You are on page 1of 22

บทปฏิบัติการที่ 10

การวิเคราะหความเหมาะสมของพื้นที่
(Site Suitability Analysis)
วัตถุประสงค
1. ใหนิสิตมีแนวคิดและเขาใจถึงกระบวนการการเลือกพื้นที่โดยขึ้นอยูกับวัตถุประสงคที่
ตองการ
2. ใหนิสิตสามารถประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อหาพื้นที่ที่ตองการตามสภาวะ
แวดลอมหรือเงื่อนไขที่กําหนด
10.1 คํานํา
บทปฏิบัติการนี้ใหนิสิตฝกปฏิบัติการวิเคราะหการเลือกพื้นที่ โดยจําลองเหตุการณตัวอยางดวย
การหาพื้นที่ที่เหมาะสม (Site Suitability) เพื่อการปลูกกลวยน้ําวาในบริเวณพื้นที่หมูบานขุนฝาง อําเภอ
เมือง จังหวัดอุตรดิตถ ซึ่งพื้นที่ดังกลาวมีการบุกรุกพื้นที่ปาสงวนที่เปนแหลงตนน้ําและมีสภาพระดับความ
ลาดชันสูง การใชพื้นที่เพื่อปลูกกลวยน้ําวา อาจมีผลตอความสมดุลของระบบทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมบริเวณนั้น สําหรับการเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดใดก็ตาม ลวนมี
ปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของมากมาย เชน ลักษณะสภาพภูมิอากาศ ลักษณะสภาพภูมิประเทศ คุณสมบัติทาง
เคมีและทางกายภาพของดิน โครงสรางที่เปนปจจัยทางการตลาด รวมถึงสภาพแวดลอมอื่นๆ ที่มีผลตอการ
จัดการระบบการผลิตของพืชเศรษฐกิจเหลานั้น
บทปฏิบัติการนี้เปนเพียงตัวอยางงายๆ เพื่อใหนิสิตมีแนวคิดมุมกวางทําใหสามารถนําระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตรมาประยุกตใชในการวิเคราะหหาความเหมาะสมของพื้นที่สําหรับกิจกรรมใดๆ ตอไป
ในอนาคต ดังนั้นการวิเคราะหหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อปลูกกลวยน้ําวาในบทปฏิบัติการนี้จะใชตัวแปรเพียง 4
ดาน คือ (1) เนื้อดิน (2) ความเปนกรดเปนดางของดิน (3) ความลาดชัน และ (4) แหลงน้ําเพื่อการเกษตร
จากลําน้ํา นอกจากนี้การวิเคราะหการเลือกพื้นที่ยังตองคํานึงถึงขอจํากัดบางอยางของพื้นที่ที่มีตอกิจกรรมที่
ตองการดวย ตัวอยางเชน พื้นที่ที่มีสภาพความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต และมีสภาพเปนปาตนน้ํา ไม
ควรนํามาใชประโยชนทางการเกษตร เนื่องจากอาจมีปญหาเรื่องการพังทะลายของดินและความสมดุลของ
ระบบนิเวศ เปนตน
10.2 ขั้นตอนหลักในการวิเคราะหการเลือกพื้นที่
ในการศึกษาการวิเคราะหหาพื้นที่ที่เหมาะสมไดแบงออกเปน 4 ขั้นตอนคือ (1) การจําแนกระดับ
ความเหมาะสมของพื้นที่ในตัวแปรแตละตัว (2) การจําแนกระดับความเหมาะสมของสภาพแวดลอมใน

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
102

ปจจุบัน (3) การกําหนดพื้นที่ที่เปนขอจํากัดในการปลูกกลวยน้ําวา และ (4) การจําแนกระดับความ


เหมาะสมของพื้นที่เพื่อการปลูกกลวยน้ําวา
10.3 การจําแนกระดับความเหมาะสมของพื้นที่ในตัวแปรแตละตัว
ในขั้นตอนนี้เปนการจําแนกระดับชั้นความเหมาะสมของพื้นที่โดยสัมพันธกับตัวแปรแตละตัว
เริ่มจากการกําหนดตัวแปรที่เกี่ยวของ (ซึ่งกําหนดไวแลว 4 ตัวแปร คือ เนื้อดิน ความเปนกรดดางของดิน
ความลาดชัน และ แหลงน้ําสนับสนุน) จากนั้นจึงทําการสรางฐานขอมูลภูมิศาสตรของตัวแปรตางๆ ภายใต
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ขอมูลตัวแปรเหลานี้จะถูกนํามาใชในการจําแนกระดับความเหมาะสมของพื้นที่
สําหรับตัวแปรแตละตัว
1.1) การรวบรวมและการสํารวจขอมูลเพิ่มเติม
เปนการรวบรวมขอมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวของจากรายงานการวิจัยหรือเอกสารทางวิชาการ
รวมถึงการสํารวจภาคสนามเพิ่มเติมในกรณีที่ไมสามารถหาขอมูลที่ตองการได ขอมูลเหลานี้จะเปนกรอบใน
การศึกษาขั้นรายละเอียดตอไป โดยขอมูลที่ทําการรวบรวมแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ตัวอยางตารางแสดงการรวบรวมขอมูล ทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ประเภทของขอมูล ขอมูลที่รวบรวมและการสํารวจภาคสนาม แหลงขอมูล


