You are on page 1of 1156

พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต พืน้ ฐานรถยนต

ภาพแสดงโดยรวม สวนประกอบของรถยนต
รถยนต มีสวนประกอบตางๆ ดังตอไปนี้:

1.เครื่องยนต
• เครื่องยนตแกสโซลีนหรือเครื่องยนต
ดีเซล

2. ระบบสงกําลัง

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต พืน้ ฐานรถยนต
3. ชวงลาง
• ระบบรองรับ

• บังคับเลี้ยว

• เบรก

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต พืน้ ฐานรถยนต
4. ไฟฟาเครือ่ งยนต

5. ไฟฟาตัวถัง

6. ตัวถัง

(1/1)

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต พืน้ ฐานรถยนต
การจําแนกประเภทรถยนต การจําแนกตามกําลังขับเคลื่อน
สามารถแบงประเภทรถออกไดตามกําลัง
ขับเคลือ่ นดังตอไปนี้:

1 รถที่ใชเครื่องยนตแกสโซลีน
2 รถที่ใชเครื่องยนตดีเซล
3 รถไฮบริด (Hybrid vehicle)
4 รถพลังงานไฟฟา (EV)
5 รถฟูเอลเซลไฮบริด (Fuel cell hybrid
vehicle)

(1/6)

รถที่ใชเครื่องยนตแกสโซลีน
รถชนิดนี้วิ่งโดยเครื่องยนตที่ใชเชื้อเพลิง
เบนซิน เนื่องจากเครื่องยนตแกสโซลีนนั้น
ใหกาํ ลังงานสูง และมีขนาดกะทัดรัด จึงใช
งานกันอยางแพรหลายในรถยนตโดยสาร
ดวยเครื่องยนตที่มีลักษณะคลายคลึงกันนี้
ยังนิยมใชในเครื่องยนต CNG เครื่องยนต
LPG และเครื่องยนตแอลกอฮอล ซึง่ ลวน
แตใชเชื้อเพลิงตางชนิดกัน

CNG: กาซธรรมชาติ (Compressed


Natural Gas)
LPG: กาซปโตรเลียมเหลว (Liquefied
Petroleum Gas)

1 เครื่องยนต
2 ถังน้าํ มันเชื้อเพลิง (เบนซิน)
(2/6)

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต พืน้ ฐานรถยนต
รถที่ใชเครื่องยนตดีเซล
รถชนิดนี้วิ่งโดยเครื่องยนตที่ใชเชื้อเพลิง
ดีเซล เนื่องจากเครื่องยนตดีเซลนั้นให
แรงบิดมากและชวยประหยัดน้าํ มันไดดี
จึงใชกันอยางแพรหลายในรถบรรทุกและ
รถยนตเอนกประสงค (SUVs)

SUV: รถยนตเอนกประสงค

1 เครื่องยนต
2 ถังน้าํ มันเชื้อเพลิง (น้าํ มันดีเซล)
(3/6)

รถไฮบริด (Hybrid vehicle)


รถชนิดนี้ติดตัง้ ดวยระบบพลังงานขับ
เคลื่อนที่แตกตางออกไปในรถคันเดียวกัน
ไดแก เครื่องยนตแกสโซลีนและมอเตอร
ไฟฟา เนื่องจากเครื่องยนตแกสโซลีน
จะทําหนาที่ผลิตกระแสไฟฟา รถชนิดนี้จึง
ไมจาํ เปนตองใชแหลงพลังงานจาก
ภายนอกในการชารจประจุแบตเตอรี่
ระบบขับเคลื่อนรถจะใชกระแสไฟฟา
270V ดานหนึ่งขณะทีอ่ ีกดานหนึ่งใช
กระแสไฟฟา 12V ตัวอยาง เชน
ในระหวางการสตารทหรือดับเครื่อง จะใช
1 เครื่องยนต มอเตอรไฟฟาที่ผลิตกระแสไฟฟาสูงขณะ
2 อินเวอรเตอร ความเร็วต่าํ แตเมื่อรถตองการความเร็ว
3 เกียร ก็จะเปลี่ยนมาใชการทํางานของเครือ่ งยนต
4 คอนเวอรเตอร แกสโซลีนที่มีประสิทธิภาพมากกวาขณะ
5 แบตเตอรี่ ความเร็วสูง ซึ่งวิธีการใชแรงขับเคลื่อนที่ดี
ที่สุดทั้งสองแบบในลักษณะนี้จะมี
ประสิทธิภาพในการลดมลพิษและประหยัด
น้าํ มันเชื้อเพลิงไดมากขึ้น
• แผนผังแสดงภาพระบบไฮบริดของ
รถโตโยตา
(เครื่องยนตแกสโซลีนและมอเตอร
ไฟฟา)
(4/6)

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต พืน้ ฐานรถยนต
รถพลังงานไฟฟา (EV)
รถชนิดนี้ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ทาํ ให
มอเตอรไฟฟาทํางาน แทนการใชเชื้อเพลิง
จึงตองมีการชารจประจุแบตเตอรี่
รถชนิดนี้ใหคุณประโยชนมากมาย
รวมทั้งปราศจากมลภาวะและมีเสียง
รบกวนขณะการทํางานต่าํ ระบบการ
ขับเคลือ่ นยวดยานจะใชกระแสไฟฟา
290V ขณะทีร่ ะบบไฟฟาอื่นใชกระแส
ไฟฟา 12V
• แผนผังแสดงภาพระบบ EV ของ
รถโตโยตา

1 ชุดควบคุมพลังงาน
2 มอเตอรไฟฟา
3 แบตเตอรี่
(5/6)

รถฟูเอลเซลไฮบริด (FCHV)
รถพลังงานไฟฟาชนิดนี้ใชกาํ ลังไฟฟาที่
สรางขึ้นเมือ่ ไฮโดรเจนทําปฏิกิริยากับ
ออกซิเจนในอากาศเกิดเปนน้าํ และเพราะ
ปลอยออกแตนา้ํ จึงถูกพิจารณาวาเปน
รูปแบบสุดทายของรถมลภาวะต่าํ และ
คาดการณไวลวงหนาวาจะกลายเปน
พลังงานขับเคลื่อนในรุนตอไป
• แผนผังแสดงภาพระบบฟูเอลเซลของ
รถโตโยตา

1 ชุดควบคุมพลังงาน
2 มอเตอรไฟฟา
3 กลองฟูเอลเซล
4 ระบบเก็บไฮโดรเจน
5 แบตเตอรี่ทตุ ิยภูมิ
(6/6)

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต พืน้ ฐานรถยนต
การจําแนกตามกําลังขับเคลื่อน
สามารถแบงประเภทรถไดจากตําแหนง
ของเครื่องยนตและการขับเคลื่อนลอ
รวมทั้งจํานวนของลอที่ขับเคลื่อนดวย
1 เครื่องยนตวางขวางดานหนา
ขับเคลื่อนลอหนา (FF)
2 เครื่องยนตวางตามยาวดานหนา
ขับเคลื่อนลอหลัง (FR)
3 เครื่องยนตกลางขับเคลื่อนลอหลัง
(MR)
4 ขับเคลือ่ น 4 ลอ (4WD)
(1/1)

- 7 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในเครื่องยนตแกสโซลีน สวนผสมน้าํ มัน
และอากาศถูกทําใหระเบิดในเครื่องยนต
และแรงที่เกิดขึ้นนี้จะถูกเปลี่ยนใหอยูใน
รูปของการหมุน ซึ่งจะทําใหรถยนต
เคลื่อนที่ได
ในการทํางานของเครื่องยนตมีระบบตางๆ
มากมายที่ถูกเพิ่มเติมใหเหมาะสมกับ
เครื่องยนต

1. การทํางานของเครื่องยนต

2. ระบบไอดี

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

3. ระบบเชื้อเพลิง

4. ระบบหลอลืน่

5. ระบบระบายความรอน

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

6. ระบบไอเสีย

(1/1)

การทํางาน
เพื่อจะสรางพลังงานที่ใชในการขับเคลื่อน
รถยนตเครื่องยนตแกสโซลีนตองทํางานซ้าํ
เปนวัฏจักร 4 จังหวะ:
• จังหวะดูด
• จังหวะอัด
• จังหวะระเบิด
• จังหวะคาย
เครื่องยนตจะทําการดูดสวนผสมระหวาง
อากาศ-เชื้อเพลิงเขาไปในกระบอกสูบ
จากนั้นทําการอัด, จุดระเบิดและเผาไหม
จนขั้นสุดทายคายไอเสียทิ้ง วัฏจักรทั้ง 4
จังหวะนี้จะทําใหเครือ่ งยนตแกสโซลีน
สามารถผลิตกําลังได เครื่องยนตชนิดนี้
เรียกวา เครื่องยนต 4 จังหวะ

1 วาลวไอดี
2 หัวเทียน
3 วาลวไอเสีย
4 หองเผาไหม
5 ลูกสูบ

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

จังหวะดูด
วาลวไอเสียจะปดและวาลวไอดีจะเปด
เปนจังหวะที่ลกู สูบเคลื่อนที่ลงจะทําให
สวนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศถูกดูดเขา
ไปในกระบอกสูบผานทางวาลวไอดี

จังหวะอัด
เปนจังหวะที่ลกู สูบเลื่อนลงสุดและวาลว
ไอดีและวาลวไอดีเสียจะปด สวนผสมของ
เชื้อเพลิงกับอากาศที่ถูกดูดเขาไปใน
กระบอกสูบจะถูกอัดอยางแรงจนทําให
อุณหภูมสิ ูง ในจังหวะที่ลูกสูบเลื่อนขึ้น

จังหวะระเบิด
เมื่อลูกสูบขึ้นจนสุดแลว จะมีกระแสไฟไหล
ไปที่หวั เทียน ซึ่งจะทําใหเกิดประกายไฟ
จากนั้น สวนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศ
จะเกิดการเผาไหมและระเบิด การระเบิดนี้
จะดันใหลูกสูบเลื่อนลงทําใหเพลาขอเหวี่ยง
หมุน

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

จังหวะคาย
วาลวไอเสียจะเปดในจังหวะที่ลกู สูบลงสุด
จากนั้น แกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหม
จะถูกปลอยออกจากกระบอกสูบทางวาลว
ไอเสีย

(1/2)

กลไกวาลว
วาลวไอดีและวาลวไอเสียจะเปดและ
ปดสอดคลองการหมุนของเพลาลูกเบี้ยว

เพลาลูกเบี้ยวหมุน 1 รอบ
(จะทําการเปดและปดวาลว 1 ครั้ง)
เพลาขอเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ
(ลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นลง 2 ครั้ง)

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

(2/2)

คุณสมบัติเครื่องยนต สวนประกอบ
เครื่องยนตเปนสวนสําคัญที่สุดที่จะทําให
รถวิ่งได ดวยเหตุนี้ แตละสวนที่ประกอบขึ้น
เปนเครื่องยนตตองทํามาจากชิ้นสวนที่
พิถีพิถัน

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

1. ฝาสูบ

2. เสื้อสูบ

3. ลูกสูบ

- 7 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

4. เพลาขอเหวี่ยง

5. ลอชวยแรง

6. กลไกวาลว

- 8 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

7. สายพานขับ

8. อางน้าํ มันเครื่อง

(1/1)

ฝาสูบและเสื้อสูบ
ฝาสูบ
เปนสวนหนึ่งของหองเผาไหมโดยมีลักษณะ
เปนหลุมเวาของแตละสูบดานลางฝาสูบ
เสื้อสูบ
เปนสวนที่เปนโครงรางของเครื่องยนต
เพื่อใหเครื่องยนตทาํ งานอยางราบเรียบ
เครื่องยนตแบบหลายกระบอกสูบถูกนํามา
ใชในรถยนตปจจุบัน

1 ฝาสูบ
2 ปะเก็น
3 เสื้อสูบ
(1/1)

- 9 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
การจัดวางกระบอกสูบ
การจัดวางกระบอกสูบที่ใชกันโดยทั่วไป
ดังนี้:

1 แบบแถวเรียง
แบบนี้เปนแบบที่ใชกันมากที่สุด
ซึ่งกระบอกสูบจะถูกจัดใหเปนแนวเสนตรง
2 แบบรูปตัววี

กระบอกสูบจะถูกจัดวางเปนรูปตัววี
เครื่องยนตจะสั้นกวาแบบแถวเรียงดวย
จํานวนสูบที่เทากัน
3 แบบสูบนอนตรงขาม

กระบอกสูบจะถูกจัดวางในแนวนอนใน
ทิศทางตรงกันขาม มีเพลาขอเหวี่ยง
อยูตรงกลาง ถึงแมวาเครือ่ งยนตจะมี
ขนาดกวางกวา แตความสูงโดยรวม
จะลดลง
(1/1)

- 10 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

จํานวนกระบอกสูบ
เพื่อที่จะลดการสั่นสะเทือนจากการ
เคลื่อนที่ของลูกสูบในแนวตั้ง และใหการ
ขับขี่ที่นุมนวล เครื่องยนตจึงตองมีหลายสูบ

โดยทั่วไป จํานวนกระบอกสูบที่มีมากกวา
เครื่องยนตจะหมุนไดราบเรียบกวา และ
สั่นสะเทือนนอย
เครื่องยนตแบบแถวเรียงโดยทั่วไปจะมี 4
หรือ 6 สูบและแบบรูปตัววีจะมี 6 หรือ 8
สูบ

1 แถวเรียง 4 สูบ 1 - 2 - 4 - 3
เครื่องยนตแกสโซลีน 4 จังหวะ:
2 แถวเรียง 6 สูบ 1 - 5 - 3 - 6 - 2 - 4
ในเครื่องยนต 4 สูบ การระเบิด 4
3 รูปตัววี 6 สูบ 1 - 2 - 3 - 4 - 5 - 6
ครั้งจะเกิดขึ้นกับการหมุนของเพลา
4 รูปตัววี 8 สูบ 1 - 8 - 4 - 3 - 6 - 5 - 7 - 2 ขอเหวี่ยง 2 รอบ
ในเครื่องยนต 8 สูบ การระเบิดจะเกิดขึ้น
8 ครั้ง
ทําใหเครื่องยนตสามารถเดินไดอยาง
ราบเรียบ
ลําดับขั้นการจุดระเบิดพื้นฐานไดถูก
กําหนดใหขึ้นอยูกับจํานวนกระบอกสูบ

(1/1)

- 11 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ลูกสูบ, เพลาขอเหวี่ยง, ลอชวยแรง


ลูกสูบ
ลูกสูบจะเคลื่อนที่เปนแนวตั้งในกระบอก
สูบ จากผลที่ไดจากแรงดันที่เกิดขึ้นโดย
การเผาไหมของสวนผสมอากาศกับ
เชื้อเพลิง
เพลาขอเหวี่ยง
เพลาขอเหวี่ยงจะเปลี่ยนการเคลื่อนที่ของ
ลูกสูบในแนวตัง้ ใหเปนการหมุนโดยผาน
ทางกานสูบ
ลอชวยแรง
ลอชวยแรงทํามาจากเหล็กกลาที่หนัก และ
เปลี่ยนแปลงการหมุนของเพลาขอเหวี่ยงให
เปนแรงเฉื่อย ดังนั้น มันสามารถใหแรง
ที่ไดจากการหมุนออกมาเปนแรงการหมุน
คงที่

1 ลูกสูบ
2 สลักลูกสูบ
3 กานสูบ
4 เพลาขอเหวี่ยง
5 ลอชวยแรง

(1/1)

- 12 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

สายพานขับ
สายพานขับจะสงผานกําลังงานที่ไดจาก
การหมุนของเพลาขอเหวี่ยงไปยัง
อัลเทอรเนเตอร, ปมพวงมาลัยเพาเวอร
และคอมเพรสเซอรแอรโดยผานพูลเลย
โดยทั่วไป รถยนตจะมีสายพาน 2-3 เสน
สายพานขับจะตองมีการตรวจสอบความตึง
และการใชงานอยางเหมาะสม และเปลี่ยน
ตามขอแนะนําในเวลาที่กาํ หนด

1 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
2 พูลเลยปมพวงมาลัยเพาเวอร
3 พูลเลยอัลเทอรเนเตอร
4 พูลเลยปมน้าํ
5 พูลเลยคอมเพรสเซอรแอร

A สายพานรูปตัววี
สายพานนี้มีรูปรางคลายตัววีเพื่อคง
ประสิทธิภาพการขับเคลื่อน

B สายพานรองตัววี
สายพานนี้จะมีรองเปนรูปตัววีอยูตรง
พื้นผิวที่สัมผัสกับพูลเลย ซึ่งจะทําให
มีนา้ํ หนักเบาและสึกหรอนอย
(1/1)

- 13 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ระบบสายพานขับเสนเดียว
ระบบขับดวยสายพานเสนเดียวจะใช
สายพานเดี่ยวรองตัววี เพื่อใชกับ
อัลเทอรเนเตอร, ปมน้าํ , ปมพวงมาลัย
เพาเวอรหรือคอมเพรสเซอรแอร
เปรียบเทียบกับสายพานธรรมดาจะมี
ลักษณะเดนดังตอไปนี้:
ความยาวโดยรวมของเครื่องยนตจะสั้นกวา
ลดจํานวนชิ้นสวนลง ลดน้าํ หนัก

1 สายพานเดี่ยวรองตัววี
2 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
3 พูลเลยลูกรอก (ปรับอัตโนมัต)ิ
4 พูลเลยปมพวงมาลัยเพาเวอร
5 พูลเลยอัลเทอรเนเตอร
6 พูลเลยปมน้าํ
7 พูลเลยคอมเพรสเซอรแอร
(1/1)

อางน้ํามันเครื่อง
อางน้าํ มันเครื่องเปนภาชนะรองรับน้าํ มัน
เครื่องที่ทาํ จากเหล็กหรืออลูมิเนียม โดยจะ
ประกอบดวยสวนที่มีความลึกและแผนกั้น
เพื่อวาแมในขณะรถเอียง ก็จะยังมีปริมาณ
น้าํ มันเครื่องอยูเพียงพอที่กนอาง
1 อางน้า ํ มันเครื่องหมายเลข 1
2 อางน้า ํ มันเครื่องหมายเลข 2

A อางน้าํ มันเครื่องที่ไมมีแผนกั้น
B อางน้าํ มันเครื่องที่มแี ผนกั้น

- 14 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

(1/1)

กลไกวาลว
กลไกวาลวเปนสวนประกอบที่ทาํ หนาที่
เปดและปดวาลวไอดีและวาลวไอเสียใน
ฝาสูบตามเวลาที่เหมาะสม

1 เพลาขอเหวี่ยง
2 เฟองโซไทมมิ่ง
3 โซไทมมงิ่
4 เพลาลูกเบี้ยวไอดี
5 วาลวไอดี
6 เพลาลูกเบี้ยวไอเสีย
7 วาลวไอเสีย

* ภาพแสดงระบบกลไกวาลวแบบ VVT-i
(1/3)

- 15 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

กลไกวาลว
ประเภทของกลไกวาลว
กลไกวาลว มีดวยกันหลายประเภท
ขึ้นอยูกับตําแหนงการจัดวางและจํานวน
ของเพลาลูกเบี้ยว
A DOHC (เพลาลูกเบี้ยวคูเหนือฝาสูบ)

กลไกวาลวประเภทนี้จะประกอบไปดวย
เพลาลูกเบี้ยว 2 อัน และแตละอันจะ
ขับวาลวโดยตรง ทําใหการเคลื่อนตัวของ
วาลวเปนไปอยางแมนยํา

B COMPACT DOHC
(เพลาลูกเบี้ยวคูเหนือฝาสูบ
แบบแคบ)
กลไลวาลวประเภทนี้จะประกอบไปดวย
เพลาลูกเบี้ยว 2 อัน ซึง่ อันหนึ่งจะถูกขับ
โดยชุดเฟองเกียร โครงสรางของฝาสูบ
ทําแบบเรียบงายและกะทัดรัดกวาแบบ
DOHC ธรรมดา

1 สายพานไทมมิ่ง
2 เฟองสะพาน
3 เพลาลูกเบี้ยว
(1/2)

C OHC (Overhead Camshaft)


กลไกวาลวชนิดนี้ จะใชเพลาลูกเบี้ยวเพียง
เพลาเดียว เพื่อไปควบคุมการทํางานของ
วาลวทั้งหมดผานกระเดื่องวาลว

D OHV (Overhead Valve)


กลไกวาลวชนิดนี้ จะใชเพลาลูกเบี้ยวอยู
ภายในเสื้อสูบ และตองใชกานกระทุงวาลว
และกระเดือ่ งวาลวในการเปดและปดวาลว

1 สายพานไทมมิ่ง
2 เพลาลูกเบี้ยว
3 กานกระทุงวาลว
4 กระเดื่องวาลว
(2/2)

- 16 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

โซไทมมิ่ง
โซนี้ทาํ หนาที่ผานการหมุนของเพลา
ขอเหวี่ยงไปยังเพลาลูกเบี้ยว

1 โซไทมมงิ่
2 เฟองขับเพลาลูกเบี้ยว
3 เฟองเพลาขอเหวี่ยง

(2/3)

ขอมูลอางอิง:
สายพานไทมมิ่ง
ลักษณะคลายกับเฟองเกียร สายพานชนิด
นี้จะมีฟนซึ่งขบกับฟนของพูลเลย
สําหรับการใชในเครือ่ งยนต สายพานชนิด
นี้ทาํ มาจากวัสดุที่มีพื้นฐานมาจากยาง
สายพานไทมมิ่งจะตองมีการตรวจสอบการ
ใชงานและความตึงอยางเหมาะสม และ
การเปลีย่ นตามขอแนะนําในเวลาที่กาํ หนด

1 สายพานไทมมิ่ง
2 เฟองขับเพลาลูกเบี้ยว
3 เฟองขับเพลาขอเหวี่ยง
(1/1)

- 17 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ระบบ VVT-i (Variable Valve Timing-


intelligent)
ระบบ VVT-i ใชคอมพิวเตอรในการควบคุม
จังหวะการเปดและปดวาลวไอดีให
เหมาะสมกับสภาพเครือ่ งยนต

ระบบนี้ใชแรงดันไฮดรอลิคผันแปรจังหวะ
เวลาในการเปดและปดของวาลวไอดี
เปนผลใหการประจุไอดีมีประสิทธิภาพ,
แรงบิด, กําลังงานที่ได, ประหยัดน้าํ มัน
เชื้อเพลิงและแกสไอเสียที่สะอาด

1 µÑǤǺ¤ØÁ VVT-i 2 à«ç¹à«ÍÃìµÓá˹è§à¾ÅÒÅÙ¡àºÕéÂÇ


นอกจากระบบ VVT- i แลวยังมีระบบ
3 เซ็นเซอรอณ
ุ หภูมินา้ํ 4 วาลวควบคุมแรงดันน้า
ํ มัน VVTL- i (Variable Valve Timing and Lift-
5 เซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวี่ยง Intelligent) อีกดวย ซึ่งระบบนี้จะเพิ่ม
ระยะยกของวาลวและปรับปรุง
ประสิทธิภาพการประจุอากาศในระหวาง
ความเร็วรอบสูง

(3/3)

ระบบไอดี รายละเอียดทั่วไป
ระบบไอดีจัดเตรียมไวเพื่อประจุปริมาณ
อากาศที่สะอาดเขาเครื่องยนต

1 กรองอากาศ
2 เรือนลิน้ เรง
3 ทอรวมไอดี

- 18 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
เทอรโบชารจเจอร
เทอรโบชารจเจอรเปนอุปกรณที่ชวยในการ
อัดอากาศ โดยใชพลังงานจากแกสไอเสีย
เพื่อทําการสงอากาศที่มีความหนาแนนสูง
เขาไปในหองเผาไหมเพื่อเพิ่มกําลังงาน

