You are on page 1of 4

ใบความรูที่ 1.

1
เรื่อง โครงสรางของโลก

โลกเปนดาวเคราะหดวงหนึ่งในระบบสุริยะที่เกิดขึ้นประมาณ 4,600 ลานปมาแลว นักดาราศาสตร


สันนิษฐานวา ระบบสุริยะเกิดจากการหมุนวนของฝุนและแกสในอวกาศที่เรียกวา เนบิวลา การหมุนวนของ
กลุมแกสเหลานี้จะหดตัวเปนกอน สภาวะแรงดึงดูดระหวางมวลทําใหมวลสวนใหญถูกดึงดูดเขาสูศ ูนยกลาง
เกิดเปนดวงอาทิตย ฝุนแกสที่เหลือถูกเหวีย่ งหมุนเปนวงรอบจุดศูนยกลางรวมตัวกันกลายเปนดาวเคราะห
บริวารของดาวเคราะห ดาวเคราะหนอย ดาวหาง และเศษวัตถุขนาดเล็กๆ จํานวนมาก โคจรรอบดวงอาทิตย
เรียกวา ระบบสุริยะ บริเวณที่เปนระบบสุริยะในปจจุบนั เคยเปนเนบิวลาที่มีแกสไฮโดรเจนและธาตุตางๆ
เปนองค2 ประกอบหลัก แกสและระบบธาตุเหลานี้มาจากเนบิวลาดั้งเดิมและเนบิวลาใหมที่เกิดจากซูเปอร
โนวา

เศษฝุนแกสรวมตัวกันเปนดาวเคราะหทั้ง 9 ดวง รวมทั้งโลกของเราดวย


ดวยสภาวะของแรงดึงดูดระหวางมวล ทําใหสารสวนใหญถูกดึงเขาสูศูนยกลางเกิดเปนดวงอาทิตย
ฝุนแกสที่เหลือถูกเหวีย่ งหมุนเปนวงรอบจุดศูนยกลาง

รูปแสดงการหมุนวนของกลุมฝุนและแกสในอวกาศที่ทําใหเกิดระบบสุริยะ

นักวิทยาศาสตรเชื่อวาการยุบตัวรวมกันของฝุนแกสกลายเปนระบบสุริยะ ทําใหดวงอาทิตยและ
บริวารมีสวนประกอบที่มีธาตุตางๆ คลายคลึงกัน อยางไรก็ตามนักวิทยาศาสตรพยายามหาขอมูลทั้งทางตรง
และ ทางออมที่จะศึกษาโครงสรางและธาตุที่เปนองคประกอบภายในโลก ขอมูลที่นักวิทยาศาสตรศึกษา

หนวยที่ 1โลกและการเปลี่ยนแปลง หนาที่ 1


จากขอมูลและหลักฐานดังกลาว นักวิทยาศาสตรแบงโครงสรางของโลกตามลักษณะมวลสารเปน
ชั้นใหญ 3 ชั้น คือ ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก และแกนโลก

รูปแสดงโครงสรางทั้งชั้นนอกและชั้นใน

1. ชั้นเปลือกโลก (crust) เปนผิวดานนอกที่ปกคลุมโลก สวนที่บางที่สุดของชั้นเปลือกโลกอยูที่


มหาสมุทรแปซิฟกทางตะวันออกของฟลิปปนส และสวนที่หนาที่สุดอยูที่แนวยอดเขา ชั้นเปลือกโลก
แบงเปน 2 บริเวณ คือ
1) เปลือกโลกภาคพื้นทวีป หมายถึง สวนที่เปนแผนดินทั้งหมด ประกอบดวยธาตุซลิ ิคอนรอยละ
65275 และอะลูมิเนียมรอยละ 25235 เปนสวนใหญ มีสีจาง เรียกหินชัน้ นี้วา หินไซอัล (sial) ไดแก
หินแกรนิต ผิวนอกสุดประกอบดวยดิน และหินตะกอน
2) เปลือกโลกใตมหาสมุทร หมายถึง สวนของเปลือกโลกที่ปกคลุมดวยน้ํา ประกอบดวยธาตุ
ซิลิคอนรอยละ 40250 และแมกนีเซียมรอยละ 50260 เปนสวนใหญ มีสีเขม เรียกหินชั้นนี้วา หินไซมา
(sima) ไดแก หินบะซอลตตดิ ตอกับชั้นหินหนืด มีความลึกตั้งแต 5 กิโลเมตรในสวนทีอ่ ยูใตมหาสมุทรลงไป
จนถึง 70 กิโลเมตรในบริเวณที่อยูใตเทือกเขาสูงใหญ

