You are on page 1of 13

หลักฐานใหม่ เหลือเชือ

่ !
"พระราชอำานาจ" ของสมเด็จพระปิ ่ นเกล้าฯ ข้อมูลทีร
่ อการเปิ ด
เผย

ข้อเท็จจริงเกีย
่ วกับพระบาทสมเด็จพระปิ ่ นเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ
พระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ สมัยรัชกาลที ่ ๔ เป็ นเรือ
่ งทีค
่ นร้่น้อย และยัง
เป็ นเรือ
่ งทีส
่ ับสนอยู่มาก จึงเป็ นข้อม่ลทีห
่ าอูานยาก ถึงจะมีรายงาน
เข้ามาบ้างนานๆ ครัง้ แตูก็ไมูสม่่าเสมอ ทัง้ นีเ้ นือ
่ งจากรายละเอียด
ของพระองค์มีผ้่ยืนยันไว้น้อย และพระองค์ก็มิใชูนก
ั เขียนประวัติ
ศาสตร์ เอกสารเกูารูวมสมัยทุกชนิดทีพ
่ บ จึงมีความส่าคัญที ่
สามารถให้ความกระจูางในระดับหนึง่ ท่าให้เราเข้าใจเหตุการณ์ใน
พงศาวดารดีขึน
้ นีก
่ ็เป็ นอีกครัง้ หนึง่ ทีห
่ ลักฐานบางอยูางเกีย
่ วกับ
พระองค์ได้รับการบันทึกไว้โดยผ้่สือ
่ ขูาวหนังสือพิมพ์ในสมัยนัน
้ และ
เพิง่ จะถ่กค้นพบเมือ
่ ไมูนานมานี ้
สมเด็จฯ กรมพระยาด่ารงราชานุภาพทรงอธิบายสาเหตุของ
การแตูงตัง้ พระบาทสมเด็จพระปิ ่ นเกล้าเจ้า อยู่หัว (ตูอไปจะเรียก
สัน
้ ๆ วูาพระปิ ่ นเกล้าฯ-ผ้่เขียน) ขึน
้ เป็ นพระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒
ปรากฏอยู่ในหนังสือนิทานโบราณคดี เรือ
่ งเมืองไทยมีพระเจ้า
แผูนดิน ๒ พระองค์ วูาเป็ นเพราะ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์มีด
วงพระชาตาแรง ถึงขนาดจะต้องได้เป็ นพระเจ้าแผูนดิน ดังนัน
้ เมือ

ขุนนางชัน
้ ผ้่ใหญูในตระก่ลบุนนาคอัญเชิญเจ้าฟ้ามงกุฎขึน
้ เป็ น
กษัตริย์ หากทรงรับเพียงพระองค์เดียวก็จะเกิดอัปมงคลขึน
้ ด้วย
กีดกันบารมี พระราชอนุชา จึงทรงสถาปนาเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรัง
สรรค์ ขึน
้ เป็ นกษัตริย์องค์ที ่ ๒ พร้อมกับพระองค์ด้วย(๑)
ค่าชีแ
้ จงนีเ้ ปิ ดเผยขึน
้ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ เมือ
่ ข้อม่ลถ่กเผยแพรูใน
หนังสือเลูมดังกลูาว หรือภายหลังพระปิ ่ นเกล้าฯ สวรรคตแล้วถึง
๗๖ ปี หลังจากทีไ่ มูมีผ้่ใดติดใจตรวจความชัดเจน จึงเป็ นทีย
่ อมรับ
กันโดยไมูมีใครคัดค้านวูาพระปิ ่ นเกล้าฯ มีดวงพระชาตาแรง นีค
่ ือ
เหตุผลทีท
่ ราบกันในหมู่คนไทยทัว
่ ไป แตูส่าหรับชาวตูางประเทศแล้ว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลับไมูทรงใช้เหตุผลทาง
โหราศาสตร์ ในทางตรงกันข้ามทรงอ้างถึงความเหมาะสมอืน
่ ๆ ดัง
เชูน ในพระราชสาส์นถึงประธานาธิบดี เจมส์ บ่แคนัน (James Buchanan)

แหูงสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. ๑๘๖๐ ทรงกลูาววูา สมเด็จพระอนุชาธิ


