You are on page 1of 39

หนวยการเรียนรูที่ 4

การแปลงทางเรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
มาตรฐาน ค 3.2 : ขอ 2 และ ขอ 3 1. วิ เ คราะห แ ละอธิ บ ายความสั ม พั น ธ
มาตรฐาน ค 4.2 : ขอ 6 ระหว า งรู ป ต น แบบและภาพที่ ไ ด จ าก
มาตรฐาน ค 6.1 : ขอ 1 และ ขอ 2 การเลื่ อ นขนาน การสะท อ นและ
มาตรฐาน ค 6.2 : ขอ 1 การหมุนได
มาตรฐาน ค 6.3 : ขอ 1 2. นําสมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน
มาตรฐาน ค 6.4 : ขอ 1 และ ขอ 2 การสะทอน และการหมุนไปใชได
มาตรฐาน ค 6.5 : ขอ 1 3. บอกพิกัดของรูปเรขาคณิตที่ไดจาก
การเลื่อนขนาน การสะทอน และการ
หมุนบนระนาบในระบบพิกัดฉากได

สาระการเรียนรู

4.1 การเลื่อนขนาน (4 คาบ)


4.2 การสะทอน (4 คาบ)
4.3 การหมุน (4 คาบ)

พรอมหรือยัง ? ถาพรอมแลว ก็เริม่ เรียนแลวนะครับ

97
98 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2
MATH

Series
4.1 การเลื่อนขนาน

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายและสมบัติของการเลื่อนขนานบนระนาบได
2. หาภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานรูปตนแบบได
3. หาเวกเตอรของการเลื่อนขนานเมื่อกําหนดรูปตนแบบและภาพที่ไดจาก
การเลื่อนขนานได
4. บอกพิกัดของภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของรูปตนแบบที่กําหนดใหได
5. เมื่ อ กํ า หนดรู ป เรขาคณิ ต สองรู ป ที่ แ สดงการแปลงทางเรขาคณิ ต ให
สามารถบอกไดวารูปคูใดแสดงการเลื่อนขนาน

ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแกปญหา
3. การใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนักในคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 99

การแปลงทางเรขาคณิต (Transformation)
การแปลงทางเรขาคณิต เปนการจับคูกันแบบหนึ่งตอหนึ่งที่สมนัยกันระหวางจุดตาง ๆ บน
ระนาบของรูปตนแบบกับจุดตาง ๆ บนระนาบของภาพที่เกิดจากรูปตนแบบนั้น อาจเรียกอีกอยาง
หนึ่งวา การสง (Mapping)
ในทางเรขาคณิต มีการแปลงที่กลาวถึงความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตกอการแปลงและ
รูปเรขาคณิตหลังการแปลง เรียนรูปเรขาคณิตกอนการแปลงวา รูปตนแบบ และเรียนรูปเรขาคณิต
หลังการแปลงวา ภาพที่ไดจากการแปลง เชน
จุด A ถูกสงไปยังจุด A ′ ( A ′ เรียกวา เอไพรม)


A A′
เรียกจุด A วา รูปตนแบบของจุด A ′
เรียกจุด A ′ วา ภาพที่ไดจากการแปลง จุด A
เรากลาววาจุด A และจุด A ′ เปนจุดที่สมนัยกัน
นักเรียนพิจารณารูปตอไปนี้
กําหนดให +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการแปลง +ABC
A
A′

C C′

B′
B

จากรูป จุด A และจุด A ′ เปนจุดที่สมนัยกัน


จุด B และจุด B′ เปนจุดที่สมนัยกัน
และ จุด C และจุด C′ เปนจุดที่สมนัยกัน
เรากลาววา AB กับ A ′B ′ เปนดานที่สมนัยกัน
……………………เปนดานที่สมนัยกัน
……………………เปนดานที่สมนัยกัน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


100 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ชวยผมทําหนอย

กําหนดให ,P ′Q ′R ′S′ เปนภาพที่ไดจากการแปลง ,PQRS


P Q

R S
P′ Q′

R′ S′

จากรูป จุด
P และจุด …… เปนจุดที่สมนัยกัน
จุด
Q และจุด …… เปนจุดที่สมนัยกัน
จุด
R และจุด …… เปนจุดที่สมนัยกัน
และ จุด
S และจุด …… เปนจุดที่สมนัยกัน
เรากลาววา PQ กับ P ′Q ′ เปนดานที่สมนัยกัน
……………………เปนดานที่สมนัยกัน
……………………เปนดานที่สมนัยกัน
……………………เปนดานที่สมนัยกัน

ในที่นี้จะกลาวถึงการแปลงทางเรขาคณิต 3 แบบ ไดแก การเลื่อนขนาน การสะทอน และ


การหมุน ซึ่งการแปลงทางเรขาคณิตทั้งสามแบบนี้จะไดภาพที่มีรูปรางเหมือนกันและขนาดเดียวกัน
กับรูปตนแบบเสมอ ตัวอยางเชน
การแปลงที่เปนการเลื่อนขนาน การแปลงที่เปนการสะทอน