เมื่อลอเทอรไบนหมุนเนื่องมาจากกําลัง
งานที่ไดมาจากแกสไอเสีย ลออัดอากาศจะ
หมุนดวยเนื่องจากเพลาที่ตอกับลอ
เทอรไบน โดยลออากาศจะทําหนาที่อัด
อากาศเขาไปในเครื่องยนต
A เทอรโบชารจ B ซุปเปอรชารจ
1 ลอเทอรไบน 2 ลออัดอากาศ อุปกรณอีกอยางเรียกวา "ซุปเปอรชารจ"
เปนอุปกรณที่ใชในการอัดอากาศเชนเดียว
กับเทอรโบชารจ แตชุดอัดอากาศจะรับ
กําลังงานจากเครื่องยนตโดยผานสายพาน
เพื่อทําการอัดอากาศเขาเครื่องยนต

(1/1)

กรองอากาศ
กรองอากาศประกอบไปดวยไสกรอง
อากาศเพื่อทีจ่ ะดักจับฝุนและเศษผงเล็กๆ
จากอากาศขณะที่เครื่องยนตนาํ อากาศจาก
ภายนอกเขามา

ไสกรองอากาศจะตองสะอาดหรือเปลี่ยน
ตามระยะเวลาที่กาํ หนด

1 ไสกรองอากาศ
2 กลองดักอากาศ

(1/1)

- 19 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของไสกรองอากาศ
1 แบบกระดาษ

แบบนี้ใชกันอยางกวางขวางทั่วไปใน
รถยนต
2 แบบใยสังเคราะห

แบบนี้จะมีสวนประกอบของใยสังเคราะห
ที่สามารถถอดลางได
3 แบบน้ํามัน

แบบเปยกนี้จะประกอบไปดวยอางน้าํ มัน

(1/1)

ชนิดของกรองอากาศ
1. กรองอากาศแบบมีตัวแยกฝุนละออง
ใชแรงเหวี่ยงหนีศูนยที่ไดมาจากการหมุน
ของใบพัดเพื่อแยกฝุน ละอองออกจาก
อากาศ ฝุนละอองนี้จะสงไปที่ถวยรับฝุน
และอากาศจะถูกสงไปทีก่ รองอากาศ

(1/3)

2. กรองอากาศแบบอางน้ํามัน
กรองอากาศแบบนี้จะกรองอากาศที่ผาน
เขามาทีก่ รองอากาศที่ทาํ มาจากใยโลหะ
ซึ่งชุมอยูในอางน้าํ มันดานลางของหมอ
กรองอากาศ

(2/3)

- 20 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

3. กรองอากาศแบบลมหมุนวน
จะใชกาํ จัดฝุนขนาดใหญ เชน กรวดทราย
โดยใชแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลางของอากาศ
ซึ่งถูกสรางโดยครีบ และจะดักจับฝุน ขนาด
เล็กโดยไสกรองอากาศที่ทาํ มาจาก
กระดาษ

(3/3)

เรือนลิ้นเรง
ลิ้นเรงจะใชสายในการทํางานซึ่งจะ
สอดคลองกับแปนเหยียบ ลิ้นเรงที่ติดตั้ง
ภายในรถยนต เพื่อที่จะควบคุมปริมาณ
สวนผสมน้าํ มันกับอากาศซึ่งจะถูกดูดเขาไป
ในกระบอกสูบ
เมื่อแปนเหยียบคันเรงถูกกดลง ลิน้ เรงจะ
เปดใหปริมาณอากาศและน้าํ มันผานเขาไป
เผาไหมมากขึ้น ซึ่งเปนผลใหเพิ่มกําลังงาน
ของเครื่องยนต
ISCV (ลิ้นควบคุมรอบเดินเบา) จะถูกจัด
เตรียมไวเพื่อที่จะกําหนดปริมาณอากาศ
ขณะรอบเดินเบาหรือขณะเครื่องเย็น

1 แปนเหยียบคันเรง
2 สายลิ้นเรง
3 ลิ้นเรง
4 ISCV
(1/1)

- 21 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ETCS-i (ระบบควบคุมลิ้นเรง
อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ)

ETCS-i จะเปลี่ยนการทํางานของแปน
เหยียบคันเรงเปนสัญญาณทางไฟฟา
โดยใช ECU (Electronic Control Unit)
เปนตัวควบคุมการเปดปดของลิ้นเรงโดย
มอเตอร ซึ่งจะสอดคลองกับสภาพการขับขี่

ดังนั้น จะไมมีสายลิ้นเรงเชื่อมตอแปน
เหยียบคันเรงกับลิ้นเรง

1 มอเตอรควบคุมลิ้นเรง
2 ลิ้นเรง
3 ตัวตรวจจับตําแหนงแปนเหยียบคันเรง
4 ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
(1/1)

ISCV (วาลวควบคุมรอบเดินเบา)
ISCV จะกําหนดปริมาณของอากาศที่ไหล
ผานทอบายพาสที่อยูบริเวณลิ้นเรง เพื่อ
ควบคุมรอบเดินเบาใหคงที่และอยูในระดับ
ที่เหมาะสม

1 ISCV
2 เรือนลิน้ เรง
3 ลิ้นเรง
4 ทอบายพาส

(1/1)

- 22 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของวาลวควบคุมรอบเดินเบา
A ชนิดมอเตอรเปนจังหวะ (Step motor

type)
วาลวจะปรับปริมาณของอากาศที่ไหลผาน
ทอบายพาสไดโดยวาลวที่ติดอยูทปี่ ลาย
โรเตอร โดยการเคลื่อนทีถ่ อยหลังและ
ดันไปขางหนาของโรเตอร

B ชนิดวาลวโซลินอยดโรตารี่ (Rotary
solenoid valve type)
วาลวปรับปริมาณของอากาศโดยการ
เปลี่ยนแปลงการเปดของวาลว โดยใชการ
ปรับแรงดันไฟฟาจายใหกับโซลินอยด 2
ตัว (ขดลวด)

1 วาลว
2 โรเตอร
3 ขดลวด
4 แมเหล็ก
5 ไบเมทอล
(1/1)

ทอรวมไอดี
ทอรวมไอดีประกอบไปดวยทอหลายทอ ซึ่ง
จะใหอากาศไหลผานไปแตละสูบ

1 ทอรวมไอดี

(1/1)

- 23 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ACIS (ระบบประจุอากาศเขา)
ACIS จะใชกลอง ECU (Electronic Control
Unit) ในการควบคุมการปด - เปดของ
วาลว ซึ่งจะมีผลทําใหความยาวของทอ
รวมไอดีเปลี่ยนไป
ในการเปลี่ยนแปลงความยาวของทอรวมไอ
ดี ระบบนี้จะทําใหเพิ่มประสิทธิภาพของ
ไอดีทุกยานความเร็วรอบของเครื่องยนต

A วาลวเปด
B วาลวปด

1 วาลวควบคุม
2 หองไอดี
(1/1)

ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง
ระบบน้าํ มันเชื้อเพลิงทําหนาที่จายน้าํ มัน
เชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนต นอกจากนี้ยัง
ทําหนาทีข่ จัดเศษผงหรือฝุน และควบคุม
ปริมาณของน้าํ มันทีใ่ ชดวย

1 ถังน้าํ มันเชื้อเพลิง
2 ปมน้าํ มันเชื้อเพลิง
3 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง
4 ตัวควบคุมแรงดันน้าํ มันเชื้อเพลิง
5 หัวฉีด
6 ฝาปดถังน้าํ มัน
(1/1)

- 24 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
ทําหนาทีด่ ูดน้าํ มันเชื้อเพลิงจากถังน้าํ มัน
เชื้อเพลิงและสงไปยังเครื่องยนต ดังนั้น
ทําใหสามารถรักษาแรงดันใหคงที่ใน
ทอเชื้อเพลิงได
ปมน้าํ มันเชื้อเพลิงชนิดอยูในถังน้าํ มัน
ซึ่งติดตัง้ ภายในถังน้าํ มันเชื้อเพลิง และ
แบบอยูภายนอกถังน้าํ มันซึ่งจะติดตั้งอยู
ระหวางทางเดินของทอน้าํ มันเชื้อเพลิง
มีหลายวิธีในการขับปมน้าํ มัน
เชื้อเพลิงระบบ EFI
(ระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส)
จะใชมอเตอรไฟฟาในการขับปม

• แบบไฟฟา:
• แบบอยูในถังน้า
ํ มันเชื้อเพลิง
(แบบเทอรไบน)
• แบบอยูในทอน้าํ มันเชื้อเพลิง
(แบบโรเตอร)

1 มอเตอร
2 แบบเทอรไบนปมอิมพิลเลอร
(1/1)

หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
จะตอบสนองสัญญาณจาก ECU
(หนวยควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
ขดลวดจะดึงลูกสูบ ทําใหลิ้นเปดเพื่อ
ใหนา้ํ มันเชื้อเพลิงฉีดออกมา

1 หัวฉีด
2 ยางของหัวฉีด
3 รูหวั ฉีด
4 ยางโอริง
5 วาลว
6 ขดลวด
7 ลูกสูบ
(1/2)

- 25 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน
น้าํ มันเชื้อเพลิงที่ถูกฉีดออกจากหัวฉีดจะ
ผสมกับอากาศ และสวนผสมจะถูกสง
ไปยังกระบอกสูบเพื่อใหไดอัตราสวนผสม
ของน้าํ มันกับอากาศเหมาะสมที่สุด
ECU จะปรับเวลาและปริมาณในการฉีด
เชื้อเพลิงปริมาณในการฉีดเชื้อเพลิง
จะถูกกําหนดโดยชวงระยะเวลาในการฉีด

1 หัวฉีด
2 ชองไอดี

(2/2)

ขอมูลอางอิง:
D-4 (เครื่องยนตแกสโซลีน 4 จังหวะ
แบบฉีดตรง)
ในเครื่องยนตแบบ D-4 น้าํ มันจะไมถูกฉีด
เขาไปในทอรวมเหมือนกับแบบฉีดเขาทอ
รวม น้าํ มันจะถูกฉีดโดยตรงไปยังหอง
เผาไหม ดังนั้นระบบนี้สามารถกําหนด
เวลาและปริมาณในการฉีดเชื้อเพลิงได
อยางถูกตองแมนยํา หัวลูกสูบจะถูก
ออกแบบเปนรูปทรงเฉพาะเพื่อชวยในการ
ผสมน้าํ มันกับอากาศในหองเผาไหม

A แบบ D-4
B แบบฉีดเขาทอรวม

1 หัวฉีด
2 ลูกสูบ
3 น้าํ มันเชื้อเพลิง
4 ชองทอรวมไอดี
(1/1)

- 26 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

กรองน้ํามันเชื้อเพลิง
ทําหนาทีก่ รองสิ่งสกปรกออกจากน้าํ มัน
เชื้อเพลิง เพื่อปองกันสิ่งสกปรกตั้งแต
ปมน้าํ มันเชื้อเพลิงไปที่หัวฉีด ไสกรอง
กระดาษจะถูกนํามาใชเปนตัวกรองสิ่ง
สกปรก
ไสกรองน้าํ มันเชื้อเพลิงที่ประกอบขึ้นนี้จะ
ตองเปลี่ยนตามระยะที่กาํ หนด

1 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง
(แบบประกอบเปนชิ้นเดียวกัน)
2 ชิ้นสวนประกอบชุดปมน้าํ มันเชื้อเพลิง
(1/1)

ตัวควบคุมแรงดัน
จะทําหนาที่ควบคุมและปรับแรงดันของ
น้าํ มันเชื้อเพลิง ดังนั้น จะจายน้าํ มันได
สม่าํ เสมอและแรงดันคงที่

1 ตัวควบคุมแรงดัน
2 ชุดปมน้าํ มันเชื้อเพลิง

(1/1)

- 27 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ระบบหลอลื่น รายละเอียดทั่วไป
ระบบหลอลื่นจะใชปมน้าํ มันเครื่องจาย
น้าํ มันอยางตอเนื่องไปยังทั่วทุกแหงภายใน
เครื่องยนต ระบบนี้จะลดความฝดระหวาง
ชิ้นสวนดวยฟลมของน้าํ มัน ถาเครื่องยนต
ติดเครื่องโดยปราศจากน้าํ มัน จะเปน
เหตุใหเครื่องยนตเดินไมดีหรือเกิดความ
เสียหายกับชิ้นสวนภายใน นอกจาก
การหลอลืน่ แลว น้าํ มันเครือ่ งยังทําหนาที่
ระบายความรอนและทําความสะอาด
เครื่องยนตอีกดวย

1 อางน้าํ มันเครื่อง
2 กรองน้าํ มันเครื่อง
3 ปมน้าํ มันเครื่อง
4 กานวัดระดับน้าํ มันเครื่อง
5 สวิตชแรงดันน้าํ มันเครื่อง
6 กรองน้าํ มันเครื่อง
(1/1)

ปมน้ํามันเครื่อง
ปมโทรชอยด
ประกอบดวยโรเตอรขับและโรเตอรตาม
ซึ่งอยูคนละแกน การหมุนของโรเตอร
ทั้งสองนี้จะทําใหเกิดชองวางระหวาง
โรเตอรไมแนนอน ดังนั้น ผลที่ไดคือ
เกิดการทํางานของปม
โรเตอรขับจะถูกขับโดยเพลาขอเหวี่ยง
วาลวระบายจะเตรียมไวเพื่อปองกันแรงดัน
น้าํ มันสวนเกิน

1 โรเตอรขับ
2 โรเตอรตาม
3 วาลวระบาย
(1/1)

- 28 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ปมแบบเฟอง
ปมแบบเฟองเปนอุปกรณที่เชื่อมตอกับการ
หมุนของเพลาขอเหวี่ยง ปริมาตรของ
ชองวางที่เกิดขึ้นจากเฟองทั้งสองจะเปลี่ยน
แปลงไป และน้าํ มันที่อยูที่เปนเฟอง
ดานขางจะถูกดูดรูปและมีแผนกั้นรูปเสี้ยว
เพื่อจํากัดทิศทางการไหลของน้าํ มันออก
จากปม

1 เฟองขับ
2 เฟองตาม
3 รูปเสี้ยว
(1/1)

กรองน้ํามันเครื่อง
กรองน้าํ มันเครื่องทําหนาทีข่ จัดสิ่งสกปรก
ออกจากน้าํ มันเครือ่ ง เชน เศษผงโลหะ
ชิ้นเล็กๆ และดูแลรักษาน้าํ มันเครื่องให
สะอาด
กรองน้าํ มันเครื่องจะประกอบไปดวยวาลว
กันกลับ เพื่อเก็บรักษาน้าํ มันเครื่องที่อยู
ในไสกรองขณะที่เครื่องยนตหยุดทํางาน
ดังนั้นกรองน้าํ มันเครื่องจะมีนา้ํ มันเครือ่ ง
อยูตลอดเวลาเมื่อเครื่องยนตเริ่มทํางาน

นอกจากนี้ยังมีวาลวระบายน้าํ มันเพื่อสง
น้าํ มันไปยังเครื่องยนตเมื่อไสกรองเริ่ม
อุดตัน กรองน้าํ มันเครื่องเปนอะไหล
ที่จะตองเปลี่ยนตามระยะเวลาหรือตาม
ระยะทางที่กาํ หนดไว

1 วาลวกันกลับ
2 ไสกรอง
3 เสื้อไสกรอง
4 วาลวระบาย

(1/1)

- 29 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่อง
(เกจวัดแรงดันน้ํามันเครื่อง)
เปนอุปกรณเตือนใหผูขับขี่ทราบถึงแรงดัน
น้าํ มันเครื่อง ซึ่งเกิดจากปมน้าํ มันเครื่อง
และสงไปตามสวนตางๆ ของเครือ่ งยนต
เปนปรกติหรือไม

สวิตชวัดแรงดันน้าํ มันเครื่อง (ตัวตรวจจับ)


ที่อยูในทางเดินของน้าํ มันเครื่อง จะตรวจ
จับสภาพของแรงดันน้าํ มันเครื่องและเตือน
ใหผูขับทราบบนแผงหนาปดถาแรงดันของ
น้าํ มันไมเพิ่มขึ้นหลังจากที่เครื่องยนต
ทํางานแลว

1 สวิตชแรงดันน้าํ มันเครื่อง
2 แผงหนาปด
3 ä¿àµ×͹áç´Ñ¹¹éÓÁѹà¤Ã×èͧ·Õè¼Ô´»¡µÔ
(áç´Ñ¹¹éÓÁѹµèÓ) â´ÂáÊ´§ÃÙ»¶éÇÂ
¹éÓÁѹà¤Ã×èͧÊÇèÒ§¢Öé¹ÁÒ
(1/1)

ระบบระบายความรอน รายละเอียดทั่วไป
ระบบระบายความรอนจะควบคุมอุณหภูมิ
ของเครื่องยนตใหอยูในระดับที่เหมาะสมที่
สุด (80 ถึง 90°C ทีอ่ ุณหภูมิหลอเย็น)
โดยการหมุนวนของน้าํ หลอเย็นทั่ว
เครื่องยนต

พัดลมระบายความรอนจะระบายความ
รอนในหมอน้าํ และปมน้าํ จะปมน้าํ
หลอเย็นใหหมุนวนผานฝาสูบและเสื้อสูบ

1 หมอน้าํ
2 ถังน้าํ สํารอง
3 ฝาหมอน้าํ
4 พัดลมหมอน้าํ
5 ปมน้าํ
6 เทอรโมสตัท
(1/2)

- 30 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

การไหลเวียนของน้ํา
แรงจากปมน้าํ จะทําใหนา้ํ หลอเย็นหมุนวน
ในวงจรระบายความรอน น้าํ หลอเย็นจะ
ดูดซับความรอนจากเครื่องยนตและจะ
กระจายไปสูบรรยากาศโดยผานทาง
หมอน้าํ ดังนั้น น้าํ หลอเย็นที่ถูกทําให
เย็นลงแลวจะไหลกลับไปที่เครื่องยนต

(2/2)

หมอน้ํา
หมอน้าํ จะระบายความรอนออกจาก
น้าํ หลอเย็น ที่มีอณ
ุ หภูมิสูง โดยน้าํ หลอเย็น
ที่ไหลผานทอและครีบระบายความรอนจะ
ถูกทําใหเย็นลงโดยพัดลมระบายความรอน
และลมทีพ่ ัดเขามาขณะรถยนตเคลือ่ นที่
ทําใหเกิดการระบายความรอนจากหมอน้าํ
สูบรรยากาศ

ขอแนะนํา:
ระดับความเขมขนที่เหมาะสมที่สุดของ
น้าํ ยาหลอเย็น (Super LLC) จะถูก
กําหนดไวตามแตละภูมภิ าค นอกจากนี้
น้าํ ยาหลอเย็น (Super LLC)ตองเปลี่ยน
ตามระยะที่กาํ หนด
(1/4)

- 31 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ฝาหมอน้ํา
ฝาหมอน้าํ ประกอบไปดวยวาลวแรงดัน
ซึ่งจะปรับความดันของน้าํ หลอเย็น

อุณหภูมขิ องน้าํ หลอเย็นภายใตแรงดันที่


เพิ่มขึ้นเกิน 100°C ซึ่งจะทําใหเกิดความ
แตกตางระหวางอุณหภูมิของน้าํ หลอเย็น
และอุณหภูมิของอากาศ เปนผลให
ประสิทธิภาพการระบายความรอนดีขึ้น

วาลวแรงดันจะเปดและสงน้าํ หลอเย็นไปที่
ถังพักน้าํ เมื่อแรงดันในหมอน้าํ สูงขึ้น

วาลวสุญญากาศจะเปดใหนา้ํ หลอเย็นจาก
ถังพักน้าํ ไหลกลับสูหมอน้าํ เมือ่ หมอน้าํ มี
แรงดันลดลง

A แรงดันของน้าํ จะขึ้นสูดานบน
ในขณะที่แรงดันในหมอน้าํ เพิ่มขึ้น
(อุณหภูมิสูง)
B แรงดันของน้าํ จะลงสูดานลาง
ในขณะที่แรงดันในหมอน้าํ ลดลง
(ทําใหเย็นลง)

1 วาลวแรงดัน
2 วาลวสูญญากาศ
(2/4)

- 32 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

พัดลมระบายความรอน
พัดลมระบายความรอนนี้จะผลิตปริมาณ
อากาศจํานวนมากที่พัดลมเปาผานหมอน้าํ
โดยตรงเพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ระบายความรอน

A ระบบระบายความรอนโดยใช
มอเตอรไฟฟา
เมื่ออุณหภูมิของน้าํ หลอเย็นสูงขึ้น สวิตซ
อุณหภูมขิ องน้าํ หลอเย็นจะสงสัญญาณให
พัดลมทํางานเทานั้น

1 สวิตชสตารท
2 รีเลย
3 พัดลมระบายความรอน
4 สวิตชวัดอุณหภูมินา้ํ
(3/4)

พัดลมระบายความรอน
B พัดลมระบายความรอนแบบใช

หัวฟรี
พูลเลยจะถูกขับดวยสายพานที่ตอกับ
พัดลมซึ่งจะหมุนไปพรอมกับชุดหัวฟรี
พัดลมซึ่งมีนา้ํ มันซิลิโคนบรรจุอยู โดย
ความเร็วในการหมุนจะต่าํ ที่อุณหภูมิ
น้าํ หลอเย็นต่าํ

C ระบบพัดลมระบายความรอน
ไฮดรอลิคควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส
ใบพัดจะถูกขับดวยมอเตอรไฮดรอลิค
จะเปนตัวควบคุมไฮดรอลิคที่ไหลเขาไปใน
มอเตอรไฮดรอลิค ECU และจะควบคุม
ความเร็วรอบในการหมุนของพัดลม
เพื่อใหปริมาณของอากาศผานหมอน้าํ ได
อยางเหมาะสม

1 พัดลมระบายความรอน
2 หัวฟรีพัดลม
3 พูลเลย
4 ปมน้าํ
5 มอเตอรไฮดรอลิค
6 เซ็นเซอรอุณหภูมินา้ํ
7 ปมไฮดรอลิค

- 33 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน
(4/4)

ถังน้ําสํารอง
ถังน้าํ สํารองจะเชื่อมตอกับหมอน้าํ เพื่อที่จะ
เก็บน้าํ หลอเย็นที่ลนออกจากหมอน้าํ และ
ปองกันน้าํ ไมใหลนออกมาขางนอก

ขณะที่อุณหภูมิของน้าํ หลอเย็นในหมอน้าํ
สูงขึ้น น้าํ จะขยายและลนเขาไปในถังน้าํ
สํารอง ขณะที่หมอน้าํ เย็นจะดูดน้าํ หลอเย็น
จากถังน้าํ สํารองขึ้นมา

1 ถังน้าํ สํารอง
2 ทอยางถังน้าํ สํารอง
3 หมอน้าํ

(1/1)

- 34 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ระบบระบายความรอนแบบปด
ระบบระบายความรอนแบบปดจะมีฝา
หมอน้าํ อยูบนถังน้าํ สํารอง ไมไดอยูบน
หมอน้าํ ดังนั้นจะชวยเพิ่มแรงดันขึ้นเพื่อ
ใชในวงจรระบายความรอน

ฝาหมอน้าํ จะปดวงจรระบายความรอนเพื่อ
ปองกันการสูญเสียของน้าํ หลอเย็นโดยการ
ระเหยและปองกันไมใหนา้ํ หลอเย็นเสื่อม
สภาพลงจากการที่สัมผัสกับอากาศโดยตรง

1 หมอน้าํ ถังน้าํ สํารอง


2 คอหาน
3 หมอน้าํ
4 ฝาหมอน้าํ
(1/1)

ปมน้ํา
ปมน้าํ จะสงน้าํ หลอเย็นเขาไปทีว่ งจร
ระบายความรอน
ปมน้าํ จะถูกขับดวยสายพานซึ่งไดรับแรง
ขับมาจากการหมุนของเพลาขอเหวี่ยง

1 ปมน้าํ

(1/1)

