท่ีมีส่วนประกอบหลาย ๆ ส่วน
ผ่านกระบวนการผลิตในแผนกท่ีต่างกัน ซ่ ึงอาจจะดำาเนินการผลิตไป
พร้อมกันหรือไม่ก็ได้ และจะนำามารวมเป็ นสินค้าสำาเร็จรูปในแผนก
สุดท้าย เช่น อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ จะแยกการผลิตเป็ นแผนก
ต่าง ๆ และนำามาประกอบเป็ นรถยนต์ในแผนกสุดท้าย

1. 2รูปแบบการผลิตแบบขนาน

แผนกท่ี 1 แผนกท่ี 3
วัตถุดิบ ต้นทุนโอนมา
งานระหว่างทำาแผนก 1 งานระหว่
แผนก 1, 2างทำาแผนก 3 สินค้าสำาเร็จรูป
ค่าแรงงาน
ต้นทุนขาย
ค่าใช้จ่ายการ วัตถุดบ ิ
วัตถุดบ
ิ ต้นทุนโอนไป ค่าแรงงาน
ต้ น ทุนโอนมา 1 ต้นทุนโอนไป ต้นทุนการผลิต
ผลิต
ต้นทุนขาย สินค้าสำาเร็จรูป ค่าใช้จ่ายการผลิต สินค้า
ค่าแรงงาน งานระหว่างทำา- ต้นทุนโอนมา 2 งานระหว่างทำา- ต้นทุน
สำาเร็จรูป ขาย
แผนกท่
ค่าใช้ ี2
จา่ ย- ปลายงวด วัตถุดบ ิ ปลายงวด
วัตถุดติบ
การผลิ ค่าแรงงาน
ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายการ-
ค่าใช้จ่ายการ
งานระหว่ างทำาแผนก 2 ผลิต
ผลิ ต
วัตถุดบ ิ ต้นทุนโอนไป
ค่าแรงงาน งานระหว่างทำา-
ค่าใช้จา่ ย- ปลายงวด
การผลิต
7

3. การผลิตแบบจำาแนก (Selective Processing) เป็ นการผลิตผลิตภัณฑ์


ท่ีเร่ิมกระบวนการผลิตในแผนกท่ี 1 เหมือนกัน ใช้ต้นทุนวัตถุดบ ิ
ค่าแรงงาน และค่าใช้จา่ ยการผลิตด้วยกัน แต่ได้ผลิตภัณฑ์ท่ีแตกต่างกัน
เช่น โรงงานอุตสาหกรรมเน้ือสัตว์แช่แข็ง การผลิตทัง้หมดจะเร่ิมใน
แผนกแรกคือแผนกชำาแหละ จะได้เน้ือส่วนต่าง ๆ เน้ือแต่ละส่วนจะแยก
สูก
่ ระบวนการผลิตแต่ละชนิด และได้สินค้าสำาเร็จรูปแตกต่างกันไปเกิน
กว่า 1 ชนิด

1.3 รูปแบบการผลิตแบบจำาแนก

แผนกผลิตท่ี 2
ต้นทุนส่วนโอนมาจาก
แผนก 1
วัตถุดบ ิ สินค้า ต้นทุน
ค่าแรงงาน สำ า เร็ จ รูป
ค่าใช้จ่ายการแ ผ น ก ผ ลิ ต ท ่ี 1
งานระหว่ างทำาแผนกท่
งานระหว่ างทำา ี 1 งานระหว่
ผลิ
แผนกผลิต างทำ ตาท่แผนกท่
ี3 ี2 สินค้า
สำาเร็จรูป แผนกท่ี 1 ต้นต้แผนกผลิ
ทุนน ทุนขาย
ส่วนโอนมาจากตท่ี 4 สิ น ค้า ต้ต้น
นทุทุน

วัตวัถุตดถุบ
ิ ดบิ ต้ น ทุ น โอนไป ต้ แผนก

ต้ ทุ
น น
ทุ น โอนมา
ส่
1 ว นโอนมาจาก ต้ น ทุ น สำ
โอนไป า เร็ จรู ป
ต้ น ทุ น ผลิ ตสิ น ขาย
ค้
ขายา
ต้นค่ทุาน ขาย สิ น ค้ า สำ า เร็ จ รู
ป วัตถุด1 บ
แผนก ิ
แรงงาน
ค่าแรงงาน งานระหว่างทำา- วัตถุวัค่
ดตบ ถุดิบ
ิ าแรงงาน
ค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าแรงงาน
ใช้จ่ายการ
ค่าใช้จา่ ย- ปลายงวด ค่าแรงงาน
ค่ า ใช้ จ่ายการ
การผลิต ค่าผลิ
ใช้จตา่ ยการผลิต
ผลิต งานระหว่างทำาแผนกท่ี 3
สินค้าสำาเร็จรูป ต้นทุนขาย
ต้นทุนโอนมา ต้นทุนโอนไป ต้นทุนผลิตสินค้า ต้นทุน
ขาย สินค้าสำาเร็จรูป
วัตถุดบิ สินค้า
ค่าแรงงาน สำาเร็จรูป
ค่าใช้จา่ ยการผลิต
งานระหว่างทำาแผนกท่ี 4
สินค้าสำาเร็จรูป ต้นทุนขาย
ต้นทุนโอนมา ต้นทุนโอนไป ต้นทุนผลิตสินค้า ต้นทุน
ขาย สินค้าสำาเร็จรูป
วัตถุดบ ิ
ค่าแรงงาน
ค่าใช้จา่ ยการผลิต
8

วงจรการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
การบันทึกบัญชีเก่ียวกับต้นทุนการผลิตตามวิธีการบัญชีต้นทุนช่วงการ
ผลิต ประกอบด้วย
1. บันทึกการจัดหาวัตถุดิบเพ่ ือใช้ในการผลิตโดย เดบิต บัญชี
วัตถุดิบ และจัดทำาบัตรวัตถุดิบเพ่ ือใช้ในการควบคุมวัตถุดิบเม่ ือมี
การรับ – จ่ายวัตถุดิบ
2. เม่ ือเบิกวัตถุดิบไปใช้ การบันทึกบัญชีจะต้องระบุแผนกท่ีเบิกไปใช้
และการบันทึกบัญชีเก่ียวกับการเบิกวัตถุดบ ิ ไปใช้ จะเดบิต งาน
ระหว่างทำา-แผนกท่ีเบิกใช้ เครดิต วัตถุดิบ
3. รวบรวมค่าแรงงานท่ีเกิดขึ้นเป็ นค่าแรงงานทางตรง และค่าแรงงาน
ทางอ้อม ตามบัตรบันทึกการทำางานของคนงาน และบันทึกบัญชี
โดย เดบิตบัญชีงานระหว่างทำา-แผนกท่ีเกิดค่าแรงงาน เครดิต
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ เน่ ืองจากค่าแรงงานและค่าใช้จ่ายการผลิต
ตามวิธีต้นทุนช่วงการผลิตจะรวมเรียกว่าต้นทุนเปล่ียนสภาพ
4. เม่ ือโอนต้นทุนการผลิตจากแผนกหน่ ึงไปสะสมในแผนกถัดไป จะ
ต้องบันทึกบัญชีการโอนต้นทุน โดย เดบิต งานระหว่างทำาแผนก
ท่ีรบั โอน และเครดิต งานระหว่างทำาแผนกท่ีโอน
5. ในแผนกสุดท้ายท่ีทำาการผลิตเสร็จเป็ นสินค้าสำาเร็จรูป และนำาเข้า
เก็บในคลังสินค้า จะต้องบันทึกต้นทุนการผลิตสินค้า โดยเดบิต
สินค้าสำาเร็จรูป เครดิต งานระหว่างทำา
6. เม่ ือนำาสินค้าออกจำาหน่ายจะต้องบันทึกต้นทุนของสินค้าด้วยโดย
เดบิต ต้นทุนขาย เครดิต สินค้าสำาเร็จรูป

ความแตกต่างระหว่างระบบการบัญชีต้นทุนงานสั่งทำาและระบบการบัญชี
ต้นทุนช่วงการผลิต
ระบบการบัญชีของทัง้ 2 วิธีนี ม
้ ีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันคือ
การคำานวณต้นทุนการผลิต ต้นทุนสินค้าคงเหลือ และคาดคะเนผลกำาไร
ท่ีจะได้รับ วิธีการรวบรวมต้นทุนของวิธีการบัญชีต้นทุนงานสัง่ทำากับวิธี
การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตจะแตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ในการหา
ต้นทุน และวัตถุประสงค์ในการผลิตสินค้า ซ่ ึงสามารถสรุปข้อแตกต่าง
ได้ 2 ประการคือ
9

1. วัตถุประสงค์และกระบวนการสะสมข้อมูล

รายการ วิธีการบัญชีต้นทุนงานสั่ง วิธีการบัญชีต้นทุนช่วง


ทำา การผลิต
1. การผลิต - เพ่ ือขายโดยทัว่ไปเป็ น - เพ่ ือขายโดยทัว่ไป
สินค้าเฉพาะ - ผลิตเป็ นจำานวนมาก
- ตามคำาสัง่ของลูกค้าเฉพาะ - ไม่มีคำาสัง่ให้ผลิตเฉพาะ
ราย ราย
- จำานวนการผลิตมีมากหรือ
น้อยก็ได้

2. ลักษณะของ - ลูกค้าเป็ นผูก


้ ำาหนด - มีลักษณะเหมือนกัน
สินค้า คุณลักษณะของ หรือคล้าย ๆ
สินค้า กันตามประเภทสินค้า
- มีความแตกต่างของสินค้า ของกิจการ
ไม่สามารถแยกความ
แตกต่างได้
3. การรายงาน - จะแยกต้นทุนของงาน - รายงานต้นทุนตาม
ต้นทุน แต่ละงาน กระบวนการ
การผลิต ตามท่ีลูกค้าสัง่ ผลิตรายแผนก
- มีบัตรต้นทุนงาน เป็ น - โอนการสะสมต้นทุน
บัญชีแยก จากแผนก
ประเภทย่อยงานระหว่าง แรกจนถึงแผนก
ทำา สุดท้าย
ในกระบวนการผลิต - รายงานต้นทุนแต่ละ
แผนกเป็ น
บัญชีย่อย

4. การรวบรวม - ตัง้แต่เร่ิมผลิตของงาน - รวบรวมเป็ นงวด ๆ


ต้นทุน แต่ละงานจน ทัว่ไปนิยม
ท่ีเกิดขึ้น ผลิตเสร็จพร้อมส่งมอบให้ รวบรวมต้นทุนตามงวด
10

