You are on page 1of 102

๑๑๘

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
…………………………………..
ศึกษา ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา การสังคายนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
เข้าสู่ ประเทศไทย วิเคราะห์พทุ ธประวัติหรื อศาสดาที่ตนนับถือ และศาสนิกชนตัวอย่าง ศึกษาพุทธคุณ
และหลักธรรมสำคัญในอริ ยสัจ 4 วิเคราะห์และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือได้แก่
ไตรสิ กขา กรรมฐาน 2 โกศล 3 มงคล 38 และพุทธศาสนสุ ภาษิต ศึกษาวันสำคัญทางพุทธศาสนาและ
พิธีกรรมในท้องถิ่นของชุมชนต่างๆเช่นพิธีเหยาและอื่นๆในวันสื บสานวันผูไ้ ทยเรณูนคร
ศึกษาและปฏิบตั ิตนตามกฎหมายในการคุม้ ครองสิ ทธิ ของบุคคลเช่น กฎหมายคุม้ ครองเด็ก
กฎหมายการศึกษา กฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค กฎหมายลิขสิ ทธิ์ การมีส่วนร่ วมและรับผิดชอบใน
กิจกรรมทางสังคมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์ วิเคราะห์ความแตก
ต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ศึกษาความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น วิเคราะห์ค่านิยมและ
พฤติกรรมการบริ โภคของคนในสังคม ศึกษาความหมายและความเป็ นมาของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
รวมทั้งโครงการตามพระราชดำริ ศึกษาหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่า ความสำคัญและ
ประโยชน์ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน
ศึกษาเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทย
ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย อธิ บายเส้นแบ่งเวลาของประเทศไทยกับทวีปต่างๆ ศึกษา
ความแตกต่างของเวลา มาตรฐานกับเวลาท้องถิ่น ศึกษาภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นใน
ประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย
โดยใช้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ สื บค้นข้อมูล อภิปราย อธิ บาย นำเสนอและลงมือปฏิบตั ิ
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่าของการมีวินยั ใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน มุ่งมัน่ ในการ
ทำงาน ซื่อสัตย์สุจริ ต มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักความเป็ นไทย การมีจิตสาธารณะ มีทกั ษะ
ชีวิต การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี ประยุกต์นำไปใช้ในชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ตัวชี้วดั ๒๓ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม.๑/๓, ม. ๑/๔ , ม.๑/๕
มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓
มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒
มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒
119

มาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓


มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒
มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓
มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
…………………………………..
ตระหนักและเห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การ วิธีคิดแบบคุณค่า
แท้-คุณค่าเทียม วิธีคิดแบบคุณ-โทษและทางออกหรื อการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน
นับถือ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริ หารจิตและเจริ ญปัญญาด้วยอานาปานสติหรื อตามแนวทางของ
ศาสนาที่ตนนับถือ วิเคราะห์เหตุผลที่ตอ้ งศึกษาเรี ยนรู ้ศาสนาอื่นๆ ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นที่ปฏิบตั ิ
ตนเป็ นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์ ศึกษาบทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ
ประพฤติตนเป็ นแบบอย่าง ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และ
ศึกษาการจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบหมู่4 หมู่ 5 หมู่ 7 หมู่ 9
ศึกษาหลักการ โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ
ปั จจุบนั วิเคราะห์อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ฝ่ ายคือ นิติบญั ญัติ บริ หาร ตุลาการ ปฏิบตั ิตนตามบทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปั จจุบนั เกี่ยวกับสิ ทธิ เสรี ภาพและหน้าที่
ศึกษาความหมาย ประเภท และความสำคัญของสถาบันการเงินที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ
ศึกษาบทบาทหน้าที่และความสำคัญของธนาคารกลาง ศึกษาและวิเคราะห์การหารายได้ รายจ่าย
การออม การลงทุน ซึ่ งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภคและสถาบันการเงิน ยกตัวอย่างที่
สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกันและกัน การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ ศึกษาปั ญหา
เศรษฐกิจในชุมชน ประเทศและเสนอวิธีการแก้ไข ศึกษากฎอุปสงค์ อุปทาน ศึกษาความหมายและ
ความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญา
ศึกษาและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมใน ทวีป
เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย อธิ บายการก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคม ศึกษาแนวทางการ
ใช้ทรัพยากรของคนในชุมชนให้ใช้ได้นานขึ้น โดยมีจิตสำนึกรู ้คุณค่าของทรัพยากร วางแผน
อนุรักษ์ทรัพยากรในทวีปเอเชีย วิเคราะห์ความร่ วมมือระหว่างประเทศและสำรวจทำเลที่ต้ งั
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมตลอดจนปั จจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของ
ความคิด เทคโนโลยี สิ นค้าและประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย
โดยใช้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ สื บค้นข้อมูล อภิปราย อธิ บาย นำเสนอและลงมือ
ปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่าของการมีวนิ ยั ใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน มุ่งมัน่ ใน
การทำงาน ซื่อสัตย์สุจริ ต มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักความเป็ นไทย การมีจิตสาธารณะ มี
ทักษะชีวิต การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี ประยุกต์นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
120

ตัวชี้วดั ๒๐ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๑/๖ , ม. ๑/๗ , ม. ๑/๘, ม.๑/๙ ,ม.๑/๑๐ ม.๑/๑๑
มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๑/๔ , ม. ๑/๕
มาตรฐาน ส ๒.๑ ม. ๑/๓ , ม.๑/๔
มาตรฐาน ส ๒.๒ ม. ๑/๓
มาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๑/๓
มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๑/๓ , ม. ๑/5
มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒, ม. ๑/๓
มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๑/๑ , ม. ๑/๒, ม. ๑/๓

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๑๑๖๑ ชื่อรายวิชา ประวัติศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
…………………………………..
ศึกษา วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ เทียบศักราชตามระบบ
ต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ ศึกษาพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศ
ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศึกษาเรือ่ งราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุ โขทัย
ในดินแดนไทยโดยสังเขป
โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการสื บค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดระบบข้อมูลอย่างเป็ น
ระบบด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสื บค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพื่อให้มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีเหตุผล รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น ตระหนักถึงความ
สำคัญของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ รู ้เท่าทันสถานการณ์ ภูมิใจในความเป็ นไทย
121

ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย สำนึกว่าตนเป็ นส่ วนหนึ่งของ


ธรรมชาติ รู้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพัฒนาการ
ของเศรษฐกิจ การเมืองการปกครองสังคม ศิลปวัฒนธรรมของไทย ศรัทธาและเทิดทูนในบุคคล
สำคัญของไทยและต่างประเทศ

ตัวชี้วดั ๔ ตัวชี้วดั

มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๑/๑


มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๑/๑
มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๑/๑ , ม.๑/๒

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๑๑๖๒ ชื่อรายวิชา ประวัติศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
…………………………………..
ศึกษา วิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ศึกษาแหล่ง
อารยธรรมที่สำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เช่น แหล่งอารยธรรมบ้านเชียง วิเคราะห์
พัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัย ในด้านต่าง ๆ และวิเคราะห์อิทธิ พลของวัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาไทย สมัยสุ โขทัยและสังคมไทยในปั จจุบนั
โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการสื บค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดระบบข้อมูลอย่างเป็ น
ระบบด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสื บค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพื่อให้มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีเหตุผล รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น ตระหนักถึงความ
สำคัญของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ รู ้เท่าทันสถานการณ์ ภูมิใจในความเป็ นไทย
ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย สำนึกว่าตนเป็ นส่ วนหนึ่งของ
ธรรมชาติ รู้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพัฒนาการ
122

ของเศรษฐกิจ การเมืองการปกครองสังคม ศิลปวัฒนธรรมของไทย ศรัทธาและเทิดทูนในบุคคล


สำคัญของไทยและต่างประเทศ

ตัวชี้วดั ๔ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๑/๒ , ม.๑/๓
มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๑/๒
มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๑/๓

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
…………………………………..

ศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศเพื่อนบ้าน การนับถือพระพุทธศาสนาของ


ประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบนั ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วยเสริ มสร้างความ
เข้าใจอันดีกบั ประเทศเพื่อนบ้าน ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็ น
รากฐานของวัฒนธรรมเอกลักษณ์และมรดกของชาติ พระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชนและการ
จัดระเบียบสังคม สรุ ปและวิเคราะห์พทุ ธประวัติเรื่ อง การผจญมาร การตรั สรู ้ การสัง่ สอน
ศึกษาประวัติสาวก ชาดก และศาสนิกชนตัวอย่าง ศึกษาโครงสร้างของพระไตรปิ ฎก
โดยกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื บค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบตั ิ
กระบวนการเชิงเหตุผล กระบวนการของจริ ยธรรม
เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของพระพุทธศาสนา มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ
พระพุทธศาสนา หลักธรรม การกระทำความดี การสร้างค่านิยมที่ดีงามในสังคม มีเหตุผล มีวินยั
มีวิจารณญาณเกี่ยวกับการดำรงชีวิต สำนึกในความเป็ นไทย รู ้จกั ตนเอง
123

ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ ตระหนักถึง


สถานภาพ บทบาท สิ ทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตย เข้าใจบทบาท
ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม เข้าใจความคล้ายคลึงและความแตกต่างของ
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการประชาธิ ปไตย
กระบวนการสื บค้น
เพื่อตระหนักถึงคุณค่าในการเป็ นพลเมืองดี ทำประโยชน์แก่สงั คม และประเทศชาติ
ตระหนักถึงสถานภาพ บทบาท สิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และปั จจัยของการลงทุน และออม ศึกษาความสำคัญและ
หลักการผลิตสิ นค้า รู้จกั ใช้เทคโนโลยีที่ผลิตสิ นค้าและบริ การ เข้าใจหลักการและเป้ าหมายปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสิ นค้า ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกฎหมายคุม้ ครองสิ ทธิ ประโยชนของ
ผูบ้ ริ โภคและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการจัดการ กระบวนการสื บค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์
เพื่อให้มีวิจารณญาณเกี่ยวกับการตัดสิ นใจเลือกใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต คำนึงถึงต้นทุน และผล
ประโยชน์ที่ได้รับอย่างคุม้ ค่าและมีคุณธรรม ตระหนักและเห็นคุณค่าในการนำเทคโนโลยีมาใช้ใน
การผลิตสิ นค้าและบริ การอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ศึกษาเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ศึกษาลักษณะทางทาง
กายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา ที่มีผลต่อระบบการดำเนินชีวิตของมนุษย์
โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการสื บค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบตั ิ
กระบวนการเปรี ยบเทียบ กระบวนการแก้ปัญหา
เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของลักษณะทางกายภาพที่มีต่อระบบการดำเนินชีวิตของ
มนุษย์ มีความสำนึกว่าตนเป็ นส่ วนหนึ่งของธรรมชาติ เห็นคุณค่าของแผนที่ชนิดต่างๆ เครื่ องมือ
ทางภูมิศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่และเชื่อมโยงไปสู่ ชีวิตประจำวัน

ตัวชี้วดั ๒๑ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม. ๒/๓ , ม.๒/๔ , ม.๒/๕
มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒ , ม. ๒/๓
มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒
มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๒/๑
มาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒
มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒
มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒
มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒ , ม. ๒/๓ , ม.๒/๔
124

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
…………………………………..
ศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่ อง พระรัตนตรัย ( ธรรมคุณ ๖) อริ ยสัจ ๔
พุทธศาสนสุ ภาษิต พัฒนาการเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบาย
ปลุกเร้าคุณธรรมและคิดวิธีแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ฝึ กการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญา สวดมนต์แปล
และแผ่เมตตา ตามหลักสติปัฏฐาน เน้นอาณาปานสติ และนำหลักธรรมที่ตนนับถือไปใช้ในชีวิต
ประจำวัน การประพฤติตนเป็ นลูกที่ดีตามหลักทิศเบื้องต้นในทิศ ๖ มีมรรยาทของความเป็ น
ศาสนิกชนที่ดี การปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมเกี่ยวกับศาสนพิธี ศึกษาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและ
ศึกษาศาสนพิธี พิธีกรรม แนวปฏิบตั ิของศาสนาอื่นๆ
โดยกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการจริ ยธรรม กระบวนการขัดเกลาทางสังคม
เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของพระพุทธศาสนา เกิดศรัทธาอย่างยิง่ ต่อพระรัตนตรัย
เห็นคุณค่าของการบริ หารจิต เจริ ญปั ญญา ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นพุทธศาสนิกชนที่ดีมีคุณธรรม
จริ ยธรรม ในการอยูร่ ่ วมกันในสังคมและสามารถนำหลักธรรมไปใช้ในการเรี ยนรู ้ การทำงานอย่าง
มีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและสังคมโดยส่ วนรวม
ศึกษากระบวนการในการตรากฎหมาย ศึกษาเหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงที่ สำคัญของ
ระบอบการปกครองของไทย โดย กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสื บค้น กระบวนการประชาธิ ปไตย
เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย อยูร่ ่ วมกันอย่าง
สันติสุข สำนึกในความเป็ นไทย
ศึกษาระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศใน
ภูมิภาคเอเชีย ศึกษาข้อมูลการกระจายของทรัพยากรในโลก การแข่งขันทางการค้าในประเทศและ
ต่างประเทศ โดย กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการเชิงเหตุผล กระบวนการ
คิดวิเคราะห์
125

เพื่อให้มีวิจารณญาณเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ การรวมกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
ตระหนักถึงการแข่งขันทางการค้า ที่ส่งผลต่อคุณภาพสิ นค้า ปริ มาณการผลิตและราคาสิ นค้า
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปยุโรปและ
แอฟริ กา ศึกษาแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรปและ
แอฟริ กา ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริ กา ตระหนักถึงผลกระ
ทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในทวีปยุโรปและแอฟริ กา
โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการแก้
ปั ญหา กระบวนการสื บค้น
เพื่อตระหนักถึงความรับผิดชอบในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รู ้
มาตรการและความพยายามแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในประเทศ ในทวีปยุโรปและแอฟริ กา ตระหนัก
ถึงผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากประเทศในทวีปยุโรปและแอฟริ กา

ตัวชี้วดั ๒๑ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๒/๖ , ม. ๒/๗ , ม. ๒/๘ , ม.๒/๙ , ม.๒/๑๐ , ม.๒/๑๑
มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๒/๔ , ม. ๒/๕
มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๒/๓ , ม. ๒/๔
มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๒/๒
มาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๒/๓ , ม. ๒/๕
มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๒/๓ , ม. ๒/๔
มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒
มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๒/๑ , ม. ๒/๒, ม. ๒/๓ , ม.๒/๔
126

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๒๑๖๑ ชื่อรายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
--------------------------------------------------
ศึกษาวิเคราะห์ สื บค้น วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน
ลักษณะต่างๆอย่างง่ายๆ การศึกษาภูมิหลังของผูทำ ้ หรื อสาเหตุช่วงระยะเวลา รู ปลักษณะของหลัก
ฐานทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริ งกับข้อเท็จจริ งของเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์
ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและผลกระทบภายนอกที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์
ภูมิปัญญาสมัยอยุธยาและผลงานของบุคคลสำคัญทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อ
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยอยุธยา
โดยกระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทำงาน กระบวนการสื บค้น
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หระบวนการสื บค้นทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ กระบวนการคิดวิเคราะห์
เปรี ยบเทียบ
เพื่อให้มีความริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีเหตุผล รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น ตระหนักถึง
ความสำคัญของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ รู ้เท่าทันสถานการณ์ ภูมิใจในความเป็ นไทย
ตระหนักถึงความสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย รู ้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยู่
เสมอ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ประวัติศาสตร์ทอ้ งถิ่น ศรัทธาในบุคคลสำคัญ
ของไทยและต่างประเทศ

ตัวชี้วดั ๕ ตัวชี้วดั
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๒/๑
มาตรฐาน ส ๔.๒ม.๒/๑
มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๒/๑ , ม.๒/๒, ม.๒/๓

คำอธิบายรายวิชา
127

รหัสวิชา ส ๒๒๑๖๒ ชื่อรายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ


เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
--------------------------------------------------

ศึกษาวิเคราะห์ ความสำคัญของการตีความ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ


วิเคราะห์ขอ้ มูลเอกสารต่างๆในสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่นข้อความบางตอนในพระราชพงศาวดาร
อยุธยา จดหมายเหตุชาวต่างชาติ การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริ งกับข้อ
เท็จจริ งจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การตีความข้อมูลจากหลักฐานที่แสดงเหตุการณ์สำคัญใน
สมัยอยุธยาและธนบุรี ความสำคัญของการวิเคราะห์ขอ้ มูลและการตีความทางประวัติศาสตร์
โดยกระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทำงาน กระบวนการสื บค้น
วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสื บค้นทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ กระบวนการคิดวิเคราะห์
เปรี ยบเทียบ
เพื่อให้มีความริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีเหตุผล รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น ตระหนักถึงความ
สำคัญของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ รู ้เท่าทันสถานการณ์ ภูมิใจในความเป็ นไทย
ตระหนักถึงความสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย รู ้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต มีความคิดรวบ
ยอดประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี

ตัวชี้วดั ๕ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๒/๒ , ม.๒/๓
มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๒/๒
มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๒/๑ , ม.๒/๒, ม.๒/๓

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
128

…………………………………..
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึ กปฏิบตั ิ สร้างความคิดรวบยอด นำภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปั ญหาชีวิต
สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการเรี ยนรู ้ เพื่อให้มีความรู ้ความเข้าใจ ตระหนัก
และเห็นคุณค่าของประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พทุ ธศาสนาเข้าสู่
ประเทศต่างๆ ทัว่ โลก พุทธประวัติ พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมทางพระพุทธ
ศาสนา เรื่ อง พระรัตนตรัย อริ ยสัจ ๔ ประวัติพทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง และหน้าที่
ชาวพุทธ
เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิง่ ต่อพระรัตนตรัย และรักการเรี ยนรู ้พระพุทธศาสนา ประพฤติ
ปฏิบตั ิตนเป็ นพุทธศาสนิกที่ดี มีคุณธรรม จริ ยธรรมในการอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข
และสามารถนำหลักธรรมไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้ การทำงานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเอง
และสังคมโดยส่ วนรวม
ศึกษา วิเคราะห์ ระบบการเมืองการปกครองแบบต่าง ๆ ในปัจจุบนั รัฐธรรมนูญฉบับ
ปัจจุบนั ในมาตราต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเลือกตั้ง และการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ การปฏิบตั ติ น
ตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศ ในคดีแพ่ง คดีอาญา
โดยกระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการประชาธิ ปไตย กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการสื บค้น กระบวนการกลุ่ม และ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ตระหนักและเห็นคุณค่าในความเป็ นพลเมืองดี และ
ความสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย ทำประโยชน์ให้แก่สงั คมและประเทศชาติ
รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น รักและภูมิใจในความเป็ นไทย และมีค่านิยมที่ดีต่อการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
เพื่อตระหนักถึงคุณค่าในความเป็ นพลเมืองดี และความสำคัญของการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยทำประโยชน์แก่สงั คมและประเทศชาติ รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น รักและภูมิใจใน
ความเป็ นไทย
ศึกษา วิเคราะห์คุณธรรมที่เกี่ยวกับการผลิต ศึกษาผลการนำทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์มา
ใช้ในการผลิตสิ นค้า และบริ การอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกฎหมายคุม้ ครองผู ้
บริ โภค ระบบสหกรณ์ในท้องถิ่น และศึกษาประโยชน์ของการนำวิธีการของเศรษฐกิจของไทย
ปั จจุบนั
โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการทำงาน กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการจัดการ
กระบวนการสื บค้น กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการกลุ่มและกระบวนการคิดวิเคราะห์
เพื่อให้มีวิจารณญาณในการตัดสิ นใจเลือกใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต คำนึกถึงต้นทุน และ
ผลประโยชน์ที่ได้รับอย่างคุม้ ค่าและมีคุณธรรม มีเหตุผล รู ้เท่าทันสถานการณ์ และตระหนักถึง
การดำเนินงานสหกรณ์
ศึกษา วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาเหนือที่มีผลต่อระบบ
การดำเนินชีวิตของมนุษย์ โดยใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวมวิเคราะห์ และนำเสนอ
ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ วิเคราะห์และระบุแนวทาง
การอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ ทาง
สังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ
129

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสื บค้น กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการ


เปรี ยบเทียบ กระบวนการพัฒนาค่านิยม และกระบวนการนำข้อมูลไปใช้ในแก้ปัญหาอย่าง
เป็ นระบบ
เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของลักษณะทางกายภาพที่มีต่อระบบการดำเนินชีวิตของ
มนุษย์ เห็นคุณค่าการใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ค่านิยม วิถีชีวิตในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นความสำคัญของการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม

ตัวชี้วดั ๒๔ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม. ๓/๓ , ม.๓/๔ , ม.๓/๕
มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๓/๑ , ม. ๓/๒ , ม. ๓/๓, ม.๓/๔
มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๓/๑ , ม. ๓/๒ ,ม. ๓/๓
มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๓/๑ ,ม.๓/๒
มาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๓/๑ , ม. ๓/๒
มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๓/๑ , ม.๓/๒, ม. ๓/๓
มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๓/๑ , ม. ๓/๒
มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๓/๑ , ม. ๓/๒ , ม. ๓/๓ , ม.๓/๔

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
…………………………………..
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึ กปฏิบตั ิ สร้างความคิดรวบยอด นำภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปั ญหาชีวิต
สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการเรี ยนรู ้ เพื่อให้มีความรู ้ความเข้าใจ ตระหนัก
และเห็นคุณค่าของ ชาดก วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา พระไตรปิ ฎก ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
การบริ หารจิตและเจริ ญปัญญา ศาสนพิธี และมารยาทชาวพุทธ
เพื่อให้เห็นคุณค่า และความสำคัญของพระพุทธศาสนา สำนึกในความเป็ นไทย มีคา่ นิยม
ที่ดีงาม มีความรับผิดชอบต่อสังคม อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย เห็นคุณค่าของศาสนพิธี พิธีกรรม
ศรัทธาในสาสนาที่ตนนับถือ เห็นคุณค่าและความสำคัญของวันสำคัญทางศาสนา เข้าใจแนว
ปฏิบตั ิของการนำผลการฝึ กสมาธิไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาหลักสิ ทธิมนุษยชน อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย เลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม
วิเคราะห์ปัจจัยทีก่ อ่ ให้เกิด วิเคราะห์ปญั หาความขัดแย้งในประเทศ เสนอแนวคิดในการลดความขัดแย้ง
เสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุ ขในประเทศและสังคมโลก
130

โดยกระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการประชาธิ ปไตย กระบวนการแก้ปัญหา


กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการสื บค้น กระบวนการกลุ่ม และ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
เพื่อตระหนักถึงคุณค่าในการอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย และเลือกรับวัฒนธรรมที่เหมาะสม
รู ้เท่าทันสถานการณ์ ปัญหาความขัดแย้งในประเทศ และอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมโลกอย่างมีความ
สุ ข
ศึกษา วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปั ญหาที่เกิดจากผลกระทบของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับ
ปั จจุบนั ศึกษาวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของสถาบันการเงินและธนาคาร ศึกษาความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศไทยกับภูมิภาคต่างๆทัว่ โลก
โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการทำงาน กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการจัดการ
กระบวนการสื บค้น กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการกลุ่มและกระบวนการคิดวิเคราะห์
เพื่อให้มีค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบและวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้กบั ชีวิตประจำวัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม มีความคิดรวบยอดกับนโยบายทาง
เศรษฐกิจของรัฐที่มีผลต่อบุคคล ท้องถิ่น กลุ่มบุคคล ประเทศชาติ และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
ศึกษา วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริ กาใต้ที่มีผลต่อระบบ
การดำเนินชีวิตของมนุษย์ โดยใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวมวิเคราะห์ และนำเสนอ
ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาใต้ วิเคราะห์และระบุแนวทาง
การอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ ทาง
สังคมของทวีป อเมริ กาใต้
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสื บค้น กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการ
เปรี ยบเทียบ กระบวนการพัฒนาค่านิยม และกระบวนการนำข้อมูลไปใช้ในแก้ปัญหาอย่าง
เป็ นระบบ
เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของลักษณะทางกายภาพที่มีต่อระบบการดำเนินชีวิตของ
มนุษย์ เห็นคุณค่าการใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ค่านิยม วิถีชีวิตในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และเห็นความสำคัญของการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม

ตัวชี้วดั ๒๒ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๑.๑ ม.๓/๖ , ม.๓/๗ , ม. ๓/๘ , ม.๓/๙ , ม.๓/๑๐
มาตรฐาน ส ๑.๒ ม.๓/๕ , ม. ๓/๖ , ม. ๓/๗
มาตรฐาน ส ๒.๑ ม.๓/๔ , ม. ๓/๕
มาตรฐาน ส ๒.๒ ม.๓/๓ , ม.๓/๔
มาตรฐาน ส ๓.๑ ม.๓/๓
มาตรฐาน ส ๓.๒ ม.๓/๔ , ม.๓/๕, ม. ๓/๖
มาตรฐาน ส ๕.๑ ม.๓/๑ , ม. ๓/๒
มาตรฐาน ส ๕.๒ ม.๓/๑ , ม. ๓/๒ , ม. ๓/๓ , ม.๓/๔
131

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๓๑๖๑ ชื่อรายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
--------------------------------------------------
ศึกษา วิเคราะห์ เรื่ องราวขั้นตอนเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น
ตนเอง นำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่ องราวที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว
ท้องถิ่นของตนใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเหตุการณ์สำคัญในสมัยรัตนโกสิ นทร์
พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของภูมิภาคต่างๆ ในการตั้งถิ่นฐานและลักษณะการ
ดำเนินชีวิตของประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ปั จจัยทางภูมิศาสตร์และสังคมที่มีผลต่อ
พัฒนาการตั้งถิ่นฐานและการดำรงชีวิตของประชากรในภูมิภาคต่างๆ ของโลก (ยกเว้น เอเชีย)
พัฒนาการอารยธรรมตะวันตกที่มีต่อประเทศไทยในด้านต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญในภูมิภาค
ต่างๆ ของโลกที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนำไปสู่ ความร่ วมมือและความขัดแย้งในคริ สต์ศตวรรษที่
๒๐
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทำงาน กระบวนการ
สื บค้น วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสื บค้นทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการลงมือปฏิบตั ิ อภิปราย อธิ บาย และนำเสนอ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ตระหนักถึงความสำคัญทางประวัติศาสตร์เพื่อให้มี
ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีเหตุผล รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญของเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์ รู้เท่าทันสถานการณ์ ภูมิใจในความเป็ นไทย ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม
อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย สำนึกว่าตนเป็ นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ รู ้จกั ตัวเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ ง
ตนเองอยูเ่ สมอ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพัฒนาการของเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ศิลป
วัฒนธรรมของไทย ศรัทธาและเทิดทูนในบุคคลสำคัญของไทยและต่างประเทศ

ตัวชี้วดั ๔ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๓/๑
132

มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๓/๑


มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๓/๑ , ม.๓/๒

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๒๓๑๖๒ ชื่อรายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
--------------------------------------------------
ศึกษา วิเคราะห์พฒั นาการของไทยสมัยรัตนโกสิ นทร์ เกี่ยวกับการสถาปนา
กรุ งเทพมหานครเป็ นราชธานีของไทย การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศเหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อการพัฒนาชาติไทย ปัจจัยพืน้ ฐานที่ส่งผลต่อความมัน่ คงและความ
เจริ ญรุ่ งเรื องของไทยสมัยรัตนโกสิ นทร์ ความสำคัญของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัย
รัตนโกสิ นทร์ ให้เหมาะสมกับชีวิตปั จจุบนั การอนุรักษ์และส่ งเสริ ม บทบาทของพระมหากษัตริ ย ์
ไทยในราชวงศ์จกั รี เป็ นการสร้างสรรค์ความเจริ ญและความมัน่ คงของชาติ และบทบาทของไทย
ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองถึงปั จจุบนั
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทำงาน กระบวนการ
สื บค้น วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสื บค้นทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการลงมือปฏิบตั ิ อภิปราย อธิ บาย และนำเสนอ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ตระหนักถึงความสำคัญทางประวัติศาสตร์เพื่อให้มี
ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีเหตุผล รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญของเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์ รู้เท่าทันสถานการณ์ ภูมิใจในความเป็ นไทย ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม
อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย สำนึกว่าตนเป็ นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ รู ้จกั ตัวเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ ง
ตนเองอยูเ่ สมอ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพัฒนาการของเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ศิลป
วัฒนธรรมของไทย ศรัทธาและเทิดทูนในบุคคลสำคัญของไทยและต่างประเทศ

ตัวชี้วดั ๔ ตัวชี้วดั

มาตรฐาน ส ๔.๑ ม.๓/๒


มาตรฐาน ส ๔.๒ ม.๓/๒
มาตรฐาน ส ๔.๓ ม.๓/๓ , ม.๓/๔
133

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
…………………………………..
ศึกษาวิเคราะห์ลกั ษณะของสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อน
พระพุทธเจ้า พุทธประวัติในการตรัสรู ้ ตามข้อปฏิบตั ิที่ยดึ ทางสายกลาง พุทธศาสนาที่เน้น
การพัฒนาและปัญญาที่ถูกต้อง วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการศึกษาที่
สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพ วิเคราะห์หลักธรรม อริ ยสัจ 4 ศึกษาชีวิตและผลงานของ
พุทธสาวกที่ประกอบด้วยคุณธรรม จริ ยธรรม วิเคราะห์คุณธรรม ศึกษาวิเคราะห์ถึงการทำความดี
ของบุคคลที่เป็ นแบบอย่างทางศีลธรรม และแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ ปฏิบตั ิตนได้อย่างถูกต้อง
ตามศาสนพิธี พิธีกรรมของหลักศาสนาที่ตนนับถือ เชื่อมัน่ ต่อผลของการทำความดี ความชัว่ และ
ตัดสิ นใจเลือกปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้องและมีเหตุมีผล
ศึกษาความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับกฎหมายเพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายสำคัญอื่นๆ
ตลอดจนข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิ มนุษยชนและมนุษยธรรม เพื่อให้มีความรู ้
ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญและปฏิบตั ิตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันรวมทั้งสนับสนุนส่ งเสริ มให้ผอู ้ ื่นปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้อง
การศึกษาวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจ ตลาดและประเภทของตลาด เพื่อกำหนดราคาตาม
ความต้องการซื้ อและขายของผูบ้ ริ โภคในสังคมไทย ตลอดจนศึกษาถึงการกำหนดค่าจ้างและ
กฎหมายแรงงานไทย บทบาทของรัฐที่เข้ามาแทรกแซงในระบบเศรษฐกิจไทยได้ เพื่อหาวิธีการใน
การแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ที่แต่ละสังคมยอมรับร่ วมกัน ในการนำมาใช้จดั สรรทรัพยากร
ที่มีความขาดแคลน และให้เข้าใจถึงหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพล
อดุลยเดชทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะ เป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิตของพสกนิกรชาวไทย
ศึกษาถึงกระบวนทางแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยสากลและภูมิภาคที่สำคัญของ
โลก ศึกษาถึงความหมาย ความสำคัญและขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ใน
ความต่อเนื่องของเวลา และปัจจัยทางภูมิศาสตร์ สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อพัฒนาการของมนุษย์ชาติ
ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
สังคม ศิลปและวัฒนธรรม เพื่อสร้างองค์ความรู ้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์อย่างเป็ นระบบ
ศึกษาวิเคราะห์เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ เปรี ยบเทียบเลือกใช้แผนที่ เครื่ องมือเทคโนโลยี
ทางภูมิศาสตร์ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและเหมาะสม นำเสนอข้อมูลข่าวสารภูมิลกั ษณ์ ภูมิอากาศ
และภูมิสังคมของไทยและภูมิภาคต่างๆ ทัว่ โลก สังเคราะห์ปฏิสมั พันธ์เชิงภูมิศาสตร์ที่ทำให้เกิด
ลักษณะหรื อปรากฏการณ์พิเศษกับประเทศไทย
134

โดยกระบวนการฝึ กปฏิบตั ิ กระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการพัฒนาค่านิยม


กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการประชาธิ ปไตย กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสื บค้น
เพื่อให้เห็นความสำคัญของวิถีประชาธิ ปไตย มีวนิ ยั รับผิดชอบ มีความซื่ อสัตย์ รู ้
สิ ทธิหน้าที่ตามวิถีประชาธิปไตย มีค่านิยมที่ดีต่อการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย รู ้สิทธิ หน้าที่
มีน ้ำใจนักกีฬา รู้เท่าทันเหตุการณ์ เห็นความจำเป็ นที่จะต้องธำรงรักษาไว้ซ่ ึ งการปรกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข รักการเรี ยนรู ้วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม มีความรักประเทศชาติ ท้องถิ่น ภูมิใจในความเป็ นไทย มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อมและวัฒนธรรม ศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือ รู ้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยู่
เสมอ

ตัวชี้วดั
มฐ. ส๑.๑ ม.๔/๑ ,ม.๔/๒, ม.๔/๔,ม.๔/๕,ม.๔/๑๒ , ม. ๔/๑๓ , ม.๔/๑๔
มฐ. ส๑.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ,ม.๔/๓ , ม. ๔/๔ ,ม.๔/๕
มฐ. ส๒.๑ ม๔/๑,ม.๔/๒ ,ม.๔/๓, ม.๔/๔ ,ม.๔/๕
มฐ. ส๒.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม. ๔/๔
มฐ. ส๓.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม. ๔/๔
มฐ. ส ๓.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓
มฐ. ส ๔.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒
มฐ. ส ๔.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒
มฐ. ส ๔.๓ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม. ๔/๔ ม.๔/๕
มฐ. ส ๕.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒
มฐ. ส ๕.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒

รวม ๔๑ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
…………………………………..
ศึกษาและเห็นคุณค่า และเชื่อมัน่ ในการพัฒนาจิต เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีคิด
แบบโยนิโสมนสิ การ หลักการบริ หารจิต เจริ ญปั ญญาตามหลักสติปัฎฐาน และวันสำคัญทาง
ศาสนา ปฏิบตั ิตนเป็ นศาสนิกชนที่ดีต่อสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้าง
135

วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนา และเทศกาลที่สำคัญทางศาสนา


ที่ตนนับถือและปฏิบตั ิตนได้ถูกต้อง สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตน
นับถือ อันส่ งผลถึงการพัฒนาตน พัฒนาชาติและโลก เพื่อปลูกจิตสำนึก และการมีส่วนร่ วมใน
สังคมพุทธศาสนา
ศึกษาวิเคราะห์ความสำคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ตลอดจนแนวทางแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม และปฏิบตั ิตนเป็ น
พลเมืองดีของสังคมไทยและสังคมโลก รวมทั้งสนับสนุนให้ผอู ้ ื่นเป็ นพลเมืองดีของชุมชน ท้องถิ่น
ประเทศชาติและของโลก
ศึกษาวิเคราะห์ความเป็ นมาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทย ซึ่ งเป็ น
แนวทางในการพัฒนาประเทศไทย และศึกษาถึงวิวฒั นาการของสหกรณ์ไทย ตระหนักถึง
การรวมกลุ่มของประชาชนในรู ปแบบของสหกรณ์ ซึ่ งเป็ นการดำเนินธุรกิจอย่างหนึ่ง เพื่อให้
สมาชิกกินดีอยูด่ ี มีความเป็ นธรรมและสันติสุขในสังคม และให้เข้าใจถึงหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะ เป็ นแนวทางในการดำเนิน
ชีวิตของพสกนิกรชาวไทย
ศึกษาวิเคราะห์ถึงความเป็ นมาของชนชาติไทย การตั้งอาณาจักรโบราณ อาณาจักรไทย
ในดินแดนไทย การศึกษาวิเคราะห์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยสุ โขทัย
สมัยอยุธยา สมัยธนบุรีและรัตนโกสิ นทร์ ตลอดถึงความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริ ย ์
ต่อชาติไทย ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญทั้งในประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์วฒั นธรรมไทย
ในด้านต่างๆ ตลอดถึงแนวทางในการนำภูมิปัญญาไทยไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ปฏิสมั พันธ์เชิงภูมิศาสตร์ที่ทำให้เกิดลักษณะหรื อ
ปรากฏการณ์พิเศษกับภูมิภาคต่างๆ ของโลก สรรพสิ่ งทางกายภาพในส่ วนต่างๆของโลก ซึ่ งเป็ น
ปั จจัยพื้นฐานและมีอิทธิพลอย่างมากต่อการดำรงชีวิต และศึกษาถึงกระบวนการต่างๆ ที่มนุษย์ใช้
สิ่ งแวดล้อมมาทำประโยชน์ในการดำรงชีวิตอนุรักษ์สร้างสรรค์วฒั นธรรมต่างๆ อย่างเหมาะสม
ตระหนักถึงวิธีการใช้ทรัพยากรและสร้างจิตสำนึกด้านสิ่ งแวดล้อมและแก้ปัญหาอย่างมี
กระบวนการ
โดยกระบวนการการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการฝึ กปฏิบตั ิ
กระบวนการสื บค้น อภิปราย อธิบาย นำเสนอ เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจ ตระหนักถึง
ภูมิปัญญาที่มีอิทธิพลต่อวิถีการดำเนินชีวิต
เพื่อให้สนใจใฝ่ รู้ มีความรับผิดชอบ รู ้การคิดที่ถูกวิธี รู ้จกั ตนเอง มีเหตุผล มีวนิ ยั
มีวิจารณญาณเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต สามารถให้คำปรึ กษาแนะนำผูอ้ ื่นได้ อยูร่ ่ วมกันในสังคมได้
อย่างสันติสุข รู้เท่าทันเหตุการณ์เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทยและนานาประเทศ
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือ รู ้จกั ตนเอง
เข้าใจชีวิตปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ

ตัวชี้วดั
มฐ. ส๑.๑ ม.๔/๑ ,ม.๔/๒, ม.๔/๔,ม.๔/๕,ม.๔/๑๒ , ม. ๔/๑๓ , ม.๔/๑๔
มฐ. ส๑.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม. ๔/๔ ,ม.๔/๕
136

มฐ. ส๒.๑ ม๔/๑,ม.๔/๒ ,ม.๔/๓, ม.๔/๔ ,ม.๔/๕


มฐ. ส๒.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม. ๔/๔
มฐ. ส๓.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม. ๔/๔
มฐ. ส ๓.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓
มฐ. ส ๔.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒
มฐ. ส ๔.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒
มฐ. ส ๔.๓ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม. ๔/๔ ม.๔/๕
มฐ. ส ๕.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒
มฐ. ส ๕.๒ ม.๔/๑ , ม.๔/๒

รวม ๔๑ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
…………………………………..
ศึกษา วิเคราะห์ ลักษณะประชาธิ ปไตยที่ปรากฏในพระพุทธศาสนา หลักการและการคิด
ตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ การฝึ กหัดอบรมตนการพึ่งตนเองและการมุ่งอิสรภาพ
พุทธประวัติเกี่ยวกับวิธีการสอน การบำเพ็ญพุทธจริ ยา ชาดก เรื่ อง มโหสถ พุทธสาวกพุทธสาวิกา
ได้แก่ พระอนุรุทธะ พระองคุลิมาล พระธัมมทินนาเถรี จิตตคหบดี ชาวพุทธตัวอย่าง ได้แก่
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) พระพรหมมังคลาจารย์
(ปั ญญานันทภิกขุ) ดร.เอ็มเบดการ์ หลักธรรมและคติธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธ
ศาสนา
ประพฤติปฎิบตั ิตนและมีส่วนสนับสนุนให้ผอู ้ ื่นประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีของ
ประเทศชาติ และสังคมโลก
วิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชน พร้อมเสนอแนวทางแก้ไขพัฒนาเศรษฐกิจของ
ชุมชนยกตัวอย่างของการรวมกลุ่มที่ประสบความสำเร็ จในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจของชุมชน
ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ
เปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ วิเคราะห์อิทธิ พลของอารยธรรมโบราณ และการติดต่อระหว่างโลก
137

ตะวันออกกับโลกตะวันตกที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก และเหตุการณ์สำคัญ
ต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่ โลกสมัยปั จจุบนั
วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ ซึ่ งได้รับอิทธิ พลจากปั จจัยทางภูมิศาสตร์ในประเทศไทย
และทวีปต่างๆ ประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกว่าเป็ นผลมาจากการกระทำของมนุษย์
และหรื อธรรมชาติ
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ให้สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ เปรี ยบเทียบ อภิปราย นำเสนอ และ
ลงมือปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดตระหนักเห็นคุณค่าของความมีวนิ ยั ใฝ่ รู้ใฝ่
เรี ยน มุ่งมัน่ ในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริ ต มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักความเป็ นไทย การมี
จิตสาธารณะ มีทกั ษะชีวิต การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี ประยุกต์นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
เพื่อให้เกิดความตระหนักในความสำคัญของปั จจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผลกระทบต่อ
พัฒนาการของมนุษย์มีทกั ษะในการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิต ซึ่ งจะนำไปสู่ การจัดการอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ รู้จกั ตนเองมีจิตสำนึกว่าตนเป็ นส่ วนหนึ่งของธรรมชาติ สามารถดำรงชีวิตตาม
แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางสังคมภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ตระหนักถึงการ
ป้ องกันแก้ไขปัญหาสิ่ งแวดล้อม รักการเรี ยนรู ้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ศรัทธาใน
ศาสนาที่ตนเองนับถือ รู้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ

ตัวชี้วดั
มฐ. ส๑.๑ ม.๕/๑ ,ม.๕/๒, ม.๕/๔,ม.๕/๕,ม.๕/๑๒ , ม.๕/๑๓ , ม.๕/๑๔
มฐ. ส๑.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,ม.๕/๕
มฐ. ส๒.๑ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,ม.๕/๕
มฐ. ส๒.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,
มฐ. ส๓.๑ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,
มฐ. ส ๓.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓
มฐ. ส ๔.๑ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓
มฐ. ส ๔.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒
มฐ. ส ๔.๓ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,ม.๕/๕
มฐ. ส ๕.๑ ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔
มฐ. ส ๕.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒

รวม ๔๓ ตัวชี้วดั
138

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
…………………………………..
ศึกษา วิเคราะห์ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่ อง พระรัตนตรัย อริ ยสัจ ๔ อันได้แก่
ขันธ์ ๕ โลกธรรม ๘ กรรมนิยาม ( กรรม ๑๒) มิจฉาวณิ ชชา ๕ วิมุตติ ๕ อปริ หานิยธรรม ๗ ปาป
ณิ กธรรม ๓ ทิฏฐธัมมิกตั ถสังวัตตนิกธรรม ๔ โภคอาทิยะ ๕ อริ ยวัฑฒิ ๕ มงคล ๓๘ ในเรื่ อง
ถูกโลกธรรมจิตไม่หวัน่ ไหว จิตไม่เศร้าโศก จิตไม่มวั หมอง จิตเกษม การสังคายนาและการ
เผยแผ่พระไตรปิ ฎก พุทธศาสนสุ ภาษิต ปฏิบตั ิตามศาสนพิธีและพิธีกรรม ฝึ กบริ หารจิตและเจริ ญ
ปั ญญาตามหลักสติปัฏฐาน พัฒนาการเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การ ๑๐ วิธี สวดมนต์ไหว้
พระและแผ่เมตตา
วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทาง
เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ ความเข้าใจ และการประสานประโยชน์ร่วมกัน
ระหว่างประเทศ
อธิบายบทบาทของรัฐบาลด้านนโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ รายรับและรายจ่ายของรัฐที่มีผลต่องบประมาณ หนี้ สาธารณะ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
และคุณภาพชีวิตของประชาชน ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกิดจากภาวะทางเศรษฐกิจ เช่น
เงินเฟ้ อ เงินฝื ด ตัวชี้วดั ความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ เช่น GDP , GNP รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล
วิเคราะห์ ปัจจัยที่ส่งเสริ มความสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่ งมีผลต่อ
สังคมไทยในยุคปัจจุบนั ผลงานของบุคคลสำคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่มีส่วนสร้างสรรค์
วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย
วิเคราะห์ สถานการณ์และวิกฤตการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมของ
ประเทศไทยและโลก ระบุมาตรการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา บทบาทขององค์การและการประสาน
139

