You are on page 1of 6

กลอนบทละคร

กลอนบทละคร
เม่ ือนัน
้ รจนาสาละวนลนควันไต้
จับกระเหม่าใส่น้ำามันกันไร ถึงยากเย็นเข็ญใจมิให้รก
ทาแป้ งแต่งตัวไม่มวั หมอง ผัดหน้านัง่มองส่องกระจก
นุ่งผ้าจับกลีบจีบชายพก แล้วยกของมาให้ผัวกิน
จีบพลูใส่ซองรองลำาดับ เอามีดพับผ่าหมากจนปาก
บ่ิน
เจ้าเงาะนอนถอนหนวดสวดสุบิน เล่นลิน
้ ละลักยักลำา
นำาฯ
ฯ ๖ คำา ฯ

กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ (กลอนสวดเร่ ืองสุบิน)


จะกล่าวตำานาน สุบินกุมาร อันสร้างสมมา
ร่ำาเรียนเขียนธรรม ปรากฏนักหนา บวชในศาสนา
ลุถึงอรหันต์
โปรดแม่พ้นทุกข์ โปรดพ่อเสวยสุข ไปยังเมืองสวรรค์
นางฟ้ าแห่ห้อม แวดล้อมนับพัน เคร่ ืองทิพย์อนันต์
อเนกนานา
แต่ก่อนยังมี เมืองสาวัตถี นครพารา
ท่านท้าวเจ้าเมือง ลือเล่ ืองนักหนา รีพ
้ ลช้างม้า ข้า
คนบริวาร
นอกเมืองออกไป มิใกล้มิไกล มีบ้านนายพราน
เป็ นส่วยมังสัง เน้ือหนังตระการ ล้วนแต่หมู่พราน
ย่อมเอามาถวาย
นายพรานผู้ใหญ่ ชอบอัชฌาสัย ตัง้ให้เป็ นนาย
คุมไพร่บา้ นป่ า ล่าเน้ือกวางทราย พรานผู้เป็ นนาย
ตักเตือนบ่คลา

กลอนบทละคร
รจนาน่ิงฟั งนัง่หัวเราะ น้อยหรือเพราะแจ้วเจ้ือย
เฉ่ ือยฉ่ำา
ไม่ทันถึงใบสมุดหยุดกินน้ำา สวดซ้ำาอีกสักนิดยังติดใจฯ
ฯ ๒ คำา ฯ เจรจา
บทละครนอก เร่ ือง สังข์ทอง
ความรู้จากเร่ ือง
บทร้อยกรองข้างต้นคัดมาจากบทละครนอกเร่ ือง สังข์ทอง พระ
ราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ตอน เจ้าเงาะ
กับนางรจนา ถูกขับให้ไปอยูก ่ ระท่องปลายนา เจ้าเงาะ “สวดสุบิน”
ซ่ ึงเป็ นกลอนสวดเร่ ืองหน่ ึงให้นางรจนาฟั ง นางได้ฟังแล้วชอบใจ ยัง
ไม่ทันฟั งให้จบจนตลอดเร่ ืองก็ขอให้เจ้าเงาะสวดซ้ำาตอนต้นอีก การท่ี
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงแทรกกลอนสวดเร่ ือง
สุบินไว้ในเร่ ืองสังข์ทอง แสดงว่าประเพณีการสวดจากหนังสือกลอน
สวดนัน ้ น่าจะนิยมกันทัว่ไปในท้องถ่ินภาคกลางและคงมีมาก่อนสมัย
ของพระองค์