ขอบเขตพื้นที่ศึกษา 1) แผนที่ขอบเขตจังหวัดและอําเภอเชิงตัวเลข - กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
2) แผนทีข่ องเขตกลุมแปลงที่ดินบางขุนฝาง - สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร
คุณสมบัติของดิน 1) แผนที่กลุมชุดดินเชิงตัวเลข - กรมพัฒนาที่ดิน
(Soil Property) - เนื้อดิน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ
- ความลึกของดิน - การสํารวจและเก็บขอมูลภาคสนาม
- การระบายน้ําของดิน
- ปฏิกิริยาดิน
3) รายงานการจัดการทรัพยากรดิน เพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจ
หลักตามกลุมชุดดิน เลมที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ํา
4) แผนการใชที่ดินจังหวัดอุตรดิตถ
5) คูมือการจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ
ของประเทศไทย
6) คูมือการประเมินคุณภาพที่ดินในระดับไรนาเบื้องตนและการ
ประเมินผลผลิตอยางงาย พรอมฐานขอมูลลําดับชั้นความ
เหมาะสมของพืชกับที่ดิน
7) การเก็บตัวอยางดินภาคสนาม
- ปฏิกิริยาดิน

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
103

ตารางที่ 1 (ตอ)

สภาพภูมิอากาศ 1) ขอมูลภูมิอากาศที่รวบรวมไวตั้งแตป พ.ศ. 2515-2544 - กรมอุตุนิยมวิทยา


(Climate) - ปริมาณน้ําฝนในรอบป - สํานักงานอุตุนิยมวิทยาจังหวัด
- จํานวนวันที่ฝนตก - สํานักงานอุตุนิยมวิทยาอําเภอ
- อุณหภูมิในรอบป
- ความชื้นสัมพันธ
- อัตราการคายระเหยของน้ํา
- กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
แหลงน้ําสนับสนุน 1) เสนทางลําน้ําเชิงตัวเลข
- สํานักชลประทานที่ 3
(Supplementary 2) ขอบเขตชลประทานโครงการพลายชุมพล
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ
Water) 3) แผนที่ชั้นหินอุมน้ําเชิงตัวเลข
4) ตําแหนงบอบาดาลเชิงตัวเลข
5) รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวางระบบเตือนภัยดาน
การเกษตร
สภาพพื้นที่ 1) แผนที่ภูมปิ ระเทศเชิงตัวเลข - กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
(Topography) - เสนชั้นความสูงจากระดับน้ําทะเล
ดานการตลาด 1) เสนทางคมนาคมเชิงตัวเลข - กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
(Marketing) 2) ตําแหนงที่ตั้งโรงงานทํากลวยตาก - การสํารวจภาคสนาม
3) บทสัมภาษณผูทําการคากลวยตากอําเภอบางกระทุม

ที่มา: เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ และ จรัณธร บุญญานุภาพ (2546)


ตารางที่ 1 เปนตัวอยางแสดงการรวบรวมขอมูลและทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดย
แสดงถึงประเภทขอมูลและแหลงขอมูลที่ใชเพื่อกําหนดปจจัยและตัวแปรในการกําหนดระดับความ
เหมาะสมของพื้นที่เพื่อการปลูกกลวยน้ําวา อันเปนสวนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการจัดการระบบการผลิต
กลวยน้ําวาเพื่อการคาและอุตสาหกรรมโดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร สําหรับบทปฏิบัติการนี้จะใชตัว
แปรเพียง 4 ประเภทดังที่กลาวมาขางตน เพื่อสรางเปนตนแบบอยางงาย (Simple prototype) ในการ
วิเคราะห โดยมีชั้นขอมูลที่ใชในการศึกษาดังตอไปนี้
ชื่อชั้นขอมูล คําอธิบาย
Std_area.shp ขอบเขตพื้นทีบ่ านขุนฝาง
Contour.shp เสนชัน้ ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางทุก 100 เมตร
Stream.shp เสนลําน้าํ ที่มีนา้ํ ไหลตลอดป
Soilgroup.shp กลุมชุดดิน
pH_point.shp คาความเปนกรดเปนดางของดิน จากจุดสํารวจภาคสนาม

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
104

1.2) รายละเอียดของตัวแปรที่ใชในการวิเคราะห
เปนการอธิบายใหเหตุผลและความสําคัญของตัวแปรแตละตัวที่ถูกนํามาใชการวิเคราะห
ตัวอยางเชน
(1) เนื้อดิน (Soil Texture)
สัดสวนของอนุภาคดินแตละประเภทจะชวยบอกถึงความอุดมสมบูรณของดิน สภาพ
การถายเทอากาศในดิน และความชื้นที่เปนประโยชนตอพืช นอกจากนี้ยังสามารถทําใหทราบถึง
ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (CEC: cation exchange capacity) ซึ่งเปนความสามารถใน
การดูดซับ ปลดปลอย และ แลกเปลี่ยนธาตุอาหารที่จาํ เปนตอการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นเนื้อดินจึงถือ
ไดวา เปนตัวแปรที่สําคัญในการเลือกชนิดพืชเศรษฐกิจที่จํานํามาเพาะปลูกในพื้นที่
(2) ความเปนกรดเปนดางของดิน (Soil pH)
ความเปนกรดเปนดางของดินแสดงถึงปฏิกิริยาของดิน (Soil reaction) ที่มีผลตอ
การเจริญเติบโตของพืช เนื่องจากปฏิกิริยาดินจะทําใหสภาพตางๆ ทางดานเคมีและดานชีวภาพของดินถูก
เปลี่ยนไปในสภาพที่เหมาะสมหรือไมเหมาะสมตอพืช การวิเคราะหคาความเปนกรดเปนดางของดิน ไดจาก
คาปฏิกิริยาดินเฉลี่ยในระดับความลึก 0 ถึง 25 เซนติเมตร (Top soil layer)
(3) ความลาดชัน (Slope)
ความลาดชันของพื้นที่จะแสดงถึงความตางระดับของพื้นที่ รวมทั้งความสลับซับซอน
ของพื้นที่และทิศดานลาด โดยระบุเปนเปอรเซ็นตของความลาดชันที่มีความสัมพันธกับระดับความ
เหมาะสมเพื่อการปลูกกลวยน้ําวา และยังเปนตัวแปรหนึ่งที่เปนขอจํากัดของพื้นที่ในการปลูกพืชเศรษฐกิจ
ได
(4) เสนทางลําน้ํา (Stream network)
เสนทางลําน้ําที่ใชในเปนตัวแปรไดกําหนดจากเสนลําน้ําผิวดินที่เปนธรรมชาติ เชน แมน้ํา
ลําหวย และเสนลําน้ําจากการพัฒนา เชน คลองชลประทาน โดยเปนตัวแปรดานแหลงน้ําสนับสนุนและ
สามารถประเมินถึงการขาดแคลนน้ําของพื้นที่
1.3) การใหระดับคะแนนของประเภทในตัวแปรและคาความสําคัญของตัวแปร
โดยปกติการวิเคราะหเชิงพื้นที่เพื่อประเมินหาพื้นที่ที่เหมาะสมหรือพื้นที่เสี่ยงภัย มักจะใช
ปจจัยตัวแปรตั้งแต 2 ประเภทขึ้นไปรวมกับขอจํากัดของสภาพพื้นที่ โดยการกําหนดระดับคะแนนของตัว
แปร (rating or score) และคาคาน้ําหนักของตัวแปร (criteria weight) ซึ่งมีไดหลายวิธี อาจจะเปนการ

