You are on page 1of 47

ผู้จัดทำำ

นำงสำววำรินทร์ ชมชื่น
รหัส 527190159

นำงสำวปฏิญญำ บุญมี รหัส


527190145

นำงสำวปุญยนุช หว่ำงแสง รหัส


527190148

นำยคมกฤต สมบ้รณ์ รหัส


527190101

นำยจิรวิทย์ ธรรมปำพจน์ รหัส


527190102
ความหมาย
นิ ทรรศการ คือ การแสดง อันจะเป็ นการแสดง
แบบใดก็ได้ ขึ้นอยูก่ ับจุดประสงค์ของผ้่จด ั วูามีจด

ประสงค์แสดงอะไร นิทรรศการ เป็ นสื่อการเรียน
ประเภทหนึ่ง ที่ใช้วธ ิ ีการนำ าเอาสิ่งของมาแสดง ไว้ให้ผ้่
ชมได้รับปั จจุบันนิทรรศการ เป็ นเครื่องมือการสื่อสารที่
มีบทบาทมาก และมีอิทธิพล มากขึ้นทุกขณะ ทัง้ ใน
ด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ ธุรกิจ สังคม การเมือง
อุตสาหกรรม การแพทย์ สาธารณสุข และอื่น ๆ
นิทรรศการ เป็ นวิธีการอันทรงประสิทธิภาพในการกระ
ต้น
ุ ให้ผ้่คนสนใจในวัตถุ และแนวความคิด เป็ นวิธีที่มัก
สามารถเข้าถึงประชาชนได้
ประเภทนิ ทรรศการ
นิ ทรรศการอาจแบ่งวิธก
ี ารจัดได้เป็ น 3 ประเภทคือ

