You are on page 1of 22

คำำนำำ

รำยงำนฉบับนี้ เป็ นเรื่องเกี่ยวกับกำรใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจัดกำร


เรียนกำรสอน เพื่อช่วยให้ครูผู้สอนไม่ต้องเสียเวลำกับกำรงำนบริหำร
ครูผู้สอนจะได้มีเวลำไปปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยและมีเวลำให้กับ
นั กเรียนมำกขึ้น กำรนำำคอมพิวเตอร์มำช่วยในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
จะทำำให้ครูผู้สอนสำมำรถวิเครำะห์ผู้เรียนเพื่อออกแบบและพัฒนำระบบ
กำรสอนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ตรงกับวัตถุประสงค์และควำมต้องกำร
ของผู้เรียน
ในรำยงำนฉบับนี้ มีเนื้ อหำเกี่ยวกับ เทคโนโลยีกำรผลิตกำรใช้ส่ ือ
เพื่อกำรศึกษำในอดีต – ปั จจุบัน เทคโนโลยีกำรผลิตและกำรใช้ส่ ือกำร
ศึกษำที่สำำคัญ สื่อที่ใช้ในกำรศึกษำนอกระบบในอนำคต กำรนำำ
คอมพิวเตอร์มำใช้ในงำนผลิตและนำำเสนอสื่อ วิธีกำรนำำสื่อคอมพิวเตอร์
มำใช้ในกำรนำำเสนอสื่อทำงวิชำกำร กำรผลิตและใช้โปรแกรมนำำเสนอ
กำรใช้ระบบมัลติมีเดียเพื่อกำรศึกษำ และประโยชน์ของบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รำยงำนฉบับนี้ สำำเร็จได้ต้องขอขอบคุณ อำจำรย์สุจิตตรำ
จันทร์ลอย อำจำรย์รำยวิชำและผู้ท่ีให้ข้อมูลในกำรทำำรำยงำนครั้งนี้
รวมถึงผู้ร่วมงำนในกลุ่มที่ให้ควำมร่วมมือเป็ นอย่ำงดี หำกรำยงำนฉบับ
นี้ มีข้อผิดพลำดประกำรใด ต้องขออภัย ณ โอกำสนี้ ด้วย

นั กศึกษำประกำศนี ยบัตรสำขำ
วิชำชีพครู
รุ่นที่ 12 ภำคเรียนที่ 3 ปี
2552

สำรบัญ

เรื่อง หน้า
คอมพิวเตอร์กับการศึกษา 1
คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนการสอน
- เทคโนโลยีกำรผลิตกำรใช้ส่ ือเพื่อกำรศึกษำในอดีต – อนำคต
2
- เทคโนโลยีกำรผลิตและกำรใช้ส่ ือกำรศึกษำที่สำำคัญ 3
- สื่อที่ใช้ในงำนกำรศึกษำนอกระบบในอนำคต 4
- กำรนำำเสนอคอมพิวเตอร์มำใช้ในงำนผลิตและนำำเสนอสื่อ 5
- วิธีกำรนำำสื่อคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรนำำเสนอสื่อทำงวิชำกำร
6
- กำรผลิตและใช้โปรแกรมนำำเสนอ 7
- กำรใช้ระบบมัลติมีเดียกำรศึกษำ 8
ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 9
สรุป 10
อ้างอิง
1

คอมพิวเตอร์กับการศึกษา

ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งถือว่ำเป็ นยุคเทคโนโลยีสำรสนเทศ เกิดกำร


เปลี่ยนแปลงของโลกในหลำยๆด้ำนทั้งด้ำนเศรษฐกิจและสังคมอันนำำไป
สู่กำรปรับตัวเพื่อให้เกิดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันท่ำมกลำงกระแส
โลกำภิวัฒน์ทุกประเทศทัว่ โลกกำำลังมุ่งสู่กระแสใหม่ของกำรเปลี่ยนแปลง
ที่เรียกว่ำ สังคมควำมรู้ (KnowledgeSociety) และระบบเศรษฐกิจฐำน
ควำมรู้ (Knowledge-Based Economy) ที่จะต้องให้ควำมสำำคัญต่อกำรใช้
ควำมรู้และนวัตกรรม (Innovation) เป็ นปั จจัยในกำรพัฒนำและกำรผลิต
มำกกว่ำกำรใช้เงินทุนและแรงงำน
ควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีทำำให้ขอ
้ มูลข่ำวสำรและ
ควำมรู้ ซึ่งประกอบกันเป็ น "สำรสนเทศ" นั้ น สำมำรถลื่นไหลได้สะดวก
รวดเร็ว จนสำมำรถประยุกต์ใช้ได้อย่ำงกว้ำงขวำง ตั้งแต่ระดับบุคคลขึ้น
ไปถึงระดับองค์กรอุตสำหกรรม ภำคสังคม ตลอดจนในระดับประเทศ
และระหว่ำงประเทศ จนกระทัง่ ภำวะ "ไร้พรหมแดน" อันเนื่ องมำจำก
อิทธิพลของเทคโนโลยีสำรสนเทศดังกล่ำว ได้เกิดขึ้นในกิจกรรมและ
วงกำรต่ำงๆ และนั บเป็ นควำมกลมกลืนสอดคล้องกันอย่ำงยิ่ง ที่กำร
พัฒนำบุคลำกรในสังคมอันประกอบด้วยภำคกำรศึกษำ และกำรฝึ กอบรม
เป็ นเรื่องรำวของกำรเรียนรู้สำรสนเทศในรูปแบบต่ำงๆ ทั้งที่เป็ นข้อมูล
(Data) ข่ำวสำร (Information) ก็ตำม ดังนั้ นเทคโนโลยีสำรสนเทศจึง
เป็ นเครื่องมือที่สำมำรถนำำประโยชน์มำสู่วงกำรศึกษำ ได้อย่ำงเหมำะสม
หำกรู้จักใช้ให้เป็ นประโยชน์และคุ้มค่ำต่อกำรลงทุน (ไพรัช ธัชยพงษ์และ
พิเชษ ดุรงคเวโรจน์ .2541)
เมื่อกล่ำวถึงเทคโนโลยีสำรสนเทศ อุปกรณ์ท่ีเป็ น
เทคโนโลยีระดับสูงอย่ำงหนึ่ งที่นับว่ำมีบทบำทอย่ำงยิ่งได้แก่
"คอมพิวเตอร์"(Computer) ซึ่งใช้กันอย่ำงแพร่หลำยในทุกวงกำร โดย
เฉพำะวงกำรศึกษำได้นำำคอมพิวเตอร์มำใช้ประโยชน์ไม่ว่ำจะเป็ นในด้ำน
กำรบริหำร กำรบริกำร และกำรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกำรเรียนกำรสอน
เป็ นต้น
พจนำนุ กรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พุทธศักรำช 2525
ได้ให้ควำมหมำยของ "คอมพิวเตอร์" ไว้ว่ำ"เครื่องอิเล็กทรอนิ กส์แบบ
อัตโนมัติ ทำำหน้ำที่เสมือนสมองกล ใช้สำำหรับแก้ปัญหำต่ำงๆที่ง่ำยและ
ซับซ้อนโดยวิธีทำงคณิ ตศำสตร์"คอมพิวเตอร์จึงเป็ นเครื่องมือ
อิเล็กทรอนิ กส์ท่ีถูกสร้ำงขึ้นเพื่อใช้งำนแทนมนุ ษย์ในด้ำนกำรคำำนวณและ
สำมำรถจำำข้อมูลทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้ เพื่อกำรเรียกใช้งำนครั้งต่อไป
รวมทั้งสำมำรถจัดกำรกับสัญลักษณ์ (Symbol) ได้ด้วยควำมเร็วสูงโดย
ปฏิบัติตำมขั้นตอนของโปรแกรม นอกจำกนี้ ยังมีควำมสำมำรถใด้ำน
ต่ำงๆ เช่น กำรรับส่งข้อมูล กำรจัดเก็บข้อมูลไว้ในตัวเครื่องและสำมำรถ
ประมวลผลจำกข้อมูลต่ำงๆ ได้ (ตวงแสง ณ นคร .2542)