ลูกค้า เวลา
1 เดือน

รายการ วิธีการบัญชีต้นทุนงานสั่ง วิธีการบัญชีต้นทุนช่วง


ทำา การผลิต
5. ต้นทุนการ - มีการแยกต้นทุนการผลิต - จะไม่แยกประเภท
ผลิต ออกเป็ น ต้นทุนเป็ น
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรง ทางตรงหรือทางอ้อม
งานทาง แต่จะแบ่ง
ตรง และค่าใช้จ่ายการ ต้นทุนการผลิตออก
ผลิต เป็ น 2 ส่วน
- เน้นหนักท่ีราคาต้นทุน คือ ต้นทุนวัตถุดิบและ
แต่ละราย ต้นทุน
ของใบสัง่ทำา เปล่ียนสภาพ (ค่าแรง
- จะคิดราคาต้นทุนเข้ากับ งาน + ค่า
งานแต่ละ ใช้จ่ายการผลิต)
งานโดยตรง เม่ ืองานเสร็จ - เน้นหนักท่ีค่าใช้จา่ ยของ
แล้ว แต่ละ
แผนกงาน
- จะคิดต้นทุนการผลิต
เข้าแผนก
ผลิตก่อน แล้วจึง
คำานวณเข้า
เป็ นต้นทุนสินค้าภาย
หลังตาม
จำานวนสินค้าท่ีผลิต
เสร็จ

2. ผลประโยชน์ท่ีได้รบ

11

รายการ วิธีการบัญชีต้นทุนงานสั่ง วิธีการบัญชีต้นทุนช่วง


ทำา การผลิต
1. การบันทึก - ยุ่งยากและซับซ้อนเพราะ - ประหยัดและง่าย เพราะ
บัญชี ต้องแยก ไม่ต้อง
คำานวณต้นทุน วัตถุดิบ แยกต้นทุนทางตรง
ทางตรง และต้นทุน
ค่าแรงงานทางตรง และ ทางอ้อม
ค่าใช้จ่าย
การผลิต

2. การประเมิน - เป็ นการประเมินปริมาณ - เป็ นการประเมิน


ปริมาณ ผลการ ปริมาณผลการ
ผลการผลิต ผลิตแต่ละชิน
้ หรือแต่ละ ผลิตทัง้แผนก
รุ่น

1. 4 เปรียบเทียบจุดมุ่งหมายระหว่างการบัญชีต้นทุนงานสั่งทำา และ
การบัญชีต้นทุนช่วง
การผลิต
ระบบการบัญชีต้นทุนงานสั่งทำา

ต้นทุนการผลิต จุดมุ่งหมาย
ของต้นทุน

วัตถุดิบทางตรง งานท่ีผลิตเพ่ ือขาย


ค่าแรงงานทางตรง หรือตาม
แผนกผลิต คำาสัง่ของลูกค้า
ค่าใช้จ่ายการผลิต
สินค้าเข้างาน

คำานวณต้นทุนต่อหน่วยของแต่ละงานเม่ ือผลิตเสร็จ
12

งานหน่ึง ๆ อาจใช้เวลาผลิตเกินกว่า 1 งวดบัญชี

ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต

ต้นทุนการผลิต จุดมุ่งหมายของ
ต้นทุน

วัตถุเปรี คำานวณต้นทุนต่อหน่วยจาก
ดิบยบเทียบวิธีการรวบรวมต้นทุนระหว่างระบบการบัญชีต้นทุนงาน
1.
1.5 หน่วยท่ีนำาเข้า
ค่าแรงงาน ผลิ ต
ค่าใช้จ่ายการผลิตสั่งทำาและระบบการบัญชีต้นทุไปแต่
นช่วงการผลิ
ละแผนก ต
สินค้าเข้างาน เม่ ือสิน
2. ้ งวดเวลาหน่ึง จะคำานวณ
ต้นทุน่งโดย
ระบบการบัญชีต้นทุนงานสั ทำา
แยกเป็ นต้นทุนหน่วยท่ีผลิต
บัญชีคุมยอดงาน สินค้า
ระหว่างทำา สำาเร็จรูป
งาน A ผลิตภัณฑ์
บัญชีย่อย A
ระบบการบั
งาน B ญชีต้นทุนผลิ
ช่วตงการผลิ
ภัณฑ์ ต
B
งานระหว่าง สินค้า
ทำา สำาเร็จรูป
ขัน
้ ตอนในการจัดทำารายงานต้นทุนการผลิต
ในการสรุปต้นทุนการผลิตตามระบบต้นทุนช่วงการผลิต จะแสดง
ในรูปของงบรายงานต้นทุนการผลิต ซ่ ึงประกอบด้วยรายละเอียดเก่ียว
งานระหว่
กับปริมาาณและต้
ง งานระหว่
นทุนการผลิ ผลิตภัดทำารายงาน
าง ตท่ีเกิดขึ้นในแต่ละแผนก โดยจั
ทำา ณฑ์
แยกแผนกตามลำ าดับทำาต้นทุนการผลิตจะสะสมจากแผนกแรกท่ แต่ละ
ีเร่ิมการ
แผนกท่ี 1 แผนกท่ี 2
ผลิตจนถึงแผนกสุดท้ายท่ีผลิตเป็ นสินค้าสำาเร็จรูป ซ่ ึงตามวิธีระบบการ
บัญชีต้นทุนช่วงการผลิต ปั จจัยการผลิตจะแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ
ต้นทุนวัตถุดบิ กับค่าแรงงานและค่าใช้จ่ายการผลิตรวมกัน เรียกว่า
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ
รูปแบบงบรายงานต้นทุนการผลิตอาจจัดทำาได้หลายแบบ ขึ้น
อยูก่ ับความต้องการของกิจการ แต่ไม่ว่าจะจัดทำาในรูปแบบใดข้อมูลท่ีใช้
แสดงในรายงานต้นทุนการผลิตจะแบ่งขัน ้ ตอนในการรวบรวมและ
คำานวณต้นทุน เป็ น 5 ขัน ้ คือ

