You are on page 1of 15

STRABISMUS AND AMBLYOPIA

ผศ.พญ. สุจิตรา กนกกันฑพงษ์

Anatomy and physiology of extraocular muscles


ตาประกอบด้วย extraocular muscles 6 มัด
1. Rectus muscles
1) Medial rectus (MR) 2.
Lateral rectus (LR)
3) Superior rectus (SR) 4.
Inferior rectus (IR)
กล้ามเนือ
้ ทัง้ 4 มัด มีจุดกำาเนิดทีบ
่ ริเวณ orbital apex โดยยึด
กันเป็ นวงแหวนล้อมรอบ optic nerve เรียกว่า Annulus of Zinn
กล้ามเนือ
้ แต่ละมัดจะทอดตัวมาข้างหน้าตามลักษณะชื่อของมัน
และมายึดเกาะกับตาขาโดยทุกมัดอย่่หน้าแนวศ่นย์ส่ตรของตา (ร่ป
ที ่ 1)
2. Oblique muscles
1. Superior oblique (SO)
2. Inferior oblique (IO)
SO มีจุดกำาเนิดที ่ orbital apex เหนือ Annulus of Zinn
แล้วทอดตัวมาข้างหน้าผ่าน trochlea บริเวณ superonasal ของ
2

เบ้าตา ก่อนจะวกกลับทอดตัวไปได้ต่อ IR และไปด้านหลังและเกาะ


ตาขาวหลังแนวศ่นย์ส่ตร (ร่ปที ่ 2 A)
IO มีจุดกำาเนิดข้าง ๆ lacrimal fossa ทอดตัวไปด้าน
หลังและยึดเกาะตาขาวหลังแนวศ่นย์ส่ตร(ร่ปที ่ 2b)

cardinal positions and


yoke muscles
Actions of extraocular muscles from the primary
position
MUSCLE PRIMARY SECOND TERTIAR
ARY RY
medial adduction - -
rectus
lateral abduction - -
rectus
inferior depression excyclodu adduction
rectus ction
superior elevation incycloduc adduction
rectus tion
inferior excyclodu elevation abduction

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


3

oblique ction
superior incycloduc depression abduction
oblique tion
ส่วนการทำางานของกล้ามเนือ
้ ตา ด่ได้จาก diagnostic position
of gaze (ร่ปที ่ 3) เป็นการตรวจกล้ามเนือ
้ ตาแต่ละมัด โดยให้ตาก
ลอกไปในทิศทางต่าง ๆ เพือ
่ ให้กล้ามเนือ
้ ตาแต่ละมัดทำาหน้าทีเ่ พียง
อย่างเดียว
INNERVATION
CN III oculomotor nerve supply MR, SR, IR, IO,
levator muscle
CN IV Trochlear nerve supply SO
CN VI Abducens nerve supply LR
EYE MOVEMENT
1. Monocular eye movements (ductions)
เ ป็ นก า ร ก ล อ ก ต า ใ ด ต า ห นึ่ ง โ ด ย อ า ศั ย Sherrington’s Law of
Reciprocal Innervation “Increased innervation and contraction
of a muscle is automatically associated with a reciprocal
decrease in innervation and contraction (relaxation) of its
antagonist” (ร่ปที ่ 4)
2. Binocular eye movements
2.1 conjugate eye movements (Versions)
เป็ นการกลอกตาทัง้ สองไปในทิศทางเดียวกัน โดยอาศัย
Hering’s Law of Equal Innervation “equal and

