You are on page 1of 5

หน่วยที่3

อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้กลายเป็ นปั จจัยสำาคัญอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนา
องค์กร
และสังคมในทุกๆ ส่วน อย่างที่ไม่อาจจะปฏิเสธ
ได้ นั บวันเทคโนโลยีดังกล่าว ก็ย่ิงขยับเข้ามา
ใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกขณะ การพัฒนาทางการ
ศึกษาในปั จจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
ทั้งในรูปแบบและขอบเขตของการศึกษาภายใต้
การปฏิรูปทางการศึกษาตามเจตนารมณ์ของ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ.2542
และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้
เข้ามามีบทบาทสำาคัญเป็ นอย่างมากในการ
พัฒนาการศึกษาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 'อิ
นเทอร์เน็ต' ที่ช่วยขยายแหล่งความรู้น้ ั นให้
กระจายไปยังเยาวชนนั กเรียนนั กศึกษา โดย
สามารถเข้าไปค้นคว้าด้วยตัวเองอย่างไร้ขีดจำากัด
และขยายโอกาสการเรียนร้ใู ห้กระจายไปยังกลุ่ม
นั กเรียนที่อยู่ในภูมิภาคห่างไกลด้วยมาตรา 4
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 ระบุว่า การศึกษาหมายถึง
กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของ
บุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การ
ฝึ กอบรมการสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้าง
จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์
ความร้อ
ู ันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม
การเรียนรู้ และปั จจัยเกื้ อหนุ นให้บุคคลเรียนรู้
อย่างผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษา
นอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถ
พัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่ องตลอดชีวิต
อินเทอร์เน็ตจึงเป็ นขุมความรู้ปริมาณมหาศาล
และเป็ นเครื่องมือสื่อสารสืบค้นที่สะดวกรวดเร็ว
และไร้พรมแดน
สามารถเอื้ อให้เกิดการเรียนรู้จากทุกที่ไม่จำากัด
แค่เพียงในห้องเรียน หรือในเวลาเรียนเท่านั้ น
จึงเป็ นการส่งเสริมให้เกิดการศึกษาทั้งในและ
นอกระบบ และตามอัธยาศัยที่สำาคัญยังเปิ ดกว้าง
สำาหรับทุกคนที่ต้องการศึกษาหาความรู้ ไม่ว่าจะ
อย่ใู นวัยใดก็ตามซึ่งเป็ นการสนั บสนุ นให้เกิดการ
ศึกษาพัฒนาความรู้ตลอดชีวิตสอดคล้องกับพระ
ราชบัญญัติ
อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา นั บได้ว่าเป็ นเครื่อง
มือที่สำาคัญอย่างยิ่งในการลดความเหลื่อมลำ้า
ทางการศึกษาระหว่างกลุ่มคนในสังคม และ
เป็ นการเพิ่มพูนการเรียนร้ข
ู องบรรดานั กเรียนที่
เตรียมพร้อมที่จะก้าวไปสู่การ
เป็ นบุคลากรที่เปี่ ยมด้วยความร้ค
ู วามสามารถ
เพื่อเป็ นการผลักดันประเทศไทยให้เข้าสู่สังคม
แห่งปั ญญาและความรู้ (Knowledge based
Society) ในอนาคตข้างหน้าสำาหรับประเทศไทย
การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของประชาชน ยังปรากฏ
ความไม่เสมอภาคค่อนข้างชัด อาจจะสืบเนื่ องมา
จากข้อจำากัดทางทุนทรัพย์ ปั ญหาทางด้านการ
สื่อสาร หรือโทรคมนาคมพื้ นฐาน การขาดความรู้
ความเข้าใจ หรือไม่เล็งเห็นประโยชน์ซ่ึงหาก
ปั ญหาความไม่เสมอภาคในเรื่องนี้ ยังไม่ได้รบ

การแก้ไขอย่างทันท่วงที ช่องว่างของโอกาสการ
เรียนรู้ของคนไทย และนั กเรียนจะกว้างเพิ่มขึ้น
เรื่อยๆซึ่งจะส่งผลให้เกิดความเหลื่อมลำ้าทาง
ด้านศึกษาเพิ่มมากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ ยังเป็ นการสร้างความทัว่ ถึงและเท่า


เทียมทางด้านการศึกษาให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
และเป็ นการยกระดับการศึกษาของเด็กไทยให้
ทัดเทียมกับนานาประเทศ อีกทั้งยังเป็ นโครงการ
ที่สนั บสนุ นการปฏิรูปการศึกษาไทยตามแนวพระ
ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่มุ่ง
เน้นให้เด็กเป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้ (Child
Center) โดยมีครูอาจารย์คอยให้คำาแนะนำา และ
สนั บสนุ นการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long
Learning) เป็ นการพัฒนาบุคลากรไทยให้เป็ น
บุคคลที่มีความสามารถและศักยภาพมากยิ่งขึ้น
เพื่อพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจไทยให้เจริญ
ก้าวหน้าต่อไปในอนาคต

ที่มา
http://www.vcharkarn.com/varticle/39266

You might also like