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
105

กําหนดจากผูเชี่ยวชาญ การอางอิงจากเอกสารงานวิจัยที่มีอยูและนํามาปรับปรุงใหเหมาะสมกับสภาพของ
พื้นที่ การกําหนดดวยวิธีการคํานวณทางคณิตศาสตรหรือทางสถิติ รวมทั้งการกําหนดโดยใชแนวคิดของ
การวิเคราะหเชิงพื้นที่ เชน การใชเทคนิค Fuzzy logic, Analytic Hierarchy Process (AHP),
Pairwise Comparison, Composite Mapping Analysis (CMA; Boonyanuphap, et al., 2001)
เปนตน สําหรับวิธี Simple Additive Weighting (SAW; Jack, 1999) ซึ่งเปนวิธีที่ใชกันอยางแพรหลาย
สําหรับแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับตัดสินใจเชิง Spatial Multi-attribute or Multi-criteria Evaluation
และใชรวมกันไดอยางเหมาะสมกับความสามารถของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรดานการวิเคราะหการ
ซอนทับ ซึ่งวิธีการดังกลาวเปนการกําหนดระดับคะแนนและคาความสําคัญของตัวแปรดวยวิธีการบนฐาน
ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS-based approach)
ในบทปฏิบัติการนี้ การจําแนกระดับความเหมาะสมของสภาพแวดลอมเพื่อการปลูกกลวย
น้ําวา ไดทําการปรับแกความเหมาะสมของระดับคะแนนของประเภทภายในตัวแปร (Score of category)
และลําดับความสําคัญหรือคาถวงน้ําหนักของตัวแปรแตละตัว (Weight of Variable) จากแนวทางของ
องคการอาหารและการเกษตร แหงสหประชาชาติ (FAO) คูมือการประเมินคุณภาพที่ดินในระดับไรนา
เบื้องตน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และรายงานการจัดการทรัพยากรดิน เพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจ
หลักตามกลุมชุดดิน ซึ่งการกําหนดตัวแปรในลักษณะนี้เปนแบบ Conventional GIS application
โดยตัวแปรที่มีลําดับความสําคัญมากถูกกําหนดใหมีคาถวงน้ําหนักมาก ในขณะที่ระดับ
คะแนนแสดงถึงความเหมาะสมเพื่อการปลูกกลวยน้ําวาของประเภทภายในตัวแปรแตละตัว ดังรายละเอียด
แสดงในตารางที่ 2 ถึง ตารางที่ 5
ตารางที่ 2 การกําหนดคาคะแนนและคาถวงน้ําหนักระดับความเหมาะสมของตัวแปรเพื่อการปลูกกลวย
น้ําวา
คาถวงน้ําหนัก ระดับความสําคัญ คาคะแนน ระดับความเหมาะสม
1 นอยมาก 2 นอยมาก
2 นอย 4 นอย
3 ปานกลาง 6 ปานกลาง
4 มาก 8 มาก

ตารางที่ 3. การถวงน้ําหนักของตัวแปรแตละดานที่ใชศึกษาความเหมาะสมของสภาพแวดลอมเพื่อการ
ปลูกกลวยน้ําวา
ตัวแปร คาถวงน้ําหนัก
ความเปนกรดเปนดางของดิน 4
เนื้อดิน 3
ระยะหางจากเสนทางลําน้ําที่มีน้ําไหลตลอดป 2
ความลาดชัน 1

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
106

การกําหนดระดับคะแนนความเหมาะสมของประเภทภายในตัวแปร ไดมีการปรับแกให
เหมาะสมกับลักษณะของพื้นที่ศึกษา โดยยึดแนวทางขององคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ
(FAO) คูมือการประเมินคุณภาพที่ดินในระดับไรนาเบื้องตน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และรายงาน
การจัดการทรัพยากรดิน เพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุมชุดดิน แสดงในตารางที่ 4

ตารางที่ 4 การกําหนดระดับคะแนนของประเภทในตัวแปร

ตัวแปร ประเภท คะแนน ตัวแปร ประเภท คะแนน


(Parameter) (Category) (Score) (Parameter) (Category) (Score)
เนื้อดิน Heavy clay 2 ระยะหางจากเสน มากกวา 1,500 2
Sic, c 4 ทางลําน้ําที่มี 1,000-1,500 4
Sc 6 น้ําไหลตลอดป 500-1,000 6
S, ls, sl, l, sil, scl, cl, sicl 8 (เมตร) นอยกวา 500 8
ความเปนกรด นอยกวา 4.5 หรือ มากกวา 8.5 2 ความลาดชัน มากกวา 35 2
เปนดางของดิน 4.5-5.4 หรือ 7.6-8.5 4 (เปอรเซ็นต) 16-35 4
หรือ 5.5-5.9 หรือ 7.1-7.5 6 8-16 6
ปฏิกิริยาของดิน 6.0-7.0 8 นอยกวา 8 8