กลอนสวด
กลอนสวดเป็ นช่ ือท่ีคนทัว่ไปใช้เรียกวรรณกรรมร้อยกรองท่ีนำา
มาอ่านเป็ นทำานองสวด คำาว่า “กลอน” ในท่ีนี ห ้ มายถึงวรรณกรรม
ร้อยกรองไม่ใช่คำาประพันธ์ประเภทกลอน กลอนสวดส่วนใหญ่มีเน้ือ
เร่ ืองเก่ียวกับพุทธศาสนา มุ่งสอนธรรมะแก่ผู้ฟังทัง้ทางตรงและทาง
อ้อม ฉันทลักษณ์ท่ีใช้แต่งกลอนสวดมักจะเป็ นกาพย์ชนิดต่างๆ ได้แก่
กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 กาพย์สุรางคนางค์ 28 เน่ ืองจากกลอน
สวดแต่งขึ้นในวัดและใช้สวดกันในวัด จึงเรียกอีกช่ ือหน่ ึงว่า กลอนวัด
การนำากลอนสวดมาสวดเป็ นทำานองสู่กันฟั ง เป็ นประเพณีท่ี
นิยมมาแต่โบราณ ในบางถ่ินเม่ ือชาวบ้านว่างจากการฟั งเทศน์หรือสวด
มนต์ระหว่างไปทำาบุญท่ีวัดในวันพระหรือเทศกาลทำาบุญต่างๆ ก็จะ
สวดกลอนสวดกัน เช่น ท่ีนครศรีธรรมราช ชาวบ้านจะนำาบทจาก
หนังสือสวดมาสวดเป็ นทำานองระหว่างท่ีรอพระสงฆ์ลงมายังศาลา
การเปรียญ กลอนสวดเร่ิมเส่ ือมความนิยมลงภายหลังความเจริญ
ทางการพิมพ์จากประเทศทางตะวันตกเข้ามาแพร่หลายในประเทศใน
ตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนัง่เกล้าเจ้าอยู่หัว ทำาให้คนหันไป
อ่านหนังสือมากกว่าฟั งการสวดหนังสือดังแต่ก่อน ปั จจุบันประเพณี
ดังกล่าวได้สูญหายไปเกือบหมด คงเหลือไว้แต่เพียงหนังสือสวดให้คน
รุ่นหลังได้เห็นร่องรอยของวัฒนธรรมอันงดงามซ่ ึงเคยปฏิบัติกันมาแต่
ครัง้อดีตเท่านัน ้

ทำานองกลอนสวด
การสวด หรือ การอ่านหนังสือทางศาสนาเป็ นทำานองนัน ้ มีจุด
มุ่งหมายเพ่ ือสอนคติธรรมควบคู่กับการให้ความบันเทิงและความ
สนุกสนาน การสวดมีหลายแบบ ดังนี้
การสวดพระมาลัย
โดยทัว่ไปเม่ ือกล่าวถึงกลอนสวด มักจะนึกถึงเร่ ือง พระมาลัย
ก่อนเร่ ืองอ่ ืน เพราะเร่ ืองพระมาลัยเป็ นท่ีรจู้ ักกันอย่างแพร่หลาย
ต้นฉบับกลอนสวดพระมาลัยเป็ นคำากาพย์ เดิมการสวดพระมาลัยบก
ระทำาทัง้ในงานมงคลและอวมงคล มีจุดมุ่งหมายให้ผู้ฟังได้รู้ถึงบาปบุญ
คุณโทษ ชัน ้ หลังได้ดัดแปลงวิธีสวดให้สนุกสนานคล้ายชมมหรสพ ผู้
สวดพระมาลัยมีทัง้พระภิกษุและฆราวาส โดยเฉพาะในภาคกลางจะ
นิยมให้ฆราวาสสวดพระมาลัยรวมทัง้สวดเร่ ืองอ่ ืนๆ หลังจากพระสวด
พระอภิธรรมหน้าศพจบแล้ว สวดอยู่ตลอดคืนไปจนรุ่งสาง ระหว่าง
สวดผู้สวดจะถือตาลปั ตรกระทุ้งจังหวะไปด้วย ทำาให้มีบรรยากาศ
สนุกสนานมาก ในภาคกลางเรียกวิธีสวดท่ีให้ฆราวาสเป็ นผู้สวดว่า
สวดคฤหัสถ์ หรือ สวดลำา ส่วนในภาคใต้เรียกว่า กาหลอ