- 35 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

เทอรโมสตัท
เทอรโมสตัทเปนชิ้นสวนที่ควบคุมอุณหภูมิ
ของน้าํ หลอเย็น ซึ่งจะทําใหเครื่องยนต
ดึงอุณหภูมทิ าํ งานเร็วขึ้น เทอรโมสตัท
จะติดตัง้ อยูที่ทางเดินน้าํ ระหวางหมอน้าํ
และเครื่องยนต เมื่ออุณหภูมิของน้าํ หลอ
เย็นสูงขึ้น ลิ้นหมอน้าํ จะเปดทําใหนา้ํ หลอ
เย็นไหลเขาไประบายความรอนกับ
เครื่องยนต

เทอรโมสตัทมีดวยกัน 2 ชนิด:
คือแบบ 'มีวาลวระบาย'
สําหรับชนิดทีม่ ีการระบายดานลางและ
แบบ 'ไมมวี าลวระบาย'
สําหรับชนิดทีม่ ีการระบายที่ติดตั้งภายใน
ทอ

A ชนิดมีวาลวระบาย
B ชนิดไมมีวาลวระบาย

1 วาลว
2 กระบอกขี้ผึ้ง
3 วาลวระบาย
4 ขี้ผึ้ง
5 วาลวลดแรงดัน
(1/3)

- 36 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

การทํางานของแบบระบายดานลาง
เทอรโมสตัทจะติดอยูภายในทอกอนเขา
ปมน้าํ เทอรโมสตัทจะประกอบไปดวย
ลิ้นระบาย เมื่ออุณหภูมิของน้าํ หลอเย็น
สูงขึ้น เทอรโมสตัทจะเปดและทอระบาย
จะปด

เปรียบเทียบแบบระบายในทอกับแบบ
ระบายดานลางซึ่งจะมีลักษณะพิเศษดัง
ตอไปนี้:
1. มีชองทางระบายขนาดใหญซึ่งสามารถ
กระจายอุณหภูมิของเครือ่ งยนตขณะอุน
เครื่องไดอยางสม่าํ เสมอ
2. ทอระบายจะปดขณะเครื่องยนตมี
อุณหภูมิเพิ่มหรือขณะที่อุณหภูมสิ ูง
ซึ่งจะมีผลทําใหประสิทธิภาพของการ
ระบายความรอนดีขึ้น
3. เทอรโมสตัทจะตอบสนองการทํางาน
อยางรวดเร็วเพื่อใหอุณหภูมขิ อง
น้าํ หลอเย็นคงที่

1 เทอรโมสตัท
2 ทอระบาย
3 หมอน้าํ
4 ปมน้าํ

(2/3)

- 37 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

การทํางานมีแบบการระบายที่ติดตั้ง
ภายในทอ
ทอระบายจะเปดอยูตลอดเวลาและการสง
ผานน้าํ ไปยังหมอน้าํ จะถูกปดโดย
เทอรโมสตัทระหวางการอุนเครื่องยนต
ดังนั้น น้าํ หลอเย็นจะไหลผานไปยังทอ
ระบายได

ขณะที่อุณหภูมิของน้าํ หลอเย็นสูงขึ้น
เทอรโมสตัทจะเปดๆ ปลอยๆ ใหนา้ํ หลอ
เย็นไหลไปที่หมอน้าํ ในขณะที่นา้ํ จํานวน
หนึ่งจะไหลไปที่ทอระบาย

1 เทอรโมสตัท
2 ทอระบาย (By Pass)
3 หมอน้าํ
4 ปมน้าํ

(3/3)

- 38 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ระบบไอเสีย รายละเอียดทั่วไป
ระบบไอเสียจะปลอยแกสไอเสียที่ผลิตจาก
เครื่องยนตออกสูบรรยากาศ

ระบบไอเสียจะมีหนาที่ดงั นี้:
• เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนตโดย
การปรับปรุงประสิทธิภาพการปลอย
แกสไอเสียออกจากเครื่องยนต
• ทําความสะอาดแกสไอเสียโดยกําจัด
สารที่เปนอันตราย
• ลดเสียงการระเบิดที่เกิดขึ้นจากการ
ทํางานของเครื่องยนตโดยแกสไอเสีย

1 ทอรวมไอเสีย
2 TWC (แคตตาไลทติกคอนเวิรท เตอร 3
ทาง)
3 ทอไอเสีย
4 หมอพักไอเสีย
(1/1)

- 39 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

แคตตาไลทติกคอนเวิรทเตอร
แคตตาไลทติกคอนเวิรทเตอรจะถูกติดตั้ง
อยูตรงกลางระบบไอเสียเพื่อกําจัดสารที่
เปนอันตรายออกจากแกสไอเสีย
สารที่เปนอันตรายในแกสไอเสียประกอบ
ไปดวยคารบอนมอนอกไซด (CO),
ไฮโดรคารบอน (HC) และไนตริกออกไซด
(NOx)

แคตตาไลทติกคอนเวิรทเตอรมีดวยกัน 2
ชนิด:
1. OC (เรงใหเกิดปฏิกิริยาการ
เปลีย่ นแปลงทางเคมี) ซึ่งจะทําความ
สะอาดคารบอนมอนอกไซดและ
ไฮโดรคารบอนในแกสไอเสีย โดยเรง
ปฏิกิริยาใหเกิดการเปลีย่ นแปลงทาง
เคมีดวยแพลทตินั่มและพาลาเดี่ยม
2. TWC (แคตตาไลทติก 3 ทาง)
ซึ่งจะทําความสะอาด
คารบอนมอนอกไซด, ไฮโดรคารบอน
และไนตริกออกไซดในแกสไอเสียโดย
เรงปฏิกิริยาใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีดวยแพลทตินั่มและโรเดี่ยม

A แคตตาไลทติกแบบโมโนลิติค

1 เปลือกดานนอก
2 ขดลวด
3 ตัวเรงปฏิกิริยาโมโนลิติก

(1/1)

- 40 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

หมอพักไอเสีย
เนื่องจากแกสไอเสียที่ถูกระบายออกจาก
เครื่องยนตที่อุณหภูมิและแรงดันสูง
แกสเหลานี้จะทําใหเกิดเสียงระเบิด ถาถูก
ปลอยออกมาโดยตรง
ดังนั้น หมอพักไอเสียจะทําหนาที่เปนตัว
เก็บเสียงโดยการลดแรงดันและอุณหภูมิ
ของแกสไอเสียกอนปลอยสูอากาศ

(1/1)

- 41 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

คําถาม- 1

¢éÍ ¤Ó¶ÒÁ ¶Ù¡ËÃ×ͼԴ à©ÅÂ


ã¹à¤Ã×èͧ¹µìá¡êÊâ«ÅÕ¹¢Í§Ã¶Â¹µì à¾ÅÒÅÙ¡àºÕéÂÇËÁع 1 ¤ÃÑé§ã¹·Ø¡æ 2
1 ¶Ù¡ ¼Ô´
Ãͺ¢Í§à¾ÅÒ¢éÍàËÇÕè§
»ÃÔÁҳ㹡Òéմàª×éÍà¾ÅÔ§¢Í§à¤Ã×èͧ¹µì EFI
2 ¶Ù¡ ¼Ô´
·Õèà»ÅÕè¹á»Å§¢Öé¹ÍÂÙè¡ÑºÃÐÂÐàÇÅÒ㹡Òéմàª×éÍà¾ÅÔ§¢Í§ËÑÇ©Õ´
¡Ãͧ¹éÓÁѹà¤Ã×èͧ»ÃСͺ仴éÇÂÇÒÅìǡѹ¡ÅѺ «Ö觷Ó˹éÒ·ÕèÂѺÂÑé§
3 ¡ÒÃäËŢͧ¹éÓÁѹà¤Ã×èͧ¨Ò¡¡Ò÷Õèà¤Ã×èͧËÂØ´·Ó§Ò¹à¹×èͧÁÒ¨Ò¡ ¶Ù¡ ¼Ô´
äÊé¡ÃͧÍØ´µÑ¹
4 »ÑêÁ¹éÓ¶Ù¡¢Ñºâ´Â¡ÒÃËÁع¢Í§à¾ÅÒ¢éÍàËÇÕ觼èÒ¹·Ò§ÊÒ¾ҹ¢Ñº ¶Ù¡ ¼Ô´
ÅÔé¹àÃ觷ӧҹÊÍ´¤Åéͧ¡Ñºá»é¹àËÂÕº¤Ñ¹àÃè§à¾×èͤǺ¤ØÁ»ÃÔÁÒ³
5 ¶Ù¡ ¼Ô´
¹éÓÁѹàª×éÍà¾ÅÔ§·Õè¨Ð¶Ù¡´Ù´à¢éÒä»ã¹¡Ãк͡ÊÙº

คําถาม- 2
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับระบบไอเสีย
1. แคตตาไลทตกิ คอนเวิรทเตอรจะปลอยใหแกสไอเสียกลับเขาไปยังทอรวม เพื่อที่จะกลับมาเผาไหมแกส
ที่เปนอันตรายซึ่งปะปนอยูในแกสไอเสีย
2. ทอรวมไอเสียชวยลดอุณหภูมิของแกสไอเสียอยางรวดเร็วโดยแคตตาไลทติกคอนเวิรทเตอร เพื่อใหการทํางาน
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
3. หมอพักทําหนาที่ปลอยแกสที่เกิดจากการจุดระเบิดของเครื่องยนตโดยตรง เขาไปสูชั้นบรรยากาศ
4. แคตตาไลทตกิ 3 ทางจะทําความสะอาดคารบอนมอนอกไซด, ไฮโดรคารบอน และไนตริกออกไซด
ที่พบในแกสไอเสีย

คําถาม-3
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับเทอรโมสตัท?
1. เทอรโมสตัทที่ถูกใชในระบบระบายดานลางเปนชนิดที่ไมมวี าลวระบาย
2. หนาที่ของเทอรโมสตัทคือการอุนเครื่องยนตภายหลังการสตารทและควบคุมอุณหภูมิของน้าํ หลอเย็น
3. เทอรโมสตัททําใหจุดเดือดของน้าํ หลอเย็นสูงขึ้นและทําใหเกิดแรงดันของน้าํ หลอเย็น
4. เทอรโมสตัทจะควบคุมอุณหภูมิของน้าํ หลอเย็นเครื่องยนตโดยการเปลี่ยนความเขมขนของน้าํ หลอเย็น

- 42 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน
คําถาม- 4
ภาพประกอบดานลางแสดงถึงจังหวะทั้ง 4 ของเครือ่ งยนตแกสโซลีน 4 จังหวะ
คําถาม 4-1. จากกลุม ก เลือกหัวขอที่เหมาะสมกับตัวเลขที่อยูในวงเล็บ
คําถาม 4-2. จากกลุม ข เลือกประโยคซึ่งอธิบายการทํางานในแตละจังหวะไดเหมาะสมมาเติมในวงเล็บ

(1) จังหวะ ( ) (2) จังหวะ ( ) (3) จังหวะ ( ) (4) จังหวะ ( )


ก ก) อัด ข) คาย ค) ดูด ง) ระเบิด
จ) วาลวไอเสียจะปดและวาลวไอดีจะเปด จังหวะของลูกสูบเคลื่อนที่ลงทําใหสวนผสมของเชื้อเพลิง
กับอากาศถูกดูดเขาไปในกระบอกสูบผานทางวาลวไอดี
ฉ) ทั้งวาลวไอดีและวาลวไอเสียจะปด การอัดสวนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศเผาไหมและระเบิดออกมา
¢ แรงจากการระเบิดทําใหลูกสูบถูกผลักลง
ช) ทั้งวาลวไอดีและวาลวไอเสียจะปด สวนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศถูกดูดเขาไปในลูกสูบ ซึง่ จะ
ถูกอัดโดยจังหวะเคลือ่ นที่ขึ้นของลูกสูบ
ซ) วาลวไอดีจะปดและวาลวไอเสียจะเปด แกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหมจะถูกปลอยออกจากกระบอกสูบ
คําถาม 4-1: 1. 2. 3. 4.
คําถาม 4-2: 1. 2. 3. 4.

- 43 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
เครื่องยนตดีเซล รายละเอียดทั่วไป
เครื่องยนตดีเซลใชนา้ํ มันดีเซลเปน
เชื้อเพลิง ซึ่งจะใหกาํ ลังงานสูงทีค่ วามเร็ว
รอบต่าํ และมีโครงสรางที่แข็งแรง
ประสิทธิภาพของน้าํ มันดีเซลจะดีกวา
น้าํ มันเบนซิน

(1/2)

ความแตกตางระหวางเครื่องยนตดีเซล
และเครื่องยนตแกสโซลีน
นอกจากความแตกตางของประเภทน้าํ มัน
ที่ใชแลว เครื่องยนตแกสโซลีนและ
เครื่องยนตดีเซลยังมีกลไกการทํางานที่
แตกตางกันดวย

1 หองเผาไหม
เครื่องยนตดีเซลจะไมติดตั้งระบบจุดระเบิด
โดยใชหัวเทียน ซึ่งจะแทนที่โดยความรอน
ที่เกิดจากแรงอัดซึ่งจะเปนเหตุใหนา้ํ มัน
เชื้อเพลิงลุกไหมดวยตนเอง
ดังนั้นอัตราสวนแรงอัดที่ไดจะสูงมาก
2 ระบบอุนอากาศ

เพื่อใหเครื่องยนตสตารทติดงาย
เครื่องยนตดีเซลจะมีระบบอุน อากาศซึ่งจะ
ใชหัวเผา ฯลฯ เพื่อใหความรอนกับไอดี
3 ระบบเชื้อเพลิง

เครื่องยนตดีเซลมีปมฉีดเชื้อเพลิงและ
หัวฉีด เพื่อทําการฉีดเชื้อเพลิงไปยังหอง
เผาไหมดวยแรงดันสูง
(2/2)

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
คุณสมบัติเครื่องยนต การทํางาน
เพื่อผลิตพลังงานขับเคลื่อนใหกับรถ ซึ่งโดย
ปกติแลวเครือ่ งยนต 4 จังหวะจะทํางาน
ซ้าํ กันใน 4 จังหวะดังแสดงในแผนผัง

เครื่องยนตดีเซลไมมีระบบจุดระเบิด
เหมือนกับเครื่องยนตแกสโซลีน
น้าํ มันที่ถูกอัดใหมีแรงดันสูงจะถูกฉีดเขาไป
ในอากาศที่มีอณ ุ หภูมิสูงและแรงดันสูงเพื่อ
ใหเชื้อเพลิงลุกไหมขึ้นเอง

1 ลิ้นไอดี
2 ลิ้นไอเสีย
3 หัวฉีดเชื้อเพลิง
4 หองเผาไหม
5 ลูกสูบ
6 กานสูบ
7 เพลาขอเหวี่ยง

• แผนผังแสดงภาพเครื่องยนตแบบ
หองเผาไหมหมุนวน
(1/5)

จังหวะดูด
ลิ้นไอเสียจะปดและลิน้ ไอดีเปด จังหวะ
ที่ลกู สูบเลือ่ นลง ลิน้ ไอดีจะเปดเพื่อดูด
อากาศเขาไปในกระบอกสูบเพียง
อยางเดียว

(2/5)

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
จังหวะอัด
ในขณะที่ลกู สูบเลือ่ นลงสุด ลิ้นไอดีจะปดใน
จังหวะทีล่ ูกสูบเลื่อนขึ้น อากาศทีถ่ ูกดูด
เขาไปในกระบอกสูบจะถูกอัดอยางแรงจน
ทําใหอุณหภูมสิ ูง

อัตราสวนกําลังอัดของเครื่องยนตดีเซล
= 15 ถึง 23 (ประมาณ 2 ถึง 3 เทาของ
อัตราสวนกําลังอัดเครือ่ งยนตแกสโซลีน)
อุณหภูมภิ ายในหองเผาไหม = 500 ถึง
800°C (900 ถึง 1,500°F)

(3/5)

จังหวะระเบิด
ขณะที่ลูกสูบอยูในจังหวะเลื่อนขึ้น หัวฉีด
จะฉีดน้าํ มันดวยแรงดันสูงไปที่อากาศที่มี
แรงดันและอุณหภูมิสูง
อุณหภูมทิ ี่สูงของอากาศนี้จะทําใหนา้ํ มัน
เชื้อเพลิงลุกไหม จะมีผลทําใหเกิดการ
ระเบิดและการเผาไหม แรงของการ
เผาไหมนี้จะผลักดันใหลูกสูบเลื่อนลง
ซึ่งจะทําใหเพลาขอเหวี่ยงเกิดการหมุน

(4/5)

จังหวะคาย
ขณะที่จังหวะลูกสูบเลื่อนลง ลิ้นไอเสียจะ
เปด แลวลูกสูบจะเลื่อนขึ้นทําให
แกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหมจะถูก
ระบายออกขางนอกกระบอกสูบ

(5/5)

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
หองเผาไหม
หองเผาไหมประกอบไปดวยชองวางที่เกิดขึ้
นระหวางลูกสูบ, เสื้อสูบและฝาสูบ

A หองเผาไหมแบบหมุนวน
โดยทั่วไปแลวจะมีหองเผาไหม
ทรงกลมอยูดานบนของหองเผาไหม
หลัก ซึ่งหองเผาไหมแบบหมุนวน
จะตอกับหองเผาไหมหลักทางชอง
สงผาน ในจังหวะอัด อากาศจะไหล
เขาไปในหองเผาไหมแบบหมุนวน
เพื่อเพิ่มแรงในการหมุน ซึ่งหัวฉีดจะ
ฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิงเขาไปในหอง
เผาไหมแบบหมุนวน
B หองเผาไหมแบบฉีดตรง
จะมีหองเผาไหมหลักที่อยูระหวาง
ฝาสูบและลูกสูบ และน้าํ มันเชื้อเพลิง
จะถูกฉีดโดยตรงจากหัวฉีดไปยัง
หัองเผาไหม

1 หองเผาไหมหลัก
2 หัวเผา
3 หัวฉีด
4 หองเผาไหมหมุนวน
5 ชองสงผาน

(1/1)

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
การควบคุมกําลังเครื่องยนตดีเซล
เครื่องยนตดีเซลอาศัยการจุดระเบิดของ
ไอดีที่ถูกอัดใหเกิดความรอนจนเกิดการ
เผาไหม ซึ่งตองการปริมาณของอากาศ
จํานวนมาก ดังนั้น เครื่องยนตดเี ซล
จะไมมีลิ้นปกผีเสื้อ

เครื่องยนตแกสโซลีนจะควบคุมกําลังงานที่
ไดโดยการใชลิ้นปกผีเสื้อควบคุมปริมาณ
สวนผสมของน้าํ มันกับอากาศที่ดูดเขาไป
ในเครื่องยนต
1 เครื่องยนตแกสโซลีน (มีลิ้นปกผีเสื้อ)
2
การเปรียบเทียบเพื่อใหเห็นความแตกตาง
เครื่องยนตดีเซล (ไมมีลิ้นปกผีเสื้อ)
3
เครื่องยนตดีเซลควบคุมกําลังงานทีไ่ ดโดย
ปริมาณการฉีดเชื้อเพลิงนอย
4
การควบคุมปริมาณการฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิง
ปริมาณการฉีดเชื้อเพลิงมาก
เพราะเหตุนี้ เครื่องยนตดีเซลจึงไมมี
ลิ้นปกผีเสื้อและปริมาณของไอดีที่ไดจะคงที่

ตัวอยางเชน ความรุนแรงของเปลวไฟจะ
เปลี่ยนไปเมื่อเลื่อนปุมควบคุมเพราะจะขึ้น
อยูกับปริมาตรของแกสที่เปลีย่ นแปลงไป

ในทํานองเดียวกัน เมื่อผูขับรถเหยียบ
คันเรง ปริมาณของน้าํ มันเชื้อเพลิงที่ถูกฉีด
เขาไปในกระบอกสูบจะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะ
ทําใหกาํ ลังงานของเครื่องยนตที่ไดออกมา
เพิ่มมากขึ้นดวย

(1/1)

ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง รายละเอียดทั่วไป
ระบบน้าํ มันเชื้อเพลิงของเครื่องยนตดีเซล
จะฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิงดวยแรงดันสูงเขาไป
ในหองเผาไหม ในขณะที่อากาศถูกอัด
ตัวใหมีแรงดันสูง จึงตองใชอุปกรณพิเศษ
ซึ่งไมเหมือนในเครื่องยนตแกสโซลีน

1 ถังน้าํ มันเชื้อเพลิง
2 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิงพรอมหมอดักน้าํ
3 ปมฉีดเชื้อเพลิง
4 หัวฉีด

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
(1/1)

รายละเอียดทั่วไป
เสนทางเชื้อเพลิง

(1/1)

กรองน้ํามันเชื้อเพลิง
อุปกรณนี้จะดักฝุนผงและน้าํ จากน้าํ มัน
เชื้อเพลิงเพื่อปองกันปม ฉีดเชื้อเพลิงและ
หัวฉีดที่เปนชิ้นสวนที่มีความแมนยําสูง
ฝุนและน้าํ จะถูกกําจัดออกจากน้าํ มัน
เชื้อเพลิงเพื่อปองกันปม น้าํ มันเชื้อเพลิงจาก
การจับตัวของสนิมเนื่องจากปมฉีด
เชื้อเพลิงถูกหลอลืน่ ดวยน้าํ มันเชื้อเพลิง
ดีเซล

1 ปมมือ
เปนปมแมนนวลที่ใชสาํ หรับไลลมออก
จากทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิงเมื่อน้าํ มัน
เชื้อเพลิงหมด หรือระบายน้าํ ที่คาง
อยูในตัวดักน้าํ
2 ไสกรองเชื้อเพลิง
สวนนี้จะกรองสิ่งสกปรกออกจาก
น้าํ มันเชื้อเพลิง
3 หมอดักน้าํ
สวนนี้จะแยกน้าํ ออกจากน้าํ มัน
เชื้อเพลิง
(1/1)

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
ปมฉีดเชื้อเพลิง
ปมฉีดเชื้อเพลิงที่ใชในเครื่องยนตดีเซล
มีดวยกัน 2 ชนิด:

ปมฉีดเชื้อเพลิงแบบกลไกซึ่งจะควบคุม
ปริมาณและเวลาในการฉีดเชื้อเพลิงโดย
กลไก
ปมฉีดเชื้อเพลิงแบบอิเล็กทรอนิกสซึ่งใช
กลอง ECU (Electronic Control Unit)
ในระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส
แบบ D (EFI-D)

A ปมฉีดเชื้อเพลิงแบบกลไก
B ปมฉีดเชื้อเพลิงแบบอิเล็กทรอนิกส

1 ปมฉีดเชื้อเพลิง
2 หัวฉีด
3 สายพานไทมมิ่ง
4 ECU
5 เซ็นเซอร
(1/4)

ปมฉีดเชื้อเพลิงจะฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิง
และปมน้าํ มันเชื้อเพลิงไปที่หวั ฉีด
ปริมาณในการฉีดเชื้อเพลิงและเวลาในการ
ฉีดเชื้อเพลิงจะถูกควบคุมโดยกลไกเพื่อ
ใหสอดคลองกับอัตราการเรงและความเร็ว
ของเครื่องยนต

(2/4)

- 7 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
ปมฉีดเชื้อเพลิง
ปมฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
มี 2 แบบ:
ปมแบบจานจายมีลูกปมลูกเดียวเพื่อสราง
แรงดันน้าํ มันเชื้อเพลิง
และแบบปมแถวเรียงมีลูกสูบปมตามแตละ
สูบของเครื่องยนต

A ปมฉีดเชื้อเพลิงแบบแจกจาย
อาจรูจักกันในชื่อ "VE*ปม"
ปมชนิดนี้มีขนาดกะทัดรัดและมี
น้าํ หนักเบา ใชกับเครื่องยนตประเภท
รถยนตโดยสารและรถบรรทุกขนาด
เล็ก
*VE: เปนคํายอมาจากภาษาเยอรมัน
"Verteiler Einspritz"
B ปมฉีดเชื้อเพลิงแบบแถวเรียง
ปมฉีดเชื้อเพลิงแบบแถวเรียงจะมี
ลักษณะโครงสรางที่ซับซอนเพราะ
วามันมีลูกสูบปมหลายตัวในตอนแรก
มันถูกใชกับเครื่องยนตสาํ หรับ
รถบรรทุก
1 เชื้อเพลิง
2 เชื้อเพลิงแรงดันต่าํ
3 ลูกสูบปม
4 เชื้อเพลิงแรงดันสูง
5 หัวฉีด
(1/1)