ความร่ วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่ งแวดล้อม การจัดการทรัพยากร


ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ให้สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ เปรี ยบเทียบ อภิปราย นำเสนอ และ
ลงมือปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดตระหนักเห็นคุณค่าของความมีวนิ ยั ใฝ่ รู้ใฝ่
เรี ยน มุ่งมัน่ ในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริ ต มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักความเป็ นไทย การมี
จิตสาธารณะ มีทกั ษะชีวิต การสื่ อสาร การใช้เทคโนโลยี ประยุกต์นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อ
ให้เกิดความตระหนักในความสำคัญของปั จจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการของมนุษย์
มีทกั ษะในการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิต ซึ่ งจะนำไปสู่ การจัดการอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รู ้จกั
ตนเองมีจิตสำนึกว่าตนเป็ นส่ วนหนึ่งของธรรมชาติ สามารถดำรงชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อมทางสังคมภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย ตระหนักถึงการป้ องกันแก้ไขปั ญหาสิ่ ง
แวดล้อม รักการเรี ยนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ศรัทธาในศาสนาที่ตนเองนับถือ
รู ้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ

ตัวชี้วดั
มฐ. ส๑.๑ ม.๕/๑ ,ม.๕/๒, ม.๕/๔,ม.๕/๕,ม.๕/๑๒ , ม.๕/๑๓ , ม.๕/๑๔
มฐ. ส๑.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,ม.๕/๕
มฐ. ส๒.๑ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,ม.๕/๕
มฐ. ส๒.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,
มฐ. ส๓.๑ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,
มฐ. ส ๓.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/
มฐ. ส ๔.๑ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓
มฐ. ส ๔.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒
มฐ. ส ๔.๓ ม.๕/๑ , ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔ ,ม.๕/๕
มฐ. ส ๕.๑ ม.๕/๒ ,ม.๕/๓ , ม. ๕/๔
มฐ. ส ๕.๒ ม.๕/๑ , ม.๕/๒

รวม ๔๓ ตัวชี้วดั
140

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
…………………………………..
ศึกษาวิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในด้านต่างๆได้แก่ พุทธศาสนาเป็ นศาสตร์
แห่งการศึกษา เน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยและวิธีการแก้ปัญหา สรุ ปพุทธประวัติ มหาชนก
ชาดก วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาวิเคราะห์ สื บค้น หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัยคุณค่าของสังฆะ
อริ ยสัจ ๔พระไตรปิ ฎก ลำดับคัมภีร์และวิธีศึกษาค้นคว้า วิธีการบริ หารจิตและการเจริ ญปัญญา
ตามหลักสติปัฏฐาน๔ พุทธสาวก พุทธสาวิกา หน้าที่ชาวพุทธบทบาทของพระภิกษุและพุทธ
บริ ษทั ที่มีต่อสังคมไทย การบำเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน และโลก
ศึกษาวิเคราะห์ สื บค้น ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและ
ประวัติศาสตร์ไทย วิธีการทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ความแตกต่างของหลัก
ฐาน ในการศึกษาประวัติศาสตร์ แนวคิดพัฒนาการประวัติศาสตร์ไทย การสร้างสรรค์พฒั นาการ
ของมนุษย์ชาติในด้านต่างๆ เหตุการณ์สำคัญที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่อ
โลกและมนุษยชาติ
โดยการใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื บค้น กระบวนการทางประวัติศาสตร์
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเชิงเหตุผล
เพื่อให้เห็นแนวทางในการนำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาประยุกต์ใช้ รู ้จกั คิดอย่างมี
วิจารณญาณ ตระหนักถึงความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตระหนักในความสำคัญของ
มนุษย์ชาติที่มีต่อพัฒนาการของโลก รักการเรี ยนรู ้วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม มีความรัก
ประเทศชาติ รัก ท้องถิ่น ภูมิใจในความเป็ นไทย มีส่วนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม
141

ศรัทธาในศาสนาที่ตนเองนับถือ รู้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ

ตัวชี้วดั
มฐ. ส๑.๑ ม.๖/๑ ,ม.๖/๒, ม.๖/๔,ม.๖/๕,ม.๖/๑๒ , ม.๖/๑๓ , ม.๖/๑๔
มฐ. ส๑.๒ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕
มฐ. ส๒.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕
มฐ. ส๒.๒ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส๓.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส ๓.๒ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓
มฐ. ส ๔.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓
มฐ. ส ๔.๒ ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส ๔.๓ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕
มฐ. ส ๕.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส ๕.๒ ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕

รวม ๔๔ ตัวชี้วดั
142

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา สั งคมศึกษาพืน้ ฐาน ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
…………………………………..

ศึกษาวิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในด้านต่างๆได้แก่ พุทธศาสนาฝึ กคนไม่


ให้ประมาท มุ่งประโยชน์สุขแก่บุคคล สังคมและโลก พุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง
พระพุทธเจ้าในฐานะในฐานะเป็ นมนุษย์ผฝู ้ ึ กตนได้อย่างสู งสุ ด
ศึกษาวิเคราะห์ สื บค้น หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ทศพิธราชธรรม ๑๐ มงคล ๓๘
ความเพียรเผากิเลส การประพฤติพรหมจรรย์ การเห็นอริ ยสัจ การบรรลุนิพพาน เรื่ องน่ารู ้จาก
พระไตรปิ ฎก พุทธศาสนสุ ภาษิต คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา การพัฒนาการเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีคิด
แบบโยนิโสมนสิ การ ชาวพุทธตัวอย่าง การปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัวตามหลักทิศ
เบื้องหลังในทิศ ๖ ศาสนพิธี และพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ศึกษาวิเคราะห์ สื บค้น ความขัดแย้งทางความเชื่อและค่านิยม ผลงานของมนุษยชาติที่นำ
ไปสู่ ความร่ วมมือและความขัดแย้ง แนวทางในการประสานประโยชน์เพื่อสันติภาพของโลก
กระบวนการและผลดีผลเสี ยของการนำเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อเพิม่ ผลผลิตและการบริ การอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ภูมิปัญญาไทยเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี ปัญหาสิ่ งแวดล้อม การอนุรักษ์และ
พัฒนาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื บค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้
ปั ญหา กระบวนการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เฝ้ าระวัง และติดตามสถานการณ์สิ่ง
แวดล้อมในระดับประเทศและโลก
เพื่อให้เห็นความสำคัญของค่านิยมและจริ ยธรรมทางสังคมที่เป็ นตัวกำหนดความเชื่อ และ
พฤติกรรมที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล ขจัดความขัดแย้ง มีความรับผิดชอบต่อสังคม เห็นความ
จำเป็ นที่ตอ้ งร่ วมมือกันแก้ปัญหา รู้เท่าทันสถานการณ์ ตระหนักในความสำคัญของการประสาน
ประโยชน์ร่วมกัน มีวิจารณญาณในการนำเทคโนโลยีมาใช้ทนั ต่อวิทยาการสมัยใหม่ มีจิตสำนึก
ด้านสิ่ งแวดล้อม ตระหนักและรู้วิธีการใช้ทรัพยากรที่ยงั่ ยืนรักการเรี ยนรู ้วิชาสังคม ศาสนาและ
วัฒนธรรม มีความรักประเทศชาติ รัก ท้องถิ่น ภูมิใจในความเป็ นไทย มีส่วนในการอนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อมและวัฒนธรรม ศรัทธาในศาสนาที่ตนเองนับถือ รู ้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยู่
เสมอ
143

ตัวชี้วดั
มฐ. ส๑.๑ ม.๖/๑ ,ม.๖/๒, ม.๖/๔,ม.๖/๕,ม.๖/๑๒ , ม.๖/๑๓ , ม.๖/๑๔
มฐ. ส๑.๒ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕
มฐ. ส๒.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕
มฐ. ส๒.๒ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส๓.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส ๓.๒ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓
มฐ. ส ๔.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓
มฐ. ส ๔.๒ ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส ๔.๓ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕
มฐ. ส ๕.๑ ม.๖/๑ , ม.๖/๒ ,ม.๖/๓ , ม. ๖/๔
มฐ. ส ๕.๒ ม.๖/๓ , ม. ๖/๔ ,ม.๖/๕

รวม ๔๔ ตัวชี้วดั
144

คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๖๑ ชื่อรายวิชา ประวัติสังคมและวัฒนธรรมไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาสังคมไทยในเรื่ อง โครงสร้าง ลักษณะทัว่ ไป พัฒนาการโดยสังเขป ประวัติความเป็ น
มาของการศึกษา โดยเน้นการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ ๕ และการขยายตัวทางการศึกษา
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๖จนถึงปัจจุบนั
ศึกษาวัฒนธรรมไทยในเรื่ อง รากฐาน เอกลักษณ์ พัฒนาการ และแนวโน้ม
ศึกษาอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทยเพื่อให้มีความเข้าใจสังคม
และวัฒนธรรมไทยเห็นคุณค่าในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาติ และมี ส่วนร่ วม
อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย
โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการสื บค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดระบบข้อมูลอย่างเป็ น
ระบบด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสื บค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพื่อให้มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีเหตุผล รักประเทศชาติ รักท้องถิ่น ตระหนักถึงความ
สำคัญของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ รู ้เท่าทันสถานการณ์ ภูมิใจในความเป็ นไทย
ตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย สำนึกว่าตนเป็ นส่ วนหนึ่งของ
ธรรมชาติ รู้จกั ตนเอง เข้าใจชีวิต ปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพัฒนาการ
ของเศรษฐกิจ การเมืองการปกครองสังคม ศิลปวัฒนธรรมของไทย ศรัทธาและเทิดทูนในบุคคล
สำคัญของไทยและต่างประเทศ

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๘๑ ชื่อรายวิชา ภูมศิ าสตร์ กายภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
145

…………………………………..
ศึกษาลักษณะภูมิศาสตร์กายภาพแต่ละภูมิภาคของโลกในเรื่ อง ลักษณะที่ต้ งั ภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับชีวิตความเป็ น
อยูข่ องมนุษย์ ปัญหาของสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพอันเกิดจากการกระทำของมนุษย์ เพื่อให้มีความ
เข้าใจสภาพแวดล้อมทางกายภาพและอิทธิ พลที่มีต่อชีวิตความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ เห็นความจำเป็ น
ในการปรับตัว ปรับใช้และเสริ มสร้างสภาพแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ฟ้ื นฟูสภาพ
แวดล้อม
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื บค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้
ปั ญหา กระบวนการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เฝ้ าระวัง และติดตามสถานการณ์สิ่ง
แวดล้อมทางกายภาพในระดับประเทศและโลก
เพื่อให้ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบจากมลภาวะของสิ่ งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์และ
สังคม โดยมีส่วนร่ วมในการป้ องกันและแก้ไข
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๘๒ ชื่อรายวิชา ภูมศิ าสตร์ เศรษฐกิจ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรธรรมชาติกบั กิจกรรมทางเศรษฐกิจในแต่ละภูมิภาค
ของโลก กิจกรรมทางเศรษฐกิจขั้นปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและ
ปั ญหาทางเศรษฐกิจของโลก เพื่อให้มีความเข้าใจในอิทธิ พลของสิ่ งแวดล้อมที่มีต่อกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ ตระหนักในสภาพปัญหา และเห็นความจำเป็ นที่จะต้องร่ วมมือกันแก้ปัญหาและพัฒนา
เศรษฐกิจโลก
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื บค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้
ปั ญหา กระบวนการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เฝ้ าระวัง และติดตามสถานการณ์สิ่ง
แวดล้อมทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจในระดับประเทศและโลก
เพื่อให้เห็นความสำคัญเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ ในการผลิตขั้นปฐมภูมิ
ขั้นทุติยภูมิ และขั้นตติยภูมิ ที่มีความจำเป็ นต้องมีความร่ วมมือกันแก้ไขปั ญหาและช่วยกันพัฒนา
เศรษฐกิจโลก ให้รองรับประชากรในภูมิภาคของโลกได้อย่างสมดุล

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๘๔ ชื่อรายวิชา การสำรวจท้ องถิน่ เชิงภูมิศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาและฝึ กปฏิบตั ิในเรื่ อง การใช้มาตรส่ วน การย่อและขายแผนที่ การใช้สญ
ั ลักษณ์ใน
แผนที่ และการใช้เข็มทิศ
146

ฝึ กปฏิบตั ิการสำรวจและเก็บข้อมูลในบริ เวณโรงเรี ยนและชุมชน การทำแผนผังและการ


เปลี่ยนแผนผังเป็ นแผนที่โดยใช้เครื่ องมืออย่างง่าย โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการสื บค้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเปรี ยบเทียบ กระบวนการแก้ปัญหา
เพื่อให้มีความเข้าใจ เห็นประโยชน์ของแผนที่ แผนผัง และสามารถทำแผนที่ แผนผังอย่าง
ง่าย

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๘๓ ชื่อรายวิชา ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับเมือง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาความรู้เ บื้องต้น เกี่ย วกับ เมือ งในเรื่ อ ง วิว ฒั นาการ ลัก ษณะทัว่ ไป การใช้ที่ดิน
กิจ กรรมทางเศรษฐกิจ การคมนาคม การติด ตอสื่ อ สาร และปั ญ หาของชุม ชนเมือ ง โดย
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสื บ ค้น กระบวนการคิด วิเ คราะห์ กระบวนการปฏิบ ตั ิ
กระบวนการเปรี ยบเทียบ กระบวนการแก้ปัญหา
เพื่อให้มีความเข้าใจในสภาพและการเปลี่ยนแปลงของชุมชนเมือง ตระหนักในปัญหา และ
เห็นแนวทางแก้ไข

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๖๒ ชื่อรายวิชา เหตุการณ์ ปัจจุบัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปั จจุบนั ปั ญหา และภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณี ตวั อย่าง
เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ในด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
โดยใช้กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการสื บค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดระบบข้อมูลอย่างเป็ น
ระบบด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสื บค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
147

เพื่อให้มีความเข้าใจสภาวการณ์ปัจจุบนั และแนวโน้ม ตระหนักในปั ญหาพื้นฐานสำคัญ


ของโลกและผลกระทบ และเห็นแนวทางในการวิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญ

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๐๑ ชื่อรายวิชา ศาสนาสากล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาศาสนาพราหมณ์ ฮินดู พุทธ คริ สต์ และอิสลามในเรื่ อง ความเป็ นมา ศาสดา
นิกายสำคัญ หลักคำสอน พิธีกรรม และอิทธิ พลที่มีต่อการดำเนินชีวิต
ศึกษาความสอดคล้องของหลักคำสอนทั้ง ๔ ศาสนา
โดยกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื บค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบตั ิ
กระบวนการเชิงเหตุผล กระบวนการของจริ ยธรรม
เพื่อให้มีความเข้าใจหลักคำสอนที่สำคัญของแต่ละศาสนา เห็นความสำคัญของศาสนาที่มี
ต่อการดำเนินชีวิต เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนิก และนำหลักคำสอนของศาสนามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์กบั ตนเองและส่ วนรวม

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๖๓ ชื่อรายวิชา หลักฐานประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญในประเทศไทย กระบวนการสื บสวนหาข้อเท็จจริ ง
ทางประวัติศาสตร์ ฝึ กการวิเคราะห์ และตีความหลักฐานที่เลือกใช้เป็ นกรณี ตวั อย่าง
เพื่อให้สามารถสรุ ปข้อเท็จจริ งทางประวัติศาสตร์ โดยใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์
กระบวนการสื บสวนหาข้อเท็จจริ งและการวิเคราะห์ตีความ เห็นคุณค่าและให้ความร่ วมมือในการ
อนุรักษ์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๖๔ ชื่อรายวิชา ประวัติศาสตร์ อเมริกา
148

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต


…………………………………..
ศึกษาประวัติสาสตร์สหรัฐอเมริ กาโยสังเขป โยเน้นตั้งแต่ยคุ ที่มีการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม
และการขยายถิ่นฐานไปสู่ ฝั่งตะวันตก ปัจจัยที่ส่งผลให้สหรัฐอเมริ กาเป็ นชาติมหาอำนาจ บทบาท
ของสหรัฐอเมริ กาในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ความสัมพันธ์กบั ประเทศไทยและเอเชียตะวันออก
เฉี ยงใต้
โดยกระบวนการกลุ่ม กระบวนการจัดการ กระบวนการสื บค้น และ กระบวนการคิดวิเคราะห์
เพื่อให้มีความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การสร้าง
ชาติให้ทนั สมัย และตระหนักในบทบาทของสหรัฐอเมริ กาในโลกปั จจุบนั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๘๑ ชื่อรายวิชา การเงิน การธนาคาร การคลัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเงินในเรื่ อง ความหมาย ความสำคัญ หน้าที่ สถาบันการ
เงิน บทบาทและหน้าที่ของธนาคารกลางและธนาคารพาณิ ชย์ และนโยบายการเงิน
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคลังในเรื่ อง ความหมายและความสำคัญ รายรับรายจ่าย
ของรัฐบาล และนโยบายการคลัง
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายการเงินและการคลัง ปั ญหาและการแก้ไขปั ญหาด้าน
การเงินและการคลังของประเทศ
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ปัญหา สื บค้น นำเสนอ
อภิปราย อธิบาย
เพื่อให้มีความเข้าใจระบบการเงิน การธนาคาร และการคลัง เห็นแนวทางในการนำความรู ้
ไปใช้ประโยชน์

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๒๑ ชื่อรายวิชา กฎหมายในชีวติ ประจำวัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
149

ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายในเรื่ อง ความหมาย ความสำคัญ ที่มา และประเภท


ของกฎหมาย
ศึกษากฎหมายไทยในเรื่ อง วิวฒั นาการ การจัดทำ การบังคับใช้และการยกเลิกกฎหมาย
หลักในการปกครองประเทศ
ศึกษาหลักกำหมายแพ่ง กฎหมายอาญา และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
ปั ญหาการใช้กฎหมายในสังคมไทย
โดย กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการเชิงเหตุผล กระบวนการคิด
วิเคราะห์
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจกฎหมายหลักที่ใช้ปกครองประเทศ เห็นความจำเป็ นที่จะต้องรู ้
กฎหมายและปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๔๒ ชื่อรายวิชา ประชากรกับคุณภาพชีวติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะประชากร ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อมกับคุณภาพชีวิต
ศึกษาสาเหตุ ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และแนวทางแก้ไขปั ญหาสังคมที่สำคัญ ๆ โดยเน้น
ปั ญหาสุ ขภาพอนามัย ปัญหาการประกอบอาชีพ ปั ญหาอาชญากรรม ปั ญหาสิ่ งเสพติดให้โทษ
ปั ญหาการขาดแคลนทรัพยากร ปัญหาความไม่สมดุลระหว่างจำนวนประชากรและทรัพยากร
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ปัญหา สื บค้น นำเสนอ
อภิปราย อธิบาย เพื่อให้ตระหนักในปั ญหาประชากรที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เห็นแนวทาง
ในการร่ วมมือกันแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส ๓๐๒๖๕ ชื่อรายวิชา ประวัตนิ ักวิทยาศาสตร์ และนักประดิษฐ์ ที่สำคัญของโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต
…………………………………..
ศึกษาประวัตินกั วิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ที่สำคัญของโลกในด้านชีวิต ผลงาน แนวคิด
สภาพสังคมที่เอื้ออำนวยหรื อเป็ นอุปสรรคต่อการสร้างผลงาน และผลกระทบที่มีต่อความก้าวหน้าทาง
วิทยาการ โดยใช้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการเชิงเหตุผล กระบวนการคิด
วิเคราะห์
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจรู ปแบบการดำเนินชีวิต วิธีการทำงาน เห็นคุณค่าของแนวคิด ผลงานที่
มีอิทธิพลต่อความก้าวหน้าทางวิทยาการ และเห็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
150

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษา๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก จากทารก
สู่ วยั เด็ก เติบโตตามเกณฑ์ เพศพัฒนา เพื่อนรัก สุ ขอนามัยวัยหนุ่มวัยสาว ความสัมพันธ์อนั ลึกซึ้ ง
พฤติกรรมเสี่ ยงเป็ นเหตุ รอบตัวเรา
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าโดย
วิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา การให้
เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์
ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มี
เจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบ
วินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับสาระ
ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด
151

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษา๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับ โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ ยาสามัญประจำบ้าน การใช้
สมุนไพร สิ ทธิผบู้ ริ โภค ภาวะโภชนาการ อาหารการกิน สุ ขภาพกายสุ ขภาพจิต อารมณ็และ
ความเครี ยด การฝึ กจิต ความสำคัญของการออกกำลังกาย ปั จจัยเสี่ ยงและพฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ช
ภาพ การเสริ มสร้างความปลอดภัยให้กบั ชีวิตและครอบครัว
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้า
โดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา การ
ให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์
ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มี
เจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบ
วินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับสาระ
ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด
152

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๑๑๐๓ ชื่อรายวิชา เทเบิลเทนนิส
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
วิเคราะห์อธิบาย และปฏิบตั ิ ความรู ้ทวั่ ไปและคุณค่าเทเบิลเทนนิ ส ความปลอดภัยในการ
เล่นเทนนิส ทักษะเบื้องต้นของนักเทนนิ ส การตีลูกโต้ดว้ ยวิธีจบั ไม้แบบต่างๆ การส่ งลูกเบื้องต้น
การนับคะแนนและการเล่นเทเบิลเทนนิ ส การตีลูกหมุนด้วยวิธีจบั ไม้แบบต่างๆ ทักษะการส่ งลูกชั้น
สู ง การตีลูกตัด การตีลูกหยอดและลูกยัน การตบลูก แบบฝึ กทักษะการเล่นเทนนิส กลวิธีการเล่น
เทนนิส กติกาการแข่งขันเทเบิลเทนนิ ส
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้
ศึกษาค้นคว้าโดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้
ปั ญหา การให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และ
ประสบการณ์ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ
ตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด
153

