You are on page 1of 221

สารบัญ

บทที่ 1 เริ่มตนกับ Gimp 1


ความสําคัญของภาพกราฟก 1
ภาพบนคอมพิวเตอรเกิดไดอยางไร 1
คอมพิวเตอรประมวลผลภาพอยางไร 2
GIMP โปรแกรมตกแตงภาพกราฟก 3
ความสามารถโดยรวมของ GIMP 4
ความตองการระบบของ GIMP 5
การติดตั้งโปรแกรม GIMP 6
ใชงานโปรแกรม GIMP ครั้งแรก 8
รูจักกับหนาตางในการตกแตงภาพ Image Window 12

บทที่ 2 หลักการสรางงานกราฟกและการใชงานเครื่องมือพื้นฐาน 25
หลักการสรางงานกราฟก 25
การกําหนดมุมมองภาพ 27
การซูมยอ-ขยายภาพ 28
การเปลี่ยนขนาดของภาพ 29
การปรับหมุนภาพ 32
การทํางานกับสี 32
การเลือกสี 33
การเทสีดวย Bucket Fill Tool 35
การเทสีแบบไลเฉดสีดวย Blend Tool 36
การระบายสีดวย Painting Tool 38
การวาดเสนดวย Ink Tool 40
การลบภาพที่ไมตองการ 41
การยอนกลับการทํางานทีละขั้นตอน 43
การยอนกลับการทํางานในหลายขั้นตอน 43
การตัดภาพเฉพาะสวน 44

บทที่ 3 การตัดแตงภาพเฉพาะสวน 46
เลือกพื้นที่ภาพรูปทรงเรขาคณิต 46
การเลือกพื้นที่วงรี และวงกลมดวย Ellipse Selection Tool 48
เลือกพื้นที่แบบอิสระ 50
เลือกพื้นที่ที่มีสีใกลเคียงกัน 53
การปรับโหมดการเลือกพื้นที่ 57
เลือกพื้นที่จากคําสั่ง Select 59
การเลือกพื้นที่อยางปราณีตดวย Quick Mask Toggle 61
การจัดการพื้นที่ที่เลือกดวย Selection Editor 62
การปรับแตงการเลือกพื้นที่ 62
บทที่ 4 การจัดวาง และปรับรูปทรง 68
การแสดงจุดพิกัดบนภาพดวยกริด 72
สรางความแมนยําในการวางภาพดวย Snap 72
วัดระยะของวัตถุดวย Measure Tool 73
รูจักกับการปรับรูปทรงภาพดวยเครื่องมือ Transform Tool 75
การปรับขนาดภาพใหพอดีดวย Scale Tool 76
หมุนภาพใหไดมุมที่ลงตัวดวย Rotate Tool 78
บิดภาพใหลาดเอียงดวย Shear Tool 79
บิดภาพใหผิดสัดสวนดวย Perspective Tool 80
การพลิกกลับดานรูปดวย Flip Tool 81

บทที่ 5 การสรางขอความตกแตงภาพ 84
รูจักกับรูปแบบของตัวอักษรที่ใชในโปรแกรมกราฟก 84
การสรางตัวอักษรแบบ Outline 85
การแกไขขอความที่พิมพผิดพลาด 86
การสรางตัวอักษรแบบ Bitmap 87
แปลงตัวอักษร Outline ใหเปนแบบ Bitmap 88
สรางขอความแบบแฟนตาซีดวย Alpha to Logo 89

บทที่ 6 การทํางานกับเลเยอร 91
ความหมายของ Layer 91
การซอนภาพดวยเลเยอร 91
การสรางเลเยอร 92
การใชงานเลเยอร 93
รวมเลเยอร 102

บทที่ 7 เทคนิคการตกแตงภาพในเลเยอร 106


ปรับเลเยอรที่ซอนใหมองทะลุถึงกัน 106
เทคนิคการสราง Layer Mask 106
ทําความเขาใจกับ Layer Blending Mode 113

บทที่ 8 การวาดภาพ และระบายสี 117


วาดรูปทรงดวย Path tool 117
ฝกวาดเสนพาธ 118
การเคลื่อนยายพาธ 122
การทํางานกับเสนพาธที่วาดขึ้น 123
Workshop การวาดภาพการตูนดวยเครื่องมือ Path Tool 130

บทที่ 9 ความรูเรื่องสี และการเลือกใชสี 135


โมเดลการมองเห็นสีทั่วไป 135
โมเดลการมองเห็นสีในโปรแกรม GIMP 138
การเปลี่ยนโหมดสีของภาพ 140
การเลือกใชสีกับงานกราฟก 143
แบบแผนในการใชสี 145

บทที่ 10 การปรับแตงภาพ 149


ปรับแตงความสมดุลของสีภาพดวย Color Balance Tool 149
ปรับความเขมและความจางของสีภาพดวย Hue/Saturation Tool 151
ปรับสีใหภาพดวย Colorize Tool 152
ปรับแตงความคมชัดและความสวางของภาพดวย Brightness/Contrast Tool 153
การปรับภาพใหเปนสีขาว และสีดําดวย Threshold Tool 154
ปรับแตงสีของภาพดวย Level Tool 155
ปรับระดับแสงเงาภาพดวย Curve Tool 157
ปรับ/ลดโทนสีในภาพดวย Posterize Tool 159

บทที่ 11 ตกแตงภาพดวยการรีทัช 160


Retouch เทคนิคการแตงภาพสําหรับ GIMP 160
ปรับความคมชัดของภาพดวย Convolve Tool 160
ปรับโทนสีของภาพโดยใช Dodge/Burn Tool 164
การทําสําเนาภาพดวย Clone Tool 166

บทที่ 12 การตกแตงภาพอยางสรางสรรคดวยฟลเตอร 173


ฟลเตอรคืออะไร 173
กฎการใชงานฟลเตอร 173
วิธีการใชงานฟลเตอร 174
ตัวอยางฟลเตอรใน GIMP 175

บทที่ 13 การนําภาพกราฟกไปใชงาน 185


เรานําภาพไปใชงานอะไรไดบาง 185
เตรียมพรอมกอนพิมพภาพ 185
เลือกกระดาษสําหรับพิมพงานกราฟกและภาพ 186
สรางงานสําหรับเว็บเพจ 189
แปลงภาพสําหรับเว็บ 191

Workshop 1 ตกแตงแกไขภาพที่มีตําหนิ 195

Workshop 2 เปลี่ยนรูปรางของเชอรี่ 203


Page 1

บทที่ 1 เริ่มตนกับ Gimp 
ภาพกราฟก เปนสวนประกอบสําคัญที่เราตางไดพบเห็นอยูในรูปแบบของแผนโฆษณา งานพรีเซนเตชั่น กลอง
สินคา และเว็บไซตตางๆ ทําใหผูชมเกิดความสนใจในสิ่งที่นําเสนอ พรอมกับเขาชมและใชบริการเหลานั้น และที่ใกลตัว
มากขึ้น คือ การตกแตงภาพถาย ที่เราสามารถตกแตงภาพในโอกาส และบรรยากาศตางๆ ใหออกมาอยางนาสนใจ ดังนั้น
เนื้อหาในบทแรกนี้จะเริ่มตนนําเสนอใหรูจักกับภาพ กราฟก การทํางานกับกราฟกบนคอมพิวเตอร และความสามารถใน
การสรางงานกราฟกของโปรแกรม GIMP

ความสําคัญของภาพกราฟก 
ภาพกราฟก เปนภาพที่ถูกตกแตงและสรางขึ้น เพื่อแทนความหมายที่จะสื่อไปถึง ผูชมไดรับรูในสิ่งที่เราตองการ
ดังนั้นภาพกราฟกจึงไดรับความนิยมในการประกอบอยูใน สื่อตางๆ ไดแก ขอมูลขาวสาร โฆษณา กลองสินคา งานพรีเซน
เตชั่น และเว็บไซตลวนแตตองใชภาพกราฟกมาเปนสวนประกอบทั้งสิ้น

ตัวอยางกราฟกปกหนังสือ

ภาพบนคอมพิวเตอรเกิดไดอยางไร 
ภาพโดยทั่วไป แบงไดเปน 2 ประเภท คือ Physical Image คือ ภาพที่เราเห็นอยูทั่วๆ ไป เชน ภาพถาย
สวนภาพอีกประเภทก็คือ Digital Image หรือ Computer Graphic คือ ภาพที่ใชในการประมวลและเก็บใน
คอมพิวเตอร
Page 2

ภาพขนาด 1x1 พิกเซล ภาพขนาด 2x2 พิกเซล

ภาพขนาด 3x3 พิกเซล ภาพขนาด 4x4 พิกเซล

ภาพที่ปรากฏบนหนาจอคอมพิวเตอรที่เราเห็นอยูทั่วไปนั้น เกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ของสีที่เราเรียกวา พิกเซล


(Pixel) (พิกเซลเปนองคประกอบที่เล็กที่สุดของภาพ) มาประกอบกันเปนภาพขนาดตางๆ ดังตัวอยาง

ภาพที่มีความละเอียดต่ํา ภาพที่มีความละเอียดสูง

คอมพิวเตอรประมวลผลภาพอยางไร 
ภาพที่เก็บในคอมพิวเตอรนั้น มีวิธีการประมวลผลภาพ 2 แบบแตกตางกันไปตามแตละโปรแกรมดังนี้ คือ

1. การประมวลผลแบบ Vector  
เปนการประมวลผลแบบอาศัยการคํานวณทางคณิตศาสตร โดยมีสีและตําแหนงของสีที่แนนอน ฉะนั้นไมวาเรา
จะมีการเคลื่อนยายที่หรือยอขยายขนาดของภาพ ภาพจะไมเสียรูปทรงในเชิงเรขาคณิต ตัวอยางเชน รูปการตูน โปรแกรมที่
ประมวลผลภาพแบบ Vector ไดแก Illustrator, CorelDraw และ Inkscape เปนตน

2. การเก็บและแสดงผลแบบ Bitmap 
เปนการประมวลผลแบบอาศัยการอานคาสีในแตละพิกเซล มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา Raster Image จะเก็บ
ขอมูลเปนคา 0 และ 1 แตละพิกเซลจะมีการเก็บคาสีที่เจาะจงในแตละตําแหนง ซึ่งเหมาะกับภาพที่มีลักษณะแบบภาพถาย
โปรแกรมที่ประมวลผลแบบ Bitmap ไดแก Photoshop, PhotoPaint และ GIMP เปนตน

ภาพเปรียบเทียบการแสดงผลแบบ Vector และ Bitmap 


การแสดงผลแบบ Vector ขยายแลวภาพไมแตก การแสดงผลแบบ Bitmap ขยายแลวภาพแตก
Page 3

GIMP โปรแกรมตกแตงภาพกราฟก 
GIMP (GNU Image Manipulation Program) เปนโปรแกรมจัดการรูปภาพที่มีความสามารถสูง
และครบถวน เหมาะสําหรับการจัดการรูปถายดิจิตอล การออกแบบกราฟกสําหรับเว็บ การแปลงไฟลจากฟอรแมตหนึ่งไป
อีกฟอรแมตหนึ่ง หรือการสรางรูป ความละเอียดสูงสําหรับการพิมพ

หลักการทํางานงายๆ ของ GIMP นั้นคือใหเราสามารถตกแตงภาพโดยเริ่มตนจากที่เรามีภาพตนแบบกอน


จากนั้นใชเครื่องมือใน GIMP จะมีทั้งพูกัน ดินสอ และอุปกรณการตกแตงภาพอื่นๆ ซึ่งขั้นตอนการตกแตงภาพนั้นเปน
การทํางานบนเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมด

การทํางานที่โดดเดนอีกรูปแบบหนึ่งของ GIMP นั้นคือ การตกแตงภาพตนฉบับใหเกิดสีสัน แสงเงา รวมทั้ง


สรางความแปลกใหมใหกับภาพ โดยการใชเครื่องมือสําหรับการตกแตงภาพใน GIMP เปลี่ยนแปลงภาพใหเปนไปตามที่
เราตองการ

GIMP ตางจาก Photoshop และโปรแกรมอื่นอยางไร 
โปรแกรม Photoshop ของคาย Adobe หรือโปรแกรมเชิงพาณิชย (Commercial Program)
อื่นๆ นั้นตองเสียคาใชสิทธิ์ หรือเรียกวา License ซึ่งคาใชสิทธิ์ตอหนวยคอนขางสูง ตั้งแตหลายพันถึงหลักหมื่น แตถา
หากคุณใช GIMP คุณไมตองเสียคาใชสิทธแมแตบาทเดียว นั่นหมายความวา คุณสามารถสรางงานได โดยไมผิดกฎหมาย
ลิขสิทธิ์
Page 4

ความสามารถโดยรวมของ GIMP 
ความสามารถหลักของ GIMP นั้น จะเนนการตกแตงภาพกราฟกแนวตางๆ ใหสวยงามและแปลกตากวาเดิม
นอกจากนั้นยังใชแกไขจุดบกพรองของภาพไดอีกดวย ทําให GIMP ถูกนําไปใชในงานตกแตงภาพในหลายๆ ดาน ดัง
ตัวอยาง

งานตกแตงภาพถาย เปนการตกแตงรูปถายเกาๆ ใหคมชัดเหมือนใหมหรือทําการแกไขรูปถายที่มืดไป สวางไป มี


เงาดํา ใหภาพมีสีสดใสสมจริง นอกจากนั้นยังสามารถสรางภาพลอเลียน เชน เอาใบหนาของคนหนึ่งไปวางบนตัวคนอีก
คนหนึ่ง นําภาพบุคคลไปวางไวบนฉากหลังฉากอื่น เปนตน

งานสิ่งพิมพ ไมวาจะเปนหนังสือ นิตยสาร โฆษณา เรียกไดวาเกือบทุกงานที่ตองใชรูป สามารถใช GIMP


รังสรรคภาพใหเปนไปตามไอเดียที่เราวางแผนไวได

งานเว็บไซตบนอินเทอรเน็ต ใชสรางภาพเพื่อตกแตงเว็บไซต ไมวาจะเปนแบ็คกราวนด ปุมตอบโต แถบหัวเรื่อง


ตลอดจนภาพประกอบตางๆ

งานออกแบบทางกราฟก ใช GIMP ชวยในการสรางภาพสามมิติ การออกแบบปกหนังสือและผลิตภัณฑ การ


ออกแบบการดอวยพร เปนตน
Page 5

ความตองการระบบของ GIMP
เมื่อทราบถึงความสามารถของโปรแกรมกันแลว เรามาเตรียมเครื่องเพื่อติดตั้งโปรแกรมกัน ซึ่ง GIMP เปน
โปรแกรมที่ทํางานเกี่ยวกับกราฟก ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองใชคอมพิวเตอรที่มีความเร็วสูง มีหนวยความจํา RAM และ
ฮารดดิสกที่มีพื้นที่วางมากพอสมควร โดยความตองการระบบขั้นต่ําของ GIMP มีดังนี้

ชนิดของเครือ่ ง ความตองการระบบ
PC คอมพิวเตอรที่มี CPU รุน Pentium III หรือ 4 หรือเครื่องที่เร็วกวานั้น
ระบบปฏิบัติการ 98/ME/NT4/Windows 2000/Windows XP
หนวยความจํา RAM อยางนอย 128 MB หรือมากกวานั้น
ฮารดดิสกเนื้อที่วางอยางนอย 60 MB
การดจอที่แสดงสีไดระดับ 16 บิตขึ้นไปหรือใชการดวิดีโอ
จอภาพที่แสดงผลดวยความละเอียดอยางนอย 1,024x768 พิกเซลหรือมากกวานั้น

Mac คอมพิวเตอรในรุน PowerPC รุน G4 หรือ G5


ระบบปฏิบัติการ Mac OS X
หนวยความจํา RAM อยางนอย 128 MB หรือมากกวานั้น
ฮารดดิสกเนื้อที่วางอยางนอย 60 MB
จอภาพที่แสดงผลดวยความละเอียดอยางนอย 1,024x768 พิกเซลหรือมากกวานั้น

Linux Kernel เวอรชั่น 2.2 ขึ้นไป


GTK+ เวอรชั่น 2.4.4 ขึ้นไป
Page 6

การติดตัง้ โปรแกรม GIMP 

1. ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเริ่มการติดตั้ง 2. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

3. คลิก Next ไปยังขั้นตอน 4. คลิกเลือก Customize

5. รอขณะที่กําลังติดตั้ง 6. คลิก Finish เพื่อสิ้นสุดการติดตั้ง

วิธีนี้เปนการติดตั้งอยางรวดเร็ว ยังมีการติดตั้งแบบ Customize อีกวิธีหนึ่ง (ในขั้นตอนที่ 4) ซึ่งเราสามารถ


ปรับแตงรายละเอียดการติดตั้งได ดังตอไปนี้
Page 7

4. คลิกเลือก Customize 5. เลือกโฟลเดอรที่ใชติดตั้ง


6. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

หมายเหตุ : คลิกเลือก Translations เมนูคําสั่ง


Gimp จะเปนภาษาตามระบบปฏิบัติการในเครื่อง
เชน Windows ภาษาไทย เมนูก็จะเปนภาษาไทย
หากตองการใหเมนูเปนภาษาอังกฤษ ใหคลิก
ตัวเลือกนี้ออก
7. เลือกชนิดการติดตั้ง 8. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

9. คลิกเลือกชนิดไฟลที่ใช 10. คลิก Next ไปยังขั้นตอน 11. คลิก Next ไปยังขั้นตอน

13. คลิก Install เพื่อเริ่มตนติดตั้งโปรแกรม


12. คลิก Next ไปยังขั้นตอน
Page 8

14. รอขณะที่กําลังติดตั้งโปรแกรม 15. คลิก Finish เพื่อสิ้นสุดการติดตั้ง

ใชงานโปรแ กรม GIMP ครั้งแรก 


เมื่อเราเปดโปรแกรม GIMP
ขึ้นมาครั้งแรก จะปรากฏ
หนาตางโหลดเพื่อเขาสูหนาตาง
การทํางานของโปรแกรม

หนาจอของโปรแกรม GIMP
หนาตาง Main Toolbox หนาตาง Image Window หนาตาง Dialogs and Docking

Tool Icon

Tool Options

พื้นที่ในการตกแตงภาพ ไดอะล็อกตางๆ
Page 9

หนาตาง Main Toolbox 
เปนหนาตางที่เก็บรวบรวมเครื่องมือและคําสั่งที่ใชในการสราง การปรับแตงและการแกไขภาพ โดยจะแบงกลุม
เครื่องมือและคําสั่งในการจัดการกับภาพตางๆ ไดดังตอไปนี้

Tool Icons สวนเก็บรวบรวมเครื่องมือที่ใช

Foreground/Background colors สวนที่ใชกําหนด


สีโฟวกราวน และ แบ็คกราวน

Tool Options กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เรากําลังใชงานอยู

Tool Icons 
เปนสวนที่เก็บรวบรวมเครื่องมือที่ใชในการสราง การปรับแตงและการแกไขภาพ ซึ่งมีไอคอนใหสามารถเรียกใช
งานไดงายและรวดเร็ว โดยจะแบงกลุมเครื่องมือในการจัดการกับภาพตางๆ ไดดังตอไปนี้

Selection Tools ใชเลือกสวนของพื้นทีใ่ นการตกแตงภาพ กลุมเครื่องมืออื่นๆ ที่มีการใชงานแตกตางกัน

Text Tool เครื่องมือสําหรับเขียนขอความ

Transform Tools ใชสําหรับการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขยายวัตถุ

Brush Tools เปนกลุมเครื่องมือเกี่ยวกับการ วาดภาพ ระบายสี ตกแตงภาพ

Color Tools เครื่องมือสําหรับปรับสีใหกับภาพ


Page 10

Tool Options 
เปนสวนที่เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเครื่องมือตางๆ ในการใชงานได โดยมีรายละเอียดของแตละเครื่องมือ
อยางครบถวน ซึ่งเราสามารถจัดเก็บการตั้งคาของเครื่องมือเพื่อเก็บไวใชหลายๆ ครั้ง โดยไมตองตั้งคาใหมได และเรียกใช
คาเหลานั้นไดทันที

ชื่อของเครื่องมือที่ใชงานอยู Tool Options Menu เมนูเพิ่มเติม


สําหรับ Tool Options

รายละเอียดของเครื่องมือ

ลบคาที่เก็บไว

คลิกเพื่อจัดเก็บการตั้งคา คลิกเพื่อกลับไปเปนคาเริ่มตน

เรียกใชคาที่เก็บไว

หนาตาง GIMP 
ภายในหนาตาง Docking จะเปนศูนยรวมของไดอะล็อก (Dialog) ซึ่งเปนหนาตางยอยที่รวบรวมคุณสมบัติ
การทํางานของเครื่องมือตางๆ ใหเราเลือกปรับแตงการใชงานไดงายๆ โดยไมตองเปดหาที่แถบคําสั่งอีกตอไป มี
สวนประกอบดังนี้

Image Menu แสดง ชื่อไฟล แท็ปของไดอะล็อกที่เปดใชงานอยู


ที่เรากําลังใชงานอยู

Tab Menu เมื่อคลิกจะปรากฏเมนู


ตางๆ ในการสั่งการทํางาน

เมนูที่ปรากฏจากการคลิก Tab Menu

Docking bars แบงกลุม


ระหวาง Dialog ดานบนและ
ดานลาง เปลี่ยนแปลงขนาด
ใหกับหนาตาง Docking
Brush/Pattern/Gradient
กําหนดลักษณะของ
Brush/Pattern/Gradient ที่ตองการ
Page 11

การเปด/ปด Dialog 
เราสามารถเปด/ปดไดอะล็อกไดจากคําสั่ง Windows>Dockable Dialogs ในหนาตาง Image
Window แลวคลิกเลือกชื่อไดอะล็อกที่เราตองการแสดง และถาไมตองการแสดงไดอะล็อกใดใหคลิกเมาสที่ปุม เพื่อ
ปดไดอะล็อก

เลือก Dialog ที่ตองการเปด/ปด

ไดอะล็อก Palettes ถูกเปดออก

แตละไดอะล็อกจะมีเมนูคําสั่งของตัวเองเพื่อควบคุมการทํางาน สามารถเรียกดูเมนูในแตละไดอะล็อกได โดย


คลิกที่ และคลิกเลือกคําสั่งที่ตองการ

คําสั่งการใชงาน
คลิกเมาสลากเพื่อยอ/ขยาย คําสั่งเพิ่มเติมในการ ไดอะล็อก Brushes
ขนาดไดอะล็อกไดเอง จัดการไดอะล็อก
Page 12

การแยก/รวมไดอะล็อกดวย Docking drag handles 
เราสามารถแยก/รวมไดอะล็อกเพื่อเคลื่อนยายแตละไดอะล็อก โดยการคลิกเมาสคางไวที่แท็บหัวขอไดอะล็อก ให
ตัวชี้เมาสเปลี่ยนเปนรูป แลวลากไดอะล็อกไปไวในตําแหนงที่ตองการของหนาจอโปรแกรมได ดังนี้

ลากเมาสที่แท็บหัวขอ นําไปปลอยไว
ตําแหนงเดิม เพื่อรวมกลุมกับ ไดอะล็อก
อื่นที่ตองการ

ลากเมาสที่แท็บหัวขอ เพื่อแยกกลุมไดอะล็อกออกมา

รูจักกับหนาตางในการตกแตงภาพ Image Window 
หนาตาง Image Window เปนหนาตางที่ใชในการตกแตงภาพ ซึ่งมีสวนประกอบที่ใชในการตกแตงและ
คําสั่งตางๆ ดังตอไปนี้
Page 13

Title Bar

Image Menu
Menu Button Image Window
Resize toggle

Image Display
Ruler

Unit Menu

Pointer Coordinates Inactive Padding


Area

Quick Mask Toggle Navigation Control

Zoom Button Status Area

Title barจะอยูดานบนสุดของหนาตาง Image Window แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อไฟล โหมดภาพ


จํานวนเลเยอรที่แสดงในภาพ และขนาดภาพ

Image Menu จะอยูดานลางลงมาจาก Title bar จะเปนคําสั่งตางๆ ในการจัดการและตกแตงภาพ มีคําสั่ง


ทั้งหมด 10 กลุมคําสั่ง คือ

ƒ File จะเปนคําสั่งเกี่ยวกับไฟลทั้งหมด เชนการเปดไฟล ปดไฟล จัดเก็บไฟล


ƒ Edit คําสั่งในการแกไขภาพ เชน การยอนกลับการทํางาน การคัดลอกภาพ หรือตัดภาพ
ƒ Select คําสั่งเกี่ยวกับการเลือกพื้นที่ในภาพ
ƒ View คําสั่งเกี่ยวกับการกําหนดมุมมอง การซูมภาพ
ƒ Image คําสั่งเกี่ยวกับการจัดการภาพ เชน การเปลี่ยนโหมดภาพ การกําหนดขนาดภาพ
ƒ Layer เปนคําสั่งเกี่ยวกับการจัดการเลเยอร เชน การสรางเลเยอร การคัดลอกเลเยอร การ
ลบเลเยอร
ƒ Tool เปนคําสั่งเปดหนาตางเครื่องมือ หรือเลือกเครื่องมือที่ตองการใชงาน
ƒ Dialog เปนคําสั่งเปดไดอะล็อก หรือสราง Docking ขึ้นมาใชงาน
ƒ Filter เปนคําสั่งเรียกใชงานฟลเตอร เพื่อนํามาตกแตงภาพ
ƒ Script-Fu เปนคําสั่งเกี่ยวกับการตกแตงภาพโดยใชการเขียนสคริปต
Page 14

Menu Button เปนปุมเล็กๆ อยูตรงมุมดานบนซายของภาพ เมื่อเราคลิกปุม จะปรากฏเมนูคําสั่งใหเลือก


เหมือนกับ Image Menu

Ruler เปนเปนแถบไมบรรทัดทางดานซายและดานบนของภาพ ซึ่งเราสามารถ คลิกลากเสนไกดจากแถบไม


บรรทัดออกมาวางในภาพ เพื่อใชงานเสนไกดได

Quick Mask Toggle เปนปุมเล็กๆ อยูตรงมุมดานดานลางซายของภาพ เพื่อเปลี่ยนโหมดภาพใหอยูใน


โหมดควิกมาสก สําหรับเลือกพื้นที่ในการตกแตงภาพ

Pointer Coordinates จะแสดงพิกัดของตําแหนงที่เมาสชี้อยู

Unit Menu เปนแถบแสดงหนวยวัดที่ใชกับไมบรรทัด ซึ่งเราสามารถทําการคลิก เพื่อเปลี่ยนหนวยวัดใหกับไม


บรรทัดได

Zoom Button เปนปุมสําหรับกําหนดขนาดมุมมองของภาพ เพื่อยอ/ขยาย ภาพ

Status Area โดยปกติจะแสดงเลเยอรที่ใชงานอยู และขนาดพื้นที่ใชของไฟลภาพ หากทําการเลือกฟลเตอร


หรือเลือกคําสั่งแกไขภาพแถบ Status Area จะเปลี่ยนเปนแถบแสดงสถานะการทํางานของคําสั่งนั้น

Navigation Control เปนปุมลูกศรบริเวณมุมขวาดานลางของภาพ ใชในกรณีที่ภาพมีขนาดใหญเกินกวาที่


จะมองเห็นภาพทั้งหมดในหนาตางภาพได เราสามารถเลื่อนมุมมองภาพไปยังบริเวณที่เราตองการ

Inactive Padding Area เปนพื้นที่วางในหนาตางภาพ แสดงเมื่อภาพมีขนาดเล็กกวาหนาตาง หรือถูกยอ


ใหมีขนาดเล็กกวาหนาตางเราไมสามารถจัดการกับภาพในสวนนี้ได

Image Display สวนแสดงภาพที่เราทําการตกแตง แกไข

Image Window Resize toggle เปนปุมบริเวณมุมขวาดานบนของภาพ ปุมเปด หรือปด (ใช/ไมใช)


ความสามารถในการยอขยายภาพอัติโนมัติตามขนาดของหนาตาง image display ถากดเลือกใชเมื่อเรายอขยาย
หนาตาง ภาพจะเปลี่ยนขนาดตาม แตถาไมเลือกใช (ซึ่งเปน default) ถึงจะยอขยาย Image display ภาพจะคง
ขนาดเดิม

การสรางไฟลใหม  
เมื่อเราไดจัดเตรียมภาพที่จะนํามาใชและไดรางชิ้นงานที่จะสรางเรียบรอยแลว ในหัวขอนี้เราจะมาสรางไฟล
ชิ้นงานใหมกัน เริ่มตนดวยการกําหนดขนาดและความละเอียดของชิ้นงานที่จะนําไปใชงาน ซึ่งเราควรกําหนดใหเหมาะกับ
ลักษณะงาน มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File>New ที่หนาตาง Image Windows หรือกดแปน <Ctrl+N> ที่คียบอรดเพื่อสรางไฟล


ใหม
2. จะปรากฏหนาตาง Create a New Image ขึ้นมา จากนั้นคลิกที่ Advanced Options กําหนด
รูปแบบของหนากระดาษดังนี้
Page 15

o Width กําหนดความกวางของภาพ โดยชองดานหลังเปนการกําหนดหนวยวัดของความกวาง ซึ่งมี


หนวยวัดหลายแบบ เชน pixel เปนหนวยวัดพื้นฐานบนคอมพิวเตอร หรือ Inches (นิ้ว) และหนวย
วัดอื่นๆ
o Height กําหนดความสูงของภาพ โดยหนวยวัดจะเปนไปตามที่เรากําหนดในความกวาง
o X Resolution กําหนดความละเอียดของภาพในแนวแกน x โดยงานกราฟกสําหรับเว็บควรจะ
กําหนดคาเทากับ 72 pixels/inch และงานดานสิ่งพิมพตองใช 200-300 pixels/inch
o Y Resolution กําหนดความละเอียดของภาพ ในแนวแกน y โดยงานกราฟกสําหรับเว็บควรจะ
กําหนดคาเทากับ 72 pixels/inch และงานดานสิ่งพิมพตองใช 200-300 pixels/inch
o Color Space กําหนดโหมดสีของภาพ เชน โหมด RGB จะใชในงานกราฟกสําหรับเว็บและ
ภาพเคลื่อนไหว
o Fill with กําหนดพื้นหลังของภาพ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ƒ Foreground Color ปรับใหพื้นหลังเปนสีโฟวกราวนดที่กําหนดไวใน Main
Toolbox
ƒ Background Color ปรับใหพื้นหลังเปนสีแบ็คกราวนดที่กําหนดไวใน Main
Toolbox
ƒ White ปรับใหพื้นหลังเปนสีขาว
ƒ Transparent กําหนดใหเปนพื้นโปรงใส
o Comment เปนคําอธิบายเกี่ยวกับภาพ
3. คลิกปุม เพื่อตกลงการสรางไฟลใหมตามที่เรากําหนด

1. เลือกคําสั่ง File>New

2. คลิกที่ Advanced Options

3. กําหนดรูปแบบของหนากระดาษ
Page 16

เราจะไดไฟลภาพใหมตามที่เรากําหนด

ลักษณะพื้นหลังของไฟลภาพ 

White กําหนดพื้นหลังเปนสีขาว Foreground/Background Color คือ Transparent คือ พื้นหลังที่โปรงใส


พื้นหลังเปนสีโฟวกราวนด หรือแบ็ค เหมือนกับเขียนภาพบนแผนใส
กราวนดที่กําหนดไวใน Main Toolbox

กําหนดขนาดไฟลภาพตามคามาตรฐาน 
งานกราฟกที่ตองทําบอยๆ ก็จะมีคาขนาดของไฟลงานมาตรฐานที่กําหนดไวแลว เพื่อใหเราเรียกใชไดที่หัวขอ
Template จะมีขนาดและรายละเอียดของชิ้นงานแบบตางๆ ที่ใชงานบอยใหเราเรียกใชไดเลย โดยไมตองกําหนดคา
ตางๆ เอง โดยมีแบบตางๆ ดังนี้
Page 17

ƒ กระดาษจดหมาย
เชน US-Letter
ƒ ขนาดหนาจอพรีเซนเตชั่น
เชน 640x480, 800x600
ƒ ขนาดกระดาษสิ่งพิมพ
เชน A4, A3, B5
ƒ ขนาดของภาพในงานวิดีโอ
เชน NTSC 720 x 486

องคประกอบที่มีผลกับไฟลภาพ

1. ขนาดความกวางและความยาว ถาภาพมีความกวางและความยาวมาก ขนาดของไฟลก็จะใหญมาก ดังนั้นควรจะ


กําหนดใหขนาดของภาพมีขนาดตามที่ตองใชงานจริง เพื่อชวยลดขนาดไฟล
2. ความละเอียด (Resolution) ถาความละเอียดของภาพมาก ขนาดไฟลภาพก็จะมาก ถึงแมคุณภาพของภาพสูง
แตเครื่องคอมพิวเตอรจะทํางานชา ดังนั้นเราควรกําหนด Resolution ตามการใชงาน เชน
ƒ ภาพที่นําเสนอบนเว็บเพจและพรีเซนเตชั่น ควรใช 72 DPI (Dots per inch)
ƒ ภาพที่พิมพออกทางเครื่องพิมพเลเซอร ควรใช 200 DPI
ƒ สิ่งพิมพตางๆ ที่ตองเขาพิมพในโรงพิมพ เชน ปกนิตยสาร ควรใช 300 DPI
3. โหมดสีของภาพ จะมีผลตอขนาดของไฟล โดยสามารถเรียงลําดับโหมดสีที่ทําใหไดขนาดไฟลนอยไปมาก ได
ดังนี้ Bitmap, Grayscale, RGB, CMYK, Lab color

ทดลองสรางชิ้นงานโดยนําภาพมาตกแตง 
ในตัวอยางนี้จะสรางงานโฆษณาอยางงายๆ โดยนําภาพที่เราเตรียมไวมาจัดวางใหสวยงาม และจะนําเสนอเปน
หลักการทํางานเบื้องตนของโปรแกรม GIMP ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดขนาดของชิ้นงาน
ขั้นตอนที่ 2 เปดไฟลภาพที่ตองการนํามาตกแตง
ขั้นตอนที่ 3 ตกแตงภาพโดยการจัดวาง
ขั้นตอนที่ 4 บันทึกไฟลภาพ
ขั้นตอนที่ 5 ออกจากการทํางานของโปรแกรม
Page 18

ตัวอยางชิ้นงานของแผนโปสการด

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดขนาดของชิ้นงาน 
เริ่มแรกใหเรากําหนดขนาดของแผนโฆษณาที่เปนชิ้นงานของเรา ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File>New เพื่อเปดหนากระดาษใหม


2. จะปรากฏหนาตาง Create a New Image จากนั้นกําหนดขนาด และรายละเอียดของหนากระดาษ
โฆษณาของเรา ในที่นี้กําหนด
ƒ ขนาดความกวาง และความยาวเทากับ 640x480 พิกเซล (pixels)
ƒ ความละเอียด (Resolution) 300 พิกเซล/นิ้ว (pixels/inch)
ƒ โหมดสี (Color Space) เปน RGB Color
ƒ พื้นของภาพ (Fill with) เปนสีขาว (White)
3. คลิกเมาสปุม เพื่อสรางชิ้นงาน

1. เลือกคําสั่ง File>New

2. กําหนดขนาดใหกับงานโฆษณา 3. คลิกเมาส
Page 19

4. แสดงขนาดของหนากระดาษใหม
ที่ถูกเปดขึ้นมา

ขั้นตอนที่ 2 เปดไฟลภาพที่ตองการนํามาตกแตง 
โดยเปดไฟลภาพที่อยูในเครื่องคอมพิวเตอรของเรา ขึ้นมาตกแตงในหนากระดาษใหมที่เปดอยู จากหนาตาง
Open Image ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File>Open เพื่อเปดหนาตางยอยแสดงภาพ


2. จะปรากฏหนาตาง Open Image
3. เลือกโฟลเดอรที่เก็บภาพ แลวดับเบิ้ลคลิกภาพที่จะนํามาตกแตงใน GIMP ซึ่งในตัวอยางนี้เราจะนํา
ภาพเขามาตกแตงทั้งหมด 3 ภาพ คือ ภาพพื้นหลัง (bg_coffee.jpg), ภาพแกวกาแฟ
(coffee00.gif) และภาพขอความ (text.tif)

ภาพพื้นหลัง ภาพแกวกาแฟ ภาพขอความ

2. จะปรากฏหนาตาง Open Image


1. เลือกคําสั่ง File>Browse
Page 20

3. ดับเบิ้ลคลิกเลือกภาพที่จะนํามาตกแตงทีละภาพ แสดงตัวอยางภาพที่เลือก

แสดงไฟลภาพทั้งหมด ที่ถูกเปดขึ้นมาใชตกแตงในโปรแกรม GIMP

ขั้นตอนที่ 3 ตกแตงภาพโดยการจัดวาง 
ใหนําภาพที่เราเปดขึ้นมาทั้งหมดจากขั้นตอนที่ผานมา นํามาจัดวางในหนากระดาษเปลาๆ ที่ยังเปดไวอยูจาก
ขั้นตอนที่ 1 แลวทําการจัดวางใหเหมาะสมสวยงาม ดังขั้นตอนตอไปนี้

1. เลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดแปน <Ctrl+C> ที่คียบอรดเพื่อคัดลอกไฟลภาพพื้นหลัง


2. ในหนากระดาษที่เรากําหนดไวจากตอนที่ 1 เลือกคําสั่ง Edit>Paste หรือกดแปน <Ctrl+V> ที่คียบอรดเพื่อ
วางไฟลภาพที่คัดลอกมา
3. เลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดแปน <Ctrl+C> ที่คียบอรดเพื่อคัดลอกไฟลภาพแกวกาแฟ แลวนําไปวางใน
ไฟลใหมที่สรางขึ้นตามขอ 2 เลื่อนตําแหนงภาพใหอยูทางซาย ตามตัวอยาง
4. เลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดแปน <Ctrl+C> ที่คียบอรดเพื่อคัดลอกไฟลขอความ แลวนําไปวางในไฟล
ใหมที่สรางขึ้นตามขอ 2 เลื่อนตําแหนงขอความใหอยูดานบนของแกว ตามตัวอยาง
5. คลิกเมาสเลื่อนจัดวางภาพทั้ง 3 ใหเหมาะสมตามที่ตองการ ก็จะไดภาพโฆษณาของเราเอง ดังรูป

1. เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อคัดลอกไฟล


Page 21

2. เลือกคําสั่ง Edit>Paste เพื่อวางไฟลภาพ


ที่คัดลอกมา

ภาพพื้นหลังที่นํามาวาง

3. เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อคัดลอกภาพแกวกาแฟ

4. เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อคัดลอกขอความ


Page 22

ผลลัพธของภาพที่ได

ขั้นตอนที่ 4 การบันทึกไฟล (Save) 


หลังจากสรางชิ้นงานเสร็จแลว เราสามารถบันทึกไฟลไดหลายรูปแบบ ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง File ที่เมนูบารและเลือกรูปแบบการบันทึกไฟลดังตอไปนี้ คือ