้ ท่ี 1 แสดงจำานวนหน่วยท่ีผลิต ประกอบด้วย ปริมาณหน่วยท่ี


ขัน
เร่ิมผลิต ปริมาณหน่วยท่ีผลิตเสร็จในงวดและปริมาณหน่วยท่ียังผลิตไม่
13

เสร็จ โดยทำาในรูปของรายงานจำานวนหน่วยนับได้ การคำานวณ


ประกอบด้วย
งานระหว่างทำาต้นงวด xx
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต xx
หน่วยท่ีต้องจัดให้ครบ xx
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก xx
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ xx
งานระหว่างทำาปลายงวด xx
หน่วยท่ีจัดได้ xx
้ ท่ี 2 คำานวณผลผลิตท่ีได้รบ
ขัน ั ในรูปของหน่วยเทียบสำาเร็จรูปซ่ ึง
เปรียบเสมือนเป็ นสินค้าสำาเร็จรูป โดยแจกแจงรายละเอียดการใช้ต้นทุน
การผลิตตามปริมาณของหน่วยท่ีจัดได้ในขัน ้ ท่ี 1 แยกตามปั จจัยการผลิต
ท่ีใช้ไป โดยถือว่าจำานวนหน่วยท่ีผลิตเสร็จแล้วจะใช้ปัจจัยการผลิตเต็ม
100 % ส่วนงานระหว่างทำาปลายงวดจะเปล่ียนสภาพตามขัน ้ ตอนความ
สำาเร็จ
วัตถุดิบ ต้นทุนเปล่ียนสภาพ
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก xx xx
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ xx xx
งานระหว่างทำาปลายงวด xx xx
xx xx

้ ท่ี 3 รวบรวมต้นทุนการผลิตท่ีเกิดขึ้นทัง้หมดในแต่ละแผนก
ขัน
ประจำางวดหน่ ึง ๆ โดยสรุปแยกเป็ นต้นทุนรวมของวัตถุดิบ และต้นทุน
ร ว ม ข อ ง ต้ น ทุ น เ ป ล ่ีย น ส ภ า พ ซ ่ ึง เ รี ย ก ว่ า ต้ น ทุ น ปั จ จุ บั น

้ ท่ี 4 คำานวณต้นทุนการผลิตต่อหน่วยเทียบสำาเร็จรูป โดย


ขัน
การ หาร ข้อมูลในขัน ้ ท่ี 3 ด้วย หน่วยเทียบสำาเร็จรูปท่ีคำานวณได้ในขัน

ท่ี 2 ผลลัพธ์ท่ีได้ก็คือต้นทุนต่อหน่วยเทียบสำาเร็จรูป

วัตถุดิบ ต้นทุนเปล่ียนสภาพ
ต้นทุนรวม
ต้นทุนปั จจุบัน xx xx xx
หาร หน่วยเทียบสำาเร็จรูป xx xx
14

ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย xx xx
xx

้ ท่ี 5 เป็ นการสรุปต้นทุนท่ีได้แจกแจงปั จจัยไว้ในขัน


ขัน ้ ท่ี 2
คำานวณต้นทุนรวมของ
ผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตเสร็จและงานระหว่างทำาปลายงวด โดยใช้ต้นทุนต่อ
หน่วยท่ีหาได้ในขัน ้ ท่ี 4 คูณผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตเสร็จ และงานระหว่างทำา
ปลายงวดท่ีแจงไว้ในขัน ้ ท่ี 2 จำานวนรวมท่ีได้ในขัน
้ ท่ี 5 นีจ้ะต้องเท่ากับ
จำานวนรวมท่ีได้ในขัน ้ ท่ี 3 ซ่ ึงประกอบด้วย
1. หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก (จำานวนหน่วย ต้นทุนต่อ
หน่วย) XX
2. หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ (จำานวนหน่วย ต้นทุนต่อหน่วย)
XX
3. งานระหว่างทำาปลายงวด ประกอบด้วย
­ วัตถุดิบ XX
­ ต้นทุนเปล่ียนสภาพ XX XX
XX
การบันทึกบัญชีเก่ียวกับต้นทุนช่วงการผลิต
1. บันทึกต้นทุนการผลิตได้จากต้นทุนปั จจุบันในขัน ้ ท่ี 3 และ 4
งานระหว่างทำา – แผนก 1 XX
วัตถุดิบ XX
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ XX
________________________________________________
2. บันทึกการโอนต้นทุนการผลิตจากแผนกท่ี 1 ไปแผนกท่ี 2 เพ่ ือ
นำาไปผลิตต่อ ได้จาก
ขัน
้ ท่ี 5
งานระหว่างทำา – แผนก 2 XX
งานระหว่างทำา – แผนก 1 XX
________________________________________________
3. บันทึกทุนท่ีเกิดขึ้นในแผนกท่ี 2
งานระหว่างทำา – แผนก 2 XX
15

วัตถุดิบ XX
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ XX
________________________________________________
4. บันทึกต้นทุนการผลิตสินค้าสำาเร็จรูป
สินค้าสำาเร็จรูป XX
งานระหว่างทำา – แผนก 2 XX
________________________________________________