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๑๑๐๔ ชื่อรายวิชา กรีฑา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
วิเคราะห์อธิบาย และปฏิบตั ิ คุณค่าของกรี ฑาและการออกกำลังกาย การเสริ มสร้าง
สมรรถภาพทางกาย กรี ฑาประเภทลู่ กรี ฑาประเภทลาน การบาดเจ็บทางการกีฬา
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยน
ได้ศึกษาค้นคว้าโดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการ
แก้ปัญหา การให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้
และประสบการณ์ไปใช้ในการเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า
และตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการ
ทำงาน มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒


154

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษา๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของเด็กวัยเรี ยน วัย
รุ่ น และวัยต่างๆ การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกาย จิตใจ และอารมณ์ พัฒนาการทางเพศ ความ
เสมอภาคทางเพศ การวางตัวต่อเพศเดียวกันและเพศตรงข้าม อนามัยการเจริ ญพันธ์ การมีเพศ
สัมพันธ์กบั การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ วิธีปฏิบตั ิเพื่อหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ การป้ องกัน
ตนเองจากพฤติกรรมเสี่ ยง พฤติกรรมสุ ขภาพที่มีผลดีต่อสุ ขภาพ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่ส่งผลต่อ
สุ ขภาพ
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้า
โดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา การ
ให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์
ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มี
เจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบ
วินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษา๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
155

......................................................................................................................
................................
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ การปฐมพยาบาลเบื้อต้นการ
ตัดสิ นใจไปใช้บริ การสุ ขภาพ การใช้บริ การสาธารณสุ ข อาหารตามวัยและอาหารเฉพาะโรค
ฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร กฎหมายเกี่ยวกับการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค หลักการวิเคราะห์ขอ้ มูลโภชนาการ
สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต การจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด การฝึ กจิต การวางแผนเพื่อ
สุ ขภาพ การสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย หลักความปลอดภัย พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพและ
ความปลอดภัยเพื่อเห็นคุณค่าของการมีสุขภาพดี สร้างเสริ มความปลอดภัยและนำไปปฏิบตั ิใน
ชีวิตประจำวันจนเป็ นสุ ขนิสยั
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษา
ค้นคว้าโดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา
การให้เ หตุผ ล การคิด วิเ คราะห์อ ย่า งมีว ิจ ารณญาณ การทำงานร่ ว มกัน และนำความรู ้แ ละ
ประสบการณ์ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ
ตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๒๑๐๓ ชื่อรายวิชา ตะกร้ อ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
156

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของกีฬาตะกร้อ อธิ บายและปฏิบตั ิการสร้าง


ความคุน้ เคยในการเล่นลูกตะกร้อ การเคลื่อนไหวเท้าเพื่อเล่นลูกตะกร้อ เล่นลูกตะกร้อด้วยข้างเท้า
ด้านใน เล่นลูกตะกร้อด้วยหลังเท้า เล่นลูกตะกร้อด้วยเข่า เล่นลูกตะกร้อด้วยศีรษะ เล่นลูกตะกร้อ
ด้วยข้างเท้าด้านนอก การฝึ กทักษะรวม การเล่นเป็ นทีม
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษา
ค้นคว้าโดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา
การให้เ หตุผ ล การคิด วิเ คราะห์อ ย่า งมีว ิจ ารณญาณ การทำงานร่ ว มกัน และนำความรู ้แ ละ
ประสบการณ์ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ
ตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๒๑๐๔ ชื่อรายวิชา ตะกร้ อ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ศึกษาอธิบายและปฏิบตั ิ การฝึ กการโยนลูกตะกร้อ การเสิ ร์ฟลูกตะกร้อ เปิ ดลูกเสิ ร์ฟ
157

ตั้งลูกหรื อชงลูกตะกร้อ ขึ้นทำด้วยศีรษะ ขึ้นทำหรื อการรุ กด้วยการปาดและการเหยียบ ขึ้นทำหรื อ


การรุ กด้วยการกระโดดเตะด้านข้าง ขึ้นทำหรื อการรุ กด้วยการกระโดดเตะแบบลังกาหลัง รุ กด้วย
การกระโดดเตะสลับหลังและการเตะหยอด การสกัดกั้น กติกากีฬาเซปั กตะกร้อและการเป็ นผู ้
ตัดสิ น การเล่นเซปักตะกร้อเป็ นทีม
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษา
ค้นคว้าโดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา
การให้เ หตุผ ล การคิด วิเ คราะห์อ ย่า งมีว ิจ ารณญาณ การทำงานร่ ว มกัน และนำความรู ้แ ละ
ประสบการณ์ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ
ตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษา๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ศึกษา วิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ในแต่ละ
วัยคือ วัยทารก วัยก่อนเรี ยน วัยเรี ยน วัยรุ่ น วัยผูใ้ หญ่และวัยสู งอายุ สื่ อโฆษณาที่มีอิทธิ พลต่อการ
158

เจริ ญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่ น การปฏิบตั ิตนเกี่ยวกับอนามัยเจริ ญพันธุ์ของวัยรุ่ น อนามัยแม่


และเด็ก การวางแผนครอบครัว ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ โรคที่เกิดจากการตั้งครรภ์
ความขัดแย้งในครอบครัวและแนวทางป้ องกัน แก้ไข
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้า
โดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา การ
ให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์
ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มี
เจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบ
วินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รหัสตัวชี้วดั ๖ ตัวชี้วดั

สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์


มฐ.พ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓

สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มฐ.พ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษา๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ศึกษา วิเคราะห์ การกำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ โดยคำ นึง ถึง ความ
ประหยัดและคุณค่าทางโภชนาการ แนวทางการป้ องกันโรคที่เป็ นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่ วยและ
การตายของคนไทย ปัญหาสุ ขภาพในชุมชนและแนวทางแก้ไข การวางแผนการจัดเวลาในการออก
กำลังกาย การพักผ่อนและการสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย การทดสองสมรรถภาพทางกายและ
การพัฒนาสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ ปั จจัยเสี่ ยงและพฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพและแนวทางป้ องกัน
159

ปั ญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุ นแรงและวิธีหลีกเลี่ยง อิทธิ พลของสื่ อต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ


และความรุ นแรง เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ที่มีผลต่อสุ ขภาพและการเกิดอุบตั ิเหตุ วิธีการช่วยฟื้ น
คืนชีพอย่างถูกวิธี
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้า
โดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา การ
ให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์
ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มี
เจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบ
วินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รหัสตัวชี้วดั ๑๐ ตัวชี้วดั

สาระที่ ๔ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกันโรค


มฐ.พ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕

สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มฐ.พ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๓๑๐๓ ชื่อรายวิชา แชร์ บอล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ศึกษา วิเคราะห์ ปฏิบตั ิ เทคนิคและวิธีการเล่นกีฬาแชร์บอล การนำ หล กั ความรู ้
และทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาไปใช้เป็ นระบบเสริ ม
สร้างสุ ขภาพอย่างต่อเนื่อง เข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการและนำหลักความรู ้วิธีการไปขยายผลการ
เรี ยนรู้ให้กบั ผูอ้ ื่น
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้า
โดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา การ
ให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์
ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มี
160

เจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบ


วินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รหัสตัวชี้วดั ๓ ตัวชี้วดั

สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล


มฐ.พ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๒๓๑๐๔ ชื่อรายวิชา วอลย์ เลย์ บอล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ศึกษา วิเคราะห์ ปฏิบตั ิ เทคนิค และวิธี ก ารเล่น กีฬ าวอลเลย์บ อล กฎ กติก า ข้อ ตกลง
มารยาทในการเล่นและการดูกีฬา การออกกำลังกายและการเล่นกีฬาประเภทบุคคลและประเภททีม
การนำข้อปฏิบตั ิตามกฎกติกา ข้อตกลง แนวคิดจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬาไปประยุกต์ใช้ใน
การพัฒนาคุณภาพชีวิต วิธีการประยุกต์ใช้กลวิธีการรุ กและการป้ องกันตามสถานการณ์ของการเล่น
การพัฒนาสุ ขภาพของตนเองจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษา
ค้นคว้าโดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา
การให้เ หตุผ ล การคิด วิเ คราะห์อ ย่า งมีว ิจ ารณญาณ การทำงานร่ ว มกัน และนำความรู ้แ ละ
161

ประสบการณ์ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ


ตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษา สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รหัสตัวชี้วดั ๕ ตัวชี้วดั

สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล


มฐ.พ๓.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๓๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
สามารถดูแลสุ ขภาพ สร้างเสริ มเสริ มสุ ภาพ ป้ อกันโรค หลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง และ
พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุ นแรงได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพด้วยการวางแผนอย่างเป็ นระบบ แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทร ความเข้าใจ
ในอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคมและวัฒนธรรม ที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ การดำเนินชีวิต
และวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี ออกกำลังกาย เล่นกีฬาเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริ ม
สมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพโดยนำหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างถูกต้องสม่ำเสมอด้วยความ
ชื่นชมและสนุกสนาน แสดงความรับผีดชอบ ให้ความร่ วมมือ และปฏิบตั ิตามกฎ กติกา สิ ทธิ
หลักความปลอดภัยในการเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาจนประสบความสำเร็ จตามเป้ าหมาย
ของตนเองและทีม แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขันด้วยความมีน ้ำใจ
162

นักกีฬาและนำไปปฏิบตั ิในทุกโอกาสจนเป็ นบุคลิกภาพที่ดี วิเคราะห์และประเมินสุ ขภาพส่ วน


บุคคลเพื่อกำหนดกลวิธีลกความเสี่ ยงสร้างเสริ มสุ ขภาพดำรงสุ ขภาพ การป้ องกันโรค และการ
จัดการกับอารมณ์ และความเครี ยดได้ถูกต้องและเหมาะสมใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้าง
เสริ มให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดภัย และมีวิถีชีวิตชีวิต
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้า
โดยวิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปผลรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และ
ประสบการณ์ไปใช้ในการเรี ยนรู้สิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า
และตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษาและพลศึกษาสามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการ
ทำงาน มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการหลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับ
สาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด
รหัสตัวชี้วดั ชั้นปี ๒๙ ตัวชี้วดั
มฐ.พ ๑.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒ มฐ.พ ๒.๑ ม.๔/๑,ม๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔
มฐ.พ ๓.๑ ม.๔/๑,ม๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕ มฐ.พ ๓.๒ ม.๔/๑,ม๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๓๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
วิเคราะห์และประเมินสุ ขภาพส่ วนบุคคลเพื่อกำหนดกลวิธีลกความเสี่ ยงสร้างเสริ มสุ ขภาพดำรง
สุ ขภาพ การป้ องกันโรค และการจัดการกับอารมณ์ และความเครี ยดได้ถูกต้องและเหมาะสม
ใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสริ มให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดภัย และมีวิถีชีวิตชีวิต
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าโดยวิธี
ปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปผลรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหาการให้เหตุผล
การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์ไปใช้ในการ
เรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษา
และพลศึกษาสามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการหลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับสาระ
ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รหัสตัวชี้วดั ชั้นปี ๒๙ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๔ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกันโรค
มฐ.พ ๔.๑ ม.๔/๑,ม๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕,ม.๔/๖,ม.๔/๗
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มฐ.พ ๕.๑ ม.๔/๑,ม๔/๒,ม.๔/๓,ม.๔/๔,ม.๔/๕,ม.๔/๖,ม.๔/๗
163

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๓๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
สามารถดูแลสุ ขภาพ สร้างเสริ มเสริ มสุ ภาพ ป้ อกันโรค หลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง และพฤติกรรมเสี่ ยง
ต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุ นแรงได้อย่างมีประสิ ทธิภาพด้วยการวางแผน
อย่างเป็ นระบบ
แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทร ความเข้าใจในอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคมและ
วัฒนธรรม ที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ การดำเนินชีวิต และวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี
ออกกำลังกาย เล่นกีฬาเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
โดยนำหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างถูกต้องสม่ำเสมอด้วยความชื่นชมและสนุกสนาน
แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่ วมมือ และปฏิบตั ิตามกฎ กติกา สิ ทธิ หลักความปลอดภัยใน
การเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาจนประสบความสำเร็ จตามเป้ าหมายของตนเองและทีม
แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขันด้วยความมีน ้ำใจนักกีฬาและนำไป
ปฏิบตั ิในทุกโอกาสจนเป็ นบุคลิกภาพที่ดี
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าโดยวิธี
ปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปผลรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหาการให้เหตุผล
การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์ไปใช้ในการ
เรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษา
164

และพลศึกษาสามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ


การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการหลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับสาระ
ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด
รหัสตัวชี้วดั ชั้นปี ๒๙ ตัวชี้วดั
สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มฐ.พ ๑.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มฐ.พ ๒.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่น กีฬาไทย และกีฬาสากล
มฐ.พ ๓.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕ มฐ.พ ๓.๒ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๓๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
วิเคราะห์และประเมินสุ ขภาพส่ วนบุคคลเพื่อกำหนดกลวิธีลกความเสี่ ยงสร้างเสริ มสุ ขภาพดำรง
สุ ขภาพ การป้ องกันโรค และการจัดการกับอารมณ์ และความเครี ยดได้ถูกต้องและเหมาะสม
ใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสริ มให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดภัย และมีวิถีชีวิตชีวิต

โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าโดยวิธี


ปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปผลรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหาการให้เหตุผล
การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์ไปใช้ในการ
เรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษา
และพลศึกษาสามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการหลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับสาระ
ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รหัสตัวชี้วดั ชั้นปี ๒๙ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๔ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกันโรค
มฐ.พ ๔.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕,ม.๕/๖,ม.๕/๗
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มฐ.พ ๕.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕,ม.๕/๖,ม.๕/๗
165

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๓๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
สามารถดูแลสุ ขภาพ สร้างเสริ มเสริ มสุ ภาพ ป้ อกันโรค หลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง และพฤติกรรมเสี่ ยง
ต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุ นแรงได้อย่างมีประสิ ทธิภาพด้วยการวางแผน
อย่างเป็ นระบบ
แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทร ความเข้าใจในอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคมและ
วัฒนธรรม ที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ การดำเนินชีวิต และวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี
ออกกำลังกาย เล่นกีฬาเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
โดยนำหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างถูกต้องสม่ำเสมอด้วยความชื่นชมและสนุกสนาน
แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่ วมมือ และปฏิบตั ิตามกฎ กติกา สิ ทธิ หลักความปลอดภัยใน
การเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาจนประสบความสำเร็ จตามเป้ าหมายของตนเองและทีม
แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขันด้วยความมีน ้ำใจนักกีฬาและนำไป
ปฏิบตั ิในทุกโอกาสจนเป็ นบุคลิกภาพที่ดี
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าโดย
วิธีปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปผลรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหาการให้
เหตุผล การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์ไปใช้
ในการเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มีเจตคติต่อ
สุ ขศึกษาและพลศึกษาสามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการหลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับสาระ


ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด
รหัสตัวชี้วดั ชั้นปี ๒๙ ตัวชี้วดั
สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
166

มฐ.พ ๑.๑ ม.๖/๑,ม.๖/๒


สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มฐ.พ ๒.๑ ม.๖/๑,ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่น กีฬาไทย และกีฬาสากล
มฐ.พ ๓.๑ ม.๖/๑,ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔,ม.๖/๕ มฐ.พ 3.2 ม.๖/๑,ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา พ๓๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาแลพลศึกษา เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
วิเคราะห์และประเมินสุ ขภาพส่ วนบุคคลเพื่อกำหนดกลวิธีลกความเสี่ ยงสร้างเสริ มสุ ขภาพดำรง
สุ ขภาพ การป้ องกันโรค และการจัดการกับอารมณ์ และความเครี ยดได้ถูกต้องและเหมาะสม
ใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสริ มให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดภัย และมีวิถีชีวิตชีวิต
โดยการจัดประสบการณ์หรื อสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าโดยวิธี
ปฏิบตั ิจริ ง คิดวิเคราะห์ สรุ ปผลรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหาการให้เหตุผล
การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ การทำงานร่ วมกัน และนำความรู ้และประสบการณ์ไปใช้ในการ
เรี ยนรู ้สิ่งต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและตระหนัก มีเจตคติต่อสุ ขศึกษา
และพลศึกษาสามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มุ่งมัน่ ในการทำงาน มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ
การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการหลากหลาย ตามสภาพความเป็ นจริ ง สอดคล้องกับสาระ
ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ตอ้ งการวัด

รหัสตัวชี้วดั ชั้นปี ๒๙ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๔ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกันโรค
มฐ.พ ๔.๑ ม.๖/๑,ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔,ม.๖/๕,ม.๖/๖,ม.๖/๗
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มฐ.พ ๕.๑ ม.๖/๑,ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔,ม.๖/๕,ม.๖/๖,ม.๖/๗
167

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ


รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา ดนตรี๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ศึกษาเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี อ่าน เขียน ร้องโน้ตบทเพลงไทย อัตราจังหวะสอง
ชั้นโน้ตสากล ในกุญแจซอลและฟา ในบันไดเสี ยง C Major จำแนกประเภทของวงดนตรี ไทยและวง
ดนตรี ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ วงดนตรี พ้ืนเมือง วงดนตรี ไทย วงดนตรี สากล เปรี ยบเทียบอารมณ์
ความรู้สึกในการฟังดนตรี แต่ละประเภทถ่ายทอดและแสดงความคิดเห็นต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มี
ความเร็ วของจังหวะและความดังเบาที่แตกต่างกัน เข้าใจและรับผิดชอบการใช้และบำรุ งรักษาเครื่ อง
ดนตรี อย่างระมัดระวัง อธิบายความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรี ที่ต่างกันในแต่ละ
วัฒนธรรมตลอดจนการนำความรู้และหลักการทางดนตรี มาใช้กบั วิชาอื่นๆและชีวิตประจำวัน
โดยการวิเคราะห์สืบค้นและบันทึกข้อมูล และนำมาอภิปรายแสดงความคิดเห็นนำเสนอผล
งานและสื่ อสารการคิดที่เกิดจากความรู ้ การลงมือฝึ กทักษะ สามารถใช้ทกั ษะบูรณาการเข้ากับชีวิต
มีความตระหนักรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์ มีวินยั สนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ ดำรงชีวิตอยูอ่ ย่างพอเพียงมุ่งมัน่ ในการ
ทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ ตรงเวลา มีความรับผิดชอบและร่ วมกิจกรรมอย่าง
สร้างสรรค์

รหัสตัวชี้วดั
มฐ ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙
มฐ ๒.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒
รวม ๑๑ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๑๑๐๓ ชื่อรายวิชา นาฏศิลป์ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
168

จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑


......................................................................................................................
................................
(ละคร)
ศึกษาโดยการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะพื้นฐานของละครเวที ได้แก่ ละครสร้างสรรค์ การด้นสด
ภายใต้สถานการณ์ที่ถูกกำหนดให้ การแสดงเป็ นตัวละคร การใช้ร่างกายเสี ยงและภาษาในการสื่ อ
ความหมาย ตลอดจนการทำความเข้าใจกับการสร้างนาฏกรรม (Drama) จากการด้นสด

(นาฏศิลป์ )
ศึกษาเพื่อให้มีความรู้พ้ืนฐานทางนาฏศิลป์ ไทยในเรื่ องลักษณะและวิธีการแสดง โขน
นาฏศิลป์ มาตรฐาน นาฏศิลป์ พื้นบ้าน ฝึ กทักษะนาฏศิลป์ ไทยและนาฏศิลป์ พื้นบ้าน วิเคราะห์
วิจารณ์ และการประดิษฐ์ท่ารำ รวมทั้งการจัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย และตระหนักให้คุณค่าของ
การจัดกิจกรรมนาฏศิลป์ เพื่อบ่งบอกค่านิยม ประเพณี และวัฒนธรรมไทย

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม. ๑/๑ , ม๑/๒, ม๑/๓, ม๑/๔ ม๑/๕
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๒/๑,ม.๒/๒
ตัวชี้วดั ชั้น ๗ ตัวชี้วดั
รวมทั้งหมด ๗ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา ทัศนศิลป์ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
169

สาระทัศนศิลป์
ศึกษางานศิลปะจากธรรมชาติ จากฝี มือมนุษย์ ความเป็ นเอกภาพ ความกลมกลืน ความ
สมดุล ในงานศิลปะ ตลอดจนการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ในการวาดภาพ เรี ยนรู ้หลักการวาดภาพ
ทัศนียภาพ หลักการออกแบบ การออกแบบรู ปภาพ รู ปสัญลักษณ์
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย การนำเสนอข้อมูล และกระบวนการอื่นๆ
ด้วยความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา รู ้จกั การทำงานกลุ่ม การตัดสิ นใจของบุคคลอื่น ได้อย่างมี
คุณค่า มีความสุ ข และความพึงพอใจ

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มฐ.๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
มฐ.๑/๒ ม.๑/๑, ม./๑๒, ม.๑/๓
รวม ๙ ตัวชี้วดั

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา ดนตรี๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ศึกษาเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี อ่าน เขียนร้องโน้ตจากเพลงไทยอัตราจังหวะสอง
ชั้นโน้ตสากล เครื่ องหมายแปลงเสี ยง อธิ บายปั จจัยสำคัญที่มีอิทธิ พลในการสร้างสรรค์บทเพลง
170

จินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลงการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิด ในบทเพลง พัฒนาทักษะในการ


ร้องหรื อบรรเลงดนตรี และประเมินความสามารถตนเองหลังจากการฝึ กปฏิบตั ิ ความถูกต้องในการ
บรรเลง การควบคุมคุณภาพเสี ยง ความแม่นยำในการอ่านเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ อธิ บาย
อิทธิ พลของวัฒนธรรม และเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในประวัติศาสตร์ การ
เปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีกบั งานดนตรี ที่มีต่อรู ปแบบของดนตรี ในประเทศไทย นำหลักการจัดการ
แสดงกิจกรรมดนตรี ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เปรี ยบเทียบการใช้
องค์ประกอบดนตรี ที่มาจากแหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ ใช้เทคนิคในการร้องและการบรรเลงดนตรี รวม
กันเป็ นวง บรรยายอารมณ์และความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องด้าน
ดนตรี และบทบาทของดนตรี ในธุรกิจบันเทิง อธิ บายบทบาท และอิทธิ พลของดนตรี ในวัฒนธรรม
ของประเทศต่าง ๆนำหลักการจัดการแสดงกิจกรรมดนตรี ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
โดยการสื บค้นวิเคราะห์ขอ้ มูลและบันทึกข้อมูล สามารถตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจสามารถฝึ กทักษะและสื่ อสารความคิดในการใช้เทคโนโลยี มีความ
ตระหนักรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั สนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการ
ทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ มีเหตุมีผล มีความรับผิดชอบร่ วมกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์

