You are on page 1of 44

หนวยการเรียนรูที่ 2

กราฟ

มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
มาตรฐาน ค 4.2 : ขอ 3 และ ขอ 4 1. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของ
มาตรฐาน ค 6.1 : ขอ 1 และ ขอ 2 ระหวางปริมาณสองชุดที่มี
มาตรฐาน ค 6.2 : ขอ 1 ความสัมพันธเชิงเสนได
มาตรฐาน ค 6.3 : ขอ 1 2. เขียนกราฟของสมการเชิงเสน
มาตรฐาน ค 6.4 : ขอ 1 และ ขอ 2 สองตัวแปรได
มาตรฐาน ค 6.5 : ขอ 1 3. อานและแปลความหมายของกราฟ
ที่กําหนดใหได

สาระการเรียนรู

2.1 กราฟแสดงความเกี่ยวของระหวาง
ปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสน (2 คาบ)
2.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร (7 คาบ)
2.3 กราฟกับการนําไปใช (3 คาบ)

พรอมหรือยัง ? ถาพรอมแลว ก็เริม่ เรียนแลวนะครับ

57
58 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3
MATH

Series
2.1 กราฟแสดงความเกีย่ วของระหวางปริมาณ
สองชุดทีม่ ีความสัมพันธเชิงเสน

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. เขียนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มี
ความสัมพันธเชิงเสนและแปลความหมายของกราฟได

ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแกปญหา
2. การใหเหตุผล
3. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
4. การเชื่อมโยง
5. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนั ก ในคุ ณ ค า และมี เ จตคติ ที่ ดี ต อ วิ ช า
คณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 59

กราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสน
ในชีวิตประจําวันเรามักจะพบกับสถานการณที่กลาวถึงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุด
อยูเสมอ เชน จํานวนปากกากับราคาปากกา จํานวนผูโดยสารรถตูกับคาโดยสาร ซึ่งเราสามารถเขียน
แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดเหลานั้นในรูปตาราง แผนภาพ คูอันดับ รวมถึงกราฟได
ใหนักเรียนพิจารณาตารางแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนปากกากับราคาปากกา ตอไปนี้
จํานวนปากกา (แทง) 0 1 2 3 4 5
ราคาปากกา (บาท) 0 5 10 15
จากตาราง สามารถเขียนคูอันดับแสดงความสัมพันธดังกลาวได โดยใหสมาชิกตัวที่หนึ่งเปน
จํานวนปากกา และสมาชิกตัวที่สองเปนราคาปากกา จะไดคูอันดับดังนี้
(0, 0), (1, 5), ………………………………………………………………………….
จากความสัมพันธระหวางจํานวนปากกากับราคาปากกาดังกลาวขางตน นอกจากจะเขียนใน
รูปคูอันกับแลว ยังสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธไดโดยนําคูอันดับดังกลาวมาเขียนกราฟได
ดังนี้
ราคาปากกา (บาท)

35
30
25
20
15 •
10 •
5 •

0 1 2 3 4 5 6 7 จํานวนปากกา (แทง)

จากกราฟ จะพบวา กราฟของคูอันดับมีลักษณะเปนจุดเรียงในแนวเดียวกัน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


60 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

ตัวอยางที่ 1 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนสมุดและราคาสมุดจากตารางที่
กําหนดใหตอไปนี้
จํานวนสมุด (เลม) 0 1 2 3 4 5
ราคาสมุด (บาท) 0 8 16 24 32 40
วิธีทํา จากตารางเขียนคูอันดับ โดยใหสมาชิกตัวที่หนึ่งเปนจํานวนสมุด และสมาชิกตัวที่
สองเปนราคาสมุด จะไดคูอันดับดังนี้
……………………………………………………………………………………….
นําคูอันดับมาเขียนกราฟไดดังนี้
ราคาสมุด (บาท)

48
40
32
24
16
8

0 1 2 3 4 5 6 จํานวนสมุด (เลม)

ตัวอยางที่ 2 ในแตละวันนองไขไกไดรับเงินคาขนมนจากคุณพอแสดงดังตาราง
วันที่ 1 2 3 4 5
คาขนม (บาท) 40 40 40 40 40
จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธจากตารางขางตน โดยใหวันที่เปนสมาชิกตัวที่
หนึ่ง และคาขนมเปนสมาชิกตัวที่สอง
วิธีทํา จากตารางเขียนคูอันดับ ไดดังนี้
……………………………………………………………………………………….
นําคูอันดับมาเขียนกราฟไดดังนี้

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 61

……………………

0 1 2 3 4 5 ………………………

จากตัวอยางที่ 1 และ 2 จะเห็นวา เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธของปริมาณสองชุดที่


กําหนดให เมื่อปริมาณทั้งสองเปลี่ยนแปลงอยางไมตอเนื่อง กราฟที่ไดจะเปนจุดเรียงในแนวเสนตรง
เดียวกัน
ตัวอยางที่ 3 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนเต็มบวกสองจํานวนเมื่อนํามาบวก
กันไดเทากับหก จากตารางที่กําหนดใหตอไปนี้
จํานวนเต็มบวกตัวที่ 1 1 2 3 4 5
จํานวนเต็มบวกตัวที่ 2 5 4 3
วิธีทํา จากตารางเขียนคูอันดับ โดยใหสมาชิกตัวที่หนึ่งเปนจํานวนเต็มบวกตัวที่ 1และ
สมาชิกตัวที่สองเปนจํานวนเต็มบวกตัวที่ 2 จะไดคูอันดับดังนี้
……………………………………………………………………………………….
นําคูอันดับมาเขียนกราฟไดดังนี้
……………………