- 8 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
EFI ดีเซล
ชนิดของระบบ EFI ดีเซลมี 2 ชนิดคือ:
เครื่องยนตดีเซลแบบ EFI ธรรมดา
เครื่องยนตดีเซลแบบ EFI คอมมอนเรล
1. เครื่องยนตดีเซลแบบ EFI ธรรมดา
ระบบนี้ใชเซ็นเซอรตรวจหาการเปดของ
ลิ้นเรงและความเร็วรอบของเครือ่ งยนต
และ ECU จะคํานวณปริมาณการฉีดน้าํ มัน
เชื้อเพลิงและเวลาในการฉีด
การควบคุมกลไกจะใชสาํ หรับการดูด
การจาย และขบวนการฉีดเชื้อเพลิง เปน
พื้นฐานของระบบกลไกเครือ่ งยนตดีเซล

1 ECU
2 เซ็นเซอร
3 ถังน้าํ มันเชื้อเพลิง
4 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง
5 ปมฉีดเชื้อเพลิง
6 หัวฉีด
(3/4)

- 9 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
EFI ดีเซล
2. เครื่องยนตดีเซลแบบ EFI
คอมมอนเรล
น้าํ มันเชื้อเพลิงจะถูกทําใหเกิดแรงดันโดย
ปมเชื้อเพลิง และถูกเก็บไวในรางหัวฉีด
กอนที่นา้ํ มันจะถูกจายไปที่หัวฉีด ECU
และ EDU จะควบคุมปริมาณการฉีด
น้าํ มันเชื้อเพลิง และเวลาในการฉีดที่
ระดับเหมาะสมโดยการทํางานและการปด
ของหัวฉีดจะสอดคลองกับสัญญาณจาก
เซ็นเซอร ขั้นตอนนี้คลายกับระบบ EFI
ที่ใชในเครื่องยนตแกสโซลีน

1 ปมจายเชื้อเพลิง
2 ทอคอมมอนเรล (รางหัวฉีด)
3 เซ็นเซอรแรงดันน้าํ มันเชื้อเพลิง
4 ตัวจํากัดความดัน
5 หัวฉีด
6 เซ็นเซอร
7 ECU
8 EDU (Electronic Driving Unit)
9 ถังน้าํ มันเชื้อเพลิง
10 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง
11 ลิ้นกันกลับ
(4/4)

- 10 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
หัวฉีด
สวนนี้ไดรบั น้าํ มันเชื้อเพลิงแรงดันสูงจาก
ปมฉีดเชื้อเพลิงและฉีดเชื้อเพลิงเขาไปใน
หองเผาไหม
เมื่อแรงดันของน้าํ มันเชื้อเพลิงที่สงมาจาก
ปมฉีดเชื้อเพลิงสูงเกินกวาคาแรงกดของ
สปริง แรงดันของน้าํ มันจะยกเข็มหัวฉีดขึ้น
ดวยเหตุนี้เองสปริงหัวฉีดจะเกิดแรงดันและ
น้าํ มันจะถูกฉีดเขาไปยังหองเผาไหม
แรงดันของการฉีดเชื้อเพลิงนี้สามารถปรับ
ไดโดยการเปลี่ยนแปลง คาความหนาของ
การปรับตั้งแผนชิม ซึ่งจะมีผลในการ
เปลี่ยนแปลงคาแรงกดของสปริง

1 สปริงแรงดัน
2 เข็มหัวฉีด
3 เรือนหัวฉีด
4 แผนชิมปรับตั้ง
(1/1)

ระบบอุนไอดี
ความรอนที่ไดจากการอัดอากาศอยาง
เพียงพอไมสามารถไดมาระหวางสตารท
ขณะเครือ่ งเย็นหรือทํางานที่อุณหภูมิตา่ํ
ระบบอุนไอดีจะใหความรอนกับไอดีเพื่อ
เพิ่มความสามารถในการลุกไหมของ
เชื้อเพลิง ระบบนี้ใชกระแสไฟจาก
แบตเตอรี่เพื่อใหความรอนกับไอดี

ระบบอุนไอดีมีดวยกัน 2 แบบ:
A แบบหัวเผา:

จะใหความรอนหองเผาไหม
B แบบอุนไอดี:

จะใหความรอนกับอากาศที่จะเขา
เครื่องยนต

1 หัวเผา
2 ขดลวดความรอน
(1/1)

- 11 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
คําถาม-1
ทําเครื่องหมายถูกหรือผิดที่ขอความดังตอไปนี้

¢éÍ ¤Ó¶ÒÁ ¶Ù¡ËÃ×ͼԴ à©ÅÂ


อัตราสวนกําลังอัดของเครื่องยนตดีเซลที่ใชในรถจะอยูในชวงตั้งแต 9 ถึง
1 ถูก ผิด
12
ในเครื่องยนตดีเซลน้าํ มันเชื้อเพลิงที่มีแรงดันสูงจะถูกฉีดเขาไปในอากาศ
2 ที่มีอุณหภูมิสูงและแรงดันสูงที่ถูกอัดโดยลูกสูบ ความรอนของอากาศ ถูก ผิด
ที่มีอุณหภูมิสูง จะทําใหนา้ํ มันเชื้อเพลิงลุกไหมไดเอง
เครื่องยนตดีเซลแบบหองเผาไหมหมุนวนจะมีระบบอุนไอดี เพราะไม
3 อาจใหความรอนในการอัดทีเ่ หมาะสมไดระหวางการสตารทขณะเครือ่ ง ถูก ผิด
เย็นหรือการทํางานขณะอุณหภูมิเครื่องเย็น
กรองน้าํ มันเชื้อเพลิงของเครือ่ งยนตมหี นาที่เผาไหมนา้ํ ทีป่ นอยูในน้าํ มัน
4 ถูก ผิด
เชื้อเพลิง
กลวัตรการทํางานของเครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ จะทํางานเชนเดียว
5 ถูก ผิด
กับในเครื่องยนตแกสโซลีน 4 จังหวะ

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับระบบฉีดเชื้อเพลิงแบบคอมมอนเรล?
1. ระบบนี้จะควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิงใหสอดคลองกับการเปดของลิน้ เรงและ
ความเร็วรอบดวยระบบกลไก
2. คอมมอนเรลจะเก็บน้าํ มันเชื้อเพลิงซึ่งถูกอุนโดยปมจายเชื้อเพลิง เมือ่ น้าํ มันเชื้อเพลิง
มีอุณหภูมิสูงตามที่กาํ หนด หัวฉีดก็จะทําการฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิง
3. คอมมอนเรลจะเก็บน้าํ มันเชื้อเพลิงซึ่งถูกทําใหเกิดแรงดันโดยปมเชื้อเพลิง ECU จะกําหนด
ปริมาณในการฉีดเชื้อเพลิงและระยะเวลาในการควบคุมการเปดและปดของหัวฉีด
4. คอมมอลเรลทําการผสมน้าํ มันเชื้อเพลิงกับอากาศ และ ECU ควบคุมปริมาณการฉีดเชื้อเพลิง
ใหสอดคลองกับการเปดของลิ้นเรงและความเร็วรอบ

- 12 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตดีเซล
คําถาม-3
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับเครื่องยนตดีเซลแบบ EFI ธรรมดา?
1. ระบบนี้ใชเซ็นเซอรตรวจหาการเปดลิ้นเรงและความเร็วรอบ และใชกลไกใน
การกําหนดปริมาณการฉีดเชื้อเพลิงและเวลาในการฉีด
2. ระบบนี้ใชเซ็นเซอรตรวจหาการเปดลิ้นเรงและความเร็วรอบ และใชคอมพิวเตอรคาํ นวณ
ปริมาณการฉีดเชื้อเพลิงและเวลาในการฉีด
3. ระบบนี้ กลไกจะตรวจหาการเปดลิ้นเรงและความเร็วรอบ
และใชคอมพิวเตอรคาํ นวณปริมาณการฉีดเชื้อเพลิงและเวลาในการฉีด
4. ระบบนี้ใชเซ็นเซอรตรวจหาการเปดลิ้นเรงและความเร็วรอบ
และใชคอมพิวเตอรควบคุมอุณหภูมิของอากาศที่ผานเขาไป

¤Ó¶ÒÁ-4
ÃÒÂÅÐàÍÕ´ã¹ÀÒ¾µèÍ仹Õé¡ÅèÒǶ֧Ëéͧà¼ÒäËÁéẺËÁعǹ¢Í§à¤Ã×èͧ¹µì´Õà«Å
àÅ×Í¡¤ÓãËéÊÍ´¤Åéͧ¡ÑºµÑÇàÅ¢ã¹ÀÒ¾¨Ò¡¡ÅØèÁ¤Ó·Õè¡Ó˹´ãËé

ก) หัวเผา ข) หองเผาไหม ค) หองเผาไหมแบบหมุนวน ง) หัวฉีด จ) หัวฉีดสตารทเย็น


คําตอบ: 1. 2. 3. 4.

- 13 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

เกียรอัตโนมัติ เกียรอัตโนมัติ
เกียรอัตโนมัติประกอบไปดวย
ทอรคคอนเวอรเตอร, ชุดแพลนเนตตารี่
เกียร และระบบควบคุมไฮดรอลิค

ซึ่งจะใชแรงดันไฮดรอลิคในการเปลี่ยน
เกียรใหสอดคลองกับความเร็วรถ,
มุมเปดคันเรง และตําแหนงคันเกียรโดย
อัตโนมัติ ดวยเหตุนี้ จึงไมจาํ เปนตอง
เปลี่ยนเกียรเหมือนในเกียรธรรมดา
อีกทั้งไมตองมีคลัตชและยังใชคอมพิวเตอร
กําหนดการเปลี่ยนเกียรใหสอดคลองกับ
สภาพการขับขี่โดยใชเซ็นเซอรตรวจจับ
อีกดวย เรียกระบบนี้วา"ระบบเกียรควบคุม
ดวยอิเล็กทรอนิกส (ECT)"

1 ทอรคคอนเวอรเตอร
2 ปมน้าํ มัน
3 ชุดแพลนเนตตารี่เกียร
4 เซ็นเซอรความเร็วรถ
5 เซ็นเซอรความเร็วเฟองรอง
6 เซ็นเซอรความเร็วเทอรไบนเขา
7 เซ็นเซอรตางๆ
8 Engine & ECT ECU
(ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
9 โซลินอยดวาลว
10 ชุดควบคุมไฮดรอลิค
11 คันเกียร
(1/1)

- 14 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

เกียรอัตโนมัติ
เกียรอัตโนมัติแบบควบคุมดวย
ไฮดรอลิค
โครงสรางของระบบนี้ จะคลายกับ ECT
แตอยางไรก็ตาม กลไกควบคุมการ
เปลี่ยนเกียรจะอางอิงกับความเร็วรถ
โดยจับสัญญาณจากกัฟเวอรเนอรวาลวและ
คันเรง โดยรับสัญญาณจากการเคลื่อนที่
ของสายคันเรง

1 ทอรคคอนเวอรเตอร
2 ปมน้าํ มัน
3 ชุดแพลนเนตตารี่เกียร
4 กัฟเวอรเนอรวาลว
5 แปนคันเรง
6 เครื่องยนต
7 สายคันเรง
8 ชุดควบคุมไฮดรอลิค
9 คันเกียร
(1/1)

- 15 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

ทอรคคอนเวอรเตอร
ทอรคคอนเวอรเตอรของเกียรอัตโนมัติจะ
ถายทอดกําลังของเครื่องยนตไปยังเกียร
โดยอาศัยแรงดันน้าํ มันเกียร หลักการ
ทํางานของทอรคคอนเวอรเตอร
เปรียบเทียบเหมือนพัดลม 2 ตัวที่หันหนา
เขาหากัน โดยตัวหนึ่งพัดลมเขาไปหมุน
อีกตัวหนึ่ง การหมุนของปมอิมเพลเลอร
จะใชกาํ ลังเหวี่ยงจากศูนยกลางที่นา้ํ มัน
เกียรซึ่งสงกําลังไปยังเทอรไบนรันเนอร
ขอแนะนํา:
นอกจากนี้ ยังมีทอรคคอนเวอรเตอร
ชนิดที่มีกลไกตอตรงเพื่อสงกําลังแบบ
กลไกไดโดยไมตองใชนา้ํ มัน อันเกิดขึ้น
จากการทํางานของคลัตชที่สับเปลีย่ น
เสนทางการสงกําลังและจากขอตอ
เทอรไบนรันเนอรกับฝาครอบดานหนา
โดยตรง

1 ปมอิมเพลเลอร (จากเครื่องยนต)
2 เทอรไบนรันเนอร (ไปที่ชุดเกียร)
3 สเตเตอร
4 ฝาครอบดานหนา
5 ล็อคอัพคลัตช
(1/1)

ปมน้ํามัน
ปมน้าํ มันจะขับตามทอรคคอนเวอรเตอร
เพื่อจายแรงดันไฮดรอลิคที่ใชในการทํางาน
ใหกับเกียรอตั โนมัติ

1 ตัวเรือนดานหนา
2 เฟองตาม
3 เฟองขับ

(1/1)

- 16 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

ชุดแพลนเนตตารี่เกียร
ชุดแพลนเนตตารีเกียรนี้จะหมุนรอบเฟอง
ในเกียรอัตโนมัติ โดยใชแรงดันไฮดรอลิค
ในการล็อคเฟองหนึ่งในสาม (เฟองพีเนียน
ซันเกียร หรือ ริงเกียร)ใหอยูกับที่เพื่อสราง
ใหเกิดสภาวะที่ตอ งการดังตอไปนี้:
การลดความเร็ว, ไดเร็กคัปปลิ้ง
และการเลื่อนถอยกลับ

1 เพลาสงกําลัง
2 แคริเออรแพลนเนตตารี
3 ซันเกียรหนา
4 ซันเกียรหลัง
5 ริงเกียร
6 เฟองพีเนียน (สั้น)
7 เฟองพีเนียน (ยาว)
(1/1)

ขอมูลอางอิง:
การเปลีย่ นการทํางานของเกียรอธิบายจาก
ภาพจําลองสวนประกอบของชุดเฟอง
แพลนเนตตารี่
การลดความเร็ว
สวนรับกําลัง: ริงเกียร
กําลังที่สงออกมา:
แพลนเนตตารีแคริเออร
สวนหยุดกับที่: ซันเกียร

เมื่อซันเกียรถูกทําใหอยูกับที่ จะมีเฉพาะ
พีเนียนเกียรเทานั้นที่หมุนและหมุนรอบซัน
เกียร ดังนั้นความเร็วทางดานเพลาสง
กําลังจะถูกลดลงโดยการเคลือ่ นที่ของ
พีเนียนเกียร
(1/1)

- 17 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

ไดเร็กคัปปลิ้ง
สวนรับกําลัง: ซันเกียร, ริงเกียร
กําลังที่สงออกมา:
แคริเออรแพลนเนตตารี่

ริงเกียรจะหมุนโดยล็อคกับแพลนเนตตารี่
แคริเออร กําลังที่เขาและออกจะหมุนดวย
ความเร็วเทากัน

(1/1)

การเลื่อนถอยกลับ
สวนรับกําลัง: ซันเกียร
กําลังที่สงออกมา: ริงเกียร
สวนที่อยูกบั ที่: แพลนเนตตารี่แคริเออร

เมื่อแพลนเนตตารีแ่ คริเออรถูกหยุดใหหยุด
อยูกับที่ และหมุนซันเกียร ริงเกียรจะถูก
ทําใหหมุนในทิศทางตรงขาม
ขอแนะนํา:
การอางอิงโดยใชภาพจําลองเพื่ออธิบาย
การทํางานที่ใชเพลารับและสงกําลังที่
แตกตางกัน สําหรับรถจริง โครงสรางจะมี
ความซับซอนมากกวา เพื่อที่จะใหหนวย
แพลนเนตตารีเกียรสามารถหมุนรอบเฟอง
ไดอยางเหมาะสม
ดังภาพในแผนผังดานซายมือ
(1/1)

- 18 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

ชุดควบคุมไฮดรอลิค
ในสวนนี้จะควบคุมเสนทางทอแรงดัน
ไฮดรอลิคที่ใชควบคุมใหชุด
แพลนเนตตารีเกียรทาํ งาน
หนาที่ของวาลวตางๆ
1 วาลวควบคุมแรงดันปฐมภูมิ

ควบคุมแรงดันไฮดรอลิคจากปมน้าํ มัน
เครื่องเพื่อสรางแรงดันทอ
2 ชิพวาลว

เลื่อนเปลี่ยนเกียร
3 แมนนวลวาลว

สับเปลี่ยนเสนทางแรงดันทอใหสอดคลอง
กับการเลื่อนคันเกียร
4 โซลินอยดวาลว

สับเปลี่ยนเสนทางแรงดันไฮดรอลิคเพื่อ
เลื่อนเปลี่ยนเกียรตามการรับสัญญาณจาก
ECU (ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
5 ปมน้ํามันเครื่อง

6 Engine & ECT ECU

(ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
7 คันเกียร
(1/1)

- 19 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

Engine & ECT ECU


(ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
หนวยควบคุมคอมพิวเตอรนี้ไดรับสัญญาณ
ไฟฟาจากเซ็นเซอรและสงผานไปยัง
โซลินอยดวาลวในชุดควบคุมแรงดัน
ไฮดรอลิคตลอดจนควบคุมการเปลีย่ นเกียร
ตางๆ
เซ็นเซอร
ตรวจจับความเร็วรถและการเปดคันเรง
ในขณะนั้น แลวสงผานสัญญาณไฟฟาไปที่
กลอง ECU
หนาที่ของเซ็นเซอรตางๆ
1 สวิตชสตารทเกียรวาง

ตรวจจับตําแหนงคันเกียร
2 เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง

ตรวจจับการเปดลิน้ เรง
3 เซ็นเซอรความเร็ว

ตรวจจับความเร็วรถ
4 เซ็นเซอรความเร็วเพลารับกําลัง

ตรวจจับความเร็วของเพลารับกําลัง
5 เครื่องยนต

6 เกียรอัตโนมัติ

7 โซลินอยดวาลว

8 คันเกียร
(1/1)

- 20 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

เฟองทาย เฟองทาย
เฟองทายทําหนาที่ 3 ประการ ดังนี้:

1 ลดความเร็ว
ลดการหมุนรอบอันเนื่องมาจากการ
เปลี่ยนเกียรลงเพื่อเพิ่มแรงบิด

2 เฟองทาย
ทําหนาทีป่ รับความแตกตางในการหมุนลอ
ระหวางขางซายและขางขวาขณะที่รถกําลัง
เขาโคง เพราะหากไมมีเฟองทายแลว
จะทําใหยางลืน่ และรถไมสามารถเขาโคงได
อยางราบรื่น

3 เปลี่ยนทิศทางแรงขับเคลื่อน
(ในรถเครื่องยนตหนาขับเคลื่อน
ลอหลัง)
ทําหนาทีเ่ ปลี่ยนแปลงแรงหมุนจากเกียรใน
มุมฉากและสงตรงไปยังลอที่ขับขี่
(1/1)

การทํางาน
เฟองทายประกอบไปดวยเฟองขางและ
เฟองพีเนียน เฟองเหลานี้คอยควบคุม
การหมุนที่แตกตางกันระหวางลอขางซาย
และขวาในขณะที่รถเขาโคง

A FF (รถเครื่องยนตวางหนา
ขับเคลื่อนลอหนา)
B FR (รถเครือ่ งยนตวางหนา
ขับเคลื่อนลอหลัง)

1 เพลากลาง
2 เฟองขับ / พีเนียนขับ
3 ริงเกียร
4 เฟองพีเนียน
5 เฟองขาง
6 เพลาขับ
(1/1)

- 21 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

เฟองทายแบบลิมิเต็ดสลิป (LSD)
รถจะไมสามารถเคลื่อนที่ไดหากลอขางใด
ขางหนึ่งหมุนฟรีอยูในโคลน ฯลฯ
อันเนื่องจากการทํางานของเฟองทายแบบ
ธรรมดา สวนเฟองทายแบบลิมิเต็ดสลิป
(LSD) จะจํากัดการทํางานของเฟองทาย
เพื่อใหกาํ ลังแกลอทั้งสองขาง

(1/1)

เฟองทายแบบลิมิเต็ดสลิป (LSD)
แบบใชการหนวงคับปลิ้ง
เฟองทายแบบนี้จะใชนา้ํ มันซิลิโคนความ
หนืดสูงไวระหวางแผนคลัตช เพื่อใชใน
การสงกําลัง เมื่อเฟองทายเคลื่อนที่
การจํากัดแรงบิดจะเกิดขึ้นในคับปลิ้งเพื่อ
เปนการจํากัดแรงบิดที่สงออก

(1/3)

ชนิดรับสัญญาณแรงบิด
เฟองทายชนิดนี้จะใชแรงเสียดทานที่สราง
ระหวางฟนของเฟองตัวหนอนกับแหวนขาง
เพื่อหยุดการหมุนของลอหมุนฟรีและสง
ผานแรงการหมุนไปยังลออื่นแทน

(2/3)

- 22 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

ชนิดพรีโหลด
เฟองทายชนิดนี้จะใชสปริงไปดันวัสดุรบั
แรงเสียดทานระหวางเฟองดานในกับ
เสื้อเฟองทาย และใชผลของแรงเสียดทาน
ที่เกิดขึ้นในการสรางการจํากัดแรงที่
เฟองทาย

(3/3)

เพลากลาง เพลากลาง
(สําหรับรถขับเคลื่อนลอหลัง)
เพลากลางถายทอดกําลังจากเกียรไปยัง
เฟองทายในรถเครื่องยนตวางหนา
ขับเคลือ่ นลอหลัง (FR)ขอตอออนจะถูก
นํามาใชในบริเวณที่เพลาตอกันเพื่อให
ถายกําลังไดอยางราบรื่นแมวามุมของ
เพลากลางจะเปลีย่ นแปลงไปอันเนื่องจาก
การเคลื่อนตัวในแนวตั้งของเฟองทาย

เพลากลางจะมี 2 หรือ 3 ขอตอและ


หนาแปลนเพลากลางแบบยืดหยุน

A แบบ 3 ขอตอ
B แบบ 2 ขอตอ

1 ขอตอออน
2 ลูกปนตัวกลาง
3 ขอตอปลอกเลื่อน
4 หนาแปลนเพลากลางแบบยืดหยุน
(1/1)

- 23 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

ขอตอออน
ขอตอนี้ถายทอดกําลังไดราบรื่นโดยเปลี่ยน
แปลงมุมเชือ่ มตอกันของเพลากลางอยาง
เหมาะสม

1 ขอตอออน
2 ลูกปนกากบาท
3 กากบาท

(1/1)

เพลาขับ เพลาขับ
เพลาขับถายทอดการหมุนของเครื่องยนต
ไปยังลอผานทางเกียรและเฟองทาย
เพลาขับจะใชในรถที่ขับขี่โดยใชระบบ
รองรับแบบอิสระ
ขอแนะนํา:
เพลาดุมลอจะใชในรถที่มีระบบ
รองรับแบบเพลาหลังแข็ง

1 เฟองทาย
2 เพลาขับ
3 เพลาดุมลอ
4 เสื้อเพลา

(1/1)

- 24 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

เพลาขับ
ชนิดของขอตอเพลาขับ
A ขอตอแบบอารแซบปา (Rzeppa)

ใชลูกปนหลายๆ ลูกเพื่อชวยในการมี
ประสิทธิภาพในการหมุนดวยความเร็วคงที่
B ขอตอแบบไทรพอด (Tripod)

ใชลูกปนแบบสไลด 3 ตัว จะมี


ประสิทธิภาพในการทําใหความเร็วคงที่
นอยกวาแบบอารแซบปารเล็กนอย แตเปน
โครงสรางที่งายและสามารถสไลดได
ตามแกน
C ขอตอแบบครอสกรูฟ (Cross groove)

ใชลูกปนเหล็กหลายๆ ลูกในการทํางาน
และจะชวยในการลดการสั่นสะเทือน
รวมทั้งมีประสิทธิภาพในการทําให
ความเร็วคงที่

1 ลูกปนเหล็ก
2 ลูกปนแบบสไลด
(1/1)

ดุมลอ ดุมลอ
ดุมลอและเพลาดุมลอยึดลอและเพลาขับไว

- 25 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

A. ลูกปนแบบเทเปอร
1 ดุมลอ

2 ลูกปนแบบเทเปอร

B.