การสวดโอ้เอ้วิหารราย
การสวดโอ้เอ้วิหารรายหรือโอ้เอ้ศาลาราย สันนิษฐานว่าเร่ิมมีขึ้น
ในสมัยอยุธยา เร่ ืองท่ีนิยมนำามาสวดคือ มหาชาติ การสวดโอ้เอ้วิหาร
รายมีมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ปรากฏหลักฐานว่าในรัชกาลพระบาท
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สวดโอ้เอ้วิหารรายใน
ศาลารายรอบพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามในช่วงเข้าพรรษา
ปั จจุบันการสวดโอ้เอ้วิหารรายก็ยังคงมีอยู่

กาพย์
กาพย์ เป็ นรูปแบบคำาประพันธ์แบบหน่ ึงซ่ ึงบังคับจำานวนคำาและ
สัมผัสกวีแต่อดีตนิยมนำากาพย์มาใช้แต่งบทร้อยกรอง ถ้าใช้กาพย์
หลายชนิดแต่งคละกัน เรียก คำากาพย์ กาพย์ท่ีนิยมแต่งในปั จจุบัน
ได้แก่ กาพย์ยานี กาพย์ฉบัง และกาพย์สุรางคนางค์ กาพย์อาจใช้แต่ง
ร่วมหรือสลับกับฉันท์ โคลง หรือร่ายได้ งานประพันธ์ท่ีใช้กาพย์แต่ง
ร่วมกับฉันท์เรียก คำาฉันท์ ท่ีใช้กาพย์แต่งสลับกับโคลงเรียก กาพย์ห่อ
โคลง ท่ีใช้กาพย์แต่งร่วมกับร่ายเรียก คำากาพย์ นอกจากนีก ้ าพย์ยังอาจ
เรียกช่ ือตามการนำาไปใช้ เช่น กาพย์เห่เรือ กาพย์ขับไม้ เป็ นต้น

กาพย์ยานี 11
กาพย์ยานี 11 บทหน่ ึงมี 2 บาท บาทละ 11 คำา บทหน่ ึงแบ่ง
เป็ น 2 วรรค วรรคหน้า 5 คำา วรรคหลัง 6 คำา บทหน่ ึงจึงมี 4 วรรค
บังคับสัมผัสระหว่างวรรค (สัมผัสนอก) เฉพาะระหว่างวรรคท่ี 1 กับ
วรรคท่ี 2 และวรรคท่ี 2 กับวรรคท่ี 3 ดังนี้
คำาสุดท้ายของวรรคท่ี 1 สัมผัสกับคำาท่ี 3 ของวรรคท่ี 2 คำา
สุดท้ายของวรรคท่ี 2 จะสัมผัสกับคำาสุดท้ายของวรรคท่ี 3 ระหว่าง
วรรคท่ี 3 กับวรรคท่ี 4 ไม่บังคับสัมผัส แต่ถ้าคำาสุดท้ายของวรรคท่ี 3
ส่งไปสัมผัสกับคำาท่ี 3 ของวรรคท่ี 4 ก็จะทำาให้กาพย์ยานี 11 ไพเราะ
ขึ้น ส่วนสัมผัสระหว่างบทจะส่งจากท้ายบาทท่ี 2 ของบทต้น ไปรับ
สัมผัสท่ีท้ายบาทแรกในบทถัดไป
กาพย์ยานีแต่ละวรรคนิยมอ่านแยกเป็ น 2 ช่วง ช่วงละ 2 หรือ
3 คำา วรรคท่ี 1 และ 3 ช่วงแรก 2 คำา ช่วงหลัง 3 คำา ส่วนวรรคท่ี 2
และ 4 แบ่งช่วงละ 3 คำาทัง้ 2 ช่วง