คอมพิวเตอร์ท่ีนำำมำใช้ในวงกำรศึกษำ หรืออำจเรียกว่ำ
คอมพิวเตอร์เพื่อกำรศึกษำ (Computer-Based Education, Instructional
Computer : IC, Computer-Based Instruction : CBI) มีควำมหมำย
เหมือนกันคือ กำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ประโยชน์ในด้ำนกำรศึกษำ ไม่วำ่
จะเป็ นกำรจัดกำรเรียนกำรสอน กำรลงทะเบียน กำรจัดทำำบัตรนั กศึกษำ
กำรจัดทำำผลกำรเรียนกำรสอนรวมไป จนถึงกำรออกใบรับรองกำรจบ
หลักสูตร
Robert Taylor นั กเทคโนโลยีกำรศึกษำ ได้แบ่งกำรใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อกำรศึกษำ ไว้ในหนั งสือ the Computer in the
School : Tutor, Tutee โดยได้แบ่งกำรนำำคอมพิวเตอร์เข้ำมำใช้ใน
โรงเรียนออกเป็ น 3 ลักษณะคือ กำรใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของ
ติวเตอร์ กำรใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของอุปกรณ์ กำรเรียนกำรสอน
และกำรใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของผู้เรียน (ดิเรก ธีระภูธร .2545)
แต่กระบวนกำรในกำรจัดกำรศึกษำในภำพรวม ไม่ได้หมำย
ถึงสถำนศึกษำหรือสถำบันกำรศึกษำเพียงอย่ำงเดียวเท่ำนั้ น ทั้งนี้ ยังมี
หน่วยงำนทำงกำรศึกษำและองค์กรอื่นที่ทำำหน้ำที่เกี่ยวข้องกับกำรบริหำร
และสนั บสนุ นกำรจัดกำรศึกษำด้วย

คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนการสอน (Computer
-Managed Instruction)
กำรใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจัดกำรเรียนกำรสอน เพื่อช่วย
ให้ครูผู้สอนไม่ต้องเสียเวลำกับกำรงำนบริหำร ครูผู้สอนจะได้มีเวลำไป
ปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยและมีเวลำให้กับนั กเรียนมำกขึ้น เช่น กำร
จัดเลือกข้อสอบ กำรตรวจและให้คะแนนและวิเครำะห์ขอ
้ สอบ กำรเก็บ
ประวัตินักเรียนเฉพำะวิชำที่สอนเพื่อดูพัฒนำกำรด้ำนกำรเรียนและกำร
ให้คำำปรึกษำ และช่วยในกำรจัดทำำเอกสำรเกี่ยวกับกำรเรียนกำรสอนของ
วิชำที่สอน รวมถึงกำรนำำคอมพิวเตอร์มำช่วยในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
จะทำำให้ครูผู้สอนสำมำรถวิเครำะห์ผู้เรียนเพื่อออกแบบและพัฒนำระบบ
กำรสอนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ตรงกับวัตถุประสงค์และควำมต้องกำร
ของผู้เรียน

เทคโนโลยีการผลิต การใช้ส่ ือเพื่อการศึกษาในอดีต – ปั จจุบัน


การผลิตและการใช้ส่ ือในอดีต
ระบบกำรสื่อสำรในอดีต ซึ่งแพร่กระจำยข่ำวสำรควำมรู้ต่ำงๆ
ยังมีขอบเขตจำำกัด เนื่ องจำกอุปกรณ์ต่ำงๆ ยังไม่ได้รบ
ั กำรพัฒนำให้มี
ประสิทธิภำพสูงสุดเต็มที่และควำมรู้ด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศยังมีกำร
ค้นพบน้อย ดังนั้ น สื่อที่ใช้ในกำรสื่อสำรเพื่อกำรศึกษำยังคงเป็ นสื่อ
ดั้งเดิมที่สะดวก หำง่ำยและรำคำถูกและมีควำมซับซ้อนน้อย กำรผลิต
และกำรใช้ส่ ือในอดีตจึงมีลักษณะดังต่อไปนี้
1. เน้นกำรใช้ส่ ือบุคคล (personal media) คือ อำศัยกำร
พูดคุยแบบซึ่งหน้ำ กำรสอนที่ใช้อุปกรณ์อย่ำงง่ำย เช่น กำรบรรยำย
กำรสนทนำ ประกอบกับกระดำนดำำ 3

