You are on page 1of 76

โครงการ

“ สื บสานวัฒนธรรม ลํานําถิน่ ไทย สู่ อ้อมใจชาวอีสาน ”

ณ. โรงเรียนบ้ านดวนบากน้ อย
ม. ๗ ต.นํา้ อ้ อม อ.ค้ อวัง จ.ยโสธร
ระหว่ างวันที่ ๖-๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓

ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ผู้ประสานโครงการ
 นางสาวรจนา สุ วรรณเพ็ชร์ เบอร์ ตดิ ต่ อ ๐๘-๗๒๕๙-๐๔๗๗
 นายกฤษณะ ศรีประสงค์ เบอร์ ตดิ ต่ อ ๐๘-๒๓๓๕-๒๙๐๑
ส่ วนที่ ๑
รายละเอียดโครงการ
โครงการ “ สื บสานวัฒนธรรม ลํานําถิน่ ไทย สู่ อ้อมใจชาวอีสาน ”
ชื่อโครงการ สื บสานวัฒนธรรม ลํานําถิ่นไทย สู่ อ้อมใจชาวอีสาน

ลักษณะโครงการ ๑. สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล
๒.จัดกิจกรรมด้านสาธารณสุ ขชุมชน

เจ้ าของโครงการ ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

อาจารย์ ทปี่ รึกษาโครงการ


๑. ผศ.ดร. รุ ้งลาวัลย์ ราชัน

ผู้รับผิดชอบโครงการ
๑. นาย อนุสรณ์ ชะไม่กลาง
๒. นาย อธิพนั ธ์ อินทะกนก

ระยะเวลาปฏิบัติงาน
๑.ขั้นตอนการเตรี ยมงาน ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ –๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
๒.ระยะเวลาในการดําเนินงาน ๖-๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
๓.ประเมินผล ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ –๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓

สถานทีป่ ฏิบตั งิ าน
โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย หมู่ ๗ ต.นํ้าอ้อม อ.ค้อวัง จ.ยโสธร

จํานวนผู้เข้ าร่ วมโครงการ


๑. อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ ๒ คน
๒. นักศึกษาเข้าร่ วมโครงการ ๗๐ คน
หลักการและเหตุผล
จากการประชุมร่ วมกัน ของคณะกรรมการ ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ได้มีแนวคิดและต้องการที่อยากให้เกิดการร่ วมมือกันทํากิจกรรมที่เป็ นประโยชน์แก่สงั คม และการปลูกฝังสร้าง
เสริ มให้สมาชิกและนักศึกษามีอุดมการณ์ในกาช่วยเหลือสังคมและพัฒนาสังคมโดยไม่หวังผลตอบแทน ภายใต้
ความมีระเบียบวินยั และ เสี ยสละต่อส่ วนรวม ดังนั้นที่ประชุมร่ วมจึงมีมติอนุมตั ิให้ดาํ เนินการโครงการ “ สื บสาน
วัฒนธรรม ลํานําถิ่นไทย สู่ออ้ มใจชาวอีสาน” เพื่อเป็ นการตอบสนองต่อการพัฒนาชุมชน การศึกษาในชนบทและการมี
สุ ขภาพพลานามัยที่ดีของชุมชน
ในขณะที่ปัจจุบนั สังคมไทยกําลังเผชิญปัญหาเศรษฐกิจตกตํ่าและปัญหานานัปการ ปั ญหาต่างๆที่ประสบ
นั้นส่ งผลกระทบต่อประชาชนในสังคม ซึ่งปัจจุบนั ประเทศก้าวสู่ความทันสมัยด้วยการนําเอาวัฒนธรรมตะวันตก
เข้ามา ทําให้เกิดปั ญหาและกลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมจํานวนมากทั้งในสังคมเมืองและชนบท สภาพปั ญหาที่เกิดขึ้น
ในท้องถิ่นชนบทส่ วนใหญ่จะเป็ นปัญหาความยากจนและด้อยโอกาสทางการศึกษา อีกทั้งยังประสบปั ญหาทางด้าน
สาธารณสุ ขชุมชนด้วย นอกจากนี้กลุ่มเด็กและเยาวชนในชนบทยังมิได้รับการขยายโอกาสทางการศึกษาเท่าที่ควร
อันเนื่องมาจากอุปกรณ์การเรี ยนการสอน และ ประสบปัญหาในเรื่ องรายได้ของผูป้ กครอง จะเห็นได้วา่ คนส่ วน
ใหญ่มกั จะมีการศึกษาน้อย ทําให้เกิดการพัฒนาอาชีพของคนในชนบทไม่มากเท่าที่ควร
การศึกษาและการมีสุขภาพพลานามัยที่ดี เป็ นบทบาทสําคัญอย่างมากที่จะช่วยในการพัฒนาความคิดของ
คน ทําให้เกิดอาชีพในการเลี้ยงดูตวั เองและครอบครัวของคนในชนบทได้ อีกทั้งยังทําให้เด็กและเยาวชนได้รับ
ความรู ้ และจะนําความรู ้ที่ได้รับนั้นมาพัฒนาท้องถิ่นตัวเอง จากการสํารวจพื้นที่ในจังหวัดยโสธรเพื่อให้เป็ น
สถานที่จดั โครงการพบว่า โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย ต.นํ้าอ้อม อ.ค้อวัง จ.ยโสธร ยังขาดแคลนอาคาร
อเนกประสงค์และห้องพยาบาลที่มีมาตรฐานในการบริ การนักเรี ยนจํานวน ๗๗ คน เนื่องมาจากงบประมาณที่มี
จํากัดจากหน่วยงานต้นสังกัด
ดั้งนั้น ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จึงได้เล็งเห็นถึงปั ญหาความสําคัญ
ของการพัฒนาการศึกษา และ สุ ขภาพของเยาวชนและชาวบ้านในถิ่นทุรกันดาร และยังได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่
และความรับผิดชอบในการมีส่วนร่ วมที่จะสร้างสรรค์สังคมไทย จึงได้จดั ทํา โครงการ “ สื บสานวัฒนธรรม ลํานํา
ถิ่นไทย สู่ออ้ มใจชาวอีสาน ” เพื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล ดังกล่าว นอกจากนี้ยงั ได้จดั
กิจกรรมให้ความรู ้กบั ชุมชนในด้านการสาธารณสุ ขเบื้องต้น เพื่อเป็ นการเสริ มสร้างให้ชุมชนมีสุขภาพที่แข็งแรง
พร้อมทั้งเป็ นการเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาได้แสดงศักยภาพในด้านต่างๆ อาทิ ความเป็ นผูน้ าํ การใช้ชีวิตและรู ้จกั
แก้ปัญหาร่ วมกัน การเสี ยสละและพร้อมที่จะช่วยเหลือพัฒนาสังคม การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ความเอื้อเฟื้ อ
เกื้อกูลกัน ทั้งยังเป็ นการส่ งเสริ มพัฒนาทางด้านความคิด จิตใจ และการกระทํา เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถนําไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ท้ งั ต่อตนเอง ครอบครัว สาขาวิชา คณะวิชา สถาบันการศึกษา และสังคม ในอนาคต
ต่อไป
วัตถุประสงค์ โครงการ
๑. เพื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล ขนาด ๖ x ๑๒ เมตร
๒. เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยสาธารณสุ ขชุมชนชุมชนและยกระดับความเป็ นอยูข่ องประชากร
ในชุมชนให้ดีข้ ึน
๓. เพื่อให้นกั ศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการได้ศึกษาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้วถิ ีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคอีสาน
๔. เพื่อให้นกั ศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการได้ร่วมสื บทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม
และประเพณี อนั ดีงามของภาคอีสานให้คงอยูส่ ื บไป
๕. เพื่อให้นกั ศึกษาใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด
๖. เพื่อส่ งเสริ มวิชาการให้กบั นักเรี ยน
๗. เพื่อให้นกั ศึกษามีจิตสํานึกที่จะเข้ามามีส่วนร่ วมในการบําเพ็ญประโยชน์ต่อส่ วนรวม
๘. เพื่อสอนให้นกั ศึกษาได้รู้จกั ตอบแทนบุญคุณของแผ่นดิน
๙. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดีต่อนักศึกษาทั้งสองสถาบันจากการทํางานร่ วมกัน
๑๐. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดีต่อ นักเรี ยนและชาวบ้านที่เข้าร่ วมกิจกรรม

เป้าหมายโครงการ
๑. สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล
๒. การส่ งเสริ มความรู ้สาธารณสุ ขชุมชน เช่น การป้ องกันโรคติดต่อ การต่อต้านยาเสพติด เป็ นต้น
๓. กิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ เช่น จัดแข่งขันกีฬาสัมพันธ์ เรี ยนรู ้งานฝี มือท้องถิ่น เป็ นต้น
๔. กิจกรรมส่ งเสริ มวิชาการ/วิชาชีพสู่นอ้ ง

ขอบเขตการดําเนินงาน
๑. สร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาลขนาดพื้นที่ ๗๒ ตารางเมตร (๖ × ๑๒ เมตร)
- งานปรับพื้นที่
- งานโครงสร้างอาคาร
- งานมุมหลังคากระเบื้อง
- งานเทพื้นคอนกรี ต
๒. กิจกรรมการส่ งเสริ มสาธารณสุ ขชุมชน
- ลงชุมชนเพื่อทําการเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาสุ ขภาพภายในชุมชนที่จดั กิจกรรม
- งานส่ งเสริ มการป้ องกัน เช่นโรคไข้หวัด ๒๐๐๙ โรคความดันโลหิ ต โรคเบาหวาน เป็ นต้น
- กิจกรรมเสี ยงตามสาย
- กิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุ ขภาพ
๓. กิจกรรมศึกษาเรี ยนรู ้ศิลปะพื้นบ้านและประเพณี ต่างๆ     
- การเซิ้งบั้งไฟ 
- ผญา/สอย 
- เป่ าแคน 
- ดีดพิณ 
- หมอลํา 
- พิธีบายศรี สู่ ขวัญ 
- ฮีตสิ บสอง ครองสิ บสี่  
๔. กิจกรรมการเรี ยนรู ้วีถีชีวติ ของคนในชุมชนและร่ วมกิจกรรมกับคนในชุมชน  
- กิจกรรมพ่อฮักแม่ฮกั  
- เรี ยนรู ้ภาษาท้องถิ่น 
- ศึ ก ษาแหล่ ง เรี ยนรู ้ ใ นชุ ม ชน เช่น การทําปุ๋ ยอินทรี ย ์ การทอเสื่ อลายขิด โรงคัดเมล็ดพันธุ์ขา้ ว
ปลอดสารพิษ ศูนย์เพาะเมล็ดพันธุ์พืช และศูนย์เกษตรพอเพียง เป็ นต้น 
- การทําบุญตักบาตร 
๕. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์    
- ช่วยสอนหนังสื อน้องๆ 
- จัดทําสื่ อการเรี ยนการสอนเพิ่มเติมให้โรงเรี ยน 
- ทําความสะอาดวัด รวมถึงหมู่บา้ นดวนและหมู่บา้ นบากน้อย 
๖. กิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์  เช่น 
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 
- กิจกรรมแข่งกีฬาทัว่ ไป / กีฬาพื้นบ้าน 
๗. บริ จาคอุปกรณ์การเรี ยนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา 
๘. กิจกรรมงานเลี้ยงแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่าชาวบ้านกับนักศึกษา 
 