ราชนัน
้ ทรงพระปรีชารอบร้ก
่ ารในพระนครและการตูางประเทศเป็ น
อันมาก สมควรจะได้มีโอกาสชูวยราชการแผูนดิน ประคับประคอง
ประเทศชาติให้มีความมัน
่ คงพัฒนาถาวร คล้ายกับการทีอ
่ เมริกามี
ประธานาธิบดี พร้อมกัน ๒ คนนัน
่ เอง จึงเป็ นเรือ
่ งนูาคิดอยู่ ทวูา
ความไมูชัดเจนดังกลูาวได้กูอให้ เกิดแรงกระเพือ
่ มทางการเมือง ซึง่
มีผลกระทบตูอสถาบันผ้่น่าของประเทศอยูางหลีกเลีย
่ งล่าบาก ตูอ
มาอีกครึง่ ศตวรรษ ในเมืองไทยเริม
่ มีผ้่ไมูเห็นด้วยกับพระราชวินิจฉัย
ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เกีย
่ วกับ ดวงพระชาตาของ
สมเด็จพระอนุชาธิราช เพราะเมือ
่ พิจารณาตามหลักโหราศาสตร์
อยูางละเอียด ก็ไมูพบวูาดวงพระชาตาของพระปิ ่ นเกล้าฯ จะมี
อิทธิพลเหนือกวูา หรือ แม้แตูจะเสมอกันกับดวงพระชาตาของ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ แตูอยูางใด นักวิชาการไทยบางทูาน
ให้เหตุผลเป็ นอยูางอืน
่ วูา การทีท
่ รงยกยูองสมเด็จพระอนุชาธิราช
ขึน
้ มามีพระราชอิสริยยศเทูาเทียมพระองค์นัน
้ ก็โดยล่าเอียงวูาเป็ น
พระอนุชารูวมพระครรโภทรเดียวกัน ทรงรักใครูหวังจะทะนุบ่ารุงถึง
ขนาด มากกวูาจะทรงพิจารณาถึงดวงดาววูาดีเดูนกวูาของพระองค์
แตูประการใด กรณีทีท
่ รงเบีย
่ งเบนประเด็นวูาดวงพระชาตาของพระ
อนุชาแข็งกวูาพระองค์นัน
้ ก็คงจะเป็ นข้ออ้างเสียมากกวูาอยูางอืน

ตามหลักโหราศาสตร์มีข้อยืนยันทีฉ
่ กรรจ์อยู่ข้อหนึง่ คือ พระลัคนา
ของพระปิ ่ นเกล้าฯ สถิตอยู่ในต่าแหนูงวินาศนะตูอพระลัคนาของ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ซ่า
้ ดาวพระเคราะห์เดูนๆ ยังไปอยู่
ในภพอริและวินาศนะของพระองค์เสียหมด เชูนนีย
้ ูอมเห็นได้วูา
พระองค์ไมูได้ทรงเกรงอิทธิฤทธิค
์ วามแข็งในดวงพระชาตาของ
สมเด็จพระอนุชาธิราชเลยแม้แตูน้อย เพราะดวงพระชาตาของ
พระองค์ทูานขูมไว้หมดทุกประต่อยู่แล้ว(๕)
เมือ
่ ประเด็นเรือ
่ งดวงพระชาตาไมูใชูปัจจัยส่าคัญอีกตูอไป
ความเห็นอืน
่ ๆ จึงเกิดขึน
้ ตามมา ในอีกทัศนะหนึง่ เกิดความเป็ นไป
ได้ส่งทีจ
่ ะมีสาเหตุทางการเมืองพัวพันอยู่ด้วย เหตุผลนีด
้ ่เข้มข้นขึน

