You are on page 1of 2

กองกระจุย วาดวยประติมากรรมของ หริธร อัครพัฒน

ไบรอัน เคอรติน เขียน เถกิง พัฒโนภาษ แปล

ประติ ม ากรรมของ หริ ธ ร อั ค ร


พัฒน เปน busts 1 ที่ขัดขืนจารีตทาง
ประติมากรรม. ดูคลับคลายคน แต
ก็ ไ ม ใ ช ค น , พ ลั ง ที่ รู ป ท ร ง เ ห ล า นี้ แ ผ
ออกมา มิ ไ ด ม าจากการที่ มั น มี ห น า ตา
เหมื อ นใคร หรื อ เหมื อ นอะไร. แต พ ลั ง
ลนกับผิวลืมโลกของประติมากรรมพวกนี้
ดูเหมือนเชื่อมโยงหรือสอนัยวา เปนสวน
Installation view, Soiwat Gallery, Brussels. 2008. หนึ่งในพิธีกรรมบางอยาง. เมื่ออยู
รวมกัน, งานของหริธร ดูราวกับวัตถุที่มา
จากอารยธรรมแสนไกลที่เราไมเคยพานพบ. busts ของหริธร ดูเหมือนมีแรง
ลึกลับนับเนื่องกับไสยลัทธิ. ยิ่งบางชิ้นที่ดูเหมือนกรอนไปตามกาล ก็แฝงนัยไปถึง
ชราภาพกับอนิจจลักษณะ.

เมื่อเปลื้องเครื่องบงอัตลักษณทั้งมวลออกจากรูปกายคน รูปนั้นยอมยกฐานะ
ขึ้นเปนรูปสากล(universal figure). หริธร อาศัยการลดรูป มาบีบคนดูใหตีความ
เอาเอง. แมกระนั้น รูปแบบของ busts กับการจัดวางเปนกลุม ก็ยังเปนกรอบกํากับ
ความหมายของงานนี้อยูกลายๆ. แตไหนแตไร ประติมากรรมจําพวก busts มักบง
บอกทั้งอาญาสิทธิ์ทั้งอภิสิท ธิ์(ของผูที่เปนแบบ), แตหริธรจงใจจัดวางเหลา busts
ของเขา ใหดูเหมือนฝูงคน หรือดูเหมือนวัตถุตองสงสัยรอใหชันสูตร. ที่ควรสงสัยก็
คือวา หมู busts ของหริธร สัมพัทธสัมพันธกับเราอยางไร? นัยยะที่รูปเหลานี้ ชวน
ใหคิดคํานึงถึงหัวกับไหลของคนเรา ถูกถวงไวดวยลักษณะการปนและพื้นผิวอันพวย
พุงมาจากสัญชาตญาณ. งานของหริธรเชื้อเชิญคนดูใหทั้งตรึกตรอง ทั้งลองลูบคลํา.

หริธร ทลายกําแพงทั้ ง หลายลง: กํ า แพง


ระหวางคนเดี่ยวๆ กับคนเปนฝูง; ระหวางประสบการณ
ผานภาพแทน กับประสบการณตรงๆ; ระหวางรหัสนัยที่
ตองแปล กับผัส สะถึงตัว ถึงใจ; ระหวางวัฒ นธรรม
เฉพาะกลุม กับสากลธรรม; ระหวางความเถื่อนดิบซื่อ
กับความปรุงแตงแหงโมเดิรน; ระหวางปจจุบันกาล กับ
อดีต กาล. ความนัยของงานของหริธรชางกวางไกล.
เราทั้ ง หลายล ว นอยู ใ นยุ ค ที่ เ ร า ให เ ราศิ โ รราบรั บ เอา
วัฒนธรรมโลกเปนสรณะ. ‘ความตาง’ สารพัดแบบ
อ า จ ดู เ ห มื อ น ไ ร พิ ษ ส ง เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ ก ร ะ แ ส อั น
หลากหลายปนปวนของศิลปะนานาชาติ. พลังของหริ
ธรในฐานะศิล ปน อยูที่เขาสามารถเอางานเขาไปไหล
อยู ใ นความหลายหลากกรากเชี่ ย วนี้ ได . และยั ง อาจ
สําแดงสารัตถะของมนุษยภาวะไดจะแจง. สารัตถะที่วา
นี้เอง ที่ชวยหลอมรวมใหงานของหริธร มีลักษณะ ทั้ง
Red Hornes, painted bronze.
2008. คลายรูปเคารพอันมิไดกอรา งขึ้นดวยการครุนคํา นวณ,
แตตรงแนวมาจากสัญชาตญาณ.