สาระที่ ๒ ดนตรี
(ศ ๒.๑) ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗
(ศ ๒.๒) ม.๒/๑ ม.๒/๒
รวม ๙ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๒๑๐๓ ชื่อรายวิชา นาฏศิลป์ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
คิด วิเคราะห์ ศิลปะแขนงอื่นๆ กับการแสดง แสง สี เสี ยง ฉาก เครื่ องแต่งกายอุปกรณ์ในการ
แสดง เข้าใจหลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ และการละครอาศัย
หลักความมีเหตุผล ความมุ่งมัน่ ตั้งใจ เข้าใจความสัมพันธ์ของนาฏศิลป์ หรื อการละครกับสาระการ
เรี ยนรู้อื่นๆ ความหมาย ที่มา วัฒนธรรมและลักษณะเฉพาะของนาฏศิลป์ พื้นเมือง รู ปแบบการแสดง
ประเภทของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พื้นเมืองละครไทย ละครพื้นบ้าน ละครสมัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นอาศัย
เหตุผลกับหลักความเป็ นจริ งเข้าช่วย
171

รู้จกั ใช้หลักและวิธีการวิเคราะห์การแสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ การละครและรำวง


มาตรฐานทำให้ทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างสร้างสรรค์ โดยอาศัยกระบวนการ ค้นคว้า และนำมา
วิเคราะห์เพื่อเสนอแนวความคิดเห็นมานำเสนอ

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔ ม.๒/๕
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓

ตัวชี้วดั ชั้น ๘ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา ทัศนศิลป์ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ศึกษาแนวคิดและรู ปแบบของงานทัศนธาตุ ในงานทัศนศิลป์ สร้างงานโดยใช้ทศั นธาตุใน
งานทัศนศิลป์ ตลอดจนศึกษาการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ในงานของศิลปิ น เรี ยนรู ้การวาดภาพสื่ อความ
หมาย โดยการใช้เทคนิค และสามารถวิเคราะห์วิจารณ์งานทัศนศิลป์ เพื่อนำมาศึกษาการพัฒนางาน
ด้านทัศนศิลป์ วัฒนธรรมและผลงานที่สะท้อนความเป็ นงานทัศนศิลป์ อิทธิ พลของวัฒนธรรมที่มี
ต่องานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุคสมัย เรี ยนรู ้ในเรื่ องของงานออกแบบ โฆษณา
ออกแบบเรื่ องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรม การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะ
โดยใช้กระบวนการสื บค้น การคิดวิเคราะห์ การอภิปราย การนำเสนอข้อมูล และ
กระบวนการอื่นๆ ด้วยความตั้งใจ รับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา รู ้จกั การทำงานกลุ่ม การตัดสิ นใจ
ของบุคคลอื่น ได้อย่างมีคุณค่า มีความสุ ข และความพึงพอใจ ภาคภูมิใจ
172

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มฐ ๑.๑ ม๑/๒ ม๑/๑ ม๑/๔ ม๑/๓ ม๑/๕ ม๑/๖ ม๑/๗
มฐ ๑.๒ ม๒/๑ ม๒/๒ ม๒/๓

ตัวชี้วดั ชั้น ๙ ตัวชี้วดั

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา ดนตรี๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
เปรี ยบเทียบองค์ประกอบเทคนิคที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรี และศิลปะแขนงอื่น การ
ประพันธ์เพลง แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ ในอัตราจังหวะ (สองสี่ และ สี่ส่ ี) อธิ บายการเลือกใช้องค์
ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรี การเลือกจังหวะการเรี ยบเรี ยงทำนองเพลง วิเคราะห์
เปรี ยบเทียบความแตกต่างในบทเพลง ด้านสำเนียง อัตราจังหวะ รู ปแบบการประสานเสี ยง เครื่ อง
ดนตรี ที่บรรเลง ระหว่างบทเพลง ศึกษาประวัติและวิวฒั นาการของดนตรี ในแต่ละยุคสมัยของ
ดนตรี ไทยและดนตรี ตะวันตก มีส่วนร่ วม ในการจัด กิจกรรมดนตรี ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทาง
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ศึกษาเทคนิคการขับร้องและการบรรเลงดนตรี สามารถแสดงออก
ในการร้องเพลงเล่นดนตรี เดี่ยวหรื อรวมวงโดยเน้นคุณภาพเสี ยง นำเสนอหรื อจัดการแสดงดนตรี ที่
เหมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระ การเรี ยนรู ้อื่นในกลุ่มศิลปะ การเลือกวงดนตรี การเลือก
บทเพลง การเลือกและจัดเตรี ยมสถานที่ การเตรี ยมบุคลากร การเตรี ยมอุปกรณ์เครื่ องมือ การจัด
173

รายการแสดง อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรี ที่มีต่อบุคคลและสังคมอภิปรายปั จจัยลักษณะเด่นที่


ทำให้งานดนตรี น้ นั ได้รับการยอมรับ มีส่วนร่ วม ในการจัดกิจกรรมดนตรี ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทาง
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โดยการวิเคราะห์สืบค้น c]t บันทึกข้อมูล สามารถตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น ทำการ
ฝึ กทักษะ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ สามารถสื่ อสารนำเสนอผลงานและทำการคิดค้นการใช้เทคโนโลยี
ไปปรับใช้กบั ชีวิต มีความตระหนักรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์ มีวินยั สนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่ง
มัน่ ในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ มีเหตุผล มีความรับผิดชอบและร่ วมกิจกรรมอย่าง
สร้างสรรค์

สาระที่ ๒ ดนตรี
(ศ ๒.๑) ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗
(ศ ๒.๒) ม.๓/๑ ม.๓/๒
รวม ๕ ตัวชีว้ ดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๓๑๐๓ ชื่อรายวิชา นาฏศิลป์ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
เข้าใจองค์ประกอบของบทละครเกี่ยวกับโครงเรื่ องของตัวละครและการวางลักษณะนิ สยั
ความคิดหรื อแก่นของเรื่ องและบทสนทนาควรใช้ภาษาท่าหรื อภาษาทางนาฏศิลป์ ที่เป็ นภาษาท่า
ที่มาจากธรรมชาติและเป็ นภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์ รู ้จกั ใช้รูปแบบการแสดงในด้านการแสดง
เป็ นหมู่ ด้านแสดงเดี่ยว ด้านการแสดงละครและด้านการแสดงเป็ นชุด ซึ่ งใช้การประดิษฐ์ท่ารำและ
ท่าทางประกอบการแสดงเพื่อให้เกิดความสวยงาม
การวิจารณ์เปรี ยบเทียบงานนาฏศิลป์ ซึ่ งจะต้องใช้หลักความรู ้เรื่ อง องค์ประกอบนาฏศิลป์ มา
ใช้ในการวิจารณ์ มีหลักเกณฑ์จะต้องใช้ดงั นี้ จังหวะทำนอง การเคลื่อนไหวอารมณ์และความรู ้สึก
ภาษาท่า นาฏยศัพท์ รู ปแบบของการแสดงและการแต่งกาย
การจัดงานการแสดงในบทบาทหน้าที่ต่างๆ ทำให้งานประสบความสำเร็ จ วิธีการเลือกการ
แสดงต้องเข้าใจประเภทของงาน ดำเนินการเป็ นขั้นตอนทำให้เกิดคุณค่าและประโยชน์ของการ
แสดง เข้าใจความหมายของข้อมูลของละครกับชีวิต
ในการออกแบบสร้างสรรค์อุปกรณ์ และเครื่ องแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์ ต้องรักใน
ความเป็ นไทย การละครในชีวิตประจำวันมีความสำคัญต่อชาติและบทบาทของนาฏศิลป์ เป็ นสิ่ งที่
เราควรอนุรักษ์ไว้
174

โดยใช้กระบวนการ สื บค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปราย และสรุ ป เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจ


ความคิดตระหนัก เห็นคุณค่าของความใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน มุ่งมัน่ ในการทำงาน นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจำวัน

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔,ม.๓/๕ ม.๓/๖,ม.๓/๗
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓

ตัวชี้วดั ชั้น ๑๐ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๒๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา ทัศนศิลป์ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ศึกษาเทคนิค วิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ ของศิลปิ น บรรยายงานทัศนศิลป์ ที่เลือก
สามารถเลือกวิธีการและออกแบบวิธีการใช้ทศั นธาตุในการสร้างงานทัศนศิลป์ ตลอดจนสร้างงาน
ทัศนศิลป์ แบบ ๒ มิติ ๓ มิติ ทั้งไทยและสากล การสร้างงานสื่ อผสม ระบุอาชีพและทักษะอาชีพที่
เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์รูปแบบ เนื้ อหา คุณค่าของงานทัศนศิลป์ ของผูเ้ รี ยนและบุคคล
อื่น สร้างงานทัศนศิลป์ ที่สื่อความหมายและเรื่ องราว โดยใช้เทคนิคและวิธีการที่หลากหลาย มีการ
จัดนิทรรศการ การบรรยายความแตกต่างของทัศนศิลป์ แต่ละยุตสมัย
โดยใช้กระบวนการสื บค้น การคิดวิเคราะห์ การอภิปราย การนำเสนอผลงาน และ
กระบวนการอื่นๆ ด้วยความตั้งใจ รับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา รู ้จกั การทำงานกลุ่ม การตัดสิ นใจ
ของบุคคลอื่น ได้อย่างมีคุณค่า มีความสุ ข

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มฐ ๑.๑ ม๓/๑ ม๓/๒ ม๓/๓ ม๓/๔ ม๓/๕ ม๓/๖
มฐ ๑.๒ ม๓/๑ ม๓/๒
รวม ๘ ตัวชีว้ ดั
175

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๓๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา ศิลปะพืน้ ฐาน๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
สาระนาฏศิลป์
มีความมุ่งมัน่ ในการสื บค้นข้อมูลของการแสดงต่างๆ เช่น ระบำ รำ ฟ้ อน การแสดงพื้นเมือง
ต่างๆ การละครไทย การละครสากล แล้ววิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อให้เกิดทักษะในการแสดงหลากหลาย
รู ปแบบเพื่อสร้างสรรค์การแสดงต่างๆ ในรู ปแบบละครสั้นในรู ปแบบที่ชื่นชอบ ซึ่ งประกอบด้วย
ความเป็ นมาองค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ และละครพูดเช่นละครโศกนาฏกรรม ละคร
สุ ขนาฏกรรม ละครแนวเหมือนจริ งละครแนวไม่เหมือนจริ ง แล้วจึงนำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์
รู้จกั ใช้ความใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยนในการสื บค้น การแสดงนาฏศิลป์ เพื่อให้เหมาะสมกับงานในโอกาส
ต่างๆ หรื อจะสร้างสรรค์การแสดงใหม่ๆ เพื่อจะนำมาจัดเป็ นการแสดงในวันสำคัญของโรงเรี ยนแต่
ต้องจัดแสดงให้เหมาะสมกับงานวันสำคัญและโอกาสด้วย

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๔/๑
ตัวชี้วดั ชั้น ๓ ตัวชี้วดั
176

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๓๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา ศิลปะพืน้ ฐาน๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
สาระนาฏศิลป์
มีความมุ่งมัน่ ในการสื บค้นข้อมูลของการแสดงต่างๆ เช่น ระบำ รำ ฟ้ อน การแสดงพื้น
เมืองต่างๆ การละครไทย การละครสากล แล้ววิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อให้เกิดทักษะในการแสดงหลาก
หลายรู ปแบบเพื่อสร้างสรรค์การแสดงต่างๆ ในรู ปแบบละครสั้นในรู ปแบบที่ชื่นชอบ ซึ่ งประกอบ
ด้วยความเป็ นมาองค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ และละครพูดเช่นละครโศกนาฏกรรม ละคร
สุ ขนาฏกรรม ละครแนวเหมือนจริ งละครแนวไม่เหมือนจริ ง แล้วจึงนำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์
รู้จกั ใช้ความใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยนในการสื บค้น การแสดงนาฏศิลป์ เพื่อให้เหมาะสมกับงานในโอกาส
ต่างๆ หรื อจะสร้างสรรค์การแสดงใหม่ๆ เพื่อจะนำมาจัดเป็ นการแสดงในวันสำคัญของโรงเรี ยนแต่
ต้องจัดแสดงให้เหมาะสมกับงานวันสำคัญและโอกาสด้วย

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๔/๑,ม.๔/๒
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๔/๑
ตัวชี้วดั ชั้น ๓ ตัวชี้วดั
177

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๓๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา ศิลปะพืน้ ฐาน๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
สาระทัศนศิลป์
ศึกษาทฤษฎีและสร้างงานทัศนศิลป์ โดยการวิเคราะห์จากทัศนธาตุ จุด เส้น สี น้ำหนัก
ทฤษฎีการวาดภาพ แรเงา ตลอดจนการเรี ยนรู ้ในเรื่ องของการรวบรวมข้อมูลในลักษณะของแฟ้ ม
สะสมงาน
โดยใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูล การคิดวิเคราะห์ การสื บค้น การอภิปราย การนำเสนอ
ผลงาน และกระบวนการอื่นๆ ด้วยความตั้งใจ รับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา รู ้จกั การทำงานกลุ่ม
การตัดสิ นใจของบุคคลอื่น ได้อย่างมีคุณค่า มีความสุ ข
สาระดนตรี
ศึกษาเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เครื่ องหมายกำหนดอัตราจังหวะเครื่ องหมาย
กำหนดบันไดเสี ยง อ่าน เขียน โน้ตดนตรี ไทยอัตราจังหวะ ๒ ชั้น และ ๓ ชั้นและโน้ตสากล ใน
อัตราจังหวะต่าง ๆ สร้างเกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์เพลงและคุณค่าผลงานการเล่น
ดนตรี ของตนเองและผูอ้ ื่นได้อย่างเหมาะสมเปรี ยบเทียบลักษณะเด่นของเครื่ องดนตรี วงดนตรี
ภาษา เนื้อร้อง สำเนียง องค์ประกอบบทเพลง ในแต่ละวัฒนธรรม
โดยการวิเคราะห์ขอ้ มูล อภิปราย อธิ บาย แสดงความคิดเห็น นำเสนอผลงานการฝึ กทักษะ
การคิด เพื่อให้มีความรู้สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นำทักษะไปใช้กบั ชีวิต มีความตระหนักรักชาติ
ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวินยั สนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทำงานรักความ
เป็ นไทย ตรงเวลา ความมีเหตุผล มีความรับผิดชอบ

สาระนาฏศิลป์
ศึกษาการประดิษฐ์ท่ารำที่ใช้ประยุกต์ในการแสดงแบบเดี่ยวและแบบกลุ่มซึ่ งสามารถสื่ อถึง
ความหมายของท่าแต่ละท่าโดยการสื บค้นข้อมูลจากประวัติความเป็ นมาโดยดูที่ท่าทางที่ใช้ในการ
ประดิษฐ์ท่ารำ และท่ารำแต่ละท่าเหมาะสมหรื อไม่กบั เพลงที่ใช้ในการแสดง
คิดวิเคราะห์หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์สิ่งต่างๆ ที่อยูใ่ นการชมการแสดงนาฏศิลป์
และละคร โดยค้นหาข้อมูลเพื่อให้เป็ นข้อมูลในการวิจารณ์เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการ
แสดง
ได้รู้และเข้าใจประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ และการละครวิวฒั นาการที่เปลี่ยนแปลงจาก
อดีตสู่ ปัจจุบนั ที่เปลี่ยนแปลงเป็ นคุณค่าและความงาม
178

มีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยนเพื่อศึกษาวิเคราะห์ ความเป็ นมาของบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ว่า


บุคคลสำคัญท่านใดประดิษฐ์คิดค้นการละครชุดใดบ้าง เพื่อสื บค้นประวัติการละครชุดนั้นต่อไป
ว่าการละครของไทยชุดนั้นอยูใ่ นยุคสมัยใด มีความแพร่ หลายในยุคสมัยนั้นมากเท่าไหร่ เนื่องจาก
ประวัติความเป็ นมาของการละครของไทยนั้นต่างกันตามแต่ละยุคแต่ละสมัยซึ่ งในแต่ละยุคจะมี
วรรณกรรมที่บ่งบอกให้เห็นในแต่ละยุคจึงควรค้นคว้าหาความจริ งเพื่อจัดเก็บเป็ นข้อมูลและศึกษา
การแสดงนาฏศิลป์ วัฒนธรรมท้องถิ่นไว้เพื่อสื บสานวัฒนธรรมต่อไป
โดยอาศัยกระบวนการ สื บค้นข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลและสื บค้นข้อมูลเพื่อเข้าใจ ใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน
มีวินยั มีความมุ่งมัน่ มีความอดทนและนำมาประยุกต์ในชีวิตประจำวัน

สาระที่ ๑ ทํศนศิลป์
มฐ ๑.๑ ม๑/๗ ม๑/๑๐
รวม ๒ ตัวชีว้ ดั
สาระที่ ๒ ดนตรี
(ศ ๒.๑) ม.๕/๔ ม.๕/๖
(ศ ๒.๒) ม.๕/๓
รวม ๓ ตัวชีว้ ดั
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม. ๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕ มฐ. ศ ๓.๒ ม.๕/๓
ตัวชี้วดั ชั้น ๔ ตัวชี้วดั
รวมทั้งหมด ๙ ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๓๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา ศิลปะพืน้ ฐาน๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
179

สาระทัศนศิลป์
ศึกษา วิเคราะห์ เหตุผลที่สงั คมยอมรับในผลงานทัศนศิลป์ ของศิลปิ น เรี ยนรู ้หลักการวาด
ภาพล้อเลียน หลักการวาดภาพการ์ตูน และวาดภาพการ์ตูน ภาพล้อเลียนต่างๆ
โดยใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูล การสื บค้น การอภิปราย การนำเสนอผลงาน และ
กระบวนการอื่นๆ ด้วยความตั้งใจ รับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา รู ้จกั การทำงานกลุ่ม การตัดสิ นใจ
ของบุคคลอื่น ได้อย่างมีคุณค่า มีความสุ ข
สาระดนตรี
ศึกษาเทคนิคการร้องเพลงและการถ่ายทอดอารมณ์เพลง สามารถบรรเลงเครื่ องดนตรี เดี่ยว
และหรื อรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดงอธิ บายบทบาทของงาน
ดนตรี ในการสะท้อนแนวความคิดค่านิยมและความเชื่อ ที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม
โดยการสื บค้น วิเคราะห์ขอ้ มูลแสดงความคิดเห็นและนำเสนอผลงาน จากการฝึ กทักษะ มี
ความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้ บูรณาการแก้ปัญหาเป็ น มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์ สนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ อยู่
อย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบและร่ วม
กิจกรรมอย่างสร้างสรรค์
สาระนาฏศิลป์
ศึกษาการประดิษฐ์ท่ารำที่ใช้ประยุกต์ในการแสดงแบบเดี่ยวและแบบกลุ่มซึ่ งสามารถสื่ อถึงความ
หมายของท่าแต่ละท่าโดยการสื บค้นข้อมูลจากประวัติความเป็ นมาโดยดูที่ท่าทางที่ใช้ในการ
ประดิษฐ์ท่ารำ และท่ารำแต่ละท่าเหมาะสมหรื อไม่กบั เพลงที่ใช้ในการแสดง
คิดวิเคราะห์หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์สิ่งต่างๆ ที่อยูใ่ นการชมการแสดงนาฏศิลป์ และ
ละคร โดยค้นหาข้อมูลเพื่อให้เป็ นข้อมูลในการวิจารณ์เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการแสดง
ได้รู้และเข้าใจประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ และการละครวิวฒั นาการที่เปลี่ยนแปลงจาก
อดีตสู่ ปัจจุบนั ที่เปลี่ยนแปลงเป็ นคุณค่าและความงาม
มีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยนเพื่อศึกษาวิเคราะห์ ความเป็ นมาของบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ว่า
บุคคลสำคัญท่านใดประดิษฐ์คิดค้นการละครชุดใดบ้าง เพื่อสื บค้นประวัติการละครชุดนั้นต่อไป
ว่าการละครของไทยชุดนั้นอยูใ่ นยุคสมัยใด มีความแพร่ หลายในยุคสมัยนั้นมากเท่าไหร่ เนื่องจาก
ประวัติความเป็ นมาของการละครของไทยนั้นต่างกันตามแต่ละยุคแต่ละสมัยซึ่ งในแต่ละยุคจะมี
วรรณกรรมที่บ่งบอกให้เห็นในแต่ละยุคจึงควรค้นคว้าหาความจริ งเพื่อจัดเก็บเป็ นข้อมูลและศึกษา
การแสดงนาฏศิลป์ วัฒนธรรมท้องถิ่นไว้เพื่อสื บสานวัฒนธรรมต่อไป
โดยอาศัยกระบวนการ สื บค้นข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลและสื บค้นข้อมูลเพื่อเข้าใจ ใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน
มีวินยั มีความมุ่งมัน่ มีความอดทนและนำมาประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มฐ ๑.๑ ม๑/๑๑
มฐ ๑.๒ ม๒/๑๓
รวม ๒ ตัวชีว้ ดั
สาระที่ ๒ ดนตรี
(ศ ๒.๑) ม.๕/๕
(ศ ๒.๒) ม.๕/๔
180

รวม ๒ ตัวชี้วดั
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม. ๕/๓,ม.๕/๔,ม.๕/๕ มฐ. ศ ๓.๒ ม.๕/๓
ตัวชี้วดั ชั้น ๘ ตัวชี้วดั

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๓๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา ศิลปะพืน้ ฐาน๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
สาระทัศนศิลป์
ศึกษาศิลปะไทย ศิลปะตะวันตก และอิทธิ พลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีต่องาน
ทัศนศิลป์ สร้างงานทัศนศิลป์ ในรู ปแบบตะวันออกและตะวันตก ตลอดจนเรี ยนรู ้การวิจารณ์งาน
ทัศนศิลป์
โดยใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูล การแสดงความคิดเห็น การสื บค้น การอภิปราย
การนำเสนอผลงาน และกระบวนการอื่นๆ ด้วยความตั้งใจ รับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา รู ้จกั การ
ทำงานกลุ่ม การตัดสิ นใจของบุคคลอื่น ได้อย่างมีคุณค่า มีความสุ ข
181