0 ……………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


62 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

จากกราฟขางตนถาจํานวนที่นํามาบวกกันเปนจํานวนจริง กราฟของคูอันดับที่ไดจะเปน
กราฟที่ตอเนื่องกันโดยตลอด จะไดกราฟเปนเสนตรง ดังรูป
……………………

0 ……………………
จะเห็นวา การเขียนกราฟแสดงความสัมพันธของปริมาณสองชุดที่กําหนดให เมื่อปริมาณทั้ง
สองมีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง กราฟที่ไดจะเปนกราฟเสนตรง
เรียกความสัมพันธของปริมาณสองชุดที่มีกราฟเปนเสนตรงวา ความสัมพันธเชิงเสน
กิจกรรมที่ 2.1 : ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายและการนําเสนอ
1. เมื่อเกิดพายุ จะเห็นฟาแลบกอนไดยินฟารองเสมอ ซึ่งความสัมพันธระหวางระยะทางจากจุด
สังเกตถึงที่เกิดฟาแลบและเวลาที่ไดยินเสียงฟารอง แสดงดังตาราง
ระยะทาง (ไมล) 1 2 3 4 5
เวลา (นาที) 6 12 18 24 30
1) จงเขียนคูอันดับที่มีระยะทางเปนสมาชิกตัวที่หนึ่ง และเวลาเปนสมาชิกตัวที่สอง
…………………………………………………………………………………………
2) จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางระยะทางกับเวลา
……………………

0 ……………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 63

2. รูปสี่เ หลี่ย มผืน ผารูปหนึ่งดานยาวยาวกวาสองเทาของดานกวางอยู 2 เซนติเมตร ตาราง


ตอไปนี้แสดงงความสัมพันธระหวางความกวางและความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผานี้
ความกวาง (เซนติเมตร) 1 2 3 4
ความยาว (เซนติเมตร) 4 6 8 10
1) จงเขียนคูอันดับที่มีความกวางเปนสมาชิกตัวที่หนึ่ง และความยาวเปนสมาชิกตัวที่สอง
…………………………………………………………………………………………
2) จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความกวางและความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
……………………

0 ……………………
3. หนวยงานแหงหนึ่ง มีพนักงานหญิงมากกวาสองเทาของพนักงานชายอยู 1 คน
1) จงเขียนตารางแสดงจํานวนพนักงานหญิง เมื่อจํานวนพนักงานชายเปน 5, 10, 15, 20, 25
และ 30 คน
จํานวนพนักงานชาย (คน)
จํานวนพนักงานหญิง (คน)
2) จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนพนักงานชายและจํานวนพนักงานหญิง
ของหนวยงานแหงนี้

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


64 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3
MATH

Series
2.2 กราฟของสมการเชิงเสน
สองตัวแปร

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. บอกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได
2. เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได
3. บอกลักษณะที่สําคัญบางประการของกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่
กําหนดใหได

ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแกปญหา
3. การใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนั ก ในคุ ณ ค า และมี เ จตคติ ที่ ดี ต อ วิ ช า
คณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 65

กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร
สมการเชิงเสนสองตัวแปร
ในชั้นมัธยมศึกปที่ 1 นักเรียนไดเรียนเรื่องสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวมาแลว ตัวอยางเชน
3) 2x + 4 = 8
4) 0.5x – 5 = 0
5) 7 – x = 9 + x
เรียกประโยคสัญลักษณในขอ 1), 2) และ 3) วา สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว นักเรียน
สังเกตเห็นไหมวา เปนสมการที่มีคาตัวแปรหนึ่งตัว คือตัวแปร……… และเลขชี้กําลังของตัวแปร
เปน………
ใหนักเรียนพิจารณาสมการตอไปนี้
1) x + y – 10 = 0
2) 2x – y + 1 = 0
3) -3x + y – 2 = 0
4) -5x – 6y + 4 = 0
5) (-)x + (-7) + 0 = 0
สมการ 1) – 5) เปนสมการที่มีลักษณะสําคัญเบื้องตน คือ มีตัวแปร……ตัว ในที่นี้คือ
ตัวแปร………และ……… ตัวแปรทั้งสองตางก็ยกกําลัง………
เรียกสมการที่มีตัวแปรสอง เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปน 1 และไมมีการคูณกัน
ของตัวแปรวา สมการเชิงเสนสองแปรเดียว
กลาวไดวา สมการเชิงเสนตัวแปรเดียวเปนสมการที่มีลักษณะสําคัญดังนี้
1. มีตัวแปรสองตัวและตองไมมีการคูณกันของตัวแปร
2. เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปน 1
3. สัมประสิทธิ์ของตัวแปร (คาคงตัวที่อยูหนาตัวแปร) จะเปนศูนยพรอมกันทั้งสองตัว
ไมได
เรียกสมการ 1) – 5) ขางตนที่อยูในรูป
Ax + By + C = 0
เมื่อ x, y เปนตัวแปร และ A, B, C เปนคาคงตัว โดยที่ A ≠ 0 และ B ≠ 0 วา สมการเชิงเสน
สองแปรเดียว

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


66 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

กิจกรรมที่ 2.2 : ทักษะการใหเหตุผล การนําเสนอและการเชื่อมโยง


ใหนักเรียนพิจารณาสมการในแตละขอตอไปนี้วาเปนสมการเชิงเสนสองตัวแปรหรือไม เมื่อ
x และ y เปนตัวแปร ถาเปนสมการเชิงเสนสองตัวแปร ใหเปรียบเทียบกับสมการ Ax + By + C = 0
แลวหาคาของ A, B, และ C จากสมการ