2. เน้นกำรใช้ส่ ือรำคำถูก หำง่ำยในท้องถิ่น (Low cost


media) เช่น กำรใช้ของจริง แผนภูมิ กระดำษหรือวัสดุเขียนที่หำได้ใน
ท้องถิ่น
3. เน้นกำรใช้ส่ ือเพื่อกำรสอน มำกกว่ำสื่อเพื่อกำรเรียน
เนื่ องจำกกิจกรรมในชั้นเรียนทุกอย่ำงขึ้นอยู่กับ ผู้สอน จึงถือว่ำสื่อเป็ น
เครื่องช่วยสอนอย่ำงหนึ่ งที่ขำดครูไม่ได้
4. เน้นกำรใช้ส่ ือโสตทัศน์ เช่น เครื่องฉำย เครื่องเสียง
5. ใช้ส่ ือมวลชนเป็ นหลักในกำรเผยแพร่ข่ำว – สำร สู่
มวลชน โดยเป็ นกำรสื่อสำรทำงเดียว ผู้รบ
ั ไม่สำมำรถสื่อสำรกลับ
มำได้ (ขำดปฏิสัมพันธ์)

การผลิตและการใช้ส่ ือการศึกษาในปั จจุบัน – อนาคต


กำรผลิตและกำรใช้ส่ ือในปั จจุบันมีแนวโน้มที่เปลี่ยนไปจำก
เดิม เนื่ องจำกมีกำรค้นพบสื่อใหม่ๆ ที่สำมำรถส่งข่ำวสำรได้อย่ำงสะดวก
และรวดเร็วและเปิ ดโอกำสให้ผู้รบ
ั ข่ำวสำร มีอส
ิ ระในกำรรับส่งข่ำวสำร
มำกขึ้น สรุปได้ดังนี้
1. เน้นสื่อที่ผรู้ บ
ั สำร หรือผู้เรียนสำมำรถศึกษำด้วยตนเองได้
จำกสื่อที่มีกำรออกแบบอย่ำงดี
2. กำรผลิตและกำรใช้ส่ ืออำศัยเครื่องมือ อุปกรณ์ด้ำน
สำรสนเทศ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มำช่วยสนั บสนุ นกำรผลิต เพื่อลด
เวลำให้สำมำรถทำำงำนได้รวดเร็วขึ้นและมีประสิทธิผลมำกขึ้นด้วย
3. กำรผลิตและกำรใช้ส่ ือมุ่งเน้นผู้เรียนมำกกว่ำผู้สอน โดย
ยึดผู้เรียนหรือผู้ดูเป็ นศูนย์กลำง
4. สื่อมีรำคำแพงและต้องกำรกำรลงทุนสูง แต่มีแนวโน้มที่
จะถูกลงเรื่อยๆ
5. บุคคลมีอิสระในกำรรับข่ำวสำรและมีแนวโน้มที่จะเรียก
ร้องสิทธิในกำรรับรู้ข่ำวสำร และมีบทบำท ในกำรมีส่วนร่วมในกำรใช้
สื่อมำกขึ้น
6. ใช้ส่ ือที่มีควำมสำมำรถในกำรโต้ตอบกลับมำก
ขึ้น(Interaction) คือ ผู้รบ
ั มีปฏิสัมพันธ์ทำงด้ำนสื่อกับผู้รบ
ั สื่อ
7. กำรแพร่กระจำยสื่อ โดยใช้ระบบเครือข่ำย (Network)
ทั้งระบบเครือข่ำยที่ใช้สำยเคเบิ้ล (on line) และที่ไม่ใช้สำย (off line)
ใช้ระบบดำวเทียม (Sattelite) อินเตอร์เนต (Internet ) ติดต่อและแลก
เปลี่ยนข้อมูลกันระหว่ำงสถำนที่ห่ำงไกลกันได้ตลอดเวลำ