สาระดนตรี
เปรี ยบเทียบถ่ายทอดอารมณ์และความรู ้สึกที่ได้รับจากงานดนตรี ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง
กันนำเสนอแนวทางในการส่ งเสริ มและอนุรักษ์ดนตรี ไทยในฐานะมรดกของชาติ
โดยการวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น สามารถสื่ อสารนำเสนอผลงาน การแก้ปัญหาและการ
อนุรักษ์และส่ งเสริ มนำความรู้ไปพัฒนาเทคโนโลยีใช้กบั ชีวิตสร้างความตระหนักรักชาติ ศาสน์
กษัตริ ย์ ซื่อสัตย์สุจริ ต สนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิต
สาธารณะ ความมีเหตุผล มีความรับผิดชอบ
สาระนาฏศิลป์
รู้จกั ใช้เทคนิคการจัดการแสดง ประกอบด้วย แสง สี เสี ยง ฉาก อุปกรณ์ สถานที่ เครื่ องแต่ง
กายเพื่อนำมาปฏิบตั ิ วิเคราะห์ ประเมินคุณภาพของการแสดงด้านการแสดง คุณภาพองค์ประกอบ
ของการแสดงมาอธิบาย การสร้างสรรค์ผลงาน นำมาจัดการแสดงในวันสำคัญของโรงเรี ยน
ประยุกต์ชุดการแสดงประจำโรงเรี ยน
โดยใช้กระบวนการ สื บค้นข้อมูล วิเคราะห์ อธิ บาย บันทึกข้อมูลเสนอแนวคิด เป็ นผลทำให้
ใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน รักความเป็ นไทย และมุ่งมัน่ ในการลงมือปฏิบตั ิงาน
สาระที่ ๑ ทํศนศิลป์
มฐ ๑.๑ ม๑/๘
มฐ ๑.๒ ม๒/๑๒ ม๒/๑๔
รวม ๓ ตัวชีว้ ดั
สาระที่ ๒ ดนตรี
(ศ ๒.๑) ม.๖/๗
(ศ ๒.๒) ม.๖/๕
รวม ๒ ตัวชีว้ ดั

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๑ ม.๖/๖,ม.๖/๗,ม.๖/๘
ตัวชี้วดั ชั้น ๓ ตัวชี้วดั
รวมทั้งหมด ๘ ตัวชี้วดั
182

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๓๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา ศิลปะพืน้ ฐาน๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๐.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
สาระทัศนศิลป์
ศึกษาทฤษฎีการออกแบบ และออกแบบผลงานด้านทัศนศิลป์ โดยใช้ความรู ้พื้นฐานของ
การออกแบบ ตลอดจนการออกแบบโดยการใช้เทคโนโลยี
โดยใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูล การแสดงความคิดเห็น การสื บค้น การนำเสนอผลงาน
และกระบวนการอื่นๆ ด้วยความตั้งใจ รับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา รู ้จกั การทำงานกลุ่ม การ
ตัดสิ นใจของบุคคลอื่น ได้อย่างมีคุณค่า มีความสุ ข
สาระดนตรี
วิเคราะห์และนำดนตรี ไปประยุกต์ใช้กบั การผ่อนคลาย การพัฒนามนุษย์ การ
ประชาสัมพันธ์ การบำบัดรักษา การทำธุรกิจ เพื่อการศึกษาหรื องานอื่น ๆ
โดยการวิเคราะห์แสดงความคิดเห็น สร้างองค์ความรู ้ นำเสนอสื่ อสารผลงาน ลงมือฝึ ก
ปฏิบตั ิเห็นคุณค่านำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์ ซื่อสัตย์
สุจริ ต สนใจใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย ความมีเหตุผล มีความรับผิดชอบ

สาระนาฏศิลป์
183

ในการสื บค้นข้อมูลของวิวฒั นาการของนาฏศิลป์ และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึง


ปั จจุบนั ต้องมีความรักความเป็ นไทยและต้องควบคู่ไปกับการมีเหตุมีผล นาฏศิลป์ ย่อมมีการ
วิวฒั นาการตลอดเวลาเราต้องมีความรับผิดชอบในการค้นหาข้อมูลให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพ
และในการทำงานเหล่านี้ตอ้ งมีวินยั ในการวิวฒั นาการ นาฏศิลป์ และการละครมีการพัฒนามาตลอด
จึงจำเป็ นต้องให้ความสำคัญในอดีตและปั จจุบนั นาฏศิลป์ ถือว่าเป็ นการแสดงที่แสดงออกถึงชาติมา
ตั้งแต่อดีต และในปัจจุบนั ก็มีการแสดงสื บต่อมาแต่แตกต่างกันไปที่ทำให้ดูน่าสนใจ และดูแปลกตา
เหมือนเป็ นวิวฒั นาการของนาฏศิลป์ เช่นเดียวกันกับการละคร ก็มีหลายแบบเช่นกัน ซึ่ งเป็ น
เอกลักษณ์ไทยมาช้านานและยังมีละครอีกหลายอย่างที่มีมาแต่อดีตและคนสมัยใหม่นำมาพัฒนาให้
เข้ากับยุคสมัยในปัจจุบนั
โดยอาศัยกระบวนการ สื บค้นข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลและนำเสนอข้อมูล

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มฐ ๑.๑ ม๑/๕ ม๑/๖
รวม ๒ ตัวชีว้ ดั
สาระที่ ๒ ดนตรี
(ศ ๒.๑) ม.๖/๘
รวม ๑ ตัวชีว้ ดั
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มฐ. ศ ๓.๒ ม.๖/๓,ม.๖/๔
ตัวชี้วดั ชั้น ๓ ตัวชี้วดั
รวมทั้งหมด ๖ ตัวชี้วดั
184

รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ศ๓๒๒๐๓ ชื่อรายวิชา นาฏศิลป์ ไทยเพิม่ เติม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ ไทย ท่ารำและการแต่งกายตามแบบแผน ทั้งแบบมาตรฐานและ


พื้นเมือง รำตามแบบแผนเบื้องต้น เพื่อให้มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรำเบื้องต้น สามารถรำตาม
แบบแผน ประดิษฐ์ อุปกรณ์ประกอบในการร่ ายรำได้ ได้ดว้ ยความสนุกเพลินเพลิน

ผลการเรียนรู้
๑. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่ องนาศิลป์ ไทย
๒.ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนาฏยศัพท์
๓ บอกประวัติความเป็ นมาของรำกฤษดาภินิหารได้
๔.สามารถรำกฤษดาภินิหารได้
๕. บอกนาฏศิลป์ พื้นเมืองเรณูนครได้
๖.สามารถรำนาฏศิลป์ พื้นเมืองเรณูนครได้
๗..สามารถประดิษฐ์ท่ารำและอุปกรณ์ประกอบในการร่ ายรำ
185

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี


รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา คอมพิวเตอร์ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.๑ เป็ นรายวิชาที่มุ่งเน้นให้ผู ้


เรี ยนได้เข้าใจ เห็นคุณค่า มีทกั ษะ มีความคิดสร้างสรรค์ และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการสื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล เรี ยนรู ้ แก้ปัญหา อธิ บาย วิเคราะห์ และทำงานอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม มีเจตคติที่ดี ต่องานสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์
โดยให้ผเู้ รี ยนแสดงออกด้วยการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง ประวัติ หลักการทำงาน องค์ประกอบและ
ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์ , ความหมายความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ, การค้นหาข้อมูล
ผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์, การใช้งานโปรแกรมประมวลคำ, การใช้งานโปรแกรมกราฟิ กสร้างงาน,
ผูเ้ รี ยนจะต้องนำสาระที่ ๓ เรื่ องการออกแบบเทคโนโลยี และสาระที่ ๕ เรื่ องเทคโนโลยี
เพื่อการทำงานและอาชีพ มาบูรณาการในเรื่ องการทำงานด้วย

ตัวชี้วดั ชั้นปี มี ๖ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานที่ ง.๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐานที่ ง.๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓
186

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ๑ ชั้น ม.๑ เป็ นรายวิชาที่
มุ่งเน้นให้ผเู้ รี ยนได้เข้าใจ เห็นคุณค่า มีทกั ษะ มีความคิดสร้างสรรค์ และใช้กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการสื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล เรี ยนรู ้ แก้ปัญหา อธิ บาย วิเคราะห์ และทำงาน
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม มีเจตคติที่ดี ต่องานสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์
โดยให้ผเู้ รี ยนแสดงออกด้วยการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง ประวัติ หลักการทำงาน องค์ประกอบและ
ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์ , ความหมายความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ, การค้นหาข้อมูล
ผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์, การใช้งานโปรแกรมประมวลคำ, การใช้งานโปรแกรมกราฟิ กสร้างงาน,
ผูเ้ รี ยนจะต้องนำสาระที่ ๓ เรื่ องการออกแบบเทคโนโลยี และสาระที่ ๕ เรื่ องเทคโนโลยี
เพื่อการทำงานและอาชีพ มาบูรณาการในเรื่ องการทำงานด้วย

ตัวชี้วดั ชั้นปี มี ๖ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานที่ ง.๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐานที่ ง.๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓
187

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ๒ ชั้น ม.๒ เป็ นรายวิชาที่


่มุงเน้นให้ผเู้ รี ยนได้เข้าใจ เห็นคุณค่า มีทกั ษะ มีความคิดสร้างสรรค์ และใช้กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการสื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล เรี ยนรู ้ แก้ปัญหา อธิ บาย วิเคราะห์ และทำงาน
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม มีเจตคติที่ดี ต่องานสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์
โดยให้ผเู้ รี ยนแสดงออกด้วยการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ , ความหมาย
และชนิดของระบบเครื อข่าย, ประโยชน์ของระบบเครื อข่าย, การประมวลผลข้อมูลให้เป็ น
สารสนเทศ, หลักการแก้ปัญหา, การค้นหาข้อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต, การนำ
เสนอสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, การใช้งานโปรแกรมตารางทำการ, การใช้งาน
โปรแกรมนำเสนอ,
ผูเ้ รี ยนจะต้องนำสาระที่ ๓ เรื่ องการออกแบบเทคโนโลยี และสาระที่ ๕ เรื่ องเทคโนโลยี
เพื่อการทำงานและอาชีพ มาบูรณาการในเรื่ องการทำงานด้วย

ตัวชี้วดั ชั้นปี มี ๖ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานที่ ง.๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๓/๓
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐานที่ ง.๒.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓
188

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา การงานอาชีพฯ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................

เข้าใจกระบวนการทำงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงาน มีทกั ษะ


การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ ในเรื่ องเข้าใจกระบวนการ
ทำงานที่มีประสิ ทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงาน มีทกั ษะการแสวงหาความรู ้ ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ ในเรื่ องใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา และการจัดการ
ผลผลิต อย่างถูกต้องและปลอดภัย โดยถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพฉายเพื่อนำไปสู่ การสร้างชิ้นงาน
หรื อแบบจำลองความคิดและการรายงานผล เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ ง
แวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีดว้ ยการลดการใช้ทรัพยากรหรื อเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มี
ผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อม การจัดตกแต่งบ้านและสวน การเตรี ยมการประกอบอาหาร การให้
บริ การอาหารและเครื่ องดื่ม การเลี้ยงสัตว์ การประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุที่มีในท้องถิ่น มีลกั ษณะ
นิสยั การทำงาน ที่เสี ยสละ มีคุณธรรม ตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสำนึกในการ
ใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุม้ ค่า
เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดีและเห็นความสำคัญของการประกอบอาชีพ
วิธีการหางานทำ คุณสมบัติที่จำเป็ นสำหรับการมีงานทำ วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่ อาชีพ มีทกั ษะพื้น
ฐานที่จำเป็ นสำหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือก
ในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู ้ ความถนัด และความสนใจสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่ งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีดว้ ยการลดการใช้ทรัพยากรหรื อเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มี
ผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อม

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา การงานอาชีพฯ๒
189

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน


จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

อธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิ ทธิ ภาพเป็ นการปฏิบตั ิตามกระบวนการทำงานโดยการ


ทำตามลำดับขั้นตอนมีความสามารถทำงานสำเร็ จตามเป้ าหมายที่วางไว้ การซัก ตาก พับ เก็บ
เสื้ อผ้าที่ตอ้ งดูแลอย่างประณี ต การสร้างชิ้นงานหรื อผลงาน การเตรี ยมประกอบอาหาร ประเภท
สำรับ การประดิษฐ์บรรจุภณั ฑ์จากวัสดุธรรมชาติ ธุรกิจประเภทต่าง ๆ การขยายพันธ์พืช การติด
ตั้ง/ประกอบผลิตภัณฑ์
อธิบายและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้หรื อวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพฉายเพื่อนำไปสู่ การสร้างต้นแบบและแบบจำลองสิ่ งของ
เครื่ องใช้หรื อถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็ นแบบจำลองความคิด
อธิปรายการหางานด้วยวิธีที่หลากหลายวิเคราะห์ทางสู่ อาชีพประเมินทางเลือกในการ
ประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู ้ ความถนัดและความสนใจของตนเอง
โดยใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการทำงาน การจัดการ การแก้ปัญหา การ
ทำงานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู ้มีคุณธรรม ลักษณะนิ สยั ในการทำงาน มีจิตสำนึกใน
การใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา การงานอาชีพฯ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
190

รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.๓ เป็ นรายวิชาที่มุ่งเน้นให้ผู ้


เรี ยนได้เข้าใจ เห็นคุณค่า มีทกั ษะ มีความคิดสร้างสรรค์ และใช้กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการสื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล เรี ยนรู ้ แก้ปัญหา อธิ บาย วิเคราะห์ และทำงาน
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม มีเจตคติที่ดี ต่องานสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์
โดยให้ผเู้ รี ยนแสดงออกด้วยการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง หลักการทำงานและองค์ประกอบของ
คอมพิวเตอร์, การใช้โปรแกรมสำเร็ จรู ปประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ, การเลือกข้อมูลที่เหมาะสม
มาสร้างงานหรื อแก้ปัญหา ,การจัดทำและพัฒนาโครงงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, การติดต่อ
สื่ อสารผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต, การนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ,
เลือกใช้ซอฟต์แวร์ในการสร้างงานที่เหมาะสม, การใช้งานซอฟต์แวร์ สำเร็ จรู ป
ผูเ้ รี ยนจะต้องนำสาระที่ ๓ เรื่ องการออกแบบเทคโนโลยี และสาระที่ ๕ เรื่ องเทคโนโลยี
เพื่อการทำงานและอาชีพ มาบูรณาการในเรื่ องการทำงานด้วย

ตัวชี้วดั ชั้นปี มี ๖ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานที่ ง.๑.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐานที่ ง.๒.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๓๑๒๐๑ ชื่อรายวิชา คอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
191

รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้น ม.๔ เป็ นรายวิชาที่มุ่งเน้นให้ผู ้


เรี ยนได้เข้าใจ เห็นคุณค่า มีทกั ษะ มีความคิดสร้างสรรค์ และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการสื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล เรี ยนรู ้ แก้ปัญหา อธิ บาย วิเคราะห์ และทำงานอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม มีเจตคติที่ดี ต่องานสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์
โดยให้ผเู้ รี ยนแสดงออกด้วยการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ หลัก
การทำงานของคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การเขียนโปรแกรมภาษา
การพัฒนาโครงงาน ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ติดต่อสื่ อสาร ค้นหาข้อมูลผ่าน
อินเตอร์เน็ต การประมวลผลข้อมูล การนำเสนองานในรู ปแบบต่าง ๆ ทางเทคโนโลยี สร้างโครง
งานเทคโนโลยี และสรุ ปข้อควรปฏิบตั ิสำหรับผูใ้ ช้โทคโนโลยีสารสนเทศ
ผูเ้ รี ยนจะต้องนำสาระที่ ๓ เรื่ องการออกแบบเทคโนโลยี และสาระที่ ๕ เรื่ องเทคโนโลยี
เพื่อการทำงานและอาชีพ มาบูรณาการในเรื่ องการทำงานด้วย

ตัวชี้วดั ชั้นปี มี ๖ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานที่ ง.๑.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐานที่ ง.๒.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๓๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา การงานอาชีพ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................

ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ ประเภท หลักการ ขั้นตอน กระบวนการทำงาน


การจัดการงานช่าง การเลือกใช้วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่ องใช้ภายในบ้าน การซ่อมแซม ดัดแปลง เก็บ
บำรุ งรักษาเครื่ องมือช่าง เทคโนโลยี หลักความปลอดภัยในการทำงาน การอนุรักษ์พลังงานและสิ่ ง
แวดล้อม การศึกษาหาข้อมูลและการใช้ การมาตรฐานกับงานช่าง ปฏิบตั ิการบำรุ งรักษา ติดตั้ง
192

ซ่อมแซม และผลิตอุปกรณ์ เครื่ องใช้ภายในบ้าน โดยศึกษา จากคู่มือ คำแนะนำ อ่านแบบ สามารถ


คำนวณค่าใช้จ่ายในการทำงาน เลือกใช้เทคโนโลยี เครื่ องมือวัสดุ อุปกรณ์ จัดเก็บและบำรุ งรักษา
เครื่ องมือ โดยคำนึงถึงการมาตรฐานกับงานช่าง วิเคราะห์งาน วางแผน ปฏิบตั ิ ประเมิน ปรับปรุ ง
และพัฒนาการดำเนินงาน เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบตั ิงานช่าง โดยใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความมุ่งมัน่ ในการทำงานจนสำเร็ จ ทำงานอย่างมีความสุ ข และมีกิจนิสยั ที่
ดีในการทำงานด้วยความปลอดภัย ประหยัด อดออม เป็ นผูนำ ้ ผูต้ ามที่ดี ยอมรับความคิดเห็นและผล
งานของผูอ้ ื่น

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๓๑๒๐๑ ชื่อรายวิชา คอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรี ยนให้มีความรู ้ ความเข้าใจและสามารถนำความรู ้น้ นั ไป


ประยุกต์ใช้ได้ในเนื้ อหาเกี่ยวกับ
การดำรงชีวิตและครอบครัว เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์และกระบวนการ
ทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่ วมกัน และทักษะการ
193

แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิ สยั ในการทำงานมีจิตสำนึกในการใช้พลังงานทรัพยากร


และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว
การออกแบบและเทคโนโลยี เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและ
สร้างสิ่ งของเครื่ องใช้หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้
เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อ ชีวิต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการจัดการเทคโนโลยี
อย่างยัง่ ยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศในการสื บค้นข้อมูลการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม
การอาชีพ เข้าใจ มีทกั ษะที่จำเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ

รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๑๒๐๑ ชื่อรายวิชา การงานฯเพิม่ เติม๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

ในการดำรงชีวิต สิ่ งที่มีความจำเป็ นในชีวิตประจำวัน คือการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง


ครอบครัว และสังคม การทำงานที่มีการวางแผน กำหนดเป้ าหมาย วัตถุประสงค์ของงาน แบ่งภาระ
ตามความสามารถ ตามบทบาทหน้าที่ ให้เกิดการปฏิบตั ิจริ งอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รู ้จกั การแก้ปัญหา
อย่างบเป็ นขั้นตอน มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีความซื่ อสัตย์ เสี ยสละ ขยัน อดทน มีความรับผิด
ชอบ มีเหตุผล รักสะอาด ประณี ต รอบคอบ ชอบสังเกต ทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข และ
194

แสวงหาความรู้ได้อย่างสม่ำเสมอ และนำมาใช้กบั กระบวนกาสรเทคโนโลยี เพื่อสร้างสิ่ งของเครื่ อง


ใช้ หรื อเพิ่มประสิ ทธิในการดำรงชีวิต โดยคำนึงถึงความปลอดภัย เหมาะสมกับประเภทของงาน
ให้รู้จกั ตนเองด้านความรู้ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วิสยั ทัศน์ ที่เหมาะสมกับความ
สนใจ ความถนัด และทักษะด้านอาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม จริ ยธรรม มีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพ และเห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต

ตัวชี้วดั ชั้นปี มี ๖ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานที่ ง.๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐานที่ ง.๒.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓

รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๒๐๒๔๑ ชื่อรายวิชา คอมพิวเตอร์ สร้ างสรรค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร์ สร้างสรรค์ ชั้น ม.๒ เป็ นรายวิชาที่


มุ่งเน้นให้ผเู้ รี ยนได้เข้าใจ เห็นคุณค่า มีทกั ษะ มีความคิดสร้างสรรค์ และใช้กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการสื บค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล เรี ยนรู ้ แก้ปัญหา อธิ บาย วิเคราะห์ และทำงาน
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม มีเจตคติที่ดี ต่องานสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์
โดยให้ผเู้ รี ยนแสดงออกด้วยการเรี ยนรู ้ในเรื่ อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ , ความหมายและชนิด
ของระบบเครื อข่าย, ประโยชน์ของระบบเครื อข่าย, การประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ, หลัก
การแก้ปัญหา, การค้นหาข้อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต, การนำเสนอ
สารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, การใช้งานโปรแกรมตารางทำการ, การใช้งานโปรแกรม
นำเสนอ, ผูเ้ รี ยนจะต้องนำสาระที่ ๓ เรื่ องการออกแบบเทคโนโลยี และสาระที่ ๕ เรื่ องเทคโนโลยี
เพื่อการทำงานและอาชีพ มาบูรณาการในเรื่ องการทำงานด้วย
195

ตัวชี้วดั ชั้นปี มี ๖ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐานที่ ง.๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๓/๓
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐานที่ ง.๒.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓

รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๓๓๒๖๑ ชื่อรายวิชา การเลีย้ งหมูป่า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

ในการดำรงชีวิตสิ่ งที่มีความจำเป็ นในชีวิตประจำวันคือการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง


ครอบครัวและสังคม การทำงานที่มีการวางแผนงานกำหนดเป้ าหมายวัตถุประสงค์ของงานแบ่ง
ภาระงานตามความสามารถตามบทบาทหน้าที่ให้เกิดการปฏิบตั ิจริ งอย่างมีประสิ ทธิ ภาพรู ้จกั การแก้
ปั ญหา อย่างเป็ นขั้นตอนมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์มีความซื่ อสัตย์ เสี ยสละ ขยัน อดทน มีความรับ
ผิดชอบมีเหตุผลรักสะอาด ประณี ต รอบคอบ ชอบสังเกต ทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข
และแสวงหาความรู้อย่างสม่ำเสมอ และนำมาใช้กบั กระบวนการเทคโนโลยีเพื่อสร้างสิ่ งของเครื่ อง
ใช้ หรื อเพิ่มประสิ ทธิภาพ ในการดำรงชีวิต โดยคำนึงความปลอดภัย เหมาะสมกับประเภทของงาน
ให้รู้จกั ตนเองด้านความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วิสยั ทัศน์ ที่เหมาะสมกับความ
สนใจ ความถนัด และทัศษะด้านอาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม จริ ยธรรม มีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพ และเห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต

ตัวชี้วดั ชั้นปี ๑๐ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
196

มาตรฐาน ง ๑.๑ ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔,ม.๖/๕,ม.๖/๖,ม.๖/๗


สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๔.๑ ม.๖/๑,ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ง๓๓๒๖๒ ชื่อรายวิชา โครงงานอาชีพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................