เมือ
่ ศึกษาความเป็ นไปได้ เบือ
้ งหลังการเสด็จขึน
้ ครองราชย์ของ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็ นเกณฑ์
การทีม
่ ก
ี ารเมืองเข้ามาแทรก เห็นได้เป็ นเลาๆ ตัง้ แตูเมือ
่ ปลาย
รัชกาลที ่ ๒ กลูาวคือ ในปี พ.ศ. ๒๓๖๗ ขณะทีส
่ มเด็จพระบรมชนก
นาถ (รัชกาลที ่ ๒) สวรรคตนัน
้ พระราชโอรสองค์ใหญูคือเจ้าฟ้า
มงกุฎยังทรงครองสมณเพศเป็ นวชิรญาณภิกขุ และถึงจะทรงทราบ
วูาพระองค์ทรงอยู่ในฐานะเป็ นรัชทายาทตามกฎมณเฑียรบาลทีจ
่ ะ
เสวยราชย์ตูอไป แตูก็ทรงตัดสินพระทัยไมูออกจากสมณเพศ เพราะ
ทรงไมูมีอ่านาจและบารมีทางราชการ เมือ
่ เทียบกับกรมหมืน
่ เจษฎา
บดินทร์ (รัชกาลที ่ ๓) ซึง่ มีอ่านาจราชศักดิอ
์ ยู่ในขณะนัน
้ และก่าลัง
ได้รับการสนับสนุนจากขุนนางตระก่ลบุนนาคอยูางเต็มก่าลังให้สืบ
ตูอแผูนดิน เจ้าฟ้ามงกุฎจึงทรงเลือกทีจ
่ ะผนวชอยู่ตูอไป เพือ
่ หลบลี ้
ภัยทางการเมืองด้วยความเต็มพระทัย ภาวะแหูงความละเอียดอูอน
ได้ผูอนคลายลงระดับหนึง่ อยูางน้อยก็ท่าให้บ้านเมืองสุขสงบได้เป็ น
เวลา ๑๐ กวูาปี
การทีว
่ ชิรญาณภิกขุทรงครองสมณเพศตูอไปนัน
้ เป็ นเหตุให้
พระองค์เป็ นพระบรมวงศานุวงศ์เพียงพระองค์เดียวทีท
่ รงมิได้มี
อ่านาจทางการทหารหรือไพรูพลในความด่แลปกครอง และจะ
กลายเป็ นองค์ประกอบส่าคัญทีผ
่ ลักดันให้พระองค์ทรงเป็ นทางเลือก
ใหมูเมือ
่ ปลายรัชกาลที ่ ๓ ทีข
่ ุนนางตระก่ลบุนนาคชุดเดิมจะเลือก
สนับสนุนพระองค์ให้สืบราชสมบัติตูอไป เพราะสะดวกตูอการ
" ควบคุม" และประสานผลประโยชน์ส่าหรับกลูุมขุนนางมากกวูาเจ้า
นายองค์อืน
่ ๆ ก็ยังเป็ นกระแสทางการเมืองทีแ
่ วดล้อมพระองค์อยู่
โดยตรง นอกจากวชิรญาณภิกขุจะทรงเป็ นพระสงฆ์ผ้่อูอนแอและ
ไมูมีอ่านาจแตูอยูางใดทีจ
่ ะยูุงเกีย
่ วหรือก้าวกูายผลประโยชน์ตูางๆ
และขัดบารมีกับกลูุมขุนนางแล้ว พระองค์ยังทรงต้องร่าลึกถึงบุญ
คุณของคนในตระก่ลบุนนาคในอนาคตอีกด้วย(๒)