สมการเชิงเสน เปรียบเทียบกับสมการ
จัดรูปสมการใหอยูในรูป
สมการ สองตัวแปร Ax + By + C = 0
Ax + By + C = 0
เปน ไมเปน A B C
ตัวอยาง 5x + 8y = -6 9 5x + 8y + 6 = 0 5 8 6
1. 3x + 2y – 5 = 0
2. 4x + 2y = - 3
3. 3x – 9 = 0
4. 2y = 8
5. 2x + xy – 1 = 2
6. x + y2 = 2
7. 4x = 8
8. 2xy = y + 2
9. 2x + 4(y – 3) = 1
10. -5y = 0

จากสมการเชิงเสนสองตัวแปร
Ax + By + C = 0
เมื่อ x, y เปนตัวแปร และ A, B, C เปนคาคงตัว โดยที่ A ≠ 0 และ B ≠ 0 เพื่อความสะดวกใน
การนําไปใช อาจจัดรูปของสมการใหม ดังนี้
Ax + By + C = 0
By = -Ax – C
เนื่องจาก B ≠ 0 ดังนั้น y = - AB x – CB
ถาให a = - AB และ b = - CB จะได
y = ax + b

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 67

ตัวอยางที่ 1 จงเขียนสมการตอไปนี้ใหอยูในรูป y = ax + b
1) 2x + 6y + 1 = 0 2) -8x + 2y – 5 = 0
3) 6x – 3y + 2 = 0 4) -5y – 10 = 0
วิธีทํา 1) 2x + 6y + 1 = 0
6y = -2x – 1
y = - 26 x – 16
นั่นคือ y = - 13 x – 16 (a = - 13 , b = - 16 )
2) -8x + 2y – 5 = 0
2y = 8x + 5
y = 82 x + 25
นั่นคือ y = 4x + 25 (a = 4, b = 25 )
3) 6x – 3y + 2 = 0
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
4) -5y – 10 = 0
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
………………………………………………………………
กิจกรรมที่ 2.3 : ทักษะการใหเหตุผล การนําเสนอและการเชื่อมโยง
จงเขียนสมการตอไปนี้ใหอยูในรูป y = ax + b พรอมทั้งหาคาของ a และ b
1. 2x + 4(y – 3) = 1
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


68 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

2. -2y – 10 = 0
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
3. 7(x + 4) + 2(y – 2) = 0
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

คําตอบของสมการเชิงเสนสองตัวแปร
นักเรียนเคยทราบมาแลววา สมการ 2x + 5 = 7 เปนสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวและเรียก
จํานวนที่แทนคาของตัวแปร x ในสมการแลวทําใหสมการเปนจริงวาคําตอบของสมการ
จากสมการ 2x + 5 = 7 จะไดวา x = 1 เทานั้นที่แทนคาในสมการแลวทําใหสมการเปน
จริง ดังนั้นสมการ 2x + 5 = 7 มีคําตอบเพียงคําตอบเดียวคือ 1
ถากําหนดสมการเชิงเสนสองตัวแปร เชน x + y = 6 เมื่อ x และ y เปนจํานวนเต็มบวกมา
ให คําตอบของสมการเชิงเสนที่มี x และ y เปนตัวแปร คือคาของ x และ y ที่ทําใหสมการเปนจริง
นักเรียนทราบหรือไมวาสมการ x + y = 6 เมื่อ x และ y เปนจํานวนเต็มบวก มีกี่คําตอบ
วิธีการหนึ่งในการหาคําตอบคือเขียนตารางแสดงคา x และ y เมื่อ x และ y เปนจํานวน
เต็มบวก ไดดังนี้
x 1 2 3 4 5
y 5 4 3 2 1
เพื่อความสะดวกในการเขียนคําตอบ เราสามารถเขียนคา x และ y ในรูปของคูอันดับ
ดังนี้ (1, 5), (2, 4)………………………………………………….และคูอันดับดังกลาวเปนคําตอบ
ของสมการ x + y = 6 เมื่อ x และ y เปนจํานวนเต็มบวก

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 69

คําตอบของสมการเชิงเสนสองตัวแปรในรูป Ax + By + C = 0 ที่มี x และ y เปนตัวแปร คือ


คา x และ y ที่ทําใหสมการเปนจริง
กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร
นักเรียนเคยเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุด ที่มีความสัมพันธ
เชิงเสนมาแลว ในหัวขอนี้จะศึกษาการเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร
พิจารณาสมการเชิงเสนสองตัวแปร x + y = 6 เมื่อ x เปนจํานวนเต็มตั้งแต -2 ถึง 2 จะได
คําตอบของสมการคือ
x -2 -1 0 1 2
y 8 7 6 5 4
หรือเขียนเปนคูอันดับ……………………………………………………………และเมื่อนําคูอันดับ
ดังกลาวมาเขียนกราฟ จะไดกราฟ

กราฟที่ไดนี้เปนกราฟของคําตอบของสมการ x + y = 6 เมื่อ x เปนจํานวนเต็มตั้งแต -2 ถึง 2


เราเรียนกราฟของคําตอบของสมการ x + y = 6 วากราฟของสมการ x + y = 6

เรียกกราฟของคําตอบของสมการที่กําหนดวา กราฟของสมการเชิงเสน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