ปฎิทนิ ดําเนินการโครงการ

ลําดับ กิจกรรม ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม


๑. ออกสํารวจภาคสนาม
๒. ประชุมเพือ่ วางแผน
โครงการ
๓. ประชาสัมพันธ์โครงการ
๔. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
๕. เตรียมสถานทีท่ าํ โครงการ
๖. ดําเนินการโครงการฯ
๗. สรุปและประเมินผลงาน
งบประมาณในการดําเนินโครงการ
๑. งานโครงสร้างอาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาล
(รายละเอียดยูใ่ นส่ วนที่ ๒) ๑๙๖,๕๑๕ บาท
๒. กิจกรรมการส่ งเสริ มสาธารณสุ ขชุมชน ๕,๐๐๐ บาท
๓. ค่าอาหารและสวัสดิการต่างๆ ๗๐ คน/๖๐บาท/วัน (๑๖วัน) ๖๗,๒๐๐ บาท
๔. ค่ารถโดยสารไป-กลับ กรุ งเทพฯ – ยโสธร ๔๐,๐๐๐ บาท
๕. ค่าเตรี ยมโครงการ ๕,๐๐๐ บาท
๖. ค่าประชาสัมพันธ์ และติดต่อประสานงาน ๑,๐๐๐ บาท
๗. ค่าสรุ ปโครงการ ๑,๐๐๐ บาท
รวมงบประมาณทั้งสิ้น ๓๑๕,๗๑๕ บาท

ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ


๑. ด้านพื้นที่ชุมชนและการพัฒนาโรงเรี ยน
- โรงเรี ยนได้อาคารอเนกประสงค์พร้อมห้องพยาบาลหลังใหม่
- นักเรี ยนและชาวบ้านมีความรู ้ดา้ นสาธารณสุ ขชุ มชนในการป้ องกันโรคติดต่อต่างๆ รวมทั้งการ
รู ้จกั ดูแลให้ ชุมชนเป็ นชุมชนปลอดโรคติดต่อต่อไป
- ชุมชนและนักเรี ยนมีจิตสํานึกในด้านความสามัคคี และชุมชนมีความแข็งแกร่ งสามารถพึ่งตนเองได้
- ได้เป็ นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็ นอยูข่ องชาวบ้านให้ดีข้ ึนอีกทางหนึ่ง
- เกิดความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีระหว่างโรงเรี ยน ชุมชน นักศึกษา
๒. ด้านนักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ
- นักศึกษาเกิดความรัก สามัคคีกนั ในหมู่คณะ
- นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ ได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนและเรี ยนรู ้ศึกษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม
ประเพณี อนั ดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคอีสาน 
- นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ ได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี อันดีงามของภาคอีสาน 
- นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและมีจิตสํานึกความ
รับผิดชอบต่อสังคมและส่ วนรวม 
- นักศึกษามีจิตสํานึกรักบ้านเกิด และได้กลับไปพัฒนาบ้านเกิด 
- นักศึกษาได้ประสบการณ์ และรู ้จกั การทํางานเป็ นหมู่คณะ
- นักศึกษาได้นาํ ความรู ้ความสามารถไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาในถิ่นทุรกันดาร
รายละเอียด
กําหนดการปฏิบัตงิ าน
กําหนดการปฏิบัตงิ าน
โครงการ “สื บสานวัฒนธรรม ลํานําถิ่นไทย สู่ อ้อมใจชาวอีสาน”
ณ. โรงเรียนบ้ านดวนบากน้ อย
ม. ๗ ต.นํา้ อ้อม อ.ค้ อวัง จ.ยโสธร
ระหว่ างวันที่ ๖ -๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓
ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วัน ศุกร์ ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๓


๑๓.๐๐ น. รวมกันที่บริ เวณห้องชมรม
๑๔.๓๐ น. รถเคลื่อนออกจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
๑๖.๕๕ น. เดินทางออกจากสถานีรถไฟหัวลําโพง
วัน เสาร์ ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๖.๓๐ น. ถึงสถานีรถไฟจังหวัดศรี สะเกษ
๐๗.๓๐ น. รถเคลื่อนออกจาก จ.ศรี สะเกษไปยังโรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย จ.ยโสธร
๐๘.๓๐ น. ถึงโรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย
๐๙.๐๐ น.- ๑๒.๐๐ น. ประธานกล่าวเปิ ดงานและกล่าวต้อนรับกลุ่มนักศึกษา , จับพ่อฮัก-แม่ฮกั
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารพร้อมพ่อฮัก-แม่ฮกั และชาวบ้าน
๑๓.๐๐ น.– ๑๔.๐๐ น. จับฉลากแบ่งกลุ่มทํากิจกรรม
๑๔.๐๐ น.- ๑๕.๓๐ น. ทํากิจกรรมแรกพบ
๑๕.๓๐ น. – ๑๙.๐๐ น. ลงชุมชน, ทําธุระส่ วนตัวและรับประทานอาหารเย็นบ้านพ่อฮัก-แม่ฮกั
๑๙.๓๐ น.- ๒๑.๔๐ น. รวมพล ณ โรงเรี ยน , กิจกรรมละลายพฤติกรรม
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน อาทิตย์ ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๐๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๖.๐๐ น.- ๐๘.๔๐ น. ทําบุญตักบาตรพร้อมทั้งรับประทานอาหารเช้าที่วดั
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วันจันทร์ ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน อังคาร ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน พุธ ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน พฤหัสบดี ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน ศุกร์ ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๐๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๐๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน เสาร์ ที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน อาทิตย์ ที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน จันทร์ ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน, พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๐๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๐๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน อังคาร ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน พุธ ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน พฤหัสบดี ที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน ศุกร์ ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๗.๔๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๑๑.๔๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๓๐ น. ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (ต่อ)
๑๖.๓๐ น.- ๑๗.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๗.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. กิจกรรมแอโรบิค
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , อ่านข่าว , สรุ ปงาน , สันทนาการ
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วัน เสาร์ ที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๔๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๘.๐๐ น. ทําบุญตักบาตร,รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐ น.- ๐๙.๐๐ น. พิธีมอบอาคาร,พิธีบายศรี สู่ขวัญ
๐๙.๐๐ น.- ๑๒.๐๐ น. ตรวจสุ ขภาพ
๑๒.๐๐ น.- ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน , พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๓.๐๐ น.- ๑๖.๐๐ น. แข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์
๑๖.๐๐ น.- ๑๗.๓๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
๑๘.๐๐ น.- ๑๙.๐๐ น. ทําธุระส่ วนตัว
๑๙.๐๐ น.- ๒๒.๐๐ น. รับประทานอาหารเย็น , กิจกรรมงานเลี้ยงแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม
๒๒.๐๐ น. เข้านอน
วันอาทิตย์ ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓
๐๕.๐๐ น.- ๐๖.๐๐ น. ตื่นนอน ทําธุระส่ วนตัว
๐๗.๐๐ น.- ๐๘.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๙.๓๐ น. เดินทางกลับ
๒๐.๐๐ น. ถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

**หมายเหตุ ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่คือ

-กลุ่มก่อสร้าง ทํางานก่อสร้าง

-กลุ่มซักผ้า ทําหน้าที่ซกั ผ้า ,สอนหนังสื อน้อง,ลงชุมชน

-กลุ่มทํากับข้าว ทําหน้าที่ทาํ กับข้าว

ตารางกิจกรรมอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมการส่ งเสริมสาธารณสุ ขชุ มชน

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นางสาววรรณกิจ ชูรัตน์

วัตถุประสงค์ . เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยสาธารณสุ ขชุมชนชุมชนและยกระดับความเป็ นอยูข่ อง


ประชากรในชุมชนให้ดีข้ ึน

วิธีดําเนินงาน. - ลงชุมชนเพื่อทําการเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาสุ ขภาพภายในชุมชนที่จดั กิจกรรม


- งานส่ งเสริ มการป้ องกัน เช่นโรคไข้หวัด๒๐๐๙ โรคความดันโลหิ ต โรคเบาหวาน เป็ นต้น
- กิจกรรมเสี ยงตามสาย
- กิจกรรมออกกําลังกายเพื่อสุ ขภาพ

สถานทีด่ ําเนินงาน. โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย, หมู่บา้ นดวน, และหมู่บา้ นบากน้อย

กลุ่มเป้าหมาย. นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ, นักเรี ยน, และชาวบ้านทั้งสองหมู่บา้ น

ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ. - นักเรี ยนและชาวบ้านมีความรู ้ดา้ นสาธารณสุ ขชุมชนในการป้ องกันโรคติดต่อต่างๆ รวมทั้ง
การรู ้จกั ดูแลให้ ชุมชนเป็ นชุมชนปลอดโรคติดต่อต่อไป

- ชุมชนและนักเรี ยนมีจิตสํานึ กในด้านความสามัคคี และชุมชนมีความแข็งแกร่ งสามารถ


พึ่งตนเองได้
- ได้เป็ นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็ นอยูข่ องชาวบ้านให้ดีข้ ึนอีกทางหนึ่ง

กิจกรรมศึกษาเรียนรู้ศิลปะพืน้ บ้ านและประเพณีต่างๆ

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นางสาวพลับพลึง นาคํา

วัตถุประสงค์ . เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้วถิ ีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปัญญา


ท้องถิ่น ของภาคอีสาน

วิธีดําเนินงาน. ศึกษาเรี ยนรู ้วถิ ีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่


ไป ปฏิบตั ิกิจกรรม

สถานทีด่ ําเนินงาน. หมู่บา้ นดวนและหมู่บา้ นบากน้อย

กลุ่มเป้าหมาย. นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ


ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ. - นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ ได้ศึกษาและแลกเปลี่ยนและเรี ยนรู ้ศึกษาวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี อนั ดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคอีสาน

- นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ ได้สืบทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม


ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของภาคอีสาน

กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายพงศกร ศรี วะกุล

วัตถุประสงค์ . - เพื่อให้นกั ศึกษามีจิตสํานึกที่จะเข้ามามีส่วนร่ วมในการบําเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม

- เพื่อส่ งเสริ มวิชาการให้กบั นักเรี ยน

วิธีดําเนินงาน. - สอนหนังสื อน้องๆ

- จัดทําสื่ อการเรี ยนการสอนเพิม่ เติมให้โรงเรี ยน

- บริ จาคอุปกรณ์การเรี ยนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา

- ทําความสะอาดวัด รวมถึงหมู่บา้ นดวนและหมู่บา้ นบากน้อย

สถานทีด่ ําเนินงาน. โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย, หมู่บา้ นดวน และหมู่บา้ นบากน้อย

กลุ่มเป้ าหมาย. นักเรี ยนโรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย, ชาวบ้านดวน และชาวบ้านบากน้อย

ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ. - ได้เป็ นการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็ นอยูข่ องชาวบ้านให้ดีข้ ึนอีกทางหนึ่ง

- โรงเรี ยนมีสื่อการเรี ยนการสอนเพิม่ มากขึ้น ส่ งผลให้ประสิ ทธิภาพในการเรี ยนรู ้ของน้องๆ


เพิ่มมากขึ้น
กิจกรรมเชื่อมสั มพันธ์

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นางสาวปรัญญา หล้าบัววงศ์

วัตถุประสงค์. - เพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดีต่อนักศึกษาทั้งสองสถาบันจากการทํางานร่ วมกัน

- เพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดีต่อ นักเรี ยนและชาวบ้านที่เข้าร่ วมกิจกรรม


วิธีดําเนินงาน. - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
- กิจกรรมแข่งกีฬาทัว่ ไป / กีฬาพื้นบ้าน
สถานทีด่ ําเนินงาน. โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย

กลุ่มเป้าหมาย. นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ, นักเรี ยน, ชาวบ้านดวน, และชาวบ้านบากน้อย

ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ. - นักศึกษาเกิดความรัก สามัคคีกนั ในหมู่คณะ

- เกิดความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีระหว่างโรงเรี ยน ชุมชน นักศึกษา

กิจกรรมบริจาคอุปกรณ์ การเรียนการสอนและอุปกรณ์ การกีฬา

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นายกฤษณะ ศรี ประสงค์

วัตถุประสงค์. เพื่อให้คณะครู อาจารย์โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย มีอุปกรณ์การเรี ยนการสอนและอุปกรณ์การ


กีฬาในโรงเรี ยนให้ดีข้ ึน

วิธีดําเนินงาน. บริ จาคอุปกรณ์การเรี ยนการสอนและอุปกรณ์การกีฬา ให้กบั ตัวแทนคณะครู อาจารย์โรงเรี ยน


. บ้านดวนบากน้อย

สถานทีด่ ําเนินงาน. โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย, หมู่บา้ นดวน, และหมู่บา้ นบากน้อย

กลุ่มเป้าหมาย. นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ, นักเรี ยน, ครู อาจารย์ โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย ,และชาวบ้านทั้งสอง
. หมู่บา้ น

ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ. - นักเรี ยนครู อาจารย์ โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย และชาวบ้านได้มีอุปกรณ์การเรี ยนการสอน
และอุปกรณ์การกีฬา

- ได้เป็ นการยกระดับคุณภาพการเรี ยนการสอนให้ดีข้ ึนอีกทางหนึ่ง


- ได้ช่วยส่งเสริ มให้มีการเล่นกีฬาให้มากขึ้น
กิจกรรมงานเลีย้ งแลกเปลีย่ นศิลปวัฒนธรรมระหว่ างชาวบ้ านกับนักศึกษา

นักศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรม. นางสาวเนตรบังอร วงศ์สุโท

วัตถุประสงค์. เพื่อให้นกั ศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการได้ร่วมสื บทอด อนุรักษ์และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม


ขนบธรรมเนียมและประเพณี อนั ดีงามของภาคอีสานให้คงอยูส่ ื บไป

วิธีดําเนินงาน. จัดงานเลี้ยงโดยจัดให้มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน ระหว่างนักศึกษา นักเรี ยน และ


ชาวบ้านทั้งสองหมู่บา้ น

สถานทีด่ ําเนินงาน. โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย

กลุ่มเป้าหมาย. นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ, นักเรี ยน, และชาวบ้านทั้งสองหมู่บา้ น

ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ. นักศึกษาที่เข้าร่ วมโครงการ นักเรี ยน และชาวบ้านทั้งสองหมู่บา้ น ได้สืบทอด อนุรักษ์
และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามของภาคอีสาน
คณะกรรมการ
และ
ผู้เข้ าร่ วมโครงการ
คณะกรรมการ
โครงการ “สื บสานวัฒนธรรม ลํานําถิ่นไทย สู่ อ้อมใจชาวอีสาน”
ลําดับ
ชื่อ-สกุล ตําแหน่ ง
ที่
๑. นายกฤษณะ ศรี ประสงค์ ประธานชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน
๒. นายธีรพงษ์ ถนอมญาติ ประธานค่าย
๓. นายอธิพนั ธ์ อินทะกนก ผูร้ ับผิดชอบโครงการ
๔. นายอนุสรณ์ ชะไม่กลาง ผูร้ ับผิดชอบโครงการ
๕. นางสาวปั ทมาพร เทียบศรไชย เลขานุการ
๖. นางสาวณัฐกานต์ สิ ทธิศกั ดิ์ เลขานุการ
๗. นางสาวรจนา สุ วรรณเพ็ชร์ เหรัญญิก
๘. นางสาววรรณกิจ ชูรัตน์ เหรัญญิก
๙. นายศุภกร พลดงนอก หัวหน้าฝ่ ายโครงงาน
๑๐. นายภูริณฐั เทียนอยู่ หัวหน้าฝ่ ายโครงงาน
๑๑. นายกฤษฎา มาปั น หัวหน้าฝ่ ายโภชนาการ
๑๒. นางสาวเนตรบังอร วงศ์สุโท หัวหน้าฝ่ ายโภชนาการ
๑๓. นายกีรติ สุ นทรรติสกุล หัวหน้าฝ่ ายโครงการสัมพันธ์
๑๔. นางสาวพลับพลึง นาคํา หัวหน้าฝ่ ายโครงการสัมพันธ์
๑๕. นายนิวตั ร ปวนคําตื้อ หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ
๑๖. นางสาวทัศนีย ์ เพชรไทย หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ
๑๗. นายกฤษดา อุตวรรณา หัวหน้าฝ่ ายสวัสดิการ
๑๘. นางสาวไวริ ญจน์ สิ มขุนทด หัวหน้าฝ่ ายสวัสดิการ
๑๙. นางสาว นฤมล อินทยุง หัวหน้าฝ่ ายสันทนาการ
๒๐. นางสาวปรัญญา หล้าบัววงศ์ หัวหน้าฝ่ ายสันทนาการ

หมายเหตุ

ประธานค่าย
นายธีรพงษ์ ถนอมญาติ หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๓-๔๔๒๑๙๕๒ , ๐๘๗-๒๔๔๒๕๔๑
Email- ac.krissana.gtr@hotmail.com
อาจารย์ที่ปรึ กษาชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน
ผศ.ดร. รุ ้งลาวัลย์ ราชัน หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๖-๖๔๔๑๖๙๖
ผูค้ วบคุมการก่อสร้าง
นายปิ ยะราษฎร์ ฤาชากูล หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๔-๐๔๔๑๘๐๘
รายชื่อนักศึกษาทีเ่ ข้ าร่ วมโครงการ“สื บสานวัฒนธรรม ลํานําถิ่นไทย สู่ อ้อมใจชาวอีสาน”