จากเหตุผลด้านการเมืองนี ้ ท่าให้เกิดความกดดันในการวาง
นโยบายของผ้่น่าประเทศ พระเจ้าอยู่หัวพระองค์ใหมูทรงตระหนัก
ถึงความจ่าเป็ นในการสร้างฐานอ่านาจของพระองค์เองไว้เชูนกัน
บุคคลทีเ่ หมาะสมทีส
่ ุดในเวลานัน
้ ไมูมีผ้่ใดเดูนไปกวูาพระราชอนุชา
องค์รอง คือ กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ผ้่ทรงมีพระกิตติศัพท์โดูงดังใน
ต่าแหนูงผ้่คุมก่าลังด้านกองทัพมาโดยตลอดรัชกาลที ่ ๓ นอกจากจะ
ทรงเคยเป็ นแมูทัพเรือยกไปปราบญวนแล้ว ยังทรงเป็ นผ้่บัญชาการ
ทหารปื นใหญูและกองทหารตูางด้าวอีกด้วย
พระเกียรติคุณของเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ นับได้วูาเป็ นที ่
เลือ
่ งลือทัง้ ภายในและตูางประเทศ พระองค์ทรงได้ชือ
่ วูาเป็ นเจ้านาย
ชัน
้ ส่งทีม
่ ีความปราดเปรือ
่ งในวิชาการด้านตะวันตก ไมูวูาจะเป็ น
ภาษาอังกฤษ ความร้่ด้านชูาง ความร้่ด้านธรรมเนียมการท่ต ความ
ร้่ด้านระบบการเมืองการปกครองของตูางประเทศ ความร้่เกีย
่ วกับ
การตูอเรือ และโดยเฉพาะความร้่ทางด้าน "การทหาร" ยูอมเป็ นที ่
หวาดระแวงและหวัน
่ เกรงของกลูุมขุนนางตระก่ลบุนนาคอยู่ไมูน้อย
และเนือ
่ งจากการเมืองในระยะนัน
้ มีลักษณะ "ไมูนิง่ " โดยตลอด
การสถาปนากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ขึน
้ สู่ราชบัลลังก์เพราะทรงมีฐาน
ก่าลังพลทีน
่ ูาเกรงขาม อีกทัง้ ยังเป็ นมิตรทีด
่ ีกับชาวตะวันตก จึงเป็ น
" ข้ออ้าง" ทางการเมืองทีป
่ ลอดภัยทีส
่ ุดส่าหรับพระบาทสมเด็จพระ
จอมเกล้าฯ นอกเหนือจากข้ออ้างด้านโหราศาสตร์ ก็เพือ
่ กลบ
เกลือ
่ นพระราชวินิจฉัยสูวนพระองค์ อันเป็ นการรักษาดุลยภาพของ
ราชบัลลังก์ หรือการ "แก้เกมส์" กับกลูุมขุนนางตระก่ลบุนนาค และ
เพือ
่ หาทางบัน
่ ทอนความแข็งแกรูงของผ้่ทีผ
่ ่กขาดอ่านาจ
ความเป็ นไปในราชส่านักสยามภายหลังรัชกาลที ่ ๔ เสด็จขึน