70 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

จากสมการ x + y = 6 เมื่อ x เปนจํานวนเต็ม จะพบวานอกจากจะมีจํานวนคูอันดับที่กลาว


มาแลวขางตนเปนคําตอบของสมการ ยังมีคําตอบอื่น ๆ อีกมากมาย เชน เมื่อ x เปนจํานวนเต็มลบที่
นอยกวา -2 จะไดคําตอบเพิ่มคือ
x … -6 -5 -4 -3
y … 12 11 10 9
หรือเขียนเปนคูอันดับ……………………………………………………………
เมื่อ x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 2 จะไดคําตอบเพิ่มคือ
x 3 4 5 6 …
y 3 2 1 0 …
หรือเขียนเปนคูอันดับ……………………………………………………………
จากนั้นนําคูอันดับซึ่งเปนคําตอบของสมการนี้ไปเขียนกราฟ จะไดกราฟเปนจุดเรียงอยูใน
แนวเสนตรงเดิม แตมีจุดเรียงตอไปเรื่อย ๆ ไมมีที่สิ้นสุด ดังรูป

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 71

ในกรณีที่ x เปนจํานวนจริง สมการ x + y = 6 จะมีคูอันดับอื่น ๆ อีกมากมายที่เปนคําตอบ


ของสมการ ทั้งนี้เพราะ x และ y อาจเปนเศษสวนหรือทศนิยมได เชน (0.5, 5.5), (2.5, 3.5), ( 12 , 112 )
เปนตน
ดังนั้นเมื่อ x เปนจํานวนจริง จะไดกราฟเปนจุดตอเนื่องกันโดยตลอด และไมขาดตอน ซึ่ง
สามารถเขียนแสดงไดดังนี้

กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร เมื่อ x เปนจํานวนจริง จะเปนเสนตรงที่ผานคูอันดับซึ่ง


เปนคําตอบของสมการ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


72 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

ตัวอยางที่ 1 จงเขียนกราฟของสมการ y = x + 2
วิธีทํา หาจุด (x, y) ที่สอดคลองกับสมการ 3 จุด โดยกําหนดคา x จํานวน 3 คา
แลวแทนคา x ตามกําหนดหาคา y จะได y ออกมา 3 คา ดังตาราง
x -2 0 2
y 0 2 4
จากตารางกําหนดจุด (-2, 0), (0, 2) และ (2, 4) แลวลากเสนตรงผานจุดทั้ง 3 เปน
กราฟของสมการ y = x + 2 ดังกราฟตอไปนี้

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 73

ตัวอยางที่ 2 จงเขียนกราฟของสมการ y = 2x – 3
วิธีทํา หาจุด (x, y) ที่สอดคลองกับสมการ 3 จุด โดยกําหนดคา x จํานวน 3 คา
แลวแทนคา x ตามกําหนดหาคา y จะได y ออกมา 3 คา ดังตาราง
x -2 0 2
y 1
จากตารางกําหนดจุด………………………………………แลวลากเสนตรงผานจุด
ทั้ง 3 เปนกราฟของสมการ y = 2x – 3 ดังกราฟตอไปนี้

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


74 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

ตัวอยางที่ 3 จงเขียนกราฟของสมการ 2x + y = 3
วิธีทํา หาจุด (x, y) ที่สอดคลองกับสมการ 3 จุด โดยกําหนดคา x จํานวน 3 คา
แลวแทนคา x ตามกําหนดหาคา y จะได y ออกมา 3 คา ดังตาราง
x -2 0 2
y = 3 – 2x 7
จากตารางกําหนดจุด………………………………………แลวลากเสนตรงผานจุด
ทั้ง 3 เปนกราฟของสมการ 2x + y = 3 ดังกราฟตอไปนี้

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 75

กิจกรรมที่ 2.4 : ทักษะการคิดคํานวณ การนําเสนอ และการเชื่อมโยง


ใหนักเรียนเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรตอไปนี้
1. y = x

2. y = x – 4

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


76 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

3. y = 2x + 1

4. y = 2x – 1

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 77

5. 2y – 3x + 6 = 0

………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

จากสมการ y = ax + b กราฟของสมการดังกลาว มีลักษณะของกราฟทั้งหมด 6 กรณี


ไดแก
1) กรณี a>0 และ b=0
2) กรณี a>0 และ b≠0
3) กรณี a<0 และ b=0
4) กรณี a<0 และ b≠0
5) กรณี a=0 และ b≠0
6) กรณี a=0 และ b=0

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


78 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

1) กรณีที่ a > 0 และ b = 0


ตัวอยางที่ 1 จงเขียนกราฟของสมการ y = x, y = 2x, y = 3x และ y = 0.5x
วิธีทํา y=x y = 2x
x x
y y
y = 3x y = 0.5x
x x
y y

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการทั้งหมดผานจุด……………และเมื่อ a มีคามากขึ้น


กราฟของสมการจะทํามุม……………กับแกน X เมื่อวัดมุมทวนเข็มนาฬิกา และมุมจะมีขนาดมากขึน้
เมื่อ a มีคามากขึ้น
2) กรณีที่ a > 0 และ b ≠ 0
ตัวอยางที่ 2 จงเขียนกราฟของสมการ y = 0.5x + 1, y = 2x + 3, y = 2x – 1 และ y = 2x – 3
วิธีทํา y = 0.5x + 1 y = 2x + 3
x x
y y
y = 2x – 1 y = 2x – 3
x x
y y

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 79

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการที่มีคาของ a เทากัน กราฟของสมการจะขนานกันและ