ลําดับที่ ชื่อ –สกุล มหาวิทยาลัย


๑. นางสาวรจนา สุ วรรณเพ็ชร์ เทคโนโลยีมหานคร
๒. นายพงศกร สี วะกุล เทคโนโลยีมหานคร
๓. นางสาวพลับพลึง นาคํา เทคโนโลยีมหานคร
๔. นางสาววรรณกิจ ชูรัตน์ เทคโนโลยีมหานคร
๕. นางสาวณัฐกานต์ สิ ทธิศกั ดิ์ เทคโนโลยีมหานคร
๖. นางสาวเนตรบังอร วงศ์สุโท เทคโนโลยีมหานคร
๗. นายสุ รสิ ทธิ์ โคษา เทคโนโลยีมหานคร
๘. นางสาวภัสษร แพรกเชิญ เทคโนโลยีมหานคร
๙. นางสาวอาภรณ์ กันแดง เทคโนโลยีมหานคร
๑๐. นางสาวนัทธมน พันธุ์มาลี เทคโนโลยีมหานคร
๑๑. นางสาวภาวดี สุ ทธโส เทคโนโลยีมหานคร
๑๒. นางสาวศุจินทรา บัวชื่น เทคโนโลยีมหานคร
๑๓. นางสาวไวริ ญจน์ สิ มขุนทด เทคโนโลยีมหานคร
๑๔. นางสาวสุ นนั ทา เสวิกา เทคโนโลยีมหานคร
๑๕. นางสาวจิรญา คีรีรัฐนิคม เทคโนโลยีมหานคร
๑๖. นางสาวชุลีพร เกศมุกดา เทคโนโลยีมหานคร
๑๗. นางสาวรัตนภรณ์ แผลงชีพ เทคโนโลยีมหานคร
๑๘. นางสาวณพชรชนก จิรพัตรไพรี พา่ ย เทคโนโลยีมหานคร
๑๙. นางสาวปรัญญา หล้าบัววงศ์ เทคโนโลยีมหานคร
๒๐. นางสาววรรณนิภา สิ งห์สาํ ราญ เทคโนโลยีมหานคร
๒๒. นายประทีป คําสุ เรศ เทคโนโลยีมหานคร
๒๓. นายอรรฆวัฒน์ ธรรมนิตยกุล เทคโนโลยีมหานคร
๒๔. นายคมกฤษ ยันตะบุตร เทคโนโลยีมหานคร
๒๕. นายวิรุตร์ โครตชัย เทคโนโลยีมหานคร
๒๖. นางสาวทัศนีย ์ เพชรไทย เทคโนโลยีมหานคร
๒๗. นางสาวประภารัตน์ วิจตรจันทร์ เทคโนโลยีมหานคร
๒๘. นางสาวเบญญาทิพย์ ทองคํา เทคโนโลยีมหานคร
๒๙. นางสาวนันทาวดี บุญศรี เทคโนโลยีมหานคร
๓๐. นางสาวสงกรานต์ กัญญมาสา เทคโนโลยีมหานคร
๓๑. นางสาวขวัญฤทัย ตุย้ สาร เทคโนโลยีมหานคร
๓๒. นางสาวศิริภสั สร เอื้องเอี่ยม เทคโนโลยีมหานคร
๓๓. นางสาวตติยภรณ์ มงคลวัจน์ เทคโนโลยีมหานคร
๓๔. นางสาวจตุพรพูนุท พุทธจรรยา เทคโนโลยีมหานคร
๓๕. นางสาวนพรัตน์ สกลกูล เทคโนโลยีมหานคร
๓๖. นางสาวสุ จาริ ณี สังข์วรรณะ เทคโนโลยีมหานคร
๓๗. นางสาวขวัญฤดี ขวัญคุม้ เทคโนโลยีมหานคร
๓๘. นายอานนท์ โคตพันธ์ เทคโนโลยีมหานคร
๓๙. นางสาวมุกดา กุดดู่เดิม เทคโนโลยีมหานคร
๔๐. นางสาวจุฑาพร สารกุล เทคโนโลยีมหานคร
๔๑. นางสาวบุษกร บุญแก้ว เทคโนโลยีมหานคร
๔๒. นายจิราวุฒิ จันท์พนั แจ้ง เทคโนโลยีมหานคร
๔๓. นางสาวธนัญญา อุกอาจ เทคโนโลยีมหานคร
๔๔. นางสาวเบญจมาศ พจน์ฉายศิริ เทคโนโลยีมหานคร
๔๕. นางสาวบุษกร ชมเมือง เทคโนโลยีมหานคร
๔๖. นางสาวศิริรัตน์ แสนสุ ข เทคโนโลยีมหานคร
๔๗. นางสาวยุพา ลาเลิศ เทคโนโลยีมหานคร
๔๘. นางสาวภัทรภร วงษ์เพิก เทคโนโลยีมหานคร
๔๙. นายธนกร อันนอก เทคโนโลยีมหานคร
๕๐. นางสาวสุ คนธ์ทิพย์ ศรี วิเศษ เทคโนโลยีมหานคร
๕๑. นาย กฤษณะ ศรี ประสงค์ เทคโนโลยีมหานคร
๕๒. นาย ธีรพงษ์ ถนอมญาติ เทคโนโลยีมหานคร
๕๓. นาย อธิพนั ธ์ อินทะกนก เทคโนโลยีมหานคร
๕๔. นาย อนุสรณ์ ชะไม่กลาง เทคโนโลยีมหานคร
๕๕. นางสาว ปัทมาพร เทียบศรไชย เทคโนโลยีมหานคร
๕๖. นาย นิวตั ร ปวนคําตื้อ เทคโนโลยีมหานคร
๕๗. นางสาว นฤมล อินทยุง เทคโนโลยีมหานคร
๕๘. นาย กีรติ สุ นทรรติสกุล เทคโนโลยีมหานคร
๕๙. นาย กฤษฎา มาปั น เทคโนโลยีมหานคร
๖๐. นาย กฤษดา อุตวรรณา เทคโนโลยีมหานคร
๖๑. นาย ภูริณฐั เทียนอยู่ เทคโนโลยีมหานคร
๖๒. นาย เกียรติชยั ศิริวรรณ เทคโนโลยีมหานคร
๖๓. นาย จีรพล จิตรสุ นทร เทคโนโลยีมหานคร
๖๔. นาย ศุภกร พลดงนอก เทคโนโลยีมหานคร
๖๕. นาย จิตติ ตีชยั รัมย์ เทคโนโลยีมหานคร
๖๖. นาย สําราญศักดิ์ สุ ดใจ เทคโนโลยีมหานคร
๖๗. นาย กิขิต เมืองโคตร เทคโนโลยีมหานคร
๖๘. นาย บัญดิษ นันทะโครง เทคโนโลยีมหานคร
๖๙. นาย บุญเรื อง ใจกล้า เทคโนโลยีมหานคร
๗๐. นาย ณัฐพงศ์ พันธุ์คุม้ เก่า เทคโนโลยีมหานคร
๗๑. นาย ปกรณ์ ทของสรี เทคโนโลยีมหานคร
ตัวอย่ างแบบประเมินผล
แบบประเมิน
โครงการ “สื บสานวัฒนธรรม ลํานําถิ่นไทย สู่ออ้ มใจชาวอีสาน”
ณ โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย ม. ๗ ต.นํ้าอ้อม อ.ค้อวัง จ.ยโสธร
ระหว่างวันที่ ๖-๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓
ชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ส่วนที่ ๑. ข้อมูลทัวไป

คําชีแ้ จง .  ในช่อง  ทีท่ า่ นคิดว่าถูกต้องทีส่ ดุ

เพศ .

 ชาย  หญิง

อายุ .

 ๕-๑๐ ปี  ๑๕-๑๙ ปี

 ๒๐-๒๔ ปี  ๒๕-๒๙ ปี

 ๓๐ ปี ขน้ึ ไป

สถานภาพ

 นักเรียน  ครู-อาจารย์

 นักศึกษา  ชาวบ้าน

ส่วนที่ ๒ . การประเมิ นความพึงพอใจกิ จกรรม

คําชีแ้ จง . ให้ผปู้ ระเมินพิจารณาประเด็นทีก่ าํ หนด แล้วทําเครือ่ งหมาย  ลงในช่องทีต่ รงกับความเห็น


มากทีส่ ดุ

๕ = ดีมาก ๔ = ดี ๓ = ปานกลาง ๒ = น้อย ๑ = น้อยมาก


ระดับคะแนน

ประเด็นการประเมิ น ๕ ๔ ๓ ๒ ๑

การบรรลุวตั ถุประสงค์โครงการ

๑.ท่านคิดว่าโครงการนี้มปี ระโยชน์หรือไม่

๒.ท่านคิดว่าโครงการนี้ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั เต็มยัง

๓.ท่านคิดว่าโครงการนี้ควรมีต่อไปเรือ่ ยๆหรือไม่

๔.ท่านคิดว่าโครงการนี้เป็ นการบําเพ็ญประโยชน์หรือไม่

การดําเนินการโครงการและความเหมาะสม

๑.ช่วงระยะจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่

๒.ระยะเวลาจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่

๓.การจัดทําโครงการเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายหรือไม่

๔.กิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ ในระหว่างจัดโครงการเหมาะสมหรือไม่

๕.ความเหมาะสมของสถานทีใ่ นการดําเนินการโครงการ

๖.การบําเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษาต่อชุมชน

๗.ความสัมพันธ์ทด่ี ขี องนักศึกษากับชุมชน

๘.ความสัมพันธ์ทด่ี ขี องนักศึกษาด้วยกันเอง

๙.นักศึกษาได้ประโยชน์จากโครงการ
ความเหมาะสมของรูปแบบกิจกรรม

๑.รูปแบบของกิจกรรมเหมาะสมหรือไม่

๒.สือ่ ทีไ่ ด้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมหรือไม่

๓.เนื้อหากิจกรรมตรงกับความต้องการของชุมชน/นักเรียน

๔.ความสัมพันธ์ทด่ี ขี องนักศึกษากับนักเรียน

๕.นักเรียนให้ความสนใจและความร่วมมือ

๖.กระบวนการทํางานร่วมกันของนักศึกษา

๗.กิจกรรมสาธารสุขได้ประโยชน์ต่อชุมชนหรือไม่

คําแนะนําเพิ่ มเติ ม

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………
ส่ วนที่ ๒
รายละเอียดการก่ อสร้ าง
อาคารอเนกประสงค์
พร้ อมห้ องพยาบาล
รายละเอียดการใช้ วสั ดุ