• File>Save เปนการบันทึกงานอยูในไฟลเดิมที่เรากําลังเปดแกไขอยู
• File>Save As เปนการบันทึกงานเดิมเปนชื่อใหม หรือบันทึกใหอยูในรูปของฟอรแม็ตใหม
• File>Save a Copy เปนการบันทึกงานเดิมเปนชื่อใหม หรือบันทึกใหอยูในรูปของฟอรแม็ตใหม
คลายกับ Save As
• File>Save as Template เปนการบันทึกงานไวเปน Template ใหเลือกใชตอนทําการสราง
ไฟลใหม ในหนาตาง Create a New Image
2. ในชอง ชื่อ : พิมพชื่อไฟลที่จะบันทึกลงไป
3. ในชอง บันทึกในโฟลเดอร : ใหกําหนดตําแหนงของโฟลเดอรเพื่อใชเก็บไฟลที่จะบันทึกนี้
4. โดยปกติไฟลงานของ Gimp จะเปนไฟลนามสกุล .xcf ซึ่งใชเฉพาะโปรแกรม Gimp เทานั้น ถาตองการ
บันทึกในรูปของฟอรแม็ตใหม ใหทําการคลิกเลือกในชอง Select File Type เลือกชนิดของไฟลที่จะนําไปใช
งาน สําหรับการบันทึกชิ้นงานเพื่อนําไปสงโรงพิมพจะใชฟอรแมต TIFF สวนการนําไปสรางพรีเซนเตชั่นแลว
สรางเว็บไซต จะใชฟอรแมต JPEG, GIF และ PNG
5. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อทําการบันทึกไฟล
Page 23

1. เลือกคําสั่ง File>Save As

NOTE : ในการบันทึกงานในโปรแกรม GIMP นี้


สามารถทําการบันทึกชนิดไฟลของภาพเปน psd ซึ่ง
เราสามารถที่จะเปดไฟลนี้มาทําการแกไขไดอีกใน
โปรแกรม Photoshop

2. พิมพชื่อไฟล

3. คลิกเมาสเลือกตําแหนงที่ใชเก็บไฟล

4. เลือกฟอรแมตของไฟล

5. คลิกเมาสเพื่อทําการบันทึกไฟล

ขั้นตอนที่ 5 ออกจากการทํางานของโปรแกรม 

สุดทาย เมื่อตองการออกจากหนาตางไฟลภาพและโปรแกรมการทํางานสามารถทําได โดยคลิกที่ปุม ทั้ง 2


หนาตางของโปรแกรม GIMP

1. ที่หนาตางแสดงไฟลภาพ ในหนาตาง Image Window ใหคลิกเมาสที่ปุม ไฟลจะถูกปดทันที เมื่อปด


ไฟลงานทั้งหมดจะเหลือหนาตาง GNU Image Manipulation Program ซึ่งเราสามารถออกจาก
โปรแกรมไดโดยคลิกที่ปุม
2. ที่หนาตาง Main Toolbox ใหคลิกเมาสที่ปุม จะเปนการออกจากโปรแกรมไดเชนกัน
Page 24

1. คลิก เพื่อปดหนาตาง
ไฟลภาพ

2. คลิก เพื่อปดโปรแกรม
Page 25

บทที่ 2  
หลักการสรางงานกราฟก
และการใชงานเครื่องมือพื้นฐาน 
ในบทนี้ ก็จ ะเปนการแนะนํ าแนวทางในการสร า งงานกราฟ ก ซึ่ง จะเน น ถึง การสร า งชิ้น งานที่ ไ ดจ ากการนํ า
สวนประกอบของภาพเปนหลัก การใสสีขอความ และการจัดซอนภาพ สวนการตกแตงภาพถาย การปรับสีในภาพ และการ
วาดภาพจะกลาวในสวนทายของเลม เพราะเนื้อหาสวนแรกจะปูพื้นฐานการสรางงานกราฟกใหเขาใจกันอยางถูกตอง
เสียกอน รวมทั้งการใชงานเครื่องมือวาดภาพ และลงสีตางๆ ที่เปนเครื่องมือพื้นฐานในการตกแตงภาพ

หลักการสรางงานกราฟก 
กอนอื่นเราตองทําการวางแนวทางของชิ้นงานกอนวา จะนําเสนอเรื่องอะไร ใชสี ภาพและขอความอะไร เมื่อเรา
ไดวางแนวทางของชิ้นงานเรียบรอยแลว ตอไปเราก็จะมาทราบถึงแนวทางการสรางชิ้นงานกันตอ ซึ่งอาจจะไมตายตัวเสมอ
ไปแตก็พอเปนแนวทางสรุปโดยรวมได ดังนี้

1. การกําหนดพื้นหลังของภาพ 
เปนการกําหนดภาพ หรือสีพื้นหลัง โดยภาพหรือสีพื้นหลังที่ใชนั้นควรมีโทนสีที่ใหอารมณและสื่อความหมายได
ถูกตองตามจุดประสงคของชิ้นงาน (ดูรายละเอียดในหัวขอตอไป)

2. การเลือกพื้นที่ภาพที่ใชงาน 
เปนการตัด หรือคัดลอกบางสวนของภาพตางๆ ที่เราจะนํามาใชในชิ้นงานของเรา (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง ”การ
แตงและตัดภาพเฉพาะสวน”
Page 26

3. การจัดวางภาพใหเหมาะสม 
เมื่อเรานําภาพสวนประกอบมารวมกันในชิ้นงาน อาจมีบางภาพที่มีขนาด และมุมการจัดวางไมลงตัว เราก็สามารถ
ขยาย หมุน และบิดภาพใหเขากัน (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “การจัดวาง และปรับรูปทรงภาพ”)

4. การใสขอความ 
เปนการใสขอความที่เปนชื่อ เรื่อง หรือคําบรรยายตางๆ เขาไปตกแตงเพิ่มเติม (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “การ
สรางขอความตกแตงภาพ”

5. การนําภาพสวนประกอบมาจัดซอนกัน 
นําภาพสวนประกอบที่เลือกไว มาทําการซอนกัน โดยบางสวนอาจจะอยูดานบน หรือดานลาง ตามจุดประสงคที่
วางไว (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “การทํางานกับเลเยอร”)
Page 27

6. ตกแตงทุกสวนประกอบเขากันอยางกลมกลืน 
สุดทาย เราจะพิจารณาภาพรวมชิ้นงานที่ได และปรับแตงรายละเอียดของภาพประกอบแตละสวนใหดูกลมกลืน
กัน เพื่อใหไดผลงานที่สวยงาม (ดูรายละเอียดในบทเรื่อง “เทคนิคการตกแตงภาพในเลเยอร”)

การกําหนดมุมมองภาพ 
เปนการกําหนดมุมมองทั่วไปของหนาตางแสดงภาพผาน Image menu ซึ่งเราสามารถทําไดโดยการเลือกที่
เมนูคําสั่ง View และเลือกคําสั่งที่ตองการ

กําหนดหนาตางใหพอดีกับขนาด
กลับไปที่มุมมองเดิม

ยอภาพ
ขยายภาพ

P กําหนดขนาดภาพใหสามารถ
แสดงภาพแบบเต็มหนาจอ
กําหนดขนาดความกวางหรือ มองเห็นภาพทั้งหมดเต็มหนาตาง
ความยาวใหเต็มพืน้ ที่ของ
หนาตาง
Page 28

ตัวอยางมุมมองแบบ Fit Image in Window ตัวอยางมุมมองแบบ Fill Window สามารถเลื่อน Scroll


Bar ไดอีก

การซูมยอ-ขยายภาพ 
เราสามารถยอ หรือขยายมุมมองของภาพโดยใชเครื่องมือ Magnify Tool เครื่องมือนี้เปนเหมือนแวน
ขยาย ที่ชวยขยายภาพใหเราตกแตงไดอยางละเอียดมากขึ้น และยังสามารถยอภาพใหเล็กลงเพื่อดูภาพโดยรวมไดอีกดวย

การซูมภาพ  
เราสามารถขยายภาพที่นําเขามาใหดูชัดเจนขึ้น โดยการใชงานเครื่องมือ Magnify Tool ดังนี้

1. คลิกเลือก Magnify Tool

2. คลิกบริเวณที่ตองการขยายมุมมอง 3. ภาพจะถูกซูมขยายใหใหญขึ้น

ถาตองการซูมเฉพาะบางที่ ก็สามารถทําไดเหมือนกัน โดยลากเมาสครอบเฉพาะพื้นที่ที่เราตองการแบบนี้


Page 29

1. ลากเมาสคลุมพืน้ ที่ที่ตองการ และ 2. จะไดภาพที่ถูกซูมเฉพาะพื้นที่ที่เลือก

การยอภาพ  
เมื่อเราตองการยอภาพใหเล็กลง ใหกดคีย <Ctrl> คางไว และคลิกเมาสลงบนภาพ จากนั้นภาพจะคอยๆ ถูกซูม
ออกใหดูเล็กลงตามจํานวนครั้งที่เราคลิกเมาส

1. กดปุม <Ctrl> คางไวจะมีสัญลักษณ 2. ภาพเล็กลงผลจากการที่เราคลิกเมาส 3 ครั้ง


แลวคลิกเมาส

การเปลี่ยนขนาดของภาพ 
หากตองการนําภาพไปลงเว็บ หรือทําเปนภาพติดบัตร ซึ่งจะเหมาะกับการลดขนาดภาพ เพื่อไฟลภาพจะลดลงไม
ตองเปลืองเนื้อที่ และโปรแกรมจะทํางานไดเร็วดวย แตจะไมเหมาะกับการขยายภาพใหใหญขึ้น เพราะภาพที่ออกมาไม
คมชัดเหมือนภาพตนฉบับ

1. เลือกคําสั่ง Image>Scale Image ที่หนาตาง Image Window


2. กําหนดขนาดของภาพใหมตามตองการ ดังนี้
Page 30

o Image Size กําหนดขนาดภาพใหม


o Width และ Height กําหนดความกวาง และความสูงของภาพ (เราสามารถกําหนดคาทั้ง 2 ได
อยางอิสระ โดยไมคํานึงถึงสัดสวนของภาพเดิม โดยคลิก ใหเปนลักษณะแบบโซเปด )
o X resolution และ Y resolution กําหนดความละเอียดของภาพในแนวแกน X (แนวนอน)
และแกน Y (แนวตั้ง)
o Quality กําหนดคุณภาพของภาพที่ปรับได 3 ระดับ
o None คือ คุณภาพระดับต่ําสุด
o Linear คือ คุณภาพระดับกลาง
o Cubic คือ คุณภาพระดับดีที่สุด
3. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดภาพใหมตามที่เรากําหนด

1. เลือกคําสั่ง Image>Scale Image

2. กําหนดขนาดของ
ภาพใหม

3. คลิกเมาส

ภาพตนแบบกอนการลดขนาดภาพ หลังการลดขนาดภาพ
Page 31

การเพิ่ม/ลดพื้นที่การทํางานของภาพ 
ในระหวางที่เราตกแตงภาพ อาจจะมีความตองการเพิ่มพื้นที่การทํางานใหมากขึ้นหรือ ลดพื้นที่ของภาพใหเล็กลง
ได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Image>Canvas Size ที่หนาตาง Image Window จะปรากฏหนาตาง Canvas Size


ขึ้นมา
2. เพิ่ม/ลดพื้นที่ของภาพ และกําหนดตําแหนงของภาพภายในพื้นที่
o Canvas size กําหนดขนาดภาพใหม Width และ Height กําหนดขนาดความกวาง และความสูงของ
พื้นที่ภาพ
o Offset กําหนดตําแหนงของภาพเดิมในพื้นที่ที่กําหนดขึ้นใหม X คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวนอน
และ Y คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวตั้ง

หากตองการใหภาพเดิมอยูตรงกลางของพื้นที่ สามารถคลิกปุม เพื่อจัดตําแหนงภาพใหอยูกึ่งกลาง


โดยอัตโนมัติ

3. เพิ่ม/ลดขนาดของ Layers
o None ไมตองการเพิ่ม/ลดขนาดเลเยอร
o All layers เพิ่ม/ลดขนาดเลเยอรทั้งหมดดวย
o Imaged-sized layers เพิ่ม/ลดขนาดเฉพาะเลเยอรของภาพที่ปรับพื้นที่อยู
o All visible layers เพิ่ม/ลดขนาดเลเยอรที่มองเห็นไดทั้งหมด
o All linkd layers เพิ่ม/ลดขนาดเลเยอรที่ลิงกกับเลเยอรของภาพที่ปรับพื้นที่อยู

4. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดพื้นที่ภาพใหมตามที่เรากําหนด

1. เลือกคําสั่ง
Image>Canvas Size...
2. กําหนดขนาด และ
ตําแหนงของภาพใน
พื้นที่

แสดงตัวอยางของ
การเพิ่ม/ลดพื้นที่

ตองการเพิ่ม/ลดขนาด
Layers ดวยหรือไม

3. คลิกเมาส
Page 32

NOTE : ในกรณีที่เราทําการลดพื้นที่ของภาพดวยคําสั่ง Canvas Size รูปภาพเดิมทั้งหมดจะยังคงลักษณะเดิมอยู แตจะ


แสดงภาพออกมาเฉพาะสวนของพื้นที่ที่เรากําหนดเทานั้น ซึ่งเราสามารถคลิกเพื่อเลื่อนตําแหนงภาพเดิม เพื่อกําหนดสวน
ของภาพที่จะแสดงออกมาในพื้นที่ภาพที่กําหนดได

คลิกเลื่อนตําแหนงของภาพดวย Move Tool ภาพที่แสดงบนพื้นที่ภาพจะเปลีย่ นไป

การปรับหมุนภาพ 
เปนการปรับหมุน และพลิกภาพ ในองศาตางๆ ผาน Image menu ทําได โดยการเลือกที่เมนูคําสั่ง
Image>Transform และเลือกคําสั่งปรับหมุนภาพตางๆ

พลิกภาพในแนวนอนจากดานซายเปนดานขวา
พลิกภาพในแนวตั้งจากดานบนเปนดานลาง
หมุนภาพตามเข็มนาฬิกาเปนมุม 90 องศา
หมุนภาพทวนเข็มนาฬิกาเปนมุม 90 องศา
หมุนภาพเปน180 องศา

การทํางานกับสี 
เมื่อเรากําหนดขนาดชิ้นงาน เรียบรอยแลว กอนที่จะทําการลงสีพื้นหลังของชิ้นงาน เราจะมาเริ่มตนรูจักกับการ
เลือกใชสีกันกอน โดยใน GIMP จะมีสวนที่แสดงการใชงานของสีอยูในสวนของ Main Toolbox

สีโฟรกราวนด
Switch Color

สีแบคกราวนด

Default Color
Page 33

สีโฟรกราวนด (Foreground) และสีแบ็คกราวนด (Background) 


เปนพื้นที่แสดงสีและกําหนดการใชสี ซึ่งตองทํางานควบคูกับเครื่องมือในการระบายสีและเครื่องมืออื่นๆ ที่
เกี่ยวของกับสีทั้งหมด โดยสีของโฟรกราวนดจะเปนสีที่เราเลือกใชในการลงสี สวนสีของแบ็คกราวนดจะเปนสีพื้นหลังของ
ภาพ นอกจากนั้นยังใชสีของโฟรกราวนดในการเติมสีภาพและใชสีของแบ็คกราวนดแทนการลบพื้นที่ภาพไดอีกดวย
Default color  
คลิกเมาสที่ เพื่อเปลี่ยนสีของโฟรกราวนดและแบ็คกราวนดกลับมาเปนสีมาตรฐาน คือ สีดําเปนสีของโฟร
กราวนด และสีขาวเปนสีของแบ็คกราวนด
Switch color  
คลิกเมาสที่ เพื่อสลับสีของโฟรกราวนดมาเปนสีของแบ็คกราวนดและสีของแบ็คกราวนดมาเปนสีโฟร
กราวนดแทน (หรือกดคีย <X> ที่คียบอรด)

การเลือกสี 
มีวิธีการเลือกสีวิธี ไดแก การเลือกสีจาก Foreground/Background, การเลือกสีจากตัวอยางดวย
3
เครื่องมือ Color Picker Tool และเลือกสีจาก Palette

เลือกสีจาก Foreground/Background 
ทําไดโดยการคลิกที่โฟรกราวนด หรือแบคกราวนด จะปรากฏหนาตาง Change Color ซึ่งเปรียบไดกับจาน
สีขนาดใหญที่มีสีนับลานๆ สีใหเราเลือก โดยเลือกตามสเปคตรัมสีที่ปรากฏ หรือตามการกําหนดคาเปนตัวเลข ดังนี้

3. คลิกเลือกสี สามารถคลิกเลื่อน หรือใส


ตัวเลขของคาตางๆ ของสี

1. คลิกที่โฟรกราวนด
หรือแบคกราวนด แสดงรหัสของสีที่ใชใน
ภาษา HTML และ CSS

แสดงจานสีที่เรา จัดเก็บสีไวใชงาน
คลิก เพื่อจัดเก็บสี

2. เลื่อนสไลดเลือกโทนสี 4. คลิกเมาส

เลือกสีจากเครื่องมือ Color Picker Tool 
เปนการเลือกสี โดยดึงสีจากสีตนฉบับมากําหนดเปนสีของโฟรกราวน หรือแบคกราวน
Page 34

1. คลิกเลือก Color Picker Tool

2. คลิกเลือกสีจากตนฉบับ

สีของโฟรกราวนดจะเปลี่ยนไป

TIP : เราสามารถเลือกสีเพื่อกําหนดเปนสีของแบ็คกราวนดได โดยกดคีย <Ctrl> ขณะที่คลิกเลือกสี

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือ Color Picker Tool 
เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Color Picker Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของ
หนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
เปนการกําหนดคารัศมีของพื้นที่สีที่เลือก

ทําใหเลือกสีไดจากภาพทั้งหมด หากไมไดเลือกอ็อบชั่นนีจ้ ะเลือกสีเฉพาะในเลเยอรที่


ใชงานอยูเทานั้น

เปนการกําหนดโหมดการเลือกสี คือ pick only เปนการเลือกและดูคาของสีเทานั้น,


Set foreground color เปนการกําหนดสีโฟรกราวนด และ Set background color
เปนการกําหนดสีแบ็คกราวน

เปนการกําหนดสีที่เลือกจัดเก็บไวในพาเล็ตสีดวย

เลือกสีจาก Palette 
เปนการเลือกสีโฟรกราวนด และเลือกสีแบ็คกราวนด โดยการเปดไดอะล็อก Palette ขึ้นมา ซึ่งจะมีพาเล็ตสี
แบบตางๆ เปนเหมือนจานสีใหเราเลือกใชสีจากจานสีนั้นได
Page 35

2. ดับเบิ้ลคลิกเลือก
พาเล็ตสีที่ตองการ

3. คลิกเลือกสีที่
ตองการ

1. คลิก เลือกคําสั่ง Add


Tab>Palettes เพื่อเปด
ไดอะล็อก Palettes ขึ้นมา

TIP : เราสามารถเลือกสี เพื่อกําหนดเปนสีของแบ็คกราวนดได โดยกดคีย <Ctrl> ขณะที่คลิกเลือกสี

การเทสีดวย Bucket Fill Tool 
Bucket Fill Tool เปนเครื่องมือที่ชวยใหเราเติมสีภาพในบริเวณติดกันและมีคาสีใกลกันเคียงกันกับบริเวณ
ที่เราคลิกเมาสได ทําใหเราไดสีที่มีระดับความเขมเทากันทั้งภาพ เราสามารถเติมสีดวย Bucket Fill Tool ดังนี้

1. คลิกเลือก Bucket Fill Tool


2. กําหนดคาของการเติมสีดวย Bucket Fill Tool ใน Tool Options

Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่เทลงไป

Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่เทลงไปกับสีของภาพเดิม

o Fill Type การเลือกสีที่ใช มีใหเลือก 3 แบบ คือ


o FG color fill กําหนดใหเทสีโฟรกราวนดลงในภาพ
o BG color fill กําหนดใหเทสีแบคกราวนดลงในภาพ
o Pattern fill กําหนดใหเทสีเปนภาพลวดลายลงในภาพ ซึ่งสามารถเลือกลักษณะของภาพแพ
ทเทิรนได

Affected Area กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่สําหรับเทสี มี 2 ลักษณะ คือ Fill Similar colors จะเปน


การใชคาความตางสีในการเลือกพื้นที่ที่จะเทสีลงไปในภาพ และ Fill whole selection จะเปนการเทสีลงใน
พื้นที่ทั้งหมดที่เลือก โดยไมคํานึงถึงความตางสีในภาพ
Page 36

Finding Similar Color จะสามารถกําหนดคาไดเมื่อเลือกลักษณะการเทสีแบบ Fill Similar color

o Fill transparent areas ถาคลิกเช็คบ็อกซที่อ็อบชั่นนี้จะทําใหสามารถเทสีลงในพื้นที่ที่เปน


Transparent ที่ไมมีการเติมสีไดดวย
o Sample Merge ถาคลิกเช็คบ็อกซที่อ็อบชั่นนี้ โปรแกรมจะคํานวณความตางสีของภาพใน
ทุกเลเยอรที่มีอยู หากไมทําการเช็คบ็อกซ โปรแกรมจะทําการคํานวณความตางสีเฉพาะในลเยอรที่
ใชงานอยูเทานั้น
o Threshold กําหนดความแตกตางของคาสี

เลือกองคประกอบที่ใชในการคํานวณคาการเทสี (โดยการเทสีทั่วไปใหเลือก Composite ซึ่งเปนคา


Fill by
Default อยูแลว การเลือกตัวเลือกอื่น อาจจําเปนตองศึกษาเรื่องคาสีเพิ่มเติม)

3. คลิกเทสีลงบนภาพ

1. คลิกเลือก Bucket Fill Tool

2. กําหนดคาอ็อบชั่นของเครื่องมือ 3. คลิกเทสี

ผลลัพธของภาพเมือ่ เทสี

การเทสีแบบไลเฉดสีดวย Blend Tool 
การเทสีพื้นหลังภาพดวยโทนสีเดียว เชน สีแดง จะทําใหผลงานดูแข็งๆ เรียบๆ แตถาลองไลเฉดสีจากสีหนึ่งไปยัง
สีหนึ่ง เชน สีฟาไปยังสีขาว จะชวยใหภาพดูแรงยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถกําหนดการไลเฉดสีไดตามตองการดวย Blend Tool
ดังนี้

1. คลิกเลือก Blend Tool


2. กําหนดคาของการเติมสีดวย Blend Tool ใน Tool Options
Page 37

Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่เทลงไป

Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่เทลงไปกับสีของภาพเดิม

Gradient กําหนดสี และลักษณะการไลสี ถาคลิกเช็คบ็อกซที่ Reverse จะเปนการกลับดานการไลสี

Offset กําหนดความกวางของการไลสี ยิ่งใสคานอยยิ่งมีการไลสีที่กวางมาก ถากําหนดคามากจะมีการไลสีที่


แคบลง

Shape กําหนดรูปแบบในการไลสี เชน Linear เปนการไลสีในแนวเสนตรง Radial เปนการไลสีในแนว


เสนรัศมีวงกลม เปนตน

Repeat กําหนดชวงซ้ําในการไลสีมี 3 แบบ คือ

o None เปนการไลสีแบบปกติตามที่กําหนดไมมีชวงซ้ํา
o Sawtooth wave เปนการไลสีไปทางเดียว
o Triangular Wave จะเปนการไลสีไป และไลกลับมาเปนสีแรกอีก

Dithering กําหนดความกลมกลืนในการไลสีใหมีมากขึ้น

Adaptive supersampling กําหนดความคมชัดเพิ่มเติมใหกับการไลสี

3. คลิกลากเสนเพื่อทําการลงสี

1. คลิกเลือก Blend Tool

2. กําหนดคาอ็อบชั่นของเครื่องมือ
Page 38

3. คลิกลากเสนเพื่อไลสี ผลลัพธของภาพเมือ่ เทสี

รูปแบบของการไลสี (Shape) 

การระบายสีดวย Painting Tool 
Painting Tool เปนกลุมเครืองมือที่ใชสําหรับวาดเสน และระบายสีมีอยู 3 ชนิด คือ Pencil Tool ,
Paint Brush Tool และ Airbrush Tool ซึ่งจะใหลักษณะของเสนที่แตกตางกัน
Page 39

การระบายสีดวยพูกัน และดินสอ 
พูกัน (Paint Brush Tool) และ ดินสอ (Pencil Tool) เปนเครื่องมือระบายสี และวาดใสลวดลาย
ตางๆ ลงในภาพ ซึ่งจะมีรูปแบบ และคุณสมบัติการใชงานใหเลือกคลายคลึงกันมาก จะแตกตางกันเฉพาะลักษณะของเสนที่
ได โดยเสนที่ไดจาก การวาดดวยดินสอจะเปนเสนที่มีความแข็ง และเสนที่ไดจากการวาดดวยพูกันจะมีลักษณะที่นุมนวล
กวา สามารถใชงานพูกัน หรือดินสอได ดังนี้

1. คลิกเลือก Paint Brush Tool หรือ Pencil Tool


2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม
o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่ระบายลงไป
o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่ระบายลงไปกับสีของภาพเดิม
o Brush กําหนดลักษณะของหัวแปรง
o Scale กําหนดขนาดของหัวแปรง
o Brush Dynamics ตั้งคาเพิ่มเติม เชน แรงกด (Pressure) ความไว(Velocity) หรือตั้งแบบ
สุม (Random) เหมาะกับการใชกับเครื่อง Tablet
o Fade out กําหนดลักษณะเสนใหคอยๆ จางหายไป สามารถกําหนดระยะ Length เปนความ
ยาวของเสนที่คอยๆ จางหายไป
o Apply Jitter กําหนดความถี่/หางของหัวแปรงเมื่อลากเสนตอเนื่อง
o Incremental กําหนดลักษณะเสนโดยใชสีพื้นแบบสีเดียว หรือตามลักษณะหัวแปรงที่กําหนด
o Use color from gradient กําหนดสีเสนเปนแบบการไลเฉดสี (Gradient)
3. คลิกระบายสีบนภาพ
2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

3. คลิกระบายสีบนภาพ

1. คลิกเลือก Brush Tool


หรือ Pencil Tool

การระบายสีดวย Airbrush Tool 
เปนเครื่องมือที่ใชระบายสีที่จะใหลักษณะเหมือนกับการพนสี จะมีการกระจายตัวของเม็ดสีมากกวาดินสอ และ
พูกัน สามารถใชงาน Airbrush Tool ได ดังนี้
Page 40

1. คลิกเลือก Airbrush Tool


2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม
o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีที่พนลงไป
o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีที่พนลงไปกับสีของภาพเดิม
o Brush กําหนดลักษณะของหัวแปรง
o Scale กําหนดขนาดของหัวแปรง
o Brush Dynamics ตั้งคาเพิ่มเติม เชน แรงกด (Pressure) ความไว(Velocity) หรือตั้งแบบสุม
(Random) เหมาะกับการใชกับเครื่อง Tablet
o Fade out กําหนดลักษณะเสนใหคอยๆ จางหายไป สามารถกําหนดระยะ Length เปนความยาว
ของเสนที่คอยๆ จางหายไป
o Apply Jitter กําหนดความถี่/หางของหัวแปรงเมื่อลากเสนตอเนื่อง
o Use color from gradient กําหนดสีเสนเปนแบบการไลเฉดสี (Gradient)
o Rate กําหนดความหนาแนนของสีที่พนออกมา
o Pressure กําหนดความเขมของสีที่พนออกมายิ่งคานอยสีจะดูบางมาก
3. คลิกระบายสีบนภาพ

1. คลิกเลือก
Airbrush Tool
2. กําหนดคุณสมบัติ
ของเครื่องมือ
3. คลิกระบายสีบนภาพ

การวาดเสนดวย Ink Tool 
เครื่องมือ Ink Tool เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับวาดเสนโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถวาดเสนไดในหลายๆ ลักษณะ
เราสามารถใชงานเครื่องมือ Ink Tool ได ดังนี้
Page 41

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Ink Tool


2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม
o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของสีเสน
o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเสนกับสีของภาพเดิม
o Adjustment กําหนดลักษณะของหัวปากกา
o Size กําหนดขนาดของหัวปากกา
o Angle กําหนดมุมเอียงของปากกาโดยจะอางอิงจากแนวนอนเปนหลัก
o Sensitivity กําหนดลักษณะของเสนที่ไดตามการเขียน
o Size กําหนดขนาดของปลายปากกา
o Tilt การกําหนดความเอียง การกระดกปากกา ซึ่งจะสัมพันธกับคามุม Angle
o Speed กําหนดความเร็วในการลากเสนที่คลายกับการลากเสนปากกาจริง คือถาลากชาเสน
ที่ไดก็จะหนา แตถาลากเร็วเสนที่ไดก็จะบาง
o Type กําหนดรูปแบบของหัวปากกา มีใหเลือก 3 แบบ คือ แบบวงกลม แบบสี่เหลี่ยม แบบสี่เหลี่ยม
ขนมเปยกปูน
o Shape คลิกเพื่อบิดรูปรางกําหนดลักษณะรูปแบบหัวปากกาเพิ่มเติม
3. คลิกวาดเสน

1. คลิกเลือก Ink Tool

2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ
3. คลิกวาดเสนบนภาพ

การลบภาพทีไ่ มตองการ 
จะใชเครื่องมือ Eraser Tool ซึ่งเปนเครื่องมือสําหรับลบสวนประกอบภายในภาพที่ไมตองการออก
สามารถใชงาน Eraser Tool ไดดังนี้
Page 42

1. คลิกเลือก Eraser Tool


2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือเพิ่มเติม
o Opacity กําหนดคาความโปรงแสงของรอยลบ
o Brush กําหนดลักษณะของหัวแปรงรอยลบ
o Scale กําหนดขนาดของหัวแปรงรอยลบ
o Brush Dynamics ตั้งคาเพิ่มเติม เชน แรงกด (Pressure) ความไว(Velocity) หรือตั้งแบบ
สุม (Random)
o Fade out กําหนดลักษณะเสนรอยลบใหคอยๆ จางหายไป สามารถกําหนดระยะ Length
เปนความยาวของรอยลบที่คอยๆ จางหายไป
o Apply Jitter กําหนดความถี่/หางของหัวแปรงรอยลบเมื่อลากเสนตอเนื่อง
o Incremental กําหนดลักษณะความเขมของการลบ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นตามแรงกด หรือถูกลบซ้ําไป
เรื่อยๆ แตจะลบไดสูงสุดแค 100% เทานั้น
o Hard Edge กําหนดใหขอบของรอยลบคมไมมีการไลสี ทําใหรอยลบดูแข็ง
o Anti erase กําหนดลักษณะการลบภาพโดยไมทําลายภาพตนฉบับ จะใชงานในเลเยอรภาพ
โหมด Alpha channel
3. คลิกลบสวนที่ไมตองการบนภาพ

1. คลิกเลือก Eraser Tool


2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ

3. คลิกลบสวนที่ไมตองการบนภาพ
Page 43

การยอนกลับการทํางานทีละขั้นตอน 
ทันทีที่เราทํางานผิดพลาด เราสามารถทําการยอนกลับไปยังการทํางานลาสุดกอนการผิดพลาด หรือยอนกลับการ
ทํางานทีละขั้นตอนไปเรื่อยๆ จนกวาจะถึงขั้นตอนที่ตองการ โดยยกเลิกขั้นตอนที่เพิ่งทําผานมาดวยคําสั่ง Edit>Undo
State Change หรือกดคีย <Ctrl+Z>

แสดงขั้นตอนการลบ เปนพื้นที่สีขาว ซึ่งเปน เมื่อกดปุม <Crtl+Z> ภาพพื้นที่สขี าวที่เกิดจากการ


ขั้นตอนลาสุด ลบภาพจะหายไป

การยอนกลับการทํางานในหลายขั้นตอน 
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงภาพ ขั้นตอนการทํางานนั้นจะถูกบันทึกลงในไดอะล็อก Undo History โดย
อัตโนมัติ เราสามารถยอนกลับการทํางานไดตามจํานวน Memory ที่มีอยูในเครื่อง โดยขั้นตอนที่ทํากอนจะถูกเรียงอยูบน
และขั้นตอนลาสุดจะอยูลางสุดในรายการ ดังนั้นถาเราทํางานผิดพลาดมาหลายคําสั่ง จะทําการยอนกลับการทํางานดวย
Undo History ไดรวดเร็วกวาการกดคีย <Ctrl+Z> ดูตัวอยางกันดังนี้

ไดอะล็อก Undo History จะแสดงขั้นตอน


1. ใช ระบายสีลงบนภาพ การแตมสีที่เราตกแตงลงในภาพแลว
Page 44

2. คลิกเมาสที่ขั้นตอนแรกเพื่อยกเลิกการ หรือคลิกยอนไปเฉพาะ
แตมสีทั้งหมดที่เราทําไวกอนหนานี้บนภาพ ขั้นตอนที่ตองการ

ถาเราทําการ Undo การทํางานหนึ่งขั้นตอนหรือมากกวานั้น แลวจัดการชิ้นงานนั้นดวยคําสั่งอื่นๆ โดยไมไดใช


Undo หรือ Redo เราจะไมสามารถทําการ Redo คําสั่งที่เรา Undo นั้นไดอีก วิธีที่ชวยแกปญหานี้ได คือ ทําการ
คัดลอกชิ้นงาน แลวจัดการกับชิ้นงานใหมที่คัดลอกมานี้แทน (คําสั่ง Undo/Redo จะไมถูกคัดลอกตามมากับชิ้นงาน
ใหม)

การตัดภาพเฉพาะสวน 
ภาพที่เราใชงานอาจจะมาจากแหลงตางๆ ภายในภาพอาจจะมีสวนที่ไมตองการติดมาดวย ดังนั้นเราสามารถตี
กรอบเลือกเฉพาะสวนที่เราตองการ สวนที่เหลือก็ตัดทิ้งไปได โดยใชเครื่องมือ Crop Tool ซึ่งจะเปนการตัดภาพให
เหลือแตสวนที่เราเลือก โดยเมื่อทําการตัดภาพแลวไมสามารถแกไขอะไรไดอีก ดังนี้

1. คลิกเลือก Crop Tool


2. คลิกลากเมาสกําหนดขอบเขตของภาพที่ตองการบนภาพเอง หรือจะกําหนดขอบเขต และรายละเอียด
ตางๆ ที่หนาตาง Crop ที่จะปรากฏขึ้นมาเมื่อเราคลิก ลงไปบนภาพ มีรายละเอียดดังนี้
• Current layer only ตัดเฉพาะเลเยอรที่ทํางานอยู
• Allow Growing กําหนดใหสามารถตัดพื้นที่นอกขิอบเขตภาพได (Inactive Padding
Area) โดยจะไดผลลัพทเปนภาพโปรงแสงในสวนนี้
• Expand from Center กําหนดใหตแหนงแรกที่เราคลิกเปนจุดกลางการตัดภาพ สามารถ
สลับการใชงานคําสั่งนี้และการตัดแบบปกติไดโดยการกด Crtl ระหวางทําการลากพื้นที่
• Fixed กําหนดพื้นที่ในการตัดภาพแบบตายตัว
o Aspect Ratio กําหนดอัตราสวนระหวางความกวาง และความสูง
o Width/Height เลือกกําหนดความกวาง หรือความสูงอยางใดอยางหนึ่งตามที่
ตองการ
o Size กําหนดขนาดความกวางและความสูงแบบตายตัว
• Position กําหนดตําแหนงที่ตองการตัดภาพ
• Size กําหนดขนาดพื้นที่ที่ตองการตัด สามารถปรับแตงขนาดพื้นที่ได
• Highlight กําหนดใหไฮไลทพื้นที่ที่เลือกตัด
Page 45

• Guides แสดงเสนไกดในพื้นที่ที่เลือก
• Auto Shrink Selection จะเปนเปนอ็อบชั่นสําหรับการยอขนาดการเลือกพื้นที่อัตโนมัติ
โดยจะตัดพื้นที่วางที่ไมจําเปนทิ้ง
3. คลิกภาพสวนที่เลือกตัดอีกครั้งเพื่อยืนยันการตัดภาพ หรือคลิกนอกบริเวณที่เลือกเพื่อยกเลิก

1. คลิกเลือก Crop Tool

กําหนดคุณสมบัติตางๆ

2. กําหนดขอบเขตในการ
ตัดภาพ แลวคลิกพื้นที่ที่
เลือกอีกครั้ง ผลลัพธที่ได

.
Page 46

บทที่ 3 
การตัดแตงภาพเฉพาะสวน 
ถาเราจะตกแตงภาพหรือตัดภาพบางสวนไปใชงาน โดยไมไดมีการตีกรอบกั้นบริเวณไวอาจทําใหการทํางาน
ผิดพลาดสงผลใหภาพออกมาไมสวยก็เปนได และในบทนี้จะทําใหเราสามารถเลือกตกแตงบางสวนของภาพที่ตองการ หรือ
จะตัดบางสวนของภาพออกไปปะซอนอยูบนอีกภาพหนึ่งโดยไมมีผลกระทบตอสวนอื่นๆ

เลือกพื้นที่ภาพรูปทรงเรขาคณิต 
เปนการเลือกพื้นที่ภาพในลักษณะที่ตองการขอบเขตตายตัว ซึ่งจะอยูในรูปทรงเรขาคณิต ไดแก สี่เหลี่ยม วงรี และ
วงกลม เปนตน เครื่องมือกลุมนี้จะมี 2 รูปแบบดวยกัน ดังนี้

การเลือกพื้นที่สี่เหลี่ยมดวย Rectangle Selection Tool   
ใชสําหรับเลือกพื้นที่สี่เหลี่ยม สามารถทําได ดังนี้

1. คลิกเลือก Rectangle Selection Tool


2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวน


ของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Round corners กําหนดใหพื้นที่ที่เลือกมีมุมมน

Expand from center กําหนดใหจุดแรกที่คลิกเปนศูนยกลางพื้นที่ที่เลือก

Fixed กําหนดพื้นที่ในการตัดภาพแบบตายตัว

o Aspect Ratio กําหนดอัตราสวนระหวางความกวาง และความสูง


Page 47

o Width/Height เลือกกําหนดความกวาง หรือความสูงอยางใดอยางหนึ่งตามที่


ตองการ
o Size กําหนดขนาดความกวางและความสูงแบบตายตัว

Position กําหนดตําแหนงที่ตองการเลือก

Size กําหนดขนาดพื้นที่ที่ตองการเลือก สามารถปรับแตงขนาดพื้นที่ได

Highlight กําหนดใหไฮไลทพื้นที่ที่เลือก

Guides แสดงเสนไกดในพื้นที่ที่เลือก

Auto Shrink กําหนดลักษณะสําหรับการยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหอัตโนมัติ โดยจะตัดพื้นที่วางที่


ไมจําเปนทิ้ง เหมาะกับการเลือกภาพที่เปนขอความ (text) หรือภาพที่มีพื้นหลังใส เมื่อเราคลิกลาก
เมาสเลือกพื้นที่เกิน ก็จะยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหพอดีภาพให

Shrink merged หากคําสั่ง Sample Merged ถูกเปดใชงานอยูดวยพรอมกับเลือกตัวเลือกนี้


คําสั่ง Auto Shrink จะสามารถใชขอมูลจากภาพที่เห็นทั้งหมด แมจะอยูคนละเลเยอรเพื่อประมวล
คําสั่ง แทนที่จะเลือกจากเลเยอรที่ทํางานอยูเทานั้น

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Rectangle Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options