การแปลงที่เปนการหมุน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 101

การเลื่อนขนาน
การเลื่อนขนานบนระนาบ เปนการแปลงทางเรขาคณิตแบบหนึ่งที่มีการเลื่อนจุดทุกจุดไป
บนระนาบตามแนวเสนตรงในทิศทางเดียวกัน และเปนระยะทางที่เทากันตามที่กําหนด

ตัวอยางที่ 1 กํ า หนด +ABC เป น รู ป ต น แบบ เมื่ อ เลื่ อ นขนาน +ABC ไปในทิ ศ ทางและ
ระยะทางตามที่กําหนดดังรูป แลว +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน
A A ′B′C′
+ A′

P •
C′ P′
C

B B′
จากรูป จะพบวา มีการเลื่อนจุด A ไปที่จุด A ′
เลื่อนจุด B ไปที่จุด …………
และ เลื่อนจุด C ไปที่จุด …………
ในทิศทางเดียวกันและเปนระยะทางเทากัน
จะไดวา AA ′ , ……… และ ……… ขนานกันและยาวเทากัน
ถา P เปนจุดใด ๆ บน +ABC แลวจะมีจุด P ′ บน +A ′B′C′ เปนจุด
สมนัยกันกับจุด P และ PP ′ จะขนานและยาวเทากับความยาวของ AA ′ , ………
และ ……… ดวย
ในการบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนาน จะใช เวกเตอร เปนตัวกําหนด
จากตัวอยางขางตน อาจใชเวกเตอร MN เพื่อบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนาน
ดังรูป
A A′

P •
C′ P′
C

B B′
M N
ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3
102 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

JJK JJK
เวกเตอร MN อาจเขียนแทนดวย MN ซึ่ง MN จะมีทิศทางจากจุดเริ่มตน M ไปยังจุดสิ้นสุด
N และมีขนาดเทากับความยาวของ MN
จากตัวอยางการเลื่อนขนานขางตน จะไดวา
1. AA ′ , ……… , ……… และ ……… จะขนานกันกับ MN
2. AA ′ = ……… = ……… = ……… = MN
สมบัติของการเลื่อนขนาน
1. สามารถเลื่อนรูปตนแบบทับภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานไดสนิทโดยไมตองพลิกรูป หรือ
กลาววารูปตนแบบและภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานจะเทากันทุกประการ
2. สวนของเสนตรงบนรูปตนแบบและภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของสวนของเสนตรงนั้นจะ
ขนานกัน
JJK
ตัวอยางที่ 2 จงหาภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน ,PQRS ดวย QQ ′

R
P

•′
Q Q
JJK JJK JJK JJK
แนวคิด 1. ลาก PP ′ , RR ′ และ SS′ ใหขนานและยาวเทากับ QQ ′
2. ลาก P ′S′ , S′R ′ , R ′Q ′ และ Q ′P ′
JJK
′ ′ ′ ′
จะไดรูป ,P Q R S เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน ,PQRS ดวย QQ ′

S S′

R R′
P P′

•′
Q Q

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 103

กิจกรรมที่ 4.1 : ทักษะการใหเหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมาย และนําเสนอ


JJK JJK
1. กําหนด PQ และ MN จงเขียน P ′Q ′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน PQ ดวย MN

N
P
M

Q
JJK
2. กําหนด +ABC จงหาภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน +ABC ดวย MN
A M

C
N
B

ตัวอยางที่ 3 จงหาพิกัดของภาพที่ไดจากการเลื่อนจุดตอไปนี้
1) A(1, 1) เลื่อนไปทางขวาตามแนวแกน X เปนระยะ 5 หนวย

A(1, 1) เลื่อนไปทางขวาตามแนว
แกน X เปนระยะ 5 หนวย จะได
A′(1+ 5,1) = A′(6,1)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


104 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

2) B(2, 5) เลื่อนไปทางซายตามแนวแกน X เปนระยะ 6 หนวย

B(2, 5) เลื่อนไปทางซายตามแนว แกน X


เปนระยะ 6 หนวย จะได
B′(2 - 6, 5) = B′(-4, 5)

3) C(4, 1) เลื่อนลงตามแนวแกน Y เปนระยะ 3 หนวย

C(4, 1) เลื่อนลงตามแนวแกน Y
เปนระยะ 3 หนวย จะได
C′(4,1 - 3) = C′(4, - 2)

4) D(2, -1) เลื่อนขึ้นตามแนวแกน Y เปนระยะ 4 หนวย

D(2, -1) เลื่อนขึ้นตามแนวแกน Y


เปนระยะ 4 หนวย จะได
D′(2, -1+ 4) = D′(2, 3)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 105

จากตัวอยางขางตนพบวา การเลื่อนจุดดังกลาว จะเห็นวา ถาเลื่อนจุดขนานแกน X จะทําให


คาของพิกัดแรกของแตละจุดเปลี่ยนไป แตคาพิกัดหลังคงเดิม ในทํานองเดียวกัน ถาเลือ่ นจุด ขนาน
แกน Y จะทําใหคาพิกัดหลังของแตละจุดเปลี่ยนไป แตคา พิกัดหนาคงเดิม
JK
ตัวอยางที่ 4 ใหจุด A(1, -3) และจุด B(4, -2) เปนจุดปลายของ AB และ PQ เปนเวกเตอรของ
การเลื่อนขนาน (นักเรียนกําหนดเอง) จงหา
JK
1) ภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน AB ดวย PQ
2) พิกัดของจุด A ′ และ B′