กราฟของสมการจะทํามุม……………กับแกน X เมื่อวัดมุมทวนเข็มนาฬิกา และตัดแกน Y ที่
จุด……………
3) กรณีที่ a < 0 และ b = 0
ตัวอยางที่ 3 จงเขียนกราฟของสมการ y = -x, y = -2x, y = -3x และ y = -0.5x
วิธีทํา y = -x y = -2x
x x
y y
y = -3x y = -0.5x
x x
y y

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


80 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการทั้งหมดผานจุด……………และเมื่อ a มีคานอยลง


กราฟของสมการจะทํามุม……………กับแกน X เมื่อวัดมุมทวนเข็มนาฬิกา และมุมจะมีขนาดมากขึน้
เมื่อ a มีคานอยลง
4) กรณีที่ a < 0 และ b ≠ 0
ตัวอยางที่ 4 จงเขียนกราฟของสมการ y = -0.5x + 1, y = -2x + 3, y = -3x – 1 และ y = -3x – 3
วิธีทํา y = -0.5x + 1 y = -2x + 3
x x
y y
y = -3x – 1 y = -3x – 3
x x
y y

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 81

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการที่มีคาของ a เทากัน กราฟของสมการจะขนานกันและ


กราฟของสมการจะทํามุม……………กับแกน X เมื่อวัดมุมทวนเข็มนาฬิกา และตัดแกน Y ที่
จุด……………
5) กรณีที่ a = 0 และ b ≠ 0
ตัวอยางที่ 5 จงเขียนกราฟของสมการ y = -5, y = -2, y = 2 และ y = 5
วิธีทํา y = -5 y = -2
x x
y y
y=2 y=5
x x
y y

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


82 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการจะ………………กับแกน X และตัดแกน Y ที่


จุด……………
6) กรณีที่ a = 0 และ b = 0

จากกราฟ จะเห็นวา เมื่อ a = 0 และ b = 0 จะเปนจุด……………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 83

กิจกรรมที่ 2.5 : ทักษะการคิดคํานวณ การนําเสนอและการเชื่อมโยง


1. จงเขียนกราฟของสมการ y = 3x และ y = 3x – 2 โดยใชแกนคูเดียวกันพรอมทั้ง
พิจารณาวากราฟของสมการทั้งสองเปนอยางไร
y = 3x y = 3x – 2
x x
y y

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการทั้งสอง………………โดยกราฟของสมการ y = 3x


ผานจุด……………และกราฟของสมการ y = 3x – 2 ตัดแกน………ที่จุด……………
ดังนั้น ไมมีคําตอบของระบบสมการนี้

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


84 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

2. จงเขียนกราฟของสมการ y – x = 1 และ y + x = 3 โดยใชแกนคูเดียวกันพรอมทั้ง


พิจารณาวากราฟของสมการทั้งสองเปนอยางไร
y = …………… y = ……………
x x
y y

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการทั้งสองตัดกันที่จุด………………โดยกราฟของสมการ


y – x = 1 ตัดแกน………ที่จุด……………และตัดแกน………ที่จุด……………และกราฟของสมการ
y + x = 3 ตัดแกน………ที่จุด……………และตัดแกน………ที่จุด……………
ดังนั้น คําตอบของระบบสมการ คือ…………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 85

3. จงเขียนกราฟของสมการ x = -1, x = 2, y = 3.5 และ y = -3 โดยใชแกนคูเดียวกันพรอม


ทั้งพิจารณาวากราฟของสมการทั้งหมดเปนอยางไร

จากกราฟ จะเห็นวา กราฟของสมการ x = -1 และ x = 2 ขนานกัน โดยกราฟของสมการ


x = -1 คาของ y จะเปนเทาไรก็ได แตคาของ x = -2 เสมอ และตัดแกน………ที่จุด……………และ
กราฟของสมการ x = 2 คาของ y จะเปนเทาไรก็ได แตคาของ x = 2 เสมอ และตัดแกน………ที่
จุด……………
สําหรับกราฟ กราฟของสมการ y = 3.5 และ y = -3 ขนานกัน โดยกราฟของสมการ y = 3.5
คาของ x จะเปนเทาไรก็ได แตคาของ y = 3.5 เสมอ และตัดแกน………ที่จุด……………และกราฟ
ของสมการ y = -3 คาของ x จะเปนเทาไรก็ได แตคาของ y = -3 เสมอ และตัดแกน………ที่
จุด……………

จากกิจกรรมที่ 5 ขอ 1 – 3 พบขอสังเกตเกี่ยวกับสมการเชิงเสนสองตัวแปรได ดังนี้


ในการเขียนกราฟจากสมการเชิงเสนสองตัวแปร นิยมจัดสมการในรูป
y = ax + b
เมื่อ a, b เปนคาคงตัว