ครองราชย์ การสถาปนากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ และความตืน
่ ตัว
ของกลูุมขุนนางในสมัยนัน
้ มิได้รอดพ้นสายตาอันแหลมคมของชาว
ตะวันตกไปได้ ครัง้ หนึง่ นายแฮรี ่ ปาร์คส์ (Harry Parkes) กงสุลอังกฤษ
ได้รับรายงานจากนายเบลล์ ผ้่ชว
ู ยกงสุล เกีย
่ วกับการตูอต้าน
พระปิ ่ นเกล้าฯ แจ้งขูาวไปยังเอิร์ลแหูงคลาเรนดอน (Earl of Clarendon)

รัฐมนตรีตูางประเทศอังกฤษในลอนดอน ดังนี ้

ลอนดอน ๑๐ กันยายน ๑๘๕๕

เรียน ฯพณฯ

ข้าพเจ้าได้รับแจ้งจากนายเบลล์ เมือ
่ วันที ่ ๒๘ พฤษภาคม
๑๘๕๕ [พ.ศ. ๒๓๙๘] เกีย
่ วกับการถึงแกูพิราลัยของสมเด็จองค์ใหญู
[ หมายถึงสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประย่รวงศ์-ดิศ บุนนาค] ซึง่ ขณะ
นีเ้ ป็ นทัง้ พระกลาโหมและพระคลังนัน
้ มีความส่าคัญอยูางยิง่ ซึง่ บาง
ครัง้ ด่เหมือนจะมีอ่านาจมากทีส
่ ุดในบรรดาเสนาบดีทัง้ ประเทศ
สมเด็จทัง้ สององค์ได้ชูวยกันรักษาการสืบสันตติวงศ์ของ
พระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน ซึง่ เป็ นการขัดพระราชประสงค์ของ
พระเจ้าอยู่หัวองค์กอ
ู น และไมูรีรอทีจ
่ ะสร้างอ่านาจและอิทธิพลให้
แกูตนเอง ให้เป็ นทีท
่ ราบกันโดยทัว
่ ไป ด้วยการสูงเสริมให้ตนเองมี
อ่านาจยิง่ ขึน
้ เรือ
่ ยๆ ผ้่ทีม
่ ีความมักใหญูใฝู ส่งมากทีส
่ ุดคือพระ
กลาโหม [หมายถึงบุตรสมเด็จองค์ใหญู คือสมเด็จเจ้าพระยาบรม
มหาศรีสุริยวงศ์-ชูวง บุนนาค] ผ้่ซงึ่ ขณะนีด
้ ่ารงต่าแหนูงอัครมหา
เสนาบดีและแสวงหาชูองทางทีจ
่ ะมีอ่านาจเหนือพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ ผ้่ซงึ่ ทรงปรารถนาทีจ
่ ะรักษาพระราชอ่านาจ
ของพระเชษฐาไว้ แตูเป็ นการยากทีจ
่ ะท่าเชูนกัน ดังนัน
้ การด่าเนิน
งานของพระกลาโหมจึงประสบความส่าเร็จ พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๑ ทรงไมูพอพระทัย ทัง้ ความสามารถของ
พระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ และหวาดระแวงการรวบรวมทหารทีม
่ ีความ
สามารถเพือ
่ รักษาความปลอดภัยของพระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ ด้วย
บางทีอาจจะเป็ นเพราะความแตกตูางระหวูางวัย จึงท่าให้
สมเด็จองค์ใหญูมักจะไมูมีสูวนหรือเห็นพ้องกับความมักใหญูใฝู ส่ง
ของพระกลาโหม ซึง่ มักจะถ่กจับตามองจนตลอดชีวิตของบิดาของ
ทูาน การถึงแกูพิราลัยของสมเด็จองค์ใหญู ท่าให้ฐานะของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตกอยู่ในอันตรายยิง่ ขึน
้ นายเบลล์เขียนมาวูา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเศร้าโศกกับการส่ญเสียครัง้ นีอ
้ ยูาง
เห็นได้ชัด พระองค์จะเสด็จไปเยีย
่ มสมเด็จองค์ใหญูเมือ
่ ยังประชวร
อยู่วันละ ๒-๓ ครัง้ เสมอ และมีพระราชประสงค์ทีจ
่ ะให้พระกลาโหม
จัดงานพระราชทานเพลิงให้สมเด็จองค์ใหญูในวังหลวง แตูถก

ปฏิเสธอยูางแข็งขันวูา สมเด็จองค์ใหญูได้แสดงความประสงค์ไว้ ให้
พระราชทานเพลิงในวัดสูวนตัว [หมายถึงวัดประยุรวงศาวาส] สิง่ แรก
ทีพ
่ ระกลาโหมจัดการหลังการถึงแกูพิราลัยของบิดาก็คือ การสร้าง
จวนใหญู [ปั จจุบันคือบริเวณทีต
่ ัง้ ของโรงเรียนศึกษานารี] ซึง่ มีขนาด
ใหญูและหร่หรากวูาวังของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ จัด
เป็ นทีพ
่ ักของพีน
่ ้องทุกคน เรือ
่ งนีเ้ หมือนกับเป็ นการท้าทายพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ ซึง่ แสดงพระองค์เป็ นศัตร่กับทูาน
การปะทะกันระหวูางพระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ กับทหารของพระ
กลาโหมจึงเกิดขึน
้ อยู่เสมอ [ตูอด้วยเรือ
่ งอืน
่ ๆ]