ในการดำรงชีวิตสิ่ งที่มีความจำเป็ นในชีวิตประจำวันคือการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง


ครอบครัวและสังคม การทำงานที่มีการวางแผนงานกำหนดเป้ าหมายวัตถุประสงค์ของงานแบ่ง
ภาระงานตามความสามารถตามบทบาทหน้าที่ให้เกิดการปฏิบตั ิจริ งอย่างมีประสิ ทธิ ภาพรู ้จกั การแก้
ปั ญหา อย่างเป็ นขั้นตอนมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์มีความซื่ อสัตย์ เสี ยสละ ขยัน อดทน มีความรับ
ผิดชอบมีเหตุผลรักสะอาด ประณี ต รอบคอบ ชอบสังเกต ทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข
และแสวงหาความรู้อย่างสม่ำเสมอ และนำมาใช้กบั กระบวนการเทคโนโลยีเพื่อสร้างสิ่ งของเครื่ อง
ใช้ หรื อเพิม่ ประสิ ทธิภาพ ในการดำรงชีวิต โดยคำนึงความปลอดภัย เหมาะสมกับประเภทของงาน
ให้รู้จกั ตนเองด้านความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วิสยั ทัศน์ ที่เหมาะสมกับความ
สนใจ ความถนัด และทัศษะด้านอาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม จริ ยธรรม มีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพ และเห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต

ตัวชี้วดั ชั้นปี ๑๐ ตัวชี้วดั


สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔,ม.๖/๕,ม.๖/๖,ม.๖/๗
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๔.๑ ม.๖/๑,ม.๖/๒,ม.๖/๓,ม.๖/๔
197

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ


รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๒๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์ใกล้ตวั และโครงสร้างพื้นฐานทางภาษา ปฏิบตั ิตาม


คำสัง่ คำขอร้อง ฟังคำ วลี ประโยค เพลง และข้อความสั้น ๆ พูดสื่ อความในชีวิตประจำวัน พูด
แสดงความต้องการ ความรู้สึก พูดทักทาย อ่านออกเสี ยง คำ วลี ประโยค บทละครสั้น ๆ เขียน
ประโยคและข้อความสั้น ๆ เพื่อสื่ อความ เข้าร่ วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสำคัญ ประเพณี และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและเห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือและ
แสวงหาความสามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้เพิม่ เติมและเชื่อมโยงกับกลุ่ม
สาระอื่น ๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
198

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๒๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์ใกล้ตวั และโครงสร้างพื้นฐานทางภาษา ปฏิบตั ิตาม


คำสัง่ คำขอร้อง ฟังคำ วลี ประโยค เพลง และข้อความสั้น ๆ พูดสื่ อความในชีวิตประจำวัน พูด
แสดงความต้องการ ความรู้สึก พูดทักทาย อ่านออกเสี ยง คำ วลี ประโยค บทละครสั้น ๆ เขียน
ประโยคและข้อความสั้น ๆ เพื่อสื่ อความ เข้าร่ วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสำคัญ ประเพณี และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและเห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือและ
แสวงหาความสามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่ม
สาระอื่น ๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
199

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๒๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์และโครงสร้างทางภาษา ฟังคำ วลี ประโยค เพลง


และข้อความ พูดสื่ อความเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน อ่านออกเสี ยง อ่านบทอ่าน อ่านสิ่ งพิมพ์ที่ไม่ใช่
ความเรี ยงและสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เขียนประโยค เขียนข้อความ เขียนบรรยาย เขียนเล่าเรื่ องสั้นๆ เพื่อ
แสดงความรู้ความเข้าใจ ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำขอร้อง คำแนะนำ ใช้ภาษาท่าทางเพื่อสื่ อความหมาย
เข้าร่ วมกิจกรรมวันสำคัญ ชาติ ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เห็นคุณค่า และ
ประโยชน์ของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมและเชื่อม
โยงกับกลุ่มสาระอี่นๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)

คำอธิบายรายวิชา
200

รหัสวิชา อ๒๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๔


กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์และโครงสร้างทางภาษา ฟังคำ วลี ประโยค เพลง


และข้อความ พูดสื่ อความเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน อ่านออกเสี ยง อ่านบทอ่าน อ่านสิ่ งพิมพ์ที่ไม่ใช่
ความเรี ยงและสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เขียนประโยค เขียนข้อความ เขียนบรรยาย เขียนเล่าเรื่ องสั้นๆ เพื่อ
แสดงความรู้ความเข้าใจ ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำขอร้อง คำแนะนำ ใช้ภาษาท่าทางเพื่อสื่ อความหมาย
เข้าร่ วมกิจกรรมวันสำคัญ ชาติ ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เห็นคุณค่า และ
ประโยชน์ของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมและเชื่อม
โยงกับกลุ่มสาระอี่นๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๒๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๕
201

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน


จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์และโครงสร้างทางภาษา ฟังบทสนทนา นิทาน


เพลง และข้อความต่างๆ พูดสื่ อความในชีวิตประจำวัน บรรยายและเล่าเรื่ องสั้นๆ พูดแสดงความคิด
เห็น ความต้องการ ความรู้สึก ความคิดรวบยอดในเรื่ องต่าง ๆ อ่านออกเสี ยง อ่านบทอ่าน อ่านสิ่ ง
พิมพ์ที่ไม่ใช่ความเรี ยงและสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เขียนข้อความ เขียนบรรยาย เขียนเล่าเรื่ อง กรอกแบบ
ฟอร์มต่างๆ เข้าใจความเหมือน และความแตกต่าง ระหว่างภาษาไทยกับภาษาต่างประเทศในเรื่ อง
คำ วลี ประโยค และสำนวน เข้าร่ วมกิจกรรมวันสำคัญ ชาติ ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา เห็นคุณค่าและประโยชน์ของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือ และ
แสวงหาความรู้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่น ๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๒๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
202

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์และโครงสร้างทางภาษา ฟังบทสนทนา นิทาน


เพลง และข้อความต่างๆ พูดสื่ อความในชีวิตประจำวัน บรรยายและเล่าเรื่ องสั้นๆ พูดแสดงความคิด
เห็น ความต้องการ ความรู้สึก ความคิดรวบยอดในเรื่ องต่าง ๆ อ่านออกเสี ยง อ่านบทอ่าน อ่านสิ่ ง
พิมพ์ที่ไม่ใช่ความเรี ยงและสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เขียนข้อความ เขียนบรรยาย เขียนเล่าเรื่ อง กรอกแบบ
ฟอร์มต่างๆ เข้าใจความเหมือน และความแตกต่าง ระหว่างภาษาไทยกับภาษาต่างประเทศในเรื่ อง
คำ วลี ประโยค และสำนวน เข้าร่ วมกิจกรรมวันสำคัญ ชาติ ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา เห็นคุณค่าและประโยชน์ของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือ และ
แสวงหาความรู้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่น ๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)

รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๑๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
203

ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่าน


ออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรองและบทละครสั้น(skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบาย
และเขียนประโยคและข้อความ ให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆที่อ่านรวมทั้งระบุและเขียนสื่ อที่
ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆให้สมั พันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟังหรื ออ่าน จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ
สรุ ปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่ อง ที่เป็ นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆใกล้ตวั
ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม และสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและ
เหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบายอย่างคล่องแคล่ว พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จำลอง หรื อสถานการณ์จริ งอย่างเหมาะ
สม พูดและเขียนเพื่อขอ และให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรี ยบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง/
ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของ
ตนเอง เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนนำเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์เรื่ องและประเด็นต่างๆตามความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุ ป
ใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคมและโลก
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยงและกริ ยาท่าทาง เหมาะกับระดับของบุคคล
โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย / อภิปราย วิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่ วมแนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษา และ
วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม อธิบาย / เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำ
พังเพย สุ ภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย วิเคราะห์/ อภิปราย ความเหมือนและความแตก
ต่าง ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา กับของไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล ค้นคว้า /
สื บค้น บันทึก สรุ ป และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น จากแหล่งเรี ยนรู้
ต่างๆและนำเสนอด้วยการพูดและการเขียนใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง / สถานการณ์จำลอง ที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรี ยน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น / ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุ ป
ความรู้ / ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ /
ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรี ยนชุมชนและท้องถิ่น / ประเทศชาติ เป็ นภาษาต่างประเทศ
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๑๑๐๒ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่าน
ออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรองและบทละครสั้น(skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบาย
และเขียนประโยคและข้อความ ให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆที่อ่านรวมทั้งระบุและเขียนสื่ อที่
ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆให้สมั พันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟังหรื ออ่าน จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ
สรุ ปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่ อง ที่เป็ นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆใกล้ตวั
ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม และสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและ
204

เหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบายอย่างคล่องแคล่ว พูดและเขียนแสดงความ


ต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จำลอง หรื อสถานการณ์จริ งอย่างเหมาะ
สม พูดและเขียนเพื่อขอ และให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรี ยบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง/
ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของ
ตนเอง เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนนำเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์เรื่ องและประเด็นต่างๆตามความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุ ป
ใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคมและโลก
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยงและกริ ยาท่าทาง เหมาะกับระดับของบุคคล
โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย / อภิปราย วิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่ วมแนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษา และ
วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม อธิบาย / เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำ
พังเพย สุ ภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย วิเคราะห์/ อภิปราย ความเหมือนและความแตก
ต่าง ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา กับของไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล ค้นคว้า /
สื บค้น บันทึก สรุ ป และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น จากแหล่งเรี ยนรู้
ต่างๆและนำเสนอด้วยการพูดและการเขียนใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง / สถานการณ์จำลอง ที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรี ยน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น / ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุ ป
ความรู้ / ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ /
ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรี ยนชุมชนและท้องถิ่น / ประเทศชาติ เป็ นภาษาต่างประเทศ
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๒๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่าน
ออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรองและบทละครสั้น(skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบาย
และเขียนประโยคและข้อความ ให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆที่อ่านรวมทั้งระบุและเขียนสื่ อที่
ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆให้สมั พันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟังหรื ออ่าน จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ
สรุ ปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่ อง ที่เป็ นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆใกล้ตวั
ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม และสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและ
เหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบายอย่างคล่องแคล่ว พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จำลอง หรื อสถานการณ์จริ งอย่างเหมาะ
สม พูดและเขียนเพื่อขอ และให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรี ยบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง/
ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของ
ตนเอง เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนนำเสนอข้อมูล
205

เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์เรื่ องและประเด็นต่างๆตามความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุ ป


ใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคมและโลก
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยงและกริ ยาท่าทาง เหมาะกับระดับของบุคคล
โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย / อภิปราย วิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่ วมแนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษา และ
วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม อธิบาย / เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำ
พังเพย สุ ภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย วิเคราะห์/ อภิปราย ความเหมือนและความแตก
ต่าง ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา กับของไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล ค้นคว้า /
สื บค้น บันทึก สรุ ป และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น จากแหล่งเรี ยนรู้
ต่างๆและนำเสนอด้วยการพูดและการเขียนใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง / สถานการณ์จำลอง ที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรี ยน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น / ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุ ป
ความรู้ / ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ /
ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรี ยนชุมชนและท้องถิ่น / ประเทศชาติ เป็ นภาษาต่างประเทศ
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๒๑๐๒ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่าน
ออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรองและบทละครสั้น(skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบาย
และเขียนประโยคและข้อความ ให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆที่อ่านรวมทั้งระบุและเขียนสื่ อที่
ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆให้สมั พันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟังหรื ออ่าน จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ
สรุ ปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่ อง ที่เป็ นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆใกล้ตวั
ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม และสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและ
เหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบายอย่างคล่องแคล่ว พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จำลอง หรื อสถานการณ์จริ งอย่างเหมาะ
สม พูดและเขียนเพื่อขอ และให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรี ยบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง/
ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของ
ตนเอง เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนนำเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์เรื่ องและประเด็นต่างๆตามความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุ ป
ใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคมและโลก
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยงและกริ ยาท่าทาง เหมาะกับระดับของบุคคล
โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย / อภิปราย วิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่ วมแนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษา และ
206

วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม อธิบาย / เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำ


พังเพย สุ ภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย วิเคราะห์/ อภิปราย ความเหมือนและความแตก
ต่าง ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา กับของไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล ค้นคว้า /
สื บค้น บันทึก สรุ ป และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น จากแหล่งเรี ยนรู้
ต่างๆและนำเสนอด้วยการพูดและการเขียนใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง / สถานการณ์จำลอง ที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรี ยน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น / ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุ ป
ความรู้ / ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ /
ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรี ยนชุมชนและท้องถิ่น / ประเทศชาติ เป็ นภาษาต่างประเทศ
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
รายวิชาพืน้ ฐานชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๓๑๐๑ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่าน
ออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรองและบทละครสั้น(skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบาย
และเขียนประโยคและข้อความ ให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆที่อ่านรวมทั้งระบุและเขียนสื่ อที่
ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆให้สมั พันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟังหรื ออ่าน จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ
สรุ ปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่ อง ที่เป็ นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆใกล้ตวั
ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม และสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและ
เหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบายอย่างคล่องแคล่ว พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จำลอง หรื อสถานการณ์จริ งอย่างเหมาะ
สม พูดและเขียนเพื่อขอ และให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรี ยบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง/
ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของ
ตนเอง เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนนำเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์เรื่ องและประเด็นต่างๆตามความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุ ป
ใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคมและโลก
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยงและกริ ยาท่าทาง เหมาะกับระดับของบุคคล
โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย / อภิปราย วิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่ วมแนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษา และ
วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม อธิบาย / เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำ
พังเพย สุ ภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย วิเคราะห์/ อภิปราย ความเหมือนและความแตก
ต่าง ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา กับของไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล ค้นคว้า /
สื บค้น บันทึก สรุ ป และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น จากแหล่งเรี ยนรู้
ต่างๆและนำเสนอด้วยการพูดและการเขียนใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง / สถานการณ์จำลอง ที่เกิดขึ้นใน
207

ห้องเรี ยน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น / ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุ ป
ความรู้ / ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ /
ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรี ยนชุมชนและท้องถิ่น / ประเทศชาติ เป็ นภาษาต่างประเทศ
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๓๑๐๒ ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
.......................................................................................................
....................................
ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่าน
ออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรองและบทละครสั้น(skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบาย
และเขียนประโยคและข้อความ ให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆที่อ่านรวมทั้งระบุและเขียนสื่ อที่
ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆให้สมั พันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟังหรื ออ่าน จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ
สรุ ปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่ อง ที่เป็ นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆใกล้ตวั
ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม และสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและ
เหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบายอย่างคล่องแคล่ว พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จำลอง หรื อสถานการณ์จริ งอย่างเหมาะ
สม พูดและเขียนเพื่อขอ และให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรี ยบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง/
ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของ
ตนเอง เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนนำเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์เรื่ องและประเด็นต่างๆตามความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุ ป
ใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคมและโลก
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยงและกริ ยาท่าทาง เหมาะกับระดับของบุคคล
โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย / อภิปราย วิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่ วมแนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษา และ
วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม อธิบาย / เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำ
พังเพย สุ ภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย วิเคราะห์/ อภิปราย ความเหมือนและความ
แตกต่าง ระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา กับของไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล
ค้นคว้า / สื บค้น บันทึก สรุ ป และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น จาก
แหล่งเรี ยนรู้ต่างๆและนำเสนอด้วยการพูดและการเขียนใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง / สถานการณ์จำลอง ที่
เกิดขึ้นในห้องเรี ยน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น / ค้นคว้า รวบรวม
วิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ / ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผย
แพร่ / ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรี ยนชุมชนและท้องถิ่น / ประเทศชาติ เป็ นภาษาต่างประเทศ
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
208

มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๒๑๒๐๑ ชื่อรายวิชา Grammar is fun I
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์ใกล้ตวั และโครงสร้างพื้นฐานทางภาษา ปฏิบตั ิตาม


คำสัง่ คำขอร้อง ฟังคำ วลี ประโยค เพลง และข้อความสั้น ๆ พูดสื่ อความในชีวิตประจำวัน พูด
แสดงความต้องการ ความรู้สึก พูดทักทาย อ่านออกเสี ยง คำ วลี ประโยค บทละครสั้น ๆ เขียน
ประโยคและข้อความสั้น ๆ เพื่อสื่ อความ เข้าร่ วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสำคัญ ประเพณี และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและเห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือและ
แสวงหาความสามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่ม
สาระอื่น ๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)

คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๒๑๒๐๒ ชื่อรายวิชา Grammar is fun II
209

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน


จำนวน ๑.๐ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................

ฝึ กการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์ใกล้ตวั และโครงสร้างพื้นฐานทางภาษา ปฏิบตั ิตาม


คำสัง่ คำขอร้อง ฟังคำ วลี ประโยค เพลง และข้อความสั้น ๆ พูดสื่ อความในชีวิตประจำวัน พูด
แสดงความต้องการ ความรู้สึก พูดทักทาย อ่านออกเสี ยง คำ วลี ประโยค บทละครสั้น ๆ เขียน
ประโยคและข้อความสั้น ๆ เพื่อสื่ อความ เข้าร่ วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสำคัญ ประเพณี และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและเห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือและ
แสวงหาความสามารถนำไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่ม
สาระอื่น ๆ

ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)

รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๑๒๐๑ ชื่อรายวิชา ฟัง พูด อ่ าน เขียน ภาษาอังกฤษ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
210

......................................................................................................................
................................
เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟัง เช่น คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิ บาย ข่าว บทร้อยกรอง บทละคร
สั้น สารคดี บันเทิงคดี เพลง นิทาน สถานการณ์ตามความสนใจ วิเคราะห์ความ สรุ ปใจความ
สำคัญแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบนำเสนอข้อมูลโดยการพูด เล่า บรรยาย
อธิ บาย โต้ตอบพูดแสดงความคิดเห็นตามเหตุการณ์ ข่าวต่างๆ เริ่ มต้นจากการทักทาย การขอโทษ
การพูดแทรกอย่างสุ ภาพ กล่าวขอร้อง กล่าวแนะนำ การยกย่องชมเชย การให้ความช่วยเหลือ การ
แสดงความต้องการ การตอบรับ-การตอบปฏิเสธ การขอความช่วยเหลือ คำชี้แจง แสดงความคิด
เห็นให้เหตุผลประกอบและการกล่าวลา อ่านออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย
กรองและบทละครสั้น ตามหลักการอ่านที่ถูกต้อง ทักษะการใช้พจนานุกรม อังกฤษ –อังกฤษ
พจนานุกรมอังกฤษ – ไทย อ่านสื่ อทุกชนิดที่เป็ นความเรี ยงและไม่ใช่ความเรี ยง ตีความ จับใจ
ความ วิเคราะห์ความโดยใช้หลักการ Skimming / Scanning / guessing / Context clues ศึกษา
คำศัพท์ สำนวนภาษา คำอธิบาย เปรี ยบเทียบและแสดงความคิดเห็น อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อที่มาของขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางวัฒนธรรม
อธิ บายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ของไทย สื บค้นข้อมูล / ค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยี บันทึกแสดง
ความคิดเห็นและนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นๆ เขียนและข้อความโดยถ่าย
โอนข้อมูลให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่เป็ นความเรี ยนและไม่ใช่ความเรี ยง เช่น แผ่นภาพ แผนภูมิ ตาราง
อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ เขียนเรื่ องใกล้ตวั ข่าวที่อยูใ่ นความสนใจ ประสบการณ์
เขียนแสดงการตอบรับ –ตอบปฏิเสธ แสดงความต้องการ การขอ-ให้ความช่วยเหลือ เขียนอธิ บาย
เปรี ยบเทียบ บรรยายความรู้ สึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างมีเหตุผล โดยการใช้
กระบวนการทางภาษา ความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบตั ิ การจับใจความ ตีความ วิเคราะห์ ค้นคว้า
บันทึกข้อมูล สรุ ปข้อมูล แสดงความคิดเห็น การนำเสนองานจากกระบวบการกลุ่ม กิจกรรมทาง
ภาษาโดยสถานการณ์จำลอง มีทกั ษะชีวิตจากการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีประยุกต์นำไปใช้
ในชีวิตประจำวันและการศึกษาในขั้นสู ง
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๑๒๐๒ ชื่อรายวิชา ฟัง พูด อ่ าน เขียน ภาษาอังกฤษ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟัง เช่น คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิ บาย ข่าว บทร้อยกรอง บทละคร
สั้น สารคดี บันเทิงคดี เพลง นิทาน สถานการณ์ตามความสนใจ วิเคราะห์ความ สรุ ปใจความ
สำคัญแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบนำเสนอข้อมูลโดยการพูด เล่า บรรยาย
อธิ บาย โต้ตอบพูดแสดงความคิดเห็นตามเหตุการณ์ ข่าวต่างๆ เริ่ มต้นจากการทักทาย การขอโทษ
211

การพูดแทรกอย่างสุ ภาพ กล่าวขอร้อง กล่าวแนะนำ การยกย่องชมเชย การให้ความช่วยเหลือ การ