ตัวอย่าง การรายงานต้นทุนการผลิต - กรณีไม่มีงานระหว่างทำาต้นงวด


บริษัทอรุโณทัย จำากัด ทำาการผลิตสินค้าชนิดหน่ ึงออกจำาหน่าย
การผลิตแบ่งเป็ น 2 แผนก คือ แผนกตัด และแผนกผสม วัตถุดิบจะถูก
ส่งเข้าในตอนต้นของแผนกตัดเท่านัน ้ ต้นทุนเปล่ียนสภาพจะเกิดขึ้น
สม่ำาเสมอตลอดช่วยการผลิตของทัง้ 2 แผนก รายละเอียดเก่ียวกับการ
ผลิตในเดือน มิถุนายน 25xx ประกอบด้วย
แผนกตัด แผนกผสม
งานระหว่างทำาต้นงวด 0 0
หน่วยท่ีเร่ิมทำาการผลิต 5,000 4,250
หน่วยท่ีทำาเสร็จและโอนออก 4,250 3,500
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ - 250
งานระหว่างทำาปลายงวด 750 500
แผนกตัด แผนกผสม
ขัน
้ ความสำาเร็จ 1/3 1/2
ข้อมูลต้นทุนท่ีเกิดขึ้น (บาท)
วัตถุดิบ 5,000 0
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 13,500 3,750
ให้ทำา
1. รายงานต้นทุนการผลิตทัง้ 2 แผนก
2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ไป

บริษัทอโณทัย จำากัด
รายงานต้นทุนการผลิตแผนกตัด
สำาหรับเดือน สิน
้ สุด 30 มิถุนายน 25 xx
16

1. รายงานจำานวนหน่วย
งานระหว่างทำาต้นงวด -
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 5,000
หน่วยท่ีต้องจัดให้ครบ 5,000
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก 4,250
งานระหว่างทำาปลายงวด 750
หน่วยท่ีจัดได้ 5,000

2. หน่วยเทียบสำาเร็จรูป
วัตถุดิบ ต้นทุนเปล่ียนสภาพ
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก 4,250 4,250
งานระหว่างทำาปลายงวด 750 250
(1/3)
5,000 4,500
3 – 4 ต้นทุนรวม / ต้นทุนต่อหน่วย
วัตถุดิบ ต้นทุนเปล่ียนสภาพ ต้นทุน
รวม
ต้นทุนปั จจุบัน 5,000 13,500 18,500
หาร หน่วยเทียบสำาเร็จรูป 5,000 4,500
ต้นทุนการผลิต / หน่วย 1 3 4

5. สรุปต้นทุน
1. หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก (4,250 × 4)
17,000
2. งานระหว่างทำาปลายงวด 750 หน่วย ประกอบด้วย
2.1 ต้นทุนวัตถุดบ
ิ (750 × 1) 750
2.2 ต้นทุนเปล่ียนสภาพ (250 × 3) 750
1,500
18,500

บริษัทอโณทัย จำากัด
17

รายงานต้นทุนการผลิตแผนกผสม
สำาหรับเดือน สิน
้ สุด 30 มิถุนายน 25 xx
1. รายงานจำานวนหน่วย
งานระหว่างทำาต้นงวด -
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 4,250
หน่วยท่ีต้องจัดให้ครบ 4,250
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก 3,500
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ 250
งานระหว่างทำาปลายงวด 500
หน่วยท่ีจัดได้ 4,250

2. หน่วยเทียบสำาเร็จรูป
ต้นทุนโอนมา ต้นทุน
เปล่ียนสภาพ
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก 3,500
3,500
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ 250 250
งานระหว่างทำาปลายงวด 500
250 (1/2)
4,250 4,000
3 – 4 ต้นทุนรวม / ต้นทุนต่อหน่วย
ต้นทุนโอนมา ต้นทุนเปล่ียนสภาพ ต้นทุน
รวม
ต้นทุนปั จจุบัน 17,000 3,750
20,750
หาร หน่วยเทียบสำาเร็จรูป 4,250 4,000
ต้นทุนการผลิต / หน่วย 4 0.9375
4.9375

5. สรุปต้นทุน
1. หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก (3,500 × 4.9375) 17,281
18

2. หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ (250 × 4.9375) 1,234


3. งานระหว่างทำาปลายงวด 500 หน่วย ประกอบด้วย
- ต้นทุนโอนมา (500 × 4) 2,000
- ต้นทุนเปล่ียนสภาพ (250 × 0.9375) 235 2,235
20,750
การบันทึกบัญชี
งานระหว่างทำา – แผนกตัด 18,500 -
วัตถุดิบ 5,000 -
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 13,500 -
บันทึกต้นทุนวัตถุดิบและต้นทุน
เปล่ียนสภาพท่ีเกิดขึ้นในแผนกตัด
งานระหว่างทำา – แผนกผสม 17,000 -
งานระหว่างทำา – แผนกตัด 17,000 -
บันทึกต้นทุนการผลิตท่ีโอนจาก
แผนกตัดไปแผนกผสม
งานระหว่างทำา – แผนกผสม 3,750 -
3,750 -
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ
บันทึกต้นทุนเปล่ียนสภาพเกิดขึ้นใน
แผนกผสม
สินค้าสำาเร็จรูป 17,281 -
งานระหว่างทำา – แผนกผสม 17,281 -
บันทึกสินค้าท่ีผลิตเสร็จและโอนออก
เข้าคลังสินค้าสำาเร็จรูป