Page 48

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่

การเลือกพื้นที่สี่เหลี่ยมมุมฉาก การเลือกพื้นที่สี่เหลี่ยมมุมมน

การเลือกพื้นที่วงรี และวงกลมดวย Ellipse Selection Tool   


ใชสําหรับเลือกพื้นที่วงรี และวงกลม สามารถทําได ดังนี้

1. คลิกเลือก Ellipse Selection Tool


2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวน


ของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น
Page 49

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Round corners กําหนดใหพื้นที่ที่เลือกมีมุมมน

Expand from center กําหนดใหจุดแรกที่คลิกเปนศูนยกลางพื้นที่ที่เลือก

Fixed กําหนดพื้นที่ในการตัดภาพแบบตายตัว

o Aspect Ratio กําหนดอัตราสวนระหวางความกวาง และความสูง


o Width/Height เลือกกําหนดความกวาง หรือความสูงอยางใดอยางหนึ่งตามที่
ตองการ
o Size กําหนดขนาดความกวางและความสูงแบบตายตัว

Position กําหนดตําแหนงที่ตองการเลือก

Size กําหนดขนาดพื้นที่ที่ตองการเลือก สามารถปรับแตงขนาดพื้นที่ได

Highlight กําหนดใหไฮไลทพื้นที่ที่เลือก

Guides แสดงเสนไกดในพื้นที่ที่เลือก

Auto Shrink กําหนดลักษณะสําหรับการยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหอัตโนมัติ โดยจะตัดพื้นที่วางที่


ไมจําเปนทิ้ง เหมาะกับการเลือกภาพที่เปนขอความ (text) หรือภาพที่มีพื้นหลังใส เมื่อเราคลิกลาก
เมาสเลือกพื้นที่เกิน ก็จะยอขนาดการเลือกพื้นที่ใหพอดีภาพให

Shrink merged คําสั่ง Auto Shrink จะใชขอมูลจากภาพที่เห็นทั้งหมดเพื่อประมวลคําสั่ง


แทนที่จะเลือกจากเลเยอรที่ทํางานอยูเทานั้น

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่
2. กําหนดลักษณะ
การเลือกพื้นที่ใน
Tool Options

1. คลิกเลือก Ellipse Selection Tool


Page 50

3. คลิก ผลลัพธการเลือกพื้นที่
เมาสเลือก
พื้นที่

NOTE  
การกําหนดคา Radius จะสงผลตอความฟุงเบลอของขอบภาพ

เมื่อเราเลือกพื้นที่และใช Move Tool คลิกเลื่อนพื้นที่ที่เลือก จะเห็นวาบริเวณของขอบภาพจะดูฟงุ เบลอ

TIP  
นอกจากนี้เรายังสามารถใชการกดคียรวมกับการคลิกเลือกได โดยไมจําเปนที่จะตองคลิกเลือกโหมด โดย

ƒ กดคีย <Shift> ไวขณะเลือกพื้นที่ จะเปนการเลือกพื้นที่เพิ่ม


ƒ กดคีย <Ctrl> ไวขณะคลิกเลือกพื้นที่ จะเปนการลบพื้นที่ที่เลือกออกจากพื้นที่เดิม
ƒ กดคีย <Ctrl> และ <Shift> พรอมกับการเลือกพื้นที่จะเปนการเลือกพื้นที่ที่มีความกวางและความ
ยาวเทากัน ถาใช จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และถาใช จะไดรูปวงกลม
ƒ กดคีย <Alt> จะทําใหสามารถคลิกเลื่อนตําแหนงของการเลือกพื้นที่ได

เลือกพื้นที่แบบอิสระ 
การเลือกพื้นที่ในลักษณะนี้เหมาะกับภาพที่ไมเปนรูปทรงที่แนนอนเหมือนรูปเรขาคณิต ดังนั้นการเลือกพื้นที่จะ
สามารถลากไปตามขอบภาพไดอยางอิสระ สามารถเลือกได 2 รูปแบบ คือ
Page 51

เลือกพื้นที่แบบอิสระดวย Free Selection Tool  
1. คลิกเลือก Free Selection Tool
2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นที่


เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Free Selection Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน
Tool Options

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่


Page 52

เลือกพื้นที่แบบชิดขอบดวย Scissor Tool  
สําหรับภาพที่มีขอบคมชัด และสีของเสนขอบตางกับพื้นหลังของภาพอยางชัดเจน เราสามารถใช Scissor Tool
เลือกพื้นที่ โดยจะติดหนึบเขากับแนวขอบภาพไดอยางงายดาย ดังนี้

1. คลิกเลือก Scissor Tool


2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวน


ของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Show interactive boundary ขณะเลือกพื้นที่ (กอนทําการคลิกเพื่อตกลงใชการเลือกพื้นที่)


จะแสดงขอบเขตการเลือกจริงที่คํานวณแลว เพราะปกติถาไมเลือกอ็อบชั่นนี้ การคลิกเลือกเสนขอบจะ
เปนเสนตรงกอน เมื่อปลอยเมาสจึงเห็่นผลลัพธเสนขอบการเลือก

3. คลิกเลือกพื้นที่จนครบ และคลิกที่จุดเริ่มตนอีกครั้งเพื่อสิ้นสุดการเลือกพื้นที่
4. คลิกภายในพื้นที่ที่เลือก เพื่อตกลงเลือกพื้นที่ที่เลือก

1. คลิกเลือก Scissor Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่
ใน Tool Options
Page 53

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่


4. คลิกภายในพื้นทีท่ ี่เลือก
เพื่อตกลงเลือกพื้นที่

TIP  
ขณะที่เราคลิกเลือกขอบภาพ กอนที่จะคลิกเพื่อตกลงเลือกพื้นที่เปนเสนประ หากเราเลือกตําแหนงของภาพ
ผิดพลาด เราสามารถคลิกที่ รอยตอของเสนขอบ เพื่อแกไขการเลือกพื้นที่ได

คลิกเลื่อนจุดรอยตอของเสนขอบ ผลลัพธที่ได

เลือกพื้นที่ทมี่ ีสีใกลเคียงกัน 
เปนการเลือกพื้นที่ภาพที่มีสีใกลเคียงกับคาสี ณ จุดพิกเซลที่เราคลิกเมาสเลือก สามารถเลือกได 2 ลักษณะ ดังนี้

เลือกพื้นที่ที่มีสีใกลเคียงกันดวย Fuzzy Select Tool 
1. คลิกเลือก Fuzzy Select Tool
2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว
Page 54

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวน


ของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Antialiasing จะเปนการกําหนดเกี่ยวกับการกําหนดความกลมกลืนขอบภาพใหมีมากขึ้น

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Select transparent areas จะทําใหสามารถเลือกพื้นที่ที่เปนTransparent ที่ไมมีการเติมสี


ไดดวย

Sample merged จะทําใหเราเลือกสีของภาพไดในทุกเลเยอรที่มีอยู หากไมทําการเช็คบ็อกซที่


ออบชั่นนี้ โปรแกรมจะทําการเลือกพื้นที่ใน active layer หรือเลเยอรที่ใชงานอยูเทานั้น

Threshold กําหนดความแตกตางของคาสี ซึ่งเปรียบเทียบจากพิกเซลบริเวณที่เราคลิกเมาส (หาก


กําหนดคานอยจะทําใหจํานวนสีที่ถูกเลือกมีจํานวนนอย และหากกําหนดคามากจะทําใหจํานวนสีที่ถูก
เลือกมีจํานวนมากขึ้น ทําใหคาสีที่ใกลเคียงหรืออยูในโทนเดียวกันถูกเลือกไปดวย)

Selection เปนการกําหนดองคประกอบในภาพที่ใชคํานวณคาความเหมือน มีใหเลือกคือ


by
Red, Green, Blue, Hue, Saturation และ Value

3. คลิกเมาสเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Fuzzy Select Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่


Page 55

ตัวอยางการกําหนดคา Threshold ที่ตางกัน 

 
กําหนดคา Threshold เทากับ 20 กําหนดคา Threshold เทากับ 150

เลือกพื้นที่ที่มีสีเหมือนกันดวย Select By Color Tool  
เปนเครื่องมือที่ใชเลือกพื้นที่ภาพที่มีสีใกลเคียงกับคาสี ณ จุดพิกเซลที่เราคลิกเมาสเลือก คลายกับเครื่องมือ
Fuzzy Select Tool แตจะเลือกพื้นที่ในจุดอื่นๆ ที่มีสีใกลเคียงกันดวย

1. คลิกเลือก Select By Color Tool


2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options เชนเดียวกับเครื่องมือ Fuzzy selection Tool
3. คลิกเลือกพื้นที่

1. คลิกเลือก Select by Color Tool

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

3. คลิกเมาสเลือกพืน้ ที่ ผลลัพธการเลือกพื้นที่

เลือกพื้นที่โฟรกราวนดดวย Foreground Select Tool  
เปนเครื่องมือที่ใชเลือกพื้นที่สวนหนาที่เราตองการ โดยเครื่องมือนี้จะทําการตัดขอบพื้นที่ที่เราตองการออกจาก
พื้นหลังอยางอัตโนมัติ มีวิธีการดังตอไปนี้

1. คลิกเลือก Foreground Select Tool เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป


Page 56

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options ดังนี้

Mode เลือกลักษณะการเลือกพื้นที่

แบบปกติ คือ จะทําการเลือกพื้นที่ใหมทุกครั้งเมื่อคลิกเลือกภาพ

การเลือกพื้นที่เพิ่ม เราสามารถเลือกพื้นที่เพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมที่เลือกไวแลว

การลบพื้นที่ เราสามารถลบพื้นที่ที่เราเลือกออกจากพื้นที่ที่เลือกไวเดิม

การเลือกพื้นที่รวมกัน คือ เมื่อเราคลิกเลือกพื้นที่ครั้งตอไป จะเปนการเลือกพื้นที่ในสวน


ของพื้นที่เดิมที่ซอนทับกับสวนที่เราเลือกใหม

Feather edges กําหนดความฟุงเบลอของขอบการเลือกพื้นที่

Contiguous กําหนดใหเลือกเฉพาะพื้นที่ที่อยูบริเวณเดียวกับที่ลากเสนกําหนดพื้นสีที่ตองการ
เทานั้น หากไมเลือกตัวเลือกนี้ โปรแกรมจะทําการเลือกบริเวณสีใกลเคียงกับที่ลากเสนผานทั้งหมด แม
พื้นที่ไมอยูติดกันก็ตาม

Mark Foreground กําหนดใหสีโฟรกราวนดเปนสีของเสน สีถูกเสนลากทับจะเปนตัวกําหนด


พื้นที่โฟรกราวนด

Mark Background เลือกตัวเลือกนี้ สีของเสนจะเปลี่ยนเปนสีของแบคกราวนด เมาสเปนรูปไอ


คอนยางลบเล็กๆ สีที่ถูกเสนคาดทับจะเปนสีที่เราไมเลือกมาคํานวณเปนพื้นที่โฟรกราวนด

Small brush / Large brush กําหนดขนาดเสน ยิ่งเล็กยิ่งทําใหการคํานวณพื้นที่ละเอียดมากขึ้น

Smoothing ยิ่งคามาก ยิ่งทําใหพื้นที่เล็กๆ จุดๆ ที่เปน Non-Selection แตอยูบริเวณพื้นที่ที่เรา


จะกําหนดเปนโฟรกราวนดหมดไป

Preview color กําหนดสีที่ใชแสดงพื้นที่แบคกราวนด มีสีแดง เขียว น้ําเงิน

Color Sensitivity กําหนดใหสามารถเลือกสีไดละเอียดยิ่งขึ้น

3. คลิกเลือกแบงพื้นที่โฟรกราวนดและแบคกราวนดออกจากกันอยางคราวๆ เมื่อเสร็จแลวจะเห็นการการแบงพื้นที่
ออกจากกัน โดยพื้นที่แบคกราวนดถูกไฮลไลทไว

4. เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป ใหลากเสนคาดทับบริเวณพื้นที่โฟรกราวนด โปรแกรมจะนําคาสีบริเวณที่ถูกทับไป


คํานวณหาพื้นที่โฟรกราวนดที่แนนอน เมื่อปลอยเมาส พื้นที่โฟรกราวนดและแบคกราวนดจะถูกแบงอยางแมนยํา
มากขึ้น

5. กด Enter ไดพื้นที่ Selection ตรง โฟรกราวนด

. คลิกเลือก Foreground Select Tool


Page 57

2. กําหนดลักษณะการเลือกพื้นที่ใน Tool Options

ภาพตนฉบับ 3. เลือกพื้นที่ที่จะใชเปนโฟรกราวนดอยางคราวๆ

4. ลากเสนทับบริเวณสีที่ตองการใช พื้นที่ที่ได 5. กด Enter


คํานวณเปนโฟรกราวนด

การปรับโหมดการเลือกพืน้ ที ่
การเลือกพื้นที่ดวยเครื่องมือแตละชนิดจะเหมาะกับลักษณะของภาพที่แตกตางกัน แตก็มีภาพบางลักษณะที่เรา
จะตองใชเครื่องมือหลายตัวทํางานรวมกัน เพื่อใหการเลือกพื้นที่ครอบคลุมภาพในสวนที่เรา ตองการมากที่สุด ที่ Tool
Options ของเครื่องมือการเลือกพื้นที่ทุกตัวจะมีตัวเลือกในการปรับรูปแบบการเลือกพื้นที่ที่เรามาใชได ดังนี้

การเลือกพื้นที่ใหม 
ในกรณีที่เลือกพื้นที่ภาพเรียบรอยแลว ใหกด ที่ Tool Options ใหเราลากเมาสไปบริเวณพื้นที่ๆ ตองการ
เพื่อเลือกพื้นที่ใหม (อาจเปลี่ยนไปใชเครื่องมือเลือกพื้นที่อื่นได)
Page 58

เลือกพื้นที่ครั้งที่ 1 เลือกพื้นที่ครั้งที่ 2 ผลลัพธการเลือกพื้นที่

เลือกขอบเขตภาพเพิ่มขึ้นจากเดิม 
ในกรณีที่ตองการเลือกขอบเขตภาพเพิ่มขึ้น ใหเลือก หรือกดคีย <Shift> คางไว ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป
(หากเราใชเครื่องมืออื่นในการเพิ่มพื้นที่ เราจะเห็นเครื่องหมายบวกติดอยูดวยเสมอ เชน ) หลังจากนั้น
ใหเราคลิกเมาสคางไว แลวจึงลากเมาสไปบริเวณพื้นที่ๆ ตองการเพิ่ม

เลือกพื้นที่ครั้งที่ 1 เลือกพื้นที่ครั้งที่ 2 ผลลัพธการเลือกพื้นที่

การลดขอบเขตภาพที่เลือกไวจากเดิม 
ในกรณีการลดขอบเขตที่เลือกไวลง ใหเลือก หรือกดแปน <Control> คางไว ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปน
รูป (หากเราใชเครื่องมืออื่นในการตัดพื้นที่ เราจะเห็นเครื่องหมายลบติดอยูดวยเสมอ เชน ) หลังจากนั้น
ใหเราคลิกเมาสคางไว แลวลากเมาสไปบริเวณพื้นที่ๆ ตองการตัด

เลือกพื้นที่ครั้งที่ 1 เลือกพื้นที่ครั้งที่ 2 ผลลัพธการเลือกพื้นที่


 

การเลือกพื้นที่เฉพาะสวนที่ตัดกันของพื้นที่เดิม  
ในกรณีที่เราตองการเลือกพื้นที่เฉพาะสวนที่ตัดกัน ใหกด หรือกดคีย <Shift+Ctrl> คางไว ตัวชี้เมาสจะ
เปลี่ยนเปนรูป (หากเราใชเครื่องมืออื่นในการตัดพื้นที่ เราจะเห็นเครื่องหมายตัว u คว่ําติดอยูดวยเสมอ เชน
) หลังจากนั้นใหคลิกเมาสลากพื้นที่สวนที่เราตองการบนภาพ การเลือกพื้นที่จะเหลือเฉพาะสวนของเสนประที่
ตัดกันเทานั้น
Page 59

เลือกพื้นที่ครั้งที่ 1 เลือกพื้นที่ครั้งที่ 2 ผลลัพธการเลือกพื้นที่

เลือกพื้นที่จากคําสัง่ Select 
นอกจากจะใชเครื่องมือในกลุม Selection Tool ในการเลือกพื้นที่ไดแลว เรายังสามารถเลือกพื้นที่ในลักษณะ
ตางๆ ไดดวยคําสั่ง Select ที่เมนูของหนาตาง Image Window โดยเลือกคําสั่ง Select และเลือกลักษณะการเลือก
พื้นที่

เลือกพื้นที่ภาพทั้งหมด
ยกเลิกการเลือกพื้นที่ภาพทั้งหมด
เลือกพื้นที่ตรงขามกับที่เลือกไว
กําหนดพื้นที่ที่เลือกใหเปนเลเยอรลอย
เลือกพื้นที่ดวยเครือ่ งมือ Select By Color Tool
เลือกพื้นที่จากเสนพาธที่สราง

ตัวอยางการเลือกพื้นที่ตรงขาม 
เปนการเปลี่ยนจากพื้นที่ไมถูกเลือกในภาพเปนพื้นที่ที่ถูกเลือก และพื้นที่ที่ถูกเลือกกลายเปนพื้นที่ที่ไมถูกเลือก
(ใชกับเครื่องมือ Selection ทุกประเภท) ไดดังนี้

1. คลิกเลือกพื้นที่ในสวนของพื้นหลังภาพ ในที่นี้เราจะใชเครื่องมือ Fuzzy Selection Tool ในการเลือก


2. กําหนดคาความแตกตางของคาสีใน Tool Options ตัวอยางนี้กําหนดที่ 80 (คาต่ําจะเลือกสีที่ใกลเคียงกับ
ตําแหนงสีที่เราคลิกเมาสมากๆ เทานั้น)
3. ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป ใหเราคลิกเมาสลงบนจุดสีที่ตองการเลือกบริเวณสีที่ใกลเคียงกับจุดที่เราคลิกเมาส
จะถูกเลือกไปดวย
4. เลือกคําสั่ง Select>Invert หรือกดคีย <Ctrl+I>
5. สังเกตการเปลี่ยนแปลง จะเห็นวาเสนประจะมาแสดงอยูในพื้นที่ที่เราไมไดเลือกไวในตอนแรก
Page 60

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Fuzzy Selection Tool

2. กําหนดคาความแตกตางของ
คาสีใน Tool Options

3. เลือกพื้นที่ในสวนของพื้นหลัง จะไดการเลือกพื้นที่ของพื้นหลัง

4. เลือกคําสั่ง Select>Invert 5. จะไดผลลัพธการเลือกพื้นที่ตรงขาม


Page 61

ตัวอยางการเลือกพืน้ ที่นําไปตกแตงสีสัน

การเลือกพื้นที่อยางปราณีตดวย Quick Mask Toggle 
ในกรณีที่พื้นที่ๆ เลือกเปนพื้นที่อิสระ ไมมีรูปทรงที่แนนอน รวมทั้งมีความแตกตางของสีภาพกับสีพื้นหลังนอย
เราจึงใชสีมาแยกความแตกตางระหวางพื้นที่ๆ ถูกเลือกและพื้นที่ๆ ไมถูกเลือก โดยบริเวณที่มีสีแดงเปนเหมือนกับการใส
หนากาก หามไมใหทําการปรับแตงคาบริเวณนั้น ดังนี้

1. คลิก เพื่อเขาสูโหมดควิกมาสก
2. ใช คลิกลบพื้นที่ในสวนที่เราตองการ
3. คลิก อีกครั้งเพื่อกลับมาที่โหมดปกติ จะไดการเลือกพื้นที่

1. คลิกเพื่อเขาสูโหมดควิกมาสก 3. คลิกอีกครั้งเพื่อกลับมาที่โหมดปกติ

2. ใช คลิกลบพื้นที่ในสวนที่เรา จะไดการเลือกพื้นที่

TIP : ในกรณีที่เราลบพื้นที่เกินจากที่เราตองการ เราสามารถใช ระบายสีพื้นที่ใหเปนสีแดงเหมือนเดิมได


Page 62

สวนที่ลบเกินออกมา
ใช ระบายสีพื้นที่ใหเปนสี
แดงเหมือนเดิม

การจัดการพืน้ ที่ที่เลือกดวย Selection Editor 


เราสามารถจัดการการเลือกพื้นที่ไดจากหนาตาง Selection Editor โดยเลือกที่คําสั่ง Select>Selection
Editor จะแสดงหนาตางของ Selection Editor ซึ่งมีปุมคําสั่งตางๆ ดานลาง ดังนี้

แสดงสวนที่ถูกเลือก

ยกเลิกการเลือกพื้นที่ทั้งหมด
สราง Selection Mask ที่ Channel

เลือกพื้นที่ทั้งหมด ใสสีใหเสนขอบของการเลือกพื้นที่

เลือกพื้นที่ตรงขาม สราง Selection Mask ที่ Channel

การปรับแตงการเลือกพื้นที ่
เมื่อเราเลือกพื้นที่แลวเราสามารถปรับแตงการเลือกพื้นที่เพิ่มเติม เพื่อใหไดลักษณะของการเลือกพื้นที่ที่ตองการ
ไดหลายรูปแบบ ดังนี้

ปรับขอบการเลือกพื้นที่ใหฟุงเบลอ 
เปนการปรับขอบของการเลือกพื้นที่ใหมีความฟุง เพื่อใหการตกแตงภาพดูกลมกลืนขึ้น ไดดังนี้

1. เลือกพื้นที่ดวย Ellipse Selection Tool


2. เลือกคําสั่ง Select>Feather...
Page 63

3. จะปรากฏหนาตาง Feather Selection กําหนดระยะความฟุงเบลอของการเลือกพื้นที่


4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด
5. คลิกที่ขอบภาพ และเลื่อนภาพในพื้นที่ที่เลือกออกมา จะเห็นวาขอบของการเลือกนั้นฟุงดูกลมกลืน

1. คลิกเลือกพื้นที่

2. เลือกคําสั่ง Select>Feather...

3. กําหนดคา Feather

4. คลิกเมาส

ผลลัพธเมื่อคลิกเลือ่ นภาพ ผลลัพธเมื่อกําหนด Feather เทากับ 0

NOTE  
หากเราตองการปรับขอบของภาพ ใหไมมีความฟุงเบลออยางรวดเร็ว ก็สามารถทําได โดยใชคําสั่ง Sharpen
Page 64

ลดขนาดการเลือกพื้นที่อัตโนมัต ิ
จะเปนการลดขนาดของการเลือกพื้นที่ลงตามสัดสวนของการเลือกพื้นที่เดิม ตามระยะขอบการเลือกพื้นที่ ดังนี้

1. เลือกพื้นที่
2. เลือกคําสั่ง Select>Shrink
3. จะปรากฏหนาตาง Shink Selection กําหนดระยะจากขอบการเลือกพื้นที่ที่ตองการใหลดลง
4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด
5. ขนาดการเลือกพื้นที่จะลดลง

1. เลือกพื้นที่

2. เลือกคําสั่ง
Select>Shrink

3. กําหนดระยะในการ
ลดขนาดพื้นที่

4. คลิกเมาส

5. ผลลัพธการเลือกพื้นที่จะลดลง
Page 65

เพิ่มขนาดการเลือกพื้นที่ 
จะเปนการเพิ่มขนาดการเลือกพื้นที่ ตามระยะขอบการเลือกพื้นที่โดยรอบคลายกับการเปลงแสงออกมา ดังนี้

1. เลือกพื้นที่
2. เลือกคําสั่ง Select>Glow
3. จะปรากฏหนาตาง Glow Selection กําหนดระยะจากขอบการเลือกพื้นที่ที่ตองการใหเพิ่มขึ้น
4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด
5. ขนาดการเลือกพื้นที่จะเพิ่มขึ้น
1. เลือกพื้นที่

2. เลือกคําสั่ง Select>Glow

3. กําหนดระยะในการเพิ่มขนาดพื้นที่

4. คลิกเมาส 5. ผลลัพธการเลือกพื้นที่จะเพิ่มขึ้น

เปลี่ยนการเลือกพื้นที่เปนการเลือกพื้นที่เสน 
จะเปนการสรางการเลือกพื้นที่ใหกลายเปนการเลือกพื้นที่ของเสนขอบ ดังนี้

1. เลือกพื้นที่
2. เลือกคําสั่ง Select>Border
3. จะปรากฏหนาตาง Border Selection กําหนดความหนาของเสนที่ตองการ
• Feather border ทําใหขอบพื้นที่ที่เลือกนุมนวลขึ้น
Page 66

• Lock selection to image edges Lock selection to image edges กําหนดให


ขอบของพื้นที่ที่เลือกไมเปลี่ยนแปลงเมื่อวางชนขอบของภาพพอดี
ไมกําหนด Lock selection to image edges

กําหนด Lock selection to image edges

4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด
5. จะเกิดการเลือกพื้นที่เปนเลนขอบ

1. เลือกพื้นที่

2. เลือกคําสั่ง
Select>Border

กําหนดคุณสมบัติของเสน

5. ผลลัพธจะเกิดการเลือก
พื้นที่เปนเสนขอบ
4. คลิกเมาส

การบันทึกการเลือกพื้นที่ และการนํากลับมาใชใหม 
เราสามารถบันทึกการเลือกพื้นที่โดยเก็บเปนมาสกใน Channel ได โดยการใชคําสั่ง Save to Channel
ซึ่งจะเปนประโยชนเมื่อเราตองการเรียกการเลือกพื้นที่นั้นๆ มาใชอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งสามารถทําไดดังนี้

1. หลังจากไดทําการเลือกพื้นที่จากคําสั่ง Selection ตางๆ แลว คลิกเลือก Select>Save to Channel


(หรือเปดหนาตาง Selection Editor ก็จะพบคําสั่ง Save to Channel เชนกัน)
Page 67

2. ที่พาเล็ต Channel จะปรากฏเลเยอร Selection Mask Copy ซึ่งเปนการมาสกพื้นที่ที่เราเลือกไว เรา


สามารถทําการยกเลิกการเลือกพื้นที่เพื่อจัดการรูปภาพดวยคําสั่งอื่นๆ ได

3. เมื่อตองการนําการเลือกพื้นที่นั้นมาใชใหม ใหคลิกเลือกเลเยอร Selection Mask Copy ที่ ที่พาเล็ต


Channel หรือคลิกขวาที่เลเยอรนั้น เพื่อไปยังคําสั่ง Channel Menu>Channel to Selection

4. จะปรากฏการเลือกพื้นที่เดิมขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง

หรือปดหนาตาง Selection Editor

1. คลิกเลือกคําสั่ง Select>Save to Channel Save to Channel

2. จะปรากฏเลเยอร
Selection Mask Copy

เราสามารถทําการยกเลิก
การเลือกพื้นที่ได

4. จะปรากฏการเลือกพื้นที่เดิม
3. ที่พาเล็ต Channel เลือกคําสั่ง Channel Menu>channel to
ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง
Selection เมื่อตองการใหการเลือกพื้นที่กลับมาอีกครั้ง
Page 68

บทที่ 4 
การจัดวาง และปรับรูปทรง 
หลังจากที่ไดนําภาพสวนประกอบตางๆ มาวางซอนกันจนเขาที่แลว ในขั้นตอนนี้เราจะมาทําการจัดวาง ปรับ
ขนาดภาพ หมุนภาพ และบิดภาพ เพื่อใหสวนประกอบของภาพเหลานี้เขากัน โดยใชเครื่องมือในกลุม Transform Tool

การใชงานเครื่องมือวัดตําแหนงตางๆ 
กอนการตกแตงภาพ เชน ภาพคน ภาพสิ่งของที่ตองการระบุตําแหนงของวัตถุเหลานั้นใหแนชัด เพื่อตกแตงภาพเฉพาะ
จุด โปรแกรมจึงจัดใหมีเครื่องมือที่ชวยอํานวยความสะดวกในการจัดวางงานของเรา ซึ่งไดแกเครื่องมือตางๆ ดังนี้

• แถบไมบรรทัด (Ruler) ใชอางอิงตําแหนง และตรวจดูขนาดของวัตถุ


• เสนไกด (Guide) เปนเสนที่ใชอางอิงในการจัดวางวัตถุในชิ้นงาน
• เสนกริด (Grid) เปนเสนตารางที่ใชเปนแนวอางอิงในการจัดวางวัตถุในชิ้นงาน
• เครื่องมือวัด (Measure Tool) ไมบรรทัดที่ใชวัดระยะทาง ขนาด และวัดมุมความเอียงของวัตถุ

การบอกตําแหนงภาพดวย Ruler  
Ruler มีลักษณะเหมือนไมบรรทัดที่อยูบริเวณดานบน และดานซายของหนาตางเปนตัวอางอิงเพื่อใชบอก
ตําแหนงตัวชี้เมาสบนภาพ

เมื่อวางเมาสบนภาพจะแสดงลูกศร
ตําแหนงบนแถบไมบรรทัด

 
การเปลี่ยนหนวยวัดใหกับไมบรรทัด  
เราสามารถเปลี่ยนหนวยวัดที่ไมบรรทัดได โดยคลิกเลือกหนวยที่ดานลางของหนาตาง Image Window
Page 69

คลิกเลือกเพื่อเปลี่ยน
หนวยวัด

ผลลัพธแถบไมบรรทัดเปลี่ยนไป

   
 

การซอน/แสดงแถบไมบรรทัด 
โดยปกติแลวเมื่อเราเปดไฟล หรือสรางไฟลภาพขึ้นมาใหม จะปรากฏแถบของไมบรรทัดขึ้นมาใหเราใชงานทันที
แตเราสามารถซอนหรือแสดงแถบไมบรรทัดได โดยเลือกที่คําสั่ง View>Show Ruler ถามีเครื่องหมาย จะเปนการ
แสดงไมบรรทัด ถาไมมีเปนการซอนแถบไมบรรทัดไว

แถบไมบรรทัดหายไป

เครื่องหมาย
หายไป

   
เลือกคําสั่ง View>Show Ruler
 

แสดงจุดอางอิงบนภาพดวยเสนไกด 
เสนไกดเปนเสนที่ใชในการอางอิงระยะบนภาพ โดยเราสามารถใชเสนไกดไดทั้งแนวตั้ง และแนวนอน หรืออาจ
นําเสนไกดทั้ง 2 แนวมาตัดกัน เพื่อเกิดพิกัดที่ชวยบงบอกระยะสําหรับแกไขภาพ การวางวัตถุ เปนตน โดยเสนเหลานี้จะไม
ถูกพิมพออกทางเครื่องพิมพ ซึ่งการสรางเสนไกดมีวิธีดังนี้

1. นําเมาสไปวางที่แนวไมบรรทัดในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได จากนั้นลากเมาสออกมาในตําแหนงที่ตองการก็จะมี
เสนไกดแสดงออกมาดวย
Page 70

2. เมื่อไดตําแหนงที่ตองการแลว ปลอยเมาส เสนไกดจะเปลี่ยนเปนเสนประสีฟา ซึ่งเราสามารถสรางกี่เสนก็ไดตาม


ตองการ (เมื่อวางเมาสที่เสนไกด เสนไกดจะเปลี่ยนเปนสีแดง และตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป เมื่อคลิกเสน
ไกดจะเปลี่ยนเปนสีเขียว)

ลากเมาสออกมาในตําแหนงที่ตองการแลว
ปลอยเมาส จะมีเสนไกด แสดงตามออกมา
ดวย

การเคลื่อนยายเสนไกด 
หากตองการยายตําแหนงเสนไกด ใหคลิกยังเสนไกดที่ตองการยายตําแหนงคางไว และลากไปยังตําแหนงใหมที่
ตองการ

คลิกเสนไกดคางไวแลวลากไปยัง
ตําแหนงที่ตองการ

การลบเสนไกด  
การลบเสนไกดคือ การยายเสนไกดออกไปนอกหนาตางภาพ เสนไกดก็จะหายไป โดยการคลิกเมาสคางไว แลว
ลากออกไปที่แถบไมบรรทัด
Page 71

คลิกที่เสนคางไวแลวลากไปยัง
แถบไมบรรทัด

การซอนและแสดงไกด  
หากตองการซอนเสนไกดไว ใหเลือกคําสั่ง View>Show Guides ใหเครื่องหมาย หายไป และในทาง
กลับกัน ถาตองการใหเสนไกดกลับมาแสดงก็ใหเลือกคําสั่ง View>Show Guides อีกครั้ง

เลือกคําสั่ง
View>Show Guides

แสดงเสนไกด ไมมีเครื่องหมาย ไมแสดงเสนไกด


Page 72

การแสดงจุดพิกัดบนภาพดวยกริด 
กริดเปนจุดที่บอกพิกัดเพื่ออางอิงตําแหนง เกิดจากเสนแนวตั้ง และแนวนอนมาตัดกันจนเกิดจุดตัดระหวางเสน
โดยระยะหางระหวางจุดจะมีระยะหางที่เทากัน เราสามาถทําใหโปรแกรมแสดงเสนกริดได โดยเลือกคําสั่ง
View>Show Grids (สังเกตวาหลังจากเลือกแลวจะปรากฏเครื่องหมาย ขึ้นมา)

เลือกคําสั่ง View>Show Grids


ผลลัพธแสดงเสนกริด

   

นอกจากนี้ภายในโปรแกรมยังสามารถกําหนดรายละเอียดของเสนกริดได โดยเลือกที่เมนู Edit ในหนาตาง


Image Window และเลือกคําสั่ง Preferences จะปรากฏหนาตาง Preferences ใหเรากําหนดลักษณะของ
Default Grids ดังนี้
1. เลือกคําสั่ง File>Preferences 2. เลือกกําหนดลักษณะของ Default Grids

3. กําหนดคาตางๆ 4. คลิกเมาส
สรางความแมนยําในการวางภาพดวย Snap 
Snap เปนคําสั่งที่จะทําใหวัตถุที่เรานํามาวางถูกดูดติดกับแนวเสนไกด เสนขอบของหนาเอกสาร และเสนกริด
Page 73

เลือกคําสั่ง View>Snap to Guides

การเลือกใช Snap ในลักษณะตางๆ 
• ใช Snap ยึดแนวเสนไกด ใหเลือกคําสั่ง View>Snap to Guides คลิกใหเปนเครื่องหมาย
• ใช Snap ยึดแนวเสนกริด ใหเลือกคําสั่ง View>Snap to Grid คลิกใหเปน

เครื่องหมาย
แสดง Snap วางยึดเสนไกด

วัดระยะของวัตถุดวย Measure Tool 
เราสามารถวัดระยะทาง และมุมจากตําแหนง 2 ตําแหนงได โดยการใช Measure Tool ซึ่งทําหนาที่
เหมือนไมบรรทัดวัดระยะทาง และไม Protector วัดมุม เพื่อใหการทํางานของเราสะดวกรวดเร็ว และแมนยําขึ้น โดยมี
วิธีการตอไปนี้

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Measure Tool


2. ลากเมาสระหวางจุดเริ่มตน และจุดปลายที่ตองการวัด
Page 74

3. คลิกเลื่อนเมาสใหจุดปลายทํามุมกับแนวนอน ลากเมาสไปยังจุดที่ตองการ
 

   
  1. คลิกเลือกเครื่องมือ Measure Tool 2. คลิกลากเมาสระหวางจุดเริ่มตน และจุดปลาย

NOTE 
เราสามารถดูระยะทาง และองศาของมุมที่เราใชเครื่องมือ Measure Tool ลากไป โดยคลิกเลือก Use info
Window ที่ Tool Options ของเครื่องมือ Measure Tool จะทําใหปรากฏหนาตาง Measure แสดงระยะทาง
และองศาของมุมที่เราวัดได
  ปรากฏหนาตาง Measure
คลิกเลือก Use info
Window ที่ Tool Options แสดงระยะทาง

แสดงคามุม

     
ความสูง
ความกวาง

นอกจากนั้น เรายังสามารถเลื่อนเสนวัดระยะทาง หรือมุมจากจุดที่เราวัดไวแลว โดยเลื่อนเมาสไปที่เสนนั้น ตัวชี้


เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป แลวลากเมาสเลื่อนเสนไปยังตําแหนงที่ตองการ
Page 75

จุดปลายของ
ตําแหนงเดิม

คลิกเมาสเลื่อนเสนไปยัง
ตําแหนงใหมที่ตองการ

TIP 
ถาเรากดคีย <Ctrl> คางไวขณะที่ ทําการลากเมาส จะบังคับเมาสใหเลื่อนเพิ่มหรือลดลงทีละ 15 องศา

รูจักกับการปรับรูปทรงภาพดวยเครื่องมือ Transform Tool 
เปนเครื่องมือที่นําภาพหรือพื้นที่ภาพที่เราเลือกไว มาปรับรูปทรงใหเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชน ปรับภาพใหมี
ขนาดเล็กลง ปรับทิศทางการวางภาพใหเอียง ยืดและบิดภาพ เปนตน ซึ่งวิธีการเหลานี้ สามารถปรับไดตามที่เราคลิกกําหนด
รูปทรง หรือกําหนดคาในหนาตางของเครื่องมือชนิดตางๆ เพื่อกําหนดคาได

ปรับขนาดภาพ (Scale Tool)

หมุนภาพ (Rotate Tool)


Page 76

บิดภาพ (Shear Tool)

บิดภาพ (Perspective Tool)

พลิกกลับดานภาพ (Flip Tool)

การปรับขนาดภาพใหพอดีดวย Scale Tool 
ภาพที่ตัดตอมาซอนอยูนั้น บางครั้งขนาดจะเล็กหรือใหญกวาพื้นที่ที่เราจะวางภาพ ดังนั้นตองปรับขนาดกันสัก
หนอยดวย Scale Tool ดังนี้

1. ใชเครืองมือตัดภาพตัดภาพออกมา
2. กอปปภาพที่ตัดมาวางในภาพอีกภาพหนึ่ง
3. คลิกเลือก Scale Tool เพื่อกํานดขนาด
4. คลิกที่รูปเพื่อปรับขนาด หรือ กําหนดขนาด โดยการตั้งคาที่หนาตาง Scale
5. เมื่อกําหนดขนาดเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลงใชคา
Page 77

2. กอปปภาพที่ตัดมาวางในภาพอีกภาพหนึ่ง
1. ตัดภาพจากภาพตนฉบับ
3. คลิกเลือก Scale Tool
หรือกําหนดคาตางๆ

5. คลิกเมาสเพื่อตกลงใชคา

ผลลัพธเมื่อเปลี่ยน
4. คลิกบนภาพเพื่อ ขนาดใหพอดี
กําหนดขนาด

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือ Scale Tool 
เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Scale Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง
Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
Page 78
เลือกโหมดการจัดการกับวัตถุชนิดตางๆ

เลือกลักษณะการปรับขนาดได 2 แบบ
กําหนดคุณภาพของการปรับภาพ
คือ Normal (Forward) คือการปรับไป
กําหนดการตัดภาพที่ถูกปรับ ตามที่เรากําหนด และแบบ Corrective
เรียบรอยแลวใหมีขนาดเทากับ (Backward) เปนการปรับไปในทิศ
ขนาดภาพตนฉบับโดยอัตโนมัติ ทางตรงขามกับที่กําหนด

กําหนดลักษณะภาพตัวอยาง
กําหนดใหอัตราสวนระหวาง ในการปรับภาพ
ความกวาง และความสูงคงที่

หมุนภาพใหไดมุมที่ลงตัวดวย Rotate Tool 
หากภาพที่ตัดตอมานั้นอยูในทิศทาง หรือมุมที่ไมลงตัว อันนี้ก็หมุนใหอยูในที่ควรจะอยูไดดวย Rotate Tool
ดังนี้