แสดงความต้องการ การตอบรับ-การตอบปฏิเสธ การขอความช่วยเหลือ คำชี้แจง แสดงความคิด
เห็นให้เหตุผลประกอบและการกล่าวลา อ่านออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย
กรองและบทละครสั้น ตามหลักการอ่านที่ถูกต้อง ทักษะการใช้พจนานุกรม อังกฤษ –อังกฤษ
พจนานุกรมอังกฤษ – ไทย อ่านสื่ อทุกชนิดที่เป็ นความเรี ยงและไม่ใช่ความเรี ยง ตีความ จับใจ
ความ วิเคราะห์ความโดยใช้หลักการ Skimming / Scanning / guessing / Context clues ศึกษา
คำศัพท์ สำนวนภาษา คำอธิบาย เปรี ยบเทียบและแสดงความคิดเห็น อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อที่มาของขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางวัฒนธรรม
อธิ บายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ของไทย สื บค้นข้อมูล / ค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยี บันทึกแสดง
ความคิดเห็นและนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นๆ เขียนและข้อความโดยถ่าย
โอนข้อมูลให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่เป็ นความเรี ยนและไม่ใช่ความเรี ยง เช่น แผ่นภาพ แผนภูมิ ตาราง
อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ เขียนเรื่ องใกล้ตวั ข่าวที่อยูใ่ นความสนใจ ประสบการณ์
เขียนแสดงการตอบรับ –ตอบปฏิเสธ แสดงความต้องการ การขอ-ให้ความช่วยเหลือ เขียนอธิ บาย
เปรี ยบเทียบ บรรยายความรู้ สึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างมีเหตุผล โดยการใช้
กระบวนการทางภาษา ความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบตั ิ การจับใจความ ตีความ วิเคราะห์ ค้นคว้า
บันทึกข้อมูล สรุ ปข้อมูล แสดงความคิดเห็น การนำเสนองานจากกระบวบการกลุ่ม กิจกรรมทาง
ภาษาโดยสถานการณ์จำลอง มีทกั ษะชีวิตจากการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีประยุกต์นำไปใช้
ในชีวิตประจำวันและการศึกษาในขั้นสู ง
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๒๒๐๑ ชื่อรายวิชา ฟัง พูด อ่ าน เขียน ภาษาอังกฤษ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟัง เช่น คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิ บาย ข่าว บทร้อยกรอง บทละคร
สั้น สารคดี บันเทิงคดี เพลง นิทาน สถานการณ์ตามความสนใจ วิเคราะห์ความ สรุ ปใจความ
สำคัญแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบนำเสนอข้อมูลโดยการพูด เล่า บรรยาย
อธิ บาย โต้ตอบพูดแสดงความคิดเห็นตามเหตุการณ์ ข่าวต่างๆ เริ่ มต้นจากการทักทาย การขอโทษ
การพูดแทรกอย่างสุ ภาพ กล่าวขอร้อง กล่าวแนะนำ การยกย่องชมเชย การให้ความช่วยเหลือ การ
แสดงความต้องการ การตอบรับ-การตอบปฏิเสธ การขอความช่วยเหลือ คำชี้แจง แสดงความคิด
เห็นให้เหตุผลประกอบและการกล่าวลา อ่านออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย
กรองและบทละครสั้น ตามหลักการอ่านที่ถูกต้อง ทักษะการใช้พจนานุกรม อังกฤษ –อังกฤษ
212

พจนานุกรมอังกฤษ – ไทย อ่านสื่ อทุกชนิดที่เป็ นความเรี ยงและไม่ใช่ความเรี ยง ตีความ จับใจ


ความ วิเคราะห์ความโดยใช้หลักการ Skimming / Scanning / guessing / Context clues ศึกษา
คำศัพท์ สำนวนภาษา คำอธิบาย เปรี ยบเทียบและแสดงความคิดเห็น อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อที่มาของขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางวัฒนธรรม
อธิ บายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ของไทย สื บค้นข้อมูล / ค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยี บันทึกแสดง
ความคิดเห็นและนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นๆ เขียนและข้อความโดยถ่าย
โอนข้อมูลให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่เป็ นความเรี ยนและไม่ใช่ความเรี ยง เช่น แผ่นภาพ แผนภูมิ ตาราง
อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ เขียนเรื่ องใกล้ตวั ข่าวที่อยูใ่ นความสนใจ ประสบการณ์
เขียนแสดงการตอบรับ –ตอบปฏิเสธ แสดงความต้องการ การขอ-ให้ความช่วยเหลือ เขียนอธิ บาย
เปรี ยบเทียบ บรรยายความรู้ สึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างมีเหตุผล โดยการใช้
กระบวนการทางภาษา ความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบตั ิ การจับใจความ ตีความ วิเคราะห์ ค้นคว้า
บันทึกข้อมูล สรุ ปข้อมูล แสดงความคิดเห็น การนำเสนองานจากกระบวบการกลุ่ม กิจกรรมทาง
ภาษาโดยสถานการณ์จำลอง มีทกั ษะชีวิตจากการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีประยุกต์นำไปใช้
ในชีวิตประจำวันและการศึกษาในขั้นสู ง
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๒๒๐๒ ชื่อรายวิชา ฟัง พูด อ่ าน เขียน ภาษาอังกฤษ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟัง เช่น คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิ บาย ข่าว บทร้อยกรอง บทละคร
สั้น สารคดี บันเทิงคดี เพลง นิทาน สถานการณ์ตามความสนใจ วิเคราะห์ความ สรุ ปใจความ
สำคัญแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบนำเสนอข้อมูลโดยการพูด เล่า บรรยาย
อธิ บาย โต้ตอบพูดแสดงความคิดเห็นตามเหตุการณ์ ข่าวต่างๆ เริ่ มต้นจากการทักทาย การขอโทษ
การพูดแทรกอย่างสุ ภาพ กล่าวขอร้อง กล่าวแนะนำ การยกย่องชมเชย การให้ความช่วยเหลือ การ
แสดงความต้องการ การตอบรับ-การตอบปฏิเสธ การขอความช่วยเหลือ คำชี้แจง แสดงความคิด
เห็นให้เหตุผลประกอบและการกล่าวลา อ่านออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย
กรองและบทละครสั้น ตามหลักการอ่านที่ถูกต้อง ทักษะการใช้พจนานุกรม อังกฤษ –อังกฤษ
พจนานุกรมอังกฤษ – ไทย อ่านสื่ อทุกชนิดที่เป็ นความเรี ยงและไม่ใช่ความเรี ยง ตีความ จับใจ
ความ วิเคราะห์ความโดยใช้หลักการ Skimming / Scanning / guessing / Context clues ศึกษา
คำศัพท์ สำนวนภาษา คำอธิบาย เปรี ยบเทียบและแสดงความคิดเห็น อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อที่มาของขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางวัฒนธรรม
อธิ บายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ของไทย สื บค้นข้อมูล / ค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยี บันทึกแสดง
213

ความคิดเห็นและนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นๆ เขียนและข้อความโดยถ่าย


โอนข้อมูลให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่เป็ นความเรี ยนและไม่ใช่ความเรี ยง เช่น แผ่นภาพ แผนภูมิ ตาราง
อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ เขียนเรื่ องใกล้ตวั ข่าวที่อยูใ่ นความสนใจ ประสบการณ์
เขียนแสดงการตอบรับ –ตอบปฏิเสธ แสดงความต้องการ การขอ-ให้ความช่วยเหลือ เขียนอธิ บาย
เปรี ยบเทียบ บรรยายความรู้ สึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างมีเหตุผล โดยการใช้
กระบวนการทางภาษา ความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบตั ิ การจับใจความ ตีความ วิเคราะห์ ค้นคว้า
บันทึกข้อมูล สรุ ปข้อมูล แสดงความคิดเห็น การนำเสนองานจากกระบวบการกลุ่ม กิจกรรมทาง
ภาษาโดยสถานการณ์จำลอง มีทกั ษะชีวิตจากการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีประยุกต์นำไปใช้
ในชีวิตประจำวันและการศึกษาในขั้นสู ง
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
รายวิชาเพิม่ เติมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๓๒๐๑ ชื่อรายวิชา ฟัง พูด อ่ าน เขียน ภาษาอังกฤษ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
......................................................................................................................
................................
เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟัง เช่น คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิ บาย ข่าว บทร้อยกรอง บทละคร
สั้น สารคดี บันเทิงคดี เพลง นิทาน สถานการณ์ตามความสนใจ วิเคราะห์ความ สรุ ปใจความ
สำคัญแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบนำเสนอข้อมูลโดยการพูด เล่า บรรยาย
อธิ บาย โต้ตอบพูดแสดงความคิดเห็นตามเหตุการณ์ ข่าวต่างๆ เริ่ มต้นจากการทักทาย การขอโทษ
การพูดแทรกอย่างสุ ภาพ กล่าวขอร้อง กล่าวแนะนำ การยกย่องชมเชย การให้ความช่วยเหลือ การ
แสดงความต้องการ การตอบรับ-การตอบปฏิเสธ การขอความช่วยเหลือ คำชี้แจง แสดงความคิด
เห็นให้เหตุผลประกอบและการกล่าวลา อ่านออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย
กรองและบทละครสั้น ตามหลักการอ่านที่ถูกต้อง ทักษะการใช้พจนานุกรม อังกฤษ –อังกฤษ
พจนานุกรมอังกฤษ – ไทย อ่านสื่ อทุกชนิดที่เป็ นความเรี ยงและไม่ใช่ความเรี ยง ตีความ จับใจ
ความ วิเคราะห์ความโดยใช้หลักการ Skimming / Scanning / guessing / Context clues ศึกษา
คำศัพท์ สำนวนภาษา คำอธิบาย เปรี ยบเทียบและแสดงความคิดเห็น อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อที่มาของขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางวัฒนธรรม
อธิ บายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ของไทย สื บค้นข้อมูล / ค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยี บันทึกแสดง
ความคิดเห็นและนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นๆ เขียนและข้อความโดยถ่าย
โอนข้อมูลให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่เป็ นความเรี ยนและไม่ใช่ความเรี ยง เช่น แผ่นภาพ แผนภูมิ ตาราง
อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ เขียนเรื่ องใกล้ตวั ข่าวที่อยูใ่ นความสนใจ ประสบการณ์
เขียนแสดงการตอบรับ –ตอบปฏิเสธ แสดงความต้องการ การขอ-ให้ความช่วยเหลือ เขียนอธิ บาย
214

เปรี ยบเทียบ บรรยายความรู้ สึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างมีเหตุผล โดยการใช้


กระบวนการทางภาษา ความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบตั ิ การจับใจความ ตีความ วิเคราะห์ ค้นคว้า
บันทึกข้อมูล สรุ ปข้อมูล แสดงความคิดเห็น การนำเสนองานจากกระบวบการกลุ่ม กิจกรรมทาง
ภาษาโดยสถานการณ์จำลอง มีทกั ษะชีวิตจากการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีประยุกต์นำไปใช้
ในชีวิตประจำวันและการศึกษาในขั้นสู ง
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา อ๓๓๒๐๒ ชื่อรายวิชา ฟัง พูด อ่ าน เขียน ภาษาอังกฤษ ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประทศ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง /ภาคเรียน
จำนวน ๑.๕ หน่ วยกิต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
......................................................................................................................
................................
เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟัง เช่น คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิ บาย ข่าว บทร้อยกรอง บทละคร
สั้น สารคดี บันเทิงคดี เพลง นิทาน สถานการณ์ตามความสนใจ วิเคราะห์ความ สรุ ปใจความ
สำคัญแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบนำเสนอข้อมูลโดยการพูด เล่า บรรยาย
อธิ บาย โต้ตอบพูดแสดงความคิดเห็นตามเหตุการณ์ ข่าวต่างๆ เริ่ มต้นจากการทักทาย การขอโทษ
การพูดแทรกอย่างสุ ภาพ กล่าวขอร้อง กล่าวแนะนำ การยกย่องชมเชย การให้ความช่วยเหลือ การ
แสดงความต้องการ การตอบรับ-การตอบปฏิเสธ การขอความช่วยเหลือ คำชี้แจง แสดงความคิด
เห็นให้เหตุผลประกอบและการกล่าวลา อ่านออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย
กรองและบทละครสั้น ตามหลักการอ่านที่ถูกต้อง ทักษะการใช้พจนานุกรม อังกฤษ –อังกฤษ
พจนานุกรมอังกฤษ – ไทย อ่านสื่ อทุกชนิดที่เป็ นความเรี ยงและไม่ใช่ความเรี ยง ตีความ จับใจ
ความ วิเคราะห์ความโดยใช้หลักการ Skimming / Scanning / guessing / Context clues ศึกษา
คำศัพท์ สำนวนภาษา คำอธิบาย เปรี ยบเทียบและแสดงความคิดเห็น อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อที่มาของขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางวัฒนธรรม
อธิ บายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ของไทย สื บค้นข้อมูล / ค้นคว้าหาความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยี บันทึกแสดง
ความคิดเห็นและนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นๆ เขียนและข้อความโดยถ่าย
โอนข้อมูลให้สมั พันธ์กบั สื่ อที่เป็ นความเรี ยนและไม่ใช่ความเรี ยง เช่น แผ่นภาพ แผนภูมิ ตาราง
อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ เขียนเรื่ องใกล้ตวั ข่าวที่อยูใ่ นความสนใจ ประสบการณ์
เขียนแสดงการตอบรับ –ตอบปฏิเสธ แสดงความต้องการ การขอ-ให้ความช่วยเหลือ เขียนอธิ บาย
เปรี ยบเทียบ บรรยายความรู้ สึก และแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างมีเหตุผล โดยการใช้
กระบวนการทางภาษา ความรู้ ความเข้าใจ การปฏิบตั ิ การจับใจความ ตีความ วิเคราะห์ ค้นคว้า
บันทึกข้อมูล สรุ ปข้อมูล แสดงความคิดเห็น การนำเสนองานจากกระบวบการกลุ่ม กิจกรรมทาง
ภาษาโดยสถานการณ์จำลอง มีทกั ษะชีวิตจากการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีประยุกต์นำไปใช้
ในชีวิตประจำวันและการศึกษาในขั้นสู ง
ตัวชี้วดั และมาตรฐาน
215

มฐ. ต ๑.๑ (๑,๒,๓,๔) มฐ. ต ๑.๒ (๑,๒,๓,๔,๕) มฐ. ต ๑.๓ (๑,๒,๓) มฐ. ต ๒.๑ (๑,๒,๓)
มฐ. ต ๒.๒ (๑,๒) มฐ. ต ๓.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑) มฐ. ต ๔.๑ (๑,๒)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อ
ความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริ มสร้างให้เป็ นผูม้ ีศีลธรรม
จริ ยธรรม มีระเบียบวินยั ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการ
ตนเองได้ และอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมีความสุ ข
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน แบ่งเป็ น ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑. กิจกรรมแนะแนว
เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกั ตนเอง รู ้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิด
ตัดสิ นใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรี ยน และอาชีพ สามารถปรับตน
ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยงั ช่วยให้ครู รู้จกั และเข้าใจผูเ้ รี ยน ทั้งยังเป็ นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและ
ให้คำปรึ กษาแก่ผปู้ กครองในการมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน
๒. กิจกรรมนักเรียน
เป็ นกิจกรรมที่มงุ่ พัฒนาความมีระเบียบวินยั ความเป็ นผูนำ้ ผูต้ ามที่ดี ความรับผิดชอบ
การทำงานร่ วมกัน การรู้จกั แก้ปัญหา การตัดสินใจทีเ่ หมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน
เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้
เรี ยน ให้ได้ปฏิบตั ิดว้ ยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน
ประเมินและปรับปรุ งการทำงาน เน้นการทำงานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและ
สอดคล้องกับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน บริ บทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรี ยนประกอบด้วย
๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และนักศึกษาวิชาทหาร
๒.๒ กิจกรรมชุมนุม
๓. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์
เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนบำเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้อง
ถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสี ยสละ
ต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สงั คม
216

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนต้องอยูบ่ นหลักการพื้นฐานสองประการคือ
การประเมินเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนและเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยน ในการพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู ้ของผู ้
เรี ยนให้ประสบผลสำเร็ จนั้น ผูเ้ รี ยนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้ วดั เพื่อให้บรรลุ
ตามมาตรฐานการเรี ยนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนซึ่ งเป็ น
เป้ าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ในทุกระดับไม่วา่ จะเป็ นระดับชั้นเรี ยน ระดับ
สถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ เป็ นกระ
บวนการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนโดยใช้ผลการประเมินเป็ นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสำเร็ จทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ตลอดจนข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่ ง
เสริ มให้ผเู้ รี ยนเกิดการพัฒนาและเรี ยนรู ้อย่างเต็มตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ แบ่งออกเป็ น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรี ยน ระดับสถาน
ศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็ นการวัดและประเมินผลที่อยูใ่ นกระบวนการจัดการเรี ยน
รู ้ ผูส้ อนดำเนินการเป็ นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรี ยนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง
หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ ้น
งาน/ ภาระงาน แฟ้ มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูส้ อนเป็ นผูป้ ระเมินเองหรื อเปิ ด
โอกาสให้ผเู้ รี ยนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผูป้ กครองร่ วมประเมิน ในกรณี ที่ไม่ผา่ นตัวชี้
วัดให้มีการสอนซ่อมเสริ ม
การประเมินระดับชั้นเรี ยนเป็ นการตรวจสอบว่า ผูเ้ รี ยนมีพฒั นาการความก้าวหน้าใน
การเรี ยนรู้ อันเป็ นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนหรื อไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่
จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุ งและส่ งเสริ มในด้านใด นอกจากนี้ ยงั เป็ นข้อมูลให้ผสู ้ อนใช้
ปรับปรุ งการเรี ยนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็ นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสิ นผล
การเรี ยนของผูเ้ รี ยนเป็ นรายปี /รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน นอกจากนี้ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ว่าส่ งผลต่อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนตามเป้ าหมายหรื อไม่ ผูเ้ รี ยนมีจุดพัฒนาในด้านใด
รวมทั้งสามารถนำผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในสถานศึกษาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการ
ประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็ นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุ งนโยบาย หลักสู ตร
โครงการ หรื อวิธีการจัดการเรี ยนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น
ฐาน ผูป้ กครองและชุมชน
๓. การประเมินระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนในระดับเขต
พื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็ น
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ
สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ของผูเ้ รี ยนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จดั ทำและ
ดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรื อด้วยความร่ วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดำเนินการ
217

จัดสอบ นอกจากนี้ยงั ได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขต


พื้นที่การศึกษา
๔. การประเมินระดับชาติ เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรี ยนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนที่เรี ยน
ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็ นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับ
ต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็ นข้อมูล
สนับสนุน การตัดสิ นใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็ นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน ถือเป็ นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแล
ช่วยเหลือ ปรับปรุ งแก้ไข ส่ งเสริ มสนับสนุนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน
ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตามสภาพปั ญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผูเ้ รี ยนทัว่ ไป
กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่ำ กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มี
ปั ญหาด้านวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผูเ้ รี ยนที่ปฏิเสธโรงเรี ยน กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ
และสังคม กลุ่มพิการทางร่ างกายและสติปัญญา เป็ นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็ นหัวใจของ
สถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผูเ้ รี ยนได้ทนั ท่วงที ปิดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้รับการพัฒนา
และประสบความสำเร็ จในการเรี ยน

เกณฑ์ การวัดและประเมินผลการเรียน
๑. การตัดสิน การให้ ระดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสิ นผลการเรี ยนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนนั้น ผูส้ อนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผูเ้ รี ยน
แต่ละคนเป็ นหลัก และต้องเก็บข้อมูลของผูเ้ รี ยนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรี ยน
รวมทั้งสอนซ่อมเสริ มผูเ้ รี ยนให้พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ
ระดับมัธยมศึกษา
(๑) ตัดสิ นผลการเรี ยนเป็ นรายวิชา ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตลอดภาคเรี ยนไม่
น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้ วดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กำหนด
218

(๓) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา


(๔) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รี ยน
การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผูเ้ รี ยนมีขอ้ บกพร่ องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณา
เห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริ มได้ ให้อยูใ่ นดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อน
ชั้นได้ แต่หากผูเ้ รี ยนไม่ผา่ นรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปัญหาต่อการเรี ยนใน
ระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิ
ภาวะและความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
๑.๒ การให้ ระดับผลการเรียน
ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชา ให้ใช้ตวั เลขแสดง
ระดับผลการเรี ยนเป็ น ๘ ระดับ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ นั ให้
ระดับผลการประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่ วมกิจกรรม การ
ปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงานของผูเ้ รี ยน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่ วม
กิจกรรมเป็ นผ่าน และไม่ผา่ น

๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรี ยนเป็ นการสื่ อสารให้ผปู ้ กครองและผูเ้ รี ยนทราบความก้าวหน้า
ในการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ซึ่ งสถานศึกษาต้องสรุ ปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู ้
ปกครองทราบภาคเรี ยนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการเรี ยนสามารถรายงานเป็ นระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยนที่
สะท้อนมาตรฐานการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
๒. เกณฑ์ การจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางโรงเรี ยนเรณูนครวิทยานุกลู กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการ
ศึกษาเป็ น ๒ ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๒.๑ เกณฑ์ การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น
(๑) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและเพิม่ เติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชาพื้น
ฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสู ตรไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็ น
รายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่นอ้ ยกว่า ๑๑ หน่วยกิต
(๓) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๔) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
219

(๕) ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน


ตามที่สถานศึกษากำหนด
๒.๓ เกณฑ์ การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(๑) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ไม่นอ้ ยกว่า ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็ น
รายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสู ตรไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็ น
รายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่นอ้ ยว่า ๓๖ หน่วยกิต
(๓) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๔) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๕) ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษากำหนด
บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุ งเทพฯ:


โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.๒๕๕๑.
เฉลิม ฟักอ่อน. แนวการใช้ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.kroobannok.com. (วันที่คน้ ข้อมูล : ๑ พฤษภาคม
๒๕๕๒).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการ. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. [ออนไลน์]. เข้า
ถึงได้จาก : http://www.curriculum2551.com. (วันที่คน้ ข้อมูล : ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการ. เอกสารประกอบ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวปฏิบัติการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ . กรุ งเทพฯ: เอกสารอัดสำเนาประกอบการ
อบรมโรงเรี ยนนำร่ องการใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.
๒๕๕๒.

You might also like