ห้องรามคำาแหงอนุสรณ์ จัดแสดงห้องฉลองพระองค์ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว เมื่อทรงเสด็จพระราชทาน
ปริญญาบัตร บัณฑิต ม.รามคำาแหง ปี 2518
1.นิ ทรรศการถาวร (Permanent
Exhibition) เป็ นการจัดแสดงนิทรรศการที่มีเรื่องราว
ที่เกิดขึ้นแนูนอน เชูน เรื่องราว ประวัตศิ าสตร์ การ
ตัง้ แสดง ใช้เวลานาน เชูน การแสดงภาพเขียนในหอ
ศิลป์ แหูงชาติ โบราณวัตถุ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ฯ
2.นิ ทรรศการชั่วคราว (Temporary
Exhibition) เป็ นการจัดแสดงชัว ่ คราว 2 อาทิตย์ – 1
เดือน อาจจัดอยู่ภายในสถานที่จดั นิทรรศการถาวรได้
ทางพิพิธภัณฑ์อาจจัดแสดงเป็ นพิเศษ โดยเฉพาะ
เป็ นการเปลีย
่ นบรรยากาศที่ให้ความร้่และนูาสนใจ ให้
ประชาชนได้รับทราบ
3.นิ ทรรศการหมุนเวียน (Travelling Exhibition) เป็ นการ
จัดแบบหมุนเวียนไปเรื่อยๆ เป็ นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ทัศนะ และเผยแพรูให้ผ้่ชมได้รับ ร้่ถึงความก้าวหน้ าทางวิชาการ
นอกจากวิธีการจัดการประเภทของนิ ทรรศการแล้ว การจัดยังแบูง
สถานที่วูาจะจัดที่ไหน เชูน
นิ ทรรศการในร่ม (Indoor Exhibition)
ภายในห้อง ได้แกู การจัดตามผนั งห้องเรียน หรือทำาแผูน
ป้าย นิ ทรรศการ การจัดสถานที่ใช้เรื่องงูายๆ สัน
้ ๆเกี่ยวกับบท
เรียน หรือสรุปบทเรียน เมื่อเราสามารถทราบวูา ผ้่มาชม
นิ ทรรศการมีระดับความร้่ ประมาณเทูาใดแล้ว อาจจัดนิ ทรรศการ
ในห้องสมุด หรือในห้องเรียนก็ได้
เฉลียง หรือระเบียงทางเดิน เป็ นสถานที่ที่ตอ ้ ง
ใช้เดินผูานไปมา เป็ นการจัดสถานที่ที่มีอยูแ ่ ล้วมักเป็ น
เรื่องราวที่รวบรวมเหตุการณ์ ที่นูาสนใจ นิ ทรรศการ
ตามระเบียง บางครัง้ ภาพที่แสดงเป็ นร่ปที่หายาก หรือ
สิ่งของมีคาู บางอยูาง จึงอาจจะต้องทำาต้ก่ ระจกเก็บ
แสดง นิทรรศการจะชูวยการเรียนการสอนได้มาก
ห้องโถง การจัดสถานที่เชูนนี้ มักเป็ นหัวเรื่อง
ใหญูๆ จะต้องแสดงไปตามลำาดับ ตัง้ แตูตน ้ เรื่องจนจบ
และเพื่อที่จะให้ผ้่ชมจำานวนมากได้เข้าชมโดยสะดวก
ทัว่ ถึง โดยไมูเบียดเสียดยัดเยียด ป้ายและบอร์ดควร
จะวางในลักษณะตูางๆ ดังนี้
นิ ทรรศการกลางแจ้ง (Outdoor Exhibition) เป็ นการจัด
นิทรรศการที่ใหญูโตมีผ้่รูวมจัดจากหนูวยงาน องค์การธุรกิจหลายสาขา
มีจุดมูุงหมายสาขา มีจุดมูุงหมายให้ประชาชนจำานวนมากได้มีโอกาสชม
อาจจัดบริเวณที่กว้างๆ เชูน สนามหลาง วังสราญรมย์ สวนลุมพินี หรือ
ที่สนามในมหาวิทยาลัย โรงเรียน หรือที่สวนสารธารณะที่กว้างพอที่จะ
มีเต๊นผ้าใบ หรือปล่กสร้างศาลาชัว ่ คราวเพื่อจัดนิทรรศการ
การวางแผนการจัดนิ ทรรศการ
การสื่อสารไมูวูาจะเป็ นร่ปแบบใด จะได้ผลดีหรือไมู ต้องอาศัยการ
วิเคราะห์ประชากรเป้ าหมาย อยูางรอบคอบ ให้สอดคล้องกับหลัก
จิตวิทยาของการรับร้่ และหลักจิตวิทยาทางสังคมของกลูุม ผ้่รับสาร ซึ่ง
มีอยู่ตูางกัน การวางแผนสำาหรับนิทรรศการจะต้องออกแบบให้ผ้่ชมที่
เป็ นเป้ าหมายรับร้่ได้ถ่กต้องและสอดคล้องกับอารมณ์ความร้่สึก และ
ความต้องการของผ้่ชม จึงจะได้ผลดี
การวางแผนเกี่ยวกับเรื่องและเนื ้ อหา นิ ทรรศการสามารจัดได้แทบทุก
เรื่อง โดยจะต้องคำานึ ง ถึงสิ่งตูางๆ ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ของงาน ผ้่จัดควรต้องทราบวูา จะจัด
อะไรให้ใครด่ เรื่องอะไรที่กลูุมเป้าหมายสนใจ ต้องการให้ร้่อะไรบ้าง
นิ ทรรศการที่ดีต้องมีจุดมูุงหมาย และวัตถุประสงค์ที่แนู นอน การจัด
นิ ทรรศการหลายเรื่องหรือหลายวัตถุประสงค์ยูอมเป็ นอันตราย ถึงแม้จะ
จัดเสนอดี ก็อาจทำาให้ผ้่ชมให้ความสนใจเพียงเล็กน้ อยเทูานั น ้
2. การเสนอเนื ้ อหา เนื้ อหาที่ดีไมูได้หมายถึงต้องเป็ นเนื้ อหาที่คุ้นเคย
หรือสามารถให้ความบันเทิงใจส่งสุด และไมูได้หมายความวูา จะต้องให้
สอดคล้องกับรสนิ ยมในสังคมเสมอไป แตูหมายถึงวูาเนื้ อหานั น ้ อาจนำ ามา
แสดงได้อยูางเหมาะสม และสามารถ กระตุ้นความสนใจ ถูายทอดความร้่
ให้แกูผ้่ชมได้เป็ นอยูางดี
3. หัวเรื่อง ชื่อของนิทรรศการนับวูาเป็ นสิ่งสำาคัญที่ตอ
้ ง
คำานึงถึง เพราะจะเป็ นตัวแจ้งกับผ้ช
่ มวูา นิทรรศการนี้จะจัด
เกีย
่ วกับอะไร ตรงกับความสนใจของผ้่ชมหรือไมู ในขณะ
เดียวกันก็ให้ความหมายครอบคลุมเนื้อหาที่จะแสดงไว้ด้วย
4. ข้อความและคำาบรรยาย นิทรรศการที่เต็มไปด้วย
ข้อความและคำาบรรยายมักทำาให้นูาเบื่อ ควรเลือกเอาแตูสิ่งที่
ดีและสำาคัญที่สุดมาเสนอ นิทรรศการที่เต็มไปด้วยการอูาน
มักไมูประสบผลสำาเร็จ เพราะผ้่ชมอาจ เหนื่ อยล้า หมด
อารมณ์กบ ั การอูาน อีกประการหนึ่งผ้่ชมจำานวนมากจะต้อง
เคลื่อนที่ไปตามแนว การอูานข้อความมากๆนัน ้ อาจทำาให้ผ้่
ชมสูวนใหญูกลับไปพร้อมกับความสับสนมากกวูาความร้่
