You are on page 1of 14

Chapter Three

The Instructional Design Process

Task Instructi Materials Implement


and onal Develop ation
Instructi Strategy ment Maintenan

Problem
Dissemin
Analysi
ation
s
Diffusion

Objecti Media Formativ Summative


ves Decisio e Evaluation
And ns Evaluatio
Figure 3.3 Air Force Model

CONSTRAINTS

Analyze Define Develop


System Education / Objectives
1 2 3
Feedback
And
Interactio
n
5 4

Conduct and Plan ,


Evaluate Develop , and

CONSTRAINTS
Legend : Curriculum Loop
Feedback and
Interaction Loop
Figure 3.5 Dick and Carey Model

Revise
Instruction
Conduct
Instructional
Analysis
Develop
Identify Criterion Develop Design and
Instructi Develop
Write Referenced and Select Conduct
onal Instructional
Performance Test items Instructional Summative
Strategy
Objectives

Identify Design and


Entry Conduct
Behaviors , Formative
From The Systematic Design of (pp. 2-3) by Walter Dick & Lou Carey , 1985 , Glenview , ll : Scott , Foreman & Company.
Copyright 1985 by Scot , Foreman & Company. Reprinted by permission
Figure 3.6 Kemp Model

revision

Topics –
Job Tasks
Purposes Learner
Per testing Characteristi
cs Subject
Learning content
Evaluation Task
evaluation
Formative

Learning Analysis
Support Needs Learning

Services Goals Objective


Teaching
Instructional Learning
Resources Activities

revision
From The Instructional Design Process by Jerrold Kemp , 1985 , NY : Harper &
Row : Copyright 1985 by Harper & Row Publishers.

Figure 3.7 Seels and Glasgow ID Model

Task Instructi Materials Implement


and onal Develop ation
Instructi Strategy ment Maintenan

Problem
Dissemin
Analysi
ation
s
Diffusion

Objecti Media Formativ Summative


ves Decisio e Evaluation
And ns Evaluatio
รูปแบบการจัดการเรียนรููแบบบูรณาการ

การจัดการเรียนรู้แบบบ้รณาการ สามารถจัดไดูหลายลักษณะ
ดังนี้ (กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ. 2544 : 21 - 22)
1. การบูรณาการแบบผููสอนคนเดียว ผู้สอนสามารถจัดการ
เรียนรู้โดยเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ กับหัวขูอเรื่องที่สอดคลูอง
กับชีวิตจริงหรือสาระที่กำาหนดขึ้นมา เช่น เรื่องสิ่งแวดลูอม เรื่องนำ ้ า
เป็ นตูน ผู้สอนสามารถเชื่อมโยงสาระและกระบวนการเรียนรู้ของกล่่ม
สาระต่าง ๆ เช่น การอ่าน การเขียน การคิดคำานวณ การคิดวิเคราะห์
ต่าง ๆ ทำาใหูผู้เรียนไดูใชูทักษะและกระบวนการเรียนรู้ไปแสวงหา
ความรู้ความจริงจากหัวขูอเรื่องที่กำาหนด
2. การบูรณาการแบบคููขนาน มีผู้สอนตัง้ แต่สองคนขึ้นไป
ร่วมกันจัดการเรียนการสอนโดยอาจยึดหัวขูอเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง
หนึ่ ง แลูวบ้รณาการเชื่อมโยงแบบค่้ขนาน เช่น ผู้สอนคนหนึ่ งสอน
วิทยาศาสตร์ เรื่องเงา ผู้สอนอีกคนอาจสอนคณิ ตศาสตร์ เรื่องการ
วัดระยะทาง โดยการวัดเงา คิดคำานวณในเรื่องเงาในช่วงเวลาต่าง ๆ
จัดทำากราฟของเงาในระยะต่าง ๆ หรืออีกคนหนึ่ งอาจใหูผู้เรียนรู้ศิลปะ
เรื่องเทคนิ คการวาดร้ปที่มีเงา
3. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ การบ้รณาการในลักษณะ
นี้นำาเนื้ อหาจากหลายกล่่มสาระมาเชื่อมโยงเพื่อจัดการเรียนรู้ ซึ่งโดย
ทัว่ ไปผู้สอนมักจัดการเรียนการสอนแยกตากรายวิชาหรือกล่่มวิชา แต่
ในบางเรื่องผู้สอนจัดการเรียนการสอนร่วมกันในเรื่องเดียวกัน เช่น
เรื่อง วันสิ่งแวดลูอมของชาติ ผู้สอนภาษาไทยจัดการเรียนการสอน
ใหูผู้เรียนรู้ภาษา คำาศัพท์เกี่ยวกับสิ่งแวดลูอม ผู้สอนวิทยาศาสตร์จัด
กิจกรรมคูนควูาเกี่ยวกับสิ่งแวดลูอม ผู้สอนสังคมศึกษาใหูผู้เรียน
คูนควูาหรือทำากิจกรรมชมรมเกี่ยวกับสิ่งแวดลูอม และคร้ผู้สอน
ส่ขศึกษาอาจจัดใหูทำากิจกรรมเกี่ยวกับรักษาสิ่งแวดลูอมใหูถ้ก
ส่ขลักษณะ เป็ นตูน
4. การบูรณาการแบบโครงการ ผู้สอนสามารถจัดการเรียน
การสอนแบบบ้รณาการเป็ นโครงการ โดยผู้เรียนและคร้ผู้สอนร่วมกัน
สรูางสรรค์โครงการขึ้น โดยใชูเวลาการเรียนต่อเนื่ องกันไดูหลาย
ชัว่ โมง ดูวยการนำ าเอาจำานวนชัว่ โมงของวิชาต่าง ๆ ที่คร้ผู้สอนเคย
สอนแยกกันนั ้นมารวมเป็ นเรื่องเดียวกัน มีเปู าหมายเดียวกัน ใน
ลักษณะของการสอนเป็ นทีม เรียนเป็ นทีม ในกรณี ท่ีตูองการเนู น
ทักษะบางเรื่องเป็ นพิเศษ คร้ผู้สอนสามารถแยกสอนกันไดู เช่น
กิจกรรมเขูาค่ายดนตรี กิจกรรมเขูาค่ายภาษาอังกฤษ กิจกรรมเขูาค่าย
ศิลปะ เป็ นตูน