B. ลูกปนดุมมือ
1 เพลาดุม (เพลาขับ)

2 ดุมลอ

3 ลูกปนแบบแองกูรา

C. ชนิดระบบรองรับแบบคานแข็ง
1 เสื้อดุม

2 เพลาดุม

3 ลูกปน

4 ดุมลอ

A แบบลอยตัว
B แบบลอยตัว 3/4
C แบบกึ่งลอยตัว

(1/1)

- 26 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง

คําถาม-1
ทําเครื่องหมายถูกหรือผิดที่ขอความดังตอไปนี้
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย
คลัตชของรถเกียรธรรมดาจะถายกําลังหรือไมถายกําลังของเครือ่ งยนต
1 ถูก ผิด
ตอเมือ่ คนขับเหยียบแปนคันเรง
เกียรอัตโนมัติใชแรงดันไฮดรอลิคเพื่อเปลีย่ นเกียรโดยอัตโนมัติให
2 ถูก ผิด
สอดคลองกับความเร็วรถ มุมเปดแปนคันเรง และตําแหนงคันเกียร
เฟองทายแบบลิมิเต็ดสลิป จะถายกําลังไปที่ลอ ทั้งสองขาง
3 ถูก ผิด
โดยจํากัดความเร็วของเครื่องยนต
การทํางานของเฟองทายจะควบคุมความแตกตางในการหมุน
4 ถูก ผิด
ระหวางลอขางซายและขวาขณะเขาโคง
5 เพลาขับจะใชในรถที่มรี ะบบรองรับแบบคานแข็ง ถูก ผิด

คําถาม-2
คํากลาวขอใดดังตอไปนี้เปนจริงเกี่ยวกับทอรคคอนเวอรเตอร?

1. ในทอรคคอนเวอรเตอร เทอรไบนรันเนอรจะหมุนเวียนน้าํ มันเกียรเพื่อที่จะ


ถายทอดกําลังไปยังใบพัดปม (pump impeller)
2. ในทอรคคอนเวอรเตอร ใบพัดปม (pump impeller)
จะหมุนเวียนน้าํ มันเกียรเพื่อที่จะถายทอดกําลังไปยังเทอรไบนรันเนอร
3. ทอรคคอนเวอรเตอรจะตัดการถายกําลังแบบเดียวกับคลัตช
4. ทอรคคอนเวอรเตอรใชคอมพิวเตอรควบคุมการทํางานของคันเรงและคลัตชขณะเปลี่ยนเกียร

- 27 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต สงกําลัง
คําถาม-3
คํากลาวขอใดตอไปนี้เปนจริงเกี่ยวกับลําดับการสงกําลังของเกียรธรรมดาแบบเครื่องยนตหนา ขับเคลื่อนลอหนา (FF)?

1. เครื่องยนต --> คลัตช --> เกียรธรรมดา --> เฟองทาย --> เพลากลาง --> ดุมลอ --> ลอ
2. เครื่องยนต --> คลัตช --> เกียรธรรมดา --> เพลากลาง --> เฟองทาย --> ดุมลอ --> ลอ
3. เครื่องยนต --> คลัตช --> เกียรธรรมดา --> เพลาขับ --> ลอ
4. เครื่องยนต --> คลัตช --> เกียรธรรมดา --> เพลากลาง --> ลอ

คําถาม-4
เลือกคําที่สอดคลองกับหมายเลขในรูปตอไปนี้จากกลุม คําที่ใหไวดานลาง

ก) ปมคลัตชตัวลาง ข) แมปมคลัตช ค) ฝาครอบคลัตช ง) แปนคลัตช จ) ทอไฮดรอลิค

¤ÓµÍº:1. 2. 3. 4.

- 28 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁÑµÔ à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵÔ
à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵԻÃСͺ仴éÇÂ
·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì, ªØ´á¾Å¹à¹µµÒÃÕè
à¡ÕÂÃì áÅÐÃкº¤Çº¤ØÁäδÃÍÅÔ¤

«Ö觨Ðãªéáç´Ñ¹äδÃÍÅԤ㹡ÒÃà»ÅÕè¹
à¡ÕÂÃìãËéÊÍ´¤Åéͧ¡Ñº¤ÇÒÁàÃçÇö,
ÁØÁà»Ô´¤Ñ¹àÃè§ áÅеÓá˹觤ѹà¡ÕÂÃìâ´Â
Íѵâ¹ÁÑµÔ ´éÇÂà˵عÕé ¨Ö§äÁè¨Óà»ç¹µéͧ
à»ÅÕè¹à¡ÕÂÃìàËÁ×͹ã¹à¡ÕÂÃì¸ÃÃÁ´Ò
ÍÕ¡·Ñé§äÁèµéͧÁÕ¤ÅѵªìáÅÐÂѧãªé¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÃì
¡Ó˹´¡ÒÃà»ÅÕè¹à¡ÕÂÃìãËéÊÍ´¤Åéͧ¡Ñº
ÊÀÒ¾¡ÒâѺ¢Õèâ´Âãªéà«ç¹à«ÍÃìµÃǨ¨Ñº
ÍÕ¡´éÇ àÃÕ¡Ãкº¹ÕéÇèÒ"Ãкºà¡ÕÂÃì¤Çº¤ØÁ
´éÇÂÍÔàÅç¡·Ã͹ԡÊì (ECT)"

1 ·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì
2 »ÑêÁ¹éÓÁѹ
3 ªØ´á¾Å¹à¹µµÒÃÕèà¡ÕÂÃì
4 à«ç¹à«ÍÃì¤ÇÒÁàÃçÇö
5 à«ç¹à«ÍÃì¤ÇÒÁàÃçÇà¿×ͧÃͧ
6 à«ç¹à«ÍÃì¤ÇÒÁàÃçÇà·ÍÃì亹ìà¢éÒ
7 à«ç¹à«ÍÃìµèÒ§æ
8 Engine & ECT ECU
(ªØ´¤Çº¤ØÁÍÔàÅç¡·Ã͹ԡÊì)
9 â«ÅԹʹìÇÒÅìÇ
10 ªØ´¤Çº¤ØÁäδÃÍÅÔ¤
11 ¤Ñ¹à¡ÕÂÃì
(1/1)

- 14 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵÔ
à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵÔẺ¤Çº¤ØÁ´éÇÂ
äδÃÍÅÔ¤
â¤Ã§ÊÃéÒ§¢Í§Ãкº¹Õé ¨Ð¤ÅéÒ¡Ѻ ECT
áµèÍÂèÒ§äáçµÒÁ ¡Å䡤Ǻ¤ØÁ¡ÒÃ
à»ÅÕè¹à¡ÕÂÃì¨ÐÍéÒ§ÍÔ§¡Ñº¤ÇÒÁàÃçÇö
â´Â¨ÑºÊÑ−−Ò³¨Ò¡¡Ñ¿àÇÍÃìà¹ÍÃìÇÒÅìÇáÅÐ
¤Ñ¹àÃè§ â´ÂÃѺÊÑ−−Ò³¨Ò¡¡ÒÃà¤Å×è͹·Õè
¢Í§ÊÒ¤ѹàÃè§

1 ·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì
2 »ÑêÁ¹éÓÁѹ
3 ªØ´á¾Å¹à¹µµÒÃÕèà¡ÕÂÃì
4 ¡Ñ¿àÇÍÃìà¹ÍÃìÇÒÅìÇ
5 á»é¹¤Ñ¹àÃè§
6 à¤Ã×èͧ¹µì
7 ÊÒ¤ѹàÃè§
8 ªØ´¤Çº¤ØÁäδÃÍÅÔ¤
9 ¤Ñ¹à¡ÕÂÃì
(1/1)

- 15 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì
·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì¢Í§à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵԨÐ
¶èÒ·ʹ¡ÓÅѧ¢Í§à¤Ã×èͧ¹µìä»Âѧà¡ÕÂÃì
â´ÂÍÒÈÑÂáç´Ñ¹¹éÓÁѹà¡ÕÂÃì ËÅÑ¡¡ÒÃ
·Ó§Ò¹¢Í§·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì
à»ÃÕºà·ÕºàËÁ×͹¾Ñ´ÅÁ 2 µÑÇ·ÕèËѹ˹éÒ
à¢éÒËҡѹ â´ÂµÑÇ˹Ö觾ѴÅÁà¢éÒä»ËÁع
ÍÕ¡µÑÇ˹Öè§ ¡ÒÃËÁع¢Í§»ÑêÁÍÔÁà¾ÅàÅÍÃì
¨Ðãªé¡ÓÅѧàËÇÕ觨ҡÈÙ¹Âì¡ÅÒ§·Õè¹éÓÁѹ
à¡ÕÂÃì«Öè§Ê觡ÓÅѧä»Âѧà·ÍÃì亹ìÃѹà¹ÍÃì
¢éÍá¹Ð¹Ó:
¹Í¡¨Ò¡¹Õé ÂѧÁÕ·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì
ª¹Ô´·ÕèÁÕ¡Å䡵è͵çà¾×èÍÊ觡ÓÅѧẺ
¡Åä¡ä´éâ´ÂäÁèµéͧãªé¹éÓÁѹ Íѹà¡Ô´¢Öé¹
¨Ò¡¡Ò÷ӧҹ¢Í§¤Åѵªì·ÕèÊѺà»ÅÕè¹
àÊé¹·Ò§¡ÒÃÊ觡ÓÅѧáÅШҡ¢é͵èÍ
à·ÍÃì亹ìÃѹà¹ÍÃì¡Ñº½Ò¤Ãͺ´éҹ˹éÒ
â´ÂµÃ§

1 »ÑêÁÍÔÁà¾ÅàÅÍÃì (¨Ò¡à¤Ã×èͧ¹µì)
2 à·ÍÃì亹ìÃѹà¹ÍÃì (ä»·ÕèªØ´à¡ÕÂÃì)
3 ÊàµàµÍÃì
4 ½Ò¤Ãͺ´éҹ˹éÒ
5 ÅçͤÍѾ¤Åѵªì
(1/1)

»ÑêÁ¹éÓÁѹ
»ÑêÁ¹éÓÁѹ¨Ð¢ÑºµÒÁ·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì
à¾×èͨèÒÂáç´Ñ¹äδÃÍÅÔ¤·Õèãªé㹡Ò÷ӧҹ
ãËé¡Ñºà¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵÔ

1 µÑÇàÃ×͹´éҹ˹éÒ
2 à¿×ͧµÒÁ
3 à¿×ͧ¢Ñº

(1/1)

- 16 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

ªØ´á¾Å¹à¹µµÒÃÕèà¡ÕÂÃì
ªØ´á¾Å¹à¹µµÒÃÕà¡ÕÂÃì¹Õé¨ÐËÁعÃͺà¿×ͧ
ã¹à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁÑµÔ â´Âãªéáç´Ñ¹äδÃÍÅÔ¤
㹡ÒÃÅçͤà¿×ͧ˹Öè§ã¹ÊÒÁ (à¿×ͧ¾Õà¹Õ¹
«Ñ¹à¡ÕÂÃì ËÃ×Í ÃÔ§à¡ÕÂÃì)ãËéÍÂÙè¡Ñº·Õèà¾×èÍÊÃéÒ§
ãËéà¡Ô´ÊÀÒÇзÕèµéͧ¡ÒôѧµèÍ仹Õé:
¡ÒÃÅ´¤ÇÒÁàÃçÇ, ä´àÃ硤ѻ»ÅÔé§
áÅСÒÃàÅ×è͹¶Í¡ÅѺ

1 à¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ
2 á¤ÃÔàÍÍÃìá¾Å¹à¹µµÒÃÕ
3 «Ñ¹à¡ÕÂÃì˹éÒ
4 «Ñ¹à¡ÕÂÃìËÅѧ
5 ÃÔ§à¡ÕÂÃì
6 à¿×ͧ¾Õà¹Õ¹ (ÊÑé¹)
7 à¿×ͧ¾Õà¹Õ¹ (ÂÒÇ)
(1/1)

¢éÍÁÙÅÍéÒ§ÍÔ§:
¡ÒÃà»ÅÕ蹡Ò÷ӧҹ¢Í§à¡ÕÂÃì͸ԺÒ¨ҡ
ÀÒ¾¨ÓÅͧÊèǹ»ÃСͺ¢Í§ªØ´à¿×ͧ
á¾Å¹à¹µµÒÃÕè
¡ÒÃÅ´¤ÇÒÁàÃçÇ
ÊèǹÃѺ¡ÓÅѧ: ÃÔ§à¡ÕÂÃì
¡ÓÅѧ·ÕèÊè§ÍÍ¡ÁÒ:
á¾Å¹à¹µµÒÃÕá¤ÃÔàÍÍÃì
ÊèǹËÂØ´¡Ñº·Õè: «Ñ¹à¡ÕÂÃì

àÁ×èͫѹà¡ÕÂÃì¶Ù¡·ÓãËéÍÂÙè¡Ñº·Õè ¨ÐÁÕ੾ÒÐ
¾Õà¹Õ¹à¡ÕÂÃìà·èÒ¹Ñé¹·ÕèËÁعáÅÐËÁعÃͺ«Ñ¹
à¡ÕÂÃì ´Ñ§¹Ñ鹤ÇÒÁàÃçÇ·Ò§´éÒ¹à¾ÅÒÊè§
¡ÓÅѧ¨Ð¶Ù¡Å´Å§â´Â¡ÒÃà¤Å×è͹·Õè¢Í§
¾Õà¹Õ¹à¡ÕÂÃì
(1/1)

- 17 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

ä´àÃ硤ѻ»ÅÔé§
ÊèǹÃѺ¡ÓÅѧ: «Ñ¹à¡ÕÂÃì, ÃÔ§à¡ÕÂÃì
¡ÓÅѧ·ÕèÊè§ÍÍ¡ÁÒ:
á¤ÃÔàÍÍÃìá¾Å¹à¹µµÒÃÕè

ÃÔ§à¡ÕÂÃì¨ÐËÁعâ´ÂÅçͤ¡Ñºá¾Å¹à¹µµÒÃÕè
á¤ÃÔàÍÍÃì ¡ÓÅѧ·Õèà¢éÒáÅÐÍÍ¡¨ÐËÁع´éÇÂ
¤ÇÒÁàÃçÇà·èҡѹ

(1/1)

¡ÒÃàÅ×è͹¶Í¡ÅѺ
ÊèǹÃѺ¡ÓÅѧ: «Ñ¹à¡ÕÂÃì
¡ÓÅѧ·ÕèÊè§ÍÍ¡ÁÒ: ÃÔ§à¡ÕÂÃì
Êèǹ·ÕèÍÂÙè¡Ñº·Õè: á¾Å¹à¹µµÒÃÕèá¤ÃÔàÍÍÃì

àÁ×èÍá¾Å¹à¹µµÒÃÕèá¤ÃÔàÍÍÃì¶Ù¡ËÂØ´ãËéËÂØ´
ÍÂÙè¡Ñº·Õè áÅÐËÁع«Ñ¹à¡ÕÂÃì ÃÔ§à¡ÕÂÃì¨Ð¶Ù¡
·ÓãËéËÁع㹷ÔÈ·Ò§µÃ§¢éÒÁ
¢éÍá¹Ð¹Ó:
¡ÒÃÍéÒ§ÍÔ§â´ÂãªéÀÒ¾¨ÓÅͧà¾×èÍ͸ԺÒÂ
¡Ò÷ӧҹ·Õèãªéà¾ÅÒÃѺáÅÐÊ觡ÓÅѧ·Õè
ᵡµèÒ§¡Ñ¹ ÊÓËÃѺö¨ÃÔ§ â¤Ã§ÊÃéÒ§¨ÐÁÕ
¤ÇÒÁ«Ñº«é͹ÁÒ¡¡ÇèÒ à¾×èÍ·Õè¨ÐãËé˹èÇÂ
á¾Å¹à¹µµÒÃÕà¡ÕÂÃìÊÒÁÒöËÁعÃͺà¿×ͧ
ä´éÍÂèÒ§àËÁÒÐÊÁ
´Ñ§ÀÒ¾ã¹á¼¹¼Ñ§´éÒ¹«éÒÂÁ×Í
(1/1)

- 18 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

ªØ´¤Çº¤ØÁäδÃÍÅÔ¤
ã¹Êèǹ¹Õé¨Ð¤Çº¤ØÁàÊé¹·Ò§·èÍáç´Ñ¹
äδÃÍÅÔ¤·Õèãªé¤Çº¤ØÁãËéªØ´
á¾Å¹à¹µµÒÃÕà¡ÕÂÃì·Ó§Ò¹
˹éÒ·Õè¢Í§ÇÒÅìǵèÒ§æ
1 ÇÒÅìǤǺ¤ØÁáç´Ñ¹»°ÁÀÙÁÔ

¤Çº¤ØÁáç´Ñ¹äδÃÍÅÔ¤¨Ò¡»ÑêÁ¹éÓÁѹ
à¤Ã×èͧà¾×èÍÊÃéÒ§áç´Ñ¹·èÍ
2 ªÔ¾ÇÒÅìÇ

àÅ×è͹à»ÅÕè¹à¡ÕÂÃì
3 áÁ¹¹ÇÅÇÒÅìÇ

ÊѺà»ÅÕè¹àÊé¹·Ò§áç´Ñ¹·èÍãËéÊÍ´¤Åéͧ
¡Ñº¡ÒÃàÅ×è͹¤Ñ¹à¡ÕÂÃì
4 â«ÅԹʹìÇÒÅìÇ

ÊѺà»ÅÕè¹àÊé¹·Ò§áç´Ñ¹äδÃÍÅÔ¤à¾×èÍ
àÅ×è͹à»ÅÕè¹à¡ÕÂÃìµÒÁ¡ÒÃÃѺÊÑ−−Ò³¨Ò¡
ECU (ªØ´¤Çº¤ØÁÍÔàÅç¡·Ã͹ԡÊì)
5 »ÑêÁ¹éÓÁѹà¤Ã×èͧ

6 Engine & ECT ECU

(ªØ´¤Çº¤ØÁÍÔàÅç¡·Ã͹ԡÊì)
7 ¤Ñ¹à¡ÕÂÃì
(1/1)

- 19 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

Engine & ECT ECU


(ªØ´¤Çº¤ØÁÍÔàÅç¡·Ã͹ԡÊì)
˹èǤǺ¤ØÁ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÃì¹Õéä´éÃѺÊÑ−−Ò³
ä¿¿éÒ¨Ò¡à«ç¹à«ÍÃìáÅÐÊ觼èÒ¹ä»Âѧ
â«ÅԹʹìÇÒÅìÇ㹪ش¤Çº¤ØÁáç´Ñ¹
äδÃÍÅÔ¤µÅÍ´¨¹¤Çº¤ØÁ¡ÒÃà»ÅÕè¹à¡ÕÂÃì
µèÒ§æ
à«ç¹à«ÍÃì
µÃǨ¨Ñº¤ÇÒÁàÃçÇöáÅСÒÃà»Ô´¤Ñ¹àÃè§
ã¹¢³Ð¹Ñé¹ áÅéÇÊ觼èÒ¹ÊÑ−−ҳ俿éÒä»·Õè
¡Åèͧ ECU
˹éÒ·Õè¢Í§à«ç¹à«ÍÃìµèÒ§æ
1 ÊÇÔµªìʵÒÃì·à¡ÕÂÃìÇèÒ§

µÃǨ¨ÑºµÓá˹觤ѹà¡ÕÂÃì
2 à«ç¹à«ÍÃìµÓá˹è§ÅÔé¹àÃè§

µÃǨ¨Ñº¡ÒÃà»Ô´ÅÔé¹àÃè§
3 à«ç¹à«ÍÃì¤ÇÒÁàÃçÇ

µÃǨ¨Ñº¤ÇÒÁàÃçÇö
4 à«ç¹à«ÍÃì¤ÇÒÁàÃçÇà¾ÅÒÃѺ¡ÓÅѧ

µÃǨ¨Ñº¤ÇÒÁàÃçǢͧà¾ÅÒÃѺ¡ÓÅѧ
5 à¤Ã×èͧ¹µì

6 à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵÔ

7 â«ÅԹʹìÇÒÅìÇ

8 ¤Ñ¹à¡ÕÂÃì
(1/1)

- 20 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

à¿×ͧ·éÒ à¿×ͧ·éÒÂ
à¿×ͧ·éÒ·Ó˹éÒ·Õè 3 »ÃСÒà ´Ñ§¹Õé:

1 Å´¤ÇÒÁàÃçÇ
Å´¡ÒÃËÁعÃͺÍѹà¹×èͧÁÒ¨Ò¡¡ÒÃ
à»ÅÕè¹à¡ÕÂÃìŧà¾×èÍà¾ÔèÁáçºÔ´

2 à¿×ͧ·éÒÂ
·Ó˹éÒ·Õè»ÃѺ¤ÇÒÁᵡµèҧ㹡ÒÃËÁعÅéÍ
ÃÐËÇèÒ§¢éÒ§«éÒÂáÅТéÒ§¢ÇÒ¢³Ð·Õèö¡ÓÅѧ
à¢éÒâ¤é§ à¾ÃÒÐËÒ¡äÁèÁÕà¿×ͧ·éÒÂáÅéÇ
¨Ð·ÓãËéÂÒ§Å×è¹áÅÐöäÁèÊÒÁÒöà¢éÒâ¤é§ä´é
ÍÂèÒ§ÃÒºÃ×è¹

3 à»ÅÕè¹·ÔÈ·Ò§áç¢Ñºà¤Å×è͹
(ã¹Ã¶à¤Ã×èͧ¹µì˹éҢѺà¤Å×è͹
ÅéÍËÅѧ)
·Ó˹éÒ·Õèà»ÅÕè¹á»Å§áçËÁع¨Ò¡à¡ÕÂÃìã¹
ÁØÁ©Ò¡áÅÐÊ觵çä»ÂѧÅéÍ·Õè¢Ñº¢Õè
(1/1)

¡Ò÷ӧҹ
à¿×ͧ·éÒ»ÃСͺ仴éÇÂà¿×ͧ¢éÒ§áÅÐ
à¿×ͧ¾Õà¹Õ¹ à¿×ͧàËÅèÒ¹Õé¤Í¤Ǻ¤ØÁ
¡ÒÃËÁع·ÕèᵡµèÒ§¡Ñ¹ÃÐËÇèÒ§ÅéÍ¢éÒ§«éÒÂ
áÅТÇÒã¹¢³Ð·Õèöà¢éÒâ¤é§

A FF (öà¤Ã×èͧ¹µìÇҧ˹éÒ
¢Ñºà¤Å×è͹ÅéÍ˹éÒ)
B FR (öà¤Ã×èͧ¹µìÇҧ˹éÒ
¢Ñºà¤Å×è͹ÅéÍËÅѧ)

1 à¾ÅÒ¡ÅÒ§
2 à¿×ͧ¢Ñº / ¾Õà¹Õ¹¢Ñº
3 ÃÔ§à¡ÕÂÃì
4 à¿×ͧ¾Õà¹Õ¹
5 à¿×ͧ¢éÒ§
6 à¾ÅҢѺ
(1/1)