1. คลิกเลือก Rotate Tool เพื่อกําหนดขนาด


2. คลิกที่รูปเพื่อหมุนภาพ หรือกําหนดการหมุน โดยการตั้งคาที่หนาตาง Rotate ดังนี้
• Angle กําหนดมุมในการหมุน
• Center X และ Center Y กําหนดจุดหมุน

3. เมื่อกําหนดการหมุนภาพเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด


หรือกําหนดรายละเอียดเพื่อทําการหมุนภาพ
1. คลิกเลือก Scale Tool

3. คลิกเมาส
Page 79

2. คลิกที่รูปเพื่อหมุนภาพ ผลลัพธการหมุนภาพ

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือ Rotate Tool 
เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Rotate Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง
Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

เลือกโหมดการจัดการกับวัตถุชนิดตางๆ

กําหนดคุณภาพของ เลือกลักษณะการปรับขนาดได 2 แบบ คือ


การปรับภาพ Normal (Forward) คือการปรับไปตามที่เรา
กําหนด และแบบ Corrective (Backward)
เปนการปรับไปในทิศทางตรงขามกับที่
กําหนดการตัดภาพที่ถูกปรับ กําหนด
เรียบรอยแลวใหมีขนาดเทากับ
ขนาดภาพตนฉบับโดยอัตโนมัติ กําหนดลักษณะภาพตัวอยางใน
การปรับภาพ

ใหการหมุนเปลี่ยนมุมไปครั้งละ
15 องศา

บิดภาพใหลาดเอียงดวย Shear Tool  
เปนการบิดภาพใหมีลักษณะลาดเอียง โดยใหบิดกรอบดานใดดานหนึ่ง ซึ่งกรอบอีกดานจะอยูคงที่ จะปรากฏ
กรอบสําหรับการบิดภาพใหบิดไปซายขวาหรือบนลางตามตองการ ดังนี้

1. คลิกเลือก Shear Tool


2. คลิกที่รูปเพื่อทําการบิดภาพ หรือกําหนดการบิดภาพ โดยการตั้งคาที่หนาตาง Shear ดังนี้
• Magnitude X / Y กําหนดระยะจากมุมเดิมที่ยื่นออกมาเมื่อทําการบิดภาพ
Page 80

3. เมื่อกําหนดการบิดภาพเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลงใชคา

1. คลิกเลือก Shear Tool

2. คลิกที่ภาพเพื่อทํา
การบิด

หรือกําหนดระยะเพือทํา
การบิดภาพ

3. คลิกเมาส ผลลัพธการบิดภาพ

บิดภาพใหผดิ สัดสวนดวย Perspective Tool  


เปนการบิดภาพโดยมุมทั้งสองขางเอียงเขาหากัน หรือบิดภาพไดโดยไมมีการรักษาสัดสวนภาพ โดยใช
Perspective Tool ดังนี้

1. คลิกเลือก Perspective Tool


2. คลิกเลื่อนมุมของภาพเพื่อทําการบิดภาพ ในเครื่องมือนี้เราไมสามารถตั้งคาไดจากหนาตาง Perspective แตที่
หนาตางนี้จะแสดงขอมูลการบิดภาพของเราแทน
3. เมื่อกําหนดการบิดภาพเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพื่อตกลง

1. คลิกเลือก Perspective Tool

2. คลิกที่มุมของภาพเพื่อทําการบิด
Page 81

3. คลิกเมาสเพื่อตกลง ผลลัพธการบิดภาพ

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือ Shear Tool และ Perspective Tool 


เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Shear Tool และ Perspective Tool ไดที่ Tool
Options ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดหนาตาง Tool Option ของ Shear Tool และ
Perspective Tool ที่เหมือนกัน ดังนี้
เลือกโหมดการจัดการกับวัตถุชนิดตางๆ

เลือกลักษณะการปรับขนาดได 2 แบบ คือ


Forward คือการปรับไปตามที่เรากําหนด
และแบบ Backward เปนการปรับไปในทิศ
ทางตรงขามกับที่กําหนด
กําหนดการตัดภาพที่ถูกปรับ
เรียบรอยแลวใหมีขนาดเทากับ กําหนดคุณภาพของการปรับภาพ
ขนาดภาพตนฉบับโดยอัตโนมัติ

กําหนดลักษณะภาพตัวอยางใน
การปรับภาพ

การพลิกกลับดานรูปดวย Flip Tool  
เปนกลับดานของภาพจากซายเปนขวา หรือ จากดานบนเปนดานลาง โดยใช Flip Tool ดังนี้

1. คลิกเลือก Flip Tool


2. เลื่อนเมาสมาที่ภาพ (ลูกศรจะกลายเปนรูป กลับภาพในแนวนอน และ กลับภาพในแนวตั้ง) และคลิกเพื่อ
กลับดานภาพ
3. ภาพที่ไดจะถูกพลิก
Page 82

1. คลิกเลือก Flip Tool 2. เลื่อนเมาสมาที่ภาพ 3. ผลลัพธการพลิกภาพ


(พลิกจากซายเปนขวา)

ตัวอยางการพลิกภาพในแนวตั้ง (กลับดานบนเปนดานลาง) 

กอนพลิก หลังพลิก

TIP 
เราสามารถเปลี่ยนแนวในการพลิกภาพได โดยกําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Option โดยเลือก Flip
Type เปนแบบ Horizontal (แนวนอน) หรือ Vertical (แนวตั้ง) หรือกดคีย <Ctrl> คางไวขณะคลิกเพื่อ
พลิกภาพ (สังเกตจากรูปลูกศรที่เปลี่ยนไป และ )

NOTE 

โหมดการจัดการกับวัตถุ (Affect)

ใน Tool Options ของเครื่องมือ Transform ตางๆ จะมีอยู 3 โหมด ดังนี้

จัดการกับเลเยอร หรือภาพในเลเยอร เชน ปรับขนาดภาพ หมุนภาพ บิดภาพ


จัดการกับการเลือกพื้นที่ เชน ปรับขนาดการเลือกพื้นที่ หมุนปรับการเลือกพื้นที่ บิดรูปรางของการเลือกพื้นที่
Page 83

จัดการกับชิ้นพาธ เชน ปรับขนาดพาธ หมุนพาธ บิดรูปรางของพาธ

ลักษณะของการแสดงภาพตัวอยางในการปรับภาพ (Preview)

Outline จะแสดงเพียงเสนกรอบใหเห็นวารูปเปลี่ยนไปในลักษณะใด

Grid จะแสดงเปนเสนตารางกริดใหเห็นวารูปเปลี่ยนไปในลักษณะใด ซึ่ง


สามารถกําหนดจํานวนกริดที่แสดงบริเวณดานลางได

Image จะแสดงเปนลักษณะของรูปภาพที่เปลี่ยนไป

Image and grid จะแสดงทั้งรูปภาพและเสนกริดเปนลักษณะภาพที่


เปลี่ยนไป
Page 84

บทที่ 5 
การสรางขอความตกแตงภาพ 
การสรางงานกราฟกนอกจากจะประกอบดวยภาพหลายๆ ภาพที่นํามาตกแตงเปนเรื่องราวที่ตองการแลว เรายัง
สามารถใสขอความที่เปนชื่อเรื่อง หรือคําอธิบายรายละเอียดของเรื่องที่ตองการนําเสนอนั้นดวย เนื้อหาในบทนี้เราจะกลาว
กันถึงเรื่องการใสตัวอักษรลงไปในภาพ และการปรับแตงตัวอักษรและขอความตางๆ

รูจักกับรูปแบบของตัวอักษรทีใ่ ชในโปรแกรมกราฟก 
ตัวอักษรที่ใชในโปรแกรมกราฟก โดยทั่วไปแบงออกเปน 2 ประเภท เชนกัน คือ
แบบ Outline หรือแบบ Vector  
ตัวอักษรแบบ Outline จะถูกจัดเก็บในลักษณะการประมวลผลเปนสูตรคณิตศาสตร ทําใหไมเกิดปญหารอย
หยัก แตก บนขอบตัวอักษรเมื่อเกิดการยอ/ขยายตัวอักษร จึงเหมาะสําหรับนํามาใชในงานสิ่งพิมพและงานศิลป อยางไรก็
ตาม ตัวอักษรแบบนี้จะนําไปตกแตงเอฟเฟกตโดยใชฟลเตอรไมได
แบบ Bitmap 
ตัวอักษรแบบ Bitmap จะถูกจัดเก็บในรูปแบบพิกเซล ทําใหสะดวกในการประมวลผลเรื่องสี โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งการลงสีและการตกแตงภาพ ฉะนั้นขอดีของอักษรแบบ Bitmap คือ สามารถใชไดกับการใสเอฟเฟกตและฟลเตอร
ในขณะที่ขอเสีย คือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาด เชน การขยายขนาดจะทําใหตัวอักษรแตก

แบบ Outline: ขอความทั่วไปที่ตองการความคมชัด

แบบ Bitmap: ขอความที่ตองการเนนโดยการใส


เอฟเฟกตพเิ ศษ

จากขอดีและขอเสียของตัวอักษรแบบ Outline และ Bitmap ที่ผานมาเราสรุปไดดังนี้คือ

ตัวอักษร Outline ตัวอักษร Bitmap


1. ปรับเปลี่ยนขนาดไดตามใจชอบภาพไมแตก 1. ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก
2. แกไขขอความไดงาย 2. แกไขขอความยาก หรือแกไขไมได
3. การปรับแตงสี และลูกเลนทําไดนอยมาก 3. การปรับแตงสี และลูกเลนทําไดมาก
Page 85

ฉะนั้นหลักการและเทคนิคในการปรับแตงตัวอักษรที่ดีที่สุด คือ พิมพขอความ กําหนดขนาดและดูความถูกตอง


ของขอความใหตรงกับความตองการมากที่สุด หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนจากตัวอักษรแบบ Outline มาเปนตัวอักษรแบบ
Bitmap จากนั้นก็ปรับเปลี่ยนสี และใสเอฟเฟกตใหกับตัวอักษร เพราะถาเราแปลงขอความจาก Outline เปน
Bitmap แลว ตอจากนั้นมาปรับขนาดทีหลังจะสงผลใหความละเอียดของภาพผิดเพี้ยนไป

การสรางตัวอักษรแบบ Outline 
ตัวอักษรแบบ Outline เหมาะสําหรับการนําเสนอขอความที่มีความคมชัด และมีสีสันเรียบงาย เพราะตัวอักษร
แบบ Outline ไมสามารถใสเอฟเฟกตไดมากนัก สามารถสรางไดดังนี้

1. คลิกเลือก Text Tool


2. คลิกบริเวณภาพที่ตองการใสขอความ
3. จะปรากฏหนาตาง GIMP Text editor พิมพขอความที่ตองการ
4. กําหนดลักษณะตัวอักษรที่ Tool Options
• Font กําหนดรูปแบบตัวอักษร
• Size กําหนดขนาดของตัวอักษร
• Hinting คลิกเพื่อใชสําหรับการสรางขอความขนาดเล็กใหดูชัดเจนมากขึ้น
• Force auto-hinter คลิกเพื่อใหโปรแกรมสรางขอความใหดูสวยงามมากที่สุด ซึ่งจะกําหนดคาโดย
อัตโนมัติ
• Antialiasing คลิกเพื่อกําหนดการตัดเหลี่ยมขอบของขอความใหขอความดูสวยงามมากขึ้น
• Color กําหนดสีของขอความ
• Justify กําหนดการจัดเรียงขอความในกรอบขอความ มี 4 แบบ คือ
กําหนดใหวางชิดขอบซาย
กําหนดใหวางชิดขอบขวา
กําหนดใหวางกึ่งกลาง
กําหนดใหวางเต็มบรรทัด
• Indent กําหนดระยะของจุดเริ่มตนของขอความในกรอบขอความ
• Line spacing กําหนดระยะชองวางระหวางบรรทัดของขอความ
• Letter spacing กําหนดระยะหางระหวางตัวอักษร
• Text along path กําหนดใหขอความที่พิมพไหลไปตามเสนพาธ
• path from text คลิกที่ปุมนี้เพื่อสรางขอความที่พิมพใหเปนเสนพาธ
5. คลิกปุม เพื่อสิ้นสุดการกําหนด และแกไขขอความ
Page 86

1. คลิกเลือก Text Tool

3. พิมพขอความ

5. คลิกเมาส
2. คลิกบริเวณภาพที่ตองการใสขอความ

4. กําหนดลักษณะตัวอักษร ผลลัพธที่ได

การแกไขขอความที่พิมพผิดพลาด 
ถาเราพิมพขอความผิด หรืออยากปรับรูปแบบใหม มีขั้นตอนดังนี้

1. เลือก Text Tool และคลิกไปบนกรอบขอความ


2. จะปรากฏหนาตาง GIMP Text Editor ใหเราพิมพแกไขขอความ

ลากเมาสบนตัวอักษรใหเกิดแถบสีน้ําเงินครอบตัวอักษรเพื่อพิมพคําใหมทับลงไป

ลากเมาสบนตัวอักษรใหเกิดแถบสีน้ําเงินครอบตัวอักษรเพื่อพิมพคําใหมทับลงไป
Page 87

ขณะที่เลือกกําลังแกไขขอความที่หนาตาง GIMP Text Editor สามารถปรับแตงรายละเอียด ตัวอักษรเพิ่มเติม


ไดที่ Tool Options

การสรางตัวอักษรแบบ Bitmap 
ทําไดโดยการเลือกพื้นที่เปนรูปขอความที่ตองการ และใชเครื่องมือเติมสี หรือระบายสีตางๆ ลงสีใหกับพื้นที่รูป
ตัวอักษรที่เลือกไว ทําใหสามารถตกแตงสีของขอความไดมากขึ้น สามารถทําได ดังนี้

1. พิมพขอความที่ตองการเหมือนกับการสรางขอความแบบ Outline
2. คลิกเลือกที่ปุม ใน Tool Options เพื่อสรางขอความใหเปนเสนพาธ
3. คลิกปุม เพื่อสิ้นสุดการกําหนด และแกไขขอความ
4. ไปที่ไดอะล็อก Path คลิกเมาสขวาที่พาธขอความเลือกคําสั่ง Path to selection เพื่อสรางการเลือก
พื้นที่เปนรูปขอความ
5. ใช ระบายสีใหกับพื้นที่รูปขอความที่เลือก

1. พิมพขอความ

2. คลิกเมาส

3. คลิกเมาส
Page 88

4. คลิกเมาสขวาเลือก จะไดการเลือกพื้นที่เปนรูปขอความ
คําสั่ง Path to Selection

5. ระบายสีพื้นที่ที่เลือก ผลลัพธจะไดตัวอักษรแบบ Bitmap

แปลงตัวอักษร Outline ใหเปนแบบ Bitmap 


เนื่องจากขอความแบบ Outline ใหความคมชัด ในขณะที่ขอความแบบ Bitmap นําไปใชตกแตงเอฟเฟกต
โดยใชเครื่องมือตางๆ ดังนั้นถาเราตองการจุดดีของทั้งสองแบบ ใหเราเริ่มโดยการสรางขอความแบบ Outline กอน เมื่อ
วางที่ตําแหนงและขนาดเหมาะสม เราก็จะแปลงเปนแบบ Bitmap ดังตัวอยางตอไปนี้

1. พิมพขอความที่ตองการ
2. คลิกเมาสขวาที่เลเยอรของขอความในไดอะล็อก Layers เลือกคําสั่ง Discard Text Information เพื่อ
แปลงขอความ
3. ขอความ Outline จะเปลี่ยนไปเปนแบบ Bitmap

1. พิมพขอความ
Page 89

2. คลิกเมาสขวา เลือกคําสั่ง Discard


Text Information

3. ขอความ Outline จะ
เปลี่ยนไปเปนแบบ Bitmap

สรางขอความแบบแฟนตาซีดวย Alpha to Logo 
เปนการสรางขอความที่มีรูปแบบสวยงาม โดยเปนรูปแบบขอความสําเร็จรูปกําหนดมาใหเราเลือกใช และทําการ
กําหนดคาเพิ่มเติมนิดหนอยเทานั้น เชน มีการเติมสีขอความเปนลวดลาย มีแสงรอบๆ ขอความ เปนตน (ซึ่งก็คือฟลเตอร
Script-Fu ในเวอรชั่นกอนๆ) จะใชงานขอความจาก Alpha to Logo ได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Filters>Alpha to Logo ที่หนาตาง Image Window


2. เลือกรูปแบบของขอความ ตัวอยางจะเลือกแบบ Alien-Glow
3. กําหนดคาตางๆ ใหกับขอความ
• Glow size ขนาดของของแสงที่เปลงออกมารอบตัวอักษร
• Glow color สีของแสงที่เปลงออกมารอบตัวอักษร
4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชงานรูปแบบขอความที่เลือก

1. เลือกคําสั่ง Filters>Alpha to Logo


2. เลือกรูปแบบของขอความที่จะสราง
3. กําหนดคาตางๆ

4. คลิกเมาส
Page 90

ผลลัพธของขอความที่ได

ตัวอยางขอความรูปแบบตางๆ 
Page 91

บทที่ 6 
การทํางานกับเลเยอร 
ในบทแรกเราไดทราบถึงวิธีการเลือกพื้นที่ภาพ การตัดภาพจากไฟลตางๆ มารวมกันเปนชิ้นงาน และการใส
ขอความลงไปประกอบในชิ้นงาน ดังนั้นในบทนี้เราจะมา สรางชิ้นงานกันอยางตอเนื่อง โดยการจัดวางภาพที่ซอนกันอยูให
ลงตัวมากยิ่งขึ้น ใน GIMP เรียกการทํางานนี้วา “เลเยอร” ซึ่งชวยอํานวยความสะดวกในการจัดวางภาพแตละสวนที่วาง
ซอนกันอยูเปนชั้นๆ ทําใหสามารถทํางานกับภาพเฉพาะสวนไดโดยไมมีผลกระทบกับสวนอื่นๆ ของภาพที่ไมเกี่ยวของ

ความหมายของ Layer  
เลเยอร (Layer) เปนการซอนภาพเหมือนกับนําแผนใสที่มีภาพซอนทับกันเปนชั้นๆ ซึ่งบริเวณของแผนใสที่ไม
มีรูปก็จะสามารถมองเห็นทะลุถึงแผนใสที่อยูชั้นลางได และเมื่อนําทุกแผนใสทุกชั้นมาวางซอนทับกัน จะทําใหเกิดเปน
รูปภาพที่สมบูรณ การใชเลเยอรจะชวยใหเราจัดวางงานไดงาย เนื่องจากแตละเลเยอรทํางานเปนอิสระตอกัน มีคุณสมบัติ
ตางๆ เปนของตัวเอง จึงทําใหการแกไขที่เราทําในแตละเลเยอรนั้นไมสงผลตอเลเยอรอื่นๆ

ภาพในแตละเลเยอรจะซอน แผนใสภาพขอความ
กันเหมือนแผนใส

แผนใสตกตาหมี

แผนพื้นหลัง

Gimp สามารถอานและปรับแตงไฟล .psd ของโปรแกรม Photoshop ที่มีการตั้งเลเยอรไวไดทันที โดย


ไมตองปรับแตงแกไขใดๆ เพิ่มเติม

การซอนภาพดวยเลเยอร  
ตัวอยางนี้ เราจะลองนําภาพและขอความมาซอนกัน เพื่อจะสรางสรรคงานออกมาใหดูนาสนใจมากยิ่งขึ้น มี
ขั้นตอนดังนี้

o ขั้นตอนที่ 1 เปดภาพที่สรางเปนฉากหลัง
o ขั้นตอนที่ 2 ซอนภาพมาในเลเยอรที่ 2
o ขั้นตอนที่ 3 ใสขอความลงในภาพ
Page 92

1. เปดภาพที่สรางเปนฉากหลัง ลากภาพตุกตาหมีมาซอน

ใสขอความลงในภาพ

การสรางเลเยอร  
หลังจากที่เราเปดภาพจากไฟล background.psd ขึ้นมาเพื่อสรางฉากหลัง จะ เห็นวาที่ไดอะล็อก Layers
จะมีเพียงเลเยอรเดียว คือ Background เราตองทําการสรางเลเยอรใหมเพื่อใสภาพดอกไม ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. ที่หนาตาง Image Window เลือกคําสั่ง Layer>New Layer หรือใน หนาตาง Docking ที่ไดอะล็อก
Layers คลิกเมาสที่ เพื่อทําการสรางเลเยอรใหม
2. จะปรากฏหนาตาง New Layer ใหเราพิมพชื่อลงในชอง Layer Name จากนั้นกําหนดรูปแบบของ
Layer
3. คลิกปุม สรางเลเยอรใหมตามที่เรากําหนด
Page 93

1. เลือกคําสั่ง Layer>New Layer

หรือคลิกเมาส เพื่อสรางเลเยอร

2.พิมพชื่อเลเยอร

เลเยอรจะถูกสราง
กําหนดรูปแบบ ขึ้นใหม
ของเลเยอร

3. คลิกเมาส

หลังจากทําการสรางเลเยอรใหมเรียบรอยแลวใหเราทําการคัดลอกภาพตุกตาหมีที่เตรียมไวมาวางบนเลเยอรที่
สรางใหม

ผลที่ไดจากการ
ซอนเลเยอรตุกตา
หมีกับพื้นหลัง

วางภาพตุกตาหมีบนเลเยอรที่สรางใหม

การใชงานเลเยอร 
ในหัวขอนี้เราจะมาเรียนรูจักวิธีการใชงานเลเยอรเบื้องตน เพื่อใหเราสามารถประยุกตไปใชกับงานเลเยอรเรื่อง
อื่นๆ ได
Page 94

ทํางานกับ Active Layer 
ในการใชงานโปรแกรม GIMP แมชิ้นงานจะประกอบไปดวยหลายเลเยอร แตเราจะทํางานไดเพียงทีละเลเยอร
เทานั้น โดยเลเยอรที่เรากําลังทํางานอยูเรียกวา “Active Layer” ซึ่งในพาเล็ต Layers จะปรากฏเปนแถบสีน้ําเงิน
แสดงวากําลังทําการปรับแตงใหกับเลเยอรนั้น

แถบสีน้ําเงิน หมายถึง คลิกเมาสที่เลเยอรที่ จากนั้น Active Layer จะ


Active Layer ตองการใชงาน เปลี่ยนไปตามเลเยอรที่เราเลือก

ซอนและแสดงเลเยอร 
ถาชิ้นงานที่เราแกไขประกอบไปดวย เลเยอรจํานวนมาก เราอาจตองการซอนบางเลเยอรที่ยังไมไดใช เพื่อความ
สะดวกในการทํางาน เมื่อเสร็จแลวก็ใหแสดงเลเยอรนั้นใหเห็นดังเดิม ดังตัวอยางเราจะทดลองซอนเลเยอรขอความ ดังนี้

ซอนเลเยอร 
1. คลิกเมาสที่ เพื่อซอนเลเยอร (ชองสถานะนั้นจะเปลี่ยนเปน )
2. ผลลัพธที่ได คือ เลเยอรภาพหมีจะหายไป

ภาพตนฉบับ

1. คลิกเมาสเพื่อซอนเลเยอร

2. เลเยอรภาพหมีจะ
หายไป
Page 95

แสดงเลเยอร 
1. แสดงเลเยอร โดยคลิกเมาสที่ อีกครั้งหนึ่ง (ชองสถานะจะเปลี่ยนกลับมาเปน )
2. ผลลัพธที่ไดคือ เลเยอรตุกตาหมีจะปรากฏขึ้นอีกครั้ง

คลิกเมาสเพื่อแสดงเลเยอร

ภาพในเลเยอรตุกตาหมีกลับมา

TIP 
เราสามารถทําการซอนและแสดงเลเยอรไดทีละหลายๆ เลเยอรพรอมกัน เพียงแตทําการคลิกชอง เพื่อเลือก
ซอนและแสดงในเลเยอรที่ตองการ

คัดลอกเลเยอร 
ในการทํางานกับเลเยอรอาจมีขอผิดพลาดเกิดขึ้นได หากเราตองการปองกันไมใหเลเยอรนั้นสูญหายไปดวย ขอ
แนะนําใหทําการคัดลอกเลเยอรสํารองไว โดยเลเยอรใหมที่ถูกคัดลอกออกมานั้นจะมีคุณสมบัติเหมือนเลเยอรตนแบบทุก
ประการ เพียงแตชื่อของเลเยอรจะมีคําวา Copy ตอทาย เชน ถาเราคัดลอก Layer 1 เราจะไดเลเยอรใหมที่มีชื่อวา
“Layer 1 Copy” เราสามารถทําไดดังนี้

1. เลือกเลเยอรที่ตองการทําการคัดลอก
2. คลิกไอคอน Duplicate layer เพื่อทําการคัดลอกเลเยอร

1. เลือกเลเยอรที่
ตองการคัดลอก

จะไดเลเยอรใหม
หลังการคัดลอก

2. คลิกเมาส
Page 96

NOTE 
การคัดลอกเลเยอรเขาไปไวในตางไฟลภาพ สามารถทําโดยเลือกเลเยอรที่ตองการในหนาตาง Docking และทํา
การคัดลอกภาพในหนาตาง Image Window ไปวางยังไฟลที่ตองการ ทั้งนี้ตองระวังเรื่อง Resolution ที่ตางกัน
ระหวางตนทางและปลายทาง หากปลายทางมีคา Resolution ต่ํากวาตนทาง รูปที่ปรากฏที่ปลายทางจะมีขนาดเล็กลง

เปลี่ยนลําดับของเลเยอร 
โดยปกติภาพที่ซอนกันจะถูกเรียงเลเยอรเปนลําดับตามการสรางงานของเรา (สรางกอนจะอยูชั้นลางสุด) แตเพื่อ
ความเหมาะสม เราก็สามารถสลับตําแหนงการวางของเลเยอรแตละเลเยอรได โดยคลิกที่ปุม เพื่อเลื่อนเลเยอรขึ้น
หรือ เพื่อเลื่อนเลเยอรลงดานลาง

ในตัวอยางเราจะลากเมาสสลับตําแหนงของเลเยอร โดยใหเลเยอร Text จากที่เคยอยูบนสุดมาอยูดานลางของ


Flower ที่เปนภาพดอกไม เพื่อใหขอบภาพดานลางของดอกไมแสดงอยูเหนือขอความ

กอนการเปลี่ยนลําดับเลเยอร หลังการเปลี่ยนลําดับเลเยอร

1. คลิกเมาสเลือกเลเยอรที่ตองการยาย (ในที่นี้เลือกเลเยอรขอความ “Miss You..”)


2. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อเลื่อนเลเยอรลงมาดานลาง
3. ผลลัพธที่ไดเลเยอรขอความจะเปลี่ยนตําแหนงไปยังตําแหนงที่ตองการ (อยูดานลางตุกตาหมี)

การรวมเลเยอรลอยเขากับเลเยอรหลัก 
เมื่อเราทําการใช Selection Tool เลือกพื้นที่แลวเคลื่อนยายภาพที่เลือก หรือคัดลอกไฟลภาพจากที่อื่นมาวาง
ในหนาตาง Image Window ภาพดังกลาวจะเปนเลเยอรลอย ทําใหเราไมสามารถทําการแกไขในสวนอื่นตอได ดังนั้น
เราตองทําการรวมเลเยอรลอยเขากับเลเยอรหลักเสียกอน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกเลเยอรหลักที่ตองการนําไฟลภาพที่คัดลอกเขามารวมดวย (ในที่นี้เลือก เลเยอรภาพดอกไม)


2. เลือกคําสั่ง Edit>Paste ในหนาตาง Image Window เพื่อวางไฟลภาพที่ทําการคัดลอกมา จะปรากฏเล
เยอรลอย (Floating Selection) เปนเลเยอรบนสุดในหนาตาง
3. เลือกไอคอน ในหนาตางเลเยอร หรือ คลิกเมาสนอกขอบของเลเยอร ในหนาตาง Image Window
เพื่อรวมเลเยอรภาพผีเสื้อที่คัดลอกมาเขากับเลเยอรภาพดอกไมที่ไดทําการเลือกไว
Page 97

ไฟลภาพผีเสื้อทีค่ ัดลอกมา

1. เลือกเลเยอรหลัก

2. เลือกคําสั่ง
Edit>Paste

ปรากฏเลเยอร
Floating Selection

3. คลิกเมาส

เลเยอรลอยถูก
รวมกับเลเยอร
ที่เลือกไว

เลเยอรภาพผีเสื้อถูกรวมกับเลเยอรภาพดอกไมเรียบรอยแลว
Page 98

เมื่อเราคัดลอกภาพผีเสื้อมาวางในงานเรียบรอยแลว แตไมตองการรวมไฟลภาพผีเสื้อที่เปนเลเยอรลอยเขากับเล
เยอรหลักที่มีอยูแลว ใหไปที่ไดอะล็อก Layers คลิกเมาสที่ปุม (New Layer) จะปรากฏเลเยอรภาพผีเสื้อขึ้นมา
เปนเลเยอรใหมทันที

คลิกเมาสเพื่อสรางเลเยอรลอยใหเปนเลเยอรใหม จะปรากฏเลเยอรลอย
เปนเลเยอรใหม

NOTE  
เลเยอรลอยที่ยังไมรวมเขากับเลเยอรหลักสามารถทําการแกไขได เชน การปรับขนาด เปลี่ยนสี และเปลี่ยนขนาด
ได แตไมสามารถทําการแกไขเลเยอรอื่นภายในภาพได

การเชื่อมโยงเลเยอรเขาดวยกัน 
บางครั้งเราตองการแกไขเลเยอรหลายเลเยอรในลักษณะเดียวกัน เชน ตองการเลื่อนภาพที่อยูตางเลเยอรใหอยูใน
ลักษณะเดียวกัน ซึ่งการเลือกทีละภาพจะเปนการเสียเวลามาก ทางออกของปญหานี้ที่จะชวยประหยัดเวลาใหกับเรานั่นคือ
การเชื่อมเลเยอรนั้นๆ เขาดวยกัน เรียกวา “การลิงคเลเยอร (Link Layer)” ซึ่งในโปรแกรม GIMP นั้น การลิงคเปนการ
สรางความเกี่ยวโยงของเลเยอร 2 เลเยอรหรือมากกวา

ในตัวอยาง เราตองการลิงคภาพที่อยูในเลเยอร bear และเลเยอรขอความ ซึ่งเราสามารถสรางลิงคไดดวยวิธีการ


งายๆ ดังนี้ คือ

1. คลิกเมาสที่ หนาเลเยอรที่เราตองการลิงค
2. ชองสถานะนั้นจะเปลี่ยนเปน แสดงถึงการทําการงานลิงคกัน
3. จากนั้นทดลองเคลื่อนยายเลเยอรดวย Move Tool และลดขนาดโดยใช Scale Tool จะสังเกตเห็น
วาภาพที่ลิงคกันอยูก็จะเคลื่อนยายและลดขนาดตามไปดวย
Page 99

ภาพตนฉบับ ภาพตุกตาหมีจะเลื่อนและลดขนาดตามขอความไปดวย

1. คลิกเมาส หนาเลเยอรที่ 2. ชองสถานะนั้นจะเปลี่ยน เปน แสดงถึงการลิงคกัน


ตองการลิงค

3. ทดลองลดขนาด และเลื่อนเลเยอร
ขอความ

ลบเลเยอร 
เมื่อเราไมตองการใชเลเยอรใดก็ควรจะลบทิ้งไปเสีย เนื่องจากการเก็บเลเยอรที่ไมใชไวเยอะๆ จะเปลือง
หนวยความจําของเครื่อง ทําใหโปรแกรมทํางานไดชา การลบเลเยอรสามารถทําไดดังนี้

1. คลิกเลือกเลเยอรที่ตองการลบ
2. คลิกที่ไอคอน
3. เลเยอรผีเสื้อที่ลบทิ้งจะหายไป

ภาพกอนลบเลเยอรผีเสื้อ ภาพหลังลบเลเยอรผีเสื้อ
Page 100

1. คลิกเลือกเลเยอร

3. เลเยอรภาพผีเสื้อ
หายไป

2. คลิก
เพื่อลบเลเยอร

การเปลี่ยนขนาดของเลเยอร 
ในการตกแตงภาพดวยโปรแกรม GIMP เราสามารถกําหนดขนาดของภาพในเลเยอรได 2 ลักษณะ คือ

การเปลี่ยนขนาดภาพในเลเยอร 
เปนการเปลี่ยนขนาดของเลเยอร ซึ่งจะสงผลถึงขนาดของภาพในเลเยอรดวย คือ เมื่อยอ/ขยายขนาดของเลเยอร
ขนาดของภาพจะยอ/ขยายตาม สามารถทําไดดังนี้

1. คลิกที่ปุมที่ไดอะล็อก Layers เลือกคําสั่ง Scale Layer...


2. จะปรากฏหนาตาง Scale Layer ใหเรากําหนดขนาดและคุณภาพของเลเยอร ดังนี้
• Layer size กําหนดขนาด Width ความกวางของเลเยอร และ Height ความสูงของเลเยอร
• Quality กําหนดคุณภาพของภาพในเลเยอรเมื่อมีการขยายภาพ โดยสามารถกําหนดคุณภาพของภาพได 3
ระดับ
o None คือ คุณภาพระดับต่ําสุด
o Linear คือ คุณภาพระดับกลาง
o Cubic คือ คุณภาพระดับสูง
o Sinc (Lanczos-3) ใหคุณภาพสูงสุดดวยฟงกชั่น Sinc
3. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดเลเยอรใหมตามที่เรากําหนด

2. กําหนดขนาด และคุณภาพของเลเยอร

1. คลิกที่ ในเลือกคําสั่ง Layer Menu>Scale Layer 3. คลิกเมาส


Page 101

ภาพตนฉบับ ภาพผลลัพธ จะไดภาพในเลเยอรที่ใหญขึ้น

การเปลี่ยนขนาดพื้นที่ในเลเยอร 
เปนการเปลี่ยนขนาดพื้นที่ของเลเยอร ซึ่งจะไมสงผลถึงขนาดของภาพในเลเยอร คือ เมื่อยอ/ขยายขนาดของเลเยอร
ขนาดของภาพจะเทาเดิม แตพื้นที่ภายในเลเยอรจะมากขึ้น/นอยลง สามารถทําได ดังนี้

1. คลิกที่ปุม ที่ไดอะล็อก Layers เลือกคําสั่ง Layer Boundary Size...


2. จะปรากฏหนาตาง Set Layer Boundary Size ใหเรากําหนดขนาด และตําแหนงภาพในเลเยอร ดังนี้
• Layer size กําหนดขนาด Width ความกวางของเลเยอร และ Height ความสูงของเลเยอร
• Offset กําหนดตําแหนงของภาพเดิมในพื้นที่ที่กําหนดขึ้นใหม X คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวนอน
และ Y คือ พิกัดของตําแหนงรูปในแนวตั้ง

หากตองการใหภาพเดิมอยูตรงกลางของพื้นที่ สามารถคลิกปุม เพื่อจัดตําแหนงภาพใหอยูกึ่งกลางโดย


อัตโนมัติ

3. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อสั่งใหโปรแกรมเปลี่ยนขนาดเลเยอรใหมตามที่เรากําหนด

2. กําหนดขนาด
1. คลิกที่ ในเลือก
และตําแหนง
คําสั่ง Layer Menu>Layer
Boundary Size...