ปริมาณวัสดุก่อสร้ าง
ลําดับ รายการอุปกรณ์ การก่ อสร้ าง ราคารวม (บาท)
จํานวน หน่ วย ราคา
๑ เสาคอนกรี ต ๐.๑๕×๐.๑๕×๔ ม. ๑๑ ต้น ๖๐๐ ๖,๖๐๐.๐๐
๒ ปูนซีเมนต์ ๒๕๐ ถุง ๑๔๐ ๓๐,๕๐๐๐.๐๐
๓ หิ น ๒๐ ม3 ๔๗๑ ๙,๔๒๐.๐๐
๔ ทรายหยาบ ๑๓ ม3 ๓๖๖ ๔,๗๕๘.๐๐
๕ ทรายละเอียด ๗ ม3 ๓๗๗ ๒,๖๓๙.๐๐
๖ ดินถมที่ ๓๐ ลบ.ม. ๑๙๗ ๕,๙๐๐.๐๐
๗ อิฐมอญ ขนาด ๗ x ๑๖ x ๓.๕ ๓๐๐ ก้อน ๐.๗๕
๒๒๕.๐๐
ซม.
๘ อิฐบล็อก ๑,๑๐๐ ก้อน ๕.๕ ๖,๐๕๐.๐๐
๙ เหล็กข้ออ้อย DB10 ๓๐ เส้น ๑๓๕ ๔,๐๕๐.๐๐
๑๐ เหล็กเส้นกลม RB 6 ๕๓ เส้น ๕๔ ๒,๘๖๒.๐๐
๑๑ ลวดผูกเหล็ก ๑๘ กก. ๓๕ ๖๓๐.๐๐
๑๒ เหล็กตัวซี๗๕×๕๐×๒๐×๓.๒ ๓๗ เส้น ๖๔๖ ๒๓,๙๐๒.๐๐
มม.
๑๓ เหล็กตัวซี ๑๒๕×๕๐×๒๐×๓.๒ ๔๕ เส้น ๘๕๗ ๓๘,๕๖๕.๐๐
มม.
๑๔ ลวดเชื่อม ๕ กล่อง ๓๐๐ ๑,๕๐๐.๐๐
๑๕ กระเบื้องลอนคู่ ๕๓๐ แผ่น ๕๕ ๒๙,๑๕๐.๐๐
๑๖ ครอบมุม ๔๘ แผ่น ๓๕ ๑,๖๘๐.๐๐
๑๗ ตะขอยึดกระเบื้อง ๖๒๐ ตัว ๔ ๒,๔๘๐.๐๐
กระเบื้องแผ่นเรี ยบ ขนาด
๑๘ ๑๖ แผ่น ๕๓ ๘๔๘.๐๐
๖๐ x ๒๔๐ x ๐.๔๐ ซม. ตราช้าง
๑๙ สี กนั สนิม ๒ กระป๋ อง ๕๐๐ ๑,๐๐๐.๐๐
๒๐ สี รองพื้นปูน ๑ ถัง ๙๕๕ ๙๕๕.๐๐
๒๑ สี น้ าํ พลาสติก ทาภายนอก ๒ ถัง ๒,๔๖๔ ๔,๙๒๘.๐๐
๒๒ สายไฟฟ้ า VAF สายแบนแกนคู่ ๑ ม้วน ๑,๒๔๐ ๑,๒๔๐.๐๐
๒๓ ตะปู ๓ นิ้ว ๒ ลัง ๔๕๐ ๙๐๐.๐๐
๒๔ ตะปูคอนกรี ต ๑๐ กก. ๖๐ ๖๐๐.๐๐
ปริมาณวัสดุก่อสร้ าง
ลําดับ รายการอุปกรณ์ การก่อสร้ าง ราคารวม (บาท)
จํานวน หน่ วย ราคา
วงกบหน้าต่างไม้แดง แบบไม่มี
๒๕ ช่องแสงบานคู่ ขนาด ๖๐ x ๑๑๐ ๓ ชุด ๙๔๐ ๒,๘๒๐.๐๐
ซม. ขนาดไม้วงกบ๒ x๔ นิ้ว
บานหน้าต่าง แบบไม่มีช่องแสง
๒๖ บานคู่ ขนาด ๖๐ x ๑๑๐ ซม. ๓ บาน ๑,๓๐๐ ๓,๙๐๐.๐๐
ขนาดไม้วงกบ ๒ x๔ นิ้ว
วงกบประตูไม้เนื้อแข็ง แบบไม่
๒๗ มีช่องแสง ขนาด๙๐ x ๒๐๐ ซม. ๒ ชุด ๖๕๐ ๑,๓๐๐.๐๐
ขนาดไม้วงกบ ๒ x๔ นิ้ว
บานประตูไม้เนื้อแข็ง บานทึบ
ขนาด ๙๐ x ๒๐๐ซม. กรอบ
๒๘ ๒ บาน ๑,๓๐๐ ๒,๖๐๐.๐๐
บานขนาด ๑ ๑/๔ นิ้ว x ๔ นิ้ว
ลูกฟักหนา ๑/๙๐ x ๒๐๐ นิ้ว
รวม ๑๙๖,๕๑๕.๐๐ บาท
แบบอาคารอเนกประสงค์
พร้ อมห้ องพยาบาล
ส่ วนที่ ๓
ข้ อมูลโรงเรียนและชุมชน
๑. ข้ อมูลพืน้ ฐานของโรงเรียน

๑.๑ ข้ อมูลทัว่ ไป
๑.๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย หมู่ที่ ๗ ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
รหัสไปรษณี ย ์ ๓๕๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๔๕ - ๗๕๐๑๔๐โทรสาร e-mailguthai6@gmail.com -
websitewww.duanbagnoi.go.th สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต ๑
๑.๑.๒ เปิ ดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ๑ ถึงระดับ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ มีเขตพื้นที่บริ การ ๒
หมู่บา้ น ได้แก่ ๑. บ้านดวน ๒. บ้านบากน้อย และมีชุมชนใกล้เคียงส่ ง บุตรหลานมาเข้าเรี ยนคือ บ้านดงบัง
หมู่ ๙ ตําบลกุดนํ้าใส อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร

๑.๒ ข้ อมูลบุคลากร
ชื่อ-สกุลผูบ้ ริ หาร นายปริ ต จันทรุ ทิน
วุฒิการศึกษาสู งสุ ด ปริ ญญาโท สาขา การบริ หารการศึกษา
ดํารงตําแหน่งที่โรงเรี ยนนี้ต้ งั แต่ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๘ จนถึงปั จจุบนั เป็ นเวลา ๔ ปี ๕
เดือน
ผูช้ ่วยผูบ้ ริ หาร (ที่ได้รับแต่งตั้ง) - คน

๑.๓ ข้ อมูลนักเรียนปี การศึกษา ๒๕๕๒

ชั้ น ช าย ห ญิ ง รว ม
อ นุ บ าล ๑ ๔ ๕ ๙
อ นุ บ าล ๒ ๔ ๖ ๑๐
รวม ๘ ๑๑ ๑๙
ป ระ ถ มศึ ก ษาปี ที่ ๑ ๕ ๘ ๑๓
ป ระ ถ มศึ ก ษาปี ที่ ๒ ๖ ๕ ๑๑
ป ระ ถม ศึ ก ษาปี ที่ ๓ ๓ ๑ ๔
ป ระ ถม ศึ ก ษาปี ที่ ๔ ๙ ๘ ๑๗
ป ระ ถมศึ กษ าปี ที่ ๕ ๓ ๑ ๔
ป ระ ถมศึ กษ าปี ที่ ๖ ๕ ๔ ๙
รวม ๓๑ ๒๗ ๕๘
ร วม ทั้ งสิ้ น ๓๙ ๓๘ ๗๗
๑.๔ ข้ อมูลบุคลากรโรงเรียนบ้ านดวนบากน้ อย

วุฒิ
ชื่อ - สกุล ตําแหน่ ง ระดับ เลขที่ วุฒิครู / วิชาเอก วัน เดือน ปี เกิด วันทีบ่ รรจุแต่ งตั้ง หน้ าทีร่ ับผิดชอบ/ประจําชั้น
สามัญ

ม.ศ.
นายปริ ต จันทรุ ทิน ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน คศ. ๓ ๔๕๔๐ ศษ.ม. (บริ หาร) ๓ พฤศจิกายน ๒๕๐๐ ๑ มีนาคม ๒๕๒๐ บริ หารโรงเรี ยน

๓ พฤศจิกายน
นางสาวรัตนาภรณ์ กลางมะณี ครู คศ. ๑ ๔๕๔๑ ม.๖ วท.บ.(เคมี) ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๒ ลาศึกษาต่อ
๒๕๔๕

นางวาสนา แสงกล้า ครู คศ. ๑ ๔๕๔๒ ม.๖ ค.บ.(อังกฤษ) ๒๓ เมษายน ๒๕๒๐ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๔ อนุบาล ๑ และ อนุบาล ๒

ค.บ.(วิทยาศาสตร์
นางสุ นิดา เกษกัน ครู คศ. ๓ ๔๕๔๓ ม.๖ ๗ มิถุนายน ๒๕๑๐ ๑ มิถุนายน ๒๕๓๓ ประถมศึกษาปี ที่ ๑ และ ๒
ทัว่ ไป)

คศ.
นายณภัทร เบ้านาค ครู ๔๕๔๔ ม.๖ ค.บ.(เทคโน ฯ) ๙ เมษายน ๒๕๑๖ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๓๙ ประถมศึกษาปี ที่ ๓

นางนริ นรัตน์ ประจวบสุ ข ครู อตั ราจ้างชัว่ คราว ม.๖ วท.บ.(ชีววิทยา) ๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๒ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ ประถมศึกษาปี ที่ ๔

นายอุทยั เกษกัน ครู คศ. ๓ ๔๕๔๗ ม.๖ ค.บ. (สุ ขศึกษา) ๒๐ มิถุนายน ๒๕๐๘ ๑ มิถุนายน ๒๕๓๓ ประถมศึกษาปี ที่ ๕ และ ๖

นายสนัน่ โพดพันธ์ ช่างครุ ภณั ฑ์ ชั้น ๓ ๒๓๑๒๗ ปวช. ช่างก่อสร้าง ๒๑ เมษายน ๒๕๐๙ ๑ พฤษภาคม ๒๕๓๒ บริ การทัว่ ไป
๑.๕ สถานทีต่ ้งั
ตั้งอยู่ บ้านดวน หมู่ที่ ๗ ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร ๓๕๑๖๐

๑.๖ การเดินทาง
นักเรี ยนส่ วนใหญ่เดินทางมาโรงเรี ยนโดยการเดินเท้า และมีบางส่ วนปั่นจักรยานมาโรงเรี ยน

๑.๗ การบริการของรัฐ
เนื่องจากเป็ นโรงเรี ยนขนาดเล็ก ทําให้ได้รับงบประมาณจากทางภาครัฐน้อยมากไม่เพียงพอต่อการ
บริ หารจัดการ โดยได้รับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐ ดังนี้
- ค่าวัสดุรายหัวนักเรี ยน
- ค่าอาหารเสริ ม(นม)
- ค่าอาหารกลางวันนักเรี ยน

๑.๘ เขตบริการของโรงเรียน
มีเขตพื้นที่บริ การ ๒ หมู่บา้ น ได้แก่ ๑. บ้านดวน ๒. บ้านบากน้อย และมีชุมชนใกล้เคียงส่ ง
บุตรหลานมาเข้าเรี ยนคือ บ้านดงบัง หมู่ ๙ ตําบลกุดนํ้าใส อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร

๑.๙ ประวัติและความเป็ นมาของโรงเรียน


เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๘๒ โรงเรี ยนบ้านดวนได้ก่อตั้งขึ้น เปิ ดสอนตั้งแต่ ป.๑ ถึง ป.๔ โดยใช้ศาลา
วัดเป็ นสถานที่เรี ยน โดยมีนกั เรี ยนจากโรงเรี ยนบ้านจานทุ่ง เดินทางมาเรี ยนที่โรงเรี ยนบ้านดวน
- ในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้ยา้ ยโรงเรี ยนจากศาลาวัดไปตั้งโรงเรี ยนในพื้นที่ที่ชาวบ้านบริ จาคให้
จํานวน ๖ ไร่ เศษ อยูท่ างทิศเหนือของหมู่บา้ นดวน(ปัจจุบนั ใช้เป็ นแปลงเกษตรบ่อเลี้ยงปลา ๒ บ่อและได้ร่วมกัน
สละแรงกาย กําลังทรัพย์ ปลูกสร้างอาคารเรี ยนชัว่ คราวขึ้น
- ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ได้ยา้ ยโรงเรี ยนจากที่ดินทางทิศเหนือ ของหมู่บา้ นมาตั้งในพื้นที่ที่ชาวบ้านบริ จาคให้
อีก ๖ ไร่ เศษ เป็ นที่ต้ งั โรงเรี ยนในปัจจุบนั และได้งบประมาณก่อสร้างอาคารเรี ยนแบบ ป.๑ ซ. ๔ ห้องเรี ยน
จํานวน ๑ หลัง บ้านพักครู แบบ ยส.๑๐๑ ๒.ห้องนอน จํานวน ๑ หลัง และสร้างส้วมแบบ ยส.๑๐๑ ๒ที่
จํานวน ๑ หลัง
- ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ นักเรี ยนจากบ้านจานทุ่งย้ายไปเรี ยนที่โรงเรี ยนบ้านจานทุ่ง เหลือเฉพาะนักเรี ยน
โรงเรี ยนบ้านดวนและบ้านบากน้อย
-ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรี ยนแบบ ป.๑ซ.พื้นสูง ๓ ห้องเรี ยน จํานวน ๑
หลัง บ้านพักครู แบบ ยส.๑๐๑ ๒ห้องนอน จํานวน ๑ หลัง ส้วม แบบยส.๑๐๑ ๓ ที่ จํานวน ๑ หลัง และได้รับ
อนุมตั ิให้เปิ ดขยายการศึกษาภาคบังคับถึงชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
- ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ได้รับงบประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์แบบ ยส.201 จํานวน ๑ หลัง
- ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รับงบประมาณก่อสร้างเรื อนเพาะชําแบบ พ.๑ จํานวน ๑ หลัง และสร้างส้วม
แบบ สปช. ๖๐๑/๒๖ ๘ ที่ จํานวน ๑ หลัง และในปี งบประมาณ ๒๕๓๔ ได้รับงบประมาณก่อสร้างถังซีเมนต์
แบบ ฝ. ๓๐ พิเศษ
- ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ชนะเลิศโรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนประชาชิปไตยดีเด่น ของ สปอ.ค้อวัง
รองชนะเลิศ ของ สปจ.ยโสธร
- ในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ชนะเลิศโรงเรี ยนดีเด่น ของ สป อ.ค้อวัง รางวัลชมเชย สป จ.ยโสธร
- ชนะเลิศโรงเรี ยนขนาดเล็กของจังหวัดยโสธรเพื่อส่ งเข้าประกวดรับรางวัลพระราชทานรางวัลชมเชย
ของเขตการศึกษา ๑๐
- ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ชนะเลิศผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนภาคความรู ้และภาคปฏิบตั ิ ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๘๖.๘๖ อันดับที่ ๑ ของอําเภอค้อวัง และอันอับที่ ๒ ของจังหวัดยโสธร
- ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ ชนะเลิศโรงเรี ยนขนาดเล็กเพื่อรับรางวัลพระราชทานจังหวัดยโสธร รางวัลชมเชย
เขตการศึกษา ๑๐
- ชนะเลิศโรงเรี ยนจัดการเรี ยนจริ ยศึกษาดีเด่นของจังหวัดยโสธร
- ชนะเลิศการประเมินคุณภาพนักเรี ยนชั้น ป.๖ ของสปอ .ค้อวัง
- ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ชนะเลิศโรงเรี ยนขนาดเล็กเพื่อรับรางวัลพระราชทานจังหวัดยโสธร
- ชนะเลิศโรงเรี ยนขนาดเล็กรับรางวัลพระราชทานเขตการศึกษา
- ชนะเลิศโรงเรี ยนจัดสิ่ งแวดล้อมสถานศึกษาดีเด่น ของสปอ.ค้อวัง
- ชนะเลิศการแข่งขันตามโครงการความเป็ นเลิศทางวิชาการของ สปอ.ค้อวัง เปลี่ยนชื่อโรงเรี ยน จาก
โรงเรี ยนบ้านดวน เป็ นโรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย
- ในปี พ.ศ.๒๕๔๑ ชนะเลิศการแข่งขันตามโครงการความเป็ นเลิศทางวิชาการ ของสปอ.ค้อวัง
- ชนะเลิศโรงเรี ยนจัดกิจกรรมสหกรณ์ดีเด่น ของ สปอ. ค้อวัง
- ชนะเลิศโรงเรี ยนจัดกิจกรรมส่ งเสริ มประชาธิปไตยดีเด่น ของ สปอ.ค้อวัง
- ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ ชนะเลิศโรงเรี ยนจัดกิจกรรมสหกรณ์ดีเด่น ของ สปอ.ค้อวัง
- ชนะเลิศการคัดเลือกโรงเรี ยนดีเด่น ของ สปอ.ค้อวัง และรองชนะเลิศอันดับ ๑ ของ สปจ .ยโสธร
- ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงเรี ยนแกนนําการจัดการเรี ยนเด็กพิเศษเรี ยนร่ วม อาสาสมัครโรงเรี ยนปฏิรูป
กระบวนการเรี ยนรู ้
- ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ โรงเรี ยนแกนนําส่งเสริ มสุ ขภาพโรงเรี ยนแกนนําปฏิรูปกระบวนการเรี ยนรู ้
ผ่านการประเมินเป็ นโรงเรี ยนต้นแบบปฏิรูปกระบวนการเรี ยนรู ้ ของ สปช.
- ในปี พ.ศ.๒๕๔๕ ผ่านการประเมินคุณภาพโรงเรี ยน ๔ ดาว (ดาวนักเรี ยน ดาวครู ดาวผูบ้ ริ หาร
และดาวนโยบาย)
- ในปี การศึกษา ๒๕๔๗ โรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับเหรี ยญเงินของอําเภอค้อวัง
- ในปี การศึกษา ๒๕๔๙ โรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับเหรี ยญทองของจังหวัดยโสธร
- ในปี การศึกษา ๒๕๔๙ ชนะเลิศมุมหนังสื อดีเด่นตามโครงการส่ งเสริ มนิสยั รักการอ่าน สพท.ยส ๑
- ในปี การศึกษา ๒๕๕๐ ผ่านการประเมินรับรองโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพระดับเหรี ยญทองของจังหวัด
ยโสธร
- ในปี การศึกษา ๒๕๕๐ ผ่านการประเมินโรงเรี ยนส้วมถูกสุ ขอนามัยของสํานักงานสาธารณสุ ขจังหวัด
ยโสธร
- ปี การศึกษา ๒๕๕๑ โรงเรี ยนแกนนําการจัดการเรี ยนการสอนแบบคละชั้น
- ในปัจจุบนั โรงเรี ยนจัดการศึกษา โดยเปิ ดการสอนชั้นอนุบาล ๑ จํานวน ๑ ห้อง และชั้นอนุบาล ๒
จํานวน ๑ ห้อง และจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาโดยเปิ ดสอนตั้งแต่ช้ นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑ - ๖ จํานวน ๖
ห้องเรี ยน เขตบริ การโรงเรี ยนมี ๒ หมู่บา้ น คือ หมู่ ๗ บ้านดวน และหมู่ ๘ บ้านบากน้อยและมีชุมชนใกล้เคียงส่ง
บุตรหลานมาเข้าเรี ยน คือบ้านดงบังหมู่ ๙ ตําบลกุดนํ้าใส นักเรี ยน ทั้งหมด ๗๘ คน ครู ๖ คน ครู อตั ราจ้าง
ชัว่ คราว ๑ คน ช่างครุ ภณั ฑ์ช้ นั ๓ จํานวน ๑ คน
ผู้บริหารคนปัจจุบัน นายปริต จันทรุทนิ ตําแหน่ ง ผู้อาํ นวยการโรงเรียน วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
ดํารงตําแหน่ งเมื่อ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๘ - ปัจจุบัน

ขนาดและทีต่ ้งั
โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย ตั้งอยูบ่ า้ นดวน หมู่ที่ ๗ ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
มีเนื้อที่ท้ งั หมด ๑๓ ไร่ ๑ งาน ๔๘ ตารางวา มีการใช้ประโยชน์ ดังนี้

แปลงที่ หมายเลข จํานวนเนือ้ ที่ ทีต่ ้งั การใช้ ประโยชน์

๑ ยส. ๓๙๔ ๖ ไร่ $ งาน อยูท่ ิศเหนือบ้านดวน บ่อเลี้ยงปลา และ

๔๔ ตารางวา แปลงเกษตร

๒ ยส.๓๙๓ ๖ ไร่ ๒ งาน อยูท่ ิศตะวันตกบ้านดวน ที่ต้ งั โรงเรี ยนใน


ปัจจุบนั
๔ ตารางวา
อาคารเรียน อาคารประกอบ
จําแนกตามประเภทอาคารได้ดงั นี้
๑. อาคารเรี ยน (ถาวร) จํานวน ๒ หลัง
๒. โรงอาหาร จํานวน ๑ หลัง
๓. อาคารประกอบ จํานวน ๑ หลัง
๔. ส้วม จํานวน ๒ หลัง ๖ ที่
๕. สนามวอลเลย์บอล จํานวน ๑ แห่ ง
๖. สนามฟุตบอล จํานวน ๑ แห่ง
๗. สนามเปตอง จํานวน ๑ แห่ ง
๘. สนามเซปัคตะกร้อ จํานวน ๑ แห่ง
สภาพชุ มชนโดยรวม
สภาพทางภูมศิ าสตร์
โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย ตั้งอยูห่ มู่ที่ ๗ ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร อยูห่ ่างจาก
ที่วา่ การอําเภอค้อวัง ประมาณ ๙ กิโลเมตร ห่างจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต ๗๘ กิโลเมตร
พื้นที่เป็ นที่ราบลุ่มสลับกับที่ดอน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นดินปนทราย มีแหล่งนํ้าที่สาํ คัญ คือห้วยสันโดด อยูท่ าง
ทิศตะวันตกของหมู่บา้ น เป็ นระยะทาง ๑.๕ กิโลเมตร

สภาพทางเศรษฐกิจ
ประชากรในพื้นที่บริ การของโรงเรี ยนทั้ง ๒ หมู่บา้ น ประกอบอาชีพหลักคือการทํานา ประมาณร้อยละ
๙๘ และ ประกอบอาชีพค้าขาย และ ใช้แรงงานก่อสร้าง ประมาณร้อยละ ๒ มีฐานะทางเศรษฐกิจ และ รายได้ต่าํ
ฐานะความเป็ นอยูค่ ่อนข้างยากจน และลําบาก