- 21 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

à¿×ͧ·éÒÂẺÅÔÁÔàµç´ÊÅÔ» (LSD)
ö¨ÐäÁèÊÒÁÒöà¤Å×è͹·Õèä´éËÒ¡ÅéÍ¢éÒ§ã´
¢éҧ˹Öè§ËÁع¿ÃÕÍÂÙèã¹â¤Å¹ ÏÅÏ
Íѹà¹×èͧ¨Ò¡¡Ò÷ӧҹ¢Í§à¿×ͧ·éÒÂẺ
¸ÃÃÁ´Ò Êèǹà¿×ͧ·éÒÂẺÅÔÁÔàµç´ÊÅÔ»
(LSD) ¨Ð¨Ó¡Ñ´¡Ò÷ӧҹ¢Í§à¿×ͧ·éÒÂ
à¾×èÍãËé¡ÓÅѧá¡èÅéÍ·Ñé§Êͧ¢éÒ§

(1/1)

à¿×ͧ·éÒÂẺÅÔÁÔàµç´ÊÅÔ» (LSD)
Ẻãªé¡ÒÃ˹èǧ¤Ñº»ÅÔé§
à¿×ͧ·éÒÂẺ¹Õé¨Ðãªé¹éÓÁѹ«ÔÅÔ⤹¤ÇÒÁ
˹״ÊÙ§äÇéÃÐËÇèÒ§á¼è¹¤Åѵªì à¾×èÍãªéã¹
¡ÒÃÊ觡ÓÅѧ àÁ×èÍà¿×ͧ·éÒÂà¤Å×è͹·Õè
¡ÒèӡѴáçºÔ´¨Ðà¡Ô´¢Öé¹ã¹¤Ñº»ÅÔé§à¾×èÍ
à»ç¹¡ÒèӡѴáçºÔ´·ÕèÊè§ÍÍ¡

(1/3)

ª¹Ô´ÃѺÊÑ−−Ò³áçºÔ´
à¿×ͧ·éÒª¹Ô´¹Õé¨ÐãªéáçàÊÕ´·Ò¹·ÕèÊÃéÒ§
ÃÐËÇèÒ§¿Ñ¹¢Í§à¿×ͧµÑÇ˹͹¡ÑºáËǹ¢éÒ§
à¾×èÍËÂØ´¡ÒÃËÁع¢Í§ÅéÍËÁع¿ÃÕáÅÐÊè§
¼èÒ¹áç¡ÒÃËÁعä»ÂѧÅéÍÍ×è¹á·¹

(2/3)

- 22 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

ª¹Ô´¾ÃÕâËÅ´
à¿×ͧ·éÒª¹Ô´¹Õé¨ÐãªéÊ»Ãԧ仴ѹÇÑÊ´ØÃѺ
áçàÊÕ´·Ò¹ÃÐËÇèÒ§à¿×ͧ´éҹ㹡Ѻ
àÊ×éÍà¿×ͧ·éÒ áÅÐãªé¼Å¢Í§áçàÊÕ´·Ò¹
·Õèà¡Ô´¢Öé¹ã¹¡ÒÃÊÃéÒ§¡ÒèӡѴáç·Õè
à¿×ͧ·éÒÂ

(3/3)

à¾ÅÒ¡ÅÒ§ à¾ÅÒ¡ÅÒ§
(ÊÓËÃѺö¢Ñºà¤Å×è͹ÅéÍËÅѧ)
à¾ÅÒ¡ÅÒ§¶èÒ·ʹ¡ÓÅѧ¨Ò¡à¡ÕÂÃìä»Âѧ
à¿×ͧ·éÒÂã¹Ã¶à¤Ã×èͧ¹µìÇҧ˹éÒ
¢Ñºà¤Å×è͹ÅéÍËÅѧ (FR)¢é͵èÍÍè͹¨Ð¶Ù¡
¹ÓÁÒãªé㹺ÃÔàdz·Õèà¾ÅÒµè͡ѹà¾×èÍãËé
¶èÒ¡ÓÅѧä´éÍÂèÒ§ÃÒºÃ×è¹áÁéÇèÒÁØÁ¢Í§
à¾ÅÒ¡ÅÒ§¨Ðà»ÅÕè¹á»Å§ä»Íѹà¹×èͧ¨Ò¡
¡ÒÃà¤Å×è͹µÑÇã¹á¹ÇµÑ駢ͧà¿×ͧ·éÒÂ

à¾ÅÒ¡ÅÒ§¨ÐÁÕ 2 ËÃ×Í 3 ¢é͵èÍáÅÐ


˹éÒá»Å¹à¾ÅÒ¡ÅҧẺÂ×´ËÂØè¹

A Ẻ 3 ¢é͵èÍ
B Ẻ 2 ¢é͵èÍ

1 ¢é͵èÍÍè͹
2 ÅÙ¡»×¹µÑÇ¡ÅÒ§
3 ¢é͵èÍ»ÅÍ¡àÅ×è͹
4 ˹éÒá»Å¹à¾ÅÒ¡ÅҧẺÂ×´ËÂØè¹
(1/1)

- 23 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

¢é͵èÍÍè͹
¢é͵è͹Õé¶èÒ·ʹ¡ÓÅѧä´éÃÒºÃ×è¹â´Âà»ÅÕè¹
á»Å§ÁØÁàª×èÍÁµè͡ѹ¢Í§à¾ÅÒ¡ÅÒ§ÍÂèÒ§
àËÁÒÐÊÁ

1 ¢é͵èÍÍè͹
2 ÅÙ¡»×¹¡Ò¡ºÒ·
3 ¡Ò¡ºÒ·

(1/1)

à¾ÅҢѺ à¾ÅҢѺ
à¾ÅҢѺ¶èÒ·ʹ¡ÒÃËÁع¢Í§à¤Ã×èͧ¹µì
ä»ÂѧÅéͼèÒ¹·Ò§à¡ÕÂÃìáÅÐà¿×ͧ·éÒÂ
à¾ÅҢѺ¨Ðãªéã¹Ã¶·Õè¢Ñº¢Õèâ´ÂãªéÃкº
ÃͧÃѺẺÍÔÊÃÐ
¢éÍá¹Ð¹Ó:
à¾ÅÒ´ØÁÅéͨÐãªéã¹Ã¶·ÕèÁÕÃкº
ÃͧÃѺẺà¾ÅÒËÅѧá¢ç§

1 à¿×ͧ·éÒÂ
2 à¾ÅҢѺ
3 à¾ÅÒ´ØÁÅéÍ
4 àÊ×éÍà¾ÅÒ

(1/1)

- 24 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

à¾ÅҢѺ
ª¹Ô´¢Í§¢é͵èÍà¾ÅҢѺ
A ¢é͵èÍẺÍÒÃì᫺»Ò (Rzeppa)

ãªéÅÙ¡»×¹ËÅÒÂæ ÅÙ¡à¾×èͪèÇÂ㹡ÒÃÁÕ
»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡ÒÃËÁع´éǤÇÒÁàÃçǤ§·Õè
B ¢é͵èÍẺä·Ãì¾Í´ (Tripod)

ãªéÅÙ¡»×¹áººÊäÅ´ì 3 µÑÇ ¨ÐÁÕ


»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡Ò÷ÓãËé¤ÇÒÁàÃçǤ§·Õè
¹éÍ¡ÇèÒẺÍÒÃì᫺»ÒÃìàÅ硹éÍ áµèà»ç¹
â¤Ã§ÊÃéÒ§·Õè§èÒÂáÅÐÊÒÁÒöÊäÅ´ìä´é
µÒÁ᡹
C ¢é͵èÍẺ¤ÃÍÊ¡ÃÙ¿ (Cross groove)

ãªéÅÙ¡»×¹àËÅç¡ËÅÒÂæ Å١㹡Ò÷ӧҹ
áÅШЪèÇÂ㹡ÒÃÅ´¡ÒÃÊÑè¹ÊÐà·×͹
ÃÇÁ·Ñé§ÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡Ò÷ÓãËé
¤ÇÒÁàÃçǤ§·Õè

1 ÅÙ¡»×¹àËÅç¡
2 ÅÙ¡»×¹áººÊäÅ´ì
(1/1)

´ØÁÅéÍ ´ØÁÅéÍ
´ØÁÅéÍáÅÐà¾ÅÒ´ØÁÅéÍÂÖ´ÅéÍáÅÐà¾ÅҢѺäÇé

- 25 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

A. ÅÙ¡»×¹áººà·à»ÍÃì
1 ´ØÁÅéÍ

2 ÅÙ¡»×¹áººà·à»ÍÃì

B.

B. ÅÙ¡»×¹´ØÁÁ×Í
1 à¾ÅÒ´ØÁ (à¾ÅҢѺ)

2 ´ØÁÅéÍ

3 ÅÙ¡»×¹áººáͧ¡ÙÃèÒ

C. ª¹Ô´ÃкºÃͧÃѺẺ¤Ò¹á¢ç§
1 àÊ×éÍ´ØÁ

2 à¾ÅÒ´ØÁ

3 ÅÙ¡»×¹

4 ´ØÁÅéÍ

A ẺÅ͵ÑÇ
B ẺÅ͵ÑÇ 3/4
C Ẻ¡Öè§Å͵ÑÇ

(1/1)

- 26 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ

¤Ó¶ÒÁ-1
·Óà¤Ã×èͧËÁÒ¶١ËÃ×ͼԴ·Õè¢éͤÇÒÁ´Ñ§µèÍ仹Õé
¢éÍ ¤Ó¶ÒÁ ¶Ù¡ËÃ×ͼԴ à©ÅÂ
¤Åѵªì¢Í§Ã¶à¡ÕÂÃì¸ÃÃÁ´Ò¨Ð¶èÒ¡ÓÅѧËÃ×ÍäÁè¶èÒ¡ÓÅѧ¢Í§à¤Ã×èͧ¹µì
1 ¶Ù¡ ¼Ô´
µèÍàÁ×èͤ¹¢ÑºàËÂÕºá»é¹¤Ñ¹àÃè§
à¡ÕÂÃìÍѵâ¹ÁѵÔãªéáç´Ñ¹äδÃÍÅÔ¤à¾×èÍà»ÅÕè¹à¡ÕÂÃìâ´ÂÍѵâ¹ÁѵÔãËé
2 ¶Ù¡ ¼Ô´
ÊÍ´¤Åéͧ¡Ñº¤ÇÒÁàÃçÇö ÁØÁà»Ô´á»é¹¤Ñ¹àÃè§ áÅеÓá˹觤ѹà¡ÕÂÃì
à¿×ͧ·éÒÂẺÅÔÁÔàµç´ÊÅÔ» ¨Ð¶èÒ¡ÓÅѧ价ÕèÅéÍ·Ñé§Êͧ¢éÒ§
3 ¶Ù¡ ¼Ô´
â´Â¨Ó¡Ñ´¤ÇÒÁàÃçǢͧà¤Ã×èͧ¹µì
¡Ò÷ӧҹ¢Í§à¿×ͧ·éÒ¨ФǺ¤ØÁ¤ÇÒÁᵡµèҧ㹡ÒÃËÁع
4 ¶Ù¡ ¼Ô´
ÃÐËÇèÒ§ÅéÍ¢éÒ§«éÒÂáÅТÇÒ¢³Ðà¢éÒâ¤é§
5 à¾ÅҢѺ¨Ðãªéã¹Ã¶·ÕèÁÕÃкºÃͧÃѺẺ¤Ò¹á¢ç§ ¶Ù¡ ¼Ô´

¤Ó¶ÒÁ-2
¤Ó¡ÅèÒÇ¢éÍ㴴ѧµèÍ仹Õéà»ç¹¨ÃÔ§à¡ÕèÂǡѺ·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì?

1. ã¹·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì à·ÍÃì亹ìÃѹà¹ÍÃì¨ÐËÁعàÇÕ¹¹éÓÁѹà¡ÕÂÃìà¾×èÍ·Õè¨Ð
¶èÒ·ʹ¡ÓÅѧä»Âѧ㺾Ѵ»ÑêÁ (pump impeller)
2. ã¹·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì 㺾Ѵ»ÑêÁ (pump impeller)
¨ÐËÁعàÇÕ¹¹éÓÁѹà¡ÕÂÃìà¾×èÍ·Õè¨Ð¶èÒ·ʹ¡ÓÅѧä»Âѧà·ÍÃì亹ìÃѹà¹ÍÃì
3. ·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃì¨ÐµÑ´¡ÒöèÒ¡ÓÅѧẺà´ÕÂǡѺ¤Åѵªì
4. ·ÍÃ줤͹àÇÍÃìàµÍÃìãªé¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÃì¤Çº¤ØÁ¡Ò÷ӧҹ¢Í§¤Ñ¹àÃè§áÅФÅѵªì¢³Ðà»ÅÕè¹à¡ÕÂÃì

- 27 -
¾×鹰ҹö¹µì-¾×鹰ҹö¹µì Ê觡ÓÅѧ
¤Ó¶ÒÁ-3
¤Ó¡ÅèÒÇ¢éÍã´µèÍ仹Õéà»ç¹¨ÃÔ§à¡ÕèÂǡѺÅӴѺ¡ÒÃÊ觡ÓÅѧ¢Í§à¡ÕÂÃì¸ÃÃÁ´ÒẺà¤Ã×èͧ¹µì˹éÒ ¢Ñºà¤Å×è͹ÅéÍ˹éÒ (FF)?

1. à¤Ã×èͧ¹µì --> ¤Åѵªì --> à¡ÕÂÃì¸ÃÃÁ´Ò --> à¿×ͧ·éÒ --> à¾ÅÒ¡ÅÒ§ --> ´ØÁÅéÍ --> ÅéÍ
2. à¤Ã×èͧ¹µì --> ¤Åѵªì --> à¡ÕÂÃì¸ÃÃÁ´Ò --> à¾ÅÒ¡ÅÒ§ --> à¿×ͧ·éÒ --> ´ØÁÅéÍ --> ÅéÍ
3. à¤Ã×èͧ¹µì --> ¤Åѵªì --> à¡ÕÂÃì¸ÃÃÁ´Ò --> à¾ÅҢѺ --> ÅéÍ
4. à¤Ã×èͧ¹µì --> ¤Åѵªì --> à¡ÕÂÃì¸ÃÃÁ´Ò --> à¾ÅÒ¡ÅÒ§ --> ÅéÍ

¤Ó¶ÒÁ-4
àÅ×Í¡¤Ó·ÕèÊÍ´¤Åéͧ¡ÑºËÁÒÂàÅ¢ã¹ÃÙ»µèÍ仹Õé¨Ò¡¡ÅØèÁ¤Ó·ÕèãËéäÇé´éÒ¹ÅèÒ§

¡) »ÑêÁ¤ÅѵªìµÑÇÅèÒ§ ¢) áÁè»ÑêÁ¤Åѵªì ¤) ½Ò¤Ãͺ¤Åѵªì §) á»é¹¤Åѵªì ¨) ·èÍäδÃÍÅÔ¤

¤ÓµÍº:1. 2. 3. 4.

- 28 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ชวงลาง ชวงลาง
นอกจากชิ้นสวนภายนอก ชิ้นสวนภายใน
และเครื่องยนต, ชวงลางก็เปน ชิ้นสวนถูก
ประกอบขึ้นเปนรถยนต ซึ่งมันจะควบคุม
การขับ การเลี้ยว การหยุด โดยใชอุปกรณ
เหลานี้

1. ระบบรองรับ
รองรับดุมลอเพื่อทําใหมีเสถียรภาพการ
ขับขี่ที่ดี

A ระบบรองรับหนา
B ระบบรองรับหลัง

2. ระบบบังคับเลี้ยว
เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของรถยนต

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

3. ระบบเบรก
ลดความเร็วหรือทําใหรถยนตหยุดการ
เคลื่อนที่

A เบรกเทา
B เบรกมือ

4. ยางและกระทะลอ
ทําใหรถยนตเคลื่อนที่ตามพื้นผิวถนนได

(1/1)

ระบบรองรับ ระบบรองรับ
ระบบรองรับจะเชือ่ มตอลอกับตัวถังหรือ
โครงรถเพื่อที่จะรองรับตัวถังรถ

• ปรับปรุงการขับขีใ หดขี นึ โดยลดทอนแรง


กระเทือนที่ยางรับมาจากพื้นผิวถนน
• เพื่อใหมน
ั่ ใจในการขับขี่อยางมี
เสถียรภาพ

A ระบบรองรับหนา
B ระบบรองรับหลัง

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

1 สปริง

2 โชคแอบซอพเบอร

3 เหล็กกันโคลง

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

4 ลูกหมาก

(1/2)

ชนิดของสปริง
หนาที่ของสปริงจะดูดซับแรงกระแทกและ
ลดการสั่นสะเทือนของผิวถนนที่จะสงผล
กระทบตอตัวถังรถยนต

1 คอลยสปริง
จะดูดซับแรงกระแทกไดดีเยี่ยม,
มีนา้ํ หนักเบา และใหความรูส ึกในการขับขี่
ที่ดีเยี่ยม โดยปกติจะติดตั้งในรถยนตนั่ง

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

2 สปริงแผน (แหนบ)
มีหูยึดติดกับเพลาซึ่งทําหนาที่เชนเดียวกับ
สปริง มีความทนทานสูง แตใหความรูสึก
แข็งกระดาง เพราะวามีนา้ํ หนักมาก โดย
ปกติจะติดตั้งในรถยนตบรรทุก

3 ทอรชั่นบาร
เปนสปริงชนิดแกนเพลาที่สามารถรับแรง
บิดและยืดหยุนไดดีซึ่งจะติดตั้งในรถ
บรรทุก เนื่องจากมีโครงสรางงายและ
ใหการขับขี่ที่ดี

(2/2)

โชคอัพซอบเบอร
โชคอัพจะหนวงการเคลื่อนที่ของสปริง โดย
ใชแรงตานของน้าํ มันที่ไหลผานชองทางลูก
สูบ โดยที่มันจะรองรับการสั่นสะเทือนของ
ตัวถังรถเพื่อใหรูสึกขับขี่ไดดียิ่งขึ้น

1 ลูกสูบ
2 วาลว
3 ชองทางน้าํ มัน
4 สปริง
5 โชคอัพซอบเบอร

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

(1/1)

ชนิดของโชคอัพซอบเบอร
โชคอัพจะแบงตามการทํางาน, โครงสราง
และสารที่อยูในตัวโชคอัพ

A แบงตามการทํางาน
a โชคอัพทํางานจังหวะเดียว

ชนิดนี้จะดูดซับการสั่นสะเทือนของสปริง
เมื่อโชคอัพยืดตัว และจะไมดูดซับการสั่น
สะเทือนเมื่อยุบตัว
b โชคอัพทํางานสองจังหวะ

ชนิดนี้จะดูดซับการสั่นสะเทือนของสปริง
เมื่อโชคอัพยุบตัวและยืดตัว

1 ชองทางน้าํ มัน
2 วาลว
3 น้าํ มัน

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

B แบงตามโครงสราง
a โชคอัพกระบอกเดี่ยว

ชนิดนี้มีเพียงกระบอกน้าํ มันเดียว
(ไมมีถังพัก)
b โชคอัพกระบอกคู

ชนิดนี้จะประกอบดวยหองทํางาน
(กระบอกใน) และหองพัก (กระบอกนอก)

1 หองพักน้าํ มัน
2 หองน้าํ มัน
3 อากาศ
4 น้าํ มัน
5 วาลว

C แบงตามสารที่อยูในตัวโชคอัพ
a โชคอัพไฮดรอลิค

โชคอัพชนิดนี้จะใชนา้ํ มันสําหรับโชคอัพ
ดูดซับการทํางานของโชคอัพ
b โชคอัพแกส

โชคอัพชนิดนี้จะบรรจุแกสไนโตรเจน
ภายในกระบอกโชค แรงดันของน้าํ มัน
จะปองกันการเกิดฟองอากาศ ซึ่งแกสจะ
รวมตัวกับน้าํ มันเพื่อแยกฟองอากาศออก

1 วาลว
2 แกสแรงดันต่าํ
3 น้าํ มัน
4 ลูกสูบอิสระ
5 แกสแรงดันสูง
(1/1)

- 7 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

TEMS (ระบบรองรับควบคุมดวย
อิเล็กทรอนิกสของโตโยตา)
ระบบ TEMS ใชกลอง ECU ในการควบคุม
การทํางานของโชคอัพ (แรงหนวง)
โดยขึ้นอยูกับสภาพของการขับขี่
ในขณะที่ระบบ TEMS ทํางาน จะทําใหมี
ความปลอดภัย หรือเสถียรภาพในการ
ขับขี่ที่ดี
โดย ECU ควบคุมการหนวงแรงกระแทก
ของโชคอัพ เพื่อรักษาระดับของรถยนต

1 ECU
2 สวิตชควบคุมโชคอัพ
3 เซ็นเซอร
4 แอคชิวเอเตอรโชคอัพ
5 โชคอัพ

A จุดออกตัว
แรงหนวงอยางแรงเพื่อรักษาการ
ทรงตัวของร
B การขับขี่ปกติ
แรงหนวงเล็กนอยเพื่อความ
สะดวกสบายในการขับขี่
C การเลีย้ ว
แรงหนวงมากเพื่อรักษาการทรงตัว
ของรถ
D การขับขี่ดวยความเร็วสูง
แรงหนวงปานกลาง เพื่อความสบาย
และการทรงตัวในการขับขี่
E ขณะเบรก
แรงหนวงมากเพื่อรักษาการทรงตัว
ของรถ
(1/1)

- 8 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ลูกหมาก
ลูกหมากปกนกรับแรงในแนวดิ่งและ
แนวระดับไดดี และทําหนาที่เปนจุดหมุน
ของคอมาเมื่อหมุนพวงมาลัย

1 สตัท
2 บูชหรือยางกันฝุน
3 บารอง
4 เสื้อลูกหมาก
5 ยางกันกระแทก

(1/1)

เหล็กกันโคลง
เมื่อรถยนตเลี้ยวเขาโคง รถจะเอียงไป
ดานขางจากแรงหนีศูนย ซึ่งเหล็กกันโคลง
จะควบคุมแรงกดบิดตัวของสปริงและรักษา
ยางใหสัมผัสกับพื้นถนน เชนเดียวกันกับ
ลอดานตรงขาม

เมื่อรถยนตเอียงและยางยุบตัวลงขางหนึ่ง
เหล็กกันโคลงจะบิดตัวและทําหนาที่เชน
สปริง ซึ่งจะยกยางขึ้น ในดานที่ตัวถัง
ถูกกดลง
ในกรณีที่ยางทั้งสองขางถูกกดลงเทาๆกัน
เหล็กกันโคลงจะไมทาํ งานเหมือนสปริง
เพราะมันจะไมบิดตัว

1 เหล็กกันโคลง
(1/1)

- 9 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ชนิดของระบบรองรับ
ระบบรองรับแบงออกเปน 2 ชนิด
ขึ้นอยูกับการลักษณะการรองรับลอ

1 ระบบคานแข็ง

2 ระบบรองรับอิสระ

(1/3)

- 10 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ระบบรองรับแบบคานแข็ง
ลอทั้ง 2 จะเชื่อมตอกับเพลาเดีย่ ว ซึ่งยึดตอ
กับตัวถังรถดวยสปริง
เพราะวาลอทั้ง 2 และเพลาเคลื่อนที่แนวดิ่ง
เปนชุดเดียวกัน ทําใหเกิดผลกระทบของ
แตละลอถึงกัน ระบบรองรับแบบนี้
โครงสรางไมซับซอนและมีความแข็งแรงสูง

A แบบคานบิด
ืประกอบดวยแขนตอลากซายและขวา
ยึดติดกับคานขวางหลัง เหมือนกับระบบ
รองรับชนิดกานตอ สปริงจะดูดซับแรง
เฉพาะแรงในแนวดิ่ง ระบบนี้จะมี
โครงสรางไมซับซอน และใหความรูสึก
ในการขับขี่ที่ดี โดยปกติจะใชในระบบ
รองรับดานหลังของรถยนตนั่งขับเคลื่อน
ลอหนาขนาดเล็ก