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


86 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

y = ax + b เมื่อ a, b เปนคาคงตัว
สิ่งนารูเกี่ยวกับคา a สิ่งนารูเกี่ยวกับคา b
a = 0 กราฟขนานแกน X b = 0 กราฟผานจุด (0, 0)
a > 0 กราฟทํามุมแหลมกับแกน X b > 0 กราฟตัดแกน Y เหนือแกน X
a < 0 กราฟทํามุมปานกับแกน X b < 0 กราฟตัดแกน Y ใตแกน X
a ยิ่งมาก กราฟยิ่งชัน เมื่อ x = 0 กราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, b)
ในสมการตั้งแตสองสมการขึ้นไป ถามี ในสมการตั้งแตสองสมการขึ้นไป ถามี
คา a เทากันกราฟจะขนานกัน คา b เทากัน กราฟจะตัดแกน Y ที่จุด
เดียวกัน
การหาจุดตัดบนแกน X และแกน Y ของกราฟเสนตรง
ในกรณีที่มีสมการเชิงเสนมาให และตองการทราบคาของสมการนั้น ๆ จะตัดแกน X และ
แกน Y ที่จุดใด อาศัยหลักการดังนี้
1) กราฟจะตัดแกน X ที่จุด y = 0 เสมอ
2) กราฟจะตัดแกน Y ที่จุด x = 0 เสมอ
ตัวอยางที่ 1 จงหาจุดตัดแกน X และแกน Y ของกราฟของสมการ 2x – 3y + 6 = 0
วิธีทํา เนื่องจากกราฟตัดแกน X ที่จุด y = 0 เสมอ
สมมติใหกราฟตัดแกน X ที่จุด (a, 0)
แทนคา x = a, y = 0 ในสมการ 2x – 3y + 6 = 0 จะได
2(a) – 3(0) + 6 = 0
a = -6 = -3
2
ดังนั้น a = -3
นั่นคือกราฟตัดแกน X ที่จุด (-3, 0)
เนื่องจากกราฟตัดแกน Y ที่จุด x = 0 เสมอ
สมมติใหกราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, b)
แทนคา x = 0, y = b ในสมการ 2x – 3y + 6 = 0 จะได
2(0) – 3(b) + 6 = 0
b = -6 = 2
-3
ดังนั้น b = 2
นั่นคือกราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, 2)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 87

ตัวอยางที่ 2 จงหาวากราฟของสมการ 3x + 4y – 12 = 0 ตัดแกน X และแกน Y ที่จุดใด


วิธีทํา เนื่องจากกราฟตัดแกน X ที่จุด y = 0 เสมอ
สมมติใหกราฟตัดแกน X ที่จุด (a, 0)
แทนคา x = a, y = 0 ในสมการ 3x + 4y – 12 = 0 จะได
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
ดังนั้น……………………
นั่นคือกราฟตัดแกน X ที่จุด…………………
เนื่องจากกราฟตัดแกน Y ที่จุด x = 0 เสมอ
สมมติใหกราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, b)
แทนคา x = 0, y = b ในสมการ 3x + 4y – 12 = 0 จะได
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
ดังนั้น……………………
นั่นคือกราฟตัดแกน Y ที่จุด…………………

นักเรียนทราบมาแลววา กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร Ax + By + C = 0 โดยที่ A


และ B ไมเปนศูนย จะไดกราฟของสมการเปนเสนตรงที่ตัดแกน X และแกน Y การเขียนกราฟของ
สมการดังกลาวอาจทําไดอีกวิธีหนึ่ง โดยการหาจุดตัดแกน X และแกน Y แลวเขียนเสนตรงที่ผาน
จุดตัดบนแกน X และจุดตัดบนแกน Y จะไดกราฟเสนตรงตามตองการ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


88 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

กิจกรรมที่ 2.6 : ทักษะการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนําเสนอ


1. จงเขียนกราฟของสมการ 2x + y = 10 และ x – 2y + 4 = 0 โดยใชแกนคูเดียวกันพรอมทั้ง
ตอบคําถาม
y = …………… y = ……………
x x
y y

1) กราฟของสมการ 2x + y = 10 ตัดแกน X ที่จุดใด


…………………………………………………………………………………………
2) กราฟของสมการ 2x + y = 10 ตัดแกน Y ที่จุดใด
…………………………………………………………………………………………
3) กราฟของสมการ x – 2y + 4 = 0 ตัดแกน X ที่จุดใด
…………………………………………………………………………………………
4) กราฟของสมการ x – 2y + 4 = 0 ตัดแกน Y ที่จุดใด
…………………………………………………………………………………………
5) กราฟของสมการทั้งสองตัดกันที่จุดใด
…………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 89

2. จงหาจุดตัดแกน X และแกน Y ของกราฟของสมการ 2x + 3y + 6 = 0


………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..

ปญหาชวนคิด
ใหนักเรียนใชเสนตรงเพียง 6 เสน แบงวงกลมออกเปน 22 สวน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


90 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3
MATH

Series
2.3 กราฟกับการนําไปใช

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. อธิบายการอานและแปลความหมายของกราฟที่กําหนดใหได
2. อานและแปลความหมายของกราฟที่กําหนดใหได

ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน


1. การคิดคํานวณ
2. การแกปญหา
3. การใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยง
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวจิ ารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนั ก ในคุ ณ ค า และมี เ จตคติ ที่ ดี ต อ วิ ช า
คณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 91

กราฟกับการนําไปใช
ปจจุบันไดนํากราฟมาใชในชีวิตประจําวันกันอยางแพรหลาย ซึ่งอาจพบไดจากสื่อตาง ๆ
ไดแก โทรทัศน หนังสือพิมพ อินเตอรเน็ต เปนตน การแสดงกราฟที่แสดงถึงความสัมพันธระหวาง
ปริมาณสองปริมาณใด ๆ เปนรูปแบบหนึ่งของการนําเสนอขอมูลใหเห็นเปนรูปธรรมมากขึ้น ชวยให
เห็นลักษณะของการเปลี่ยนแปลงของขอมูลในลักษณะตาง ๆ ไดอยางชัดเจน นอกจากนี้ยังสามารถ
อานและแปลความหมายอยางคราว ๆ ของขอมูลที่ไดจากกราฟ ดังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยางที่ 1 กราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางอุณหภูมิกับความสูงเหนือระดับน้ําทะเล เปนดังนี้
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