ขอมูลความเหมาะสมของตัวแปรดานเนื้อดิน ไดจากฐานขอมูลกลุมชุดดินจากกรมพัฒนา
ที่ดิน และถูกนํามากําหนดคาระดับคะแนนความเหมาะสมของพื้นที่ตามกลุมชุดดิน (ตารางที่ 6) สําหรับ
ขอมูลของตัวแปรดานความเปนกรดดางของดิน ไดจากการวิเคราะหคาปฏิกิริยาของดิน (Soil pH) ที่เก็บ
รวบรวมมาจากจุดสํารวจภาคสนามในบริเวณพื้นที่ศึกษา
ตารางที่ 5 การใหระดับคะแนนของกลุมชุดดินในตัวแปรดานเนื้อดิน
กลุมชุดดินที่ เนื้อดิน คะแนน
17 ดินรวนปนทราย (ls) 8
29 ดินเหนียว (c) 4
47 ดินเหนียวหรือดินรวน (c หรือ l) 4
62 เนื้อดินไมแนนอนขึน้ อยูกับชนิดของหิน 2

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
107

1.4) การจําแนกระดับความเหมาะสมของพื้นที่ในตัวแปรแตละตัว
ตัวแปรทุกตัวจะถูกสรางขึ้นมาจากชั้นขอมูลพื้นฐาน (ภาพที่ 1) ที่อยูในระบบฐานขอมูล
ภูมิศาสตร (Geodatabase) โดยมีการเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสมดวยกระบวนการทางภูมิศาสตร สําหรับบท
ปฏิบัติการนี้ไดแปลงชั้นขอมูลทั้งหมดใหอยูในรูปของชั้นขอมูลแบบเชิงกริด (Raster Data หรือ Grid
Theme) ทั้งนี้เนื่องจากมีความสะดวกและถูกตองภายใตการวิเคราะหการซอนทับ (Overlay Analysis)
ดวยเทคนิคการคํานวณพีชคณิตเชิงแผนที่ (Map algebra) ซึ่งจะถูกนํามาใชในการวิเคราะหหาพื้นที่ที่
เหมาะสมในบทปฏิบัติการนี้

ภาพที่ 1 แสดงชั้นขอมูลพื้นฐานที่ใชในการสรางชั้นขอมูลตัวแปร
ขั้นตอน
ชั้นขอมูลขอบเขตพื้นที่ศึกษา (Std_area.shp) จะถูกแปลงไปเปนชั้นขอมูลเชิง Grid (grid
theme) ที่ชื่อวา “STD” โดยกําหนดขนาดของจุดภาพ (cell size หรือ pixel size) เทากับ “20” เมตร ทั้งนี้
จะตองกําหนด Map unit ใหกับ View document ใหมีหนวยเปน “meters” เสียกอน สําหรับการสราง
ชั้นขอมูลของตัวแปรแตละตัวมีรายละเอียดดังตอไปนี้
(1) ตัวแปรความลาดชัน (Slope) คํานวณมาจากแบบจําลองพื้นผิว DEM และ TIN ซึ่ง
สรางขึ้นจากเสนชั้นความสูง (Contour.shp) และ ชั้นขอมูลเสนลําน้ํา (Stream.shp)
วิธีการ
1. นําชั้นขอมูลเสนระดับความสูง (Contour.shp) และ ชั้นขอมูลเสนลําน้ํา (Stream.shp)
มาสราง TIN ดวย 3D Analyst Extension
2. ใชคําสั่ง Create TIN from Features… เพื่อสรางแบบจําลองพื้นผิว TIN (โดย
กําหนดพารามิเตอรตางๆ ดังนี้)

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
108

3. แปลงชั้นขอมูลแบบจําลองพื้นผิว TIN ไปเปนชั้นขอมูลแบบจําลองพื้นผิว DEM ดวย


คําสั่ง Convert to Grid

4. กําหนดขอบเขตของการวิเคราะหชั้นขอมูลกริดดังนี้

กําหนดขอบเขตของการวิเคราะหขอมูล

กําหนดขนาดของจุดภาพ

กําหนดขอบเขตและรูปรางของ Output theme


โดยขึ้นกับ No Data Value

5. สรางชั้นขอมูลความลาดชันจาก DEM ดวยคําสั่ง “Derive Slop” (หนวยของความ


ลาดชันจะเปน“องศา”)
6. เปลี่ยนชื่อของชั้นขอมูลความลาดชันเปน “Slope_per”

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
109

7. คํานวนความลาดชันจากองศาใหเปนเปอรเซ็นต โดยใช Avenue Script ขางลางนี้


(สราง Script ใหมขึ้นมาจาก “Scripts” icon ใน Project window)
'Convert Slope in degree to be in percentage
'Modifier : J. Boonyanuparp, 2003
'-------------------------------------------
theView = av.GetActiveDoc
'find theme names "Slope_per",
theDEM = theView.findTheme("Slope_per").GetGrid
'make slope as grid then present by percentage
theSlpGrid = theDEM.Slope(1,true)
'make grid theme
theGthm = Gtheme.Make(theSlpGrid)
'add theme to active view
theView.AddTheme(theGthm)