ข้อสังเกต หน่วยเทียบสำาเร็จรูปของแผนกตัด สำาหรับวัตถุดิบไม่


เท่ากับของต้นทุนเปล่ียนสภาพ
(ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จา่ ยในการผลิต) เพราะสมมติว่าวัตถุดิบนัน ้ จะ
ถูกส่งเข้า ณ ตอนต้นช่วงการผลิต ส่วนต้นทุนเปล่ียนสภาพจะถูกใช้ไป
โดยสม่ำาเสมอตลอดช่วงการผลิต ขัน ้ ความสำาเร็จจึงไม่เท่ากัน สำาหรับการ
ผลิตในแผนกผสม ไม่มก ี ารใช้วัตถุดิบเพ่ิมเติม เน่ ืองจากโจทย์บอกว่า
วัตถุดิบจะถูกส่งเข้าในตอนต้นของแผนกตัดเท่านัน ้ ดังนัน
้ จึงไม่ต้อง
คำานวณหน่วยเทียบสำาเร็จรูปสำาหรับวัตถุดิบ แต่จะคำานวณต้นทุนท่ีโอน
มาจากแผนกตัดตามหน่วยท่ีโอนมา ส่วนหน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่จะ
19

ใช้การคำานวณต้นทุนเช่นเดียวกับหน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก
เน่ ืองจากกิจการได้ผลิตเสร็จเรียบร้อยแล้วแต่ยังไม่ได้โอนไปคลังเก็บ
สินค้า
ปั ญหาในการควบคุมต้นทุน คือ การผลิตสินค้าให้ได้ตามจำานวน
และคุณภาพท่ีต้องการโดยมีต้นทุนการผลิตต่ำาท่ีสุด ส่ิงสำาคัญคือจะต้อง
บันทึกการผสมต้นทุนแต่ละแผนกอย่างละเอียดในแผ่นต้นทุนของแผนก
ท่ีปรากฎอยู่ในแยกประเภทย่อย

ข้อควรระวังในการจัดทำารายงานต้นทุนช่วงการผลิต
1. ในการคำานวณต้องไม่ลืมรวมต้นทุนท่ีโอนมาจากแผนกก่อนด้วย
ต้นทุนดังกล่าว ควรถือเสมือนหน่ ึงเป็ นต้นทุนวัตถุอีกอย่างหน่ ึง ทัง้นี้
เพราะแผนกแต่ละแผนกหรือช่วงการผลิตแต่ละช่วงถือเป็ นหน่วยงาน
แยกจากกัน กล่าวอีกนัยหน่ ึงเม่ ือมีแผนกผลิตหลายแผนกติดต่อกัน
ผลิตภัณฑ์ท่ีโอนจากแผนกหน่ ึงจะกลายเป็ นวัตถุดิบของแผนกถัดไป
ทัง้หมดหรือแต่เพียงบางส่วน แม้ต้นทุนนีจ้ะถูกเรียกว่าต้นทุนโอนมา
ไม่ใช่วัตถุดิบก็ตาม
2. ต้นทุนวัตถุหรือต้นทุนเปล่ียนสภาพ มักถูกคิดเข้างานในอัตรา
ท่ีไม่เหมือนกัน ดังนัน ้ จึงควรระวังเป็ นพิเศษในการแจกแจงงานระหว่าง
ทำาออกเป็ นหน่วยเทียบสำาเร็จรูป ขัน ้ ความสำาเร็จของวัตถุจะเท่ากับ 100 %
หากวัตถุทัง้หมดส่งเข้าผลิตในตอนต้นช่วงการผลิต และขัน ้ ความสำาเร็จ
เท่ากับ 0 % สำาหรับวัตถุซ่ึงส่งเข้าตอนปลายช่วงการผลิต ในขณะ
เดียวกันการใช้ต้นทุนเปล่ียนสภาพอาจเป็ น 50 % หรือ 75 % ก็ได้
3. จำานวนหน่วยในแต่ละแผนกอาจมิใช่หน่วยเดียวกัน เช่น เป็ น
กิโลกรัมในแผนกท่ี 1 และเป็ นลิตรในแผนกท่ี 2 ในกรณีนีใ้ห้พิจารณา
แต่ละแผนกแยกจากกัน ต้นทุนต่อหน่วยจะคิดตามหลักกิโลกรัมใน
แผนกท่ี 1 และคิดตามหลักลิตรในแผนกท่ี 2 เม่ ือแผนกท่ี 2 ได้รับ
ผลิตภัณฑ์จากแผนกท่ี 1 ผลิตภัณฑ์นัน ้ จะถูกเปล่ียนจากกิโลกรัมเป็ น
ลิตรทันที
20

ตำาราและหนังสืออ่านประกอบ

ก่ิงกนก พิทยานุคุณและคณะ การบัญชีต้นทุน กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2527, หน้า 56 – 61
ดวงมณี โกมารทัต การบัญชีต้นทุน กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543, หน้า 283 – 305
เยาวพา ณ นคร การบัญชีต้นทุน 2 กรุงเทพฯ : ส เอกชัยเพรส
(1989) จำากัด, 2545, หน้า 12 – 19
เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฐ์ การบัญชีต้นทุนเพ่ ือแสวงหากำาไร กรุงเทพฯ :
บริษัทสำานักพิมพ์ธรรมนิติ จำากัด, 2539, หน้า 38 – 47
วัฒนา ทองประยูร การบัญชีต้นทุน 2 กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง, 2536, หน้า 337 – 350
สมนึก เอ้ือจิระพงษ์พันธ์ การบัญชีต้นทุน แนวคิดในการคำานวณ
ต้นทุนผลิตภัณฑ์และหลักการบันทึกบัญชี กรุงเทพฯ : หจก.สยามเตชัน ่
เนอร่ีซัพพลายร์, 2538, หน้า 306 – 319
สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ศัพท์
บัญชี กรุงเทพฯ : บริษัท พี. เอ. ลิฟว่ิง จำากัด, 2538, หน้า 60 – 75
21