แผนผัง
บทท่
สัมผัสี ๒

ระหว่างบท
00/000 000/
000
00/000 000/
000
00/000 000/
000
00/000 0 0 0 / ตัวอย่าง
000 ลิงค่าง/
ครางโคกครอก
ฝูงจิง้จอก/ออกเห่า
หอน
ชะนี/วิเวกวอน นกหกร่อน/นอนรัง
เรียง
ลูกนก/ยกปี กป้ อง อ้าปากร้อง/ซ้องแซ่เสียง
แม่นก/ปกปี กเคียง เลีย
้ งลูกอ่อน/ป้ อน
อาหาร
กาพย์พระไชยสุริยา ของ สุนทรภู่

กาพย์ฉบัง 16
กาพย์ฉบัง 16 บทหน่ ึงมี 16 คำา มี 3 วรรค วรรคละ 6-4-6
คำา ตามลำาดับ มีบังคับสัมผัสนอก คือ คำาท้ายวรรคท่ี 1 สัมผัสท้าย
วรรคท่ี 2 ส่วนสัมผัสระหว่างบท จะส่งสัมผัสจากท้ายบทต้นไปรับ
สัมผัสท่ีท้ายวรรคแรกในบทถัดไป
กาพย์ฉบังนัน ้ วรรคแรกและวรรคท่ี 3 นิยมอ่านแยกเป็ น 3 ช่วง
ช่วงละ 2 คำา วรรคท่ี 2 แบ่งเป็ น 2 ช่วง ช่วงละ 2 คำาเช่นกัน
แผนผัง
บทท่
สัมผัสี ๒

ระหว่
0 0 /าง0 0 / 0 0 00/00
บท0 / 0 0 / 0 0
0
00/00/00 00/00
00/00/00

ตัวอย่าง
เห็นกวาง/ย่างเย้ือง/ชำาเลืองเดิน เหมือนอย่าง/
นางเชิญ
พระแสง/สำาอาง/ข้างเคียง
เขาสูง/ฝูงหงส์/ลงเรียง เริงร้อง/ซ้องเสียง
สำาเนียง/น่าฟั ง/วังเวง
กาพย์พระไชยสุริยา ของ สุนทรภู่

กาพย์สุรางคนางค์ 28
กาพย์สุรางคนางค์ 28 บทหน่ ึงมี 28 คำา แบ่งออกเป็ น 7 วรรค
วรรคละ 4 คำา สัมผัสนอกมีบังคับหลายแบบ แต่ท่ีนิยม คือ คำาสุดท้าย
ของวรรคท่ี 1 ส่งสัมผัสไปคำาสุดท้ายวรรคท่ี 2 คำาสุดท้ายวรรคท่ี 3 ส่ง
สัมผัสไปยังคำาสุดท้ายของวรรคท่ี 5 กับคำาสุดท้ายของวรรคท่ี 6 ส่วน
สัมผัสระหว่างบท จะส่งสัมผัสจากคำาสุดท้ายบทต้นส่งสัมผัสยังคำา
สุดท้ายท้ายวรรคท่ี 3 ในบทถัดไป
กาพย์สุรางคนางค์นิยมอ่านแยกวรรคละ 2 ช่วง ช่วงละ 2 คำา
แผนผัง
บทท่
สัมผัสี ๒

ระหว่าง0 0 / 0 0 00/00 00/00
บท 0 0 / 0 0 00/00 00/00
00/00
00/00 00/00 00/00
00/00 00/00 00/00
00/00
ตัวอย่าง
สุราง/คนางค์ เจ็ดวรรค/จักวาง ให้เห็น/
วิธี
สัมผัส/มีหลัก คำาวรรค/ละส่ี ย่ีสิบแปด/มี
ครบบท/จดจำา
สุราง/คนางค์ แต่งเป็ น/ตัวอย่าง เหมาะ
สม/คมขำา
คิดนึก/ตรึกตรา เลือกหา/ถ้อยคำา สอดเสียง/สูง
ต่ำา ฟั งเพราะ/เสนาะแล
ฐะปะนีย์ นาครทรรพ

You might also like