แฮรี ่ ปาร์คส์(๔)
แตูการทีค
่ ุณสมบัติพิเศษของพระปิ ่ นเกล้าฯ จากการทีไ่ ด้รับ
แตูงตัง้ ขึน
้ เป็ นกษัตริย์เพือ
่ คานอ่านาจกลูุมขุนนาง จะท่าให้พระองค์
ทรงมีฐานะภายนอกส่าคัญขึน
้ กวูาเดิม ก็มไิ ด้เป็ นหลักประกันความ
ราบรืน
่ เสมอไป การมีพระเจ้าอยู่หัว ๒ พระองค์ในเวลาเดียวกัน
ท่าให้พระองค์ทรงถ่กกีดกันตลอดเวลา เพราะมีคนไมูเห็นด้วยอยู่
มาก แม้แตูค่าเลูาลือวูา พระปิ ่ นเกล้าฯ ทรงอยู่ในฐานะล่า
้ หน้ากวูา
พระเชษฐา ก็ยังถ่กหยิบยกมาเป็ นขีป
้ ากของค่าครหาอันสะเทือนใจ
ตูางๆ ดังส่านวนทีพ
่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงบริภาษให้
พระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชูุม บุนนาค) ราชท่ตไทยในอังกฤษฟั งวูา
" การท่าสัญญาด้วยอังกฤษแลการทนุบ่ารุงบ้านเมืองก็ดี แตูงท่ตไปก็
ดี เปนความคิดวังหน้าทัง้ หมด วังหลวงเปนแตูอืออือแอแอ
พยักพเยิดอยู่เปลูาๆ เมือ
่ แขกเมืองเข้ามา วังหน้าต้องแอบข้างหลัง
สอนให้พ่ดจึงพ่ดกับแขกเมืองได้ ทูานทัง้ ปวงไปพ่ดทีโ่ น้นดังบอกมานี ้
ถึงจริงเหนเขาจะวูาปดวูาเท็จ เขาจึงลงหนังสือพิมพ์วูา ทีจ
่ ริงการ
แผูนดินเปนความคิดสติปัญญาฤทธาอ่านาจวังหน้าหมด ทูานทัง้ ปวง
ไมูระวังปากระวังตัว ซ่า
้ ไปพ่ดลดหยูอนทหารวังหน้าทีแ
่ ขงแรงและ
มากมายกวูาทหารวังหลวง ข้าพเจ้ามีความวิตกกลัวเขาจะวูาท่ตไทย
ปดนัก"(๓) จึงมิใชูข้อเท็จจริงตามสถานการณ์ทีเ่ กิดขึน
้ จริงๆ
จากการค้นพบเอกสารเพิม
่ เติมซึง่ เคยถ่กตีพิมพ์ในสมัยนัน

ช่าระแล้วไมูพบค่าครหาดังกลูาวแตูอยูางใด ท่าให้วิเคราะห์ได้วูา
อาจเป็ นการตัดไม้ขูมนามของวังหลวงในการก่าราบความก่าเริบเสิบ
สานของพวกขุนนางตระก่ลบุนนาคทีส
่ ร้างขูาวบิดเบือนเกีย
่ วกับ
สถานภาพของราชบัลลังก์ ซึง่ สูอให้เห็นถึงการเลือกปฏิบัติของกลูุม
ขุนนาง ทัง้ ทางลับและทางแจ้งทีท
่ วีความรุนแรงขึน
้ โดยมีแผนการ
ให้เกิดความร้าวฉานระหวูางพระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๑ และองค์ที ่ ๒
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ จึงมีรับสัง่ แทงใจด่าขุนนางเหลูานัน