8. คลิกปุม “RUN” บน Button bar ใหโปรแกรม script ทํางาน เพื่อสรางชั้นขอมูล


ความลาดชันที่มีหนวยเปนเปอรเซ็นต (“Grid1”)
9. ใชคําสั่ง “Reclassify” จากเมนู Analysis เพื่อจัดระดับชั้นของความลาดชันใหเปนไป
ตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่ตอการปลูกกลวยน้ําวาที่กําหนดไวในตารางที่ 4

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
110

10. กําหนดจํานวนชั้นของความลาดชั้นใหเทากับ 4 ระดับชั้น และกําหนดชวงหางของความ


ลาดชันในแตละระดับชั้นดังภาพขางลาง

New Value ความลาดชัน ระดับความเหมาสะม


1 0-8 มาก
2 8-16 ปานกลาง
3 16-35 นอย
4 มากกวา35 นอยทีส่ ุด

11. เลือกคําสั่ง “Save Data Set” เพื่อบันทึกชั้นขอมูลใหมที่ได (Reclass of Grid1) ให


เปนชั้นขอมูลตัวแปรความลาดชัน (“Slope”) ที่มีคาเปนเปอรเซ็นต

12. คลิกปุม “Open Theme Table” button เพื่อแกไขตาราง Attribute ของชั้นขอมูล


ตัวแปรความลาดชัน (“Slope”) โดยเพิ่มเขตขอมูลของคาคะแนนความเหมาะสมและคา
ถวงน้ําหนัก รวมทั้งเขตขอมูลแสดงคําอธิบายรหัสของขอมูล ตามตารางที่ 3 และ 4

• ตอนนี้ทุก Cell ของชั้นขอมูลตัวแปร “Slope” จะมีขอมูลคุณลักษณะที่แสดงถึงคา


คะแนนความเหมาะสมและคาถวงน้ําหนัก ซึ่งพรอมที่จะนําไปใชในการวิเคราะหหา
พื้นที่เหมาะสมของพื้นที่รวมกับตัวแปรอื่นตอไป

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
111

(2) ตัวแปรเนื้อดิน (Soil Texture) สามารถสรางขึ้นมาจากการเลือกขอมูลคุณลักษณะ


(Attribute Data Selection) ของชั้นขอมูลกลุมชุดดิน (Soilgroup.shp)
วิธีการ
1. แสดงภาพชั้นขอมูลกลุมชุดดิน (Soilgroup.shp) และเลือกคําสั่ง “Open Theme
Table” button เพื่อแสดงรายละเอียดขอมูลคุณลักษณะที่เกี่ยวกับประเภทเนื้อดิน
(soil texture) พบวาเขตขอมูลที่ชื่อวา “Texture” แสดงถึงคุณลักษณะของประเภท
เนื้อดิน

3. เพิ่มเขตขอมูลโดยตั้งที่ชื่อวา “Soil_code” เพื่อแสดงรหัสของกลุมชุดดิน เนื่องจากการ


แปลงไปเปนชั้นขอมูล Grid theme ตองกําหนดคาของ Cell Value ที่มาจากเขต
ขอมูลประเภท Number เทานั้น (Soil_unit เปนเขตขอมูลที่แสดงชื่อของกลุมชุดดิน
เชนกัน แตเปนประเภท “String”)

3. เลือกคําสั่ง “Convert to Grid” เพื่อแปลงชั้นขอมูลกลุมชุดดิน (Soilgroup.shp) ไป


เปนชั้นขอมูล Grid theme โดยกําหนดคา Cell Value จากเขตขอมูลที่ช่อื วา
Soil_code และตั้งชื่อชั้นขอมูลเปน “Soil_Tex”

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
112

4. เปดตาราง Attribute table ของชั้นขอมูลตัวแปรเนื้อดิน (Soil_Tex) แลวเพิ่มเขต


ขอมูลของคาคะแนนความเหมาะสมและคาถวงน้ําหนัก รวมทั้งเขตขอมูลแสดง
คําอธิบายรหัสของขอมูล ตามตารางที่ 3 ถึง ตารางที่ 5

(3) ตัวแปรความเปนกรดดางของดิน (Soil pH) สามารถสรางขึ้นมาจากชั้นขอมูลคา pH


ของดินที่ไดจากตําแหนงของจุดสํารวจภาคสนาม (pH_point.shp) ดวยการวิเคราะห
“THIESSEN” ซึ่งเปนเทคนิคการสรางขอบเขต polygon จากชั้นขอมูลประเภทจุด
วิธีการ
1. แสดงชั้นขอมูลคา pH ของดิน (pH_point.shp), เปดตาราง Attribute table และ
เลือกเขตขอมูลที่บันทึกขอมูลคา pH (Soilph) โดยนํามาวิเคราะหสราง Thiessen
polygons

2. เรียกใช “THIESSEN” Extension โดยจะปรากฎมีปุม Create Thiessen polygon


บน Button bar

3. คลิก Active ที่ “pH_point.shp”


4. คลิกที่ปุม “Create Thiessen polygon” เพื่อสราง Polygons จากชั้นขอมูล
pH_point.shp แลวเลือกเขตขอมูล (field) ที่จะใชกําหนดคา ID (คา pH ของดิน)
และสรางขอบเขตพื้นที่ของชั้นขอมูลจะสรางขึ้น (ชั้นขอมูลตัวแปร pH ของดิน) ใหมี
ขอบเขตเทากับพื้นที่ศึกษา (Std_area.shp)

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
113

5. ตั้งชื่อชั้นขอมูลตัวแปรคาความเปนกรดดางของดินเปน Soil_ph.shp หลังจากนั้นชั้น


ขอมูล Thiessen polygon ที่สรางขึ้นใหมจะปรากฎใน View Document
6. เปดตาราง Attribute table เพื่อแสดงรายละเอียดของเขตขอมูลที่เก็บคาความเปน
กรดดางของดินในแตละ Polygon (field ที่ชื่อ Soilph)