ขัน
้ ตอนการจัดการเรียนรููแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบ้รณาการที่นิยมใชูมากจะใชูแบบสห
วิทยาการ คือ นำ าเนื้ อหาสาระจากหลายกล่่มสาระมาเชื่อมโยงกัน ผู้
เรียนจะไดูเรียนรู้อย่างสัมพันธ์ สอดคลูองกันในแต่ละวิชา การจัดการ
เรียนรู้แบบบ้รณาการมีขัน ้ ตอน ดังนี้
1. กำาหนดหัวเรื่อง (Theme) ที่จะใชูเป็ นแกนในการ
บ้รณาการ โดยมีหลักการการเลือกหัวเรื่อง ดังนี้
1.1 เป็ นเรื่องที่ผู้เรียนสนใจและมีโอกาสไดูเลือกเรียน
1.2 เป็ นเรื่องที่สามารถโยงความสัมพันธ์ไดูหลายวิชา
หรือหลายกล่่มประสบการณ์
1.3 เป็ นเรื่องที่ผู้เรียนมีประสบการณ์เดิม สอดคลูองกับ
ชีวิตจริง และมีความหมายต่อผู้เรียน
1.4 เป็ นเรื่องที่มีแหล่งเรียนรู้ใหูผู้เรียนไดูศึกษาคิดคูน
อย่างหลากหลายและเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับทูองถิ่นกับความรู้ท่ี
เป็ นสากล
1.5 เป็ นเรื่องที่เหมาะสมกับระดับความสามรถของผู้
เรียนและส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนรอบดูาน
2. ตัง้ ชื่อเรื่อง โดยตัง้ ชื่อเรื่องที่เรียนใหูน่าสนใจ กระตู่นใหูผู้
เรียนอยากรู้อยากเรียน เช่น บูานแสนส่ข โรคภัยใกลูตัว ชาวไทยย่ค
ไอเอ็ทเอฟ กวีนูอยรูอยบทกลอน (กาพย์ยานี 11) เป็ นตูน
3. จัดทำาแผนผังความคิด โดยใชูหัวเรื่องเป็ นแกน แลูวเชื่อม
โยงไปยังวิชาหรือกล่่มประสบการณ์อ่ ืน เท่าที่จะเชื่อมโยงไดู (ไม่
จำาเป็ นตูองโยงไปท่กวิชาท่กครัง้ ) ดังแผนภ้มิท่ี 31
แต่งความ อ่านเรื่อง
เล่าเรื่อง ฟั งเพื่อน
เล่า

ภาษาไทย
เกษตรกร
ช่าง คำาศัพท์
ภาษา ประโยค
การงานอา
อังกฤ
แม่คูา ชีพฯ อาชีพที่ ษ
ฉั นรููจัก แต่งความ
แม่ครัว

แผนภ้มิ
คณิ ตศาส
ศิลปะ
วาดภาพระบายสี ตร์
สถิติ
รูองเพลง ค่ณธรรม จำานวน

แผนภูมิท่ี 31 แสดงการบ้รณาการหัวเรื่องกับวิชาต่าง ๆ

4. วางแผนออกแบบกิจกรรมการเรียนรูู ในแต่ละกล่่ม
ประสบการณ์อย่างเหมาะสมและสัมพันธ์กัน ดังแผนภ้มิท่ี 32 และ
33 (กรมวิชาการ. 2542 : 230 - 231)
5. เขียนแผนการจัดการเรียนรูู ตามหลักการเขียนแผนใหู
ชัดเจน