19

แบบทดสอบประเมินผลท้ายหน่วยการเรียนท่ี 1

ให้นักศึกษาอธิบายคำาถามต่อไปนี้
1. ธุรกิจประเภทใดเหมาะสำาหรับการใช้ระบบการบัญชีในระบบต้นทุนช่วง
การผลิต จงยก
ตัวอย่างมาสัก 5 ประเภท
2. อธิบายลักษณะสำาคัญของระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต
3. ลักษณะการผลิตตามระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิตแบบจำาแนก
เป็ นอย่างไร
4. การรายงานต้นทุนการผลิตตามระบบต้นทุนช่วงการผลิตแบ่งออกเป็ น
ก่ีขัน
้ อะไรบ้าง
5. ข้อควรระวังในการจัดทำารายงานต้นทุนช่วงการผลิต มีอะไรบ้าง
22

แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยการเรียนท่ี 1

ข้อ 1 บริษัท เอบี จำากัด ผลิตและจำาหน่ายผลิตภัณฑ์ท่ีมีกระบวนการ


ผลิตทัง้หมด 5 แผนก ข้อมูล
เก่ียวกับการผลิตท่ีเกิดขึ้นในเดือนมีนาคม 25xx ซ่ ึงมีบางส่วนยังไม่
สมบูรณ์ ดังนี้
แผนก
1 2 3 4 5
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 20,000 2 4 7,800 7
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก 1 9,000 5 6 -
หน่วยงานระหว่างทำาปลายงวด 8,000 3 1,200 200 1,000
หน่วยท่ีโอนไปเป็ นสินค้าสำาเร็จรูป - - - - 8

ให้ทำา คำานวณหาปริมาณหน่วยผลิตท่ีหายไปตัง้แต่ ข้อ 1-8 โดยสมมติ


ว่าบริษัทมีกระบวนการ
ผลิตแบบเรียงลำาดับ และไม่มีงานระหว่างทำาต้นงวด

ข้อ 2 ข้อมูลเก่ียวกับการผลิตของแผนก B ในระหว่างเดือนมีนาคม มี


ดังนี้
หน่วยท่ีนำาเข้า 55,000 หน่วย
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก 48,000 หน่วย
งานระหว่างทำาปลายงวด 7,000 หน่วย
23

ขัน
้ ความสำาเร็จ - วัตถุดบ
ิ 100 %
- ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 70 %
ต้นทุนท่ีเกิดขึ้น (บาท)
- ต้นทุนท่ีรับโอนมา 24,750 บาท
- วัตถุดบ
ิ 19,250 บาท
- ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 29,095 บาท

ให้ทำา ให้คำานวณหา
1. ต้นทุนต่อหน่วยท่ีโอนมา
2. ต้นทุนวัตถุดิบต่อหน่วย
3. ต้นทุนเปล่ียนสภาพต่อหน่วย
4. ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย

ข้อ 3 ให้ท่านคำานวณหน่วยเทียบสำาเร็จรูป เพ่ ือใช้ในการคำานวณต้นทุน


ต่อหน่วยโดยมีเง่ ือนไขใน
การใส่ต้นทุนการผลิต คือ
1. วัตถุดิบ ก จะเบิกใช้ทัง้หมดเพียงครัง้เดียว ณ ตอนต้นช่วงการ
ผลิต
2. วัตถุดิบ ข จะเบิกใช้ทัง้หมดเพียงครัง้เดียว เม่ ือทำางานไปแล้ว 70
%
3. ต้นทุนเปล่ียนสภาพเกิดขึ้นสม่ำาเสมอตลอดช่วงการผลิต
ให้คำานวณหน่วยเทียบสำาเร็จรูปตามข้อมูลดังต่อไปนี้ (แต่ละข้อแยก
จากกัน)
ก. หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 10,000 หน่วย หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอน
ออก 8,000 หน่วย
งานระหว่างทำาปลายงวด 2,000 หน่วย ขัน ้ ความสำาเร็จ 1/2
2. หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 25,000 หน่วย หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอน
ออก 18,000 หน่วย
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ 3,000 หน่วย งานระหว่างทำาปลายงวด
4,000 หน่วย ขัน ้ ความ
สำาเร็จ 3 / 4
24

ค. หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 7,500 หน่วย หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอน


ออก 6,000 หน่วย
งานระหว่างทำาปลายงวด 1,000 หน่วย ขัน ้ ความสำาเร็จ 3 / 4
และอีก 500 หน่วย
ขัน
้ ความสำาเร็จ 2 / 5

ข้อ 4 รายการท่ีเกิดขึ้นในแผนกประกอบของบริษัท เอกอุตสาหกรรม


จำากัด มีดังนี้
1. เบิกวัตถุดบิ ไปใช้ในกระบวนการผลิต 48,000 บาท
2. บริษัทได้จ่ายค่าแรงงานทัง้สิน้ 18,000 บาท
3. ค่าใช้จ่ายการผลิตจะจัดสรรตามเปอร์เซ็นต์ของต้นทุนค่าแรงงาน
ทางตรง สำาหรับในปี นีบ ้ ริษัทได้ประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตไว้ทัง้
สิน
้ 250,000 บาท ประมาณต้นทุนค่าแรงงานทางตรง เท่ากับ
125,000 บาท
4. งานระหว่างทำาคงเหลือในแผนกประกอบมีจำานวนต้นทุนเท่ากับ
17,500 บาท ส่วนงานท่ีผลิตเสร็จจะโอนไปคลังเก็บสินค้าสำาเร็จรูป
ไม่มีงานระหว่างผลิตต้นงวด