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


4

simultaneous innervation flows to synergistic muscle


concerned with the desired direction fo gaze”
2.2 Disconjugate eye movements (Vergence)
ตาทัง้ สองข้างกลอกไปในทิศตรงข้าม convergence
เป็ นการกลอกตาเข้าหากัน ส่วน divergence เป็ นการ
กลอกตาแยกจากกัน (ร่ปที ่ 5)
VISUAL DEVELOPMENT
ต า ข อ ง เ ด็ ก ท า ร ก เ ล็ ก ก ว่ า ผ้่ ใ ห ญ่ ทำา ใ ห้ เ กิ ด physiologic
hyperopia การพัฒนาการของตาและสมองจนเจริญเห็นดีเมื่ออายุ
3 ปี สายตาเท่ากับ 20/20 เมือ
่ อายุ 5 ปี (ร่ปที ่ 6)
BINOCULAR SINGLE VISION
มี 3 ระดับ
1. Simultaneous perception หมายถึงภาพของวัตถุจะต้อง
ตกทีจ
่ อประสาทตาตลอดเวลา และสมองต้องรับร้่ภาพทัง้ สองพร้อม
ๆ กันโดยสายตาทัง้ 2 ข้างควรจะเห็นชัดพอ ๆ กัน
2. Fusion หมายถึงการรวมภาพให้เป็ นภาพเดียวในสมอง
ส่วน cortex โดยภาพทีเ่ ห็นต้องเป็ นภาพทีม
่ ีลักษณะเดียวกัน
(similar) ทัง้ ขนาดและร่ปร่าง
3. Stereopsis คือการรวมภาพในสมองให้เป็ นภาพ 3 มิติ
AMBLYOPIA
หมายถึ ง ภาวะที ่ต ามี visual acuity ลดลงโดยไม่ มี organic
lesion ถ้าตาข้างหนึ่งมี VA ทีแ
่ ก้ไขแล้ว (ด้วย pinhole หรือแว่น)
น้ อ ยกว่ า ตาอีก ข้ า งหนึ่ง เท่ ากั บ 2 แถวของ Snellen Chart ขึ้น ไป
จัดว่าตาข้างนัน
้ เป็ น Amblyopia

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


5

การมี abnormal visual stimulation ในช่ ว งที ่มี early visual


development คือช่วงเด็กแรกเกิดจนถึง 8 ปี จะทำาให้เกิดความผิด
ปกติในสมอง คือมี abnormal development ของ visual areas ใน
ส มอ ง ได้แ ก่ lateral geniculate nucleus แ ละ ที ่ striate cortex
การรักษาสายตากลั บคื น เมื่ออายุ เ กิ น 8 ปี มักไม่ ได้ ผล แต่มัก
ให้ทดลองรักษาถึงอายุ 9 ปี
INCIDENCE
Amblyopia เป็ นโรคทีส
่ ามารถป้ องกันได้ พบได้ 2-4 %
ของประชากรในสหรัฐอเมริกา
AMBLYOGENIC PERIOD
good vision, fusion และ steropsis มีการ develop เมื่อเด็ก
อายุ 4-6 เดื อ น แต่ ยั ง ไม่ สมบ่รณ์ เ ต็มที ่ จนกระทั่ ง อายุ 8 ปี
visual development จึงแบ่งเป็ น 2 ช่วง คือ
1. Visual immaturity ได้แก่ เด็ กอายุ 8 ปี ลงมา ถ้ า เกิ ด มี
ความผิดปกติของ visual system ในช่วงนี ้ จะทำาให้เกิด amblyopia
ได้ โดยเฉพาะในช่วง critical period ของ visual development คือ
อายุ 3-4 เดือนแรก จะ susceptible ต่อการเกิด amblyopia มาก
2. Visual maturity ได้แก่เ ด็กอายุ 8 ปี ขึ้น ไปถึ ง ผ้่ ใหญ่ จะ
ไม่มี amblyopia เกิดขึน

ความสำาคัญของ Amblyopia
Amblyopia เกิ ด ในเด็ ก ยิ ง่ เด็ ก เล็ ก เกิ ด เร็ ว และรุ น แรง จึ ง
แนะนำา ให้เด็กทุกคนได้รับการตรวจตาและวัด สายตาจากแพทย์ ใน
ช่ว งอายุ ก่ อ น 3 ปี โดยเฉพาะเด็ กที ม
่ ี ป ระวั ติ ค นในครอบครั วเป็ น
ตาเหล่ congenital cataract, สายตาผิดปกติมาก, retinoblastoma

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


6

การตรวจตาใน Amblyopia
1. การตรวจตาใน Preverbal child
เด็กแรกเกิดทุกรายควรได้รับการตรวจด่
- alignment ของตาอย่างคร่าว ๆ ว่าตรงดีหรือไม่ มี
ตาเหล่หรือไม่
- pupillary reaction
- ถ้าสามารถทำาได้ ควรตรวจตาด้วย ophthalmoscope
ในเด็ ก อายุ 3 ปี แรก ควรตรวจด่ ว่ า เด็ ก สามารถมองตาม
วัตถุได้หรือไม่ ลองปิ ดตาเด็กทีละข้าง แล้วสังเกตด่ปฏิกิริยาตอบ
สนองของเด็ก ในเด็กทีม
่ ี amblyopia และถ่กปิ ดตาข้างดี เด็กจะ
แสดงท่าทางไม่พอใจ โดยการขยับหรือส่งเสียง
CSM Method (Fixation Preference Test)
เป็ นการตรวจตาเหล่ และ amblyopia ในเด็กเล็ก
C (center) เป็ นการตรวจด่ center ของ corneal light
reflex ตกตรงกลาง cornea หรือ ไม่ ข ณะที ป
่ ิด ตา
อีกข้างไว้
S (steadiness) ตาของเด็กมองจ้องนิง่ อย่่ทไี ่ ฟ และมองตาม
ไฟทีเ่ คลือ
่ นไปอย่างช้า ๆ ได้ (ตรวจทีละข้าง)
M (maintain) เด็กยังคงสามารถใช้ตาข้างนั ้น จ้ อ งไฟอย่่ ได้
เมื่อเปิ ดตาอีกข้างซึ่งถ่กปิ ดอย่่ออก เป็ นการ ตรวจ
Binocular condition ถ้ า ต า ข้ า ง นั ้ น maintain
fixation ไม่ได้ ให้สงสัยว่าตาข้างนัน
้ เป็ น amblyopic