………………………………………………………………………………………
JJK
ตัวอยางที่ 5 ใหจุด S(-3, 2) และจุด T(1, 3) เปนจุดปลายของ ST และ MN เปนเวกเตอรของ
การเลื่อนขนาน โดยที่มีจุด M(-5, 4) และ N(-2, 4) จงหา จงหา
JJK
1) ภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน ST ดวย MN
2) พิกัดของจุด S′ และ T ′

………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


106 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ตัวอยางที่ 6 กําหนด +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน +ABC


Y6
1) จงหาพิกัดของจุดยอดมุมของ +A ′B′C′
2) จงหาเวกเตอรของการเลื่อนขนาน +ABC
A
4

2
B
…………………………………………………
C …………………………………………………
…………………………………………………
-5 D 5
X
A'
…………………………………………………
-2

…………………………………………………
-4
B'
…………………………………………………
C'
…………………………………………………
…………………………………………………
-6

ตัวอยางที่ 7 จงพิจารณาวารูป ข เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานรูป ก หรือไม จงอธิบาย


C
1) C'

A B A' B'

รูป ก รูป ข
C C'
2)
A B A' B'

รูป ก รูป ข
C
3) C'

B'
A B A'
รูป ก รูป ข
แนวคิด การพิจารณาวาเปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานของอีกรูปหรือไม ใหพิจารณาดังนี้
1) สามารถเลื่อนรูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งไดสนิทโดยไมมีการพลิกรูป
2) สวนของเสนตรงที่เชื่อมระหวางจุดที่สมนัยกันแตละคูขนานกันและยาวเทากัน
ทุกเสน
ถาผลการแปลงสอดคลองกับเงื่อนไขทั้งสองขอแลว การแปลงนั้นเปนการเลื่อนขนาน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 107

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมที่ 4.2 : ทักษะการใหเหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมาย และนําเสนอ


1. กําหนด +ABC โดยมีจุด A(1, 1) จุด B(4, 1) จุด C(3, 3) เปนจุดยอดมุม จงเขียน +A ′B′C′ ซึ่ง
JJK
เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน +ABC ดวย MN (นักเรียนกําหนดเอง) และหาพิกัด A ′ , B′
และC′

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


108 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

2. กําหนด ,PQRS โดยมีจุด P(-4, 3) จุด Q(-6, 1) จุด R(-5, -1) และจุด D(-3, 0) เปนจุดยอดมุม
JJK
จงเขียน ,P ′Q ′R ′S′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน ,PQRS ดวย MN โดยที่จุด M(-9, 3)
และจุด N(-5, 7)

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

3. กําหนด +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน +ABC


Y 1) จงหาพิกัดของจุดยอดมุมของ +A ′B′C′
6 2) จงหาเวกเตอรของการเลื่อนขนาน +ABC
C
…………………………………………………
4
…………………………………………………
A B …………………………………………………
C' 2 …………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
-5 A' B'
X …………………………………………………
…………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 109

4. จงพิจารณาวารูป ข เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานรูป ก หรือไม จงอธิบาย


1) C C'

A
B'
B A'
รูป ก รูป ข
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
B C C' B'
2)

A D D' A'
รูป ก รูป ข
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
B B'
3)
C C'
A A'

D D'
รูป ก รูป ข
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
4) B B'

C C'
A A'
D D'
รูป ก รูป ข
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


110 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2
MATH

Series
4.2 การสะทอน

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายและสมบัติของการสะทอนบนระนาบได
2. หาภาพที่ไดจากการสะทอนรูปตนแบบได
3. หาเสนสะทอนของการสะทอนเมื่อกําหนดรูปตนแบบและภาพที่ได
จากการสะทอน
4. บอกพิกัดของภาพที่ไดจากการสะทอนของรูปตนแบบที่กําหนดใหได
5. เมื่อกําหนดรูปเรขาคณิตสองรูปที่แสดงการแปลงทางเรขาคณิตให
สามารถบอกไดวารูปคูใดแสดงการสะทอน

ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแกปญหา
3. การใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนั ก ในคุ ณ ค า และมี เ จตคติ ที่ ดี ต อ วิ ช า
คณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 111

การสะทอน
การสะทอน เปนการแปลงทางเรขาคณิตแบบหนึ่งที่มีการจับคูแตละจุดบนรูปตนแบบกับ
จุด แต ละจุด บนรู ปที่ เ กิดจากการสะท อนโดยจุด แตละคูที่สมนัย กัน จะมีระยะห างจากเส นของ
การสะทอนเปนระยะทางเทากันและตั้งฉากกัน