ให้ทำา บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ไป ตามระบบบัญชีต้นทุนช่วงการ


ผลิตของแผนกประกอบ

ข้อ 5 ต่อไปนีเ้ป็ นข้อมูลท่ีเกิดขึ้นในแผนกผลิต สำาหรับเดือน


กรกฎาคม 25xx มีดังนี้
งานระหว่างทำา 1 ก.ค. -
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 50,000
หน่วยท่ีผลิตเสร็จโอนไปเป็ นสินค้าสำาเร็จรูป 35,000

ต้นทุนการผลิตท่ีเกิดขึ้น (บาท)
วัตถุดิบ พ 200,000
วัตถุดิบ ค 70,000
25

ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 135,000
วัตถุดิบ พ จะถูกส่งเข้าในตอนต้นช่วงการผลิต วัตถุดิบ ค
จะถูกส่งเข้าทัง้หมด เม่ ือทำาการผลิตไปได้ 3 / 4 ของขัน
้ ความสำาเร็จ
ต้นทุนเปล่ียนสภาพเกิดขึ้นสม่ำาเสมอตลอดช่วงการผลิต

ให้ทำา รายงานต้นทุนการผลิต (5 ขัน


้ ) สำาหรับเดือนกรกฎาคม สมมติ
ว่างานระหว่างทำาปลายงวด
ได้ทำาสำาเร็จไปแล้ว 2 / 3

ข้อ 6 ในระหว่างเดือน พฤษภาคม ข้อมูลเก่ียวกับการผลิตของบริษัทมี


ดังนี้
แผนก ก แผนก ข
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 50,000 ?
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก ? 14,000
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและคงอยู่ - 4,000
งานระหว่างทำาปลายงวด 20,000 12,000
ขัน
้ ความสำาเร็จ - วัตถุดบ
ิ 80 % 60 %
- ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 65 % 75 %
ต้นทุนการผลิต (บาท)
วัตถุดบิ 25,300 21,924
ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 37,410 32,940

ให้ทำา 1. รายงานต้นทุนการผลิตสำาหรับเดือน พฤษภาคม ของ


แต่ละแผนก
2. ถ้าต้นทุนสินค้าสำาเร็จรูปต้นงวดเท่ากับ 35,000 บาท และต้นทุน
สินค้าสำาเร็จรูปปลายงวด
เท่ากับ 12,000 บาท ต้นทุนขายสำาหรับงวดจะเท่ากับเท่าใด

ข้อ 7 บริษัท รุ่งอรุณ จำากัด ใช้ระบบการบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต


ในการคำานวณต้นทุนการ
ผลิตของกิจการ ซ่ ึงมีแผนกผลิต 2 แผนก คือ แผนก A และ
แผนก B วัตถุดบิ จะถูกใส่
26

ทัง้หมดตอนต้นกระบวนการผลิตในแผนก A ข้อมูลการผลิตท่ีเกิด
ขึ้นในเดือน เมษายน
25xx มีดังนี้

แผนก A แผนก B
งานระหว่างทำาต้นงวด - -
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 150,000 ?
หน่วยท่ีผลิตเสร็จและโอนออก ? 105,000
งานระหว่างทำาปลายงวด 30,000 ?
- ขัน
้ ความสำาเร็จเก่ียวกับวัตถุดิบ 100 % -
- ขัน้ ความสำาเร็จของต้นทุนเปล่ียนสภาพ 60 %
80 %
ต้นทุนท่ีเกิดขึ้น (บาท)
วัตถุดบิ 450,000 -
ค่าแรงงาน 276,000 292,500
ค่าใช้จ่ายการผลิต 138,000 175,500

ให้ทำา 1. รายงานต้นทุนการผลิตของแผนก A และ แผนก B


2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ไป

ข้อ 8 บริษัทได้ทำาการผลิตรถยนต์ของเล่นท่ีทำาด้วยพลาสติก โดยมี


แผนกผลิต 2 แผนก ซ่ ึงแผนก
ผลิตท่ี 1 จะทำาการผลิตตัวถังรถยนต์ท่ีทำาด้วยพลาสติก สำาหรับ
แผนกท่ี 2 จะรับตัวถัง
พลาสติกจากแผนกท่ี 1 นำามาใส่ล้อ 4 ล้อ ก็เป็ นอันสิน้ สุด
กระบวนการผลิต การผลิตท่ี
เกิดขึ้นในแผนกท่ี 2 ของเดือนมีนาคม 25xx มีดังนี้
หน่วยท่ีเร่ิมผลิต 15,000
หน่วย
ต้นทุนโอนมา 135,000 บาท
งานระหว่างทำาปลายงวด 3,000
หน่วย
27

ขัน
้ ความสำาเร็จ - วัตถุดิบยังไม่มก
ี ารใช้ -
- ต้นทุนเปล่ียนสภาพ 60 %
ต้นทุนการผลิตท่ีเกิดขึ้น (บาท)
วัตถุดิบ 0.50 บาท / ล้อยาง
1 ล้อ
ค่าแรงงาน 52,100 บาท
ค่าใช้จ่ายการผลิต 44,500 บาท
ให้ทำา 1. ต้นทุนวัตถุดบ ิ ทางตรงท่ีเกิดขึ้นทัง้หมดในแผนกท่ี 2 เดือน
มีนาคม มีจำานวนเท่าใด
2. ต้นทุนการผลิตสินค้าสำาเร็จรูป เดือนมีนาคม มีจำานวนเท่าใด

You might also like