หนวยที่ 1โลกและการเปลี่ยนแปลง หนาที่ 2


2. ชั้นเนื้อโลก (mantle) อยูถัดลงไปจากชั้นเปลือกโลก สวนมากเปนของแข็ง มีความลึกประมาณ
2,900 กิโลเมตรนับจากฐานลางสุดของเปลือกโลกจนถึงตอนบนของแกนโลก เปนหินหนืด รอนจัด
ประกอบดวยธาตุเหล็ก ซิลิคอน และอะลูมิเนียม แบงเปน 3 ชั้น คือ
1) ชั้นเนื้อโลกสวนบน เปนหินที่เย็นตัวแลว บางสวนมีรอยแตก เนื่องจากความเปราะ ชั้นเนื้อโลก
สวนบนกับชัน้ เปลือกโลกรวมกันเรียกวา ธรณีภาค (lithosphere) ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษากรีกทีแ่ ปลวา ชั้น
หิน ชั้น
ธรณีภาคมีความหนาประมาณ 100 กิโลเมตรนับจากผิวโลกลงไป
2) ชั้นฐานธรณีภาค (asthenosphere) มีความลึก 1002350 กิโลเมตร เปนชั้นที่มีแมกมา ซึ่งเปนหิน
หนืดหรือหินหลอมละลายรอน หมุนวนอยูภายในโลกอยางชาๆ
3) ชั้นเนื้อโลกชั้นลางสุด อยูท ี่ความลึก 35022,900 กิโลเมตร เปนชั้นทีเ่ ปนของแข็งรอนแตแนนและ
หนืดกวาตอนบน มีอุณหภูมสิ ูงประมาณ 2,25024,500 องศาเซลเซียส
3. ชั้นแกนโลก (core) แบงเปน 2 สวน คือ
1) แกนโลกชั้นนอก อยูที่ความลึก 2,90025,100 กิโลเมตร เชื่อวาประกอบดวยสารเหลวรอนของ
โลหะเหล็กและนิกเกิลเปนสวนใหญ มีความรอนสูงมาก มีความถวงจําเพาะ 12
2) แกนโลกชั้นใน อยูที่ความลึก 5,10026,370 กิโลเมตร มีสวนประกอบเหมือนแกนโลกชั้นนอก แตอยูใน
สภาพแข็ง เนื่องจากมีความดันและอุณหภูมิสูงมาก อาจสูงถึง 6,000 องศาเซลเซียส มีความถวงจําเพาะ 17
ชั้นตางๆ ของโลกมีลักษณะและสมบัติแตกตางกัน ทั้งดานกายภาพและสวนประกอบทางเคมี โครงสราง
และสวนประกอบภายในของโลกจึงเปนสาเหตุหนึ่งทีท่ ําใหเกิดปรากฏการณทางธรณีวิทยา คือ แผนดินไหว
และภูเขาไฟระเบิด

ที่มา สสวท. (2548) โลกดาราศาสตรและอวกาศ. พิมพครั้งที่4 . กรุงเทพฯ : องคการคาคุรุสภาฯ .


http://www.maceducation.com/knowledge.php 20 ตุลาคม 2551

หนวยที่ 1โลกและการเปลี่ยนแปลง หนาที่ 3


ใบความรูที่ 1.1
เรื่อง โครงสรางของโลก
1. นักดาราศาสตรสันนิษฐานวาระบบสุริยะจักรวาลเกิดจาก............
2. นักวิทยาศาสตรไดศึกษาหาขอมูล เพื่อใหรถู ึงสวนประกอบและลักษณะตางๆ ภายในเปลือกโลก
โดยศึกษาจาก………………
3. ขอมูลที่นักวิทยาศาสตรใชศกึ ษาชวยใหรูเกี่ยวกับโครงสรางภายในโลกคือ………….
4. นักวิทยาศาสตรแบงโครงสรางโลกตามลักษณะมวลสารเปนชั้นใหญๆ 3 ชั้น คือ………..
5. ชั้นเปลือกโลก แบงออกเปน 2 บริเวณ คือ……………..
6. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป หมายถึง...................
7. เปลือกโลกภาคพื้นทวีปประกอบดวยธาตุใดบาง……………..
8. เปลือกใตมหาสมุทร หมายถึง…………….
9. เปลือกโลกใตมหาสมุทร ประกอบดวยธาตุใดบาง…………..
10. ชั้นเปลือกโลกมีความลึกเทาใด…………..
11. ชั้นเนื้อโลกมีความลึกประมาณเทาใด………………
12. ชั้นเนื้อโลกประกอบดวย………………..
13. ธรณีภาคหมายถึง……………….
14. ชั้นธรณีภาคมีความหนาประมาณเทาใด…………………
15. ชั้นธรณีมีความลึกเทาใด………………..
16. ชั้นธรณีภาคจะเปนชั้นของหินหลอมละลายรอนหรือหินหนืด เรียกวาอะไร …………….
17. ชั้นเนื้อโลกชัน้ ลางสุดจะมีความลึกเทาใด…………………….
18. ชั้นแกนโลก (core) มีความลึกเทาใด………………….
19. ชั้นแกนโลกแบงออกไดเปน 2 สวน คือ…………..
20. แกนโลกชั้นนอกประกอบดวยอะไรบาง………………
21. แกนโลกชั้นในประกอบดวยอะไรบาง…………………

หนวยที่ 1โลกและการเปลี่ยนแปลง หนาที่ 4

You might also like