โดยเสียดสีพระปิ ่ นเกล้าฯ แทนการกลูาวโทษผ้่อืน
่ โดยตรง อัน
เป็ นการสร้างสถานการณ์และหวังผลทางการเมืองของพระเจ้าอยู่หัว
ทางอ้อม
หลักฐานใหมูทีแ
่ สดงวูาภาพพจน์ของวังหลวงในการเป็ นศ่นย์
รวมอ่านาจทีแ
่ ท้จริง และบทบาทของวังหน้าทีถ
่ ่กแตูงตัง้ ขึน
้ ด้วย
เหตุผลทางการเมือง ได้รับการตีแผูอยูางตรงไปตรงมาตาม
หนังสือพิมพ์ของชาวตะวันตก ดังตัวอยูางทีพ
่ บครัง้ ลูาสุดตูอไปนี ้
ฉบับที ่ ๑ หนังสือพิมพ์ L"ILLUSTRATION ของฝรัง่ เศส ฉบับวันที ่
๒๔ มีนาคม ๑๘๖๖ พาดหัวขูาวพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ของ
พระปิ ่ นเกล้าฯ กลูาวถึงการถูวงดุลอ่านาจระหวูางพระเจ้าแผูนดิน ๒
พระองค์ ทูาม กลางความผันผวนทางการเมือง ยืนยันฐานะของ
พระปิ ่ นเกล้าฯ ไว้วูา "ต่าแหนูงกษัตริยอ
์ งค์ที ่ ๒ นัน
้ เป็ นเพียง
ต่าแหนูงกิตติมศักดิท
์ ีไ่ มูมีบทบาทมากนัก พระองค์ทรงไมูมีพระราช
กรณียกิจโดยตรงทีเ่ กีย
่ วข้องกับการบริหารราชการแผูนดินเลย
อ่านาจทีแ
่ ท้จริงตกอยู่กับพระเชษฐาผ้่พี ่ คือกษัตริย์องค์ที ่ ๑ แตู
เพียงผ้่เดียว"(๗)
ฉบับที ่ ๒ หนังสือพิมพ์ THE ILLUSTRATED LONDON NEWS ของอังกฤษ
ฉบับวันที ่ ๑๗ มีนาคม ๑๘๖๖ ลงภาพขูาวด้านในพระบรมฉายา
สาทิสลักษณ์ของพระปิ ่ นเกล้าฯ (แตูลงร่ปผิดเป็ นร่ป ร.๔) กลูาววูา
" พระเจ้าแผูนดินองค์ที ่ ๑ และองค์ที ่ ๒ ทรงมีอ่านาจไมูเทูา
เทียมกันในทางปฏิบัติ พระราชอ่านาจทีแ
่ ท้จริงมากถึง ๒/๓ ของ
ทัง้ หมดเป็ นของพระองค์ที ่ ๑ เหลือเพียง ๑/๓ ของอ่านาจทีเ่ หลือตก
เป็ นของพระองค์ที ่ ๒"(๘)
ฉบับที ่ ๓ หนังสือพิมพ์ HARPER"S WEEKLY ของอเมริกา ฉบับวันที ่
๑๔ เมษายน ๑๘๖๖ พาดหัวขูาวการสวรรคตของพระปิ ่ นเกล้าฯ
กลูาวเป็ นเสียงเดียวกันกับในฉบับที ่ ๒ แตูเพิม
่ เนือ
้ หาขึน
้ อีกวูา
" กษัตริย์องค์ที ่ ๒ ตามค่าบอกเลูาของเซอร์จอห์น เบาริง่ , คงจะ
เป็ นบุรุษทีเ่ ปี ่ ยมไปด้วยความสามารถหากพระองค์ไมูถ่กบดบัง
(eclipsed) โดยกษัตริย์องค์ที ่ ๑ ซึง่ เป็ นพระเชษฐาผ้่กระตือรือร้น และ มี
ฐานะทางการเมืองส่าคัญกวูามาก"(๖)
ค่าให้การของผ้่สันทัดกรณี สะท้อนให้เห็นภาพสถานการณ์ที ่
เป็ นอยู่จริง ท่าให้ข้อถกเถียงเรือ
่ งพระราชอ่านาจของพระปิ ่ นเกล้าฯ
ทีว
่ ูาการท่านุบ่ารุงบ้านเมือง การแตูงท่ตไปตูางประเทศ และ
ราชการแผูนดินเป็ นสติปัญญาของพระปิ ่ นเกล้าฯ ทัง้ หมดนัน
้ ต้องตก
ไปโดยปริยาย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงสถาปนาพระปิ ่ น
เกล้าฯ ขึน
้ เพือ
่ "เน้น" การถูวงดุลอ่านาจเป็ นกรณีเฉพาะ เพือ

ตัดตอนผลประโยชน์และสลายขัว
้ อิทธิพลทางทหารของผ้่น่ากลูุม
ขุนนาง ทัง้ เป็ นการป้ องกันการผ่กขาดทางการเมืองของผ้่ไมูหวังดี
และเสริมสร้างฐานอ่านาจของราชบัลลังก์ให้มัน
่ คงยิง่ ขึน
้ เป็ นเหตุให้
พระปิ ่ นเกล้าฯ ทรงหลีกเลีย
่ งจากการประกอบพระราชกรณียกิจ ซึง่
จะท่าให้เป็ นปฏิปักษ์ตูอพระเชษฐาเสียเอง ด้วยความเกรงพระทัย
ความล่า
้ หน้าของพระปิ ่ นเกล้าฯ อันเป็ นสาเหตุของความขัดเคือง
พระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ จึงไมูเคยเกิดขึน