สภาพทางสั งคม
สภาพชุมชนบริ เวณโรงเรี ยนมีลกั ษณะความเป็ นอยูแ่ บบสังคมภาคอีสาน เป็ นสังคมชนบท บริ เวณที่ต้ งั
ติดกับชุมชน ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม ท้องถิ่นเป็ นที่รู้จกั กัน โดยทัว่ ไป
คือประเพณี บุญบั้งไฟ บุญมหาชาติ และยังยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณี แบบโบราณ
ข้ อมูลเชิงคุณภาพ
ผลงานดีเด่ นของสถานศึกษา ปี การศึกษา ๒๕๕๑ (สถานศึกษา,ผู้บริหาร, ครู ,นักเรียน)
ผลงานโรงเรียน
- โรงเรี ยนแกนนําการจัดการเรี ยนการสอนแบบคละชั้น
- โรงเรี ยนต้นแบบโครงการส่ งเสริ มนิสยั รักการอ่าน

ผลงานผู้บริหาร
- ผูบ้ ริ หารแกนนําการจัดการเรี ยนการสอนแบบคละชั้น
- ผูบ้ ริ หารต้นแบบโครงการส่ งเสริ มนิสยั รักการอ่าน

ผลงานดีเด่ นสายผู้สอน

คุณครูสุนิดา เกษกัน

• ผูฝ้ ึ กสอนรางวัลเหรี ยญเงินการคัดลายมือชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ระดับ สพท.ยส.๑


• ผูฝ้ ึ กสอนรางวัลเหรี ยญเงินการคัดลายมือชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ระดับ สพท.ยส.๑
• ผูฝ้ ึ กสอนรางวัลเหรี ยญเงินการคัดลายมือชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ศูนย์เครื อข่ายที่ ๑๔
คุณครูอุทยั เกษกัน

• ครู ผสู ้ อนรางวัลเหรี ยญเงินการแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๒ สพท.ยส.๑


• ครู ผสู ้ อนรางวัลเหรี ยญทองแดงการแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๑ สพท.ยส.๑
• ครู ผสู ้ อนรางวัลเหรี ยญเงินการแข่งขันทักษะคณิ ตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ ๒ ศูนย์เครื อข่ายที่ ๑๔
คุณครูวาสนา แสงกล้า
• รางวัลชมเชยการทําหนังสื อเล่มเล็ก ของ สพท.ยส.๑
คุณครูนรินรัตน์ ประจวบสุ ข

• ครู ผสู ้ อนรางวัลเหรี ยญทองการสร้างภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ ช่วงชั้นที่ ๑ สพท.ยส.๑


• ครู ผสู ้ อนรางวัลเหรี ยญเงินการสร้างภาพปะติด ช่วงชั้นที่ ๒ ศูนย์เครื อข่ายที่ ๑๔
นายณภัทร เบ้ านาค

• ครู ผฝู ้ ึ กสอน การแข่งขันประกวดมารยาทไทย ช่วงชั้นที่ ๒ รางวัลเหรี ยญเงิน ระดับ สพท.ยส.๑


• ครู ผฝู ้ ึ กสอน การแข่งขันประกวดมารยาทไทย ช่วงชั้นที่ ๑ รางวัลเหรี ยญทองแดง ระดับ สพท.ยส.๑
• ครู ผสู ้ อนทักษะคณิ ตศาสตร์ช่วงชั้นที่ ๑ รางวัลเหรี ยญเงิน ระดับ สพท.ยส.๑

ผลงานนักเรียน
- เด็กหญิงณัฐธิดา หล้าแหล่ง รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันคัดลายมือชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงศริ วิมล ศรี สอน รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันคัดลายมือชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายธีรศักดิ์ เกิดแก้ว รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายกุลธร เขื่อนเกล้า รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายอนิรุจติ์ คณานิตย์ รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงณัฐฐากรณ์ โพดพันธ์ รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงจีรวรรณ บุญสอน รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๑
- เด็กหญิงอภิรดี แสนโคตร รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายอภิสิทธิ์ คําโทน รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายพิตรพิบูลย์ เกษหอม รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายศราวุธ ศรี สว่าง รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงณี รนุช ปรื อทอง รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงวารุ ณี ศรี สว่าง รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงมนัญชญา ศรี สว่าง รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันกระโดดเชือก ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงชลธิชา แนวเพ็ชร รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันมารยาทไทย ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายธีรยุทธ ศรี สอน รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันมารยาทไทย ช่วงชั้นที่ ๒ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงสุ ชาดา วงษ์ใหญ่ รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันมารยาทไทย ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายอภิสิทธิ์ ปรื อทอง รางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันมารยาทไทย ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงธีรดา ม่วงทอง รางวัลเหรี ยญทอง การแข่งขันสร้างภาพปะติด ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กหญิงสุ ทธิดา ปรื อทอง รางวัลเหรี ยญทอง การแข่งขันสร้างภาพปะติด ช่วงชั้นที่ ๑ ของ
สพท.ยส. ๑
- เด็กชายวิระชัย เกษกัน รางวัลเหรี ยญเงิน การแข่งขันทักษะคณิ ตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ ๑

วิสัยทัศน์
ภายในปี การศึกษา ๒๕๕๕ นักเรี ยนโรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย ได้ผา่ นการเตรี ยมความพร้อมในระดับ
ปฐมวัยและเข้าเรี ยนในระดับประถมศึกษาทุกคน นักเรี ยนมีความรู ้ ความสามารถ ตามมาตรฐานคุณภาพ
นักเรี ยน โดยเน้นความสามารถในการใช้ภาษา ความสามารถทางคณิ ตศาสตร์และเทคโนโลยี อ่านเขียน คิด
วิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้ มีจริ ยธรรม คุณธรรม มีสุขภาพและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน เห็น
คุณค่าการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิใจในความเป็ นไทย เป็ นที่ยอมรับของสังคมโดยครู มืออาชีพ
ประสานความร่ วมมือกับชุมชน ภายใต้ระบบบริ หารจัดการที่ดีโดยยึดหลักธรรมมาภิบาล

พันธกิจ
๑. จัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
๒. พัฒนาระบบบริ หารจัดการของโรงเรี ยนให้สอดคล้องกับภาระงานที่ปฏิบตั ิ
๓. พัฒนาทักษะการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ
๔. พัฒนาการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ โดยสอดแทรก จริ ยธรรม คุณธรรม
๕. พัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบตั ิหน้าที่อย่างมีประสิ ทธิภาพ
๖. ร่ วมมือกับชุมชนในการวางแผนและระดมทุนเพื่อการจัดการศึกษา
๗. พัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรี ยนรู ้ให้เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ มีความปลอดภัยและห่างไกลยาเสพติด
เป้าประสงค์
๑. ในปี การศึกษา ๒๕๕๒ เป็ นต้นไป เด็กวัยเรี ยนในเขตบริ การได้เข้าเรี ยนทุกคน
๒. มีระบบการบริ หารที่สนองตอบต่อการเปลี่ยนแปลง
๓. นักเรี ยนร้อยละ ๘๐ มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
ภาษาต่างประเทศ อยูร่ ะดับ ๓ ภายในปี ๒๕๕๕
๔. นักเรี ยนร้อยละ ๙๐ มีจริ ยธรรม คุณธรรม ที่เหมาะสมภายในปี การศึกษา ๒๕๕๕ ในกระบวนการ
จัดการเรี ยนรู ้ทุกกลุ่มสาระ
๕. มีหลักสูตรสถานศึกษา การวัด และประเมินผล ที่สนองความต้องการของท้องถิ่น โดยเฉพาะให้
เห็นคุณค่าในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรมและภูมิใจในความเป็ นไทย
๖. นักเรี ยนร้อยละ ๙๐ มีสุขภาพ และสมรรถภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ภายในปี ๒๕๕๕
๗. นักเรี ยนร้อยละ ๗๕ มีความสามารถในการคิดและแก้ปัญหาได้
๘. นักเรี ยนทุกคนเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขและปลอดภัย
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ปรัชญา แนวคิด หลักการบริหารจัดการ ของโรงเรียนบ้ านดวนบากน้ อย
ปรัชญาของโรงเรียน “ จงเตือนตนด้วยตนเอง ”
คําขวัญของโรงเรียน “เรี ยนดี มีวินยั ประชาธิปไตยเด่น เน้นงานบริ การชุมชน ”
จุดเน้ นของโรงเรียน “มีนิสยั รักการอ่าน ผสานยุวฑูติความดี มีเสื่ อกกลายขิด น้อมนํา
เศรษฐกิจพอเพียง ”
แนวคิดการบริหารจัดการของโรงเรียน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุเป้ าหมายของหลักสู ตร จําเป็ นต้องอาศัยทุกฝ่ ายร่ วมกัน ทั้งผูบ้ ริ หาร
โรงเรี ยน ครู ผสู ้ อน นักเรี ยน และชุมชน โรงเรี ยนบ้านดวนบากน้อย มีแนวคิดในการบริ หารจัดการเพื่อให้การ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรี ยนมีประสิ ทธิภาพเกิดประสิ ทธิผลต่อองค์กรดังนี้
๑. บริ หารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
๒. การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
๓. การบริ หารมุ่งพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนให้ได้เป้ าประสงค์ KRU-PARID goal ประกอบด้วย
K: Knowledge (ความรู ้)
R: Result (มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน)
U: Unity (ความเป็ นเอกภาพ)
P: Participate (การมีส่วนร่ วม)
A: Attitude (ทัศนคติที่ดี)
R: Research (การวิจยั เพื่อพัฒนา)
I: Information Communication Technology :ICT (ใช้สื่อเทคโนโลยี)
D: Development (การพัฒนา)
๔. การบริ หารงานที่โปร่ งใส ตรวจสอบได้
๕. การทํางานเป็ นทีม

๑.๑๐ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนโรงเรียนบ้ านดวนบากน้ อย


- ความประหยัดและอดออม
- ความซื่อสัตย์
- ความรับผิดชอบ
- ความสามัคคี
- ความเสี ยสละ

ข้ อมูลชุ มชน(บ้ านบากน้ อย)

๑.ปัญหาเกีย่ วกับสุ ขภาพชุ มชน ( สถิตการป่ วยแต่ ละปี ว่ ามีโรคอะไรบ้ าง จํานวนเท่ าใด )
๑. โรคเบาหวาน จํานวน ๘ คน
๒. โรคความดันโลหิ ต จํานวน ๘ คน
๓. โรคภูมิแพ้ จํานวน ๒๕ คน
๔. โรคระบบทางเดินหายใจ จํานวน ๓๗ คน
๕. โรคกระดูกไขข้อเสื่ อม จํานวน ๙ คน
๖. โรคพารัสชีเมีย จํานวน ๒ คน
๗. โรคฟันผุ จํานวน ๑๕ คน
๘. โรคหัวใจ จํานวน ๓ คน