7. เลือกคําสั่ง “Convert to Grid” เพื่อแปลงชั้นขอมูล Soil_ph.shp ไปเปนชั้นขอมูล


Grid theme โดยกําหนดคา Cell Value จากเขตขอมูลที่ชื่อวา “Soilph” และตั้งชื่อ
ชั้นขอมูลเปน “Soil_ph”

• ชั้นขอมูล Grid theme ใหมที่ได (Soil_ph) เปนชั้นขอมูล Floating Point data set ซึ่ง
จะแสดงขอมูลประเภท Continuous values หรือ ขอมูลที่มีคาตอเนื่องกัน ดังนั้น
จําเปนตองทําการ Reclassification เพื่อเปลี่ยนชั้นขอมูลใหเปน Integer Data set ที่
แสดงขอมูลที่มีคาไมตอเนื่อง หรือ discrete values ซึ่งมีความเหมาะสมมากกวา ในการ
กําหนดคาระดับคะแนนและคาถวงน้ําหนักใหแตละ cell

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
114

8. ใชคําสั่ง “Reclassify” จากเมนู Analysis เพื่อจัดระดับชั้นของคาความเปนกรดเปน


ดางของดิน ใหเปนไปตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่ตอการปลูกกลวยน้ําวาที่
กําหนดไวในตารางที่ 4

9. เลือกคําสั่ง “Save Data Set” เพื่อบันทึกชั้นขอมูลที่สรางขึ้นใหมโดยตั้งชื่อเปน


“Rsoil_ph”

10. เปดตาราง Attribute ของชั้นขอมูลตัวแปร pH ดิน (Rsoil_ph) แลวเพิ่มเขตขอมูลของ


คาคะแนนความเหมาะสมและคาถวงน้ําหนัก รวมทั้งเขตขอมูลที่แสดงคําอธิบายรหัสของ
ขอมูลตามตารางที่ 4

(4) ตัวแปรระยะหางจากเสนทางลําน้ํา (Distance from Stream network) ถูกสราง


ขึ้นมาจากการทํา Buffering หรือ การสรางขอบเขตใหกับ features ของชั้นขอมูล
เสนทางลําน้ําที่มีน้ําไหลตลอดป (Stream.shp)
วิธีการ
1. แสดงชั้นขอมูลเสนทางลําน้ํา (Stream.shp) แลวคลิก active
2. เลือกทําสั่ง Create Buffer แลวกําหนดให “The feature of the theme” เปน
Stream.shp แลวคลิกปุม Next

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
115

3. สราง Buffer เปนแบบ “As Multiple rings” กําหนดจํานวน Ring เทากับ “4” โดยมี
ระยะทางระหวาง Ring เทากับ “500” เมตร และ หนวยระยะทาง (Distance Unite)
เปน “Meters”
4. กําหนดชื่อของชั้นขอมูล Buffer เสนทางลําน้ํา เปน Strm.shp

5. ใช “GeoProcessing” extension ตัดชั้นขอมูล Strm.shp เพื่อกําหนดขอบเขตพื้นที่


ใหเทากับพื้นที่ศึกษา Std_area.shp แลวตั้งชื่อชั้นขอมูลใหมวา “Cpstrm.shp”

6. เปดตาราง Attribute ของชั้นขอมูล Cpstrm.shp แลวเพิ่มเขตขอมูลเพื่อแสดงคารหัส


ของ buffer แตละชวงของระยะหางจากเสนทางลําน้ํา (“Strm_code”)
Strm_Code ระยะหางจากเสนลําน้ํา
1 นอยกวา 500 เมตร
2 ระหวาง 500 ถึง 1,000 เมตร

7. เลือกคําสั่ง “Convert to Grid” เพื่อแปลงชั้นขอมูล Cpstrm.shp ไปเปนชั้นขอมูล


Grid theme โดยกําหนดคา Cell Value จากเขตขอมูลที่ชื่อวา “Strm_code” และตั้ง
ชื่อชั้นขอมูลเปน “Bfstream” ซึ่งเปนชั้นขอมูลตัวแปรระยะหางจากเสนทางลําน้ําที่มีน้ํา
ไหลตลอดป

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
116

8. เปดตาราง Attribute ของชั้นขอมูลตัวแปรเสนทางลําน้ํา (Bfstream) แลวเพิ่มเขต


ขอมูลชื่อ Score, Weight, และ Describe เพื่อแสดงคาคะแนนความเหมาะสม
คาถวงน้ําหนัก และคําอธิบายรหัสของขอมูลตามลําดับ โดยอางอิงจากตารางที่ 4

(5) แสดงผลการจําแนกระดับความเหมาะสมของพื้นที่ในตัวแปรแตละตัว
ชั้นขอมูลตัวแปรทั้ง 4 ที่สรางขึ้น สามารถแสดพื้นที่ระดับความเหมาะสมตอการปลูก
กลวยน้ําวาบริเวณพื้นที่ศึกษาไดดังนี้

ชั้นขอมูลตัวแปรเสนทางลําน้ํา (Bfstream) ชั้นขอมูลตัวแปรเนื้อดิน (Soil_tex)

ชั้นขอมูลตัวแปร pH ของดิน (Rsoil_ph) ชั้นขอมูลตัวแปรความลาดชัน (Slope)