1 โชคอัพ
2 คอลยสปริง
3 คานขวางหลัง
4 แขนตอลาก
5 เหล็กกันโคลง

- 11 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

B แบบกานตอ
กานตอลางและกานตอบนจะติดตั้งใน
แนวยาวของตัวถังรถยนต โดยปลายดาน
หนึ่งของกานตอจะยึดติดกับเพลาและแขน
อีกดานหนึ่งจะยึดติดตามแนวดิ่ง โดยดาน
หนึ่งติดกับเพลาและอีกดานหนึ่งยึดติดกับ
ตัวถังรถยนต กานตอเหลานี้จะรับแรงตาม
แนวนอนและแนวตั้ง ที่กระทํากับเพลา
สวนสปริงจะรับแรงเฉพาะแนวดิ่ง
โครงสรางชนิดนี้จะซับซอนเล็กนอย และ
จะใหความรูสึกในการขับขี่ที่ดีกวาชนิด
สปริงแผน (แหนบ) โดยปกติจะติดตั้ง
ระบบรองรับหลังของรถยนต 1-box,
รถเอนกประสงค (SUV), รถยนตขับ
เคลื่อนลอหลัง และรถยนตขับเคลื่อน 4 ลอ

1 คอลยสปริง
2 กานควบคุมดานขาง
3 กานควบคุมดานบน
4 โชคอัพ
5 กานควบคุมดานลาง

C แบบแผนสปริง (แหนบ)
ปลายเพลาที่เชื่อมติดกับลอทั้ง 2 ดานจะมี
แผนสปริงยึดอยู โดยแผนสปริงทั้งสองจะ
ติดตัง้ ตามแนวยาวของตัวถังรถ
และขนานกัน แรงที่กระทํากับเพลาจะ
สงแรงไปทีต่ ัวถัง โดยผานสปริงแผน
ระบบนี้โดยปกติจะติดตั้งกับระบบรองรับ
หลังของรถตูและรถบรรทุก เนื่องจากมี
โครงสรางไมซับซอนและมีความแข็งแรง
ทนทานสูง

1 เสื้อเพลาหลัง
2 โชคอัพ
3 แผนสปริง (แหนบ)

(2/3)

- 12 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ระบบรองรับอิสระ
ลอแตละลอจะเชื่อมตอกับปกนกอิสระ ซึ่ง
มันจะยึดติดกับตัวถังรถโดยผานสปริง
ระบบรองรับนี้จะดูดซับแรงสั่นสะเทือนไดดี
ในถนนขรุขระ และใหสมรรถนะในการ
ขับขี่ที่ดีเยี่ยม เพราะวาลอแตละขางจะขึ้น-
ลงเปนอิสระ

A แบบแมคเฟอรสันสตรัท
ระบบนี้จะไมมปี กนกบน ทําใหโครงสราง
ไมซับซอนเทากับแบบปกนกคู
และสามารถใหบริการไดสะดวกเพราะ
วามีชิ้นสวนที่นอยกวา
โดยปกติจะใชกับรถขับเคลื่อนลอหนา

1 เหล็กกันโคลง
2 ปกนกลาง
3 คอลยสปริง
4 โชคอัพ

B แบบปกนกคู
ืประกอบดวยปกนกบนและปกนกลาง ซึ่ง
มันจะเชื่อมตอกับลอ ปกนกจะรับแรงใน
แนวราบและแนวตั้ง ทําใหสปริงรับแรง
เฉพาะแรงแนวดิ่ง
ถึงแมวาโครงสรางจะซับซอน เพราะวามี
ชิ้นสวนจํานวนมาก แตมันก็มีความแข็งแรง
เนื่องจากโครงสรางออกแบบใหเปนอิสระ
ใหความนิ่มนวล และเสถียรภาพในการ
ขับขี่ โดยนิยมใชในรถขับเคลือ่ นลอหลัง

1 ปกนกบน
2 โชคอัพ
3 คอลยสปริง
4 ปกนกลาง
5 เหล็กกันโคลง

- 13 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

C แบบกึ่งแขนตาม
ระบบรองรับหลังจะติดตัง้ ทํามุมกับชุด
รองรับดานหลัง เพื่อที่จะทําใหรับแรง
ดานขางไดมากกวา การออกแบบนี้ทาํ ให
มีความแข็งแรงและทนทานกวา โดยทั่วไป
จะใชกับรถขับเคลื่อนลอหลัง

1 โชคอัพ
2 เหล็กกันโคลง
3 คอลยสปริง
4 คานรองรับหลัง
5 ปกนกดานหลัง
(3/3)

ระบบรองรับดวยอากาศ
ใชสปริงอากาศที่มีความยืดหยุนแทนที่
สปริงชนิดโลหะ ดูดซับแรงสั่นสะเทือน
และใหความรูส ึกในการขับขี่ที่ดีเยี่ยมเนื่อง
จากใชสปริงอากาศ
คอมพิวเตอรจะเปลี่ยนแรงดันของอากาศ
โดยขึ้นอยูกับสภาวะการขับขี่, ความออน
และความยาวของสปริง (เชน ความสูง
ของตัวรถ) สามารถเปลี่ยนแปลงได
1 สปริงอากาศ

2 หองอากาศรอง

3 หองอากาศหลัก

4 ไดอะแฟรม

5 คอมเพรสเซอร

ขอแนะนํา:
มีระบบรองรับแบบอากาศอีกชนิด
เรียกวา "AHC" (Active Height
Control)
ซึ่งจะใชแรงดันไฮดรอลิคปรับความสูง
ต่าํ ของตัวรถ
(1/1)

- 14 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

มุมลอ
รถยนตจะตองมีสมรรถนะในการวิ่งทาง
ตรง เพื่อใหมีเสถียรภาพในการขับขี่ จะตอง
มีสมรรถนะในการเลีย้ วโคงเพื่อที่จะทําให
การขับขี่ในขณะเลี้ยวโคงไดดี
ดังนั้น ลอของรถยนตจึงตองมีมุมที่ทาํ กับ
พื้นผิวถนนและจุดประสงคของระบบ
รองรับนี้ เรียกวา ศูนยลอ

A มุมแคมเบอร
มุมนี้คือมุมการเอียงของลอหนารถยนตซึ่ง
สามารถมองจากดานหนา
มุมนี้จะสงผลกระทบตอสมรรถนะการเลี้ยว
โคงของรถยนต

θ a : มุมแคมเบอร
มุมนี้เกิดจากเสนกึ่งกลางของลอเอียงออก
จากแนวตัง้ ฉากจากพื้น

- 15 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

B มุมคิงพิน (มุมแกนบังคับเลี้ยว)
คือมุมการเอียงของแกนบังคับเลี้ยว
ซึ่งจะเอียงจากลอรถยนตตามรูปภาพ
θ b: มุมคิงพิน
มุมการเอียงของแกนบังคับเลี้ยว
L: คิงพินออฟเซ็ท
คือระยะการวัดบนผิวถนน ระหวางจุด
ศูนยกลางของยางและจุดศูนยกลางแกน
บังคับเลี้ยวที่ลากลงมาตัดบนพื้นถนน
ขอแนะนํา:
มุมคิงพิน คือเสนซึ่งลากจากลูกหมาก
ตัวบนและลูกหมากตัวลาง และจุด
ศูนยกลางการหมุนของลอหนาเมื่อ
หมุนพวงมาลัย

1 ลูกหมากตัวบน
2 ลูกหมากตัวลาง

C มุมแคสเตอร
เมื่อมองจากดานขางของตัวรถ ซึ่งแกนสลัก
ลอหนาจะเอียงไปดานหลัง
θ c : ÁØÁá¤ÊàµÍÃì
คือมุมระหวางแกนบังคับเลี้ยวและ
เสนแนวดิ่ง มุมนี้จะเพิ่มแรงในการดึงกลับ
ของลอรถมายังตําแหนงลอตรง ทําให
รถยนตสามารถวิ่งในทางตรง
L : ระยะแคสเตอร
คือ ระยะระหวางจุดศูนยกลางของยาง
ลากตัดกับพื้นถนนและจุดศูนยกลางของ
แกนบังคับเลี้ยวตัดกับพื้นถนน
ระยะแคสเตอรทาํ ใหรถยนตมีสมรรถนะใน
การรักษาการวิ่งทางตรงไดดี

- 16 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

D รัศมีเลีย้ ว
คือ มุมการหมุนของลอหนา เมือ่ มีการหมุน
พวงมาลัย
ลอดานนอกและลอดานในจะมีมุมที่
แตกตางกันดังนั้นสามารถเขียนเปนวงกลม
ไดโดยใชจุดศูนยกลางเดียวกัน เพื่อที่จะ
ใหสมรรถนะในการเลี้ยวโคงของรถยนต
θo: มุมการเลี้ยวของลอดานนอก
θi : มุมการเลี้ยวของลอดานใน
O : จุดศูนยกลางการเลี้ยว

E มุมโท (โท-อินและโท-เอาท)
เมื่อมองจากดานบนของตัวรถ โดยลอดาน
หนาและลอดานหลังหุบเขาดานใน เรียกวา
โท-อิน และมันจะชวยในการวิ่งทางตรง
ในทางตรงขาม โท-เอาท คือมุมที่ลอ
ถางออกดานนอก

1 โท-อิน
2 โท-เอาท

(1/1)

- 17 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

บังคับเลี้ยว ฺบังคับเลี้ยว
ในระบบบังคับเลี้ยว ลอดานหนาของ
รถยนตถูกเลี้ยวโดยการหมุนของพวงมาลัย
มีดวยกัน 2 แบบ คือ
แบบเฟองขับและเฟองสะพาน
(แร็คแอนดพีเนียน)
และแบบลูกปนหมุนวน

แบบเฟองขับและเฟองสะพาน
จะเปลี่ยนการเคลื่อนที่ของการหมุน
พวงมาลัย เปนการเคลื่อนที่ทางซาย
หรือขวาของเฟองสะพาน โครงสรางนี้เปน
แบบงายๆ และมีนา้ํ หนักเบา ซึ่งระบบนี้จะ
ทําใหการเลีย้ วรถไดอยางแมนยําและมัน่ คง

1 พวงมาลัย
2 แกนพวงมาลัยและปลอกพวงมาลัย
3 เฟองพวงมาลัย
4 เสื้อเฟองสะพาน
5 พีเนียน (เฟองขับ)
6 แร็ค (เฟองสะพาน)
(1/1)

แบบลูกปนหมุนวน
แบบนี้จะมีลูกบอลจํานวนมากอยูระหวาง
เพลาตัวหนอนและเพลาขวาง

1 พวงมาลัย
2 แกนพวงมาลัยและปลอกพวงมาลัย
3 เฟองพวงมาลัย
4 กานตอบังคับเลี้ยว
5 ลูกปน
6 นัตลูกปน
7 เพลาขวาง
8 เพลาตัวหนอน

(1/1)

- 18 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

พวงมาลัย
พวงมาลัยเปนชิ้นสวนที่ใชเปลีย่ นทิศทาง
ของลอหนาตามความตองการของผูขับขี่
หัวขอในการบํารุงรักษาจะรวมถึงการ
ตรวจสอบระยะฟรีของพวงมาลัยดวย

1 พวงมาลัย
2 แกนพวงมาลัย
3 ปลอกพวงมาลัย

(1/1)

พวงมาลัย
การทํางานของระบบบังคับเลี้ยวตางๆ

A กลไกปรับเอนพวงมาลัย
ทําใหคนขับสามารถปรับมุมเอน
พวงมาลัยตามความตองการ

- 19 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

B กลไกปรับระดับพวงมาลัย
ทําใหคนขับสามารถปรับพวงมาลัยขึ้นลง
ไดตามความตองการ

C กลไกดูดซับแรงกระแทก
เมื่อมีแรงกระทําตอพวงมาลัยในลักษณะ
รถชน จะทําใหแกนและปลอกพวงมาลัย
ดูดซับแรงกระแทก และทําใหเกิดการ
ยุบตัวลง

1 สภาวะปกติ
2 หลังเกิดการชน

(1/1)

กลไกล็อคพวงมาลัย
เพื่อปองกันการขโมย กลไกนี้จะทําการ
ล็อคแกนพวงมาลัยและปลอกพวงมาลัย
เมื่อมีการดึงพวงกุญแจออก

A ตําแหนงอิสระ
B ตําแหนงล็อค

1 กุญแจสตารท
2 ล็อค
3 แกนพวงมาลัย
(1/1)

- 20 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

พวงมาลัยเพาเวอร
พวงมาลัยเพาเวอร
เปนอุปกรณพิเศษสําหรับการบังคับเลี้ยว
โดยติดตั้งอยูในระบบบังคับเลี้ยว ซึ่งกลไก
จะชวยลดแรงในการบังคับเลี้ยวของผูขับขี่
อุปกรณที่ชวยเพิ่มแรงในการบังคับเลี้ยวมี
อยู 2 แบบคือ:
แบบที่ใชระบบไฮโดรลิคและ
แบบที่ใชมอเตอร

ระบบพวงมาลัยเพาเวอรแบบไฮโดรลิค
ระบบพวงมาลัยเพาเวอรจะใชกาํ ลังจาก
เครื่องยนตไปขับเวนปมเพื่อสรางแรงดันน้าํ
มันไฮดรอลิค เมื่อหมุนพวงมาลัย วงจร
น้าํ มันจะเปดวาลวควบคุม ในขณะเดียวกัน
แรงดันน้าํ มันจะไปดันลูกสูบภายใน
กระบอกสูบเพาเวอรและแรงดันนี้จะไปชวย
ลดแรงในการบังคับเลี้ยว ดังนั้นจําเปน
อยางยิ่งที่ตองตรวจสอบการรั่วของน้าํ มัน
พวงมาลัยตามระยะ

1 ถังเติมน้าํ มันพวงมาลัยเพาเวอร
2 เวนปม
3 วาลวควบคุม
4 เสื้อเฟองสะพาน
5 ลูกสูบ
6 พวงมาลัย
7 เครื่องยนต

(1/1)

- 21 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ขอมูลอางอิง
A ¾Ç§ÁÒÅÑÂà¾ÒàÇÍÃìäδÃÍÅԤ俿éÒ
(EHPS)
โดยปกติ พวงมาลัยเพาเวอรจะใชแรงขับ
จากเครื่องยนตเพื่อขับเวนปม
เพื่อสรางแรงดันไฮดรอลิค อยางไรก็ตาม
ระบบ EHPS ใชมอเตอรไฟฟา เพื่อลดแรง
ที่ใชหมุนพวงมาลัย

B ¾Ç§ÁÒÅÑÂà¾ÒàÇÍÃìÁÍàµÍÃìä¿¿éÒ
(EMPS)
EMPS จะชวยลดภาระการทํางาน
ของพวงมาลัย โดยไดรับแรงขับโดยตรง
จากมอเตอรไฟฟาไมใชจากแรงดัน
ไฮดรอลิค

1 ถังเติมน้าํ มันพวงมาลัยเพาเวอร
2 เวนปมพรอมมอเตอร
3 กลอง ECU EMPS
(ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
4 มอเตอรไฟฟา
(1/1)

เบรก àºÃ¡
àºÃ¡¨ÐªèÇÂÅ´¤ÇÒÁàÃçÇËÃ×ÍËÂشöËÃ×Í
»éͧ¡Ñ¹Ã¶à¤Å×è͹·Õ袳Шʹ

- 22 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

1 เบรกเทา

2 เบรกมือ

(1/1)

เบรก เบรกเทา
เบรกเทาจะใชควบคุมความเร็วรถและ
การหยุดรถ
โดยทั่วไป ดิสกเบรกจะใชกับลอหนา
สวนลอหลังจะใชดิสกเบรกหรือดรัมเบรก

1 แปนเหยียบเบรก
2 หมอลมเบรก
3 แมปมเบรก
4 วาลวปรับแรงดันน้าํ มันเบรก(P วาลว)
5 ดิสกเบรก
6 ดรัมเบรก
(1/7)

- 23 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

จากการทํางานตามรูปภาพ
เมื่อเหยียบแปนเบรก แรงดันไฮดรอลิค
จะเพิ่มขึ้น
• ดิสกเบรก:
หยุดการหมุนของลอดวยแรงเสียดทาน
ที่เกิดขึ้นระหวางผาเบรกซึ่งกดเขากับ
จานเบรก
• ดรัมเบรก:
ฝกเบรกถางออก เพื่อหยุดการหมุนของ
ลอดวยแรงเสียดทาน ซึ่งเกิดขึ้นโดยการ
ดันผาเบรกใหแนบกับดรัมเบรก

1 แปนเบรก
2 หมอลมเบรก
3 แมปมเบรก
4 คาลิปเปอรเบรก
5 ผาดิสกเบรก
6 จานเบรก
7 ดรัมเบรก
8 ผาเบรก
9 ฝกเบรก
(2/7)

- 24 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

A แปนเบรก
เปนสวนที่ใชรับแรงจากเทาคนขับ ซึ่งแรงนี้
จะเปลี่ยนเปนแรงดันไฮดรอลิคใน
ระบบเบรก
ซึ่งแรงดันไฮดรอลิคนี้แปรผันตามแรง
เหยียบแปนเบรกของผูขับขี่
ดังนั้นในการบํารุงรักษาจึงจําเปนตองมีการ
ตรวจสอบความสูงของแปนเบรกและ
ระยะฟรีแปนเบรก
B หมอลมเบรก

คืออุปกรณที่เพิ่มแรงสําหรับไปดันแมปม
เบรก โดยแรงที่แปนเบรกขึ้นอยูกับการ
1 ถวยน้าํ มันเบรก เหยียบแปนเบรกของคนขับ
2 กระบอกเบรก สูญญากาศจากทอรวมไอดีจะเปนตัวผอน
3 ไปลอหนา (เบรก) แรงในการเหยียบเบรก
4 ไปลอหลัง (เบรก) C แมปมเบรก

อุปกรณที่เปลีย่ นแรงดันจากการเหยียบ
เบรกไปเปนแรงดันไฮดรอลิค
ประกอบดวย ถวยน้าํ มันเบรกและ
กระบอกเบรก ซึ่งเปนตัวสรางแรงดัน
ไฮดรอลิค
แรงดันไฮดรอลิคนี้จะสงไปดันลูกสูบ
คาลิปเปอรเบรกของลอหนาและลอหลัง
แลวจึงไปดันผาเบรก
ในตารางบํารุงรักษาจึงตองมีการเปลี่ยนน้าํ
มันเบรก

(3/7)

- 25 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ผาดิสกเบรกจะถูกดันใหตา นการหมุนของ
จานดิสกเบรกกับลอรถ ซึ่งมันจะสราง
แรงเสียดทานขึ้น เพื่อควบคุมการหมุน
ของลอ
คาลิปเปอรดิสกเบรก
ลูกสูบเบรกจะดันผาดิสกเบรกใหตานการ
หมุนของจานดิสกเบรกโดยแรงดันน้าํ มัน
ไฮดรอลิคที่ไดจากแมปมเบรก

A กอนทํางาน
B ระหวางทํางาน

1 คาลิปเปอรดิสกเบรก
2 ผาดิสกเบรก
3 จานดิสกเบรก
4 ลูกสูบ
5 น้าํ มันเบรก
(4/7)

ขอมูลอางอิง :
ชนิดของคาลิปเปอรดิสกเบรก
A คาลิปเปอรดิสกเบรกแบบอยูกับที่

คาลิปเปอรชนิดนี้จะมีลูกสูบคู ดันผา
ดิสกเบรกอยูตรงขามกัน
B คาลิปเปอรดิสกเบรกอิสระ

คาลิปเปอรชนิดนี้ จะมีลูกสูบอยูดาน
เดียวของคาลิปเปอร ลูกสูบจะถูกดันดวย
แรงดันไฮดรอลิค มันจะทําใหลอรถหยุด
การเคลื่อนทีด่ วยความฝด คาลิปเปอรมี
หลายชนิด ขึ้นอยูกับการติดตัง้ แผน
ประกับเบรก
1 สลัก a แบบ FS (แบบ 2 สลัก)
2 โบลท b แบบ AD (แบบสลักเดียว, หนึ่งโบลท)
3 คาลิปเปอร c แบบ PD (แบบ 2 โบลท)
4 แผนประกับ
(1/1)

- 26 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ผาดิสกเบรก
เปนวัตถุทมี่ ีความฝดที่จะดันตานการหมุน
ของจานดิสกเบรก
หัวขอในการบํารุงรักษาจะรวมถึงการตรวจ
สอบความหนาของผาดิสกเบรก
แผนปองกันเสียงดังของผาเบรก
เพื่อปองกันเสียงดังผิดปกติขณะที่ผาเบรก
ทํางานเมื่อเหยียบเบรก

1 ผาดิสกเบรก
2 แผนปองกันเสียงดังของผาเบรก
(5/7)

จานดิสกเบรก
จานดิสกเบรคนี้เปนจานโลหะที่หมุนไป
พรอมกับลอมีทั้งหมด 3 ชนิด ไดแก
จานดิสกเบรกแบบแผนเดียวและจาน
ดิสกเบรกแบบมีชองระบายอากาศอยู
ขางใน
มีจานดิสกเบรกแบบมีดรัมเบรกอีกดวย

A แบบแผนเดียว
B แบบมีชองระบายอากาศ
C แบบมีดรัมเบรก
(6/7)

- 27 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ดรัมเบรกจะหมุนไปพรอมกับลอ ฝกเบรก
กดตานดรัมเบรกจากภายใน และแรง
เสียดทานจะควบคุมการหมุนของลอ
จึงจําเปนตองมีการตรวจสอบดรัมเบรก
และผาเบรก
ขอแนะนํา:
ฝกเบรกจะถูกกดเพื่อตานการหมุน
จานเบรกจากภายในทําใหเกิดแรงเบรก
เมือ่ กดในทิศทางเดียวกันกับการหมุน
ของดรัมเบรก ฝกเบรกเขาไปขัด
ทิศทางการหมุนดวยความฝดที่เกิดขึ้น
กับดรัมเบรก ผลที่ไดคือการเพิ่ม
ความฝด ซึ่งเรียกวาปฏิกิริยาเพิ่ม
พลังงานดวยตัวเอง
1 กระบอกเบรกที่ลอ
จะมีลกู สูบที่ติดถวยยางอยูในกระบอกสูบ ลูกสูบนี้จะสงผานแรงดันไฮดรอลิคจากแมปมเบรกไปยังฝกเบรก
และกดติดกับผาเบรก
2 ฝกเบรก

ผาเบรกคือวัตถุที่มีความฝดซึ่งกดตานการหมุนของดรัมเบรก โดยจะอยูบนผิวของฝกเบรก
ฝกเบรกของชุดกานนําจะทําปฏิกิริยาตานกลับดวยตัวเอง ซึ่งทําใหรถเคลื่อนที่
ฝกเบรกในจะติดอยูดานตรงขามกับฝกเบรกนอก
3 ผาเบรก

ผาเบรกคือวัตถุที่มีความฝดซึ่งกดตานการหมุนของดรัมเบรก โดยจะอยูบนผิวของฝกเบรก
ฝกเบรกของชุดกานนําจะทําปฏิกิริยาตานกลับดวยตัวเอง ซึ่งทําใหรถเคลื่อนที่
ฝกเบรกในจะติดอยูดานตรงขามกับฝกเบรกนอก
4 ดรัมเบรก

ดรัมจะหมุนไปพรอมกับลอ
5 ลูกสูบ

คือสวนที่รบั แรงดันไฮดรอลิคจากแมปมเบรกและกดฝกเบรกไปที่ดรัมเบรก
6 ลูกยางเบรก

คือสวนที่เปนยาง ซึ่งใชเก็บซีลน้าํ มันระหวางกระบอกสูบและลูกสูบ


(7/7)

- 28 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของดรัมเบรก
ดรัมเบรกมีแตกตางกันหลายชนิด
ขึ้นอยูกับการรวมกันของฝกนําและฝกตาม
ของฝกเบรก การใชงานใหเหมาะสมขึ้น
อยูกับวัตถุประสงค ของการใหแรงดัน
ของฝกนําและฝกตาม