๒. ปัญหาด้ านสั งคมของชุ มชน


๑. เยาวชนทะเลาะวิวาทในช่วงเทศการต่างๆ

๓. กิจกรรมที่มีในชุ มชน
๑. การทําบุญประเพณี ต่างๆ
๒. การทอผ้าขิต
๓. การผลิตเมล็ดพันธุ์ขา้ ว ศูนย์ขา้ วชุมชนบ้านบากน้อย หมู่ที่ ๘ ตําบลนํ้าอ้อม
๔. ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์

๔.ประวัติความเป็ นมาของหมู่บ้าน
บ้านบากน้อยก่อตั้งหมู่บา้ น พ.ศ.๒๓๒๐ โดยพ่อใหญ่หลวง แสวงได้พาลูกหลายอพยพมาจากหมู่บา้ น ยาง
ชุมน้อย (ปัจจุบนั เป็ นอําเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรี สะเกษ)มีครอบครัว๑๘ครัวเรื อน ประชากรประมาณ ๗๕คนได้
ยกให้พอ่ ใหญ่หลวงแสวงเป็ นผูใ้ หญ่บา้ นสภาพการจัดตั้งหมู่บา้ น เป็ น หมู่ที่ ๘ ตําบลนํ้าอ้อมอําเภอฟ้ าหยาดจังหวัด
อุบลราชธานี(ปั จจุบนั มีจาํ นวนครัวเรื อน ๔๕ ครัวเรื อน)มีผใู ้ หญ่บา้ นจํานวน ๘ คน คนปั จจุบนั ชื่อ นาย คําดี
ประสารทอง

๕. อาณาเขตของหมู่บ้าน
๑. ทิศเหนือ จด บ้านดงบัง ตําบลกุดนํ้าใส อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
๒. ทิศใต้ จด บ้านนํ้าอ้อม ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
๓. ทิศตะวันออก จด บ้านดวน ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
๔. ทิศตะวันตก จด บ้านศิริพฒั นา ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร

๖. ลักษณะภูมิประเทศ
๑. สภาพพื้นที่ราบ
๒. สภาพดินเป็ นดินร่ วนปนทราย
๓. อยูใ่ กล้แหล่งนํ้าห้วยสันโดษ
๔. มีป่าฟื้ นชุมชน

๗. อาชีพหลัก และอาชีพรองของคนในชุมชน
๑. อาชีพหลักทํานา
๒. อาชีพรอง เลี้ยงสัตว์ ทอผ้า

๘. จํานวนประชากร ชายกีค่ น หญิงกีค่ น รวมกีค่ น


จํานวนประชากรบ้านบากน้อย หมู่ ๘ ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร ประชากร
ทั้งหมด ๒๑๗ คน
- แยกเป็ นชาย ๑๐๕ คน
- แยกเป็ นหญิง ๑๑๒ คน

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้ อมูลชุ มชน(บ้ านดวน)

๑.ปัญหาเกีย่ วกับสุ ขภาพชุ มชน ( สถิตการป่ วยแต่ ละปี ว่ ามีโรคอะไรบ้ าง จํานวนเท่ าใด )
ปั ญหาด้านสุ ขภาพ ส่ วนใหญ่จะมีผปู ้ ่ วยประเภทผูส้ ู งอายุที่มีมกั เป็ นโรคประจําตัว ก็คือโรคเบาหวาน โรค
ความดันโลหิตสู ง โรคความดันโลหิ ตตํ่า สําหรับวัยทํางานก็มกั พบปัญหาสุ ขภาพเกี่ยวกับโรคเส้นเอ็นไขข้อ
กระดูก เจ็บหลังปวดเอว ส่ วนปั ญหาที่พบในเด็กส่ วนมากจะมีปัญหาเรื่ องไข้หวัด ไอ จาม ปวดหัวตัวร้อน ปวด
ท้องอาเจียน ท้องร่ วงตามฤดูกาล และสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงฤดู

๒. ปัญหาด้ านสั งคมของชุ มชน


สภาพปั ญหาอุปสรรคของชุมชนและสังคมโดยรวมก็ คือ ปัญหาของเด็กวัยรุ่ นเรี ยนจบไม่มีงานทํารวมกลุ่ม
สร้างปัญหา ทะเลาะวิวาทเวลามีงานบุญประเพณี ต่างๆ
ปัญหาการมีเพศสัมพันธุ์ ก่อนวัยอันสมควรของเด็กวัยเรี ยนแบบสื่ อต่างๆที่มีในปัจจุบนั นี่คือสภาพ
ปั ญหาที่เกิดขึ้นในสังคมปั จจุบนั ในภาพรวมแต่ในชุมชนเองมีปัญหาเหล่านี้ถือว่าน้อยมาก ในแต่ละรอบปี

๓. กิจกรรมที่มีในชุ มชน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผูป้ ลุกข้าว อินทรี ย ์ กลุ่มผูผ้ ลิตปุ๋ ยชีวภาพโดยใช้
เทคโนโลยี อตอมมิกนาโน กลุ่มผูเ้ ลี้ยงโคพันธุ์พ้นื เมือง กลุ่มผูเ้ ลี้ยงกระบือไทยเพื่อใช้แรงงาน กลุ่มแม่บา้ น
สตรี ทอเสื อกกลายขิต
- กองทุนทุนหมุนเวียน กองทุนหมู่บา้ น ( ก.ท.บ. )
- กองทุนเพื่อสาธารณะประโยชน์

๔.ประวัติความเป็ นมาของหมู่บ้าน
บ้านดวนเริ่ มก่อตั้งขึ้นเมื่อประมารปี พ.ศ.๒๓๐๐ จากคําบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่าสื บทอดกันมา โดยมีผคู ้ น
จาก อําเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรี สะเกษ คือนายพรานปั้ นไม่ทราบนามสกลุพร้อมพวกได้เดินทางมาล่าสัตว์และ
มาพบแหล่งนํ้าในพื้นที่อุดมสมบรู ณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกและตั้งถิ่นฐานจึงได้รวบรวมญาติพี่นอ้ ง รวม ๕
ครอบครัวรวมประชากรราว ๓๐ คน มาก่อตั้งเป็ นหมู่บา้ นโดยใช้ชื่อว่าบ้านดวน ด้วยเหตุผลที่ใช้ชื่อว่าบ้านดวน
เพราะพื้นที่ดงั กล่าวเติมไปด้วยคงลําดวนแต่ต่อมาประชากรเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ จึงได้มีการถางพื้นที่เพื่อทําการเพาะปลูก
ทําไรนาคงลําดวนจึงหมดไป เหลือไว้เป็ นเพียงสัญญลักษ์ในปัจจุบนั

๕. อาณาเขตของหมู่บ้าน
สภาพพื้นฐานโดยทัว่ ไป บ้านดวนหมู่ที่ ๗ ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร ตั้งอยูใ่ กล้พ้นื ที่
องค์การบริ หารส่ วนตําบลนํ้าอ้อมจากเดิม อําเภอค้อวัง ขึ้นตรงกับอําเภอมหาชนะชัย จังหวัดอุบลราชธานีต่อมา
ทางราชการได้แยกเขตการปกครองให้ครอบคลุมและทัว่ ถึงจึงได้แยก อําเภอเมือง ยโสธร และสถาปนาขึ้นเป็ น
จังหวัดยโสธรใยปั จจุบนั
อาณาเขตของหมู่บา้ นโดยทัว่ ไป
ทิศเหนือ จด บ้านดงบัง ตําบลกุดนํ้าใส อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
ทิศใต้ จด บ้านนํ้าอ้อม ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
ทิศตะวันออก จดบ้านจานทุ่ง ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
ทิศตะวันตก จด บ้านบากน้อย ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร

๖. ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศโดยทัว่ ไป พื้นที่เป็ นที่ลุ่ม ดินร่ วนป่ นทราย ประชากรทั้งหมดประกอบอาชีพ ทํานา
เป็ นหลักและอาศัยนํ้าจากธรรมชาติ แต่ปัจจุบนั ได้มีการพัฒนาระบบชลประทานเพื่อนําทรัพยากรนํ้าที่มีอยูใ่ นพื้นที่
ขึ้นมาใช้ประโยชน์ ในการทํานาปรัง เพื่อเพิ่มรายได้ให้กบั ประชาชนในชุมชน จากเดิมทํานาได้เพียงครั้งเดียว
เพราะต้องอาศัยธรรมชาติเป็ นหลัก

๗. อาชีพหลัก และอาชีพรองของคนในชุ มชน


อาชีพหลักของคนในชุมชน คือการทํานา ซึ่งอดีตที่ผา่ นมาการประกอบอาชีพการทํานาต้องอาศัย
ธรรมชาติเป็ นหลักและสามารถทํานาได้ปีละ ๑ ครั้ง หลังเสร็ จฤดูกาลก็มาการอพยพแรงงานเพื่อไปรับจ้างต่างถิ่น
เพื่อหารายได้เสริ มให้ครอบครัว แต่ในปัจจุบนั สภาพพื้นที่เปลี่ยนไปได้รับการพัฒนาหลายๆด้านตามลําดับ
โดยเฉพาะด้านแหล่งนํ้าทําให้คนในชุมชนเริ่ มทํานาได้ปะละ ๒ ครั้งมีรายได้เพิ่มขึ้นอยูก่ บั ครอบครัวไม่ตอ้ งอพยพ
แรงงานไปทํางานต่างถิ่นเหมือนในอดีตที่ผา่ นมา

๘. จํานวนประชากร ชายกีค่ น หญิงกีค่ น รวมกีค่ น


บ้านดวนหมู่ที่ ๗ ตําบลนํ้าอ้อม อําเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร ปัจจุบนั มี ๘๓ ครัวเรื อน
มีจาํ นวนประชากร แยกตามเพศ ดังนี้
- ชายจํานวน ๒๐๗ คน
- หญิงจํานวน ๒๐๓ คน
ประชากรรวม ๔๑๐ คน

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-
แผนทีก่ ารเดินทาง
แผนทีจ่ ังหวัดยโสธร
แผนทีอ่ าํ เภอค้ อวัง จ.ยโสธร

 
 
ภาคผนวก
รู ปแสดงสถานทีก่ ่ อสร้ างอาคารอเนกประสงค์ พร้ อมห้ องพยาบาล
รูปแสดงทางเข้ าหมู่บ้าน
รู ปแสดงบริเวณโรงเรียนบ้ านดวนบากน้ อย
รู ปแสดงพืน้ ทีบ่ ้ านดวนบากน้ อย

You might also like