35
30
25
20
15
10
5
ความสูงเหนือระดับน้ําทะเล
0 1 2 3 4 5 6 7
(กิโลเมตร)
จากกราฟ จงตอบคําถามตอไปนี้
1) ที่ความสูงเหนือระดับน้ําทะเล 1 กิโลเมตร อุณหภูมิเปนเทาไร
2) ที่ ร ะดั บ ความสู ง เหนื อ ระดั บ น้ํ า ทะเลเท า ใด อุ ณ หภู มิ จึ ง จะเท า กั บ ศู น ย
องศาเซลเซียส
3) แตละ 1 กิโลเมตรที่สูงขึ้น อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอยางไร
คําตอบของคําถามขางตนเปนดังนี้
1) ที่ความสูงเหนือระดับน้ําทะเล 1 กิโลเมตร อุณหภูมิเปน………องศาเซลเซียส
2) ที่ระดับความสูง………กิโลเมตรเหนือระดับน้ําทะเล อุณหภูมิจึงจะเทากับศูนย
องศาเซลเซียส
3) แตละ 1 กิโลเมตรที่สูงขึ้น อุณหภูมิเปลี่ยนไป เทากับ 35 – 30 = 5 องศาเซลเซียส
นั่นคือ อุณหภูมิลดลงทุก 6 องศาเซลเซียสตอ 1 กิโลเมตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


92 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

ตัวอยางที่ 2 โรงพิมพแหงหนึ่ง คิดคาจางพิมพนามบัตรเปนสองสวนดังนี้


1) คาบล็อกคิดเปนจํานวนเงินคงที่ไมวาจะพิมพนามบัตรจํานวนมากหรือนอย
2) คาพิมพนามบัตรคิดตามจํานวนแผนที่พิมพ
รูปขางลางเปนกราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางจํานวนแผนกับคาจางพิมพทั้งหมด
คาจางพิมพ (บาท)
350
300
250
200
150
100
50
0 100 200 300 จํานวนแผน

จากกราฟ จงตอบคําถามตอไปนี้
1. จงหาคาจางเมื่อพิมพนามบัตรจํานวน
1) 100 แผน ตอบ……………………………………………………
2) 150 แผน ตอบ……………………………………………………
3) 300 แผน ตอบ……………………………………………………
2. จงหาจํานวนแผนที่พิมพ เมื่อคาจางพิมพเปน
1) 100 บาท ตอบ……………………………………………………
2) 250 บาท ตอบ……………………………………………………
3) 300 บาท ตอบ……………………………………………………
3. โรงพิมพคิดคาทําบล็อกเปนจํานวนเงินเทาไร
………………………………………………………………………………………………
4. คาพิมพนามบัตร เมื่อไมรวมคาบล็อก แผนละเทาไร
………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 93

ตัวอยางที่ 3 ตารางขางลางแสดงปริมาณน้ํามันในถังของรถประจําทางคันหนึ่งหลังจากที่แลนไป
แลวในระยะทางชวงหนึ่ง
ระยะทางที่แลนได (กิโลเมตร) ปริมาณนํามันในถัง (ลิตร)
0 35
25 30
50 25
75 20
100 15
125 10
150 5
ใหแกน X แสดงปริมาณน้ํามันในถัง (ลิตร) และแกน Y แสดงระยะทางที่แลนได
(กิโลเมตร)
………………………………

0 ………………………

ตอบคําถามตอไปนี้จากกราฟ
1. เมื่อรถยนตแลนไดทาง 60 กิโลเมตร จะเหลือน้ํามันในถังกี่ลิตร
………………………………………………………………………………………………
2. เมื่อมีนํามันเหลืออยูในถัง 12 ลิตร รถยนตแลนไปแลวเปนระยะทางกี่กิโลเมตร
………………………………………………………………………………………………
3. ถาน้ํามัน 35 ลิตรในถัง รถยนตคันนี้จะแลนไดระยะทางอยางมากที่สุดกี่กิโลเมตร
………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


94 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

ตัวอยางที่ 4 จากกราฟแสดงการเดินทางจากรถดวน และรถเร็วออกเดินทางจากกรุงเทพฯ ถึง


สถานีบานเบตง
ระยะทาง (กิโลเมตร)

400 รถดวน

300 รถเร็ว

200

100

0 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 เวลา (นาฬิกา)


จากกราฟ ตอบคําถามตอไปนี้
1) ชวงเวลาที่รถดวนหยุดพักนานเทาไร
……………………………………………………………………………………………
2) รถดวนแลนไดทางเทาไรจึงหยุดพัก
……………………………………………………………………………………………
3) รถเร็วใชความเร็วเทาไร
……………………………………………………………………………………………
4) รถเร็วใชเวลาวิ่งกี่ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………
5) ขณะที่รถดวนหยุดพัก รถเร็ววิ่งไดทางเทาไร
……………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 95

กิจกรรมที่ 2.7 : ทักษะการคิดวิเคราะห การสื่อสาร การสื่อความหมาย และ


การนําเสนอ
1. กราฟแสดงอุณหภูมิของอากาศในเชาวันหนึ่งที่กรุงเทพฯ ตั้งแตเวลา 01.00 นาฬิกา จนถึง
12.00 นาฬิกา ดังนี้
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

34
32
30
28
26
24
22
20
0 2.00 4.00 6.00 8.00 10.00 12.00 เวลา (นาฬิกา)