3. คลิกเมาส
Page 102

ภาพตนฉบับ ภาพผลลัพธ จะไดภาพที่มีขนาดเทาเดิม แต


พื้นที่ภายในเลเยอรจะใหญขึ้น

รวมเลเยอร 
หลังจากที่เราไดแกไขชิ้นงานเสร็จสิ้น และไมจําเปนตองใชเลเยอรตางๆ อีกตอไป ก็อาจจะรวมเลเยอร ทั้งหมดให
เปนเลเยอรเดียว ซึ่งการทําเชนนี้จะทําใหลดขนาดไฟลชิ้นงาน และทําใหเครื่องทํางานไดรวดเร็วขึ้นทําได 2 วิธี โดยการ

• วิธีที่ 1 ลบเลเยอรที่ไมตองการออกไป
• วิธีที่ 2 รวมเลเยอรตั้งแต 2 เลเยอร ขึ้นไปไวเปนเลเยอรเดียวกัน เราเรียกวิธีนี้วาการ “Merge” เลเยอร

โดยคําสั่งที่ใชในการรวมเลเยอรตั้งแต 2 เลเยอร มี 3 แบบดังตอไปนี้ คือ

1. รวมเลเยอร 2 เลเยอรที่อยูติดกันใหเปนเลเยอรเดียวกัน
2. รวมเลเยอรที่มองเห็นอยูใหเปนเลเยอรเดียวกัน
3. รวมทุกเลเยอรใหเปนเลเยอรเดียว

Warning

เราตองแนใจวาเลเยอรที่เราตองการ Merge ตองเปนเลเยอรที่แสดงอยู (Visible ) เพราะโปรแกรมจะ


รวมเฉพาะเลเยอรที่แสดงอยูเทานั้น

รวมเลเยอร 2 เลเยอรที่อยูติดกันใหเปนเลเยอรเดียวกัน 
การทํางานลักษณะนี้ เราเรียกวา “Merge Down” เปนการรวมเลเยอร 2 เลเยอรที่อยูติดกันใหเปนเลเยอร
เดียวกัน โดยเลเยอรที่เราเลือกให Active จะยุบลงไปรวมกับเลเยอรขางลาง จากตัวอยางเราตองการรวมเลเยอร Miss
You.. และเลเยอร bear ใหเปนเลเยอรเดียวกัน คือ เลเยอร butterfly

1. คลิกเมาสเลือกเลเยอร Text
2. เลือกคําสั่ง Layer>Merge Down ในหนา Image Window หรือใชวิธีคลิกที่ ในไดอะล็อก
Layers แลวเลือกคําสั่ง Layer Menu>Merge Down
3. ผลลัพธที่ไดคือเลเยอร Text จะยุบไปรวมกับเลเยอร bear
Page 103

1. เลือกเลเยอรที่ตองการ
Merge

2. คลิกที่ ในเลือกคําสั่ง Layer Menu>Merge Down

3. เลเยอรจะถูกรวมเขาดวยกันในเลเยอร
butterfly

รวมเลเยอรที่มองเห็นอยูใหเปนเลเยอรเดียวกัน 
การทํางานลักษณะนี้เราเรียกวา “Merge Visible” เปนการรวมเลเยอรทั้งหมด ที่มองเห็น (เลเยอรที่มี
สัญลักษณ ) ใหเปนเลเยอรเดียว ดังตัวอยางเราตองการรวม เลเยอร Background, เลเยอร bear และเลเยอร Miss
You.. ใหเปนเลเยอรเดียว โดยจะไดเปนเลเยอร Background เสมอ มีวิธีการดังตอไปนี้

1. คลิกที่ ในไดอะล็อก Layers แลวเลือกคําสั่ง Layer Menu>Merge Visible Layers


2. จะปรากฏหนาตาง Merge Layers ใหเราเลือกลักษณะการรวมเลเยอร
3. คลิกเมาสที่
4. เลเยอรทั้งหมดที่อยูในสถานะ Visible จะยุบไปรวมกันที่เลเยอร Background
Page 104

1. คลิกที่ เลือกคําสัง่ Layer


Menu>Merge Visible Layers

2. เลือกลักษณะการรวมเลเยอร

3. คลิกเมาส

4. เลเยอรจะถูกรวมเขาดวยกันในเลเยอร
Background

รวมทุกเลเยอรใหเปนเลเยอรเดียว 
การทํางานลักษณะนี้เราเรียกวา “Flatten Image” เปนการรวมเลเยอรทั้งหมดเขาไวเปนเลเยอรเดียว ภาพที่
ถูกรวมจะเปลี่ยนชื่อเปน Background ไมวาเราจะทํางานอยูในเลเยอรใดก็ตาม

1. คลิกที่ ในไดอะล็อก Layers แลวเลือกคําสั่ง Layer Menu>Flatten Image


2. ทุกเลเยอรจะรวมกันเปนเลเยอรเดียวชื่อเลเยอร Background
Page 105

1. คลิกที่ เลือกคําสัง่ Layer Menu>Flatten 2. ทุกเลเยอรจะถูกรวมเขาดวยกัน


Image เปนเลเยอร Background

WARNING

ตองระวังวาการใชคําสั่ง Flatten Image นี้ จะเปนการรวมเลเยอรทั้งหมดที่มองเห็นและลบเลเยอรที่มองไม


เห็นทิ้งไป
Page 106

บทที่ 7 
เทคนิคการตกแตงภาพในเลเยอร 
หลังจากที่เราไดจัดเตรียมภาพ และนําภาพมาจัดเรียงในแตละเลเยอรใหเขากันแลว ตอไปเราจะทําการตกแตงภาพ
ในแตละเลเยอรใหกลมกลืนกัน และทําเทคนิคผสานเลเยอรใหดูสวยงามได

ปรับเลเยอรที่ซอนใหมองทะลุถงึ กัน 
เปนลักษณะการปรับภาพใหจางลง จนกระทั่งกลายเปนภาพใสที่สามารถมองทะลุไปยังพื้นหลังได เราเรียก
คุณสมบัตินี้วา “Opacity” ซึง่ การปรับคา Opacity นี้จะเกิดขึ้นกับภาพทั้งภาพในเลเยอรนั้นรวมทั้งเอฟเฟกตที่ใชดวย
โดยมากเทคนิคนี้มักจะนิยมใชกับเลเยอรที่วางซอนกัน

พิมพจํานวนเปอรเซ็นต หรือเลื่อนสไลดเพื่อปรับคา Opacity

Opacity = 100% Opacity = 65% Opacity = 40%

เทคนิคการสราง Layer Mask 
เปนการเจาะภาพดานบนใหโปรงใส เพื่อใหภาพดานลางลอดขึ้นมาดานบนตามชองของหนากาก เราเรียกเทคนิค
นี้วา “Layer Mask”

สวนสีดําโปรงแสง
สวนสีขาวจะทึบแสง

สวนสีเทาโปรงแสงเล็กนอย
Page 107

ภาพดานบน

กําหนดการ
ไลโทนสี ภาพพื้นหลัง
ภาพพื้นหลังแสดงผาน
ขึ้นมาดานบนได
• สวนที่เปนสีดํา เปนสวนที่โปรงแสง คือ ภาพจากดานลางสามารถแสดงลอดเขามาได 100%
• สวนที่เปนสีเทา จะโปรงแสงนอยกวาสีดําแตไมทึบแสง ภาพจะแสดงไดตามขนาดความโปรงแสง
• สวนที่เปนสีขาว จะทึบแสง ภาพสวนนี้จะทึบแสง ภาพจากเลเยอรดานลางไมอาจแสดงลอดขึ้นมาได

การสราง Layer Mask ขึ้นมาใหมนั้นจะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask ใหกําหนดรูปแบบของ


Layer Mask มี 6 รูปแบบดังนี้

• White (full opacity) เปนการกําหนดคาทึบแสงเต็มที่ คือมีคา Opacity เปน 100% ทําใหเห็นภาพเล


เยอรในดานบนทั้งหมด
• Black (full transparent) เปนการกําหนดคาโปรงแสงเต็มที่ คือมีคา Opacity เปน 0% ทําใหเห็น
ภาพเลเยอรในดานลางทั้งหมด
• Layer’s alpha channel ลักษณะของมาสกจะเปนไปตามที่กําหนดในเลเยอร Alpha channel
• Transfer layer’s alpha channel จะทํางานคลายกับ Layer’s alpha channel แตจะมีการตั้งคา
Alpha channel เปนแบบ Full opacity
• Selection จะสรางมาสกตามการเลือกพื้นที่ คือ จะปรากฏภาพในสวนพื้นที่ที่เลือก สวนนอกพื้นที่ที่ทําการ
เลือกจะโปรงแสงดังนั้นจึงเห็นภาพที่อยูเลเยอรดานลาง
Page 108

• Grayscale copy to layer มาสกจะถูกสรางจากการนํารูปในเลเยอรมาทําเปนภาพแบบ Grayscale


สวนที่เปนสีขาวจะทึบแสงเต็มที่ สวนที่เปนสีดําจะมีความโปรงแสงเต็มที่ สวนที่เปนสีเทาจะมีการไลความโปรง
แสงตามความเขมของสี
• Channel จะสรางมาสกตาม Channel ที่เลือก

ในสวนตอไปจะแสดงการสราง Layer Mask 4 ตัวอยางดวยกันไดนี้

1. สราง Layer Mask โดยการไลโทนสี


2. สราง Layer Mask โดยการคัดลอกภาพ
3. สราง Layer Mask โดยการเลือกพื้นที่
4. ตกแตง Layer Mask อยางอิสระ

สราง Layer Mask โดยการไลโทนสี 
จากความรูที่กลาวไปขางตน เราสามารถนํา Layer Mask มาใชตกแตงภาพไดอยางกลมกลืน โดยการนําภาพ 2
ภาพมาซอนกัน แลวใหภาพหนึ่งเปน Mask หรือเปนหนากากเพื่อใหภาพในเลเยอรลางลอดออกมาจากชองของหนากาก

ภาพเลเยอรดานบนเปนภาพผูหญิง ภาพเลเยอรดานลางเปนภาพทุงหญา ผลจากการซอน Layer Mask จะเห็น


ภาพผูหญิง (ในเลเยอรดานบน) กับ
ทุงหญา (ในเลเยอรดานลาง)

1. ลาก 2 ภาพใหมาซอนกัน โดยใหภาพ Mask1 (เลเยอร Background) เปนเลเยอรลาง แลวให Mask2


เปนเลเยอรบน
2. เลือกเลเยอรบนใหเปน Active เลเยอรคลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask
3. จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask ในที่นี้ใหเลือกเปน White (full opacity)
4. จะปรากฏ Layer Mask ในเลเยอรที่กําลัง Active อยู
5. คลิกเมาสที่ เพื่อทําการไลโทนสี แบบ
6. เลือกสีที่จะไลโทนสีเปนโฟรกราวนด = สีดํา และแบ็คกราวนด = สีขาว
7. เลือกใหไลโทนสีจากโฟรกราวนดไปยังแบ็คกราวนด
8. ไลโทนสีในเลเยอรที่ตองการ Mask โดยใหสวนที่โปรงแสงมากกวาอยูดานที่เปนสีดํา
9. แสดงผลการซอนเลเยอรโดยการใช Layer Mask
Page 109

1. เรียง 2 ภาพตามลําดับ

จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask

3. เลือกเปน White
(full opacity)

2. คลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask 4. เพิ่ม Layer Mask


ในเลเยอร
5. คลิกเลือก Gradient Tool
8. ไลโทนสีจากสีดํา
6. เลือกสีโฟรกราวนด ไปยังสีขาว
และ แบ็คกราวนดเปน
สีดํา-ขาว

7. เลือกใหไลโทนสี
จากโฟรกราวนดไป 9. แสดงผลการ
ยังแบ็คกราวนด ซอนเลเยอรโดยการ
ใช Layer Mask

สราง Layer Mask จากการคัดลอกภาพ 
ในตัวอยางนี้เราจะเปลี่ยนพื้นหลังของภาพดอกไม ดวยการสราง Mask บังสวนของดอกไมไว จากนั้นใชการคัดลอกพื้น
หลังใหม (ภาพใหม) ที่ตองการนําไปแทนที่พื้นหลังของดอกไม ก็จะไดพื้นหลังใหมอยางแนบเนียน
Page 110

1. ใชเครื่องมือ Selection เลือกเฉพาะพื้นหลังของภาพดอกไม


2. เลือกพื้นหลังของภาพใหมที่ตองการนําไปแทรก
3. หลังจากที่เลือกภาพพื้นหลังใหม ใหเลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดคีย <Ctrl+C>
4. คลิกเมาสกลับมายังไฟลภาพดอกไม แลวเลือกคําสั่ง Edit>Paste Into หรือ กดคีย <Shift+Ctrl+V>
5. ภาพพื้นหลังใหมจะถูกนํามาวาง ใหเราใช Move Tool เลื่อนภาพใหอยู ในตําแหนงที่ตองการ
6. จะปรากฏเลเยอรลอยในไดอะล็อก Layers คลิกเมาส รวมเลเยอรลอยเขากับเลเยอร Background

1. เลือกพื้นที่รอบๆ ภาพซึ่ง 2. เลือกพื้นที่ภาพซึง่ 3. เลือกคําสั่ง


จะตองถูกแทนที่ ตองการจะนําไปแทนที่ Edit>Copy

4. เลือกคําสั่ง Edit>Paste Into 5. ภาพพื้นหลังใหมจะถูก


ในไฟลภาพที่ตองการแทนที่ นํามาวาง

6. คลิกเมาส ทําการรวม เลเยอรลอยเขากับเลเยอรหลัก


 

สราง Layer Mask โดยการเลือกพื้นที่ 
การสราง Layer Mask อีกรูปแบบหนึ่ง คือการใช Selection Tool เลือกสวนที่เราตองการ และลบสวนที่
ไมตองการออก โดยในตัวอยางเราตองการนําบางสวนของภาพไปตกแตงงานกราฟกของเรา

1. ใชเครื่องมือ Selection เลือกเฉพาะภาพดอกไม


Page 111

2. คลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask


3. จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask ในที่นี้ใหเลือกเปน Selection
4. สวนที่อยูนอกเหนือจากที่เราทําการ Selection จะหายไปหมด จากนั้นเราสามารถนําภาพไปสรางงานอื่นได

1. เลือกพื้นที่รอบๆ ภาพที่ตองการ 2. คลิกขวาเลือกคําสั่ง Add Layer Mask

จะปรากฏหนาตาง Add Layer Mask

แสดงการ Mask ใน
หนาตาง Layers

3. เลือกเปน
Selection

สวนที่อยู
นอกเหนือจากสวน
ที่เลือกจะหายไป
สามารถนําพื้นที่นั้นไป
สรางงานอื่นตอไป
Page 112

ตกแตง Layer Mask อยางอิสระ 
เทคนิคตอไปนี้เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยใหเรากําหนด Mask ไดอยางมีอิสระ โดยจะใชพูกันระบายเพื่อใหเกิดมาสก
ในสวนของภาพที่ตองการใหแสดงออกมาดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางภาพที่สรางจากการซอน Layer Mask

กําหนดใหสีโฟรกราวนดเปนสีดํา และแบ็คกราวนดเปนสีขาว

คลิกเมาสเพื่อทํางาน
กับ Mask

เมื่อใช ระบาย
สวนที่เปนภาพซอนจะ
ถูกบังหายไปบางสวน
เปนเหมือนการลด
พื้นที่ Mask

ลักษณะ Layer Mask


ที่พาเล็ต Layers

เมื่อใช สวนที่
เปน Mask ภาพจะ
เพิ่มขึ้น

NOTE 
เราสามารถลบ Mask Layer ไดเชนเดียวกับการลบเลเยอรแบบธรรมดา โดยลากเลเยอรไปจะทิ้งใน
Page 113

ทําความเขาใจกับ Layer Blending Mode 
Layer Blending Mode เปนการปรับสีภาพที่ซอนกันอยูใหผสมสีใหมออกมา ดูนาสนใจ กอนที่เราจะทํา
ความเขาใจเกี่ยวกับ Blending Mode ตางๆ มีคําศัพทพื้นฐาน 3 คําที่เราควรรูกอน คือ

o Base Color เปนสีของรูปที่เปน เลเยอร Background หรือสีเดิม


o Blend Color เปนสีของภาพหรือสีที่นํามาเติมเปนเลเยอรที่ซอนทับบนเลเยอร Back ground
o Result Color เปนสีของภาพทั้งหมดที่ไดจากการซอนทับสีของ Base Color กับสี Blend
Color

เลเยอร Background เปน Base Color เลเยอรที่ซอนทับเลเยอร Background เปน Result Color ผลจากการใช Blending
Blend Color

เราตองเริ่มจากการเตรียมภาพทั้ง 2 ที่ตองการ และใหเลือกวาภาพใดจะเปนภาพ Base Color และภาพใดจะ


เปนภาพ Blend Color จากนั้นใหดึงภาพทั้ง 2 มาไวในไฟลเดียวกัน

1. จากภาพที่มีอยู มี 2 เลเยอร คือ เลเยอรที่เปนรูปผูหญิงและเลเยอรที่เปนรูป สนามหญา ใหคลิกเมาสเลือกเลเยอรที่


เราตองการใชเปน Blending Mode ผสมสี (ในตัวอยางเลือก Layer1 รูปสนามหญา)
2. คลิกเมาสที่ ในไดอะล็อก Layers เพื่อเลือกลักษณะของ Blending mode ที่
ตองการ ในที่นี้เราเลือก Hard light สังเกตวาผลที่ได
3. คลิกเมาสปรับความโปรงใสของภาพไดที่ Opacity (ในตัวอยางเราเลือกคา Opacity = 50%) และเราจะ
ไดผลลัพธ ดังรูป

ภาพกอนการเปลี่ยนแปลง 1. คลิกเมาสเลือกเลเยอรที่ตองการใช
Blending Mode ผสมสี
Page 114

2. คลิกเลือก Hard Light ใน Blending Mode ภาพหลังการใช Blending mode ผสมสี

3. กําหนดคา Opacity ภาพหลังการปรับคา Opacity

Normal ที่คา Opacity = 50 Dissolve ที่คา Opacity = 50 Multiply

Divide Screen Overlay


Page 115

Dodge Burn Hard Light

Soft Light Grain extract Grain merge

Difference Addition Subtract

Darken only Lighten only Hue

Saturation Color Value

ใช Paint Brush Tool    ตกแตงภาพรวมกับ Blending Mode 


เราสามารถใช Brush Tool ชวยในการตกแตงภาพ Blending Mode เพิ่มเติมได โดยการเพิ่มสีตางๆ
เขาไปในภาพ ดวย Brush Tool จะชวยใหภาพในสวนของ Base Color มีความชัดเจนขึ้น ซึ่งเราอาจเลือกระบาย
ในบริเวณใดก็ได ดังตัวอยางตอไปนี้ เราจะเลือกใชสีแดงออนๆ ระบายทับบริเวณภาพผูหญิงเพื่อใหภาพของเธอเดนขึ้นมา
ดังนี้
Page 116

ภาพกอนการเปลี่ยนแปลง ภาพหลังการเปลี่ยนแปลง

1. คลิกเมาสเลือก Brush Tool ที่ Toolbox


2. คลิกเลือกสีที่ Foreground จะปรากฏหนาตาง Change Foreground Color ขึ้นมา
3. คลิกเลือกสีที่ตองการ (ในตัวอยางเลือกสีแดงชมพู) จากนั้น ใหคลิกเมาสปุม
4. ระบายในสวนที่เราตองการสรางภาพใหเดนขึ้น

1. คลิกเมาสเลือก
Brush Tool

2. คลิกเลือก
สีโฟรกราวนด

3. คลิกเลือกสีที่ตองการ
แลวคลิกเมาสตกลง

4. ระบายในสวนที่เราตองการสรางภาพ
ใหเดนขึ้น
Page 117

บทที่ 8 
การวาดภาพ และระบายสี 
ไมเพียงความสามารถในการตัดตอ และซอนภาพดังที่กลาวมาแลว เราสามารถใชโปรแกรม GIMP วาดภาพ
หรือระบายสีภาพได นอกจากนี้เรายังเอาใจคนที่ชอบวาดการตูน โดยจะกลาวถึงเทคนิคการนําภาพการตูนที่วาดมาลงสีดวย
โปรแกรม GIMP

วาดรูปทรงดวย Path tool 
การวาดภาพใน GIMP จะเปนการวาดภาพโดยใชเสนพาธ (Path) ซึ่งเสนพาธเหลานี้สามารถดึงใหตรง หรือ
ดัดโคงใหเกิดเปนรูปรางตางๆ ไดตามที่เราตองการดวยเครื่องมือ Path Tool โดยลากเสนพาธ และดัดเสนใหเกิด
ความโคง พื่อใหไดภาพเปนรูปทรงที่เราตองการ คลายๆ กับการใชตะปูยึดสายไฟในแตละจุดเพื่อใหเราสามารถลากสายไฟ
ไปตามสวนตางๆ ของผนังบานได

รูจักกับเสนพาธ 
เสนพาธ คือ เสนที่วาดเชื่อมตอกันจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง โดยที่ปลายทั้งสองของเสนจะมีจุดที่ใชยึดใหเสน
เชื่อมตอกันจุดนี้ เรียกวา จุดยึด (Anchor point) ซึ่งสามารถปรับจุดยึดเพื่อกําหนดรูปทรง และทิศทางของเสนได โดยมี
สวนประกอบดังตอไปนี้

A: สวนโคงของเสนพาธ
B: จุดปรับความโคงสามารถปรับทิศทางความโคงของเสนพาธ
C: แขนปรับความโคง เปนแขนที่ยื่นออกมาจากจุดยึด
D: จุดยึดใหเสนเชื่อมตอถึงกัน
E: จุดปลายของเสนพาธ

โดยทั่วไป เราจะแบงเสนพาธออกเปน 2 ประเภท คือ แบบเปด (Open Path) และแบบปด (Close Path)
มีลักษณะ ดังนี้
Page 118

เสนพาธแบบเปด (Open Path)


เปนเสนพาธที่จุดปลายทั้งสองดาน
ไมบรรจบกัน

เสนพาธแบบปด (Close Path)


เปนเสนพาธที่จุดปลายทั้งสองดาน
มาบรรจบกัน (เปนจุดเดียวกัน)

เนื่องจากเสนพาธที่เราสรางขึ้นมา อาจประกอบดวยสวนของเสนตรงหรือเสนโคงก็ได ฉะนั้นจุดยึดที่เกิดขึ้นจะ


แบงออกไดเปน 2 ชนิด ไดแก จุดยึดสวนโคง (Smooth Point) และจุดยึดสวนมุม (Corner point)

จุดยึดสวนโคง (Smooth Point) เปนจุด


ที่เชื่อมตอระหวางเสนโคงกับเสนโคง

จุดยึดสวนมุม (Corner Point) เปนจุดที่


เชื่อมตอระหวางเสนตรงกับเสนตรง
หรือเสนโคงกับเสนโคงก็ได

ฝกวาดเสนพาธ 
เราจะวาดเสนพาธตามรูปอมยิ้มรูปหัวใจ โดยจะมี ขั้นตอนในการสรางและปรับแตงดังนี้

• ขั้นตอนที่ 1 สรางเสนพาธ
• ขั้นตอนที่ 2 การเพิ่มจุดรอยตอของเสนพาธ
• ขั้นตอนที่ 3 การเคลื่อนยายจุดรอยตอของเสนพาธ
• ขั้นตอนที่ 4 ลบจุดรอยตอของเสนพาธ
• ขั้นตอนที่ 5 ปรับสวนโคงของเสนพาธ

เสนพาธรูปหัวใจ

ขั้นตอนที่ 1 สรางเสนพาธ 
เริ่มตนเลือกใชงานเครื่องมือ Pen Tool ทําการสรางเสนพาธดังนี้

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Path Tool


2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Design เพื่อ
สรางเสนพาธใหม ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป
3. คลิกเมาสที่ตําแหนงเริ่มตน
Page 119

4. คลิกเมาสที่ตําแหนงปลาย จะไดเสนตรงลากเชื่อมจุดทั้งสอง โดยปลายของเสนทั้งสองดานจะเปนสัญลักษณ


รูป (เรียกสัญลักษณนี้วา “จุด Anchor”) และขณะนั้นตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปน
5. คลิกเมาสที่จุดตอๆ ไปที่เราตองการสรางเสนตอเนื่องครบวง ปดเสนพาธใหเปนแบบปด โดยกดคีย <Ctrl>
คางไว ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป คลิกเลือกที่จุดเริ่มตน
6. ผลลัพธที่ไดในตัวอยางจะเปนรูปสามเหลี่ยมปด โดยเสนพาธที่สรางขึ้นจะปรากฏที่ไดอะล็อก Paths

1. คลิกเลือก Path Tool


3. คลิกเมาสที่ตําแหนงเริ่มตน

2. เลือกโหมดการใช
งานเครื่องมือแบบ
Design

4. คลิกเมาสที่ตําแหนงปลาย

5. คลิกเมาสที่จุดตอๆ ไป และปดพาธ โดยกดคีย <Ctrl> 6. ผลลัพธของเสนพาธรูป


คางไว ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป คลิกเลือกที่ สามเหลี่ยมแบบปด
จุดเริ่มตน
Page 120

ขั้นตอนที่ 2 การเพิ่มจุดรอยตอของเสนพาธ 
จากหัวขอที่ผานมา เราจะไดลักษณะของเสนพาธที่มีรอยตอของเสนพาธ อยู 3 จุด ตอไปเราสามารถเพิ่มจุดรอยตอ
เหลานี้ไดโดยเปลี่ยนโหมดของเครื่องมือ Path Tool เปน แบบ Edit เพื่อแกไขโดยการเพิ่มจุดแองเคอรไวใชในการ
ปรับแตงภาพ

1. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกการโหมดใชงานเครื่องมือแบบ Edit เพื่อแกไขเสน


พาธ
2. นําเมาสไปชี้ที่ตําแหนงที่เราตองการเพิ่มจุดรอยตอบนเสนพาธของเรา ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป จากนั้น
คลิกเมาสเพื่อเพิ่มจุด
3. จะไดจุดรอยตอที่เพิ่มขึ้นพรอมแขนทั้งสองขางสําหรับการปรับสวนโคง

1. เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือ
แบบ Edit

2. คลิกเพิ่มจุด 3. จะไดจุดรอยตอที่เพิ่มขึ้น
พรอมแขนทั้งสองขาง

ขั้นตอนที่ 3 เคลื่อนยายจุดรอยตอของเสนพาธ 
อีกขั้นตอนหนึ่งของการสรางเสนพาธ คือ การเคลื่อนยายจุดรอยตอ โดยอาศัยการทํางานรวมกับจุด Anchor
โดยตรง ซึ่งเราจะตองเปลี่ยนโหมดของเครื่องมือกลับไปเปนแบบ Design ดังตัวอยางเราจะเคลื่อนยายเสนพาธไปยังขอบ
ของรูปหัวใจ

1. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Design เพื่อยาย


ตําแหนงจุดแองเคอร
Page 121

2. คลิกเลือกจุดรอยตอบนเสนพาธที่เราตองการเคลื่อนยาย ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป และคลิกลากเมาสไปยัง


ตําแหนงใหมที่เราตองการ
3. ผลลัพธที่ไดคือ จุด Anchor ที่เราลากเมาสนั้นจะเปลี่ยนตําแหนงไปตามที่ตองการ

1. เลือกโหมดการใช
งานเครื่องมือแบบ
Design

2. คลิกลากจุดไปยัง 3. ผลลัพธคือจุดแองเคอร จะยาย


ตําแหนงที่ตองการ ไปยังตําแหนงที่ตองการ

ขั้นตอนที่ 4 ลบจุดรอยตอของเสนพาธ 
ในขณะที่เรากําลังทํางานกับเสนพาธอยูนั้น หากเกิดการผิดพลาด เชน วาดเสนในตําแหนงที่ผิด วางจุด Anchor
ไมถูกตามแบบที่คิดไว เราสามารถทําการแกไขไดโดยการลบจุดรอยตอของเสน หรือลบจุด Anchor นั้นเอง โดยเปลี่ยน
โหมดการใชงานเครื่องมือเปนแบบ Edit และทําการลบจุดที่ไมตองการออก ดังตัวอยางเราจะลบจุด Anchor ที่อยูบนรูป
หัวใจออกไป

1. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่ Tool Options โดยเลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Edit เพื่อแกไขเสน


พาธ
2. กดคีย <Shift> คางไวขณะเลือกจุด ตัวชี้เมาสจะกลายเปนรูป และคลิกลบจุดที่ตองการ
3. ผลลัพธที่ไดคือ จุด Anchor นั้นจะหายไป

1. เลือกโหมดการใชงาน 2. คลิกลบจุดที่ 3. ผลลัพธที่ไดจุด


เครื่องมือแบบ Edit ตองการ แองเคอรจะหายไป
Page 122

ขั้นตอนที่ 5 ปรับสวนโคงของเสนพาธ 
เราสามารถปรับเสนพาธใหเปนเสนโคงตามทิศทางที่เราตองการ โดยกําหนดโหมดในการใชเครื่องมือ Path
Tool เปนแบบ Edit และทําการแกไขสวนโคงของเสน ดังตัวอยางเราจะปรับเสนพาธใหพอดีกับเสนโคงของรูปหัวใจดังนี้

1. คลิกเมาสที่จุดที่ตองการปรับ จะปรากฏแขนของจุดนั้น คลิกที่ปลายแขน ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป


2. คลิกเลือกที่ปลายแขนของสวนโคง และลากเมาสปรับไปตามตําแหนงที่ตองการ

1. คลิกเมาสที่จุดทีต่ องการปรับ 2. คลิกเลือกที่ปลายแขนของสวนโคง


และลากเมาสปรับความโคงของเสน

NOTE 
ในการปรับเสนพาธในขั้นตอนตอๆ ไป เราจะใชการเพิ่ม/ลดจุด ปรับความโคง และการยายตําแหนงของจุดตาม
วิธีที่ไดกลาวมาแลว เพื่อสรางรูปพาธใหไดอยางที่ตองการ

ลากเมาสปรับจุดตางๆ จนไดรูปทรง
ตามตองการ

การเคลือ่ นยายพาธ 
เราสามารถเคลื่อนยายเสนพาธทั้งชิ้นได โดยกําหนดโหมดในการใชเครื่องมือ Path Tool เปนแบบ Move
และคลิกเคลื่อนยายตําแหนง ดังนี้
Page 123

1. เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือแบบ Move
2. คลิกยายตําแหนงพาธ

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือ Path Tool 
เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Path Tool ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง
Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

เลือกโหมดการใชงานเครื่องมือ
กําหนดใหสรางเสนพาธเปนเสนตรง

คลิกเพื่อสรางการเลือกพื้นที่จากพาธที่เราสราง

คลิกเพื่อกําหนดการเติมสีใหกับเสนพาธ

TIP 
ในขณะที่เราวาดรูปภาพในโหมด Design เราสามารถเปลี่ยนโหมดการใชงานไปเปนโหมดตางๆ โดย

• กดคีย <Ctrl> เพื่อเปลี่ยนเปนโหมด Edit สําหรับเพิ่มจุดแองเคอร และปรับความโคง


• กดคีย <Ctrl+Shift> เพื่อลบจุดแองเคอร
• กดคีย <Alt> เพื่อเปลี่ยนเปนโหมด Move สําหรับเคลื่อนยายชิ้นพาธ

การทํางานกับเสนพาธที่วาดขึ้น  
เมื่อเราทําการวาดชิ้นพาธที่ตองการแลว ชิ้นพาธที่ไดจะไปปรากฏอยูที่ไดอะล็อก Paths เพื่อทําใหเราสามารถ
จัดการกับพาธไดงายๆ

ทําความรูจักกับไดอะล็อก Paths 
Page 124

แท็ปแสดงไดอะล็อก Paths

ปุมแสดงเมนูของ Paths

ใสสีใหกับเสนพาธ แสดงเสนพาธที่มีอยู

ใสสีใหกับเสนพาธ สรางเสนพาธใหเปนการเลือกพื้นที่

กอปปพาธ
เลื่อนลําดับพาธลงไปดานลาง สรางการเลือกพื้นที่ใหเปนเสนพาธ

เลื่อนลําดับพาธขึ้นไปดานบน ใสสีใหกับเสนพาธ
สรางพาธใหม
ลบเสนพาธ

การสรางพาธใหม 
ในกรณีที่ตองการสรางเสนพาธใหม สามารถทําไดโดยการคลิกที่ปุม (New Path) ซึ่งการทํางานนั้นจะ
คลายกับเปนการสรางเลเยอรใหมใหกับชิ้นงานของเรา ดังนี้

1. คลิกเลือก
2. จะปรากฏหนาตาง New Path ใหเราตั้งชื่อของภาพที่จะสราง
3. คลิกที่ปุม พาธใหมที่ตองการจะปรากฏทันที

2. ตั้งชื่อพาธ

1. คลิกเมาส 3. คลิกเมาส พาธใหมที่สรางขึ้น

การซอน/แสดงเสนโครงรางของพาธ 
เมื่อเราใสสีใหกับเสนพาธ เราจะยังคงเห็นเสนโครงรางของพาธที่วาดขึ้น ซึ่งเราสามารถซอนและแสดงเสนโครง
รางของพาธได โดยคลิกที่
Page 125

คลิกแสดงพาธ

ผลลัพธเมื่อแสดงพาธ

คลิกซอนพาธ

ผลลัพธเมื่อซอนพาธ
การคัดลอกพาธ 
หากเราไมตองการสรางเสนพาธรูปเดิมใหม หรือตองการคัดลอกไปวางในไฟลภาพอื่น ใหเราทําการคัดลอกได
โดยคลิกที่ปุม จะปรากฏพาธที่คัดลอกขึ้นมาใหมทันที ดังนี้

1. คลิกเลือกพาธทีต่ องการกอปป

3. จะไดพาธที่กอปป
ขึ้นมาใหม

2. คลิกเมาส
Page 126

การเปลี่ยนลําดับพาธ 
โดยปกติพาธที่ซอนกันจะถูกเรียงเปนลําดับตามการสรางงานของเรา (สรางกอนจะอยูชั้นลางสุด) แตเพื่อความ
เหมาะสม เราก็สามารถสลับตําแหนงการวางของพาธแตละชิ้นได โดยคลิกที่ เพื่อเลื่อนลําดับพาธจากลางขึ้นขางบน
และ เพื่อเลื่อนลําดับพาธจากขางบนลงมาขางลาง

1. คลิกเลือกพาธ

2. คลิกเลื่อนพาธขึน้

การปรับพาธที่เราสรางขึ้นใหเปนการเลือกพื้นที่ 
หากเราจะเติมสี หรือตัดพื้นที่ในเสนพาธที่สรางขึ้น เพื่อนําไปใชงานตางๆ จะตองเปลี่ยนเสนพาธนั้นใหอยูในรูป
ของการเลือกพื้นที่เสียกอน จากตัวอยางที่ผานมาเราจะมาศึกษาตอถึงการปรับเสนพาธที่เราวาดใหเปนการเลือกพื้นที่ได โดย
คลิกเลือกที่ปุม ดานลางของไดอะล็อก Paths หรือใชคําสั่ง Path to selection ที่ปุมแสดงเมนูของ Paths
ดังตอไปนี้

1. คลิกเมาสที่
2. เลือกคําสั่ง Paths Menu>Path to selection

1. คลิกเมาส

2. เลือกคําสั่ง Paths Menu>Path to selection ผลลัพธจะไดการเลือกพื้นที่


Page 127

NOTE 
นอกจากนี้แลวเรายังสามารถสรางการเลือกพื้นที่จากเสนพาธได โดยคลิกที่ ใน
Tool Options ของเครื่องมือ Path Tool

TIP 
นอกจากจะสามารถสรางการเลือกพื้นที่จากเสนพาธไดแลว ยังสามารถสรางเสนพาธจากการเลือกพื้นที่ได โดย
คลิกที่ปุม หรือเลือกคําสั่ง Paths Menu>Selection to Path ที่ปุมแสดงเมนูของ Paths ในไดอะล็อก
Paths ก็ได

การรวมเสนพาธกับการเลือกพื้นที่ที่ซอนทับกัน 
ตอไปเมื่อเรามีการเลือกพื้นที่อยูแลว เราสามารถสรางพาธขึ้นมาอีกชิ้นหนึ่ง และ ทําการจัดการพื้นที่ระหวางเสน
พาธ และการเลือกพื้นที่ที่มีอยูไดหลายลักษณะ ดังนี้

1. สรางเสนพาธขึ้นมาอีก 1 ชิ้น
2. คลิกเมาสที่ เลือกคําสั่ง Paths Menu
3. คลิกเลือกคําสั่งที่ตองการ ตัวอยางจะเลือกคําสั่ง Add to selection

1. สรางเสนพาธ

2. คลิกเมาส เลือก
คําสั่ง Paths Menu
Page 128

3. เลือกคําสั่ง Add to selection

ผลลัพธการเลือกพื้นที่

ตัวอยางการรวมพื้นที่แบบอื่นๆ 

ผลลัพธการเลือกพื้นที่แบบ Intersect with Selection


เหลือการเลือกพื้นที่ไวเฉพาะสวนที่ซอ นทับกัน

การใสสีใหกับเสนพาธ 
นอกจากการสรางพื้นที่ภาพดวยเสนพาธ เรายังสามารถสรางพาธใหเปนเสนไดตามตองการ โดยคลิกเลือกที่
ปุม ดานลางของไดอะล็อก Paths หรือใชคําสั่ง Stroke Path ที่ปุมแสดงเมนูของ Paths ดังตอไปนี้

1. คลิกเมาสที่
2. เลือกคําสั่ง Paths Menu>Stroke Path
3. จะปรากฏหนาตาง Stroke Path ใหเราเลือกลักษณะของการเติมสีใหเสนพาธสามารถเลือกได 2 ลักษณะ คือ
o Stroke line กําหนดเสนพาธเอง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
o Line Width กําหนดความกวางของเสน
o Line Style กําหนดรูปแบบเสน มีรายละเอียดดังนี้

Cap Style กําหนดรูปแบบของปลายเสนแบบเปดมีใหเลือก 3 แบบ

แบบปลายตัดพอดีเสนพาธ
แบบปลายมน
แบบปลายตัดเลยออกมารอบเสนพาธ
Page 129

Join Style กําหนดรูปแบบรอยตอของเสนพาธบริเวณมุม

แบบมุมฉาก
แบบมุมมน
แบบมุมตัดฉาก

Miter limit กําหนดความแหลมของมุมตัด ซึ่งจะสัมพันธกับขนาดของเสน

Dash Pattern สวนที่ใหเรากําหนดลักษณะเสนไดเอง

Dash Preset สามารถเลือกลักษณะเสนที่กําหนดไวใหแลว

Antialiasing คลิกเพื่อกําหนดการตัดเหลี่ยมขอบของเสนใหดูสวยงามขึ้น

o Solid กําหนดใหเปนการใสสีใหกับเสน
o Pattern กําหนดใหเปนการใสลวดลายใหกับเสน
o Stroke with a paint tool กําหนดใหเติมสีเสนดวยเครื่องมือเติมสีตางๆ
o Paint Tool เลือกเครื่องมือเติมสีที่ตองการ
4. คลิกปุม เพื่อตกลงใชลักษณะการเติมสีเสนที่กําหนด

1. คลิกเมาส

ลักษณะของเสนพาธ

2. เลือกคําสั่ง Paths
Menu>Stroke Path
Page 130

3. กําหนดลักษณะการเติมสีเสน

ผลลัพธของเสนที่ได

4. คลิกเมาส

Workshop การวาดภาพการตูนดวยเครื่องมือ Path Tool 

ในหัวขอนี้ เราจะลองวาดภาพการตูนดวยเครื่องมือ Path Tool และระบายสีภาพการตูน ตั้งแตเริ่มโดยแบงเปน


ขั้นตอนหลักๆ ดังนี้

o ขั้นตอนที่ 1 สรางเสนพาธภาพการตูน
o ขั้นตอนที่ 2 ใสสีภาพการตูน
o ขั้นตอนที่ 3 ใสลวดลายเสื้อการตูน
o ขั้นตอนที่ 4 ตกแตงสีสันเพิ่มเติม

ขั้นตอนที่ 1 สรางเสนพาธภาพการตูน  
เราจะเริ่มจากการนําภาพการตูนที่สเก็ตไวเขามา และสรางเสนพาธตามภาพ ดังนี้
Page 131

2. ใช ลากพื้นที่
ภาพที่เราตองการลงไป
โดยการแบงพื้นที่ภาพ
ออกเปนสวนๆ เพื่อ
นําไปใสสีพื้นในหัวขอ
ตอไป

1. ทําการสเก็ตภาพการตูนลงบนกระดาษ จากนั้นใชเครื่อง
สแกนเนอร ทําการสแกนภาพลงในเครื่องคอมพิวเตอร

3. แสดงการลากเสน
พาธในสวนใบหนา
และลําตัวเปนพื้นที่
เดียวกันในเลเยอร
ใหมที่ชื่อวา body

5. แลวทําการใสสีเนื้อลง
บนภาพ ดังรูป

4. คลิกเปลี่ยนเสนพาธ
เปนการเลือกพื้นที่

ขั้นตอนที่ 2 ใสสีสวนตางๆ ใหการตูน 


เปนการใสสีเพื่อตกแตงสวนประกอบตางๆ ใหกับภาพการตูน ไดแก ดวงตา ผม แขน กางเกง และขา
Page 132

6. ทําการซอนเลเยอร body โดยคลิกเมาสเพื่อปดตา

7. สรางเลเยอรใหม และใช 8. ทําการใสสีดวงตา


วาดเสนพาธในสวนของตา

9. สรางเลเยอรใหม และใช วาดเสนพาธ


10. ทําการใสสีใหกับผม
ในสวนพื้นที่ของผมการตูน

11. สรางเลเยอรใหม และ ใช


วาดเสนพาธ ในสวนพื้นที่ของแขน
กางเกง และขา จากนั้นทําการใสสี
ตามตองการดังรูป

ขั้นตอนที่ 3 ใสลวดลายเสื้อการตูน 
Page 133

12. สรางเลเยอรใหม และใช


วาดเสนพาธของเสือ้

กําหนดการเทสี แบบ Pattern

13. แปลงเสนพาธในสวนเสื้อผาให
เปลี่ยนเปนเสนของการ เลือกพื้นที่
และใช เทสีพื้นเปนแบบ
Pattern ในสวนของเสื้อ

ขั้นตอนที่ 4 ตกแตงสีเพิ่มเติม 

14. เลือกที่เลเยอร body และ


Hand ใช ชวยในการ
ตกแตงการปดแกม และเงา
บริเวณลําตัว และแขน ดังรูป
Page 134

15. ซอนเลเยอรทั้งหมด และแสดงให


เห็นเฉพาะเลเยอร Background ของ
โครงรางภาพการตูนเทานั้น

16. สรางเลเยอรใหมขึ้นมา ในที่นี้ตั้งชื่อวา


line แลวใช ตัดเสนโครงรางของตัว
การตูน โดยลากตัดเปนเสนคูใหบรรจบกัน
เพื่อใหเห็นการแบงสวนตางๆ ของตัว
การตูนใหดูชัดเจนมากขึ้น