1
bust หมายถึง ประติมากรรม ที่ทําเปนรูปสวนบนของรางกายคน นับตั้งแตหัว ไหล ไปจนถึงอก หรือ อาจ
เลยไปถึงลําตัว และเอว. จารีตประติมากรรมตะวันตกนับแตโบราณสมัย นิยมใช bust เปนรูปแบบทํา
ประติมากรรมแทนบุคคล ที่มีตัวตนจริงๆ. และเปนธรรมดาอยูเอง ที่บุคคลที่มีตัวตนจริงที่วานั้น มักเปนคน
สําคัญ คนรวย หรือคนมีอํานาจ รวมทั้งญาติโกโหติกาของคนเหลานั้น. –ผูแปล
Fireball, painted bronze, 2008

ภาพแทน(representation)2 ไมมีทางแทนความหมายของรางกายคนได
ครบถว น, 3 แตภ าพแทนก็มีสวนชว ยใหเรารูจักรางกายของเราเอง. ศิล ปนอื่นอาจ
เพียรสรางงานใหเขาถึงบางเสี้ยวของสัจจะวาดวยรางกายของคนเรา - เสี้ยวสัจจะที่
เกินกวาภาพแทนจะบอกได แตลงทายก็ควาน้ําเหลว. มองอีกมุม, หากคาดคั้น วา
ภาพแทนนั้ น แทนอะไรหรื อแทนใคร, รู ป กายในภาพแทนนั้ น ย อ มถู ก ลดค า ลงเป น
เพียงภาพกลวงๆ. หริธร ฝนตาน ไมใหคนดู จําไดหมายรูจัก ‘ใคร’ ที่อยูใน busts
ของเขา, ในขณะเดียวกันก็เพียรผลักดันให busts เหลานั้น เปนไดเกินกวาแคภาพ
แทน. จะวาไปแลวหากจะมีใ ครซอนอยูในงานของหริธร ใครคนนั้นก็นา จะเปนคน
เดีย วกับที่เราเห็นไดเอง, แลว คุกขังความหมาย ก็ท ลายลงสิ้น ตอหนา ‘รูปไรนาม’
ของหริธร อัครพัฒน.

Wild Resonances: Haritorn Akarapat’s sculptures


Brian Curtin

Haritorn Akarapat’s sculptures are unconventional busts. Humanoid rather than human, their presence has little to
do with representation. Instead these robust and tactile sculptural forms have a ritualistic quality, suggesting
engagement or some type of use. Displayed as a group, the works could be artifacts from an unknown culture. A
sense of the animistic is pervasive. Moreover, some seem worn by time and therefore encode references to history
and change.

When the human body is stripped of markers of identity it comes to stand for a universal figure. Akarapat plays
with abstraction to compel our projections of meaning. However, the format of the bust and their grouping does
broadly frame these artworks. The bust traditionally signifies authority and prestige, while Akarapat’s grouping of
the artworks differentially suggests the symbolism of a crowd or the display of artifacts for examination. At issue is
how we identify ourselves with these forms. The cerebral implication of the heads and shoulders is off-set by the
visceral quality of the modeling and surfaces. These artworks invite both contemplation and touch.

Akarapat collapses distinctions: the individual and the population; the representational and the experiential; the
coded and the sensational; the culturally specific and the universal; the primordial and the modern; and the
contemporary and the historic. The implications are wide. We are living through an era of tensions about the
assimilating tendencies of global culture. ‘Difference’ in any form can seem benign for the currency of international
art practices. Akarapat’s great strength as an artist is his ability to tap into wildly different resonances. Yet all the
while a fundamental concern with tracing the significance of what it means to be human is evident. This
fundamental concern brings together a sense of the iconic with instinctive, less mediated, expression.

The human body could never be defined by representation, but representation plays such a large role in our
understanding of the body. Artists may attempt to access some truth of the human body that exists beyond
representation but the paradox inevitably renders the results as naïve. Conversely, a definitive concern with
representation often reproduces the values that reduce the body to its images. Akarapat resists either possibility by
recognizing and working across the limits of both. His recognition should dovetail with our own: the limits become
anything but.

• The essays, both in Thai and English, were first published in the exhibition catalogue, Haritorn Akarapat:
Sculpture, Tang Contemporary Art, Bangkok, 2008.

2
representation แปลวา การแทนความหมายของสิ่งหนึ่งดวยสิ่งอื่น ในที่นี้ หมายถึง รูปที่มีลักษณะ
เหมือนหรือคลาย บางสิ่งหรือบางคน. –ผูแปล
3
เพราะรางกายมนุษย ทั้งในแงกายภาพและมิตินามธรรมตางๆ ยอมมีความสลับซับซอน เกินกวาภาพใดๆ
จะครอบคลุมความหมายแทนไดครบถวน. –ผูแปล

You might also like