การวางแผน เกี่ยวกับสิ่งแสดง
1. ความเหมาะสมของสื่อ
สิ่งของตูางๆ ที่จะนำ ามาแสดงไมูวูาจะเป็ นสื่อ แผง
ตัง้ แสดงตลอดจนฐานตัง้ แสดง ควรผูานการพิจารณา
ในด้าน คุณสมบัตบ ิ างประการเสียกูอน ไมูวาู จะเป็ นหูุน
จำาลอง ที่ตอ้ งการแสดง อาคาร สถานที่ หรือวิธีการจัด
หรือตกแตูงบางสิ่งบางอยูาง ที่นำาของจริงมาแสดงไมู
ได้ หรือร่ปภาพ นับเป็ นการเลือกวัตถุที่จะนำ ามาแสดงที่
ประหยัดที่สด ุ แตูควรจะ ได้ภาพที่ถูาย ชัดเจนและ สื่อ
ความหมายได้มาก
2. บอร์ดจัดแสดง
นิ ทรรศการมักนิยมใช้แผงหรือบอร์ดจัดแสดงสำาหรับติดสื่อ
แสดงประเภท 2 มิติ เชูน ภาพถูาย แผนภ่มิ แผนสถิติ นั บ
วูามีความ สำาคัญมาก เพราะนอกจากใช้ประโยชน์สำาหรับติด
ชิน
้ งานแล้ว บอร์ดจัดแสดงยังชูวยเสริมหรือเพิ่มคุณคูาให้แกู
นิ ทรรศการอีกด้วย บอร์ดจัดแสดงควรคำานึงถึงความ
สวยงามและประโยชน์ใช้สอย ความมัน ่ คงแข็งแรง การ
ทรงตัว มีความส่งพอเหมาะหรืออยู่ในระดับสายตา ซึ่งงูาย
แกูการมอง การประกอบและติดตัง้ ควรทำาได้งูาย และ
สะดวก
3. การจัดสถานที่
จะต้องจัดแสดงไปตามลำาดับตัง้ แตูต้นเรื่องจนจบ และเพื่อที่
จะให้ผ้่ชมจำานวนมากได้เข้าชมโดยสะดวกทัว ่ ถึง ป้ ายและ
บอร์ดควรจะวางในลักษณะตูางๆ ดังนี้
1. การจัดแสดงตามระเบียงทางเดิน
2. การจัดแสดงแบบตูอเนื่องกันไป
3. บอร์ดที่จด ั ตัง้ ให้เห็นสิ่งทีแ
่ สดงทัง้ สองด้าน
4. จัดแสดงแบบตูอเนื่องโดยใช้บอร์ดทีด ่ ไ่ ด้ทงั ้ สองด้าน
5. การวางบอร์ดที่แยกจากกัน
6. จัดบอร์ดแบบสลับฟั นปลา
การถูายเทอากาศ สำาหรับอาคารทีจ ่ ัดนิทรรศการทีไ่ มูมเี ครื่อง
ปรับอากาศ ควรจะต้องมีประต่หน้ าตูางชูองระบายลมให้
เพียงพอ สำาหรับให้อากาศถูายเทได้สะดวก สำาหรับอาคารที่
อับทึบในการจัดนิทรรศการ ควรจัดหาพัดลมสำาหรับเปู าและ
ด่ดอากาศให้เพียงพอ แสง แสงสวูาง แสงเป็ นสิง่ สำาคัญใน
การจัด ผ้ช ่ มจะเพลิดเพลินและ ให้ความสนใจ มากน้ อยก็อยู่
กับสิง่ นี้ ถ้าแสงสวูางไมูเพียงพอ ผ้ช ่ มก็อาจเบื่อได้งูาย หรือ
ถ้าแสดงสวูางมากเกินไปก็อาจทำาให้ปวดสายตาสิ่งทีจ ่ ะแสดง
4. ผ้้นำาชม ในบางครัง้ สิ่งที่แสดงอาจจะต้องมี
การสาธิตให้แกูผ้่ชมทราบวูาใช้อยูางไรในการชม บาง
ครัง้ ด่ด้วยตา อูานคำาอธิบาย แล้วยังไมูเข้าใจแจูมชัด
จำาเป็ นต้องมีผ้่อธิบายเพิ่มเติมอีก ทัง้ ยังได้เป็ นการเฝ้า
สิ่งของไปด้วย บางครัง้ สามารถที่จะทำารายการ
ประเภทของผ้่ชม สถิติ จำานวนผ้ช ่ ม สูวนใหญูสนใจ
งานอะไรประเภทไหน เพราะบางทีผ้่ชมก็เบื่อหนูายที่
จะให้ข้อเท็จจริง ด้วยการออกแบบสอบถาม การใช้โสต
ทัศน่ปกรณ์ เชูน ภาพยนตร์ ภาพสไลด์ วีดท ิ ัศน์ ที่มี
เนื้ อหาสาระสอดคล้องกับนิทรรศการใช้รูวมกับการ
แสดงได้
การออกแบบนิ ทรรศการการออกแบบนิ ทรรศการ
การออกแบบการจัดนิทรรศการ การจัดนิทรรศการมีอยู่ 3 ร่ปแบบดังนี้
1. แบบกำาหนดทางเดิน การจัดแสดงนิทรรศการในแบบนี้ เราสามารถ
กำาหนดทางเดินเข้า - ออก และกำาหนดลำาดับของการตูอเนื่อง ของการ
แสดงได้ ทำาให้ผ้่ดเ่ คลื่อนไปในทิศทางทีต ่ ้องการ หรือเปิ ดให้ได้ผูานสูวนที่
ตัง้ ใจจะให้คนได้เห็นเป็ นพิเศษ สามารถจำากัด ผ้่ชมตามความเหมาะสม
ของสถานทีแ ่ ละนับจำานวนผ้่ชมเข้าได้งาู ย การกำาหนดผังทางเดินคูอน
ข้างยูุงยากอาจใช้สูวน ของ การแสดงบอร์ดหรือ หลักบังคับทิศทางเดิน
หรือสิง่ กีดขวาง เชูน ใช้เชือกกัน
้ ในบริเวณทีผ ่ ้่คนคับคัง่ อาจทำาเป็ นที่ยืน
ชม 2-3 แถว ลดหลัน ่ กันไป
2. แบบเปิ ด เป็ นการจัดนิทรรศการ ทีเ่ ปิ ดโอกาสให้ผ้่เข้าชมเลือกด่
เอาตามใจชอบโดย ไมูได้กำาหนดทางเข้าออก การจัดเป็ นกลูุม ๆ อาจ
ตูอเนื่องหรือไมูกไ็ ด้ ข้อดีของการจัดแบบนี้คือ สามารถจัดเป็ นกลูุม
อิสระเฉพาะเรื่องได้จด ั ผ้่เข้าชมเป็ นหมู่ตามความสนใจ การจัดยูุงยาก
น้ อยกวูา สูวนข้อเสีย คือ คนอาจเบียดเสียดกันเป็ นแหูง ๆ เฉพาะจุดที่
นู าสนใจ
3. แบบผสม เป็ นการจัดแบบกำาหนดทางเดิน และแบบเปิ ดผสมกัน
กลูาวคือ จัดบริเวณสูวนทีต ่ ้องการให้ผ้่ด่มองเห็นสิ่งทีแ
่ สดงตามลำาดับ
ตูอเนื่องกันไป เป็ นแบบปิ ดโดยกำาหนดทางให้เข้าทางหนึ่งออกทาง
หนึ่ ง สูวนบริเวณที่ไมูจำาเป็ นต้องแสดงขัน ้ ตอนตูอเนื่อง ก็จด
ั เป็ นแบบ
เปิ ดได้ สิ่งที่นำามาใช้ในการกำาหนดทางเดินนั น ้ อาจใช้บอร์ด หรือแผง
นิ ทรรศการหรือใช้วส ั ดุอ่ ืน ๆ เชูน ไม้ไผู เชือก ต้นไม้ประดับ ฯลฯ แตู
สิ่งเหลูานี้ต้องไมู รบกวนหรือแยูง ความสนใจ ของผ้่ชมไป
ประโยชน์ ของนิ ทรรศการ
1. นิทรรศการชูวยรวบรวมสิ่งแสดงตูางๆ มาไว้ในทีแ ่ หูง
เดียวกัน เชูน ร่ปภาพ ของจริง ของตัวอยูาง หูน
ุ จำาลอง
และการสาธิต จะทำาให้สะดวกตูอการศึกษาหาความร้ข ่ องผ้่
ที่สนใจ ซึ่งหาจากทีอ
่ ่ ืนได้ยาก