นักเรียนพิจารณารูปตอไปนี้
A
P P′

จะไดวา การสะทอนบนระนาบเปนการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเสนตรง A ที่ตรึงเสนหนึ่ง


เปนเสนสะทอน แตละจุด P บนระนาบจะมีจุด P ′ เปนภาพที่ไดจากการสะทอนจุด P โดยที่
1. ถาจุด P ไมอยูบนเสนตรง A แลวเสนตรง A จะแบงครึ่งและตั้งฉากกับ PP ′
2. ถาจุด P อยูบนเสนตรง A แลวจุด P และจุด P ′ เปนจุดเดียวกัน
และพบวา P ′ เปนภาพสะทอน ระยะทางจากจุด P กับเสนสะทอน A เทากับระยะจากจุด
P′ ถึงเสนสะทอน A และ P เปนรูปตนแบบ
ตอไปนี้เปนตัวอยางการสะทอนที่มีเสนตรง A เปนเสนสะทอน

A A
B B' B C
C'
C C'

A A'
B'
A D
D D' D'

A'

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


112 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ชวยผมทําหนอย

กําหนดให +ABC เปนรูปตนแบบ เมื่อสะทอน +ABC ดวยเสนสะทอน XY และได


+A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการสะทอน ดังรูป
X
B D B'

E
A A'
F
C C'
Y

HJJG
ลาก BB ′ , AA ′ และ CC ′ ตัด XY ที่จุด D, E และ F ตามลําดับ จากความหมายของการ
HJJG
สะทอนจะไดวา XY ตั้งฉากและแบงครึ่ง BB ′ , AA ′ และ CC ′
ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. BB ′ , AA ′ และ CC ′ ขนานกันและยาวเทากันหรือไม
………………………………………………………………………………………………..
2. AB // A ′B′ , BC // B′C′ และ CA // C′A ′ ใชหรือไม
………………………………………………………………………………………………..
3. นักเรียนคิดวาดานแตละดานของรูปตนแบบกับภาพที่ไดจากการสะทอนของดานนั้น
จําเปนตองขนานกันหรือไม
………………………………………………………………………………………………..
4. AB = A ′B′ , BC = B′C′ และ CA = C′A ′ ใชหรือไม
………………………………………………………………………………………………..
5. ใชกระดาษลอกลาย +ABC แลวเลื่อนไปทับ +A ′B′C′ รูปทั้งสองทับกันไดสนิท
หรื อ ไม ถ า ไม ไ ด ใ ห นั ก เรี ย นพลิ ก กระดาษลอกลายแล ว เลื อ น +ABC ไปทั บ +A ′B′C′ และ
ตรวจสอบดูวา +ABC ทับ +A ′B′C′ ไดสนิทหรือไม
………………………………………………………………………………………………..

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 113

จากการทํากิจกรรมขาตนทําใหได สมบัติการสะทอน ซึ่งสรุปไดดังนี้


1) สามารถเลื่อนรูปตนแบบทับภาพที่ไดจากการสะทอนไดสนิทโดยตองพลิกรูป หรือกลาววา
รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการสะทอนเทากันทุกประการ
2) สวนของเสนตรงบนรูปตนแบบและภาพที่ไดจากการสะทอนของสวนของเสนตรงนั้นไม
จําเปนตองขนานกันทุกคู
3) สวนของเสนตรงที่เชื่อมจุดแตละจุดบนรูปตนแบบกับจุดที่สมนัยกันบนภาพที่ไดจากการ
สะทอนจะขนานกัน และไมจําเปนตองยาวเทากัน

ทบทวนของเกา
รู ป เรขาคณิ ต ที่ ส ามารถหารอยพั บ และพั บ รู ป ทั้ ง สองข า งของรอยพั บ ให ทั บ กั น สนิ ท ได
เรียกวา …………………………… และเรียกรอยพับนั้นวา ………………………… รูปสมมาตรบน
เสนแตละรูปอาจมีจํานวนแกนสมมาตรไมเทากัน เชน
D P C

E F

A Q B

,ABCD เปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสและเปนรูปสมมาตรบนเสนที่มีแกนสมมาตร 4 เสนไดแก


HJJG HJJG HJG HJJG
AC , BD , EF และ PQ
รูปสมมาตรบนเสน เปนรูปที่เกิดจากการสะทอน โดยมีแกนสมมาตรเปนเสนสะทอน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


114 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ตัวอยางที่ 1 กําหนด ,ABCD เปนรูปตนแบบ และใหแกน Y เปนเสนสะทอน จงหา


1) ภาพที่ไดจากการสะทอน ,ABCD
2) พิกัดของจุด A ′ , B′ , C′ และ D ′
วิธีทํา Y
4

B
3

2
A
C 1

-4 -2 2 4
X
-1
D

-2

จากรูป จุด A และจุด D อยูบนแกน Y ที่เปนเสนสะทอน จะไดจุด A ′ เปนจุด


เดียวกันกับจุด A และจุด D ′ เปนจุดเดียวกันกับจุด D
สําหรับจุด B และจุด D จะมีจุด B′ และ C′ เปนภาพที่ไดจากการสะทอนซึ่งจุด
แตละคูที่สมนัยกันจะมีพิกัดที่หนึ่งเปนจํานวนตรงขาม เพราะอยูคนละขางของแกน Y เปน
ระยะที่เทากันและจะมีพิกัดที่สองเปนจํานวนเดียวกัน เพราะอยูหางจากแกน X เปนระยะทาง
ที่เทากัน
1) ภาพที่ไดจากการสะทอน ,ABCD ไดดังนี้
4
Y
B(-2, 3) B'(2, 3)
3