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
117

10.4 การจําแนกระดับความเหมาะสมของสภาพแวดลอมในปจจุบันเพื่อการปลูกกลวยน้ําวา

ขั้นตอนนี้นําชั้นขอมูลตัวแปรระดับชั้นความเหมาะสมของทุกดานที่ถูกใหคาคะแนนและคาถวง
น้ําหนักแลวมาซอนทับกัน (overlay) เพื่อจําแนกจําแนกระดับความเหมาะสมของสภาพแวดลอมในปจจุบัน
ของพื้นที่ โดยชั้นขอมูลใหมที่ได (Suit) จะแสดงถึงระดับความเหมาะสมของสภาพแวดลอมในปจจุบันเพื่อ
การปลูกกลวยน้ําวาในพื้นที่ศึกษา โดยทุก Cell (Pixel) ของชั้นขอมูลความเหมาะสม (Suit) จะบรรจุคา
ความเหมาะสมของสภาพแวดลอม ซึ่งกริดที่มีคามากที่สุดแสดงถึงพื้นที่ที่มีความเหมาะสมของ
สภาพแวดลอมในปจจัยดานนั้นๆ มากที่สุด จากนั้นจึงจําแนกระดับความเหมาะสมใหม
(Reclassification) ออกเปน 4 ระดับความเหมาะสม ดวยสมการการกําหนดคาชวงแบบระยะหางเทากัน
(Equal Interval Range)
ชวงหางของชั้นความเหมาะสม = (คาความเหมาะสมสูงสุด – คาความเหมาะสมต่ําสุด)
จํานวนระดับความเหมาะสม

(1) การวิเคราะหการซอนทับตัวแปรทุกดานเพื่อหาความเหมาะสมของพื้นที่
ขั้นตอน
1. จากเมนู Analysis เลือกคําสั่ง “Map Calculator” เพื่อใชในการคํานวณการซอนทับ
แบบพีชคณิตเชิงแผนที่ (map algebra) ของชั้นขอมูลตัวแปรทุกตัว
2. ใน Map Calculation 1 เลือกชั้นขอมูลตัวแปรทุกตัว (Layers) ที่จะนําทําปฏิบัติการ
การซอนทับ (overlay operation) โดยเขตขอมูลที่ใชในการคํานวณคือ Score และ
Weight ซึ่งเปนเขตขอมูลที่เก็บคาระดับคะแนนและคาถวงน้ําหนักของชั้นขอมูลตัว
แปรแตละตัวตามลําดับ (ตามสมการในภาพขางลาง)

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
118

(2) การจําแนกระดับความเหมาะสมของสภาพแวดลอมในปจจุบันของพื้นที่
ขั้นตอน
1. ใชทําสั่ง “Reclassify” จําแนกระดับชั้นความเหมาะสมใหมออกเปน 4 ระดับ
ความเหมาะสม โดยใชเทคนิคกําหนดคาชวงแบบระยะหางเทากัน (Equal
Interval Range)

2. บันทึกชั้นขอมูลใหมที่ไดใหเปนชื่อ “Suit” ซึ่งเปนชั้นขอมูลแสดงระดับชั้นความ


เหมาะสมของสภาพแวดลอมในปจจุบันของพื้นที่เพื่อการปลูกกลวยน้ําวา
3. เปดตาราง Attribute ของชั้นขอมูล “Suit” แลวเพิ่มเขตขอมูลชื่อ Describe
เพื่อแสดงคําอธิบายรหัสของขอมูลดังตารางขางลาง
ชวงระดับความเหมาะสม New Cell ชั้นความเหมาะสม พื้นที่ (ตารางกิโลเมตร)
Value
36-47 1 นอยมาก 1.6156
48-58 2 นอย 4.1156
59-69 3 ปานกลาง 5.7892
70-80 4 มาก 0.1904

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
119

10.5 การกําหนดพื้นที่ที่เปนขอจํากัดในการปลูกกลวยน้ําวา

เปนขั้นตอนในพิจารณาถึงพื้นที่ที่มีขอจํากัดในการใชที่ดินเพื่อกิจกรรมใดๆ (Land suitability


with limitation) พื้นที่ศึกษาบริเวณบานขุนฝางตั้งอยูในบริเวณพื้นที่ปาไมที่มีความลาดชันสูง และมีพื้นที่
บางสวนถูกจําแนกเปนพื้นที่คุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 1A และกลุมดินชุดที่ 62 ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีคุณลักษณะ
เปราะบางตอการเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน อันเนื่องมาจากสภาพพื้นที่เปนภูเขาสูงชัน ที่มีความ
ลาดเทสูงกวา 30 เปอรเซ็นต รวมทั้งเปนพื้นที่ที่มีปริมาณเศษหินกรวดที่ผิวดินมาก ทําใหดินตื้นและมีการ
ชะลางพังทลายของหนาดินในระดับรุนแรง ดังนั้นในการใชที่ดินเพื่อการเกษตรภายในพื้นที่ที่เปราะบาง
ดังกลาวจําเปนตองมีมาตรการที่เหมาะสมมารองรับการวางแผนการใชประโยชนที่ดิน สําหรับการกําหนด
พื้นที่ที่เปนขอจํากัดมีดังขั้นตอนดังนี้
1. แปลงชั้นขอมูลกลุมชุดดิน (“Soilgroup.shp”) ใหเปนชั้นขอมูล Grid Theme โดย
กําหนดใหคา Cell Value มาจากเขตขอมูล “Soil_code” ซึ่งเปนขอมูลแสดงชื่อของกลุม
ชุดดิน และตั้งชื่อชั้นขอมูลใหมวา “Sgroup”

2. ใชคําสั่ง Reclassify เพื่อแกไขคา Cell Value ของชั้นขอมูล โดยกําหนดให Cell ที่มีคา


เทากับ “62” (กลุมชุดดินที่ 62) เปลี่ยนเปนคาเทากับ “0” และกําหนดให Cell ที่มีคาอื่นๆ
เปลี่ยนเปนคาเทากับ “1”

Cell Value คําอธิบาย


0 กลุม ชุดดินที่ 62
1 กลุมชุดดินอื่นๆ

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
120

3. บันทึกชั้นขอมูลใหมที่ไดใหมีชื่อวา “Strict” ซึ่งเปนชั้นขอมูลที่แสดงถึงพื้นที่ที่จํากัดในการ