เทคโนโลยีการผลิตและการใช้ส่ ือการศึกษาที่สำาคัญ
เทคโนโลยีท่ส
ี ำมำรถนำำมำใช้กับงำนผลิตและใช้ส่ ือที่สำำคัญ
ได้แก่เทคโนโลยีต่อไปนี้
1. ระบบคอมพิวเตอร์กรำฟิ ก (Computer graphic) เป็ น
ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีประกอบด้วยภำพเสียงและภำพเคลื่อนไหว
2. ระบบมัลติมเี ดียในกำรนำำเสนอชื่อและกำรเรียนรู้(ทำงด้ำน
เสียง ภำพนิง่ และภำพเคลื่อนไหว)
3. ใช้ส่ ือผสมกันระหว่ำงสื่อชนิ ดต่ำงๆ (Multi media)
4
มำกกว่ำจะใช้เพียงสื่อเดียว
4. ในอนำคตมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนไปใช้ส่ ือที่เป็ นสื่ออิเลค
โทรนิ คส์ แทนกำรพิมพ์บนแผ่นกระดำษ เช่น สื่อในรูปของแผ่น CD
ROM, VDO CD, Electronic Slide, Electronic Magazine เป็ นต้น
5. กำรติดต่อกันมีแนวโน้มที่จะเป็ นสื่อไร้สำยมำกยิ่งขึ้นเช่น
เดียวกัน เช่น โทรศัพท์มือถือ กำรสื่อสำรผ่ำนดำวเทียม หรือระบบ
ไมโครเวฟ
6. เทคโนโลยีด้ำนสื่อมีอัตรำล้ำสมัยเร็วมำกเมื่อเทียบกับสื่อ
ในสมัยก่อน จึงต้องมีหน่วยงำนที่ติดตำมและศึกษำเทคโนโลยีใหม่ๆ
อย่ำงต่อเนื่ อง
สื่อที่ใช้ในงานการศึกษานอกระบบในอนาคต
1. กำรใช้ส่ ือบุคคลยังมีควำมจำำเป็ นอยู่ แต่จะลดปริมำณน้อย
ลงเมื่อโครงสร้ำงพื้ นฐำนได้รบ
ั กำรพัฒนำไปอย่ำงทัว่ ถึงทุก
พื้ นที่ ทั้งนี้ เพรำะรัฐบำลจำำกัดกำำลังคนและงบประมำณ
2. มีกำรใช้ส่ ือคอมพิวเตอร์เพื่อสนั บสนุ นงำนกำรศึกษำนอก
ระบบ ในรูปแบบของสื่อทำงไกลมำกขึ้น
สื่อระหว่างบุคคล – CAI, fax/modem, e-mail,
โทรศัพท์ไร้สำย
สื่อกลุ่ม - ใช้วีดิโอโปรเจคเตอร์นำำเสนอ
ภำพและเสียงวีดิโอ โดยผ่ำนช่องทำงช่องเดียวกันในกำรประชุมสัมมนำ
หรือฝึ กอบรม
สื่อมวลชน - มีกำรแพร่กระจำยข่ำวสำรผ่ำนเครื่อ
ข่ำยอินเตอร์เน็ตมำกชึ้นทำำให้มีควำม รวดเร็วในกำรรับส่งข่ำวสำรและ
ค้นคว้ำหำข้อมูล
- วิทยุ โทรทัศน์และวิทยุกระจำย
เสียง ยังคงมีอิทธิพลต่อชำวบ้ำน แต่รำยกำรจะเปลี่ยนแปลงไปเป็ น
รำยกำรข่ำวและรำยกำรที่มีสำระประโยชน์ต่อชีวิตประจำำวันมำกขึ้น อีก
ทั้งจะมีกำรจัดระบบให้มี ปฏิสัมพันธ์กับผู้ชมมำกขึ้น หรือ ผู้ชมมี
โอกำสในกำรเป็ นผู้เลือกรำยกำรที่ตนสนใจมำกยิ่งขึ้น
3. ขณะนี้ รัฐบำลมีนโยบำยในกำรจัดตั้งศูนย์ข้อมูลในระดับ
ท้องถิ่นมำกยิ่งขึ้นและมีโอกำสเข้ำไปใช้ประโยชน์จำกกำรค้นหำข้อมูล
จำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆ ได้อย่ำงรวดเร็วและตรงตำมควำมต้องกำร
มำกกว่ำในอดีต
4. เอกชนจะมีอิทธิพลต่อกำรรับและกำรประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีใหม่ๆ มำก โดยอำศัยระบบขำยตรง(direct sale) และกำร
พัฒนำเป็ นเครือข่ำยของเอกชนในกำรผลิตและกำรตลำด
5. จะต้องมีกำรใช้ส่ ือสนั บสนุ นกำรพัฒนำเพื่อกำรมีส่วนร่วม
มำกกว่ำในอดีต (Development Participation) มีกำรเรียกร้องสิทธิและ
ต้องกำรมีส่วนร่วมในโครงกำรพัฒนำต่ำงๆ (อบต. เป็ นองค์กรที่เข้มแข็ง
และจะเสนอโครงกำรตำมควำมต้องกำรของประชำชนได้ในระบบ Botton
Up แทนระบบ Top Down อันจะมีผลให้ประชำชนเห็นควำมจำำเป็ น
ของกำรแสวงหำข้อมูลข่ำวสำรท้องถิ่นมำกขึ้น
5

การนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานผลิตและนำาเสนอสื่อ
กำรผลิตและพัฒนำสื่อเพื่อนำำมำใช้งำนทำงกำรศึกษำตำม
ปกติแล้ว จะต้องผ่ำนกระบวนกำรที่จำำเป็ นทั้ง 3 ขั้นตอน คือกำร
วำงแผนกำรผลิต กำรผลิตทำงเทคนิ ค และกำรทดสอบสื่อก่อนนำำไปใช้
จริง ซึง่ เป็ นขั้นตอนกำรวัดผล – ประเมินผล เพื่อดูประสิทธิภำพของสื่อ
ทั้ง 3 ขั้นตอนนี้ อำจกล่ำวได้ว่ำสำมำรถนำำคอมพิวเตอร์มำประยุกต์
ใช้ได้ทุกขั้นตอน แต่ข้ ันตอนที่จำำเป็ นต้องใช้มำกที่สุด คือ ขั้นตอนกำร
ผลิตทำงเทคนิ ค ซึ่งต้องอำศัยคอมพิวเตอร์เข้ำมำช่วยสร้ำงตัวอักษร
ภำพกรำฟิ ก ภำพนิ่ ง ภำพเคลื่อนไหว รวมทั้งเสียงที่จะถูกออกแบบ
มำในรูปของสัญญำณดิจิตอล (Digital Data) รวมทั้งกำรทำำข้อมูล
ดิจิตอลทั้งหมดมำผสมผสำนกันในรูปของ มัลติมีเดีย(Multimedia) ใน
ที่น้ ี จะกล่ำวถึง งำนผลิตและพัฒนำสื่อต่ำงๆ ที่สำมำรถนำำคอมพิวเตอร์
มำประยุกต์ใช้ดังต่อไปนี้
1. พิมพ์งานเอกสาร (Printed material) เป็ นงำนเตรียม
ต้นฉบับด้วยคอมพิวเตอร์ แทนกำรพิมพ์แล้วเลย์เอำท์ลงบนกระดำษ
ซึ่งมีควำมล่ำช้ำและมีข้อเสียหลำยประกำร คือ เนื่ องจำกต้องใช้เวลำ
และควำมชำำนำญในกำรเลย์เอำท์เป็ นพิเศษ และหำกมีข้อผิดพลำดจะ
แก้ไขได้ยำกกว่ำ เช่นกำรแก้ไขคำำผิดกำรจัดคอลัมน์และหน้ำใหม่ กำร
แก้ไขตำำแหน่งของภำพ กำรบีบข้อมูลให้ลงในตำำแหน่งที่ต้องกำร ฯลฯ
ซึ่งสิ่งต่ำงๆ เหล่ำนี้ กำรใช้คอมพิวเตอร์สำมำรถทำำได้ดีกว่ำ
โดยสรุปกำรใช้คอมพิวเตอร์ในงำนออกแบบเอกสำรสิ่งพิมพ์
อำจทำำได้ดังต่อไปนี้
1. ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบพิมพ์ตัวอักษร แล้วนำำมำตัดแปะ
ลงบนกระดำษแบบตำมคอลัมน์ และหน้ำทีต
่ อ
้ งกำร เว้นกรอบภำพเอำไว้
เพื่อนำำไปเลย์เอำท์อก
ี ครัง้ บนแผ่นฟิ ล์ม ก่อนนำำไปถ่ำยเพลท
2. ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบทั้งตัวอักษรและภำพทั้งหมด โดย
จัดหน้ำและคอลัมน์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ตำมต้องกำร รวมทั้งหน้ำปก
ซึ่งอำจเป็ นภำพสี่สี เสร็จแล้วจึงส่งไปให้โรงพิมพ์ดำำเนิ นกำรจัดพิมพ์
โดยใช้กำรส่งข้อมูลแผ่นดิสเก็ตไปดำำเนิ นกำรทำำเพลตและเข้ำเครื่องพิมพ์
ต่อไป ภำพที่จะนำำมำพิมพ์ในเอกสำรจะสแกนเข้ำเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อนำำไปจัดหน้ำต่อไป
3. กำรสร้ำงหนั งสืออิเลคทรอนิ คส์ เป็ นวิธีแปลงไฟล์ข้อมูล
เอกสำรที่จัดเลย์เอำท์ไว้แล้วเป็ นไฟล์แบบ Post scrip file (.pdf) ซึ่ง
สำมำรถเปิ ดอ่ำนด้วยโปรแกรมพิเศษ เช่น acrobat reader บนหน้ำจอ
คอมพิวเตอร์ได้ทันที โดยสำมำรถ ย่อ – ขยำยได้และยังสำมำรถนำำไป
ใส่ไว้ในโฮมเพจเพื่อผู้ใช้สำมำรถเปิ ดอ่ำนทำงอินเตอร์เนตได้ เนื่ องจำก
แฟ้ มภำพ (.pdf) ต้องกำรเนื้ อที่หน่วยควำมจำำน้อยและยังสำมำรถพิมพ์
ออกทำงเครื่องพิมพ์ได้อก
ี ด้วย ข้อมูลหนั งสือจำำนวนมำก จึงสำมำรถ
บรรจุไว้ในแผ่นซีดไี ด้เป็ นจำำนวนหลำยๆ เล่ม
โปรแกรมสำำเร็จ (software) ที่นำำมำใช้เพื่องำนออกแบบและ
จัดหน้ำที่นิยมมำกที่สุด คือ โปรแกรม Page Maker เนื่ องจำกสำมำรถ
จัดหน้ำได้สะดวก กำรกำำหนดคอลัมน์และตัวอักษรได้ง่ำยและรวดเร็ว
ส่วนโปรแกรมอื่นๆ ที่นิยมใช้กันแต่มีลูกเล่นน้อยกว่ำ เช่น Microsoft
word หรือ Word Perfect ซึ่งปกตินิยมใช้กับกำรสร้ำงเอกสำรทัว่ ๆ ไป
มำกกว่ำ ส่วนโปรแกรมสร้ำงแฟ้ มข้อมูล .pdf ใช้กับโปรแกรม Adobe
6
Acrobat
2. งานออกแบบศิลปกรรม (Artwork desing) กำรออกแบบ
ศิลปกรรมเป็ นสื่อประเภทกรำฟิ กต่ำงๆ เช่น ภำพโปสเตอร์ ชำร์ท
แผนภูมิหรือภำพนิ่ ง ล้วนแต่เป็ นงำนที่ต้องอำศัยควำมประณี ตและต้อง
ใช้เวลำและฝี มือของช่ำงศิลป์ ในกำรออกแบบ แต่คอมพิวเตอร์จะช่วย
ทำำให้กำรออกแบบง่ำยขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผู้ออกแบบสื่อกรำฟิ กที่
ไม่ใช่ช่ำงศิลป์ งำนศิลปกรรมที่สำมำรถสร้ำงขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ได้แก่
- งำนกรำฟิ ก ภำพลำยเส้น กรอบ ระบำยสีภำพและตัวอักษร
- งำนกรำฟิ ก 3 มิติ ที่สร้ำงเงำหรือพื้ นผิวให้เว้ำหรือนู น
เข้ำไปภำยในภำพ
- ภำพถ่ำยหรือภำพที่มีโทนสีต่อเนื่ อง
โปรแกรมที่นำำมำใช้ออกแบบงำนศิลปกรรมที่นิยม ได้แก่
โปรแกรม Corel Draw, Ilustrater, freehand ฯลฯ ซึ่งสำมำรถสร้ำง
ำนได้หลำยรูปแบบ ส่วนภำพถ่ำยหรือภำพนิ่ งนั้ น จะใช้โปรแกรม
Photoshop ซึ่งนิ ยม นำำมำใช้ในงำนตกแต่งภำพถ่ำย
3. งานออกแบบโปรแกรมการนำาเสนอข้อมูล เป็ นสื่อที่
เปลี่ยนรูปแบบที่เคยนำำเสนอโดยสไลด์ หรือแผ่นโปร่งใสออกมำทำงจอ
ฉำยภำพทำงเครื่องฉำยวีดิโอ (Video Projecter) หรือ ดำต้ำโชว์ (Data
shoe Projecter) กำรผลิตสื่อเพื่อกำรนำำเสนอนี้ เป็ นกำรสร้ำงงำนกรำฟิ ก
– ภำพถ่ำย และเสียงเพื่อนำำเสนอร่วมกันหรืออย่ำงใดอย่ำงหนึ่ ง ที่เรียก
ว่ำ Multimedia โปรแกรมที่นำำเสนอข้อมูลนี้ ได้แก่ Power point
Persuation ส่วน Macromind director เป็ นโปรแกรมสร้ำงภำพและนำำ
เสนอแบบ Video – animation ที่มีภำพเคลื่อนไหว