2
A(0, 2) A'(0, 2)

C(-3, 1) 1
C'(3, 1)

-4 -2 2 4
X
-1
D(0, -1) D'(0, -1)

-2

2) พิกัดของจุด A ′ , B′ , C′ และ D ′ ไดดังนี้


………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 115

ตัวอยางที่ 2 กําหนด +ABC เปนรูปตนแบบ และใหแกน X เปนเสนสะทอน จงหา


1) ภาพที่ไดจากการสะทอน +ABC
2) พิกัดของ จุด A ′ , B′ และ C′
วิธีทํา 1) ภาพที่ไดจากการสะทอน +ABC ไดดังนี้
4
Y
3
B 2) พิกัดของ จุด A ′ , B′ และ C′
…………………………………………
2

…………………………………………
C
1
A …………………………………………
…………………………………………
-2 2 4
X 6

-1

-2

-3

-4

ตัวอยางที่ 3 กําหนด +ABC เปนรูปตนแบบ และใหเสนตรง A เปนเสนสะทอนที่ขนานกับ


แกน X อยูใตแกน X เปนระยะทาง 3 หนวย จงหา
1) ภาพที่ไดจากการสะทอน +A ′B′C′
2) พิกัดของจุด A, B, C, A ′ , B′ และ D ′
วิธีทํา 1
Y

-4 -2 2 4 X 6

-1

-2

-3 B A
-4
C

A
-5

-6

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


116 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

1) ภาพที่ไดจากการสะทอน +A ′B′C′ ไดดังนี้


1
Y

-4 -2 2 4 X 6

-1

-2

-3 B

-4
C

A
-5

-6

2) พิกัดของจุด A, B, C, A ′ , B′ และ D ′ ไดดังนี้


………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

ตัวอยางที่ 4 กําหนด +PQR เปนรูปตนแบบ และใหเสนตรง A เปนเสนสะทอน จงหา


1) ภาพที่ไดจากการสะทอน +P ′Q ′R ′
2) พิกัดของจุด P, Q, R, P ′ , Q ′ และ R ′
วิธีทํา 1) ภาพที่ไดจากการสะทอน +P ′Q ′R ′ ไดดังนี้
Y Y4 R'
A A
4

3 3 Q'

2
Q 2
Q

1 1
P'
P P
X X
-2 2 4 6 -2 2 4 6

-1 R -1
R

-2 -2

-3 -3

2) พิกัดของจุด P, Q, R, P ′ , Q ′ และ R ′ ไดดังนี้


………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 117

ตัวอยางที่ 5 กําหนด +P ′Q ′R ′ เปนภาพที่ไดจากการสะทอน +PQR ดังรูป จงหาเสนสะทอน


R'

Q'

P' R

วิธีทํา ขั้นที่ 1 ลาก PP ′ และ QQ ′


ขั้นที่ 2 หาจุดกึ่งกลางของ PP ′ และ QQ ′
HJJG
ขั้นที่ 3 ลาก XY ผานจุดกึ่งกลางของ PP ′ และ QQ ′
HJJG
ดังนั้น XY เปนเสนสะทอน
R' R'
R'

Q' Q' Q'

Q Q Q

P' R P' R P' R


Y
P P P

ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3


ตัวอยางที่ 6 จงหาเสนสะทอนของการสะทอนขอตอไปนี้
C C'

B'
B
A A'

วิธีทํา ขั้นที่ 1 ………………………………………………………


ขั้นที่ 2 ………………………………………………………
ขั้นที่ 3 ………………………………………………………
ดังนั้น ………………………………………………………
C C'

B'
B
A A'

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


118 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ตัวอยางที่ 7 จงพิจารณาวารูป ข เปนภาพที่ไดจากการสะทอนรูป ก หรือไม จงอธิบาย


1)

รูป ก รูป ข
2)

รูป ก รูป ข
3)

รูป ก รูป ข
แนวคิด การพิจารณาวาเปนภาพที่ไดจากการสะทอนของอีกรูปหรือไม ใหพิจารณาดังนี้
1) ตองมีการพลิกรูปจึงจะสามารถเลื่อนรูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งไดสนิท
2) สามารถหาเสนสะทอนของการสะทอนรูปตนแบบได
ถาผลการแปลงสอดคลองกับเงื่อนไขทั้งสองขอแลว การแปลงนั้นเปนการสะทอน
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 119

กิจกรรมที่ 4.3 : ทักษะการใหเหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมาย และนําเสนอ

1. จงหาเสนสะทอนของการสะทอนในแตละขอตอไปนี้
1)

2)

3)