2. นิทรรศการชูวยนำ าความคิดและข้อม่ลทีก ่ ระจัดการะจา


ยอยู่ในทีต
่ ูาง ๆ มารวมเข้าด้วยกัน โดยเฉพาะมีการรูวมกัน
จัดจากหลาย ๆ หนู วยงาน ก็ยิ่งจะมีความสมบ่รณ์มากยิ่งขึ้น
ผ้่ดส
่ ามารถเลือกหาข้อม่ลทีต
่ นต้องการได้งูาย
3. นิ ทรรศการสามารถแสดงความคิดทีอ ่ ยูใ่ นลักษณะ
นามธรรม (Abstract) ซึ่งเข้าใจได้ยาก ให้ออกมาใน
ลักษณะของร่ปธรรม ที่ผด ้่ ่สามารถเข้าใจได้ เชูน ข้อม่ลที่
เป็ นตัวเลขก็นำามาแปลงให้เป็ นลักษณะกราฟ แผนภ่มิ
หรือนำ าของจริงมาให้ด่ ด้วยตา ฟั งด้วยห่ของตนเอง จะ
ทำาให้ผ้่ด่เกิดความประทับใจและจดจำาได้นาน ๆ
4. นิ ทรรศการชูวยกระตุ้นความสนใจในสิ่งที่แปลก ๆ ใหมู
ๆ ซึ่งจะนำ าไปสู่การค้นคว้าหาความร้จ ่ ากแหลูงวิทยาการอื่น
ๆ ทดลองนำ าไปปฏิบัติตอ ู ไป
5. นิ ทรรศการช่วยส่งเสริมการแสดงออกใน
ลักษณะของการร่วมมือกันจัดแสดงระหว่างบุคลากร
หน่วยงานต่างๆ ตลอดจนการให้ผช ้ มได้มีส่วนร่วม
ในกิจกรรมบางอย่าง อาทิ ให้ทดลองใช้ส่ิงของที่นำา
มาแสดงในงาน
หลักการจัดนิ ทรรศการ มีดังนี้
1. ความเด่น เชูนทิศทางของเส้น ความเดูนของแบบ หรือร่ปรูาง
ขนาดและสี สิ่งเหลูานี้ จะทำาให้นิทรรศการดึงด่ดความสนใจและ
สะดุด
สายตาของผ้่ชม ไมูควรใช้สีเกินกวูา 2-3 สี โดยใช้สีที่เป็ นกลาง
เป็ นพื้นหลัง และใช้สีที่เข้มเพื่อเน้ นจุดสนใจ
2. ความไม่ซำา้ ซาก ทำาให้เกิดความสนใจของผ้่ด่อยู่ได้นาน
3. ความสมดุล (BALANCING) ทำาให้ความสนใจของผ้่ด่ไมู
หันเหออกจาก เนื้ อเรื่องนั น้
4. ความต่อเนื่ อง การใช้เส้น สี และแบบ จะชูวยแนะให้ผ้่ด่
สามารถด่และเข้าใจเนื้ อหาได้ตามชูวงและจังหวะที่จัดไว้
      5. การเน้ นจุดสนใจ (EMPHASIS) ในป้ าย
นิทรรศการ เป็ นการจัดให้ภาพ และข้อความที่มีความสำาคัญ
เดูนชัดขึ้นซึ่งอาจทำาได้โดยยึดหลัก
          5.1 ภาพที่แยกจากภาพอื่น จะทำาให้ด่วูามีความ
สำาคัญ
          5.2 ภาพที่มีขนาดใหญูกวูาภาพอื่นทัง้ หมดยูอม
ดึงด่ดความสนใจ
          5.3 สีและร่ปทรงของภาพสามารถแขูงกับขนาดได้
หลักสำาคัญในการวางจุดสนใจ คือ วางไว้ในระดับสายตาส่ง
จากพื้นขึ้นประมาณ 5 ฟุต ระดับ ที่อยู่เหนือ 7 ฟุต ขึ้นไป
และตำ่ากวูา 3 ฟุต ลงมา จะไมูอยู่ในระดับที่ผ้่ด่ให้ความสนใจ

     
6. การจัดให้มเี อกภาพ (UNITY)
          6.1 จัดภาพที่มค ี วามเกี่ยวพันเดูนชัดมาอยู่รวม
กัน อาจใช้วัสดุขนาด และร่ปรูาง ซำ้า ๆ กัน
          6.2 จัดวัสดุที่มีลวดลายแปลก ซำ้า ๆ กัน ทำาให้เป็ น
หมวดหมูแ ่ ละเรื่องราวที่สัมพันธ์กัน
7. ความแตกต่าง (CONTRAST) เป็ นการจัดที่มค ี วาม
ประสงค์ให้มก ี ารขัดแย้งเพื่อแก้ปัญหา ความซำ้าซากจำาเจ
หรือเบื่อหนู ายจากการจัดลักษณะในทำานองเดียวกันหมดไมูมี
ลักษณะตื่นเต้นแอบแฝงอยู่ ดังนัน ้ การออกแบบโดยอาศัย
หลักความแตกตูาง โดยการทำาให้มีบางสูวน หรือหลายสูวน
ทำาให้เกิดการขัดแย้งกัน จะเป็ นเส้นที่ตัดกัน ผิดเรียบ นูุม
นวล ตัดด้วยผิวขรุขระ หรือการใช้สีตรงกันข้าม เพื่อให้ร้่สึก
ขัดแย้งกันบ้างในสูวนเล็ก ๆ น้ อย ๆ อันจะชูวยให้มช ี ีวิตชีวา
เพิ่มขึ้น เพิม
่ รสชาติแตกตูางกันออกไป
     8. ความกลมกลืน (HARMONY) ในที่นี้
หมายถึงการพิจารณาในสูวนรวมทัง้ หมดแม้จะมีบาง
อยูางที่แตกตูางกันก็ตาม แตูเมื่อมองด่แล้วให้ความร้่สึก
ผสมผสานกลมกลืนเข้ากันได้
     9. ความเรียบง่าย (SIMPLICITY) เป็ นสิ่งที่
สำาคัญในการจัดนิ ทรรศการ เพราะสิ่งตูาง ๆ ไมูวูาจะ
เป็ นภาพตัวอักษรที่ส่ ือความหมายชัดเจนจะชูวยให้ผ้่ชม
เกิดการเข้าใจได้เร็วขึ้น ควรระลึกเสมอวูาจุดมูุงหมายที่
สำาคัญของการจัดนิทรรศการ เพื่อให้คนด่เข้าใจเรื่องราว
ที่เราแสดงการใช้วัสดุหรือสิ่งที่แสดงเกินความ จำาเป็ น
หรือมีลักษณะแปลกพิศดารไมูตรงกับเนื้ อหายูอมไมูเกิด
ผลดี ดังนั น
้ การประหยัดและความชัดเจนเรียบงูายจะ
ทำาให้นิทรรศการนั น
้ นู าสนใจมิใช้น้อย
      10. ความสมบ้รณ์ ขัน ้ สำาเร็จ (FINISH)
เป็ นการสำารวจขัน ้ สุดท้าย ที่จะสรุปผลการออกแบบอัน
มีผลโดยตรงตูอสูวนรวมทัง้ หมด มีสว ู นใดบกพรูองไมู
เหมาะสมต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลง แก้ไข โดยใช้
ความคิด หรือถ้ายังไมูพอใจ อาจต้องมีการทดลองจัด
ตามที่คิดวูาถ่กต้องเหมาะสมแล้ว ก็พิจารณาเปรียบ
เทียบกับประสบการณ์ที่เคยจัดมาแล้ว เมื่อร้่สึกวูาไมูดี
เทูาก็โยกย้ายกลับที่เดิมถือวูาเป็ นการประลองความคิด
เมื่อได้ทดลองเชูนนี้ ก็จะชูวยมีการตัดสินใจที่ถก่ ต้อง
ยิ่งขึ้นอันเป็ นผลดีแกูการจัดนิทรรศการ
ส่วนดีของการจัดนิ ทรรศการ
1. เป็ นการให้การศึกษาอยูางหนึ่ งแกูผ้่ชม โดยไมูตอ้ งมีคร่มาบรรยาย
ให้ฟัง
2. ทำาให้การเรียนการสอนมีคุณคูาขึ้น เพราะการจัดนิ ทรรศการ
ขึ้นเพื่อแสดงเนื้ อหาของ บทเรียนตูางๆ ที่คร่สอน
3. สร้างแรงจ่งใจในการเรียน (MOTIVATION) ทำาให้เด็กเกิด
การอยากเรียนและมีความเข้าใจในเนื้ อหาวิชายิ่งขึ้น
4. เด็กนั กเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ เพราะเป็ นการให้เนื้อหา
วิชาที่เรียนทัง้ ทางตา ทางห่ และการสัมผัส
5. สร้างเสริมความรับผิดชอบของกลูุม และรายบุคคล หากให้
เด็กได้จัดนิทรรศการเองเป็ นการสูงเสริมให้เด็ก มีโอกาส ทำางานรูวม
กับผ้่อ่ น