คณิ ตศาสตร์ ภาษาไทย


- รวบรวมขูอม้ล - เขียนคำาเกี่ยวกับ
รายไดูของแต่ละ อาชีพ
อาชีพ - เขียนเรียงความ
- ทำาสถิติแสดง เกี่ยวกับอาชีพที่
จำานวนประชากรที่ นั กเรียนชอบ
ประกอบอาชีพต่าง

อาชีพ
ที่ฉัน
รููจัก
ศิลปะ ภาษาอังกฤษ
- วาดภาพบ่คคล - รวบรวมคำาศัพท์
จากอาชีพต่าง ๆ ภาษาอังกฤษเกี่ยว
- เขียนภาพ กับอาชีพต่าง ๆ
ช่มชน - จัดทำาสม่ดคำา
- จัดทำาหนั งสือ ศัพท์เล่มเล็ก
เล่มเล็กเกี่ยวกับ
อาชีพและอาชีพที่
แผนภูมิท่ี 32 แสดงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละวิชาอย่าง
สัมพันธ์กัน

1. สนทนากับนั กเรียน
12. แสดงผลงาน
เกี่ยวกับอาชีพที่นักเรียน
เรื่อง “อาชีพที่ฉัน สนใจ หรืออยากทำา
รู้จัก” โดย อะไรในอนาคตและทำาผัง
- จัดนิ ทรรศการ ความคิด (Mind
- แสดงบทบาท Mapping) ใหูนักเรียนทัง้
สมมติ หูองเห็น
- แสดงละครเนู น อาชีพต่าง ๆ
ค่ณธรรม ที่เพื่อน
ชอบ

11. นำ าผลงานกล่่มมานำ าเสนอใน 2. ระดมความคิดว่าแต่ละ


้ เรียนวิจารณ์งาน (เพื่อแลก
ชัน อาชีพ
มีความสำาคัญต่อช่มชน
เปลี่ยนความรู้) อย่างไรบูาง
แต่ละอาชีพทำาหนู าที่
อย่างไร
อาชีพ
ที่ฉัน
รููจัก
10. แบ่งกล่่ม 3. เชิญตัวแทนหรือผู้ปกครองที่
- เขียนเรียงความ เขียนคำา ประกอบอาชีพต่าง ๆ มาเป็ น
วิทยากร
- รวบรวมคำาศัพท์เกี่ยวกับ 6. ใหูศึกษาขูอม้ล
4. นั กเรียนสอบถามประเด็นต่าง
อาชีพเป็ นภาษาอังกฤษ รายละเอียดในอาชีพที่
สนใจจัดทำาขูอม้ลราย 5. แบ่งกล่่ม ๆ ตามที่สนใจ (ใบงาน)
ละเอียด นั กเรียนตามความ
7. ศึกษาปั ญหา สนใจของอาชีพ โดย
ศึกษาใบความรู้ตาม
อ่ปสรรคแต่ละอาชีพ รายละเอียดและจัดทำา
8. หาวิธีปรับปร่ง ขูอม้ล โดยสัมภาษณ์
หรือแกูไขงานอาชีพ จากวิทยากรทูองถิ่น
นั ้น ๆ ใหูดีขึ้นกว่าเดิม ในช่มชน
9. นำ าขูอม้ลมาจัดทำา
สถิติ
- จำานวนประชากร

แผนภูมิท่ี 33 แสดงขัน
้ ตอนรายละเอียดของกิจกรรมการเรียนรู้

จากตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบ้รณาการดัง
กล่าวขูางตูน จะเห็นไดูว่าเป็ นกิจกรรมที่เนู นผู้เรียนเป็ นสำาคัญ กล่าว
คือ นั กเรียนไดูลงมือปฏิบัติ ไดูทำาแผนผังความคิด ไดูรวบรวมขูอม้ล
ไดูสัมภาษณ์วิทยากร ไดูจัดนิ ทรรศการ ฯลฯ และไดูทำากิจกรรมที่
เชื่อมโยงไปยังวิชาอื่น ๆ เช่น เขียนเรียงความ สัมภาษณ์วิทยาการ
(ภาษาไทย) ทำาสถิติอาชีพต่าง ๆ (คณิ ตศาสตร์) รวบรวมคำาศัพท์
เกี่ยวกับอาชีพ (ภาษาอังกฤษ) เป็ นตูน ทำาใหูนักเรียนไดูรับความรู้
แบบองค์รวมและเป็ นความรู้ท่ีมีความหมายต่อชีวิตจริง จึงกล่าวไดูวา่
การสอนแบบบ้รณาการเป็ นการสอนแบบหนึ่ งที่จะช่วยพัฒนาใหูผู้
เรียนเป็ นคนเก่ง ดี มีส่ข ไดูตามเปู าหมายของการจัดการศึกษา

You might also like