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


7

2. การตรวจตาใน Verbal child


เด็กอายุ 3 ปี ขึน
้ ไป อาจจะวัดสายตาได้โดยใช้ E-test, ร่ป
ภาพสัญญลักษณ์ตา
่ ง ๆ , ตัวอักษร, ตัวเลข
เด็กทีเ่ ข้าโรงเรียนแล้ว อ่านหนังสือออก ให้วัดสายตาด้วย
Snellen Chart
ชนิดต่าง ๆ ของ Amblyopia
1. Strabismic amblyopia
2. Anisometropic amblopia
3. Refractive amblyopia (isoametric amblyopia)
4. Deprivation amblyopia (amblyopia ex anopsia)
1. Strabismus amblyopia
เป็ น amblyopia ชนิดทีพ
่ บได้บ่อยทีส
่ ุด เป็ นกับตาข้างเดียว
เกิดจากการทีเ่ ด็กมีตาเหล่ เป็ น nonalternating tropia โดย
เฉพาะ esotropia ใน congenital esotropia พบได้ถึง 50%ของผ้่
ป่ วย เมือ
่ เกิดภาพซ้อน สมองต้องกดภาพทีม
่ าจากตาข้างทีเ่ ข จึง
เกิดภาวะ amblyopia
การรักษา
ถ้ า มี amblyopia ในเด็ ก ที ม
่ ี ต าเหล่ จะต้ อ งรั ก ษา amblyopia
ให้ ห ายเสี ย ก่ อ น แล้ ว จึ ง ค่ อ ยผ่ า ตั ด ตาให้ ต รง ถ้ า ตามี amblyopia
แล้วยัง ไม่ได้รักษา แต่ได้รับการผ่าตัดให้ตาตรงก่อ น ตาข้ างนั น
้ ก็
จะยั ง มี amblyopia อย่่ แม้ ว่ า ตาด่ ต รงดี แต่ ต าข้ า งนั ้น ไม่ ไ ด้ ใ ช้
งาน จะมีโอกาสเกิดตาเหล่ได้อีก

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


8

การรักษา ใช้ Occlusion therapy (Patching) โดยการปิ ดตา


ข้างทีด
่ ี เพื่อกระตุ้นให้เด็กใช้เฉพาะตาข้างทีเ่ หล่ โดยใช้หลัก ปิ ด
1 สั ป ดาห์ ต่ อ อายุ 1 ปี ถ้ า เด็ ก อายุ 3 ปี ให้ ปิ ดตาข้ า งที ่ดี 3
สัปดาห์ นัดมาตรวจ ด่ VA แต่ละข้าง ถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ปิดต่ออีก
3 สั ป ดาห์ ถ้ า ดี ขึ้น ให้ ปิ ดตาแบบ part-time occlusion ประมาณ
1-3 ชม.ต่อวัน รักษาประมาณ 6 เดือน ถ้าไม่ได้ผลจึงเลิก
2. Anisometropia amblyopia พบรองลงมาเป็ น unilateral พบ
ร่วมกับ strabismus 30%
เด็ ก ที ่มี hypermetropic หรื อ astigmatic anisometropia 1-2
diopters ทำา ให้เกิด amblyopia ได้ ส่วน myopic anisometropia
ทีน
่ ้อยกว่า -3.00 diopters มักจะไม่ เกิด amblyopia แต่จะเกิดใน
unilateral high myopia -4.00 ถึง -6.00 diopters ขึน
้ ไป
การรักษา ให้ใส่แว่นหรือ contact lens อาจจะต้องกระต้น
ุ ตา
ข้างทีมี
่ amblyopia จนกว่าสายตาจะดีขน
ึ้
3. Refractive Amblyopia (Isometropic amblyopia)
เป็ นกั บ ตาทั ้ง 2 ข้ า ง พบในเด็ ก ที ม
่ ี refractive error ส่ ง ๆ
และขนาดใกล้ เ คี ย งกั บ ในตาทั ้ง สองข้ า ง เช่ น high hypermetropia
ที ม
่ ากกว่ า +5.00 diopters ขึ้น ไป high myopia ตั ้ง แต่ -10.00
diopters ขึน
้ ไป และ high astigmatism ประมาณ 3.00 D. ขึน
้ ไป
การรักษา
ให้แว่นตาทีเ่ หมาะสม จะทำาให้ amblyopia ดีขึน
้ อย่างช้า ๆ
โดยไม่ต้องปิ ดตา
4. Deprivation Amblyopia (Amblyopia ex anopsia)