17. แสดงการวาดภาพการตูน และ


ไดตกแตงสีสันตามจินตนาการของ
เราเรียบรอย

แสดงภาพเลเยอร
ภาพทั้งหมด
Page 135

บทที่ 9 
ความรูเรื่องสี และการเลือกใชสี 

การแสดงสีที่มาจากจอภาพ หรือสิ่งพิมพจะเกิดจากการผสมสีที่ลอกเลียนแบบธรรมชาติในวิธีการตางๆ ดังนั้น


โปรแกรม GIMP จึงพยายามที่จะเลียนแบบสีธรรมชาติเหลานั้น โดยการนําหลักการแสดงสีของโมเดลสีในรูปแบบตางๆ
เขามาประยุกตใหเกิดเปนโหมดสีจํานวนมาก เพื่อเปดใหผูใชงานไดทํางานกับสีไดมากที่สุด จึงทําใหความรูเรื่องสีเปนสิ่งที่
สําคัญอยางยิ่งสําหรับคนที่ตองการตกแตงภาพใน GIMP เนื่องจากเปนพื้นฐานแรกกอนที่เราจะสรางงานกราฟกในขั้น
ตอๆ ไป โดยในบทนี้เราจะมาเรียนรูจักเรื่องของสีและความรูเกี่ยวกับสีที่นักกราฟกควรทราบกัน

โมเดลการมองเห็นสีทั่วไป 
โดยทั่วไปแลวสีตางๆ ในธรรมชาติและสีที่ถูกสรางขึ้น จะมีรูปแบบการมองเห็นสีที่แตกตางกัน ซึ่งรูปแบบการ
มองเห็นสีนี้เรียกวา ”โมเดล (Model)” ดังนั้น จึงทําใหมีโมเดลหลายแบบดังที่เราจะไดศึกษาตอไปนี้คือ

โมเดลแบบ HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย

โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร

โมเดล CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ

โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE

โมเดลแบบ HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย 
เปนลักษณะพื้นฐานของการมองเห็นสีดวยสายตาของมนุษย โมเดล HSB จะ ประกอบดวยลักษณะของสี 3
ลักษณะคือ

1. Hue เปนสีของวัตถุที่สะทอนเขามายังตาของเรา ทําใหเราสามารถมองเห็นวัตถุเปนสีได ซึ่งแตละสีจะแตกตาง


กันตามความยาวของคลื่นแสงที่มากระทบวัตถุและสะทอนกลับมาที่ตาของเรา Hue ถูกวัดโดยตําแหนงการ
แสดงสีบน Standard Color Wheel ซึ่งถูกแทนดวยองศา คือ 0 ถึง 360 องศา แตโดยทั่วๆ ไปแลว มักจะ
เรียกการแสดงสีนั้นๆ เปนชื่อของสีเลย เชน สีแดง สีมวง สีเหลือง
Page 136

คา Hue จะบอกคาสีเปนองศา จาก 0


องศาหมุนไปถึง 360 องศา

2. Saturation คือสัดสวนของสีเทาที่มีอยูในสีนั้น โดยวัดคาสีเทาในสีหลักเปนเปอรเซ็นตดังนี้คือ จาก 0% (สี


เทาผสมอยูมาก) จนถึง 100% (สีเทาไมมีเลย หรือเรียกวา “Full Saturation” คือสีมีความอิ่มตัวเต็มที่) โดย
คา Saturation นี้จะบงบอกถึงความเขมขนและความจางของสี ถาถูกวัดโดยตําแหนงบน Standard
Color Wheel คา Saturation จะเพิ่มขึ้นจากจุดกึ่งกลางจนถึงเสนขอบ โดยคาที่เสนขอบจะมีสีที่ชัดเจน
และอิ่มตัวที่สุด

คา Saturation เริ่มตั้งแต 0 % ที่จุดกึ่งกลางไลไปเรื่อยๆ


จนถึง 100 % ที่ขอบ

3. Brightness เปนเรื่องของความสวางและความมืดของสี ซึ่งถูกกําหนดคาเปนเปอรเซ็นตจาก 0% (สีดํา) ถึง


100% (สีขาว) ยิ่งมีเปอรเซ็นตมากจะทําใหสีนั้นสวางมากขึ้น

H+S แทนคาสีทั้งหมดที่เกิดขึ้นหลังจากที่
Hue+Saturation

โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร 
โมเดล RGB เกิดจากการรวมกันของสเปกตรัมของแสงสี แดง (Red), เขียว (Green) และน้ําเงิน (Blue) ใน
สัดสวนความเขมขนที่แตกตางกัน โดยจุดที่แสงทั้งสามสีรวมกันจะเปนสีขาว นิยมเรียกการผสมสีแบบนี้วา “Additive”
แสงสี RGB มักจะถูกใชสําหรับการสองแสงทั้งบนจอภาพทีวีและจอคอมพิวเตอร ซึ่งสรางจากสารที่ใหกําเนิดแสงสีแดง สี
เขียวและสีน้ําเงิน ทําใหสีดูสวางกวาความเปนจริง
Page 137

โมเดล CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ 
โมเดล CMYK มีแหลงกําเนิดสีอยูที่การซึมซับ (Absorb) ของหมึกพิมพบนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐานคือ สีฟา
(Cyan), สีบานเย็น (Magenta) และเหลือง (Yellow) โดยเรียกการผสมสีทั้ง 3 สีขางตนวา “Subtractive
Color” แตสี CMYK ก็ไมสามารถผสมรวมกันใหไดสีบางสี เชน สีน้ําตาล จึงตองมีการเพิ่มสีดํา (Black) ลงไป ฉะนั้น
เมื่อรวมกันทั้ง 4 สี คือ CMYK สีที่ไดจากการพิมพ จึงจะครอบคลุมทุกสี

โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE 


โมเดล Lab เปนคาสีที่ถูกกําหนดขึ้นโดย CIE (Commission Internationale d Eclarirage) ให
เปนมาตราฐานกลางของการวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYK และใชไดกับสีที่เกิดจากอุปกรณทุก
อยางไมวาจะเปนจอคอมพิวเตอร เครื่องพิมพ เครื่องสแกนและอื่นๆ สวนประกอบของโหมดสีนี้ไดแก

L หมายถึง คาความสวาง (Luminance)


a หมายถึง สวนประกอบที่แสดงการไลสีจากสีเขียวไปยังสีแดง
b หมายถึง สวนประกอบที่แสดงการไลสีจากสีน้ําเงินถึงสีเหลือง
Page 138

โมเดลการมองเห็นสีในโปรแกรม GIMP 
จากการมองเห็นสีโดยทั่วไปมาสูหลักการมองเห็นสีใน GIMP ที่เราจะเรียกวา “โหมด (Mode)” ซึ่งโหมด
ของสีใน GIMP จะแบงออกเปน 3 กลุม ดังนี้

o กลุมที่ 1 โหมดที่อางอิงตามโมเดล
o กลุมที่ 2 โหมดทีถ่ ูกกําหนดขึ้นพิเศษหรือที่เรียกวา ”โหมด Specialized”
o กลุมที่ 3 โหมดทีใ่ ชกับการควบคุมคาของพิกเซลหรือที่เรียกวา “โหมด Blending”

ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

กลุมที่ 1 โหมดที่อางอิงตามโมเดล 
โหมด RGB 
ใชหลักการของโมเดล RGB โดยมีการกําหนดคาความเขมขนของสีแดง เขียว และน้ําเงินที่มาผสมกันในแตละ
พิกเซล เปนคาตั้งแต 0-255 ตัวอยางเชน สี Bright Red เกิดจาก R (สีแดง) ที่ 246 และ G (สีเขียว) ที่ 20 และ B (สี
น้ําเงิน) ที่ 50 ภาพที่เกิดจากโหมด RGB จะเปนการซอนสีหลัก 3 ชั้น และสามารถมองทะลุผาน 3 สีนี้ จนกลายเปนภาพ
ซึ่งเรียกชั้นของสีเหลานี้วา “Channel” โดยปกติสีทั่วไปในการแสดงผลจะมีถึง 16.7 ลานสี หรือ 224

ภาพในโหมด RGB ซึ่งเกิดจากการผสมของแสงสี แดง เขียว


และน้ําเงิน

แสงสีแดง (Red) แสงสีเขียว (Green) แสงสีน้ําเงิน (Blue)

โหมด CMYK 
ใชหลักการของโมเดล CMYK โดยมีการกําหนดคาสีจากเปอรเซ็นตความเขมขนของสีแตละสีที่มาผสมกัน เชน
สี Bright Red เกิดจาก C = 2%, M = 93%, Y = 90% และ K = 0% (หรือสีขาว)
Page 139

ภาพในโหมด CMYK ซึ่งเกิดจากการผสมของหมึกสี Cyan,


Magenta ,Yellow และ Black

สีฟา (Cyan) สีบานเย็น (Magenta)

สีเหลือง (Yellow) สีดํา (Black)

โหมด LAB 
ใชหลักการของโมเดล LAB ในการผสมสี โดยโปรแกรมจะยึดโหมดนี้เปนเหมือนตัวกลางในการแปลงจาก
โหมดสีหนึ่งไปอีกโหมดสีหนึ่ง เนื่องจากหลักการของ LAB นี้เปนมาตรฐานที่ไมขึ้นอยูกับโมเดลใดๆ จึงใชเปนโหมด
ตัวกลางนั่นเอง

ภาพในโหมด LAB ซึ่งเกิดจากการผสมกันของ 3


องคประกอบคือ L*a*b
Page 140

Lightness A Component (green-red) B Component (blue-yellow)

กลุมที่ 2 โหมดที่ถูกกําหนดขึ้นพิเศษหรือที่เรียกวา “โหมด Specialized” 


โหมด Grayscale 
ประกอบดวยสีทั้งหมด 256 สี โดยไลสีจากสีขาว สีเทาไปเรื่อยๆ จนทายสุดคือสีดํา ใชพื้นที่ในการเก็บขอมูล 8
บิต

โหมด Indexed color 
ถึงแมบางภาพจะมีสีไดมากถึง 16.7 ลานสี แตสวนใหญจะใชไมถึง ในกรณีที่เราตองการลดขนาดไฟลภาพก็อาจ
ใชโหมดนี้ ซึ่งจะทอนสีใหเหลือใกลเคียงกับที่ตองใช โหมดนี้สามารถแสดงสีได 256 สี โดยคุณภาพไมลดลงมากนัก

กลุมที่ 3 โหมด Blending กับการควบคุมคาพิกเซลในไดอะล็อก Layers  


เปนโหมดพิเศษที่ใชเฉพาะในไดอะล็อก Layers และโหมดในการระบายสีดวยเครื่องมือใสสีตางๆ เพื่อเปน
ตัวกําหนดวาพิกเซลแตละพิกเซลจะมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรเมื่อมีการปรับเปลี่ยนใหแสดงผลในโหมด Blending
ตางๆ (สําหรับรายละเอียดดูไดจากบท “เทคนิคการแตงภาพในเลเยอร”)

การเปลี่ยนโหมดสีของภาพ 
โดยปกติแลว ภาพที่เราเก็บไวในคอมพิวเตอรนั้นจะเปนโหมด RGB แตถาเราตองเปลี่ยนโหมดของภาพเพื่อให
เหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะนําไปใชก็สามารถเปลี่ยนโหมดสีได ดังนี้

เปลี่ยนโหมดสี RGB เปน Grayscale 


ภาพในโหมด Grayscale จะเปนภาพไลโทนสีขาว-ดํา เหมาะกับการนําไปผลิตงานสิ่งพิมพสีเดียว สามารถ
เปลี่ยนโหมดได ดังนี้
Page 141

เลือกคําสั่ง
Image>Mode>Grayscale

เปลี่ยนโหมดสี RGB เปน Indexed color 


ภาพในโหมด Indexed color จะใชสําหรับกรณีที่เราตองการลดขนาดไฟลภาพ ซึ่งจะทอนสีใหเหลือ
ใกลเคียงกับที่ตองใช โดยไมมีผลกับคุณภาพของภาพ สามารถเปลี่ยนโหมดได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Image>Mode>Indexed...
2. จะปรากฏหนาตาง Indexed Color Conversion ใหเรากําหนดคาตางๆ

Colormap กําหนดคาของสีจะใชเลือกได 4 แบบ

ƒ Generate optimum palette กําหนดจํานวนสีที่จะใช


ƒ Use web-optimized palette กําหนดใหใชสีจากพาเล็ตสีที่ใชงานบนเว็บ
ƒ Use black and white (1-bit) palette กําหนดใหใชสีเพียง 2 สี คือ สีขาว และสี
ดํา
ƒ Use custom palette เลือกสีจากพาเล็ตสีตางๆ

Dithering กําหนดความกลมกลืนในการผสมเฉดสีในภาพซึ่งมีใหเลือกหลายรูปแบบ

Enable dithering of tranparency กําหนดใหมีการกําหนดความกลมกลืนในสวนของ


Transparency

3. คลิกปุม เพื่อตกลงการใชคาที่กําหนด
Page 142

1. เลือกคําสั่ง
Image>Mode>Indexed..

2. กําหนดคาตางๆ 3. คลิกเมาส

เปลี่ยนโหมดสีแบบอื่นๆ 
นอกจากนี้ยังสามารถกําหนดสีเปนโหมดอื่นๆ ได ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Color>Components>Decompose…

2. เลือกโหมดภาพที่ตองการ
Page 143

การเลือกใชสกี ับงานกราฟก 
งานกราฟกที่เราสรางนั้น ลวนแตมีจุดประสงคที่จะสื่อใหผูชมเขาใจถึงความหมาย และมีความรูสึกรวมกับงาน
ชิ้นนั้น ตัวอยางเชน โฆษณาขายบานที่ตองการแสดงถึงความรักและความอบอุน การโฆษณาขายเสื้อผาของคนแตละวัยก็
ตองการดีไซนที่ตางกัน หากเปนผูชายวัยทํางานก็ตองดูภูมิฐาน และผูหญิงวัยรุนก็ตองมีความอินเทรน ดังนั้นการใชสีที่สื่อ
ถึงกลุมคนและความรูสึกเหลานี้ลวนแตมีความสําคัญ

สีและวงลอของสี 
ในวงลอของสีเราสามารถแบงสีไดเปน 3 หมวดหมู ดังนี้

• สีขั้นที่ 1 (Primary Color) เปนแมสีนั่นเอง ไดแก สีเหลือง สีแดง และสีน้ําเงิน


• สีขั้นที่ 2 (Secondary Color) เปนสีที่ไดจากแตละสีในขั้นที่ 1 มาผสมกัน ไดแก สีสม สีเขียว และสี
มวง
• สีขั้นที่ 3 (Tertiary Color) เปนสีที่ไดจากสีขั้นที่ 1 ผสมกับสีขั้นที่ 2 ไดแก แดง-สม, แดง-มวง, เหลือง-
เขียว, เหลือง-สม, น้ําเงิน-เขียว และน้ําเงิน-มวง

สีโทนรอนและสีโทนเย็น 
จากวงลอของสี เราสามารถนําไปใชงานใหเหมาะสม โดยแยกเปนโทนสีไดดังนี้

• สีโทนเย็น เปนสีที่สื่อถึงความเยือกเย็น ขรึม สุภาพ มั่นคง เชี่ยวชาญ (หรือเปน Professional) และดูเศรา


ไดแก สีเขียว สีเขียว-น้ําเงิน น้ําเงิน น้ําเงินมวง และสีมวง
• สีโทนรอน เปนสีที่ดูอบอุน สนุก รอนแรง ไดแก สีแดง สีสม-แดง สีสม สีสม-เหลือง และสีเหลือง

สีโทนรอน

สีโทนเย็น
Page 144

สีและการสื่อความหมาย 
สีที่เรานิยมเลือกนํามาใชเปนสีหลักในชิ้นงาน จะเปนตัวสื่อถึงความหมาย และเขาถึงอารมณของผูชมไดเปนอยาง
ดี ซึ่งเพื่อการความเขาใจแบบงายๆ จะขอสรุปเปนแนวทางได ดังนี้

สี สื่อความหมาย
สีแดง เปนสีของไฟและเลือด พลังงาน สงคราม อันตราย ความแข็งแรง พละกําลัง ความปรารถนา และ
ความรัก
สีแดงออน ความสนุกสนาน ความออนไหว ความยั่วยุทางเพศ ความปรารถนา และความรัก
สีชมพู สื่อถึงความเปนผูหญิง ความโรแมนติก ความรัก มิตรภาพ และความละเอียดออน
สีแดงเขม คือความโกรธ บาคลั่ง ความมุงมั่น ความกลาหาญ ผูนํา ความใคร ความกระฉับกระเฉง และความมุง
ราย
สีน้ําตาล สื่อถึงการชวนคิด ความเสถียรภาพ แข็งแกรง และคุณภาพ
สีน้ําตาลแดง ความหมายในทางบวกสื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยว การเกิดผลสําเร็จ เกาแก และโบราณ นอกจากนี้จะพบบอย
ในการโฆษณาขายบาน และสื่อถึงครอบครัว
สีสม เกิดจากสีแดงที่มีพลังและสีเหลืองที่สื่อถึงความสุข มาเปนสีสมจึงหมายถึง ความสนุก ความสดใส
แสงแดด ความรอนแรง ความกระตือรือรน ชวนใหหลงรัก ชางคิด ชางฝน ความตั้งใจ ความสําเร็จ
การชวยเหลือ นิยมใชในการโฆษณาผลไม ผลไมเพื่อสุขภาพ และของเลน
สีสมเขม หมายถึง โกหก หลอกลวง มีอุบาย ไมนาไวใจ และนาสงสัย
สีสมแดง หมายถึง ความปรารถนา การยั่วยุทางเพศ ความเพลิดเพลิน ดูมีอํานาจ กาวราว และแสดงถึงความ
กระหาย
สีเหลือง เปนสีของแสงอาทิตย สื่อถึง ความสนุกสนาน ความสุข ความฉลาด ความยินดี ชัยชนะ มั่นคง
ปลอดภัย พลัง และความกระปกระเปรา นอกจากนี้ ยังใชในการโฆษณาอาหาร สินคาเด็ก รถแทกซี่
สินคาราคาแพง ใชคาดกับสีดําสําหรับการแจงเตือนวาอันตราย เพราะมองเห็นไดเดนชัด ใชระบาย
เนนในจุดสําคัญ
สีเหลืองหมน สื่อถึงความเสื่อมสลาย ความเจ็บปวย อิจฉา ขี้หึง และหวงแหน
สีเหลืองออน สื่อถึงสติปญญา ความสดใหม จืด ทะลึ่ง ความสนุกสนาน และราเริง
สีเขียว เปนสีของธรรมชาติ ความเจริญเติบโต ความสามัคคี ความอุดมสมบูรณ การเริ่มตน และความหวัง
Page 145

นอกจากนี้ยังใชสื่อถึงความปลอดภัยในการโฆษณายา
สีเขียวเขม สื่อถึง เงิน ธนาคาร ความทะเยอทะยาน ความโลภ และความอิจฉา
สีเขียว-เหลือง ชี้ถึงความเจ็บปวย ความขี้ขลาด ความอิจฉา และริษยา
สีเขียวผลมะกอก สื่อถึงสันติภาพ และความสงบสุข
สีน้ําเงิน เปนสีของทองฟาและน้ําทะเล ใชสื่อถึงความลึก ความมั่นคง ความเสถียรภาพ เปนสัญลักษณของ
ความเชื่อใจ ความไวใจ ความซื่อสัตย จงรักภักดี สุขุมรอบคอบ ฉลาด และความศรัทธา นอกจากนี้จะ
พบบอยในโฆษณาสินคาและบริการที่ใหดูวาสะอาด เชน เครื่องกรองน้ํา และน้ํายาทําความสะอาด
ถาเปนโฆษณาที่สื่อถึงอากาศและทองฟา ก็มีสายการบิน และเครื่องปรับอากาศ ถาสื่อถึงน้ําและทะเล
ก็จะเปนการโดยสารผานเรือ และน้ําแร สินคาไฮเทคโนโลยีตางๆ รวมทั้งเปนสีประจําเพศชาย จะพบ
โดยมากในโฆษณาสินคาของผูชาย
สีน้ําเงินออน สื่อถึงความสงบ รมรื่น เยือกเย็น เห็นอกเห็นใจ และความออนนุม
สีน้ําเงินเขม สื่อถึงความรู ความมั่นคง ความขรึม ความเปนผูใหญ และเอาจริงเอาจัง
สีมวง เปนสีของกษัตริย อํานาจ ความเปนผูดี ชนชั้นสูง ฟุมเฟอย หรูหรา ความทะเยอทะยาน ความสงา
ความอิสระ และใชกับอํานาจวิเศษ-เวทมนตร
สีมวงออน สื่อถึงความโรแมนติก และความคิดถึง
สีมวงเขม สื่อถึงความมืดมน ความโศกเศรา และการหักลาง
สีขาว สื่อถึงความสวาง ความดี บริสุทธิ์ และไรเดียงสา เราจะเห็นสีขาวในชุดพยาบาล หมอ ชุดเจาสาว ฤดู
หนาว-หิมะ และสินคาลดน้ําหนัก
สีดํา สื่อถึงความชั่วราย ความตาย การสูญเสีย ความลึกลับ การมีแบบแผน และดูมีมารยาท เปนสัญลักษณ
ของความโศกเศรา แตยังพบเห็นในการใชกับสินคาที่หรูหรา และมีเกียรติ

สีเหลือง : สื่อถึงความ
สนุกสนาน มีพลัง และชัยชนะ

สีน้ําเงิน : นิยมใชกับสินคาที่เจาะ
กลุมผูซื้อที่เปนผูชาย

แบบแผนในการใชส ี
การทราบความหมายของสี จะชวยใหเราเลือกสีหลักที่ใชสื่อความหมายของชิ้นงานไดอยางเหมาะสม แตมี
มากกวานั้นคือ ในงานกราฟกนอกจากจะประกอบดวยสีพื้นหลังแลว ยังตองมีภาพประกอบ ขอความ และวัตถุตางๆ ซึ่ง
จะตองมีการกําหนดสี เพื่อใหภาพโดยรวมมีสีที่ดึงดูดนาสนใจ ไมกลมกลืน หรือขัดแยงกันมากจนเกินไป
Page 146

เราสามารถนําแบบแผนการใชสีไปประยุกตในการจัดทําเอกสาร หรือหนังสือในโหมดสองสีได โดยการจับคูสีที่


มีความเหมาะสมตามลักษณะงาน จะทําใหงานพิมพมีสีสันมากขึ้นกวางานขาว-ดํา และใกลเคียงงานสี่สี แตมีคาใชจายถูก
กวางานสี่สีมาก

สีแบบสีเดียว (Monochromatic)  
เปนการใชสีเพียงสีเดียว คือ สีหลักที่เราเลือก โดยจะนําสีนั้นมาผสมไลโทนให แตกตางกันบางในบางจุดของ
ชิ้นงาน การผสมสีมี 2 แบบ คือ Shade เปนการใสสีดําใหเขมขึ้น และ Tint ใสสีขาวผสมสีใหออนลง ตัวอยางเชน สีแดง
เพิ่มสีดําก็จะได สีแดงเขมเหมือนอิฐแดง และเพิ่มสีขาวก็จะกลายเปนสีชมพู

สีที่คลายคลึงกัน (Analogous)  
จะเปนสีที่เราเลือกและอีก 2 สีที่อยูขางเคียง ตัวอยางเชน เราเลือกสีแดง จากนั้นก็มีสีสมแดง และมวงแดงที่อยู
ขางเคียง

สีที่ตรงขามกัน (Complementary) 
เปน 2 สี ที่อยูตรงขามกันในตําแหนงวงลอของสี หากเราใชสีหนึ่งยืนพื้น ก็จะชวยขับใหอีกสีหนึ่งดูแรงกลา โดด
เดนขึ้นมา ตัวอยาง เชน สีแดงจะอยูตรงขามกับสีเขียว
Page 147

สีหลักและสีขางเคียงสีตรงขาม (Split complementary)  
สีแรก คือสีที่เราเลือกจะยืนพื้นเปนหลักกับอีก 2 สีที่อยูขางๆ สีตรงขามของสีหลักที่เราเลือกนั่นเอง ตัวอยางเชน สี
แดง (สีหลัก) สีเขียวเหลือง และสีเขียวน้ําเงิน

สีสามเสา (Triadic ) 
เปน 3 สีที่อยูหางเทาๆ กันบนวงลอของสี เชน สีแดง สีเหลือง และสีน้ําเงิน

2 คูสีตรงกันขาม (Double complement)  
จะประกอบดวย 2 คูสีที่อยูตรงขามกัน ตัวอยางเชน คูสีเหลืองกับสีมวง และคูสีน้ําเงินกับสีสม

สีสามเสาและสีตรงขาม (Alternate complement) 
จะมีดวยกัน 4 สี โดย 3 สีแรกจะเปนสี 3 เสา และสีที่ 4 จะเปนสีตรงขามกับสีหลัก ตัวอยางเชน สีแดง สีเหลือง สี
น้ําเงิน และสีมวงซึ่ง (เปนสีตรงขามกับสีแดงที่เปนสีหลัก)
Page 148

สี่สีที่หางเทากัน (Tetrad) 
ประกอบดวย 4 สี โดยแตละสีอยูระยะหางเทากันบนวงลอของสี และสามารถแจกแจงออกมาไดเปน 1 สีที่เปนสี
ขั้นที่ 1 อีก 1 สีในสีขั้นที่ 2 และอีก 2 สีในสีขั้นที่ 3 ตัวอยางเชน สีแดง สีเขียว สีสมเหลือง และสีมวงน้ําเงิน
Page 149

บทที่ 10 
การปรับแตงภาพ 

การทํางานใน GIMP นอกจากจะเปนการนําภาพตางๆ มาตัดตอประกอบกันเปนชิ้นงานแลว ยังเปนดังสตูดิโอ


ตกแตงภาพอีกดวย โดยเราสามารถนําภาพตางๆ มาปรับแตงสี ปรับโทนความสวาง ปรับแตงสีที่ผิดเพี้ยนใหตรงความเปน
จริง การแตงเติมสีในบางสวนของภาพใหดูนาสนใจมากยิ่งขึ้น และการตกแตงสีดวยเทคนิคพิเศษเพื่อใหกําเนิดภาพที่
สรางสรรคแปลกใหมได

ปรับแตงความสมดุลของสีภาพดวย Color Balance Tool 
ในการปรับแตงแกไขสีของภาพเราจะพิจารณาวงลอสี ดังรูป ซึ่งเราจะเห็นไดวา ใน โหมดสี RGB และ CMYK
มีสีที่ตรงขามกันอยู ซึ่งเราเอาความรูเรื่องนี้ไปปรับแตงสีของภาพดวยการเลือกเครื่องมือ Color Balance Tool ดัง
ตัวอยาง เมื่อเราตองการปรับสีแดง (Red) ใหเพิ่มขึ้น ในขณะที่เราทํางานอยูในโหมด RGB ทําไดโดยการเพิ่มความเขม
ของสีเหลือง (Yellow) และสีมวง (Magenta) หรือลดความเขมของสีฟา (Cyan) ลง ซึ่งเปนสีตรงกันขามในวงลอ
เราก็จะไดสีแดงเขมขึ้น ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors


Page 150

2. จะปรากฏหนาตาง Color Balance ใหทําการปรับแตงสี


3. คลิกเลือกสวนของสีภาพที่เราตองการปรับได 3 สวน คือ
o Shadow เปนสวนที่เปนเงามืดในภาพ
o Midtone เปนสวนของสีหลักๆของภาพ
o Hightlight เปนสวนของแสงสวางในภาพ
(ตัวอยางเลือกกําหนดภาพที่ Midtone)
4. เลื่อนแถบสไลดกําหนดสีของภาพ (ตัวอยางจะลดความเขมของสีฟา (Cyan) และลดความเขมของสีน้ําเงินลง)
5. คลิกเมาส เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด
1. คลิกเลือก Color
Balance…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการปรับแตงสี

3. เลือกสวนของสีภาพที่เรา
ตองการปรับ

4. เลื่อนแถบสไลดกําหนดสี

5. คลิกเมาส

TIP 
ภายในหนาตางของเครื่องมือการปรับแตงภาพจะมีชองคําสั่ง ใหเราคลิกเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของ
ภาพขณะที่เราทําการปรับแตงอยู
Page 151

ปรับความเขมและความจางของสีภาพดวย Hue/Saturation Tool 
การปรับภาพโดยใชคําสั่ง Hue/Saturation จะอาศัยพื้นฐานของการมองภาพในโมเดลของ HSB ดัง
รายละเอียดที่กลาวมาแลวในบท “ความรูเรื่องสีและการเลือกใชโหมดสี” ซึ่งจะเปนการปรับสีภาพโดยรวมทั้งหมด และ
ปรับภาพใหเปนโทนสีเดียวได

ในตัวอยางนี้เราจะปรับภาพดอกกลวยไมนี้ใหมีโทนสีเดียวเปนสีสม (เลื่อนสไลดไปทางซาย) แลวเพิ่มความอิ่ม


ของสีดวยคา Saturation และคา Lightness ทําใหดอกกลวยไมมีสีสดและสวางขึ้น (เลื่อนสไลดไปทางขวา) โดยทํา
ตามขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors


2. จะปรากฏหนาตาง Hue-Saturation เลือกชวงของสี
3. เลือกปรับภาพในโหมดสี โดยลดและเพิ่มคา Hue, Saturation และ Lightness มีรายละเอียดดังนี้
• Hue ปรับคาสีใหมใหกับภาพ (สามารถปรับไดตั้งแต -180 ถึง 180)
• Saturation ปรับคาความอิ่มตัวของสี โดยคาที่เพิ่มมากขึ้นจะทําใหสีภาพดูอิ่มและเขมขึ้น สวนคาที่
ติดลบจะทําใหสีภาพมืดลงจนเปนสีเทา (สามารถปรับไดตั้งแต -100 ถึง 100)
• Lightness ปรับคาความมืดและสวางของภาพ คาที่เพิ่มมากขึ้นจะทําใหภาพสวางจนเปนสีขาว และ
คาที่ติดลบจะทําใหภาพมืดลงจนเปนสีดํา (สามารถปรับไดตั้งแต -100 ถึง 100)
4. คลิกเมาส เพื่อตกลงใชคาที่กําหนด

1. คลิกเลือก color>Hue-Saturation…

2. คลิกเมาสภายในภาพ
ที่ตองการปรับแตงสี

4. เลื่อนสไลดเพือ่ คลิกเพื่อรีเซ็ตคาไป
3. กําหนดชวงของสีที่ตองการปรับ ปรับคา เปนคาเริ่มตน
(ในที่นี้คือสีเหลือง)
Page 152

ผลลัพธเมื่อทําการ
เลื่อนสไลดเพือ่
เปลี่ยนสีภาพ เฉดสี
ในสวนตางๆ ก็จะ
เปลี่ยนไปดวย

5. คลิกเมาส

ปรับสีใหภาพดวย Colorize Tool 
เปนการเปลี่ยนสีภาพที่เหมือนกับการใสฟลเตอรสีตางๆ ลงบนภาพแบบ Grayscale โดยเราสามารถทําการ
ปรับคา Hue-Saturation และ Lightness ไดเหมือนกับเหมือน กับ Hue-Saturation Tool ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors


2. จะปรากฏหนาตาง Colorize
3. ทําการเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาสีตามตองการ โดยที่ Hue มีคาตั้งแต 1 ถึง 360 คา Lightness และ
Saturation มีคา-100 ถึง 100 (ในที่นี้ปรับ Hue ใหเปน สีเขียวแบบตัวอยาง)
4. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดสีตามตองการแลว
Page 153

1. คลิกเลือก
Colors>Colorize…

3. ปรับคาโหมดสี โดยลดคา Hue และเพิ่มคา


Saturation และ Lightness

4. คลิกเมาส

ปรับแตงความคมชัดและความสวางของภาพดวย Brightness/Contrast Tool 
เปนการปรับคาสีในพิกเซลภาพใหเกิดความสวาง และความคมชัด โดยจะมีคาใหปรับอยู 2 คา คือ

o Brightness ปรับคาความมืด-สวางใหกับเม็ดสี
o Contrast ปรับความคมชัดใหกับภาพ

ในตัวอยางเปนการเปนการปรับความสวางและความคมชัดของภาพรถยนต โดยใช Brightness/Contrast


Tool ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors


2. จะปรากฏหนาตาง Brightness-Contrast
3. ทําการเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาความสวางและความคมชัดใหกับภาพ
4. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดภาพตามที่ตองการแลว
Page 154

1. คลิกเลือก
Colors>Brightness-
Contrast…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการ
ปรับแตงสี

3. เลื่อนแถบสไลดเพื่อใหไดภาพตามที่ตองการ

4. คลิกเมาส

การปรับภาพใหเปนสีขาว และสีดําดวย Threshold Tool 


ลักษณะการปรับภาพแบบนี้ จะเปนการปรับภาพทั้งภาพใหเปนภาพ 2 สี คือขาว และดํา โดยจะเปลี่ยนคาสีในภาพ
เปนขาวหรือดํา โดยจะพิจารณาจากคา Threshold โดยสามารถกําหนดสีคาได 2 ชวง เชน กําหนดใหคาในชวงแรกเปน
70 จะทําใหสีที่มีคาอยูในชวง 1-70 ถูกเปลี่ยนเปนสีดํา และ 71-255 เปนสีขาว ถาเรากําหนดชวงที่ 2 ดวยใหมีคา 200
จะทําใหสีที่มีคาอยูในชวง1-70 และ 200-255 ถูกเปลี่ยนเปนสีดํา และในชวง 71-199 เปนสีขาว

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors


2. จะปรากฏหนาตาง Threshold
3. คลิก เลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคา Threshold ชวงที่ 1
4. คลิก เลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคา Threshold ชวงที่ 2
5. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดภาพตามที่ตองการแลว
Page 155

1. คลิกเลือก
Colors>Threshold…

2. คลิกเมาสภายในภาพที่
ตองการปรับแตงสี

3. คลิกเลื่อนคาสีชว งที่ 1 หรือ ใสคาสีชวงที่ 1

4. คลิกเลื่อนคาสีชว งที่ 2 หรือ ใสคาสีชวง


ที่ 2

5. คลิกเมาส

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือ Threshold 
เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Threshold ไดที่ Tool Options ดานลางของหนาตาง
Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ปรับแตงสีของภาพดวย Level Tool 
เปนการปรับความสวางของภาพ โดยอาศัยขอมูลของกราฟ Histogram สามารถปรับระดับสีของภาพใหเขม
ขึ้นหรือจางลงได โดยอาศัยหลักการเพิ่มสีดํา (Shadow) และโทนสีขาว (Highlight) และปรับระดับสีภาพใหอยู
ระดับกลาง (Midtone) โดยจุดประสงคในการปรับนั้นเนนเรื่องความสวาง-มืดของภาพและความชัดเจนของสีเปนสําคัญ
ตอไปนี้เรามาลองใชงาน Level โดยมาปรับใหภาพมีบรรยากาศที่เปลี่ยนไปดังนี้
Page 156

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>Colors


2. จะปรากฏหนาตาง Level
3. คลิกเลือก Channel สีที่ตองการ (ถาตองการปรับสีทุกแชนแนล เลือกแบบ Value)
4. คลิกเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาไปทางซายหรือขวา เพื่อปรับความมืดความสวางของภาพ
• ลูกศรสีดํา (Shadow) ถาเลื่อนไปทางขวา หมายถึง การเติมสีดํา จะทําใหภาพมีความสวางนอยลง
• ลูกศรสีเทา (Midtone) เปนการปรับภาพใหอยูระดับกลางๆ มีทั้งสีดํา และสีขาวเทาๆ กัน
• ลูกศรสีขาว (Highlight) ถาเลื่อนไปทางซาย หมายถึงการเติมสีขาวมากขึ้น จะทําใหภาพมีความสวาง
มากขึ้น
5. คลิกเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคาไปทางซายหรือขวา เพื่อปรับโทนสีของภาพ
• ลูกศรสีดํา เลื่อนไปทางขวา โทนสีจะยิ่งออนมากขึ้น
• ลูกศรสีขาว เลื่อนไปทางซายโทนสีจะยิ่งเขมมากขึ้น
6. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดภาพตามที่ตองการแลว

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการ
ปรับแตงสี

1. คลิกเลือก Colors>Level…
Page 157

3. เลือก Channel สีเปน Value

4. ลากลูกศรไป ทางซายหรือขวา เพื่อปรับ


ความมืด ความสวางของภาพ

5. ลากลูกศรไป ทางซายหรือขวาเพื่อปรับโทนสี
ของภาพ

6. คลิกเมาส

ปรับระดับแสงเงาภาพดวย Curve Tool

เปนการปรับความสวางของภาพ สามารถปรับระดับสีของภาพใหเขมขึ้นหรือจางลงได โดยอาศัยหลักการเพิ่มสีดํา


(Shadow) และโทนสีขาว (Highlight) และปรับระดับสีภาพใหอยูระดับกลาง (Midtone) โดยจุดประสงคในการ
ปรับนั้นเนนเรื่องความสวาง-มืดของภาพและความชัดเจนของสี สามารถตั้งคาความสวางเฉพาะจุดได ทําใหภาพที่ออกมามี
มิติมากขึ้น กราฟ Curve จะแสดงการเปรียบเทียบคาสีเดิมกับและคาสีใหม กอนปรับแตงมาดูรายละเอียดของหนาตาง
Curve ดังนี้

ปรับระดับแสงเงาภาพดวย Curve Tool 
เปนการปรับความสวางของภาพ สามารถปรับระดับสีของภาพใหเขมขึ้นหรือจางลงได โดยอาศัยหลักการเพิ่มสีดํา
(Shadow) และโทนสีขาว (Highlight) และปรับระดับสีภาพใหอยูระดับกลาง (Midtone) โดยจุดประสงคในการ
ปรับนั้นเนนเรื่องความสวาง-มืดของภาพและความชัดเจนของสี สามารถตั้งคาความสวางเฉพาะจุดได ทําใหภาพที่ออกมามี
มิติมากขึ้น กราฟ Curve จะแสดงการเปรียบเทียบคาสีเดิมกับและคาสีใหม กอนปรับแตงมาดูรายละเอียดของหนาตาง
Curve ดังนี้
Page 158

คลิกเลือกลักษณะของ
เลือก Channel ที่ Histograms ที่แสดง
ตองการปรับ

แกน Y แทนคาเดิมของสีมี
คาตั้งแต 0-255 แกน X แทนใหมของสี หลังปรับแตงมี
คาตั้งแต 0-255

เลือกชนิดของ Curve

ในตัวอยางนี้เราจะปรับภาพแมวสองตัวนี้ใหสวางขึ้น โดยการใชเครื่องมือ Curve Tool โดยทําตามขั้นตอน


ดังนี้

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>colors จะปรากฏหนาตาง Curve


2. เลือก Channel ของสีที่เราตองการปรับแตง
3. ปรับความสวางและความชัดของภาพ โดยสามารถทําการปรับ Curve ได 2 วิธี คือ ปรับโดยการลากเสน
Curve และปรับดวยการวาดเสน Curve เอง
4. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับคาสีเรียบรอยแลว

1. คลิกเลือก
Colors>Curve…

2. คลิกเมาสภายใน
ภาพที่ตองการ
ปรับแตงสี
Page 159

3. เลือก Channel

5. คลิกเมาส

  4.1 ปรับโดยการลากเสน Curve 4.2 ปรับโดยการวาดเสน Curve

กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือ Level Tool และ Curve Tool 


เราสามารถกําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือ Level Tool และ Curve Tool ไดที่ Tool Options
ดานลางของหนาตาง Main Toolbox ซึ่งมีรายละเอียดที่เหมือนกันดังนี้

กําหนดลักษณะของ Histogram ที่แสดง

Sample average เปนการกําหนดคารัศมีของพื้นที่สีใน


การปรับภาพ

ปรับ/ลดโทนสีในภาพดวย Posterize Tool 
เปนการกําหนดลักษณะโทนสีใหแตละ Channal ตัวอยางเชน ถาเราเลือกเปน 2 ระดับในโหมดภาพ RGB
จะทําใหภาพนั้นมี 6 สีประกอบดวย สีแดง 2 ระดับ สีเขียว 2 ระดับ และสีน้ําเงิน 2 ระดับ ซึ่งเอฟเฟกตนี้จะเหมาะกับการ
แตงภาพขนาดใหญ เชน ภาพโปสเตอรโฆษณา สังเกตวาถากําหนด Level (ระดับ) นอยๆ จะทําใหเห็นการไลโทนสีอยาง
เดนชัด หากกําหนด Level (ระดับ) มากๆ ก็จะไมเห็น ซึ่งมีขั้นตอนในการปรับ/ลดโทนสี ดังนี้
Page 160

1. คลิกเลือก ที่ Image Window>colors จะปรากฏหนาตาง Posterize


2. ทําการเลื่อนแถบสไลดเพื่อปรับคา Posterize ใหกับภาพ
3. จากนั้นคลิกปุม เมื่อปรับไดสีตามที่ตองการแลว

1. คลิกเลือก
Colors>Posterize

2. คลิกเมาสภายในภาพที่ตองการ
ปรับแตงสี
3. ทําการเลื่อนแถบสไลด เพื่อปรับระดับสีซึ่งมีคา
ระหวาง 0-256

4. คลิกเมาส
Page 160

บทที่ 11 
ตกแตงภาพดวยการรีทัช 

เมื่อเราจัดเตรียมภาพ เพื่อนํามาประกอบในการสรางชิ้นงาน หลายครั้งเราอาจตองปรับแตงภาพตนฉบับนั้นใหตรง


กับแนวของงานที่เราตองการมากที่สุด และการปรับเปลี่ยนหรือแกไขภาพในลักษณะที่จะกลาวถึงตอไปนี้ เปนอีก
ความสามารถหนึ่งของโปรแกรม GIMP โดยเราสามารถทําการปรับภาพใหดูเบลอเปนภาพที่นุมนวลขึ้น การลบริ้วรอยไม
พึ่งประสงคในภาพ การเกลี่ยสีภาพใหดูแปลกตาหรือกลมกลืนมากยิ่งขึ้น ซึ่งเทคนิคเหลานี้เราพบไดในการตกแตงภาพของ
นางแบบที่ใชในการขึ้นปกนิตยสารนั่นเอง

Retouch เทคนิคการแตงภาพสําหรับ GIMP 
รีทัช (Retouch) เปนคําศัพทที่เรียกใชการแตงภาพเฉพาะจุด เพื่อใหภาพในสวนที่เปนตําหนิไดรับการแกไข
ใหดียิ่งขึ้น และรวมไปถึงการผสมผสานภาพที่นํามาตัดตอใหดูเขากันอยางกลมกลืน ใน GIMP นั้น มีเครื่องมือสําหรับการ
Retouch ดังนี้

Perspective Clone Tool


Clone Tool Dodge/Burn Tool

Heal Tool
Blur / Sharpen Tool Smudge Tool

ปรับความคมชัดของภาพดวย Convolve Tool 
Convolve Tool เปนเครื่องมือในหนาตาง Main Toolbox ที่ใชสําหรับตกแตงภาพใหมีความเบลอ
(Blur) หรือชัดเจน (Sharpen) มากยิ่งขึ้น จะเห็นไดวาคุณสมบัติการใชงานของ Convolve Tool แบงอยางไดอยาง
ชัดเจน ซึ่งเราทําการกําหนดชนิดของ Convolve Tool ใหเปนแบบ Blur หรือ Sharpen ไดจาก Tool Option
ซึ่งแตละชนิดมีขั้นตอนดังนี้

สรางภาพเบลอ (Blur) 
จะทําใหภาพดูเบลอพลามัว ซึ่งเราสามารถนําไปประยุกตในการปรับแตงภาพ ดังตัวอยางเราจะปรับภาพพื้นหลัง
รอบๆ นางแบบใหดูเบลอ เพื่อเสริมใหตัวนางแบบดูโดดเดนขึ้นมา
Page 161

1. คลิกเลือก Covolve Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวชี้เมาสรูป ของหัวแปรง


2. กําหนดรายละเอียดของ Covolve Tool ใน Tool Option เลือก Convolve Type เปน Blur และ
กําหนดรายละเอียดตางๆ ดังนี้
o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป
o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม
o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง
o Pressure sensitivity ตั้งคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด
o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆจาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด
Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ
o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง
o Convolve Type เปนการกําหนดชนิดของ Convolve มี 2 ชนิดคือ
ƒ Blur การทําใหภาพเบลอ
ƒ Sharpen การทําใหภาพคมชัดขึ้น
o Rate เปนการกําหนดอัตราความเบลอหรือความคมชัด
3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการทําใหภาพเบลอ (จากตัวอยาง เราทําใหบริเวณภาพรอบๆ ใบหนานางแบบเบลอ เพื่อให
ภาพนุมนวล)
2. กําหนดคุณสมบัติเครื่องมือ และเลือก
ชนิดของ Convolve เปน Blur

1. คลิกเลือก
Convolve Tool

3. ลากเมาสไปมาบริเวณที่ตองการทําใหภาพเบลอ
Page 162

สรางความคมชัดใหกับภาพ (Sharpen)  
ชวยเนนความเขมของขอบภาพและเพิ่มความคมชัดของภาพ (มีลักษณะการใชงานตรงขามกับการทําภาพเบลอ)
เครื่องมือนี้จะชวยทําใหภาพดูชัดขึ้น แตตองระวังตรงที่วาถาใชมากอาจทําใหภาพที่ไดดูแข็งกระดางไป

ในตัวอยางนี้ เราจะใชประโยชนของ Sharpen แตงหนานางแบบที่เดิมเปนภาพที่ดูกลมกลืน แตจะแตงให


บางสวนเดนชัดขึ้น ดังภาพ

กอนปรับภาพ หลังปรับภาพ

1. คลิกเลือก Covolve Tool ที่ Toolbox


2. กําหนดรายละเอียดของ Covolve Tool ใน Tool Option เลือก Convolve Type เปน Sharpen
จะปรากฏตัวชี้เมาสรูป ของหัวแปรงและกําหนดรายละเอียดตางๆ
3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการทําใหภาพคมชัด (จากตัวอยาง เราทําใหบริเวณใบหนาของผูหญิงดูคมชัดขึ้น)
2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ และ
เลือกชนิดของ Convolve เปน Sharpen

1. คลิกเลือก
Convolve Tool

4. ลากเมาสไปมาบริเวณที่ตองการทําให
ภาพคมชัดขึ้น
Page 163

เกลี่ยสีภาพดวย Smudge Tool 
Smudge Tool เปนเครื่องมือที่มีลักษณะการทํางานคลายๆ กับการเอานิ้วเกลี่ยสีที่เปยก เพื่อกระจายไป
ตามทิศทางที่นิ้วเกลี่ยนั้น โดยในตัวอยาง เราจะเกลี่ยภาพนางแบบใหกลมกลืนกับฉากหลังที่เปนเปลวไฟ ทําใหภาพดูแปลก
ตาออกไปเหมือนกับภาพกราฟก

กอนปรับภาพ หลังปรับภาพ

1. คลิกเลือก Smudge Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวชี้เมาสรูป ของ หัวแปรง


2. กําหนดรายละเอียดของ Smudge Tool ใน Tool Option ดังนี้
o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป
o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม
o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง
o Pressure sensitivity ตั้งคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด
o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด
Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ
o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง
o Rate เปนการกําหนดอัตราความเบลอหรือความคมชัด
3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการ (จากตัวอยาง เราจะทําการเกลี่ยเฉพาะขอบภาพของนางแบบใหดูกลมกลืนกับฉากหลัง
ที่เปนเปลวไฟ)
2. กําหนดคุณสมบัติ
ของเครื่องมือ

1. คลิกเลือก
Smudge Tool

3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการเกลี่ยสี
Page 164

ปรับโทนสีของภาพโดยใช Dodge/Burn Tool 
Dodge/Burn Tool เปนเครื่องมือในการปรับความสวาง (Dodge) และความมืด (Burn) ของภาพเพียง
บางสวน จะเห็นวาเครื่องมือเดียวไดทําการรวมชนิดการใชงานไวทั้ง 2 รูปแบบ ซึ่งเราสามารถเลือกชนิดการใชงานไดจาก
ออปชั่นในหนา Main Toolbox

ปรับภาพใหสวางขึ้นเฉพาะสวน (Dodge) 
ใชปรับความสวางของภาพเฉพาะบางสวนใหสวางขึ้นดวยสีของภาพเอง หรือเรียกงายๆ วาเปนการสราง
Highlight ใหกับภาพ โดยในตัวอยางนี้ เราจะปรับภาพดอกไมที่คอนขางมืดใหสวางขึ้น ดังนี้

1. คลิกเลือก Dodge/Burn Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวชี้เมาสรูป


2. กําหนดรายละเอียดของ Dodge/Burn Tool ใน Tool Option เลือก Type เปน Dodge และกําหนด
รายละเอียดตางๆ ดังนี้
o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป
o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม
o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง
o Pressure sensitivity ตั้งคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด
o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด
Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ
o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง
o Type เปนการกําหนดชนิดของเครื่องมือ มี 2 ชนิดคือ
ƒ Dodge การปรับภาพใหสวางขึ้นเฉพาะสวน
ƒ Burn การปรับภาพใหสีเขมขึ้นเฉพาะสวน
o Mode เปนการเลือกสวนของสีภาพที่จะทําการปรับ มีใหเลือก 3 โหมด คือ
ƒ Shadow สวนของเงามืดภายในภาพ
ƒ Midtones สวนของสีหลักภายในภาพ
ƒ Highlights สวนแสงสวางภายในภาพ
Page 165

o Exposure เปนคาของแสงที่ปรับความมืด และสวางใหกับภาพ โดยคานอยจะทําใหการ


Highlights นอย แตถามีคามากก็มีการ Highlight มาก ในที่นี้กําหนดใหคา Exposure มีคา
เทากับ 50%
3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการสราง Highlight ของภาพ สังเกตวาภาพสวนนั้นจะสวางขึ้น

2. กําหนดคุณสมบัติ
ของเครื่องมือ

เลือกชนิดของ เครื่องมือเปน Dodge


1. คลิกเลือก
Dodge/Burn Tool

กําหนดคา Exposure 3. ลากเมาสบริเวณที่


เทากับ 50% ตองการปรับความสวาง

ปรับภาพใหสีเขมขึ้นเฉพาะสวน (Burn) 
ใชปรับใหภาพมืดลงในบางสวนหรือเรียกงายๆ วา เปนการสราง Shadow (เงา) ใหกับภาพ ซึ่งในตัวอยางนี้
เราจะลองปรับแตงภาพวิวชายทะเลในบางสวนใหดูมีแสงเงา

1. คลิกเลือก Dodge/Burn Tool ที่ Toolbox


Page 166

2. กําหนดรายละเอียดของ Dodge/Burn Tool ใน Tool Option เลือก Type เปน Burn จะปรากฏตัวชี้
เมาสรูป กําหนดคา Exposure ถาปรับคานอยการสรางแสงเงาจะนอย และถาคามากก็มีการสรางเงามาก
ในที่นี้กําหนดใหคา Exposure มีคาเทากับ 50%
3. ลากเมาสบริเวณที่ตองการสรางเงาของภาพ (จากตัวอยาง เราทําใหภาพวิวในบางสวนที่ไมโดนแสงอาทิตยใหมี
แสงเงาที่มืดลง)

2. กําหนดคุณสมบัติ
ของเครื่องมือ

เลือกชนิดของเครื่องมือเปน Burn
1. คลิกเลือก
Dodge/Burn Tool

กําหนดคา Exposure 3. ลากเมาสบริเวณที่ ตองการ


เทากับ 50% ปรับใหภาพมืดลง

TIP 
ในขณะใชเครื่องมือ Convolve Tool และ Dodge/Burn Tool ทําการปรับแตงภาพอยูนั้น เราสามารถ
เปลี่ยนชนิดของ เครื่องมือไดงายๆ โดยการกด <Ctrl> ที่คียบอรดคางไว

การทําสําเนาภาพดวย Clone Tool 
Clone Tool สามารถทํางานได 2 ลักษณะไดแกเปนเครื่องมือที่ใชสําหรับการคัดลอกภาพ และใส
ลวดลายลงในภาพ เราสามารถกําหนดลัษณะการทํางานของเครื่องมือจาก Tool Option

โคลนนิ่งภาพ (Image source) 
ใชทําสําเนาแบบหนึ่งตอหนึ่ง หรือเรียกวา “โคลนนิ่งภาพ” โดยจะใชบางสวนของภาพที่เลือกไวมาสรางเปนภาพ
ที่เหมือนกันในพื้นที่ใหม ดังตัวอยางเราจะสําเนารูปประสาทหินใหเปนหลายชุดเพื่อตกแตงภาพใหดูนาสนใจมากขึ้น
Page 167

1. คลิกเลือก Clone Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวชี้เมาสรูป


2. กําหนดรายละเอียดของ Clone Tool ใน Tool Option เลือก Source เปน Image source และ
กําหนดรายละเอียดตางๆ ดังนี้
o Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป
o Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม
o Brush เลือกขนาดและลักษณะของหัวแปรง
o Pressure sensitivity ตั้งคาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความไวของแรงกด
o Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด
Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ
o Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง
o Source เปนการกําหนดที่มาของการทําสําเนา มี 2 ลักษณะ คือ
ƒ Image source การใชบางสวนของภาพที่เลือกไวเปนภาพที่เหมือนกันในพื้นที่
ใหม
ƒ Pattern source การสรางลวดลายใหกับภาพโดยใชแพทเทริน
o Alignment เปนการกําหนดตําแหนงของภาพตนแบบใน 3 ลักษณะ (ในตัวอยางใหเลือกแบบ
Aligned เพื่อใหการทําสําเนาเปนแบบตอเนื่อง)
ƒ Non-Aligned ภาพตนแบบจะเปนภาพตําแหนงเติมไมวาจะทําการวาดใหมกี่ครั้งก็ตาม
ƒ Aligned ภาพตนแบบจะเปลี่ยนตามตําแหนงที่เราวาด แตระยะหางระหวางภาพ
ตนแบบและสําเนาจะเทากัน
ƒ Registered ภาพตนแบบ จะเปนตําแหนงเดียวกับที่เราวาดภาพใหม

3. กําหนดตําแหนงภาพเปนตนแบบ โดยกดแปน <Ctrl> คางไว ตัวชี้เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป แลวคลิก


เมาสที่ตําแหนงที่เราตองการใหเปนตําแหนงเริ่มตน
4. ลากเมาสระบายบริเวณที่เราตองการใหสําเนาภาพ โดยใหสังเกตเครื่องหมาย เปนหลัก ถาเครื่องหมายนี้
ปรากฏอยูบริเวณใด ภาพที่ปรากฏในพื้นที่ใหมจากตัวชี้เมาสรูป จะเปนภาพเดียวกัน (ในขณะนี้เรา
สามารถเปลี่ยนขนาดหัวพูกันเพื่อความสะดวกได)
2. กําหนดคุณสมบัติของเครื่องมือ เลือก
Image เปนที่มาของการทําสําเนา
Page 168

2. กําหนดคุณสมบัติ
ของเครื่องมือ เลือก
Image source เปนที่มา
ของการทําสําเนา

1. คลิกเลือก Aligned เพื่อการทํา


Clone Tool สําเนาอยางตอเนื่อง

3. กดแปน <Alt> 4. คลิกเมาสและลาก ภาพผลลัพธของการ


คางไวแลวคลิกเมาส เมาสระบายบริเวณที่ โคลนนิ่งภาพ
ตําแหนงที่ตองการ ตองการแปะภาพ
 

การใชงาน Perspective Clone Tool 
เครื่องมือนี้จะชวยเราในการคัดลอกรูปภาพโดยรักษาสัดสวน Perspective ที่ถูกตอง โดยมีวิธีการดังตอไปนี้

กอนปรับภาพ หลังปรับภาพ คนที่คัดลอกมาใหมมีสัดสวนสัมพันธ


กับมุมมองของรูปโดยรวม

1. คลิกเลือก Perspective Clone Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวชี้เมาสรูป


Page 169

2. กําหนดรายละเอียดของ Perspective Clone Tool ใน Tool Option เลือก Modify


Perspective
3. ปรับเสน Perspective ใหเขากับทิศทางมุมมองของรูปภาพ
4. เมื่อไดมุมที่ตองการแลว คลิกที่ Perspective Clone กําหนดคุณสมบัติตางๆ ตามที่ตองการ ดังนี้
• Mode กําหนดโหมดในการผสมสีระหวางสีเทลงไปกับสีของภาพเดิม
• Opacity ใชกําหนดคาความโปรงแสงของสีเทลงไป
• Brush เลือกลักษณะของหัวแปรง
• Scale เลือกขนาดของหัวแปรง
• Fade out เปนการกําหนดลัษณะการปรับภาพแบบคอยๆ จาง เมื่อคลิกเลือกจะสามารถกําหนด
Length เพื่อใหกําหนดระยะการจางหายของภาพ
• Hard edge กําหนดใหขอบของแปรงตกแตงภาพไมมีการไลสี ทําใหสวนที่ตกแตงดูแข็ง
• Source เปนการกําหนดที่มาของการทําสําเนา มี 2 ลักษณะ คือ
o Image source การใชบางสวนของภาพที่เลือกไวเปนภาพที่เหมือนกันในพื้นที่
ใหม
o Pattern source การสรางลวดลายใหกับภาพโดยใชแพทเทริน
• Alignment เปนการกําหนดตําแหนงของภาพตนแบบใน 3 ลักษณะ (ในตัวอยางใหเลือกแบบ
Aligned เพื่อใหการทําสําเนาเปนแบบตอเนื่อง)
o Non-Aligned ภาพตนแบบจะเปนภาพตําแหนงเดิมไมวาจะทําการวาดใหมกี่ครั้งก็ตาม
o Aligned ภาพตนแบบจะเปลี่ยนตามตําแหนงที่เราวาด แตระยะหางระหวางภาพ
ตนแบบและสําเนาจะเทากัน
o Registered ภาพตนแบบ จะเปนตําแหนงเดียวกับที่เราวาดภาพใหม
o Fixed กําหนดตําแหนงที่แนนอน

5. เลือกพื้นที่ตนแบบ โดยกด <Control> คางไว ขณะคลิกเมาสเลือกพื้นที่ เมาสจะเปลี่ยนเปนรูป


6. คลิกเมาสพื้นที่ที่ตองการคัดลอกภาพลงไป
7. จะไดภาพที่คัดลอกที่มีสัดสวนและทิศทาง Perspective สมจริง

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Perspective Clone Tool

2. เลือก Modify Perspective

3. ปรับเสน Perspective ใหเขากับ


ภาพตนฉบับ ทิศทางมุมมองของรูปภาพ
Page 170

4. คลิกเลือก Perspective Clone กําหนดคุณสมบัติตางๆ ตามที่ตองการ

5. เลือกพื้นที่ตนแบบ โดยกด <Control> คาง 6. คลิกเมาสบริเวณพื้นที่ที่


ไว ขณะคลิกเมาสเลือกพื้นที่ ตองการคัดลอกภาพลงไป

7. จะไดภาพผลลัพทที่คัดลอกที่มีสัดสวน
และทิศทาง Perspective สมจริง
Page 171

สรางลวดลายใหกับภาพดวย (Pattern source) 
ใชสําหรับสรางลวดลายใหกับภาพ โดยมีวิธีคราวๆ คือเราตองกําหนดหรือสรางรูปแบบภาพ (Pattern)
เสียกอน หลังจากนั้นจึงระบายภาพนั้นลงไปไดตามตองการ ดังตัวอยางนี้ เราจะสรางลวดลายใหกับเสื้อของนางแบบ โดยจะ
เปลี่ยนใหเปนเสื้อมีแขนจากลวดลาย ดังกลาว ดังนี้

1. คลิกเลือก Clone Tool ที่ Toolbox จะปรากฏตัวชี้เมาสรูป


2. กําหนดรายละเอียดของ Clone Tool ใน Tool Option เลือก Source เปน Pattern source เลือก
ลวดลายที่จะใชใน Pattern
3. เลือกพื้นที่ใหกับสวนที่ตองการใสลวดลาย (ในกรณีที่เราตองการระบายลวดลายเฉพาะจุด)
4. ระบายบริเวณที่เราตองการใหลวดลายปรากฏ

2. กําหนดคุณสมบัติ
ของเครื่องมือ เลือก
Pattern source เปน
ที่มาของการทํา
1. คลิกเลือก
Clone Tool

เลือกลวดลายที่จะใช
Page 172

3. เลือกพื้นที่ในสวนที่ 4. ลากเมาสเพื่อใสลวดลายให ภาพผลลัพธของการ


ตองการใสลวดลาย ทั่วทั้งพื้นที่ Selection ใสลวดลายใหกับภาพ
Page 173

บทที่ 12 
การตกแตงภาพอยางสรางสรรคดวยฟลเตอร 

เมื่อเราทํางานกราฟก จะพบวาการตกแตงภาพในบางลักษณะ ก็เปนเรื่องที่เราตองทํากันบอยๆ และอาจจะมี


ขั้นตอนที่ซับซอน ในบทนี้เราจะมาใชเครื่องมือ ชิ้นหนึ่งที่ GIMP ไดรวบรวมเทคนิคการตกแตงภาพเกี่ยวกับงานที่เรานิยม
ใชกัน มาชวยใหเราทํางานตกแตงภาพเหลานั้นไดงายและรวดเร็วยิ่งขึ้นภายในไมกี่ขั้นตอน เครื่องมือนั้นคือ “ฟลเตอร”

ฟลเตอรคืออะไร 
ฟลเตอร (Filter) เปนคําสั่งพิเศษที่ตกแตงภาพไดสวยงามภายในคําสั่งเดียว โดยจะชวยลดความยุงยากในการ
ตกแตงภาพที่มีขั้นตอนมากมายใหนอยลง เชน เราจะสรางแสงใหกับภาพ แทนที่เราตองมาทําทีละขั้นตอน คือ สรางเลเยอร
ใหม คัดลอกภาพลงเลเยอร แลวลงสี ปรับคา Opacity ฯลฯ แตเมื่อเราเรียกใชคําสั่งฟลเตอร เพียงครั้งเดียว ก็สามารถ
กําหนดคาตางๆ ดังที่กลาวมาและไดผลลัพธออกมาในเวลาที่รวดเร็ว

กฏการใชงานฟลเตอร 
ลักษณะของการตกแตงภาพดวยการใชฟลเตอรนั้น เปนเหมือนกับการซอนภาพดวยแผนฟลมบางๆ ที่ชวยเปลี่ยน
ใหภาพปกติแปลกตาออกไป เหมือนกับการถายภาพดวยการใสฟลเตอรใหกับเลนสของกลอง สีที่ออกมาหรือรูปแบบที่
ออกมานั้นจะทําใหภาพตางออกไปจากความเปนจริง ซึ่งการทํางานของฟลเตอรมีกฏงายๆ ดังนี้

o ฟลเตอรจะทํางานกับเลเยอรที่ถูกเลือกหรืออยูในสภาวะ Active และ Visible เทานั้น


o บางฟลเตอรนั้นสามารถใชไดกับเฉพาะภาพ RGB และบางฟลเตอรไมสามารถใชกับภาพในโหมด
Grayscale และ Indexed ได
Page 174

o ทุกฟลเตอรสามารถใชไดกับภาพ 8 บิต แตจะมีบางฟลเตอรที่สามารถใชกับภาพ 16 บิตไดดวย เชน Blur,


Gaussian Blur, Motion Blur, Noise, Despeckle, Sharpen, Unsharp Mask และ
Emboss เปนตน (ซึ่งจะแสดงตัวอยางในบทนี้)
o การใชงานฟลเตอรบางตัวจําเปนตองใชเครื่องที่มีหนวยความจําสูงมาก

วิธีการใชงานฟลเตอร 
เราสามารถเรียกใชฟลเตอรไดโดยเลือกที่คําสั่ง Filter ที่หนาตาง Image Menu และเลือกฟลเตอรที่ตองการ
ใส ตัวอยางจะทําการใสฟลเตอร Gaussian Blur ดังนี้

1. เลือกคําสั่ง Filter>Blur>Gaussian Blur


2. จะปรากฏหนาตางฟลเตอร Gaussian Blur ใหเรากําหนดคาตางๆ
3. คลิกปุม เพื่อตกลงใชคา

หนาตาง Preview

1. เลือกคําสั่ง
Filter>Blur>Gaussian Blur

2. กําหนดคาตางๆ 3. คลิกเมาส

TIP 
หากเราตองการใสฟลเตอรที่ เพิ่งใสซ้ําลงไปอีกครั้ง สามารถทําไดอยางรวดเร็ว โดยการกดคีย <Ctrl+F> หรือ
ถาตองการใสฟลเตอรชนิดเดิมซ้ําแตตองการเปลี่ยนคาที่กําหนดใหตางไปจากเดิม สามารถทําไดโดยกดคีย
<Shift+Ctrl+F> จะปรากฏ หนาตางกําหนดคาของฟลเตอรชนิดนั้นเพื่อใหเรากําหนดคาได
Page 175

ตัวอยางฟลเตอรใน GIMP 
กลุมฟลเตอรแบบ Blur 
เปนกลุมฟลเตอรที่ชวยใหภาพออนนุม ลง ดูกลมกลืน โดยใชคําสั่ง Filter>Blur> ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

กลุมฟลเตอรแบบ Colors 
เปนกลุมฟลเตอรในการตกแตงสีให กับภาพ โดยใชคําสั่ง Filter>Colors>ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ
Page 176
Page 177

กลุมฟลเตอรแบบ Noise 
เปนกลุมฟลเตอรที่จะเพิ่มจุดเม็ดสีเขา ไปในภาพโดยใชคําสั่ง FilterNoise>ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

กลุมฟลเตอรแบบ Edge‐Detect 
เปนกลุมฟลเตอรที่ใชสําหรับตกแตง เสนของขอบภาพ โดยโปรแกรมจะทําการคนหาขอบภาพ และโครงรางของ
วัตถุในภาพ โดยประมวลผลจากความตางสี โดยใชคําสั่ง Filters>Edge-Detect>ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ
Page 178

กลุมฟลเตอรแบบ Enhance 
เปนกลุมฟลเตอรที่ใชสําหรับปรับภาพ ใหดูคมชัดหรือโดดเดนขึ้น โดยใชคําสั่ง Filters>Enhance>ฟลเตอร
ที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

กลุมฟลเตอรแบบ Generic 
เปนกลุมฟลเตอรที่ใหเราสามารถสรางฟลเตอรดวยตนเอง โดยใชคําสั่ง Filters>Generic>Convolution
Matrix และสวนฟลเตอรอื่นๆ ในกลุมจะเปนตัวอยางฟลเตอรที่สรางจาก Convolution Matrix
Page 179

ภาพตนฉบับ

กลุมฟลเตอรแบบ Glass Effect 
เปนกลุมฟลเตอรที่สรางภาพใหเหมือนกับการมองภาพผานเลนส หรือกระจกใสที่มีลวดลาย โดยใชคําสั่ง
Filter> Glass Effect>ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ

กลุมฟลเตอรแบบ Lighting Effect 
เปนกลุมฟลเตอรที่สรางแสงไฟสอง หรือแสงสะทอน โดยใชคําสั่ง Filter> Lighting Effect>ฟลเตอรที่
กําหนด
Page 180

ภาพตนฉบับ

กลุมฟลเตอรแบบ Distort  
เปนกลุมฟลเตอรที่ใชปรับเปลี่ยน รูปรางของภาพในหลายๆ รูปแบบ โดยใชคําสั่ง Filter>Distort>ฟลเตอรที่
กําหนด

ภาพตนฉบับ
Page 181

กลุมฟลเตอรแบบ Artistic 
เปนกลุมฟลเตอรที่เปลี่ยนภาพถายใหเปนภาพวาดงานศิลปะตางๆ โดยใชคําสั่ง Filter>Artistic>ฟลเตอรที่
กําหนด

ภาพตนฉบับ
Page 182

กลุมฟลเตอรแบบ Map 
เปนกลุมฟลเตอรในการนําภาพจากตนแบบมาสรางเปนลวดลายในรูปแบบตางๆ โดยใชคําสั่ง Filter>Map>
ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ
Page 183

กลุมฟลเตอรแบบ Render 
เปนกลุมฟลเตอรสําหรับสรางภาพ แพทเทิรนขึ้นมาใชงานในหลายๆ ลักษณะ โดยไมมีการอางอิงมาจากรูป
ตนแบบเหมือนในกลุม Map โดยใชคําสั่ง Filter>Map> ฟลเตอรที่กําหนด

ภาพตนฉบับ
Page 184
Page 185

บทที่ 13 
การนําภาพกราฟกไปใชงาน 

ในบทนี้ เราจะกลาวถึงเรื่องการจัดการภาพเพื่อนําไปใชงานใหเหมาะสมกับงานในรูปแบบตางๆ สรางงานเสร็จ


แลวสิ่งสําคัญที่ตามมาก็คือ การพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ ซึ่งเราจะกลาวถึงกระดาษที่เหมาะกับการพิมพ วิธีการพิมพ
และการตรวจสอบงานกราฟกเพื่อสงผานโรงพิมพ และการสรางภาพเพื่อใชงานบนเว็บเพจ

เรานําภาพไปใชงานอะไรไดบาง 
ภาพที่สราง และตกแตงใหสวยงามเรียบรอยแลวเรามักนิยมนําไปใชงานไดหลากหลายรูปแบบ ดังนี้

การพิมพภาพผลงาน 
ภาพถายที่เรารีทัช หรือตัดตอไว สามารถพิมพออกมาเปนภาพสติกเกอร หรือ นําภาพพิมพที่ไดไปใชงานไดหลาย
รูปแบบ

นําภาพไปแสดงโชวบนเว็บ 
เว็บไซตบนอินเทอรเน็ต จัดเปนสื่ออยางหนึ่งที่เรามักจะนําภาพไปประกอบ หรืออาจจะสรางเปนเว็บที่ใชแสดง
ภาพผลงาน

เตรียมพรอมกอนพิมพภาพ 
เครื่องพิมพกับงานกราฟก 
เครื่องพิมพในปจจุบันที่เราใชกันอยูทั่วไป จะแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ

1) เครื่องพิมพแบบเลเซอร  
เปนเครื่องพิมพที่ใชเทคโนโลยีสูง และคลายกับเครื่องถายเอกสาร โดยจะใชแสงสองเขาไปเปลี่ยนประจุไฟฟา
บนดรัมไวแสง (Photo-sensitive drum) ใหเขมหรือจาง เมื่อกระดาษเคลื่อนที่ผานดรัม และแทงความรอน
ภายในเครื่อง จะทําใหผงหมึกในโทนเนอร (Toner) ละลายเกิดเปนจุดสีบนบริเวณที่มีประจุ ทําใหเกิดตัวอักษรหรือ
ภาพบนกระดาษอยางคมชัด และคุณภาพสูง เครื่องพิมพแบบเลเซอรมีทั้งแบบขาวดําเหมาะกับการพิมพเอกสารใน
สํานักงาน เพราะคุณภาพดี ราคาหมึกประหยัด และแบบสีเหมาะกับการพิมพรายการสินคาที่ตองการคุณภาพมีสีที่
สวยงาม
Page 186

2) เครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ต 
เปนเครื่องพิมพที่ใชหลักการพนหมึกสีผสมกัน จาก 4 สี คือ CMYK สีฟา (Cyan), สีมวงบานเย็น
(Magenta), สีเหลือง (Yellow) และสีดํา (Black) ทําใหเกิดภาพชิ้นงานสีที่ไดคุณภาพตามตองการ และราคา
เครื่องไมแพงเมื่อเทียบกับเครื่องพิมพเลเซอรแบบสี

การพิมพงานสีดวยเครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ต จะเหมาะกับการพิมพตัวอยางชิ้นงานจริงกอนที่จะสงพิมพเขาโรง
พิมพ เพื่อจะตรวจสอบคุณภาพสีใหมั่นใจกอน และยังเหมาะกับงานกราฟกที่ไมเนนความละเอียดสูง เชน การพิมพ
ภาพถาย พิมพสติ๊กเกอร และ นามบัตร เปนตน

เลือกกระดาษสําหรับพิมพงานกราฟกและภาพ 
ชนิดของกระดาษก็มีสวนสําคัญตอการรองรับหมึกที่พิมพลงไป และเครื่องพิมพแตละชนิดก็ใชหมึกที่ตางกัน จึง
ตองเลือกใชกระดาษที่เหมาะสมดวย นอกจากนี้ยังมีงานกราฟกบางชนิดที่ตองใชกระดาษแบบพิเศษที่ใชเฉพาะตองาน
เหลานั้น เชน การลอกลายภาพบนผา การพิมพสติ๊กเกอร และการพิมพแผนใสสําหรับงานพรีเซนเตชั่น เปนตน
Page 187

กระดาษสําหรับเอกสาร (A4 ปอนด 80 แกรม) 


เปนกระดาษปอนดเนื้อขาว 80 แกรม ขนาด A4 ที่เรานิยมใชพิมพเอกสารในสํานักงานนั่นเอง เหมาะกับการพิมพ
แบบเลเซอร และใชพิมพงานกราฟกดวยเครื่องพิมพอิงกเจ็ตได แตภาพที่ออกมาจะไมสวยมากนัก

กระดาษสําหรับภาพถาย (Photo Paper) 
เนื้อกระดาษขาวเรียบและละเอียด สามารถรองรับเม็ดสีในการพิมพไดดี จะทําใหไดภาพที่คมชัด สีสัน สดใส
สวนใหญทุกยี่หอจะสามารถกันน้ําได เหมาะสําหรับงานพิมพภาพถาย, กราฟก และงานพิมพทั่วไปใชกับเครื่องพิมพอิงค
เจ็ต

กระดาษสําหรับภาพถายแบบมัน (Glossy Photo Paper) 
เนื้อกระดาษขาวมันเงา เนื้อจะหนากวากระดาษแบบ Photo Paper ทั่วไป สามารถรองรับเม็ดสีจากการพิมพ
ไดเปนอยางดี งานพิมพที่ไดแหงเร็วทันทีและยังกันน้ําไดดีอีกดวย เหมาะสําหรับงานพิมพภาพถายเหมือนจริง

กระดาษสําหรับภาพถายขนาดการด (Photo Card) 
เนื้อกระดาษหนา 220 แกรม รองรับเม็ดสีในการพิมพไดอยางดี บางรุนสามารถพิมพ 2 ดาน กันน้ําไดดี เหมาะ
สําหรับงานพิมพภาพถาย สีไมซึมเลอะเทอะ งานพิมพสวยสด คมชัด

กระดาษลอกลายภาพลงบนผา (Fabric Transfer Paper) 
กระดาษลอกลายบนผา สามารถนําภาพที่ชื่นชอบมาลอกลายบนปลอกหมอน, เสื้อยืด หรือแผนรองเมาส เปนตน

กระดาษแบบสติกเกอร 
กระดาษทําสติกเกอร ที่ใหภาพชัดเจน แผนกระดาษมีคุณสมบัติพิเศษ ชวยใหสีแหงเร็วขึ้น และรองรับเม็ดสีไดดี

กระดาษสําหรับพิมพลงซีดีดวยตัวเอง 
กระดาษผิวเรียบ ชวยใหสีมีความเดนชัดขึ้นและสวางใส ผลลัพธที่ไดจะเปนรูปซีดี ที่พรอมแปะลงบนแผนซีดีได
ทันที

กระดาษสําหรับพรีเซนงานเปนแบบฟลมใส (งานสไลด) 
ฟลมใสสําหรับงานพรีเซนต สําหรับใชกับเครื่องฉายแผนใส (Overhead) สามารถแสดงคุณภาพสีไดอยาง
ยอดเยี่ยม ใชกับเครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ตไดอยางไมมีปญหา

การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ในการพิมพงาน 
เราจะเริ่มตนสั่งพิมพงานโดยการกําหนดคุณสมบัติตางๆ เชน การเลือกเครื่องพิมพและกระดาษ ดวยคําสั่ง
File>Page Setup จะปรากฏหนาตาง Page Setup ขึ้น ดังรูป
Page 188

ตัวอยางขนาด
กระดาษที่เราเลือก
กําหนดลักษณะ
กระดาษ

กําหนดระยะเวนขอบของ
กําหนดแนวการพิมพ กระดาษพิมพ

คลิกเมาสเพื่อเขาไปตั้งคา
เครื่องพิมพ

จากหนาจอ Page Setup ใหเราคลิกเมาสปุม เพื่อทําการเลือกเครื่องพิมพที่จะใชงาน โดยการ


เลือกเครื่องพิมพไดจากชอง Name ดังรูป

กําหนดชนิดของ
กําหนดคุณสมบัติใน
เครื่องพิมพ
การพิมพ

การพิมพงานออกสูเครื่องพิมพ 
ขั้นตอนสุดทายเราสามารถพิมพงานได โดยการใชคําสั่ง File>Print ซึ่งจะปรากฏหนาตางการพิมพงานดังรูป

เลือกรุนของ กําหนดคาตางๆ ใน
เครื่องพิมพ การพิมพ

กําหนดจํานวนที่พิมพ

คลิกเมาสเพื่อสั่งพิมพ
Page 189

สรางงานสําหรับเว็บเพจ 
อินเทอรเน็ต นับเปนระบบการสื่อสารที่สรางปรากฏการณใหมในยุคสหัสวรรษนี้ ขอมูลที่เราเคยมีใน
หนากระดาษถูกนํามาสื่อสารใหคนทั่วโลกอานในเวลาพรอมๆ กันโดยระบบ อินเทอรเน็ตผานหนาเว็บเพจตางๆ ที่ไดรับ
การสรางสรรคอยางสมบูรณ และหลากหลายความคิด

ขอมูลภาพหรือกราฟก นับเปนสื่อหนึ่งที่มีความสําคัญในการสื่อสารผานเว็บ เพราะเราอาจเคยไดยินมากอนแลววา


ภาพหนึ่งภาพสามารถแทนคําพูดไดนับพันคํา แตการสรางภาพเพื่อนําเสนอบนเว็บไมใชเรื่องงาย เพราะนอกจากตองใหได
ความสวยงามแลว ยังตองคํานึงถึงความรวดเร็วในการแสดงผลดวย ซึ่งเราจะตองเขาใจองคประกอบตางๆ ของภาพเปน
อยางดี ตลอดจนกระบวนการแสดงภาพบนเว็บ เพื่อใหเว็บของเราเปนที่ประทับใจของผูเขาชม