2. กําหนด ,ABCD เปนรูปตนแบบ และใหแกน Y เปนเสนสะทอน จงหา


1) ภาพที่ไดจากการสะทอน ,ABCD
2) พิกัดของจุด A ′ , B′ , C′ และ D ′
1) ภาพที่ไดจากการสะทอน ,ABCD
4

Y
B
ไดดังนี้
3

A
2

1
2) พิกัดของจุด A ′ , B′ , C′ และ D ′
C
-4 -2 2 4 X …………………………………………
-1
…………………………………………
-2
…………………………………………
-3
D …………………………………………
-4

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


120 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

3. กําหนด +ABC เปนรูปตนแบบ และใหเสนตรง A เปนเสนสะทอนที่ขนานกับแกน X อยู


บนแกน X เปนระยะทาง 1 หนวย จงหา
1) ภาพที่ไดจากการสะทอน +A ′B′C′ ไดดังนี้
5
Y
C
4

B
2
A

1
A
-2 2 4 6 X
-1

-2

-3

2) พิกัดของจุด A, B, C, A ′ , B′ และ D ′ ไดดังนี้


………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

4. กําหนดใหเสนตรง A เปนเสนสะทอน จงหาภาพที่ไดจากการสะทอนรูปตอไปนี้ พรอมทั้ง


หาพิกัดของจุดยอดมุมของภาพนั้น
1) 6

A Y
5

C
4

2
A

B
-6 -4 -2 2 4 X
-1

………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 121

2) 5
Y
D
4

A 3

2
A C

B
-2 2 4 X 6

-1

-2

-3

………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
3)
Y
6

5
A
D
4

2
A
C
1

B
2 4 X6
-1

………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


122 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2
MATH

Series
4.3 การหมุน

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายและสมบัติของการหมุนบนระนาบได
2. หาภาพที่ไดจากการหมุนรูปตนแบบได
3. หาจุดหมุน ขนาดของการหมุน บอกทิศทางของการหมุน เมื่อกําหนด
รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการหมุนได
4. บอกพิกัดของภาพที่ไดจากการหมุนของรูปตนแบบที่กําหนดใหได
5. เมื่อกําหนดรูปเรขาคณิตสองรูปที่แสดงการแปลงทางเรขาคณิตให สามารถ
บอกไดวารูปคูใดแสดงการหมุน

ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแกปญหา
3. การใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนั ก ในคุ ณ ค า และมี เ จตคติ ที่ ดี ต อ วิ ช า
คณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 123

การหมุน
การหมุน เปนการแปลงที่จุดทุกจุดของรูปตนแบบเคลื่อนที่ไปเปนมุมเดียวกัน รอบจุดคงที่
ที่กําหนดซึ่งเรียกวา จุดหมุน ภาพที่เกิดจากการหมุนจะเทากันทุกประการกับรูปตนแบบ

นักเรียนพิจารณารูปตอไปนี้

P P′

การหมุนบนระนาบเปนการแปลงทางเรขาคณิตที่มีจุด O ที่ตรึงจุดหนึ่งเปน จุดหมุน แตละจุด


P บนระนาบมีจุด P′ เปนภาพที่ไดจากหมุนจุด P รอบจุด O ตามทิศทางที่กําหนดดัวยมุมที่มีขนาด k
โดยที่
1) ถาจุด P ไมใชจุด O แลว OP = OP′ และขนานของ เทากับ k
2) ถาจุด P เปนจุดเดียวกันกับจุด O แลว P เปนจุดหมุน

ชวยผมทําหนอย

กําหนดให +ABC เปนรูปตนแบบ มี +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการหมุนรอบ +ABC


จุดหมุน P ตามเข็มนาฬิกาดวยมุมที่มีขนาด 60 องศา ดังรูป
B

B'
A

C'

C A'

60๐
P

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


124 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ลาก PA , PB , PC , PA ′ , PB ′ และ PC ′ จากความหมายของการหมุนจะได


ˆ ′ ) = m( BPB
m( APA ˆ ′ ) = m( CPC
ˆ ′ ) = 60๐
และ
PA = PA ′ , PB = PB ′ และ PC = PC ′
ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1. AB // A ′B′ , BC // B′C′ และ CA // C′A ′ ใชหรือไม
………………………………………………………………………………………………..
2. นักเรียนคิดวาดานแตละดานของรูปตนแบบกับภาพที่ไดจากการหมุนของดานนั้น
จําเปนตองขนานกันหรือไม
………………………………………………………………………………………………..
3. AB = A ′B′ , BC = B′C′ และ CA = C′A ′ ใชหรือไม
………………………………………………………………………………………………..
4. ใชกระดาษลอกลาย +ABC แลวเลื่อนไปทับ +A ′B′C′ โดยไมพลิกกระดาษลอกลาย
แลวตรวจสอบดูวา +ABC ทับ +A ′B′C′ ไดสนิทหรือไม
………………………………………………………………………………………………..

