You are on page 1of 6

คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

1. ความหมายของคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
ปั จจุบันมีคำำศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องระหว่ำงคอมพิวเตอร์และกำร
ศึกษำคือ "คอมพิวเตอร์ศึกษำ" (Computer Education) หมำยถึง
กำรศึกษำหำควำมร้้เกี่ยวกับศำสตร์ด้ำนคอมพิวเตอร์ เช่น
กำรเขียนภำษำโปรแกรมต่ำง ๆ กำรผลิต กำรใช้ กำรบำำรุงรักษำ
เครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware) และซอฟแวร์ (Software) รวมถึง
กำรศึกษำวิธีกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อกิจกำรด้ำนต่ำง ๆ
สรุปแล้วกำรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกำรศึกษำ คือ กำรนำำ
คอมพิวเตอร์มำใช้ในกิจกำรด้ำนกำรศึกษำ ประกอบด้วยงำนหลัก
4 ระบบ
1. คอมพิวเตอร์เพื่อบริหารการศึกษา (Computer for
Education Administration) เป็ นกำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำร
บริหำรงำนด้ำนต่ำง ๆ เช่น กำรบริหำรงำนด้ำนกำรศึกษำประกอบ
ด้วยคร้ ผ้้เรียน และเจ้ำหน้ำที่บุคลำกรที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เป็ นต้น
2. คอมพิวเตอร์เพื่อบริการการศึกษา (Computer for
Education Service) หมำยถึง กำรบริกำรกำรศึกษำ ด้ำนต่ำง ๆ
เช่น กำรบริกำรสำรสนเทศกำรศึกษำ
3. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน (Computer Assisted
Instruction) หมำยถึง กำรนำำคอมพิวเตอร์มำช่วยในกิจกรรมกำร
เรียนกำรสอนในเนื้ อหำวิชำต่ำงๆ
4. การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) เป็ นกำรศึกษำ
กำรสอน/กำรฝึ กอบรมเกี่ยวกับควำมร้้ควำมสำมำรถ และทักษะกำร
ใช้คอมพิวเตอร์โดนตรงรวมทั้งกำรประยุกต์ใช้ และเจตคติต่อ
คอมพิวเตอร์และ ICT

2. วัตถุประสงค์ของการใชูคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
ในกำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรศึกษำโดยทัว่ ไปมี 3
ลักษณะคือ
1.ใช้เพื่อทบทวนบทเรียน
2.ใช้เป็ นเครื่องมือในกำรเรียน
3.ใช้เป็ นเครื่องมือฝึ ก

3. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบทัว่ ไปของคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยส่วน
ต่ำงๆ ดังนี้
1. หน่วยรับขูอม้ล input Unit เป็ นส่วนที่ทำำหน้ำที่รบ
ั ข้อม้ล
เข้ำส่ห
้ น่วยประมวลผลกลำง (CPU) เพื่อทำำกำรประมวลต่อไป
2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing
Unit) ทำำหน้ำที่ในกำรประมวลผลข้อม้ล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตำมที่
ต้องกำร และทำำหน้ำที่ควบคุมกำรทำำงำนต่ำงภำยในคอมพิวเตอร์
3. หน่วยแสดงผล Output Unit เป็ นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์
จำกกำรประมวลผลข้อม้ล ซึ่งมีร้ปแบบกำรแสดงผลอย่้ 2 แบบ
คือ แบบที่สำมำรถเก็บไว้ด้ภำยหลังได้ และแบบที่ไม่มีสำำเนำเก็บไว้

4. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

4.1. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมำยถึง


กำร นำำคอมพิวเตอร์มำใช้เป็ นเครื่องมือในกำรเรียนกำรสอน โดยที่
เนื้ อหำวิชำ แบบฝึ กหัด และแบบทดสอบจะถ้กพัฒนำขึ้นในร้ปของ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ลักษณะสำำคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน คือ

1) สำมำรถเรียนแบบกำรสอนได้
2) มีสมรรถภำพในกำรรวบรวมสำรสนเทศและข้อม้ล
ต่ำง ๆ

4.2. หลักการของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประกอบด้วย


1. ใชูเป็ นรายบุคคล (Individualized) ไมโคร
คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ออกแบบเพื่อใช้ส่วนบุคคล นั บ
ว่ำเป็ นเครื่องมือที่ใช้ได้ผลดีที่สุด
2. มีการตอบโตูอย่างทันที (Immediate Feedback)
3. เป็ นกระบวนการติดตามความกูาวหนูาของผู้เรียน
(Track Learners Process)
4. ปรับใหูทันสมัยไดูง่าย (Each of Updating)
5. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไม่สำมำรถทำำงำน
ได้ทุกอย่ำงเหมือนคน ด้วยเหตุน้ ี จึงนำำมำเป็ นส่วนนึ่ ง
หรือช่วยสอนเท่ำนั้ น กำรแก้ปัญหำเหล่ำนี้ ขึ้นอย่้กับกำร
เขียนโปรแกรมให้สอดคล้องกับหลักจิตวิทยำ
6. การเขียนโปรแกรมที่ดีตูองอาศัยความชำานาญอย่าง
มาก (Expert in programer)

5. การวัดประเมินผลคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

ในกำรวัดประเมินบทเรียน มีข้ ันตอนในกำรพิจำรณำอย่้ 3 ขั้น คือ

1. การประยุกต์ใชู
1.1 บทเรียนนี้ ออกแบบและผลิตขึ้นมำเพื่อใช้ในหลักส้ตร
วิชำอะไรและในหลักส้ตรนี้ ผ้้เรียนจะได้รบ
ั ประโยชน์พิเศษเฉพำะ
จำกบทเรียนนี้ อย่ำงไรบ้ำง
1.2 บทเรียนนี้ บทบำททำงกำรศึกษำอย่ำงไรบ้ำง เป็ นบท
เรียนที่ใช้ในกำรเรียนกำรสอนโดยตรงหรือเป็ นบทเรียนที่ ใช้
ประกอบหรือเสริมกำรเรียนเท่ำนั้ น ถ้ำบทเรียนนี้ มีบทบำทเพียง
เพื่อเสริมกำรเรียนกำรสอน มีส่ ือหรือกิจกรรมกำรสอนอื่นที่
ออกแบบไว้ให้บทเรียนสนั บสนุ นหรือไม่
1.3 บทเรียนนี้ ออกแบบมำสำำหรับผ้้เรียนในระดับใด และผ้้
เรียนควรมีควำมร้้เบื้ องต้นระดับใดและอย่ำงไรบ้ำง
1.4 บทเรียนนี้ ควรใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบใด

2. การใชูโปรแกรม
2.1 ประสิทธิผลทำงกำรเรียนกำรสอน กำรที่จะวัด
ประสิทธิผลทำงกำรเรียนกำรสอนของบทเรียนนั้ นเรำจะต้อง
1) วิเครำะห์คุณลักษณะของบทเรียน
2) วิเครำะห์แนวปฏิบัติของคร้ในกำรใช้บทเรียนนั้ น
3) ทบทวนประสิทธิผลของบทเรียนที่มีต่อกำร
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผ้้เรียนตำมจุดประสงค์กำร
เรียน
2.2 กำรบำำรุงรักษำบทเรียน ในกำรประเมินเกี่ยวกับกำรบำำรุง
รักษำบทเรียนนี้ จะเน้นในเรื่องกำรปรับปรุงบทเรียนให้เข้ำกับสภำพ
กำรสอน ว่ำทำำได้หรือไม่เพียงใด ทั้งนี้ เนื่ องจำก มีบำงบทเรียนที่
เปิ ดโอกำสให้คร้ดัดแปลงเพิ่มเติม ตัดบำงส่วนออกหรือจัดลำำดับ
ใหม่ได้ เพื่อให้คร้สำมำรถดัดแปลง บทเรียน ให้สอดคล้องกับ
ควำมสำมำรถของผ้้เรียนบำงคนได้
2.3 ควำมสะดวก ควำมสะดวกของบทเรียนในที่น้ ี หมำยถึง
กำรที่เรำสำมำรถใช้บทเรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นต่ำงๆ ได้
เช่น เล่นได้ท้ ังเครื่อง XTAT และหรือจอภำพสี

3. ราคา
กำรเปรียบเทียบรำคำของบทเรียน อำจจะพิจำรณำได้ยำก เพรำะมี
ข้อจำำกัดเช่น เรื่องเวลำ ควำมต้องกำรในกำรใช้บทเรียนและ
ประสบกำรณ์ของผ้้ใช้เป็ นต้น นอกจำกนั้ น กำรผลิตบทเรียน
เรื่อง เดียวกันจำกผ้้ผลิตหลำยๆ แหล่งนั้ นมีน้อย ดังนั้ น กำร
พิจำรณำเปรียบเทียบในเรื่องรำคำของบทเรียนจึงอย่้ในดุลยพินิจ
ของผ้้ท่ี ประสงค์ จะใช้บทเรียนนั้ นๆพิจำรณำเอง

ที่มา http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

You might also like