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการแสดงภาพบนเว็บ 
การออกแบบสื่อสิ่งพิมพและการออกแบบภาพบนเว็บ มีรายละเอียดที่แตกตางกันพอสมควร ฉะนั้น หากเราจะ
ออกแบบภาพบนเว็บไซตไดดี เราจําเปนตองมีความรูพื้นฐานของอินเทอรเน็ตและเว็บดวย ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

ความแตกตางระหวางระบบเครื่อง ระบบปฏิบัติการและเว็บบราวเซอร 
เนื่องจากอินเทอรเน็ตเปนระบบที่เชื่อมโยงกับเครื่องคอมพิวเตอรทั่วโลก ความแตกตางที่เกิดจากเครื่องแตละ
เครื่องจึงเปนสิ่งที่เราควรรูคราวๆ เชน จอภาพที่ตางกัน ระบบการแสดงผลที่ตางกันจะใหสีที่ตางกัน จอภาพของเครื่องแมค
จะใหสีที่มีความสวางกวาจอภาพของเครื่องพีซี ฉะนั้นเมื่อเราออกแบบภาพบนเครื่องพีซี เราตองกําหนดความสวางใหลดลง
กวาปกติเล็กนอย เพราะหากแสดงผลบนเครื่องแมค ความสวางจะเขมขึ้นอีก นอกจากนี้บราวเซอรที่แตกตางกัน ทําใหการ
แสดงผลของภาพบนเว็บแตกตางกัน เชน บราวเซอรบางประเภทไมสามารถแสดงตัวอักษรบางชนิดได เปนตน

หนวยวัดมาตรฐานของภาพบนเว็บ 
ภาพที่แสดงบนเว็บใชหนวยวัดขนาดเปนพิกเซล ซึ่งเปนหนวยวัดมาตรฐานสําหรับการแสดงผลบนจอภาพ ตาง
กับการสรางสื่อสิ่งพิมพซึ่งจะกําหนดหนวยวัดเปนนิ้ว

ความละเอียดของภาพ 
ภาพบนเว็บไมจําเปนตองใชความละเอียดเทากับภาพบนสื่อสิ่งพิมพ ความละเอียดโดยทั่วไปที่ยอมรับได คือ 72
จุดตอนิ้ว (dpi) ในขณะที่สิ่งพิมพใชความละเอียดภาพ 300 จุดตอนิ้ว (dpi)

ขนาดของไฟล  
ขนาดของไฟลภาพ จะมีผลอยางมากตอความเร็วของการแสดงภาพบนเว็บ ถาขนาดไฟลภาพมากก็จะใชเวลา
โหลดนานขึ้น ดังนั้นเราควรคํานึงเสมอวา ไมมีผูเขาชมรายใดที่จะสามารถอดทนรอคอยนานๆ ได ซึ่งวิธีแกปญหา ควรใช
หลักการดังนี้

1) แบงภาพเปนไฟลเล็กๆ นํามาเรียงตอเปนภาพใหญ (ดีกวาการดาวนโหลดภาพใหญเพียงภาพเดียว)


2) พยายามใชภาพเดิมในหนาเว็บไซตอื่นๆ เพื่อจะไมเสียเวลาดาวนโหลดนาน
3) กําหนดโครงสรางของเว็บใหแสดงผลในสวนที่เปนตัวอักษรกอน เพื่อไมใหผู เขาชมเสียเวลา (เพราะจะ
ไดขอความที่ดาวนโหลดไดเร็วกวาการแสดงผลภาพ)
Page 190

Dither 
เปนกระบวนการสรางพาเล็ตสี (จานสี) ขึ้นใหมตามจํานวนสีที่กําหนดแลวแทรกลงไปบนภาพในลักษณะการ
แทรกจุดสี ซึ่งเปนการไลระดับสีเพื่อหลอกตาใหเห็นวามีสีนั้นอยูในภาพอยางกลมกลืน ใชสําหรับการแปลงภาพจากภาพที่
มีสีมากกวา ไปยังภาพที่มีสีนอยกวาเชนจากภาพโดยทั่วไป 16.7 ลานสี ปรับใหเปน 256 สี โดยโปรแกรมจะคํานวนคาสี
เพื่อสรางจานสีใหม (ซึ่งสีที่อยูในจานสีใหมอาจมาจากสีเดิมหรืออาศัยการคํานวณจากคาสีใกลเคียง)

ฟอรแม็ตของไฟลสําหรับเว็บกราฟก 
จากที่กลาวมาขางตนแลววา ภาพบนเว็บตองมีขนาดไฟลที่เล็ก ฉะนั้น ฟอรแม็ตที่ใชตองมีการบีบอัดขอมูลทําให
ขนาดไฟลเล็กลง โดยรูปแบบของไฟลนั้นไดแก GIF, JPEG และ PNG เราตองทําความเขาใจลักษณะการบีบอัดขอมูล
ของแตละฟอรแม็ต เพื่อใหเราสามารถเลือกใชงานไดอยางถูกตอง ดังนี้

1) ใช .JPEG สําหรับภาพถาย


2) ใช .GIF สําหรับภาพลายเสน ภาพที่มีพื้นหลังโปรงใส และภาพเคลื่อนไหว
3) ใช .PNG สําหรับภาพถายที่ตองการใหมีลักษณะโปรงแสง แตไฟลที่ไดหลังการบีบอัดจะมีขนาดใหญ
กวาไฟล JPEG และมีคุณภาพมากกวาไฟล JPEG

ฟอรแม็ต GIF 
o ถูกพัฒนาโดย CompuServe ในป 1980 เพื่อบีบอัดขอมูลภาพลายเสน
o มีขอจํากัดการใชงานอยูที่ 256 สีเทานั้น (8 บิต)
o ใชการบีบอัดแบบสรางพาเล็ตสีขึ้นใหม ทําใหไมสูญเสียคุณภาพของภาพ เพราะไมมีการตัดสีภาพออก แตเปน
ลักษณะการแทนสีภาพในแตละพิกเซลดวยสีที่กําหนดขึ้นใหม ฉะนั้นคุณภาพไฟลจะไมเสีย
o ความสามารถในการแสดงภาพโปรงแสงและภาพเคลื่อนไหว
o Gif สามารถกําหนด Transparency ได 2 ระดับคือ โปรงใส และไมโปรงใส
Page 191

ฟอรแม็ต JPEG 
o ถูกพัฒนาขึ้นโดย Joint Photographic Experts Group สําหรับบีบอัดขอมูลของไฟลรูปภาพ มีจุดเดน
คือ หลังการบีบอัด ยังสามารถใชสีไดถึง 16.7 ลานสี ในขณะที่ .GIF ใชไดเพียง 256 สีเทานั้น
o ไมจําเปนตองกําหนดพาเลตสีเพื่อการใชงาน เพราะรองรับขอมูลสีไดมากถึง 16.7 ลานสีอยูแลว
o ลักษณะการบีบอัด เปนการลบขอมูลสวนที่ซ้ําซอนกันมากที่สุดออกจากภาพ ยิ่งมีการบีบอัดขอมูลมากขึ้นเทาไหร
คุณภาพก็จะสูญเสียมากขึ้นเทานั้น
o ผลของการบีบอัดขอมูล จะไดไฟลภาพที่มีขนาดเล็กยิ่งกวาฟอรแม็ต GIF ซึ่งจะทําใหใชเวลาการดาวนโหลดนอย
แตใชเวลาในการแสดงผลนานกวา เพราะตองขยายขอมูลการบีบอัดกอนการแสดงผล
o ไมสนับสนุนการบีบอัดขอมูลที่มีภาพโปรงแสง เพราะหลังการบีบอัดพิกเซลที่ โปรงแสงจะถูกแทนที่ดวยสีของ
Background

ภาพ Original (ภาพตนฉบับ) ภาพที่ถูกบีบอัดเปน JPEG ที่มีคุณภาพต่ํา

ฟอรแม็ต PNG 
o บีบอัดขอมูลไดดีกวา GIF 20 -30 เปอรเซ็นต ไมเสียขอมูลเหมือนกับแบบ JPEG
o สามารถเลือกการจัดเก็บขอมูลไดทั้งแบบ 8, 24 และ 32 บิต ตางกับ .GIF
o ถูกพัฒนาโดย Thomas Boutell และ Tom Lane สําหรับการทํางานขามระบบ ทําใหสามารถแสดงผลได
อยางถูกตองกับเครื่องทุกระบบ
o แสดงผลไดเร็วกวาแบบ .GIF เพราะภาพใน .GIF จะเริ่มแสดงผลเมื่อดาวนโหลดขอมูลมาได 1 ใน 18 สวน
ขณะที่ PNG จะแสดงผลเมื่อขอมูลถูกโหลดเขามา 1 ใน 64 สวน
o สนับสนุนการทํางานกับภาพโปรงใสแบบหลายระดับ แตคุณสมบัตินี้ไมสามารถแสดงไดในบางเว็บบราวเซอร

แปลงภาพสําหรับเว็บ 
การนําภาพกราฟกไปประกอบบนเว็บเพจ เราจะตองปรับขนาดความละเอียด และสีของภาพ โดยจะสงผลใหภาพ
มีขนาดเล็ก และเหมาะสมที่จะแสดงผลบนหนาเว็บไดอยางรวดเร็ว ซึ่งโดยสวนใหญเรามักจะพบบอยกับการแปลงไฟลภาพ
ใน 2 ฟอรแม็ต คือ

ƒ แปลงภาพแบบ JPEG
ƒ แปลงภาพแบบ GIF
Page 192

แปลงภาพแบบ JPEG 
ไฟลภาพ JPEG แสดงสีไดถึง 16.7 ลานสี จึงเหมาะกับภาพที่คมชัด เชน ภาพสินคา และภาพถาย เปนตน

1. เปดไฟลภาพที่ตองการแปลง และทําการยอขนาดภาพใหเรียบรอย
2. จัดเก็บภาพ โดยเลือกคําสั่ง File>Save as จะปรากฏหนาตาง Save Image ตั้งชื่อ และกําหนดที่เก็บภาพ
3. เลือกฟอรแม็ตภาพแบบ JPEG Image
4. คลิกปุม
5. ปรากฏหนาตาง Save as JPEG กําหนดคุณภาพของ และคาอ็อบชั่นเพิ่มเติม
6. คลิกเมาสที่ปุม เพื่อจัดเก็บภาพเพื่อนําไปใช
Page 193

2. ตั้งชื่อ และ
กําหนดที่เก็บภาพ

1. เปดไฟลภาพ และ
ทําการยอขนาดภาพ
ใหเรียบรอย

คลิกเพื่อเลือกชนิดของไฟลที่
ตองการจัดเก็บ

3. เลือกฟอรแม็ตภาพแบบ 4. คลิกเมาส
JPEG Image

5. กําหนดคุณภาพของรูปภาพ และคาอ็อบชั่นเพิ่มเติม

6. คลิกเมาส

แปลงภาพแบบ GIF 
ภาพ GIF จะรักษาคุณภาพสีอยูที่ 256 สี จึงเหมาะกับภาพวาด และที่นิยมที่สุดก็คือ ภาพที่มีความโปรงใส ซึ่ง
สามารถนําไปวางซอนบนพื้นหลังแบบใดก็ได
Page 194

วางภาพโปรงแสงที่ทําดวย GIMP

หนาเว็บเพจ

ภาพโปรงแสงจะวาง
ซอนอยูบนลวดลายของ
พื้นหลัง

การแปลงภาพแบบ GIF นั้นใชมีวิธีการเดียวกับตัวอยางการแปลงแบบ JPEG เพียงแคเลือกฟอรแม็ตภาพใหเปน


แบบ GIF และกําหนดคาตางๆ ตามตองการ

กําหนดคุณสมบัติตางๆ

คลิกเมาสเพื่อเลือกวาจะ Export ภาพหรือไม คลิกเมาสเพื่อจัดเก็บภาพ


Page 195

Workshop 1  
ตกแตงแกไขภาพที่มีตําหนิ

เมื่อเราถายภาพเราก็ตองการใหภาพที่ถายออกมาดูดี แตถาภายในภาพมีรอยตําหนิ หรือภาพที่ไดออกมาไมสวยงาม


ตามที่ตองการ เราสามารถที่จะตกแตงแกไขภาพดวยโปรแกรม GIMP ซึ่งในเวิรคชอปนี้จะมีตัวอยางการแกไขภาพถึง 3
แบบดวยกัน คือ การลบริ้วรอยบนใบหนา การปรับสีจืดใหดูสดใสขึ้น และปรับภาพมืดใหดูสวางขึ้น

การลบริ้วรอยบนใบหนา 
ในการลบริ้วรอยบนใบหนานี้จะเปนการตกแตงแกไขภาพเฉพาะจุด โดยจะใชเครื่องมือในกลุมรีทัชภาพ เชน
Clone Tool, Smudge Tool และ Blur Tool เพื่อตกแตงภาพ

ภาพตนฉบับ ผลลัพธหลังการปรับแตง

ขั้นตอนการลบริ้วรอยบนใบหนามีดังนี้

1. เปดไฟลภาพ และใช Clone Tool โคลนในจุดที่ตองการ


2. ใช Smudge Tool และ Blur Tool ปรับภาพใหดูกลมกลืน

ขั้นตอนที่ 1 เปดไฟลภาพ และใช Clone Tool โคลนนิ่งภาพ 


ใช Clone Tool คัดลอกภาพในสวนที่ดีมาแปะทับบริเวณริ้วรอยตางๆ บริเวณ ดวงตา และแกม
Page 196

1. เปดไฟลภาพที่ตองการแกไขโดยเลือกคําสั่ง File>Open... หรือกดคีย <Ctrl+O> คลิกเลือกไฟลภาพที่


ตองการจากนั้นคลิกปุม เพื่อตกลงเปดภาพที่เลือก

1.1 เลือกคําสั่ง File>Open... หรือกดคีย <Ctrl+O>


เพื่อเปดไฟลภาพ

1.2 เลือกไฟลภาพที่ตองการ

1.4 ไฟลภาพที่เลือกถูกเปดขึ้นมา

1.3 คลิกเมาส

2. คลิกเลือก Clone Tool คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง Circle Fuzzy (15) กําหนด Source แบบ
Image Source เพื่อเลือกโคลนนิ่งจากภาพตนแบบ และเลือก Alignment แบบ Aligned เพื่อใหจุดที่
เปนภาพตนแบบเปลี่ยนไป ซึ่งจะสัมพันธกับตําแหนงที่เราวาด
Page 197

2.2 เลือกรูปแบบหัวแปรง

2.3 กําหนด Source แบบ Image Source

2.1 คลิกเลือก Clone Tool

2.4 กําหนด Alignment แบบ Aligned

3. ลบริ้วรอย โดยเลือกสวนที่เปนภาพตนแบบ โดยกดคีย <Ctrl> คางไวใหเมาสเปลี่ยนเปนรูป และคลิกเลือก


สวนที่จะใชเปนตนแบบ จากนั้นไมตองกดคีย เมาสจะเปลี่ยนกลับมาเปนรูป และคลิกระบายทับสวนที่มี
ตําหนิ

3.1 กดคีย <Ctrl> และ 3.2 คลิกระบายทับ ผลลัพธที่ได


คลิกเลือกตนแบบ สวนที่มีตําหนิ

4. ลบสวนริ้วรอย ในสวนอื่นๆ เพิ่ม


Page 198

4.1 เลือกตนแบบ 4.2 คลิกระบายทับ


บริเวณดวงตา ใตตาที่มีตําหนิ

4.3 เลือกตนแบบ
บริเวณแกม 4.4 คลิกระบายทับ
แกมที่มีตําหนิ ผลลัพธที่ได

ขั้นตอนที่ 2 ใช Smudge Tool และ Blur Tool ปรับภาพใหดกู ลมกลืน 


ใช Smudge Tool ถูเกลี่ยสีสวนของภาพที่ดูไมกลมกลืนกันใหมีสีที่กลมกลืนกันมากขึ้น และใช
Blur Tool ปรับภาพใหเบลอเพื่อเพิ่มความเนียนของภาพ

1. คลิกเลือก Smudge Tool เลือกรูปแบบของหัวแปรงแบบ Circle Fuzzy (17) และกําหนดอัตราการ


เกลี่ยสีภาพที่ Rate เทากับ 30 จากนั้นคลิกเกลี่ยสีภาพสวนตางๆ ที่มีตําหนิใหดูกลมกลืนขึ้น

1.2 เลือกรูปแบบ
ของหัวแปรง

1.1 คลิกเลือก
Smudge Tool

1.3 กําหนด Rate เทากับ 30 1.4 คลิกเกลี่ยสีภาพ


Page 199

2. คลิกเลือก Blur Tool เลือกรูปแบบของหัวแปรงแบบ Circle Fuzzy (17) เลือกการปรับภาพแบบ Blur


และกําหนดอัตราความเบลอที่ Rate เทากับ 50 จากนั้นคลิกปรับภาพใหเบลอเพื่อเพิ่มความเนียนของภาพใน
สวนตางๆ ที่มีตําหนิ

2.5 คลิกปรับภาพให
2.2 เลือกรูปแบบ เบลอ
ของหัวแปรง

2.3 เลือกการปรับ
ภาพแบบ Blur

2.1 คลิกเลือก Blur Tool

2.4 กําหนด Rate เทากับ 50

การเปลี่ยนสี และปรับสีภาพจืดใหดสู ดใสขึ้น 


การถายภาพดวยกลองที่ไมมีคุณภาพ อาจจะทําใหถายออกมามีสีจืดชืด ไมตรงกับความเปนจริง ทําใหภาพที่ไดดู
จืดชืด ไมมีสีสัน เราสามารถปรับสีของภาพใหดูสดใสขึ้นได โดยใชเครื่องมือ Hue-Saturation Tool ในการปรับสี
ภาพ ดังตัวอยางจะเปลี่ยนสีเขียวบนรูปบอลลูนใหกลายเปนสีน้ําเงิน และปรับสีภาพใหดูสดใสขึ้น

ขั้นตอนการเปลี่ยนสี และปรับสีภาพจืดชืดใหดูสดใสขึ้น

1. เปดไฟลภาพ และเปลี่ยนสีภาพ
2. ปรับสีภาพใหดูสดใสขึ้น
Page 200

ขั้นตอนที่ 1 เปดไฟลภาพ และเปลี่ยนสีภาพ 


เราจะเปลี่ยนสีสวนของสีเขียวในลูกบอลลูนใหกลายเปนสีน้ําเงิน โดยใชเครื่องมือ Hue-Saturation Tool
เลือกปรับเฉพาะสีที่ตองการ ตัวอยางจะเลือกสีเขียว และปรับเปลี่ยนเฉดสีที่สไลดบาร Hue หรือตั้งคาเทากับ 120 จากนั้น
คลิก เพื่อดูภาพผลลัพธ

1. เลือกคําสั่ง File>Open... เพื่อ


เปดไฟลภาพ

2. คลิกเลือก Hue-Saturation

3. คลิกที่ภาพเพื่อ
ปรับแตงสี

5. คลิกเลื่อนสไลดบารเพื่อปรับ
สีหรือตั้งคาเทากับ 120

4. คลิกเลือกเฉดสีที่
ตองการปรับ

6. คลิกเพื่อดูภาพผลลัพธ

ผลลัพธที่ได
Page 201

ขั้นตอนที่ 2 ปรับสีภาพใหดูสดใสขึ้น 
ปรับสีภาพทั้งภาพใหดูสดใสขึ้น โดยคลิกเลือก และคลิกเลื่อนสไลดบาร Saturation หรือตั้งคา
เทากับ 100 เมื่อปรับสีภาพเรียบรอยแลวคลิกปุม เพื่อตกลงใชงานคาสีที่ตั้ง

1. คลิกเมาสเพื่อเลือกใหปรับสี
ภาพทั้งภาพ

3. คลิกเมาส ผลลัพธที่ได
2. คลิกเลื่อนสไลดบารเพื่อ
ปรับสีหรือตั้งคาเทากับ 100

การปรับภาพมืดใหดสู วางขึ้น 
ในสภาวะที่มีแสงนอย หรือมีความผิดพลาดในการวัดแสงขณะที่ถายภาพ อาจจะทําใหภาพที่ไดมืดเกินไป จนไม
สามารถเห็นรายละเอียดของภาพไดอยางชัดเจน แตเราสามารถปรับสีของภาพใหดูสวางขึ้นได ดวยเครื่องมือ Curve

ขั้นตอนการปรับภาพมืดใหดูสวางขึ้น 
เราจะใช Curve Tool และคลิกเลือกตําแหนงสีในภาพที่ตองการปรับ จากนั้นคลิกบริเวณจุดที่ปรากฏบนกราฟ
เพื่อปรับสีใหสวางขึ้น
Page 202

1. เลือกคําสั่ง File>Open... เพื่อ


เปดไฟลภาพ

2. คลิกเลือก Curve

3. คลิกเลือกสีบริเวณพื้นที่ภาพที่ตองการ
แกไข จะปรากฏจุดที่หนาตาง Curve

5. คลิกเลื่อนจุดเพือ่
ปรับสี

ผลลัพธที่ได
6. คลิกเมาส
Page 203

Workshop 2 
เปลี่ยนรูปรางของเชอรี่
ความสามารถของโปรแกรม GIMP นอกจากจะสามารถตกแตงภาพใหดูสวยงามแลว ยังสามารถตกแตงดัดแปลงภาพให
ผิดไปจากความเปนจริงได ดังตัวอยางนี้จะเปนการเปลี่ยนลักษณะของลูกเชอรี่กลมๆ ใหกลายเปนสี่เหลี่ยมไดงายๆ

หลักการเปลีย่ นรูปรางของเชอรี่เปนสี่เหลี่ยม
จากรูปทรงสี่เหลี่ยมโดยปกติแลวจะตองมีมุม และดาน ซึ่งเราจะตองทําการสรางมุม และดานใหกับลูกเชอรี่ของ
เรา จากนั้นจึงทําการตกแตงรูปรางรอบนอกใหสัมพันธกับมุมที่สรางใหดูเหมือนรูปทรงสี่เหลี่ยม จากนั้นจึงตกแตงบริเวณ
พื้นผิวใหมีแสงเงา และสรางเงาตกทอดที่พื้นใหดูสมจริง

ลักษณะของกลองสี่เหลี่ยม
Page 204

ขั้นตอนในการเปลี่ยนรูปรางของลูกเชอรี่ 
1. ปรับขนาดลูกเชอรี่เพื่อเตรียมกอนจะทําเปนสี่เหลี่ยม
2. วาดเงาของมุมเหลี่ยม และแตงลูกเชอรี่ใหเปนสี่เหลี่ยม
3. ตกแตงพื้นผิวใหสวยงาม
4. ใสกานใหผลเชอรี่ และวาดเงาตกแตง

ขั้นตอนที่ 1 ปรับขนาดลูกเชอรี่เพื่อเตรียมกอนจะทําเปนสี่เหลี่ยม 
เพราะวาเราตองการเปลี่ยนรูปรางของลูกเชอรี่ใหเปนรูปสี่เหลี่ยม เราจึงตองเพิ่มพื้นที่บริเวณดานขาง และมุมโคง
ใหดูเหลี่ยมและมีพื้นที่มากขึ้น โดยเราจะเลือกพื้นที่บางสวนของภาพตนแบบมาแปะเพื่อเพิ่มพื้นที่ และใช Eraser
Tool ลบขอบที่ไมตองการออก เพื่อชวยใหสวนที่นํามาแปะดูกลมกลืนกัน

1. สรางไฟลขึ้นมาใหมสําหรับทําลูกเชอรี่สี่เหลี่ยม โดยเลือกคําสั่ง File>New.. หรือกดคีย <Ctrl+N> จะ


ปรากฏหนาตาง Create a New Image ใหเรากําหนดขนาดของภาพ (ตัวอยางกําหนด 400x400 พิก
เซล) เลือกโหมดสีภาพแบบ RGB Color และกําหนดสีพื้นหลังที่ Fill with เปนแบบ White จากนั้น คลิก
ปุม
1.1 เลือกคําสั่ง File>New…

1.2 กําหนดขนาด
ของรูปภาพ

1.3 เลือกโหมดสี
RGB Color

1.4 กําหนด
Background เปน
แบบ White

1.5 คลิกเมาส
Page 205

จะไดไฟลภาพใหม

2. เปดไฟลภาพลูกเชอรี่ที่จะใชเปนตนแบบขึ้นมา โดยเลือกคําสั่ง File>Open... หรือกดคีย <Ctrl+O> เลือก


ไฟลภาพ cherry_org.jpg จากนั้นคลิกปุม
2.1 เลือกคําสั่ง File>Open... 2.2 เลือกไฟลภาพที่ตองการ

2.3 คลิกเมาส

3. เลือกพื้นที่ของลูกเชอรี่ เพื่อนําไปไวในไฟลใหม โดยคลิกเลือก Free Select Tool วาดเพื่อเลือกพื้นที่


รอบๆ ลูกเชอรี่
3.1 คลิกเลือก Free Select Tool

3.2 คลิกเลือกพื้นทีท่ ี่ตองการ


Page 206

4. นําภาพไปวางในไฟลใหม โดยคลิกเมาสขวาบริเวณรูปเชอรี่ที่เลือก และเลือกคําสั่ง Edit>Copy หรือกดคีย


<Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ จากนั้นมาที่ไฟลใหมคลิกเมาสขวาบริเวณภาพและเลือกคําสั่ง Edit>paste หรือ
กดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพที่กอปปมา

4.1 เลือกคําสั่ง Edit>Copy เพื่อ


กอปปรูปเชอรี่

4.2 เลือกคําสั่ง Edit>Paste


เพื่อวางภาพในไฟลใหม

5. เมื่อเรานําภาพไปวางในไฟลใหมเลเยอรที่ไดยังเปนเลเยอรที่ลอยๆอยู เราจึงตองสรางเลเยอรใหภาพ โดยคลิกที่


ในไดอะล็อก Layers ของหนาตาง Docking ภาพที่กอปปมาจะถูกวางในเลเยอรใหมที่สรางทันที

5.1 ภาพที่นํามาวางจะยังเปนแคเลเยอรลอยๆ อยู


5.3 ภาพที่นํามาวางจะถูกวาง
ลงในเลเยอรใหม

ผลลัพธภาพที่ Image
Window

6. ปรับขนาดภาพโดยคลิกเลือก Scale Tool กําหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมของเครื่องมือที่ Tool Options ใน


สวนของ Constraints เลือก Keep aspect เพื่อใหปรับขนาดภาพโดยยังคงสัดสวนเดิมของภาพไว
Page 207

จากนั้นคลิกปรับขนาดภาพ ตัวอยางจะยอขนาดภาพลง (หรือกําหนดขนาดที่หนาตาง Scale ก็ได) เมื่อกําหนด


ขนาดเรียบรอยแลว คลิกปุม ที่หนาตาง Scale เพื่อตกลง

6.1 คลิกเลือก Scale


Tool
6.2 ที่ Tool Box ของ Scale เลือก Keep
aspect เพื่อใหคงสัดสวนเดิมของภาพ

6.3 คลิกปรับขนาดภาพ

6.4 คลิกเมาส

หรือ กําหนดขนาดภาพใหม

ผลลัพธที่ได

7. หมุนภาพโดยคลิกเลือก Rotate Tool และคลิกหมุนภาพ (หรือกําหนดมุมองศาที่หนาตาง Rotate ก็


ได) เมื่อหมุนภาพเรียบรอยแลว คลิกปุม ที่หนาตาง Rotate เพื่อตกลง
7.2 คลิกหมุนภาพ
หรือ กําหนดคามุม
7.1 คลิกเลือก Scale
Tool

7.3 คลิกเมาส
Page 208

8. เพิ่มพื้นที่บริเวณดานขางดวยการนําภาพมาแปะเพิ่ม โดยกลับไปทํางานที่ไฟลภาพตนแบบ cherry_org.jpg


ใช Free Select Tool เลือกพื้นที่ดานขางของลูกเชอรี่ จากนั้นกอปปภาพที่เลือก โดยกดคีย <Ctrl+C>
จากนั้นไปที่ไฟลภาพใหม กดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพ และคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers ของหนาตาง
Docking ภาพที่กอปปมาจะถูกวางในเลเยอรใหมที่สรางทันที

8.1 คลิกเลือก Free Select Tool

8.2 คลิกเลือกพื้นที่ และกด คีย


<Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ

8.3 กดคีย
<Ctrl+V> เพื่อวาง 8.5 ภาพที่กอปปมา
ภาพ จะถูกวางในเลเยอร
ใหม

8.4 คลิกเมาสเพื่อ
สรางเลเยอรใหม

9. ปรับขนาดของภาพใหเหมาะสมดวย Scale Tool และหมุนภาพใหไดมุมที่เหมาะสมดวย Rotate

Tool จากนั้นใช Move Tool จัดวางตําแหนงภาพใหเหมาะสม

9.1 ปรับขนาดภาพ 9.2 หมุนภาพดวย 9.3 จัดวางตําแหนง


ดวย Scale Tool Rotate Tool ภาพดวย Move Tool

10. เพิ่มพื้นที่บริเวณดานขวาดวยการนําภาพมาแปะเพิ่มอีกสวนตามขั้นตอนที่ 8-9


Page 209

10.1 คลิกเลือกพื้นที่ และกดคีย


<Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ

10.2 กดคีย <Ctrl+V> เพื่อ


วางภาพ และสรางเลเยอร
10.3 ปรับขนาด หมุน และจัด ใหมเพื่อรองรับภาพ
วางภาพใหเหมาะสม

11. ทําภาพที่นํามาแปะ และลูกเชอรี่ใหดูกลมกลืนกัน โดยเลือกที่เลเยอรของชิ้นสวนแตละชิ้น คลิกเลือก


Eraser Tool กําหนดรูปแบบของยางลบ (ตัวอยางกําหนดแบบ Circle Fuzzy ขนาด 19) และคา
Opacity เทากับ 15 จากนั้นคลิกลบบริเวณขอบของแตละชิ้นสวน ใหภาพดูกลมกลืน

11.1 คลิกเลือก Eraser Tool 11.3 กําหนดคา Opacity เทากับ 15

11.4 คลิกลบขอบใหดูกลมกลืน
11.2 คลิกเลือกรูปแบบของยางลบ

ขั้นตอนที่ 2 วาดเงาของมุมเหลี่ยม และแตงลูกเชอรี่ใหเปนสี่เหลี่ยม 


ในขั้นตอนนี้จะเปนการสรางเงาบริเวณมุมตางๆ ของรูปสี่เหลี่ยม เพื่อใหลูกเชอรี่ดูเหมือนสี่เหลี่ยมมากขึ้น และ
ตกแตงลบขอบของรูปใหกลายเปนรูปรางสี่เหลี่ยม

1. ทําการรวมเลเยอรของลูกเชอรี่ และชิ้นสวนตางๆ ใหเปนเลเยอรเดียวกันกอนเพื่อใหงายตอการตกแตง โดยคลิกที่


หนาเลเยอร Background ใหหายไป เพื่อซอนเลเยอรเอาไวกอน จากนั้นคลิก เลือกคําสั่ง Layers
Menu>Merge Visible Layers... เพื่อรวมเลเยอรทั้งหมดที่แสดงอยูใหเปนเลเยอรเดียวกัน
Page 210

1.2 คลิก เลือกคําสัง่ Layers


Menu>Merge Visible
Layers...

1.1 คลิกซอนเลเยอร Background ไว

1.3 คลิกเลือกลักษณะ
การรวมเลเยอร

1.5 เลเยอรจะถูก
รวมเปนเลเยอรเดียว

1.6 คลิกแสดงเลเยอร

1.4 คลิกเมาส

2. สรางเลเยอรขึ้นมาใหมสําหรับวาดเงา โดยคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers จะปรากฏหนาตาง New


Layer ใหเรากําหนดคาตางๆ จากนั้นคลิกปุม เพื่อตกลง
Page 211

2.3 คลิกเมาส

2.1 คลิกสรางเลเยอรใหม 2.2 กําหนดคาตางๆ

3. เลือกสีที่ใชวาดเงาของรูปสี่เหลี่ยม โดยคลิกเลือก Paintbrush Tool กําหนดรูปแบบของหัวแปรง


ตัวอยางกําหนดแบบ Circle (07) กําหนดคา Opacity เทากับ 10 คลิกกําหนดสีโฟรกราวนดเปนสีชมพู หรือ
ใสรหัสสี #ffa8a8 จากนั้นคลิกปุม เพื่อตกลง และคลิกวาดเงาเปนเงาบริเวณมุมตางๆ ของรูป
สี่เหลี่ยมในเลเยอรใหมที่สรางขึ้น
3.1 คลิกเลือก Paintbrush Tool
3.3 กําหนดคา Opacity
เทากับ 10

3.5 ใสรหัสสี

3.4 คลิกกําหนด
สีโฟรกราวนด

3.6 คลิกเมาส

3.7 คลิกวาดเงาของมุมสี่เหลี่ยม
Page 212

4. คลิกเลือก Eraser Tool กําหนดรูปแบบยางลบเปนแบบ Circle Fuzzy (09) กําหนดคา Opacity


เทากับ 100 จากนั้นคลิกเลือกเลเยอรภาพลูกเชอรรี่ และลบขอบภาพลูกเชอรรี่ใหเปนรูปทรงสี่เหลี่ยม

4.1 คลิกเลือก Eraser Tool 4.3 กําหนดคา Opacity เทากับ 100

4.2 คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง

4.4 คลิกลบขอบภาพ

ขั้นตอนที่ 3 ตกแตงพื้นผิวใหสวยงาม 
จะเปนการตกแตงเพิ่มเติมบริเวณพื้นผิว เพราะวาบริเวณดานซายของลูกเชอรี่จะตองเปนเงามืด เราจึงตองปรับ
ภาพบริเวณนี้ใหดูเขมขึ้น จากนั้นจึงเปนการตกแตงสวนตางๆ เพิ่มเติมทั้งพื้นผิว และบริเวณเงา

1. ทําพื้นที่ดานซายของลูกเชอรี่ใหสีเขมขึ้น โดยคลิกเลือก Color Picker Tool เพื่อเลือกสีตนแบบจาก


สวนที่เปนเงาของลูกเชอรรี่ จากนั้นเลือก Paintbrush Tool กําหนดคา Opacity 50% และคลิก
ระบายสีบริเวณดานซายของลูกเชอรี่
1.2 คลิกเลือกสี
1.1 คลิกเลือก Color ตนแบบ
Picker Tool 1.3 สีของโฟรกราวนดจะ
เปลี่ยนไปเปนสีที่เราเลือก

1.4 คลิกเลือก 1.6 กําหนดคา


1.7 คลิกระบายสี
Paintbrush Tool Opacity เทากับ 50

1.5 คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง
Page 213

2. ตกแตงพื้นผิวดานอื่นๆ โดยใช Color Picker Tool คลิกเลือกสีตนแบบ จากนั้นใช


Paintbrush Tool คลิกระบายสีพื้นผิว

2.1 คลิกเลือกสี
2.2 คลิกระบายสี
ตนแบบ

3. ทําการเกลี่ยสีของเงา และพื้นผิว โดยคลิกเลือก Convolve Tool กําหนด Convolve Type แบบ


Blur เพื่อปรับภาพใหฟุงเบลอ และกําหนดคา Rate เทากับ 50

3.2 กําหนด Convolve Type


แบบ Blur

3.1 คลิกเลือก
Convolve Tool

3.3 กําหนดคา Rate 3.4 คลิกเกลี่ยสีภาพ


เทากับ 50

ขั้นตอนที่ 4 ใสกานใหผลเชอรี่ และวาดเงาตกแตง 


ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนสุดทายในการตกแตง ซึ่งเราจะนํากานของเชอรี่จากภาพตนฉบับมาใสในรูปลูกเชอรี่
สี่เหลี่ยมของเรา และตกแตงใหกลมกลืน จากนั้นจึงวาดเงาตกแตงเพื่อความสมจริง

1. ใช Scissor Tool เลือกพื้นที่ของกานในภาพตนฉบับ และคลิกตรงกลางพื้นที่ที่เลือก จะไดการเลือกพื้นที่


ของกานเชอรรี่ ใหกดคีย <Ctrl+C> เพื่อกอปปภาพ จากนั้นมาที่ภาพเชอรี่สี่เหลี่ยมกดคีย <Ctrl+V> เพื่อวาง
ภาพ และคลิกที่ ในไดอะล็อก Layers เพื่อสรางเลเยอรขึ้นมารองรับภาพที่วาง
Page 214

1.1 คลิกเลือก Scissor Tool

1.2 เลือกพื้นที่ของกานเชอรี่ และ 1.3 จะไดการเลือกพื้นที่ของกาน


คลิกตรงกลางพื้นที่ที่เลือก เชอรรี่ ใหกดคีย <Ctrl+C>

1.4 กดคีย <Ctrl+V> เพื่อวางภาพกานที่


กอปปมาในภาพเชอรี่สี่เหลี่ยม

1.5 คลิกสรางเลเยอรใหม

1.5 คลิกสรางเลเยอรใหม

2. ปรับแตงรูปทรงของกานเชอรรี่ใหเหมาะสม โดยใช Scale Tool ปรับขนาดของกาน ใช Rotate

Tool หมุนกานเชอรี่ และใช Move Tool เลื่อนตําแหนงจัดวางภาพใหเหมาะสม

2.1 ใช Scale Tool


ปรับขนาดภาพ

2.2 Rotate Tool หมุนภาพ 2.3 ใช Move Tool จัด


วางภาพใหเหมาะสม
Page 215

3. ทําภาพกานที่นํามาแปะใหดูกลมกลืนกัน โดยคลิกเลือก Eraser Tool กําหนดรูปแบบยางลบเปนแบบ


Circle Fuzzy (09) กําหนดคา Opacity เทากับ 15 จากนั้นคลิกลบขอบภาพ

3.1 คลิกเลือก Eraser Tool 3.3 กําหนดคา Opacity เทากับ 15

3.2 คลิกเลือกรูปแบบหัวแปรง 3.4 คลิกลบขอบภาพ

4. เลือกสีจากเงาในภาพเชอรี่ตนแบบ โดยใช Color Picker Tool จากนั้นคลิกเลือกที่เลเยอร


Background เพื่อใชวาดเงา

4.1 คลิกเลือก Color Picker Tool

4.2 คลิกเลือกสีตนแบบ

4.3 คลิกเลือกที่ใชวาดเงา

5. วาดเงาใหกับลูกเชอรี่ โดยคลิกเลือก Airbrush Tool กําหนดรูปแบบหัวพนเปนแบบ Circle Fuzzy


(09) กําหนดคา Opacity เทากับ 15.9 กําหนดคา Rate เทากับ 100 และ คา Pressure เทากับ 10
จากนั้นคลิกระบายสีเงาตรงสวนลาง และซายของลูกเชอรี่สี่เหลี่ยม
5.2 กําหนดคา
Opacity เทากับ 15.9
Page 216

5.3 คลิกเลือกลักษณะ
5.1 คลิกเลือก
หัวพน
Airbrush Tool

5.4 กําหนดคา Rate


เทากับ 100 และ คา
Pressure เทากับ 10

5.5 คลิกวาดเงา

6. เกลี่ยสีของเงาใหดูเรียบ โดยคลิกเลือก Convolve Tool กําหนด Convolve Type แบบ Blur เพื่อ
ปรับภาพใหฟุงเบลอ

6.1 คลิกเลือก Convolve


Tool
6.2 กําหนด Convolve
Type แบบ Blur

ผลลัพธของภาพที่ได
6.3 คลิกเกลี่ยสีภาพ

You might also like