จากการทํากิจกรรมขาตนทําใหได สมบัติการหมุน ซึ่งสรุปไดดังนี้


1) สามารถเลื่อนรูปตนแบบทับภาพที่ไดจากการหมุนไดสนิทโดยไมตองพลิกรูป หรือกลาววา
รูปตนแบบกับภาพที่ไดจากการหมุนเทากันทุกประการ
2) ส ว นของเส น ตรงบนรู ป ต น แบบและภาพที่ ไ ด จ ากการหมุ น ส ว นของเส น ตรงนั้ น
ไมจําเปนตองขนานกันทุกคู

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 125

ตัวอยางที่ 1 กําหนด +ABC เปนรูปตนแบบ จุด P เปนจุดหมุน จงหา +A ′B′C′ ซึ่งเปนภาพที่


ไดจากการหมุน +ABC ทวนเข็มนาฬิกาดวยมุมที่มีขนาด 60 องศา
A B

P
วิธีทํา
1. ลาก PA
2. สราง APFˆ ใหมีขนาด 60 องศา
JJG
3. ใช P เปนจุดศูนยกลางรัศมี PA เขียนสวนโคงตัด PF ที่จุด A ′
4. ลาก PB
5. สราง BPGˆ ใหมีขนาด 60 องศา
JJJG
6. ใช P เปนจุดศูนยกลางรัศมี PB เขียนสวนโคงตัด PG ที่จุด B′
7. ลาก PC
8. สราง CPEˆ ใหมีขนาด 60 องศา
JJG
9. ใช P เปนจุดศูนยกลางรัศมี PC เขียนสวนโคงตัด PE ที่จุด C′
10. ลาก A ′B′ , B′C′ และ A ′C′
จะได +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC ทวนเข็มนาฬิกาดวย
มุมที่มีขนาด 60 องศา

จากตัวอยางที่ 1 จะเห็นวา เมื่อกําหนดรูปตนแบบ จุดหมุน ทิศทางการหมุน และขนาดของ


มุมที่หมุนให เราสามารถหาภาพที่ไดจากการหมุน
ในทางกลับกัน ถามีรูปตนแบและภาพที่ไดจากการหมุน เราสามารถหาจุดหมุน ทิศทางการ
หมุน และขนาดของมุมที่ใชในการหมุนได ดังนี้

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


126 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ตัวอยางที่ 2 กําหนด +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC จงหาจุดหมุน ทิศทาง


การหมุน และขนาดของมุมที่ใชในการหมุน

B' A

A'
B
C' C

วิธีทํา
1. ลาก AA ′
HJJG
2. สราง PQ แบงครึ่งและตั้งฉากกับ AA ′
3. ลาก CC ′
HJJG
4. สราง XY แบงครึ่งและตั้งฉากกับ ลาก CC ′
HJJG HJJG
5. ให PQ ตัดกับ XY ที่จุด R จะไดจุด R เปนจุดหมุน
6. ลาก RC และ RC ′ จะไดขนาดของ CPC ˆ ′ เปนขนาดของมุมที่ใชในการหมุน
นั่นคือ +ABC หมุนรอบจุด R ทวนเข็มนาฬิกาดวยขนาดของมุมเทากับ
ˆ ′)
m( CPC

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 127

ตัวอยางที่ 3 ถา +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC ที่กําหนดให รอบจุดกําเนิด ตาม


เข็มนาฬิกาดวยมุมขนาด 180 องศา จงหา
1) +A ′B′C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC
2) พิกัดของจุด A ′ , B′ และ C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการหมุนจุด A, B และ C
ตามลําดับ
5
Y
4

A B 3

C 1

-4 -2 O 2 4 6 X
-1

-2

-3

-4

วิธีทํา 1) หา +A ′B′C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC ไดดังนี้


HJJG HJJG HJJG
1. ลาก OA , OB และ OC
HJJG
2. ใช O เปนจุดศูนยกลางรัศมี OA เขียนสวนโคงตัด OA ที่จุด A ′
HJJG
3. ใช O เปนจุดศูนยกลางรัศมี OB เขียนสวนโคงตัด OB ที่จุด B′
HJJG
4. ใช O เปนจุดศูนยกลางรัศมี OC เขียนสวนโคงตัด OC ที่จุด C′
5. ลาก A ′B′ , B′C′ และ A ′C′ จะได +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจาก
การหมุน +ABC รอบจุดกําเนิด ตามเข็มนาฬิกาดวยมุมขนาด 180 องศา
2) พิกัดของจุด A ′ , B′ และ C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการหมุนจุด A, B และ C
ตามลําดับ ไดดังนี้
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


128 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

ตัวอยางที่ 4 จงพิจารณาวารูป ข เปนภาพที่ไดจากการหมุนรูป ก หรือไม จงอธิบาย


B'
1) A

A'
B
รูป ก C' C รูป ข
2) A' B' A B

D' C' D C
รูป ก รูป ข
3) A' A

B' B

C' C

D
รูป ก รูป ข
แนวคิด การพิจารณาวาเปนภาพที่ไดจากการหมุนของอีกรูปหรือไม ใหพิจารณาดังนี้
1) สามารถเลื่อนรูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งไดสนิทโดยไมมีการพลิกรูป
2) สามารถหาจุดหมุน ทิศทางการหมุน และขนาดของมุมที่หมุนได
ถาผลการแปลงสอดคลองกับเงื่อนไขทั้งสองขอแลว การแปลงนั้นเปนการหมุน
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 129