สาเหตุการล้มเหลวของการจัดนิ ทรรศการ คือ
1. มีเวลาจัดเตรียมไมูเพียงพอ
2. ผ้อ
่ อกแบบไมูมีความร้่ ไมูทราบจุดมูุงหมาย
และวัตถุประสงค์ของการแสดงอยูางถูองแท้
3. ผ้อ่ อกแบบและเจ้าของงาน ไมูประสานกัน คือ
ผ้่ออกแบบไมูทราบวัตถุประสงค์ของเจ้าของ เจ้าของ
ไมูทราบแนวความคิดของผ้่ออกแบบ จึงทำาให้เสียผล
ประโยชน์ อยูางมาก
4. ความบกพรูองทางเทคนิค เชูน คำาอธิบายไมู
ชัดเจน แสงสวูางไมูเพียงพอ เป็ นต้น
ปั ญหาที่พบสาเหตุท่ีทำาให้การจัดนิ ทรรศการไม่ได้
ผล หรือจัดแสดงแล้วไมูได้ผลตามจุดมูุงหมาย
1. ไมูมีงบประมาณเพียงพอ
2. ไมูมีสถานที่ที่จะจัดแสดง หรือสถานที่ไมู
เหมาะสม
3. มีอป ุ กรณ์ไมูเพียงพอตูอการจัดนิทรรศการ
4. ผ้จ
่ ัดนิทรรศการยังไมูเข้าใจวิธีการ
5. เรื่องที่จด
ั ไมูอยู่ในความสนใจของกลูุมเป้า
หมาย
ขัน้ ตอนและการดำาเนิ นงานจัดนิ ทรรศการ
ขัน
้ ตอนและการดำาเนินงานจัดนิทรรศการ มีขัน ้ ตอนโดย
สรุปดังนี้
ขัน ้ ที่ 1 ขัน้ วางแผน
          ขัน
้ วางแผนเป็ นขัน
้ ของการคิด ในการที่จะดำาเนิ น
การจัดนิทรรศการทัง้ หมด เริ่มตัง้ แตูการหาชื่อเรื่อง
ของนิทรรศการ การตัง้ จุดมูุงหมาย งบประมาณ สถาน
ที่ ไปจนถึงขัน ้ สุดท้ายของการจัดนิทรรศการ คือ การ
สรุปผล ซึ่งใน ขัน ้ ของการวางแผนอาจจะเขียนในร่ป
ของโครงการจัดนิทรรศการก็ได้
ขัน
้ ที่ 2 ขัน ้ เตรียมการและออกแบบ
          เมื่อได้กำาหนดโครงการการจัดนิทรรศการเรียบร้อย
แล้ว ก็ถึงขัน ้ การเตรียมการและออกแบบ ในการเตรี
ยมการนั น ้ ก็เตรียมการตัง้ แตูการวิเคราะห์เนื้อหา
รวบรวมวัตถุสิ่งของหรือเอกสารตูางๆ ที่จะนำ าออก
แสดง จัดแบูงประเภท หมวดหมู่ และความสำาคัญตาม
ลำาดับ คำาบรรยายของสิ่งตูางๆ สำารวจด่ให้แนูใจวูา มี
ครบและพอเพียงตามจุดมูุงหมายที่กำาหนดไว้หรือไมู
เมื่อรวบรวมวัตถุสิ่งของตูางๆ ที่จัดแสดง เมื่อได้ครบ
แล้วจะทำาให้ทราบ ขนาดของนิทรรศการที่จะจัดแสดง
วูามีขนาดใหญูพียงไร ต้องการใช้พ้ ืนที่ที่จด ั แสดงเทูาใด
ต้องใช้บอร์ด ฐานตัง้ ต้ก ่ ระจก โต๊ะ สำาหรับจัดแสดง
จำานวนเทูาใด มีขนาดกว้างยาวแคูไหน
จากนัน ้ ก็นำาข้อม่ลดังกลูาวมาจัดวางผังงานและทำาการ
ออกแบบ โดยคำานึงถึงความสำาคัญวูา สิ่งใดที่ตอ ้ งการ
เน้ นเป็ นจุดเดูน สิ่งใดเป็ นจุดรอง และควรคำานึงถึงเส้น
ทางเดินของผ้่ชมนิทรรศการด้วย โดย กะประมาณให้
มีเนื้อที่กว้างพอที่ผ้่ชมจะด่สงิ่ ของได้ทัว
่ ถึง นอกจากนี้
ใน การออกแบบการจัดแสดงควรจัดเรียงลำาดับสิ่งที่
ต้องการแสดง วูาผ้ช ่ มควรเริ่มด่จากจุดใด ไปสู่จด ุ ใด
ขัน
้ ที่ 3 ขัน ้ การจัดทำา
          เมื่อได้เตรียมการและออกแบบแล้ว ก็ถงึ ขัน ้ ลงมือ
จัดทำา ในขัน ้ นี้ตอ
้ งใช้บุคคลฝู ายตูางๆ มากมาย เชูน
นักวิชาการ ชูางเทคนิคและชูางศิลป์ มารูวมมือกัน
ปฏิบัตงิ าน ตามลักษณะงานที่ตนเองถนัดและชำานาญ
โดยเริ่มตัง้ แตู การจัดทำาแผง การทำาฐานตัง้ การเขียน
ตัวอักษร การจัดไฟ การประดับตกแตูงห้อง การจัดวาง
หรือติดตัง้ แขวนวัตถุสิ่งของที่จะจัดแสดง ในการจัด
ทำานั น ้ อาจจะจัดทำาที่ใดที่หนึ่ งให้เรียบร้อยกูอนแล้วจึง
ขนไปจัดแสดง ยังสถานที่ที่จัดนิทรรศการ หรือจะไป
จัดทำาในห้องที่ใช้จัดแสดงนิทรรศการก็ได้ ทัง้ นี้แล้วแตู
ความสะดวกของผ้่จด ั
ขัน
้ ที่ 4 ขัน ้ การประชาสัมพันธ์
          การประชาสัมพันธ์เป็ นการโฆษณา เพื่อเชิญชวนหรือชักจ่งหรือแจ้ง
ขูาวสารตูางๆ ให้แกูประชาชน เพื่อให้ทราบ ข้อม่ลตูางๆ เกี่ยวกับงาน
นิ ทรรศการ เชูน งานนิ ทรรศการจัดระหวูางวันที่ เดือน ปี ภายในงานมีการ
จัดแสดงอะไรบ้าง รายการใดที่มีความสำาคัญ หรือมีคุณคูามาก เก็บเงินคูา
ผูานประต่หรือไมู เป็ นต้น ในการประชาสัมพันธ์นัน ้ ควรมีการ
ประชาสัมพันธ์ลูวงหน้ ากูอนวันงานประมาณอยูางน้ อย 1 เดือน และถ้าเป็ น
นิ ทรรศการ ขนาดใหญูมาก การประชาสัมพันธ์ ควรทำาลูวงหน้ าให้นานกวูา
นี้ สำาหรับสื่อที่จะใช้ในการประชาสัมพันธ์นัน้ มีอยู่มากมาย เชูน การ
ประชาสัมพันธ์ทางวิทยุ โทรทัศน์ หนั งสือพิมพ์ แผูนภาพโฆษณา สติก
เกอร์ เอกสาร ส่จิบัตร ไปรษณียบัตร หรือสูงบัตรเชิญ หรือจดหมายเชิญ
ชวนไปยังที่บ้านของประชาชน หรืออาจจะอาศัยกำานั น ผ้่ใหญูบ้านไป
ประชุมเชิญชวน ล่กบ้านให้มาชม นิ ทรรศการก็ได้
ขัน
้ ที่ 5 ขัน ้ การนำ าเสนอ
          การนำ าเสนอคือการให้ประชาชนเข้าชมและเข้ารูวม
กิจกรรมตูางๆ ที่ผ้่จัดนิ ทรรศการจัดทำาขึ้น ซึ่งในขัน