เมือ
่ เกิดขูาวลือไมูสร้างสรรค์ทีไร พระปิ ่ นเกล้าฯ จะทรงเป็ นฝู ายถอย
ไปเองทุกครัง้ เสมอ หลักฐานชิน
้ ส่าคัญชิน
้ สุดท้ายพบเมือ
่ เร็วๆ นีเ้ ชูน
กัน อธิบายฐานะของพระปิ ่ นเกล้าฯ ระบุอยู่ในหนังสือของทาง
ราชการไทยเลูมหนึง่ กลูาววูา
" มีเหตุผลส่าคัญทีจ
่ ะเชือ
่ วูาสถานภาพของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ ไมูคูอยจะสะดวกสบายนัก พระองค์เป็ นผ้่ทีม
่ ี
คนริษยาอยู่จ่านวนไมูน้อย และด้วยเหตุนีค
้ วามสุขุมรอบคอบทีส
่ ุด
จึงจ่าเป็ นส่าหรับพระองค์ทีจ
่ ะต้องคงไว้และปกป้ องสถานภาพของ
พระองค์ ในราชอาณาจักรนีไ้ ว้ตูอไปในอนาคตด้วย"(๔)
เป็ นเรือ
่ งประหลาดเหลือเชือ
่ เรือ
่ งหนึง่ ของพงศาวดารกรุง
รัตนโกสินทร์ ทีพ
่ ระเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึง่ ผ้่ทรงปรีชาสามารถทีส
่ ุด
ในยุคสมัยของพระองค์ ต้องถ่กบดบังไว้ด้วยเงือ
่ นไขทางการเมืองอัน
สลับซับซ้อน โดยมีจุดประสงค์เพือ
่ ปกป้ องราชบัลลังก์เอาไว้ แตูด้วย
ความน้อยพระทัยในสถานภาพทีเ่ สียเปรียบและเป็ นรองตลอดเวลา
เป็ นเหตุให้ทรงปลีกวิเวกเสด็จไปประทับตามหัวเมืองไกลๆ เป็ นระยะ
เวลายาวนาน เพือ
่ หนีให้พ้นค่าต่าหนิติเตียนตูางๆ เทูาทีจ
่ ะท่าได้
อาจกลูาวได้วูาพระราชอ่านาจอันจ่ากัดของพระปิ ่ นเกล้าฯ ขณะ
ด่ารงต่าแหนูงพระเจ้าอยู่หัวองค์ที ่ ๒ สูงผลให้บทบาทอันมีความ
หมายของพระองค์ลดน้อยถอยลงกวูาทีท
่ รงเคยมีเมือ
่ ครัง้ ทรงกรม
เป็ นกรมขุนอิศเรศรังสรรค์เสียอีก

เอกสารประกอบการค้นคว้า
( ๑) ด่ารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. นิทานโบราณคดี. พิมพ์
เป็ นอนุสรณ์ในงานศพ คุณหญิงกสิการบัญชา, กรุงเทพฯ, ๒๕๐๑.
( ๒) เทอดพงศ์ คงจันทร์. การเมืองเรือ
่ งสถาปนาพระจอมเกล้าฯ.
กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๗.
( ๓) พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ. รวมอยู่ใน
หนังสืองานฉลองครบรอบ ๘๔ ปี มหามกุฏราชวิทยาลัย, กรุงเทพฯ,
๒๕๒๑.
( ๔) ศิวะลีย์ ภู่เพ็ชร์. บันทึกสัมพันธภาพระหวูางประเทศสยามกับ
นานาประเทศ. กรมศิลปากรจัดพิมพ์, ๒๕๔๑.
( ๕) สมบัติ พลายน้อย. พระบาทสมเด็จพระปิ ่ นเกล้าฯ กษัตริย์วังหน้า.
กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๕.
( ๖) หนังสือพิมพ์ HARPER"S WEEKLY. New York, 14 April 1866.
( ๗) หนังสือพิมพ์ L"ILLUSTRATION. Paris, 24 March 1866.

( ๘) หนังสือพิมพ์ THE ILLUSTRATED LONDON NEWS. London, 17 March 1866.

You might also like