กิจกรรมที่ 4.4 : ทักษะการใหเหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมาย การนําเสนอ


และเชื่อมโยง
1. กําหนด +ABC เปนรูปตนแบบ จุด P เปนจุดหมุน จงหา +A ′B′C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการ
หมุน +ABC ตามเข็มนาฬิกาดวยมุมที่มีขนาด 90 องศา
B

A C

วิธีทํา P
1. …………………………………………………………………………………
2. …………………………………………………………………………………
3. …………………………………………………………………………………
4. …………………………………………………………………………………
5. …………………………………………………………………………………
6. …………………………………………………………………………………
7. …………………………………………………………………………………
8. …………………………………………………………………………………
9. …………………………………………………………………………………
10. …………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


130 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

2. กําหนด +ABC เปนรูปตนแบบ จุด P เปนจุดหมุน จงหา +A ′B′C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการ


หมุน +ABC ทวนเข็มนาฬิกาดวยมุมที่มีขนาด 180 องศา
B

A C

วิธีทํา
1. …………………………………………………………………………………
2. …………………………………………………………………………………
3. …………………………………………………………………………………
4. …………………………………………………………………………………
5. …………………………………………………………………………………
6. …………………………………………………………………………………
7. …………………………………………………………………………………
8. …………………………………………………………………………………
9. …………………………………………………………………………………
10. …………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 131

3. กําหนด +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC จงหาจุดหมุน ทิศทางการหมุน และ


ขนาดของมุมที่ใชในการหมุน
B A'
1)
B'

A C
C'

วิธีทํา ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
A'
2)
B
B'

C
C'
A

วิธีทํา ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


132 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

4. ถา +A ′B′C′ เปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC ที่กําหนดให รอบจุดกําเนิด ทวนเข็มนาฬิกา


ดวยมุมขนาด 90 องศา จงหา
1) +A ′B′C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการหมุน +ABC
2) พิกัดของจุด A ′ , B′ และ C′ ซึ่งเปนภาพที่ไดจากการหมุนจุด A, B และ C ตามลําดับ
Y
5

-2 O 2 4 6 X
-1
B

-2
A

-3 C

-4

วิธีทํา ………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 133

ขอผมสรุปหนอยนะครับ

เมื่อมีรูปเรขาคณิตสองรูปที่เทากันทุกประการและเกิดจากการแปลงทางเรขาคณิตที่เปนการ
เลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุนแบบใดแบบหนึ่ง ถาตองการจะหาวารูปนั้นเปนผลของการ
แปลงแบบใด ใหพิจารณาดังนี้
1. ถาตองมีการพลิกรูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งไดสนิท การแปลงนั้นเปนการสะทอน
2. ถาสามารถเลื่อนรูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งไดสนิทโดยไมตองพลิกรูปแลว ใหพิจารณาวา
เปนการเลื่อนขนานหรือไม ถาไมใชการเลื่อนขนาน การแปลงนั้นเปนการหมุน
ในกรณีที่รูปเรขาคณิตแตละรูปเปนเพียงจุดจุดเดียว จะสามารถกลาวไดวา การแปลงนั้นเปน
ผลจาการเลื่อนขนาน การสะทอน หรือการหมุน แบบใดแบบหนึ่งก็ได
การแปลงทางเรขาคณิตทั้งสามแบบ คือ การเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุน ที่กลาวมา
นั้น มีลักษณะสําคัญที่เหมือนกันประการหนึ่งคือ ภาพที่ไดจากการแปลงจะเทากันทุกประการกับ
รูปตนแบบเสมอไมวาจะเปนภาพจากการแปลงแตละแบบเพียงครั้งเดียว การแปลงแตละแบบซ้ํากัน
หลายครั้ง หรือการแปลงแบบใดแบบหนึ่งแลวตามตองการดวยการแปลงอีกแบบหนึ่ง ทั้งนี้เพราะวา
การแปลงทางเรขาคณิตเหลานี้เปนการเปลี่ยนตําแหนงของรูปเรขาคณิตบนระนาบโดยที่
ระยะระหวางจุดสองจุดใด ๆ ของรูปเรขาคณิตนั้นไมเปลี่ยนแปลง

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


134 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2

กิจกรรมที่ 4.5 : ทักษะการใหเหตุผล การนําเสนอ การเชื่อมโยง


และความคิดสรางสรรค
1. จงออกแบบลวดลายศิลปะโดยใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุน
ตัวอยางลวดลาย

…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………

2. จงออกแบบโลโกมา 1 แบบ โดยใชความรูเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิต พรอมทั้งอธิบาย


ความหมายของโลโกนั้น ตัวอยางโลโก

…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………
…………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต 135

ชวนคิดคณิตศาสตร

หาไดอะเปลา??

ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู

จงหาพื้นที่โดยประมาณของรูปสี่เหลี่ยม
1.

4
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
2.
3

………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3

You might also like