ของการนำ าเสนอนี้ มีกิจกรรมตูางๆ ดังนี้ คือ พิธีเปิ ด
นิทรรศการ การสาธิต การจัดกิจกรรมตูางๆ เชูน การ
อภิปราย การโต้วาที การฉายภาพยนตร์ การฉายสไลด์
การอธิบายและตอบคำาถามของผ้่ชม การ
ประชาสัมพันธ์ในงาน การอำานวย ความสะดวก เชูน
การชีแ ้ จงเส้นทางจราจร การแนะนำ าสถานที่ที่จะไปชม
นิทรรศการวูา ที่ใดจัดแสดงเรื่อง อะไร การรักษาความ
ปลอดภัย การปฐมพยาบาล
ขัน
้ ที่ 6 ขัน ้ การประเมินผล
           ในการจัดนิทรรศการนัน้ ควรมีการประเมินผลไว้
ทัง้ นี้เพื่อให้ทราบวูานิทรรศการที่จัดขึ้นนัน
้ บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ที่ตงั ้ ไว้หรือไมู มีข้อดีและข้อควรปรับปรุง
อะไรบ้าง ทัง้ นี้เพื่อจะได้นำาไปใช้เป็ นข้อม่ลในการ
พิจารณา ปรับปรุงแก้ไขการจัดนิทรรศการครัง้ ตูอไป
สำาหรับกรรมวิธีในการเก็บข้อม่ลการประเมินผลนั น ้
อาจทำาได้โดยการแจกแบบสอบถาม หรืออาจจะใช้วิธี
การสัมภาษณ์ผเ้่ ข้าชมนิทรรศการก็ได้
ขัน
้ ที่ 7 ขัน ้ การสรุปผล
          หลังจากจัดนิทรรศการผูานพ้นไปแล้วประมาณ 1
สัปดาห์ ควรมีการประชุมคณะกรรมการฝู ายตูางๆ ที่
รูวมจัดนิทรรศการเพื่อทำาการประเมินผล ผลการจัด
นิทรรศการในสูวนที่คณะกรรมการชุดนัน ้ ๆ รับผิดชอบ
วูาผลการจัด นิทรรศการนัน ้ เป็ นอยูางไร มีปัญหา
อุปสรรค ข้อดีและข้อเสียอยูางไรบ้าง มีสิ่งที่ควรจะ
ปรับปรุงแก้ไขหรือข้อเสนอแนะอยูางไร เมื่อฝู ายตูางๆ
เสนอครบหมดทุกฝู ายแล้ว ก็นำามารวมสรุปเป็ นผลของ
การจัดนิทรรศการ ซึ่งการสรุปผลอาจทำาในร่ปของ
รายงาน ก็ได้
การประดิษฐ์ตัวอักษรในการจัดนิ ทรรศการ
การจัดนิทรรศการตัวอักษร คือ หัวใจสำาคัญที่จะสื่อความ
หมายให้ผ้่ชมได้ทราบความเป็ นมาและเข้าใจอันดีตาม
วัตถุประสงค์ของผ้่จัด ความสะอาด อูานงูาย ความเป็ น
ระเบียบเรียบร้อยจะทำาให้นิทรรศการนั น ้ มีคุณคูาเกินกวูาครึ่ง
แล้วขนาดของตัวอักษร และสีที่ใช้มี ความ สัมพันธ์กับผ้่อูาน
ลักษณะความกลมกลืนของเรื่องและ ภาพที่จัดนิทรรศการนั น ้
ๆ ด้วย เชูน การจัดนิ ทรรศการเกีย ่ วกับต้นไม้ ใบหญ้า อาจใช้
วัสดุจากต้นไม้ใบหญ้านัน้ ๆ มาประดิษฐ์เป็ นตัวอักษร หรือ
อาจใช้กระดาษสี หรือสติก ๊ เกอร์มาตัดเป็ นตัวอักษร ปิ ดทับบน
โฟม ที่มคี วามหมาย เพื่อให้เกิดมิติ (Dimension) แกูตัว
อักษรนั น
้ ตัวสีอูอนควรปิ ดบนพื้นสีแกูและในทำานองเดียวกัน
ตัวอักษรสีแกูควรปิ ดทับ พื้นสีอูอน ต้นแบบที่ตัดออกมาอาจใช้
เป็ นแบบสเตนซิล สำาหรับแผูนอื่นๆ อีกก็ได้ มีวิธีการตูางๆ ที่
1. การเขียนด้วยมือ (Free-hand Letter) คือการเขียนตัวอักษรที่
ใช้มือเกือบทัง้ หมดซึ่งวิธีดังกลูาวจำาเป็ นต้องอาศัยการฝึ กฝน อยู่เสมอ
จนเกิด ความชำานาญจึงจะเขียนได้ดี เชูน
        1.1 เขียนด้วยปากกาสักหลาด ซึ่งมีอยู่หลายชนิด และหลายขนาด
ชนิ ดปลายกลมและปลายแบน มีหลายสีให้เลือกใช้
        1.2 เขียนด้วยปากกาสปี ดบอล ใช้จูุมหมึกเขียนได้งูายและรวดเร็ว
แตู มีข้อจำากัด คือ ต้องใช้เวลาฝึ กฝนกูอนการเขียน ก็สามารถเขียนได้