ปลูกกลวยน้ําวา

10.6 การจําแนกระดับความเหมาะสมของพื้นที่เพื่อการปลูกกลวยน้ําวา

เปนขั้นตอนสุดทายในการจําแนกระดับชั้นความเหมาะสมของพื้นที่ศึกษาเพื่อปลูกกลวยน้ําวา
โดยขั้นตอนนี้จะใชการซอนทับแบบคุณ (Multiply Overlay Operation) พื้นที่ที่มีขอจํากัด (กลุมชุดดินที่
62: “Strict”) ในการใชประโยชนกับขอมูลระดับความเหมาะสมของสภาพแวดลอมในปจจุบัน (“Suit”) เพื่อ
กําหนดหาพื้นที่ที่จะตองมีมาตรการที่เหมาะสมในอนาคตสําหรับการใชพื้นที่เพื่อปลูกกลวยน้ําวา ในบริเวณ
ที่อาจเกิดผลกระบทตอระบบนิเวศภายในพื้นที่ได
1). จากเมนู Analysis เลือกคําสั่ง “Map Calculator” เพื่อใชในการคํานวณการซอนทับแบบ
คูณระหวางชั้นขอมูล “Strict” กับชั้นขอมูล “Suit”
2). ใน Map Calculation 1 เลือกเขตขอมูลชื่อ “Value” ของชั้นขอมูล “Strict” ([Strict])
คูณกับเขตขอมูลชื่อ “Value” ของชั้นขอมูล “Suit” ([Suit])

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
121

3). บันทึกชั้นขอมูลใหมที่ไดใหมีชื่อวา “FinalSuit” ซึ่งเปนชั้นขอมูลที่แสดงถึงระดับชั้นความ


เหมาะสมของพื้นที่ศึกษาเพื่อปลูกกลวยน้ําวา (Land Suitability Classification for
Musa (ABB group) Plantation) และคํานวนหาเนื้อที่ของแตละระดับชั้นความเหมาะสม
เพื่อการปลูกกลวยน้ําวาในพื้นที่ศึกษา ดังตารางที่ 6
ตารางที่ 6 ระดับความเหมาะสมของพื้นที่เพื่อการปลูกกลวยน้ําวาในบริเวณบานขุนฝาง จังหวัดอุตรดิตถ
ระดับความเหมาะสม พื้นที่ (ตารางกิโลเมตร) พื้นที่ (ไร)
นอยมาก 2.5948 1621.75
นอย 0.5696 356.00
ปานกลาง 3.7532 2345.75
มาก 5.3240 3327.50
พื้นที่ที่มีขอจํากัดหรือพื้นที่กันออก 0.1904 119.00
รวม 12.432 7770.00

อยางไรก็ตามการจําแนกระดับความเหมาะสมของพื้นที่ในบทปฏิบัติการนี้เปนเพียงการฝกปฏิบัติ
ใหนิสิตไดสรางแนวคิดในการนําวิธีการและหลักการไปประยุกตใชในอนาคต ซึ่งโดยทั่วไปแลวกิจกรรมขั้น
ตอไป หลังจากการวิเคราะหหาพื้นที่เหมาะสมหรือพื้นที่เสี่ยงภัย (Site Suitability and Risk Analysis)
จะตองทําการประเมินความถูกตองของผลการวิเคราะห (Accuracy assessment of the model) ซึ่งเปน
สิ่งบงชี้ถึงความนาเชื่อถือของผลการวิเคราะหที่ได

การวิเคราะหการเลือกพื้นที่
122

สําหรับในบทปฏิบัติการครั้งนี้อาจมีแนวทางในการตรวจสอบความถูกตองของผลการวิเคราะห
โดยนําขอมูลผลผลิตกลวยน้ําวาจากแปลงของเกษตรกรในสภาพความเปนจริงของแตละป มาเปรียบเทียบ
กับผลที่ไดจากการวิเคราะห และผลของการจําแนกระดับชั้นความเหมาะสมของพื้นที่จะมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้นหากมีการปรับปรุงและพัฒนาฐานขอมูลที่เกี่ยวของทั้งหมดอยางสม่ําเสมอ นอกจากนี้การวิเคราะหการ
ตัดสินใจทางดานเศรษฐศาสตร สังคม และการจัดการระบบการผลิตกลวยเพื่อการคาและสงออก สามารถ
ใชเปนแนวทางอันจะนําไปสูการกําหนดทิศทางเพื่อการจัดการการผลิตที่ไมเสี่ยงตอการลงทุนสําหรับ และ
แผนการจัดการพื้นที่เพื่อระบบการผลิตกลวยน้ําวาเพื่อการคาและอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับสภาพของ
พื้นที่เหลานั้นในสภาวะปจจุบัน

เอกสารอางอิง

เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ และ จรัณธร บุญญานุภาพ. 2546. การจัดการระบบการผลิตกลวยน้ําวาเพื่อการคา


และอุตสาหกรรม โดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร. รายงานฉบับสมบูรณ. สํานักงาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. โครงการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อชนบทและการ
พัฒนาที่ยั่งยืน. 114 หนา
Boonyanuphap, J., F. Gunarwan Suratmo, I Nengah Surati Jaya and F. Amhar. 2001. GIS-
Based Method in Developing Wildfire Risk Model (Case Study in SASAMBA,
East KALIMANTAN, Indonesia). Tropical Forest Management Journal. Vol VII,
No. 2: 33-45 pp.
Jack Malczewski. 1999. GIS and Multicriteria Decision Analysis. John Wiley & Sons, Inc.
New York Chechester Weinheim Brisban Singapore Toronto. 198-202 pp.

บทปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

You might also like