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


9

เป็ น unilateral หรือ bilateral ก็ได้ เกิดจากตาไม่ได้ใช้งานใน


ขณะที อ
่ ายุ น้ อ ย เช่ น congenital cataract, congenital ptosis แม้
จะรักษาโรคนัน
้ หายดีแล้ว สายตาก็ไม่กลับมาดีตามทีค
่ วรจะเป็ น

สรุปหลักการรักษา Amblyopia โดยทัว


่ ๆ ไป
1. ทำา ให้ เ กิ ด clear retinal image เช่ น แก้ ไ ข refractive
error, remove media opacity
2. correction of ocular dominance โดยการบั ง คั บ ให้ ใ ช้ ต า
ข้า ง amblyopia แทนตาข้างดี โดยการปิ ดตาข้างดี หรือ ทำา ให้ ต า
ข้างดีมัวลง
Strabismus
Strabismus (ตาเข) หมายถึง แนวทิศทางของล่กตา (ocular
alignment) ทีผ
่ ิดปกติไป ตาเกิดความไม่สัมพั นธ์กัน (ไม่อย่่ในแนว
ตรง) เมือ
่ มีการกลอกตาไปมา
เด็ ก แรกเกิ ด ยั ง มี ก ารเคลื่ อ นไหวของตาไม่ แ น่ น อน และไม่
ประสานกั น ทำา ให้ ต าเขได้ เ ป็ นครั ้ง คราว พออายุ ไ ด้ 4 สั ป ดาห์
ก็สามารถมองตามแสงไฟทีเ่ คลื่อนไหวได้อย่างช้า ๆ และสามารถ
จ้องตามวัตถุต่าง ๆ ได้ดีขึน
้ ตอนอายุ 3 เดือน เด็กทีม
่ ีตาเขตลอด
เวลาไม่ว่าอายุเท่าใด ควรส่งปรึกษาจักษุแพทย์ทันที
Classification of Strabismus
1. Comitant strabismus (Heterodeviation)
2. Noncomitant strabismus (Paralytic strabismus)
1. Comitant strabismus

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


10

จะมีมุมเขเท่ากันทุกทิศทางทีม
่ องไป ส่วนใหญ่เริม
่ เกิดตัง้ แต่
เด็ก จึงทำาให้เกิด amblyopia ได้บ่อย เนื่องจากต้อง suppress
ต่อภาพซ้อนทีเ่ กิดขึน
้ ทำาให้เกิด strabismic amblyopia
ถ้ า แ บ่ ง ต า ม ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ต า เ ข อ า จ จ ะ เ ป็ น eso ห รื อ
exodeviation, hyper ห รื อ hypo,incyclo ห รื อ excyclo deviation
หรือ combined
หรืออาจพบตามสภาวะการ fusion
1.1 phoria คื อ ต า เ ข ซ่ อ น เ ร้ น ที ่ ค ว บ คุ ม โ ด ย fusion
mechanism นอกจากเวลาอ่ อ นเพลี ย อาจจะปรากฎอาการตาเข
ให้ เ ห็ น บางที ม าพบแพทย์ ด้ ว ยเรื่ อ งปวดตา ปวดศี ร ษะเวลา
ทำางานทีต
่ ้องใช้สายตา
1.2 intermittent tropia ตาเขทีม
่ ี fusion เป็ นครัง้ คราว
1.3 tropia คื อ ต า เ ข ที ่ แ ส ด ง อ อ ก ใ ห้ เ ห็ น เ ด่ น ชั ด โ ด ย
ป ร า ศ จ า ก fusion ค ว บ คุ ม อ า จ จ ะ เ ป็ น แ บ บ alternate ห รื อ
monocular strabismus ก็ได้
2. Noncomitant strabismus (paralytic strabismus)
เป็ นตาเขทีม
่ ีมุมเขไม่คงทีเ่ มือ
่ มองไปในแต่ละทิศทาง