        1.3 เขียนด้วยพู่กัน ใช้จูุมหมึกหรือสีเขียน ซึ่งต้องอาศัยความ


ชำานาญมากกวูา 2 แบบแรกเขียนได้ดี เพราะแปรงพู่กันมีความนูุมและ
อูอนไหว ซึ่งทัง้ 3 วิธีดังกลูาวเหมาะสำาหรับจัดทำาป้ายนิเทศ
1.4 การเขียนด้วยวิธีตด
ั แบบ (Cutout Letter)
คือ การตัดตัวอักษรออกมาเป็ นตัว ๆ จากกระดาษที่ได้
รูางแบบไว้กูอนแล้ว เพื่อนำ าไปติดเป็ น ป้ายนิทรรศการ
อาจทำาเป็ นป้ ายชนิด 2 หรือ 3 มิติ แล้วแตูวส ั ดุที่ใช้
เชูน กระดาษสีตด ิ บนโฟมซึ่งเป็ นที่นิยมใช้กันมาก
เพราะมีคณ ุ ภาพดี ราคาถ่ก นำ้ าหนักเบาสะดวกในการ
ตัดเพียงแตูรูางแบบตามที่ตอ ้ งการแล้วใช้ใบมีดตัดตาม
แบบ หรือใช้เครื่องตัดโฟมตัด แล้วนำ าไปติดบน พื้นที่
แข็งเชูน ไม้ , ผนังตึก โดยใช้เทปกาวสองหน้ าติดได้
ทันที การติดบนผ้ามูานนิ ยมใช้เข็มหมุดตึงด้านข้าง
หรือด้านหลัง
1.5 การเขียนด้วยเครื่องเขียนตัวอักษร (Letter Machine) มี
หลายแบบแตูจะเหมือนอยู่อยูางหนึ่ ง คือ มีตว ั อักษรตัวฉลุในชุด
ของมันด้วยตัว อักษรดังกลูาวสามารถเขียนตัวเอียงเล็ก และตัว
ใหญูได้โดยการปรับระดับและขนาดปากกาที่เขียน แตูสูวนมาก
นิยมใช้ไม้บรรทัดฉลุ ซึ่งมี ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เพราะ
ราคาถ่กมีหลายขนาดให้เลือกใช้ตามต้องการและยังสามารทำา ใช้
เองได้โดยเขียนแบบตัวอักษรบน วัสดุ เชูน พลาสติก , กระดาษ
แข็ง หรือแผูนฟิ ล์ม เอ็กซเรย์ แล้วใช้เลื่อยหรือใบมีดฉลุตว
ั อักษร
ออกใช้ปากกาหรือดินสอเขียนลงไป ยังตัว อักษรฉลุนัน ้ เหมาะ
สำาหรับเขียนคำาอธิบายภาพ (Caption) ในแผูนป้ ายนิ ทรรศการ
2. อักษรจากคอมพิวเตอร์ (Computer) การ
ผลิตตัวอักษรนับวันที่จะงูาย สะดวกและรวดเร็ว
เพราะคอมพิวเตอร์มีศก ั ยภาพ ที่จะชูวยผลิต ตัวอักษร
ได้อยูางดี ซึ่งมีโปรแกรมสำาเร็จหลายโปรแกรมที่ผลิต
ตัวอักษรได้ดี อาทิเชูน Adobe Photo Shop,
Image Styler, MS PowerPoint และอื่นๆ อีกมาก
ขึ้นอยู่กับผ้่ใช้จะมีความถนั ดที่จะใช้โปรแกรมไหน
เกณฑ์กำำหนดตัวอักษร ขนาดความส้งของตัวอักษร
เพื่อให้ได้อ่านง่ายและชัดเจนมีส่วนสัมพันธ์กน
ั ดังนี้
ข้อเสนอแนะจากประสบการณ์
1. บริเวณจุดเปิ ดงาน (land mark) ควร
ออกแบบให้เดูนสะดุดตาเพื่อกระต้น ุ ความสนใจให้ผ้่ที่
เดินผูานไปมาทราบได้ทันทีวาู มีการจัดแสดง
นิทรรศการเรื่องใด โดยหนูวยงานใด ดังนัน ้ องค์
ประกอบหลักของสูวนนี้จงึ ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อ
หนูวยงาน สัญลักษณ์ (logo) ของงาน สโลแกน
(slogan) สัน้ ๆ อาจนำ าเสนอด้วยร่ปแบบของการจัด
สวน การจัดทำาพืชผัก- ผลไม้ยก ั ษ์ หรือโครงสร้างที่นูา
สนใจอื่นๆ เพื่อเน้ นจุดที่จะนำ าเข้าสู่นิทรรศการ โดยอาจ
ใช้วัสดุตกแตูงร่ปแบบตูาง ๆ เป็ นสูวนเสริมให้เกิด
ความสวยงามยิ่งขึ้น
2. การใช้สโลแกนและโลโก้ หมายถึง การใช้ข้อความหรือ
คำาขวัญสัน ้ ๆ ทีม
่ ค
ี วามหมายกินใจหรือการใช้ลักษณะคำา
สัมผัส พ้องร่ป พ้องเสียง เพื่อสื่อความหมายของการจัดงาน
ทำาให้ผช้่ มเกิดความประทับใจ จดจำาได้นาน เชูน การจัด
งานประเพณีแหูเทียนพรรษา ของจังหวัดอุบลราชธานี ทาง
จังหวัดใช้สโลแกนเพื่อประชาสัมพันธ์งานวูา “เมืองร้อย
เกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ”
เป็ นต้น สูวนการใช้โลโก้หรือสัญลักษณ์ของงาน เพื่อต้องการ