วิธีการนำาสื่อคอมพิวเตอร์มาใช้ในการนำาเสนอสื่อทางวิชาการ
กำรนำำสื่อคอมพิวเตอร์มำเสนอข้อมูลทำงวิชำกำรอำจทำำได้
ดังต่อไปนี้
1. นำำข้อมูลที่สร้ำงไว้ในคอมพิวเตอร์ ฉำยออกทำงเครื่อง
ฉำยภำพวีดิโอโดยตรง วิธีน้ ี เพียงแต่นำำเครื่องคอมพิวเตอร์มำต่อเชื่อม
กับเครื่องฉำยภำพวีดิโอแล้วควบคุมภำพให้ปรำกฎบนจอทีละภำพ เช่น
เดียวกับกำรฉำยสไลด์ ก็จะทำำให้กำรนำำเสนอน่ำสนใจ และผู้ใช้สำมำรถ
ปรับเปลี่ยนภำพได้โดยง่ำย ปั จจุบันนี้ ควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ทำำได้ มีกำรนำำเสนอรูปภำพพร้อมกับเสียงไปพร้อมกันได้
เช่นเดียวกับสไลด์ประกอบเสียง โดยเรียกชุดอุปกรณ์นำำเสนอนี้ ว่ำ “
multi media ” ซึ่งควำมจริงก็คือกำรนำำภำพนิ่ ง – ภำพเคลื่อนไหว มำ
นำำเสนอพร้อมๆ กับเสียงประกอบนั ่นเอง
กำรบันทึกภำพและเสียงเก็บไว้ในแผ่น CD ROM สำมำรถ
ทำำได้ง่ำยด้วยเครื่อง “CD WRITER” ในปั จจุบันทำำได้ไม่ส้ ินเปลือง
เนื้ อที่ในฮำร์ดดิสก์ และสำมำรถนำำติดตัวไปที่ต่ำงๆได้โดยง่ำย จึงมีผู้
ผลิตแผ่น CD โปรแกรมต่ำงๆ ออกมำจำำหน่ำยเป็ นจำำนวนมำก
2. กำรนำำภำพและเสียงมำเสนออย่ำงต่อเนื่ องตั้งแต่ต้นจนจบ
ด้วยตัวมันเอง กำรสร้ำงโปรแกรมนำำเสนอแบบนี้ สำมำรถใช้โปรแกรม
ประเภท Authoring เช่น Authoware / toolbook ซึ่งเป็ นโปรแกรม
สำำเร็จรูปมำช่วยในกำรผลิตอย่ำงง่ำยและรวดเร็วมำกกว่ำกำรใช้
7
คอมพิวเตอร์เขียน โปรแกรมบำงโปรแกรมสำมำรถผลิตภำพนำำเสนอ
อย่ำงเดียว เช่น โปรแกรม”PowerPoint” ก็เป็ นที่นิยมกันทัว่ ไป แต่ไม่
สำมำรถนำำมำเสนอพร้อมกับเสียงได้
3. กำรพิมพ์ภำพหรือข้อมูลอื่นๆ ทีเ่ ตรียมไว้ให้อยู่ในรูปของ
วัสดุฉำยด้วยเครื่องบันทึกฟิ ล์ม (Film Recorder) หรือเครื่องพิมพ์
เลเซอร์ขำว-ดำำ และสี แผ่นฟิ ล์มอำซิเตท ใช้นำำเสนอผลงำนด้วย
เครื่องสไลด์ หรือเครื่อง ฉำยภำพข้ำมศีรษะ

การผลิตและใช้โปรแกรมนำาเสนอ (Presentstrion Program)


- แนวควำมคิดเกี่ยวกับกำรใช้คอมพิวเตอร์ใน Presentation
- กำรเตรียมข้อมูลและกำรเขียน สตอรีบ
่ อร์ด
- โปรแกรม Presentation ที่ใช้ในกำรนำำเสนอข้อมูล (Action,
Direction, PowerPoint)
- กำรใช้โปรแกรม PowerPoint เพื่อกำรนำำเสนอ

ลำาดับขั้นตอนในการผลิตโปรแกรมนำาเสนอ
1. ศึกษำเนื้ อหำ เรื่องที่จะผลิต
2. กำำหนดเป็ นหัวข้อและประเด็นย่อยๆ เพื่อนำำมำใช้ทำำภำพ
3. สร้ำงบทหรือสตอรีบ
่ อร์ดหยำบๆ ลงบนกระดำษโดยกำร
ร่ำงภำพในกรอบว่ำมีตัวอักษรและภำพอย่ำงไร หรือมีเสียงประกอบหรือ
ไม่
4. ดำำเนิ นกำรออกแบบภำพ – ตัวอักษร – เรื่อง ตำมที่ได้
ออกแบบไว้ในสตอรีบ
่ อร์ด ซึ่งอำจเป็ นภำพที่มีอยู่แล้วหรือภำพที่สร้ำง
ขึ้นเอง
5. สร้ำง effect ต่ำงๆ เช่น กำรสร้ำง Transition ของเฟรม
สไลด์ หรือสร้ำง Build สำำหรับกำรเคลื่อนที่ของตัวอักษรและภำพภำยใน
เฟรม