Causes of strabismus
Comitant strabismus ส่วนใหญ่ไม่ทราบสาเหตุ ถ้าเกิดตาเข
ก่ อ น อ า ยุ 6 ปี ถ้ า เ กิ ด ต อ น โ ต อ า จ มี neurologic disease,
intraocular หรือ optic nerve disease, ในเด็กมักเป็ น ET ผ้่ใหญ่
เป็ น XT

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


11

Noncomitant strabismus เ กิ ด จ า ก paralysis ข อ ง ocular


muscle หรือ nerve โดยเกิดจาก trauma หรือ disease เช่น DM,
CN 3 palsy, thyroid disease , blowout fracture , aneurysm ,
myasthenia gravis ก า ร ท ด ส อ บ restriction of muscle โ ด ย ทำา
forced duction test
Clinical evaluation
1. Age of onset ถ้ามีประวัติตาเขก่อนอายุ 6 เดือน
เรียก congenital strabismus ถ้าหลัง 6 เดือนแล้ว ถือเป็ น
acquired case
2. อาการ อาจจะมี headache, diplopia บางคนมีการ
เอียงศีรษะ
3. Familial history ตาเขบางอย่าง ถ่ายทอดทาง
กรรมพันธ์ุ
การตรวจตา
1. Visual acuity
ในเด็กโตหรือผ้่ใหญ่ วัดสายตาด้วย Snellen chart , E
game, Allen cards ในเด็กเล็กใช้วิธี CSM หรือใช้วัตถุสีสดใส
การวัดสายตา ทัว
่ ไปวัดระยะไกล
2. Fundus ผ้่ป่วยเด็กตาเขทุกรายต้องตรวจด่จอประสาท
ตา อาจจะมี cataract หรือ retinoblastoma บริเวณ macula
ทำาให้เกิดตาเขก่อนอาการอืน
่ ก่อนตรวจ fundus ควรจะ
ตรวจ

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


12

2.1 Pupillary testing เพือ


่ ด่ว่ามี abnormal pupillary
responses (RAPD)
2.2 Red Reflex เพือ
่ ด่ว่า ocular media ขุ่นหรือไม่
3. Duction-Version Test
Duction หมายถึงตรวจการเคลือ
่ นไหวของตาเพียง
ข้างเดียว
Version เป็ น conjugate binocular eye movements
เช่น การมองซ้ายขวา บนล่าง
4. Corneal light reflex (Hirschberg Test)
เป็ นการตรวจด่ alignment ของตาโดยด่จากตำาแหน่งของ light
reflex ทีตกบน
่ cornea ทำาโดยส่องไฟฉายทีตาทั
่ ง้ 2 ข้าง ของผ้ป
่ ่ วย
โดยห่าง 1/3 เมตร ปกติ light reflex จะตกตรงกลาง pupil
ถ้ามี tropia light reflex จะไม่ตกกลาง pupil แยกโดยการทำา
cover-uncover test ถ้าตรวจไม่พบมี tropia แสดงว่าเป็ น angle of
kappa
5. Alternate cover test
ใช้ตรวจด่ deviation ทัง้ หมด คือทัง้ tropia และ
phoria ทำาโดยใช้ occluder ปิ ดตาสลับข้างไปมาเร็ว ๆ ทำาให้ไม่มี
fusion แล้วสังเกตุว่ามี shift ของตาข้างทีเ่ ปิ ดออกเพื่อมา fix
target หรือไม่ ถ้าไม่มีแสดงว่าตาตรง (orthophoria) ถ้ามีแสดง
ว่ามี phoria หรือ tropia
6. Cover-uncover test

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


13

คือการทดสอบตาเดี ยวหรือทีละตา เพื่อแยกความแตก


ต่างระหว่ า ง phoria กับ tropia เริม
่ ต้ นด้ ว ยการเอา occluder ปิ ด
ตาข้ า งหนึ่ง ขณะเดี ย วกั น พยายามสั ง เกตุ ว่ า ตาข้ า งที เ่ หลื อ มี ก าร
เคลือ
่ นไหวหรือไม่ ถ้ามีการเคลือ
่ นไหว แสดงว่าเป็ น tropia
แต่ถ้าเอา occluder ออกจากตาทีป
่ ิ ดไว้ แล้วพบว่าตาข้างนัน
้ มี
การเคลือ
่ นไหว แสดงว่ามี phoria (ร่ปที ่ 7)