สื่อความหมายให้เห็นถึงภาพรวมในการจัดงาน เชูน การใช้
สัญลักษณ์ของงอบแทนความหมายของงานเกษตร หรือฟั น
เฟื อง แสดงความหมายของงานเครื่องจักรกล ฯลฯ ทีส ่ ำาคัญ
คือการออก แบบโลโก้ควรใช้ ตัวหนังสือให้น้อยทีส ่ ุด เพราะ
ต้องการใช้สญ ั ลักษณ์ส่ อ
ื ความหมายของงาน
3. การใช้ขอ ้ ความและตัวอักษร ควรใช้ขอ ้ ความหรือคำาบรรยายสัน ้ ๆ
กะทัดรัด ชัดเจน สื่อด้วยตัวอักษรขนาดพอเหมาะไมูเล็กหรือใหญูจน
เกินไปและควรใช้ส่ ืออื่นๆ ประกอบ เชูน ใช้ภาพตัวอยูางของจริง
หูน
ุ จำาลอง การสาธิตประกอบนิทรรศการ ฯลฯ การใช้ขอ ้ ความแตู
เพียง อยูางเดียวจะทำาให้นิทรรศการนูาเบื่อ และผ้่ชมขาดความ
อดทนในการชมนิ ทรรศการให้จบทัง้ เรื่อง
4. การจัดเจ้าหน้ าที่ด่แลนิทรรศการเพื่อตอบปั ญหาหรือข้อซักถาม
เกี่ยวกับนิทรรศการ เพราะการจัดโดยไมูมีเจ้าหน้ าที่ประจำาค่หา
นิทรรศการจะทำาให้ผ้่ชมไมูได้รบ ั ประโยชน์อยูางเต็มที่ บางครัง้
นิทรรศการไมูสามารถให้รายละเอียดได้เพียงพอ ผ้่ชมอาจต้องการ
ข้อม่ลเพิ่มเติมในเชิงลึก หากได้รับคำาอธิบายเพิ่มเติมจะทำาให้เข้าใจ
เรื่องราวได้ดีข้ ึน
5. การจัดเตรียมและตกแตูงสถานทีจ ่ ด
ั นิ ทรรศการภายนอก
อาคาร ควรออกแบบในลักษณะโครงสร้างทีแ ่ ข็งแรง กันแดด
ฝน และลม หากมีความจำาเป็ นต้องใช้เต๊นท์ผา้ ใบควร
ตกแตูงให้สวยงาม โดยอาจใช้วัสดุ เชูน ไม้ไผู แฝก ผ้าสี
ฯลฯ หุ้มเสาเต๊นท์หรือทำาโครงสร้างร่ปแบบตูางๆ เชูน จัว ่
หลังคา ปิ ดทับบนผ้าใบเต๊นท์ และถ้ามีงบประมาณเพียงพอ
อาจจัดในร่ปแบบของเรือนไทย ศาลา โรงเรือน อาคาร
ชัว
่ คราวทีส่ ามารถถอดประกอบได้ (knock down) เพื่อ
ความสะดวกในการขนย้าย จัดเก็บและใช้งานได้หลายครัง้
6. แสงสวูางบริเวณจัดนิ ทรรศการ ควรมีแสงสวูางเพียงพอ
จุดใดทีต
่ ้องการเน้ นสามารถใช้แสงไฟชูวย เชูน สปอตไลท์
ไฟนีออน หรือใช้ไฟกระพริบในเวลากลางคืน
7. ผ้จ่ ด
ั ควรมีเวลาตรวจสอบชิน ้ งานกูอนพิธีเปิ ดงานนิ ทรรศการ
เพื่อป้ องกันความผิดพลาด หรือหากต้องการแก้ไขหรือเพิม ่ เติม
ข้อความเพื่อให้นิทรรศการมีความสมบ่รณ์ยิ่งขึ้นก็สามารถทำาได้
ทันทีเนื่ องจากยังมีเวลาพอ
8. ในกรณีทม ี่ ีการจ้างเหมาบริษทั จัดนิทรรศการ และเพื่อป้ องกัน
ความผิดพลาดในการรับและสูงมอบงาน หนูวยงานผ้ว ่ ูาจ้างต้องระบุ
รายละเอียดที่ต้องการในสัญญาให้ชัดเจน เชูน การจัดจ้างออกแบบ
และสร้างอาคารนิทรรศการชัว ่ คราวมีจำานวนทัง้ สิน
้ กี่หลัง ขนาด
กว้างยาว ส่งเทูาใด ใช้วัสดุอะไรเป็ นสูวนประกอบ งบประมาณใน
การจัดจ้างแตูละหลังเป็ นเงินเทูาใด การดำาเนินงานต้องเสร็จสิน ้ ลูวง
หน้ ากูอนงานเปิ ดกี่วัน และเมื่องานสิน ้ สุดลงต้องนำ าวัสดุหรือ
โครงสร้างนิทรรศการไปเก็บไว้ทใี่ ด
9. การจัดนิทรรศการแตูละครัง้ ผ้่จด ั ควรประเมิน
ผลการจัดนิ ทรรศการทุกครัง้ เพื่อนำ าผลการประเมินไป
ใช้เป็ นข้อม่ลในการปรับปรุงการจัดนิทรรศการ และ
เป็ นหลักฐานอ้างอิงได้ การประเมินผลทำาได้ทัง้ แบบ
เป็ นทางการและไมูเป็ นทางการ
10. เมื่อการจัดนิทรรศการเสร็จสิน ้ ลง ควรจัด
เตรียมสถานที่สำาหรับจัดเก็บชุดนิทรรศการ โดยจัดให้
เป็ นหมวดหมู่ ทำาทะเบียนชื่อเรื่อง สรุปจำานวนแผูนใน
แตูละชุด บรรจุลงในกลูองหรือจัดทำาซองใสูเพื่อ
ป้ องกันการชำารุดเสียหาย ในสูวนของโครงสร้างก็เชูน
กันควรจัด เตรียมสถานที่ให้เหมาะสม

You might also like