จากกราฟตอบคําถามตอไปนี้
1) เมื่อเวลา 02.00 น. 04.00 น. และ 10.00 น. อากาศมีอุณหภูมิประมาณกี่องศาเซลเซียส
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
2) เวลาใดที่อุณหภูมิของอากาศเปน 23 องศาเซลเซียส 28 องศาเซลเซียส และ 32 องศา
เซลเซียส
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
3) อุณหภูมิของอากาศต่ําสุดเปนเทาใด และเวลาใด
……………………………………………………………………………………………
4) ระหวางเวลา 01.00 น. ถึงเวลา 05.00 น. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเปนเทาใด
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
5) ระหวางเวลา 06.00 น. ถึง เวลา 12.00 น. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศเปนอยางไร
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


96 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

2. กราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางน้ําหนักและเสนผานศูนยกลางของแทงทองแดงกลมที่มี
ความยาว 1 เมตร เปนดังนี้
น้ําหนัก (กิโลกรัม)

20

15

10

5
0 10 20 30 40 50 60 เสนผานศูนยกลาง
(มิลลิเมตร)
จากกราฟ จงตอบคําถามตอไปนี้
1) แทงทองแดงกลมยาว 1 เมตร มีเสนผานศูนยยาว 44 มิลลิเมตร หนักประมาณเทาใด
……………………………………………………………………………………………
2) แทงทองแดงกลมยาว 1 เมตร มีเสนผานศูนยกลางยาว 36 มิลลิเมตร หนักประมาณเทาใด
……………………………………………………………………………………………
3) แทงทองแดงกลวงยาว 1 เมตร มีเสนผานศูนยกลางภายนอกยาว 44 เมตร และเสนผาน
ศูนยกลางภายในยาว 36 มิลลิเมตร จะหนักประมาณเทาใด
……………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 97

3. สารบางชนิดเมื่อละลายในน้ําจะทําใหอุณหภูมิของน้ําเปลี่ยนไป กราฟตอไปนี้เปนกราฟ
แสดงความสัมพันธระหวางอุณหภูมิของน้ํากับปริมาณสาร A และ B ที่ละลายในน้ํา 100
กรัม เปนดังนี้
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

80 A
70
60 B
50
40
30
20
10
0 10 20 30 40 50 60 ปริมาณสาร(กรัม)

จากกราฟจงตอบคําถามตอไปนี้
1. สาร B ปริมาณ 10 กรัมละลายในน้ํา 100 กรัม ทําใหอุณหภูมิของน้ําเปนกี่องศา
……………………………………………………………………………………………
2. ปริมาณของสาร A และสาร B จํานวนเทาใดที่ละลายในน้ํา 100 กรัมแลวทําใหอุณหภูมิ
ของน้ําเปน 50 องศาเซลเซียส
……………………………………………………………………………………………
3. ถานําสาร A และสาร B ปริมาณ 50 กรัมเทากัน ละลายในน้ํา 100 กรัมแลว สารใดทําให
เกิดอุณหภูมิของน้ําสูงกวาและสูงกวากี่องศาเซลเซียส
……………………………………………………………………………………………
4. สาร A และสาร B ปริมาณกี่กรัม เมื่อละลายในน้ํา 100 กรัม แลวทําใหเกิดอุณหภูมิของน้ํา
เปน 70 องศาเซลเซียส
……………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


98 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

4. กราฟแสดงความเกี่ยวของระหวางพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสกับความยาวของดาน เปนดังนี้
พื้นที่ (ตารางเซนติเมตร)

16
14
12
10
8
6
4
2
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ความยาวดาน (เซนติเมตร)

จากกราฟจงตอบคําถามตอไปนี้
1. พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีดานยาว 1.5 เซนติเมตร เปนเทาใด
……………………………………………………………………………………………
2. ความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่ 16 ตารางเซนติเมตร เปนเทาใด
……………………………………………………………………………………………
3. ใหเปรียบเทียบคําตอบในขอ 1. กับขอ 2. ที่ไดจากกราฟกับคําตอบที่หาไดจากสมการ y = x2
เมื่อ x แทนความยาวของดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและ y แทนพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
……………………………………………………………………………………………

ปญหาชวนคิด

ใหนักเรียนใชเสนตรงเพียง 4 เสน แบงวงกลมออกเปน 11 สวน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 กราฟ 99

5. กราฟตอไปนี้แสดงความสัมพันธระหวางเวลาเปนวินาทีกับระยะทางที่จรวดอยูสูงจากพื้นดิน
เปนเมตร
ระยะทาง (เมตร)

1800
1600
1400
1200
1000
800
600
400
200
เวลา (วินาที)
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

จากกราฟจงตอบคําถามตอไปนี้
1. จรวดขึ้นไปไดสูงสุดกี่เมตรในเวลากี่วินาที
……………………………………………………………………………………………
2. หลังจากยิงจรวดไปแลว 2 วินาที จรวดขึ้นไปไดสูงกี่เมตร
……………………………………………………………………………………………
3. จรวดอยูสูง 1,000 เมตร หลังจากยิงขึ้นไปไดนานเทาใด
……………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


100 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3

ชวนคิดคณิตศาสตร

ผลบวกไดไหม

ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู

ใหนักเรียนเติม 1 – 9 ลงในชองแตละชอง โดยไมซ้ํากันเลย เมื่อนําจํานวน


ทุกจํานวนแตละแถวในแนวนอน แนวตั้ง หรือแนวเสนทแยงมุมมารวมกัน ผลบวกจะ
ได 15 เสมอ

ปญหาชวนคิด
รูปทรงเรขาคณิตที่ซอนกันดังรูป มีรูปสามเหลี่ยมและรูปบันไดซอนอยูอยางละกี่รูป

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3

You might also like