ข้อควรระวังในการออกแบบ
1. พื้ นกับตัวอักษร มีกำรตัดกันอย่ำงเหมำะสม เช่น ตัว
อักษรสีดำำบนพื้ นสีเหลือง อักษรขำวบนพื้ น สีน้ ำำเงิน ฟ้ ำอ่อนบนพื้ น
สีม่วง เป็ นต้น
2. ตัวอักษรควรมีขนำดใหญ่และอ่ำนง่ำย ถ้ำเลือกได้ควรใช้
ตัวอักษรที่มีควำมหนา ขนำดตัวอักษรที่พอเหมำะถ้ำเป็ นภำษำไทยควรมี
ขนำดประมำณ 50 Point ขึ้นไป แบบตัวอักษรที่ใช้ได้ดี เช่น Eucrosia,
Freesia UPC, หรือ DelIinea UPC และ Browallia UPC
3. ในสไลด์ เฟรม ไม่ควรใช้ตวั หนังสือหลำยบรรทัดเกินไป
เช่น ใช้ประมำณ 5 – 10 บรรทัด ก็เพียงพอ มิฉะนั้ นตัวอักษรจะ
8
เล็กลงทำำให้อ่ำนบำก
4. พยำยำมใช้ภำพประกอบให้มำก เช่น ภำพกรำฟิ ก ที่เป็ น
ชำร์ท กรำฟ Clip art หรือเป็ นภำพถ่ำย ที่ Scan มำ หรือถ่ำยจำก
กล้องดิจิตอล แต่ภำพกรำฟิ กสีหรือภำพถ่ำยที่นำำมำใช้ ควรมีควำม
สัมพันธ์กับเรื่องที่นำำเสนอ มิฉะนั้ นแล้วส่วนสำำคัญในสไลด์อำจถูกแย่ง
ควำมสำำคัญไป
5. ระวังไม่ใช้สีท่ีตัดกันมำกจนเกินไป อำจทำำให้ดูไม่สบำยตำ
เช่น สีแดงเข้ม กับสีน้ ำำเงินเข้ม จะทำำให้ดูแล้วปวดตำมำก
6. ไม่ควรสร้ำงกำรเคลื่อนไหวให้กับตัวอักษรหรือภำพใน
สไลด์มำกจนเกินไป ผลที่ออกมำจะทำำให้ดูสับสน แล้วยังอำจสร้ำงควำม
รำำคำญให้คนดูอีกด้วย

การใช้ระบบมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
การใช้ภาพดิจิตอลอิมเมจ
โครงสร้างของดิจิตอล
- ภำพวำด เป็ น Vector เกิดจำกกำรลำกเส้นเชื่อมระหว่ำง
จุดโดยกำำหนดเป็ นจุด x, y ภำพที่เกิดจำกโปรแกรม Ilustrator,
freehand หรือ Corel Draw
- ภำพถ่ำย เป็ น Raster เกิดจำกจุดวำงเรียงกันไป เรียกว่ำ
pixel หรือเป็ น Bitmap เช่น โปรแกรม Photoshop หรือโปรแกรมอื่นๆ
- Pixel คือ หน่วยของภำพที่มีลักษณะเป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยม
ประกอบกันเพื่อให้เกิดเป็ นภำพถ่ำยขึ้น ภำพที่เกิดขึ้นแบบ Raster
จึงต้องให้ควำมสำำคัญต่อควำมละเอียดของภำพ (Resolution) มำกกว่ำ
ภำพที่เป็ นแบบ Vector
หน่วยของความละเอียดของภาพ
คิดเป็ นจำำนวน pixels ต่อนิ้ ว (pixels per inch) เช่น 72
ppi ซึ่งเป็ นค่ำเริม
่ ต้นขนำดของภำพโปรแกรม Photoshop (ค่ำ Defalut
)
1. ควำมละเอียดของภำพขึ้นอยู่กับกำร set up กำรแสดงผล
บนจอมอนิ เตอร์ โดยปกติจอคอมพิวเตอร์มีกำรแสดงผลรำยละเอียด
ต่ำงๆ กัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติกำร์ดแสดงผล (display card) ที่อยู่ใน
CPU ซึ่งผู้ใช้สำมำรถเปลี่ยนควำมละเอียดได้หลำยขนำด คือ
- 640 x 480 pixels (Standard VGA)
- 800 x 600 pixels (Super VGA)
- 1024 x 768 pixels (Super VGA)
- 1280 x 1024 pixels (Super VGA)
- 1600 x 1200 pixels (Super VGA)

2. ปริมำณของสีทเสดง(Color
ี่ pallette) สีทแสดงบนจอมอร์
่ี นเิ ตอร์
สำมำรถปรับได้หลำยขนำด คือ
- 16 สี
- 256 สี
- 1607 ล้ำนสี
- หลักกำรสำำคัญก็คือ ยิ่งจำำนวน pixels และสี ยิ่ง
มำกก็จะทำำให้ได้ภำพที่ดีในทำงปฏิบัติ หำกแสดงสี 256 สี ในขนำดรำย
ละเอียด 1024 x 768 อำจแสดง 16 สี ที่ควำมละเอียดถึง 1280 x
1024
- คำำถำมว่ำกำรเลือกภำพที่ดีควรมีรำยละเอียดและสี
เท่ำใด ซึ่งขึ้นอยู่กับว่ำจะใช้ภำพอย่ำงไรด้วย ในกรณี ของภำพจำก
Video Projector ซึ่งบำงครั้งก็มีข้อจำำกัดในกำรแสดงผล
3. ประเภทของ file ภำพและคุณสมบัตข
ิ อง Digital Image
ภำพทีถ
่ ก
ู บันทึกโดยโปรแกรมต่ำงๆ จะมีช่ ือ file ภำพแตกต่ำงกันไป
และมีคุณสมบัติทำงด้ำนกำรบีบอัดข้อมูล(Compress file) และกำรนำำไป
ใช้ท่ีแตกต่ำงกันด้วย
- Tif file ( .tif)
- Jpeg file ( .Jpg, .jpeg)
- Gif file ( .gif)
- Bmp file( .bmp, .rle)
- Pcx file ( .pcx)
- Pict file ( .pct, pic)
- Photoshop file ( .psd , .pdd)
- ไฟล์ภำพชนิ ดที่มีหน่วยควำมจำำมำกๆ เช่น .tif,
.pict จะใช้ในกำรตกแต่งภำพและ Print out ในเครื่อง พิมพ์ที่มีคุณภำพ
- ไฟล์ภำพบำงชนิ ดที่ต้องกำรพื้ นที่น้อย จะนิ ยมใช้
งำนในโปรแกรมที่รน
ั ภำยใต้อินเตอร์เนต เช่น .jif และ .jpg เป็ นต้น

ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ดังนี้
- สร้ำงแรงจูงใจในกำรเรียนรู้
- ดึงดูดควำมสนใจ โดยใช้เทคนิ คกำรนำำเสนอด้วยกรำฟิ ก ภำพ
เคลื่อนไหว แสง สี เสียง สวยงำมและเหมือนจริง
- ช่วยให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ และสำมำรถเข้ำใจเนื้ อหำได้เร็ว
ด้วยวิธีท่ีง่ำยๆ
- ผู้เรียนมีกำรโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ และบทเรียนฯ
มีโอกำสเลือก ตัดสินใจ และได้รบ
ั กำรเสริมแรงจำกกำรได้รบ
ั ข้อมูลย้อน
กลับทันที 10

- ช่วยให้ผู้เรียนมีควำมคงทนในกำรเรียนรู้สูง เพรำะมีโอกำสปฏิบัติ
กิจกรรมด้วยตนเอง ซึ่งจะเรียนรู้ได้จำกขั้นตอนที่ง่ำยไปหำยำกตำม
ลำำดับ
- ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ได้ตำมควำมสนใจ และควำมสำมำรถของ
ตนเอง บทเรียนมีควำมยืดหยุ่น สำมำรถเรียนซำ้ำได้ตำมที่ต้องกำร
- ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีควำมรับผิดชอบต่อคนเอง ต้องควบคุมกำร
เรียนด้วยตนเอง มีกำรแก้ปัญหำ และฝึ กคิดอย่ำงมีเหตุผล
- สร้ำงควำมพึงพอใจแก่ผู้เรียน เกิดทัศนคติที่ดีต่อกำรเรียน
- สำมำรถรับร้ผ ์
ู ลสัมฤทธิทำงกำรเรียนได้
อย่ำงรวดเร็ว เป็ นกำรท้ำทำยผู้
เรียน และเสริมแรงให้อยำกเรียนต่อ
- ให้ครูมีเวลำมำกขึ้นที่จะช่วยเหลือผู้เรียนในกำรเสริมควำมรู้ หรือ
ช่วยผู้เรียนคนอื่นที่เรียนก่อน
- ประหยัดเวลำ และงบประมำณในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน โดย
ลดควำมจำำเป็ นที่จะต้องใช้ครูท่ีมีประสบกำรณ์สูง หรือเครื่องมือรำคำ
แพง เครื่องมืออันตรำย
- ลดช่องว่ำงกำรเรียนรู้ระหว่ำงโรงเรียนในเมือง และชนบท เพรำะ
สำมำรถส่งบทเรียนฯ ไปยังโรงเรียนชนบทให้เรียนรู้ได้ด้วย

สรุป
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็ นกระบวนกำรเรียนกำรสอน โดยใช้ส่ ือ
คอมพิวเตอร์ ในกำรนำำเสนอเนื้ อหำเรื่องรำวต่ำงๆ มีลักษณะเป็ นกำร
เรียนโดยตรง และเป็ นกำรเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือ
สำมำรถ โต้ตอบระหว่ำงผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่นเดียวกับกำรสอน
ระหว่ำงครูกับนั กเรียนที่อยู่ในห้องตำมปกติ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี
หลำยประเภทตำมวัตถุประสงค์ท่ีจะให้นักเรียนได้เรียน กล่ำวคือ
ประเภทติวเตอร์ ประเภทแบบฝึ กหัด ประเภทกำรจำำลอง ประเภทเกม
ประเภทแบบทดสอบซึ่งในแต่ละประเภทก็มีจุดมุ่งหมำยในกำรให้ควำมรู้
แก่ผู้เรียนแต่วิธีกำรที่แตกต่ำงกันไป ข้อดีของกำรใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
สอนคือช่วยลดควำมแตกต่ำงระหว่ำงผู้เรียน เช่นผู้ที่มีผลกำรเรียนตำ่ำ ก็
สำมำรถชดเชยโดยกำรเรียนจำกบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ และ
สำำหรับผู้มีผลกำรเรียนสูงก็สำมำรถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียนล่วงหน้ำ
ก่อนที่ผู้สอนจะทำำกำรสอนก็ได้
แนวโน้มในกำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรศึกษำในปั จจุบัน
และอนำคตจะเป็ นรูปแบบของกำรเรียนกำรสอน โดยนำำเอำเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ มำผสมผสำนกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เนื่ องจำก
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมีลักษณะเฉพำะ คือ มีควำมสำมำรถในกำรนำำ
เสนอข้อมูลผ่ำนระบบ World Wide Web ในกำรใช้เพื่อกำรจัดกำรเรียน
กำรสอนผ่ำนเว็บ (Web-Based Instruction : WBI) หรือ E-learning ซึ่ง
วงกำรศึกษำคงจะหลีกเลี่ยงได้ยำกยิ่ง
อ้ำงอิง

-กิดำนั นท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม . พิมพ์ครั้งที่


2 กรุงเทพฯ อรุณกำรพิมพ์ .2543
- ไพรัช ธัชยพงษ์และพิเชษ ดุรงคเวโรจน์ . เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การศึกษา. ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิ กส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชำติ .2541
-ตวงแสง ณ นคร. การใช้ส่ ือการสอน. สำำนั กพิมพ์มหำวิทยำลัย
รำมคำำแหง .กรุงเทพฯ .2542
-ดิเรก ธีระภูธร . การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา. [On-Line]
Available:
http://www.edu.nu.ac.th/wbi/366514/index.htm
ที่มำ : NECTEC’s Web Based Learning
http://www.bmaeducation.in.th/content_view.aspx-
con=922

You might also like