Management of Strabismus and Amblyopia


วัตถุประสงค์ของการรักษา
1. เพือ
่ ให้ตาทัง้ 2 ข้างมีความชัดของสายตาเป็ นปกติ
2. เพือ
่ รักษาภาวะตาเขให้ด่ตรงเป็ นปกติ
3. เพือ
่ ให้ตาทัง้ สองสามารถทำางานประสานกัน คือมี fusion
และ stereopsis
การรั ก ษาควรรั ก ษาก่ อ นอายุ 5-6 ปี prognosis จะดี จึ ง
เป็ นหน้าทีข
่ องแพทย์ทีจ
่ ะต้องอธิบายให้ผ้่ปกครองเข้าใจและมาพบ
จักษุแพทย์
1. รักษาสาเหตุของ amblyopia ถ้ามี refractive error แก้ไข
ให้ ดี ก่ อ น แล้ ว ปิ ดตาข้ า งที ่ดี เพื่ อ บั ง คั บ ให้ ใ ช้ ต าข้ า งที ่เ สื่ อ มจน
สายตาข้างนัน
้ เป็ นปกติ ต่อไปฝึ กให้เด็กมี fusion และ stereopsis
2. การรัก ษาภาวะตาเข เด็ ก บางรายให้ แ ว่ น ตาที เ่ หมาะ
สม สามารถรักษาตาเขให้ตรงได้ แต่บางรายต้องผ่าตัดกล้ามเนือ

ตาเพือ
่ ให้ตาตรง
Pseudostrabismus (ตาเขเทียม)

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


14

เกิ ด จากภาวะที เ่ ด็ ก มี broad epicanthus หมายถึ ง ฐานจม่ ก


กว้าง และเปลือกตาบนโค้งตำ่า ทำา ให้พื้นที ่ sclera บริเวณหัวตาถ่ก
ปิ ดบังเสมือน cornea เอียงชิดหัวตา ตรวจแยกโดยทำา cover test
ด่ เมือ
่ เด็กเจริญเติบโตขึน
้ ดัง้ จม่กโค่งขึน
้ ภาวะนีจ
้ ะหายไป
Angle kappa คือมุมระหว่าง visual axis (เส้นทีล
่ ากจาก
fovea ไปยั ง วั ต ถุ ) กั บ central pupillary line (เส้ น ที ่ล ากจากจุ ด
กึง่ กลางของ pupil มาตัง้ ฉากกับ cornea)
ถ้ า แสงสะท้ อ นบนกระจกตาเบนเข้ า หาดั ้ ง จม่ ก เรี ย ก
positive angle kappa พบในโรค ROP ทำา ให้ macula ถ่กดึง
รัง้ ไปทาง temporal คล้าย Pseudo XT
ถ้าแสงสะท้อนเบนเข้าหาใบห่ เรียกว่า Negative angle
kappa ทำาให้ด่คล้าย Pseudo ET
-------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------- The end

เอกสารอ้างอิง
1. Fred M. Wilson II, MD. Practical Ophthalmology. In : Ocular
Motility Examination, American Academy of Ophthalmology,
1996 ; 101-124.
2. Daniel Vaughan , Taylor Asbury , Robert Cook.
General Ophthalmology . In : Strabismus,
1971 ; 170-192.
Basic Ophthalmology 6 ed.
th
3. Frank G. Berson. American
Academy of Ophthalmology,

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46


15

1975 : 90-104.
4. สุรพงษ์ ดวงรัตน์ . จักษุวิทยา เรื่องตาเข เชียงใหม่ : โครงการ
ตำาราคณะแพทย์, 2540.
5. วิ สุ ท ธิ ์ ตั น ศิ ริ ม งคล. Basic Principle of Strabismus. กรุ ง เทพ:
ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, 2529
6. Kanski , Clinical Ophthalmology 3 ed , In Strabismus
rd

Butterworth - Heingman, 1994


7. Von Noerden GK : Atlas of Strabismus, 2 ed st.Louis :
nd

Mosby 1973.
8. Von Noorden GK.Binocular Vision and ocular motility :
Theory and Management of Strabismus 4 ed. St Lovis:
th

the C.V. Mosby Co, 1990.

Block : Ambulatory care/15 มี.ค 46

You might also like