You are on page 1of 2

การเขียนสาระสําคัญในแผนการสอน

1. สาระสําคัญ คือ บทสรุปของเนื้อหาเรือ่ งใดเรื่องหนึ่งที่ผูสอนตองการใหผูเรียนจดจําได เพื่อนําไปใช


ภายหลังจากจบบทเรียนนัน้ แลวสาระสําคัญคลายกับการยอความ แตมิใชการยอความ บางทาน
เรียกวา ประเด็นสําคัญ แกนของเรื่อง หัวใจของเรื่อง ตะกอนความรู หลักวิชา เคล็ดวิชา มโนทัศน
พื้นฐาน หรือความคิดรวบยอดอาจเทียบเคียงไดกบั คําดังตอไปนี้ ในภาษาอังกฤษ เชน Main Point,
Main Idea , Basic Concept เปนตน
2. ประโยชนของสาระสําคัญ
2.1 สาระสําคัญ เปรียบไดกับเคล็ดวิชาหรือหลั กวิชาที่ ชวยลดภาระการจําของสมอง แทนที่จะจํา
รายละเอียดของทุกสิ่งที่มีอยูรอบตัว ซึ่งมีมากมายไมมีวันจดจําไดหมด ถาเพียงแตจําลักษณะเดน
ที่เปนภาพรวมของสิ่งนั้นได ก็จะสามารถขยายขอบขายของเนื้อหานั้นไดกวางขวางออกไป ทําให
การเรียนรูมีสมรรถภาพสูงขึ้นเพราะมีหลักวิชาอยูในใจ ที่จะใชความเขาใจ วิเคราะหสังเคราะหและ
ประเมินคาเพื่อตัดสินใจแกปญหาตาง ๆ สาระสําคัญจึงคลายกับเสาหลักที่ปกไวเพื่อลามเรือไมให
ลอยไปตามน้ํ า อย า งไม มี จุ ดหมายหรื อ ออกนอกลูน อกทางจนไปไม ถึ ง เป า ประสงค ที่ ต องการ
ตัวอยางเชน หัวใจนักปราชญ ไดแก สุ จิ ปุ ลิ (ฟง คิด ถาม เขียน) เปนตน
2.2 เนื้อหาวิชา ซึ่งเปนรายละเอียดขององคความรูมักจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัย แตสาระสําคัญ
หรือหลักวิชาจะยังคงสภาพความเปนจริงหรือใชไดอยู เพราะเปนสัจพจน (ความจริงที่อยูเหนือ
กาลเวลาและไมตองพิสูจน) ดังนั้น การศึกษาตามแนวใหมจึงเนนสาระสําคัญ (หลักวิชา) มากกวา
รายละเอียดเนื้อหาวิชาปลีกยอยหรือเนน Concept (ความคิดรวบยอด) มากวา Content
(เนื้อหาวิชา) นั้นเอง เชน ครูเลานิทานอีสป เรื่อง เด็กเลี้ยงแกะ ใหนักเรียนฟงสิ่งที่ตองการใหเกิดขึ้น
ในสมองของนักเรียน มิใชการจํารายละเอียดของเรื่องได แตเพื่อใหเด็กเกิดความคิดรวบยอดวา
การพูดปดจะทําใหคนไมเชื่อถือและจะเปนผลรายตอผูพูดในภายหลัง สวนนักเรียน จะลืมเรื่องเด็ก
เลี้ยงแกะก็ไมเปนไร เพราะจําสาระสําคัญของเรื่องไดแลว
2.3 รูปแบบของการเขียนสาระสําคัญ อาจเขียนได 3 รูปแบบ คือ
1. นิยามความหมาย หรือ ความคิดรวบยอด
2. หลักการ ทฤษฎี กฎ
3. สัจพจน คติพจน (สุภาษิตสอนใจ)
ตัวอยางการเขียนสาระสําคัญ
รูปแบบ จุดประสงคนาํ ทาง กิจกรรม สาระสําคัญ
3. สัจพจน คติพจน บอกขอคิดสอนใจที่ไดจาก 1. ครูเลานิทานเรื่อง”หมา นิทานเรื่องนีส้ อนใหรวู า  
(สุภาษิตสอนใจ) คือคุณคาที่ การฟงนิทานเรื่อง  กับเงา” ”โลภมาก ลาภหาย”
จะเกิดขึ้นจริง หากไดนําหลัก “หมากับเงา” ได 2. ใหนักเรียนชวยกัน
ทฤษฎี กฎ นั้นไปปฏิบัติ สรุปวาไดขอคิดสอนใจ
อะไรจากเรื่องนี้
หรืออาจจะเขียนใหครอบคลุมทั้ง 3 รูปแบบ เรียกวา “3ค” ไดแก “คือ – ควร – คุณคา”
รูปแบบ 3ค สาระสําคัญ หมายเหตุ
1.นิยามความหมายหรือ 1. คือ (อะไร) ฟน เปน อวัยวะทีท่ ําหนาที่ ควรใชคําวา เปน แทนคําวา
ความคิดรวบยอด บดเคี้ยวอาหาร “คือ” เพราะถาใชคําวา “คือ”
2. หลักการ ทฤษฎี กฎ 2. ควร (ปฏิบัติอยางไร) ควรแปลงฟนทุกครั้งหลังจาก ฟงดูจะกลายเปนเนื้อหาวิชา
รับประทานอาหาร เพือ่ มิใชความคิดรวบยอด
ปองกันฟนผุ
3. สัจพจน คติพจน (สุภาษิต 3. คุณคา (ประโยชนที่ได ถาฟนดี เจาของฟนก็จะมี
สอนใจ) จากการปฏิบัติ) ความสุข (ฟนดี มีสุข)

4. วิธเี ขียนสาระสําคัญ
1. ศึกษาเรื่องที่จะเขียนวาอะไรคือแกนแทหรือประเด็นของเรื่อง ในลักษณะที่เปนภาพรวม
2. ใชรูปแบบที่เสนอแนะเปนกรอบแนวคิดในการเขียน โดยพยายามใหครอบคลุมทั้ง 3 ค.
2.1 คือ อะไร
2.2 ควร ปฏิบัติตอสิ่งนัน้ อยางไร
2.3 คุณคา ไดจากการปฏิบัติ คืออะไร
3. สาระสําคัญที่เขียนตองสัมพันธกับจุดประสงคการเรียนรู (นําทาง ปลายทาง และจุดประสงค
ใน ป.02)
4. ใชภาษา “สั้น-งาย – ใจความเดียว” เชน
4.1 รูปสามเหลีย่ มดานเทาเปนรูปสามเหลี่ยมที่มีดานทัง้ 3 ดานเทากัน (นิยาม
ความหมาย : คือ อะไร)
4.2 พอ แม มีพระคุณตอเรา เราตองเลี้ยงดูเมื่อทานแกชรา (หลักการ : ควร ปฏิบตั ิ
อยางไร)
4.3 บุคคลที่มีความขยันหมั่นเพียร ยอมประสบความสําเร็จในการทํางาน (คติพจน :
คุณคา ของการปฏิบัติ)

อางอิง : บูรชัย ศิริมหาสาคร. 2537. การเขียนสาระสําคัญในแผนการสอน. สารพัฒนาหลักสูตร.14,119


(ต.ค.-ธ.ค.) : 36-39

You might also like