A แบบฝกตามและฝกนํา
B แบบฝกคู
C แบบยูนิ-เซอรโว
D แบบดูโอ-เซอรโว

1 กระบอกเบรกที่ลอ
2 ติดกับดุม
3 กระบอกเบรกปรับตั้ง

ลูกศรสีแดง:
ทิศทางการหมุนของลอ
ลูกศรสีชมพู:
ทิศทางการเคลือ่ นที่ของลูกสูบ

จากรูปภาพซายมือจะมีสีแสดงของ
ชุดฝกเบรก
ฝกเบรกของชุดฝกนํา: สีสม
ฝกเบรกของชุดฝกตาม: สีนา้ํ เงิน
(1/1)

- 29 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

วาลวปรับแรงดันน้ํามันเบรก (P วาลว)
วาลวนี้จะถูกติดตั้งระหวางแมปมเบรก
กับเบรกลอหลัง มันจะจายแรงดัน
ไฮดรอลิคที่เหมาะสมไปที่ลอหนาและ
ลอหลัง เพื่อใหแรงเบรกคงที่
แรงดันไฮดรอลิคที่เพิ่มขึ้นจะถูกจายไป
ที่ลอ หลัง (ซึ่งอาจจะเกิดการล็อคของ
เบรกขณะที่ชะลอความเร็ว)
ซึ่งจะตั้งแรงดันไฮดรอลิคใหตา่ํ กวาลอหนา

1 หมอลมเบรก
2 แมปมเบรก
3 วาลวปรับแรงดัน (P วาลว)
4 เบรกหนาซาย
5 เบรกหลังซาย

(1/1)

- 30 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ขอมูลอางอิง:
P & BV, LSPV และ LSPV & BV
A P & BV (วาลวปรับแรงดันน้า ํ มันเบรก
และวาลวระบาย)
เมื่อวงจรแรงดันเบรกลอหนาบกพรอง
วาลวระบายจะเปดออกใหนา้ํ มันเบรก
สงไปยังกระบอกสูบที่ลอ หลังไดมากขึ้น
B LSPV (วาลวจัดอัตราสวนน้า ํ มัน
ตามน้าํ หนัก)
ทําหนาที่ควบคุมแรงดันน้าํ มันที่
กระทํากับลอหลังตามน้าํ หนักที่เปลี่ยน
แปลงไป ถารถบรรทุกมีนา้ํ หนักมาก
แรงดันน้าํ มันที่ลอหลังจะมากขึ้น
C LSPV & BV (วาลวจัดอัตราสวนน้า ํ มัน
ตามน้าํ หนักและมีวาลวระบาย)
การทํางานเหมือนกับ LSPV และ BV
รวมกัน

1 วาลวปรับแรงดันน้าํ มันเบรก (P วาลว)


2 วาลวระบาย
3 จากแมปมเบรกหนา
4 ไปยังกระบอกสูบที่ลอหนา
5 จากแมปมเบรกหลัง
6 ไปยังกระบอกสูบที่ลอหลัง
7 สปริงตรวจจับน้าํ หนัก
(1/1)

เบรกมือ
เบรกมือโดยทั่วไปจะใชขณะจอดรถ
กลไกของเบรกจะล็อคที่ลอ หลัง
การบํารุงรักษาจะตองมีการปรับตั้ง
กานดึงเบรกมือ

1 กานดึงเบรกมือ
คันที่ใชสั่งการใหเบรกมือทํางาน
2 สายเบรกมือ

สายที่สงกําลังจากคันเบรกมือไปยัง
เบรกมือ
3 เบรกหลัง

กดฝกเบรก (ผาดิสกเบรก) ใหติดกับ


ดรัม (จานเบรก) เพื่อใหรถหยุดอยูกับที่

- 31 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง
(1/1)

ขอมูลอางอิง:
ชนิดคันดึงเบรกมือ

A ชนิดคันดึงเบรกมืออยูต รงกลาง
สวนมากใชในรถเกงและรถกระบะธรรมดา

B ชนิดใชมือดึงเขาหาคนขับ
ใชในรถกระบะบางรุน

C ชนิดใชเทาเหยียบ
ใชในรถเกงที่มีราคาสูง

1 คันปลดล็อคเบรกมือ
2 แปนเหยียบ
(1/1)

ชนิดโครงสรางเบรกมือ
เบรกมือมีอยูหลายชนิด ขึ้นอยูกับชนิด
ของเบรกหลัง
เบรกมือชนิดใชรวมกับเบรกเทา
A แบบดรัมเบรก

ดึงกานเบรกพรอมสายใหฝกเบรกกดติด
กับดรัม เพื่อใหรถหยุดอยูกับที่
B แบบดิสกเบรก

ดึงคันพรอมสาย ใหผาดิสกเบรกกดติด
กับจานเบรกและลูกสูบ เพื่อใหรถหยุด
อยูกับที่
C เบรกมือแบบดรัมอยูในจานเบรก

ดึงกานเบรกพรอมสาย ใหฝก เบรกกดติด


กับดรัม เพื่อยึดจานเบรกใหอยูกับที่
D เบรกมือแบบล็อคที่เพลากลาง

ดึงกานเบรกพรอมสาย ใหฝก เบรกกดติด


กับดรัม เพื่อยึดเพลากลางใหอยูกับที่

1 ฝกเบรก
2 กานดันฝกเบรก
3 ลูกสูบ
4 แผนดิสกเบรก
5 จานดิสกเบรก
6 สายเบรกมือ
(1/1)

- 32 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ABS (ระบบปองกันเบรกล็อค)
ถาเกิดเบรกล็อคขณะทําการเหยียบเบรก
ระบบ ABS จะใชคอมพิวเตอรควบคุม
แรงดันน้าํ มันไฮดรอลิคเพื่อที่จะสงแรงดัน
น้าํ มันไปยังกระบอกเบรกและลูกสูบเบรกที่
ลอใหลดลง โดยระบบนี้จะปองกัน
จากการลื่นหรือไมสามารถควบคุมทิศทาง
ของรถได

1 ECU (ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
2 แอ็คชิวเอเตอร ABS
3 เซ็นเซอร

A มี ABS
B ไมมี ABS

(1/2)

- 33 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง
(
ขอมูลอางอิง:
ABS พรอม EBD (ระบบกระจายแรง
เบรกดวยอิเล็กทรอนิกส)
ABS พรอม EBD จะทําหนาทีก่ ระจายแรง
เบรกใหเหมาะสม ทั้งลอหนา, หลัง ลอซาย
และขวา ซึ่งขึ้นอยูกับสภาวะการขับขี่
ระบบนี้จะควบคุมแรงเบรกที่ลอหนา, หลัง
ขึ้นอยูกับน้าํ หนักที่บรรทุกและภาระที่
เปลี่ยนแปลงจากการเรงและเบรก
อยางไรก็ตาม ระบบจะควบคุมแรงเบรก
ที่ลอ ซาย, ขวา ในสภาวะที่รถกําลังเลี้ยว
หรือเขาโคงดวย

A สภาวะปกติ
B สภาวะมีนา้ํ หนักบรรทุก
C ขณะที่เบรกเขาโคง
(1/1)

BA (ระบบชวยเบรก)
ระบบนี้จะชวยเพิ่มแรงเบรกขณะที่ฉุกเฉิน
หรือเบรกกะทันหัน

แมวา ABS จะทําการเบรกไดอยางดีแลว


ก็ตาม แตแรงเบรกอาจไมเพียงพอ
ในบางสภาวะเชน เบรกกะทันหัน,
การขับลงเนินหรือบรรทุกผูโดยสารมากๆ
กรณีนี้ คอมพิวเตอรจะควบคุมแรงดัน
ไฮดรอลิค เพื่อเพิ่มแรงเบรกใหเพียงพอ

โดยคอมพิวเตอรจะวัดจากความเร็วของ
F : แรงเบรก H : เวลา A มี BA B ไมมี BA ↑: แรงเบรกที่เพิ่มขึ้น การเหยียบแปนเบรกหรือความดันที่
1 ECU (ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส) เพิ่มขึ้นของแมปมเบรก
2 แอ็คชิวเอเตอร

3 เซ็นเซอร

4 แปนเบรก
(1/1)

- 34 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

TRC (ระบบปองกันลอหมุนฟรี)
เมื่อมีแรงขับเคลื่อนมาที่ลอ ในขณะที่
รถออกตัว ระบบ TRC จะรักษาการทรงตัว
ของรถจากการลื่นไถลของลอ
โดยการลดกําลังเครื่องยนตและเพิ่มแรง
เบรก เพื่อลดการลื่นไถลของลอ

ขอแนะนํา:
ยังมีระบบ TRC อีกแบบหนึ่งเรียกวา
"Active TRC" ซึ่งใชในรถ 4WD จะใชงาน
เมื่อถนนขรุขระ โดยระบบจะปองกันลอจาก
การยกตัวออกจากพื้นและการลื่นไถล

1 ทําใหรถออกตัวและเรงเความเร็วได
อยางนุมนวลบนถนนลื่น
2 เพื่อความคลองแคลวและการทรงตัว
แมในขณะเรงความเร็ว
3 เพื่อใหรถเลี้ยวอยางมีสเถียรภาพ
แมในขณะเขาโคง
4 เพื่อใหรถออกตัวและเรงความเร็วได
อยางมัน่ คงเมือ่ ลอซายและขวายึดถนน
ในลักษณะที่ตางกัน
(1/1)

VSC (ระบบควบคุมการทรงตัวของรถ)
ระบบ VSC เปนระบบที่จะควบคุมการ
ทรงตัวของรถขณะเขาโคง
โดยจะควบคุมแรงเบรกขณะที่รถเสียการ
ทรงตัว และลดกําลังเครื่องยนต เพื่อรักษา
การทรงตัวของรถ
ขอแนะนํา:
• ชื่อเรียกอื่นของ VSC
อเมริกาเหนือ:
ระบบควบคุมการลื่นไถล
อื่นๆ : ระบบควบคุมการทรงตัวของรถ
1 ECU (ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
2 A ขณะที่เกิด understeer:
VSC แอ็คชิวเอเตอร
3 ลิน้ เรง จะสรางแรงเบรกเพิ่มที่ลอหลังดานใน
B ขณะที่เกิด oversteer:
4 G เซ็นเซอร
5 เซ็นเซอรความเร็วรถ จะสรางแรงเบรกที่ลอหนาดานนอก
6 เซ็นเซอรการเบี่ยงเบน
7 เซ็นเซอรมุมพวงมาลัย

- 35 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง
(1/1)

การทํางานของ ABS
1. เซ็นเซอรของระบบนี้จะตรวจสอบ
ความเร็วในการหมุนของลอทั้ง 4
เมือ่ ลอมีอาการล็อค ระบบนี้จะลด
แรงเบรกของลอทันทีเพื่อใหลอที่ถูก
ล็อคสามารถหมุนได
2. หลังจากที่ลอคืนสูสภาพการหมุนเดิม
อุปกรณเบรกจะกลับมาทําหนาที่
เหมือนเดิม
3. ถาลอมีการล็อคขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ระบบนี้
จะปลดปลอยแรงเบรกเฉพาะลอที่ลอ็ ค
4. ระบบนี้จะทําซ้าํ ๆ มากกวา 12 ครั้งตอ
วินาที เพื่อใหขีดความสามารถการ
ทํางานของเบรกไดสูงสุด เพื่อใหแนใจ
วารถอยูในการควบคุมและสามารถ
ควบคุมทิศทางไดอยางคลองแคลว

1 ECU (หนวยควบคุมอิเล็คทรอนิกส)
2 แอ็คชิวเอเตอร
3 เซ็นเซอร
(2/2)

- 36 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ÂÒ§ ยาง
มีชิ้นสวนมากมายที่ใชในรถยนต ยางเปน
ชิ้นสวนเดียวทีส่ ัมผัสกับพื้นถนนและรองรับ
หนาที่ 3 อยาง: การขับขี่ การเลี้ยว
และการหยุดรถ
หัวขอในการบํารุงรักษารวมถึงการ
ตรวจสอบ (ความเสียหายภายนอก
ความลึกดอกยาง และลักษณะการสึกหรอ)
การเติมแรงดันลมยาง และการสลับยาง

1 ดอกยาง
คือชั้นนอกของยางที่ปกปองโครงลวดตาม
ขวางและปองกันการสึกหรอและขาด
2 โครงลวดตามขนาน

คือยางเสริมที่ติดรอบๆ ระหวางดอกยาง
กับโครงลวดตามขวาง
3 โครงลวดตามขวาง

จะหลอขึ้นเปนโครงรางของยางและตัวยาง
4 ผาใบชั้นใน

คือชั้นของยางที่เปนยางใน ซึ่งติดอยูที่ผนัง
ดานในของยาง
5 ลวดขอบยาง

ยึดยางเขากับขอบยาง

A ยางเรเดียล
เปรียบเทียบกับยางไบแอส ยางเรเดียลจะ
มีการปดตัวของดอกยางนอยกวา ดังนั้น
จึงใหการเกาะถนนและสมรรถนะในการ
เขาโคงดีกวา เพราะวามีดอกยางที่แข็งกวา
แตมันจะมีผลตอกระเดงกระดอนบน
ผิวถนน ทําใหความรูสึกสบายในการขับขี่
ลดลงเล็กนอย
B ยางไบแอส

เปรียบเทียบกับยางเรเดียล ยางนี้จะใหการ
ขับขี่ที่นุมกวา แตสมรรถนะในการเขาโคง
จะดอยกวายางเรเดียล

(1/1)

- 37 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ขอมูลอางอิง:
ประเภทและลักษณะของยาง
A ชนิดมียางใน

มียางในที่สามารถสูบลมใหพองได
B ชนิดไมมียางใน

ยางชนิดนี้จะมีซีลของยางพิเศษเรียกวา
'ลวดขอบยาง' อยูแทนที่ยางใน
C ชนิดแกมเตี้ย

ยางชนิดนี้จะมีพื้นทีห่ นาตัดของยางต่าํ
และมี aspect ratio หรือ ซีรีส60%*
เวลาเลี้ยวหรือเขาโคง ยางจะยุบตัวนอย
จึงสงผานแรงไดมาก
1 ยางใน
*: Aspect ratio = ความสูง/ความกวาง x
2 วาลว
100%
3 ลวดขอบยาง D ชนิดไมมีลม
4 ยางเสริมดานขาง
ที่ผนังของยางชนิดนี้จะมียางเสริมอยู
ทําใหเมื่อเกิดการรั่วหรือแบนจนแรงดันลม
ยางเปนศูนย รถจะสามารถวิ่งไดอีก
ประมาณ 100 กม. (62 ไมล) ที่ความเร็ว
สูงสุดไมเกิน 60 กม./ชม. (37 ไมล)
E ยางอะไหล (ชนิดที)

ใชเมื่อยางปกติไมสามาถใชงานได
โดยยางชนิดนี้จะมีแรงดันลมยางสูง และ
เสนทแยงมุมแคบ
(1/1)

รหัสการตรวจสอบของยาง
ขนาด, ประสิทธิภาพและโครงสรางของยาง
ซึ่งแสดงไวที่แกมของยาง
ภาพทางดานซายมือจะบอกขนาดและ
ขอมูลตางๆ ของยาง

H ความสูงยาง
W ความกวางยาง
D1 ขนาดเสนผาศูนยกลางของกระทะลอ
D2 ขนาดเสนผาศูนยกลางภายนอก

(1/2)

- 38 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

ขอมูลอางอิง:
วิธีอานสัญลักษณของยาง

1. ยางเรเดียล

2. ระบบรหัสยางตามมาตรฐาน ISO
(International Standardization
Organization)

- 39 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

3. ยางไบแอส

4. ยางอะไหล (ยางแบบที)

(1/2)

- 40 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

อัตราสวนของยาง
อัตราสวนความสูงของแกมกับหนากวาง
ของยางจะบอกเปน %

อัตราสวน = H / W x 100(%)

W ความกวาง
H ความสูง

• ยางที่อตั ราสวนสูง
ประสิทธิภาพในการเขาโคงลดลง
ใหการขับขี่ที่นุมนวล เหมาะสําหรับ
รถครอบครัว
• ยางที่มอ ี ัตราสวนต่าํ
ความนุมนวลในการขับขี่นอยลง
เหมาะสําหรับรถสปอรตเพราะเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเขาโคงมากขึ้น
(2/2)

กระทะลอ กระทะลอ
กระทะลอเปนชิ้นสวนที่มีรูปรางทรงกลมซึง่
จะติดอยูกับยางรถยนต เพื่อทําหนาที่
พื้นฐาน 3 อยาง: การขับขี่, การเลี้ยวและ
การหยุด

A กระทะลอเหล็กอัดขึ้นรูป(ลอเหล็ก)
กระทะลอเหล็กอัดขึ้นรูปจะมีนา้ํ หนักมาก
แตแข็งแรง
B กระทะลอหลออัลลอย(ลอแม็ก)

กระทะลอหลออัลลอย มันจะมีนา้ํ หนักเบา


เพื่อออกแบบใหใชไดอยางดีเยี่ยม เมื่อ
เปรียบเทียบกับกระทะลอเหล็กจะรับแรง
ไดนอยกวา
(1/2)

- 41 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

รหัสเฉพาะของกระทะลอ
ขนาดของกระทะจะถูกกําหนดไวบนขอบ
ของกระทะลอ

A กระทะลอเหล็กอัดขึ้นรูป
B กระทะลอหลออัลลอย

1 ความกวางของกระทะลอ
2 ขอบกระทะลอ
3 ออฟเซ็ท
4 เสนผาศูนยกลางขอบกระทะลอ
5 ศูนยกลางกระทะลอ
6 P.C.D.(เสนผานศูนยกลางระยะพืตช)
7 หนาแปลนกระทะลอ
(2/2)

ขอมูลอางอิง:
วิธีอานขนาดของกระทะลอ
*1 : รหัส "J" และ "JJ" ถูกใชบอยครั้ง
ขึ้นอยูกับรูปรางของหนาแปลนกระทะลอ
JJ จะบางกวา J ซึ่งทําใหยางรับแรง
กระเทือนนอยหรือไมมีเลย

(1/1)

- 42 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย
วาลวปรับแรงดัน (Pวาลว) จะกระจายแรงดันไฮดรอลิค
1 ถูก ผิด
ที่กระทําตอเบรกหนาและหลัง เพื่อแรงเบรคที่สมดุล
ดรัมเบรกจะหยุดการหมุนของลอ โดยใชแรงเสียดทานที่ถูกสราง
2 ถูก ผิด
เมือ่ ผาเบรกบีบชนกับดรัม
3 แมปมเบรกจะเปลี่ยนแรงเบรกที่แปนเบรกไปเปนแรงดันไฮดรอลิค ถูก ผิด
4 ยางคือ ชิ้นสวนเดียวของรถยนตที่สัมผัสกับผิวถนน ถูก ผิด
สปริงแผน (แหนบ) ใชประโยชนจากความยืดหยุนของการบิดตัว
5 ถูก ผิด
และใชในรถบรรทุก

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้ อธิบายเกี่ยวกับระบบคานแข็งไดอยางถูกตอง?

1. ระบบคานแข็ง จะใชแขนรองรับแยกลอซายขวา โดยติดตั้งกับโครงรถผานสปริง


2. ระบบคานแข็ง จะใชเพลาทอนเดียวยึดเขากับลอซายและขวา โดยติดตั้งกับโครงรถโดยผานสปริง
3. แมคเฟอรสันสตรัท คือ ระบบรองรับคานแข็งชนิดหนึ่ง
4. ระบบรองรับแบบกึ่งแขนตาม (semi-trailing arm type suspension) คือ ระบบคานแข็งชนิดหนึ่ง

- 43 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ชวงลาง
คําถาม-3
จากรูปภาพดานลาง ขอใดแสดงมุมแคสเตอรไดถูกตอง
¡ ¢

¤ §

A. B. C. D.

คําถาม-4
จากกลุมคําอยูดานลาง จงเลือกขอที่อธิบายประโยคตอไปนี้ไดเหมาะสมที่สุด:
ขอ คําถาม
1 ระบบนี้ใชคอมพิวเตอรควบคุมแรงดันไฮดรอลิคที่แมปมเบรก เพื่อปองกันลอจากการล็อคตัว เมื่อเบรกกะทันหัน
2 ระบบนี้ ควบคุมแรงดันไฮดรอลิค เพื่อสรางแรงเบรก เมื่อคอมพิวเตอรพบวาอยูในสภาวะเบรกกะทันหัน
3 ระบบนี้จะชวยในการทรงตัว โดยการปองกันลอลื่นไถลเมื่อมีแรงมากระทําที่ลอ เชน เมื่อรถออกตัว
4 ระบบนี้จะชวยในการควบคุมการทรงตัวของรถในขณะเลี้ยวหรือเขาโคง
ก) TEMS ข) VSC ค) TRC ง) ABS จ) BA

คําถาม: 1. 2. 3. 4.

- 44 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
ไฟฟาเครื่องยนต ไฟฟาเครื่องยนต
ชิ้นสวนอุปกรณตางๆมีความจําเปนสําหรับ
การสตารทเครื่องยนตและทําให
เครื่องยนตทาํ งานอยางราบรื่น

1 แบตเตอรี่
เปนตัวจายไฟใหกับชิ้นสวนไฟฟาตางๆ
ในรถ
2 มอเตอรสตารท (ระบบสตารท)

คือระบบที่ใชสตารทเครื่องยนต
3 อัลเทอรเนเตอร (ระบบไฟชารจ)

คือระบบที่จายไฟฟาสําหรับใชในรถยนต
และชารจแบตเตอรี่
4 คอลยจุดระเบิด (ระบบจุดระเบิด)

คือระบบที่จุดระเบิดสวนผสมเชื้อเพลิงกับ
อากาศ
5 สวิตชจุดระเบิด

คือสวิตชหลักของรถ
6 มาตรวัดรวม (ไฟเตือนไฟชารจ)

จะติดขึ้นหากไมสามารถชารจไฟได
7 เซ็นเซอรตางๆ

คือสวนที่ตรวจจับอุณหภูมนิ า้ํ หรือ


ความเร็วเครื่องยนต และสงตอไปยัง ECU
(1/1)

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
แบตเตอรี่ แบตเตอรี่
แบตเตอรี่เปนอุปกรณที่สามารถประจุไฟได
ซึ่งจะใหพลังงานสําหรับอุปกรณไฟฟาใน
ขณะที่เครื่องยนตหยุดทํางานเมือ่
เครื่องยนตทาํ งาน แบตเตอรีจ่ ะประจุ
กระแสไฟไวใชสาํ หรับระบบไฟฟาใน
รถยนต
ขอแนะนํา:
การตรวจสอบแบตเตอรี่จะประกอบไป
ดวย การตรวจสอบระดับและคา
ความหนาแนนของน้าํ กลัน่ แบตเตอรี่
คําเตือน:
เมือ่ มีการปฎิบัติการเกี่ยวกับแบตเตอรี่
จะตองระมัดระวังดังตอไปนี้:
• เก็บแบตเตอรีใ่ หหางจากไฟระหวาง
การประจุไฟ เพราะแกสไฮโดรเจน
จะเกิดการแพรกระจาย
• ระวังน้าํ กรดแบตเตอรี่ ซึ่งจะมี
กรดซัลฟูริค, ใหหางจากรางกาย,
เสื้อผาหรือตัวถังรถยนต

1 ขั้วลบ
คือสวนของแบตเตอรี่ที่ตอกับสายขั้วลบ
2 รูระบาย

ระบายไอแกสขณะจายประจุ
ซึ่งจะเสียบเขากับน้าํ กลัน่
3 เครื่องหมายบอกระดับ

ใชในการตรวจเช็คสถานะการชารจหรือ
ระดับของน้าํ กลั่น
4 ขั้วบวก

คือสวนของแบตเตอรี่ที่ตอกับสายขั้วบวก
5 น้า ํ กรดแบตเตอรี่
ปฎิกิริยาเคมีของแผนธาตุที่จายและ
คายประจุ
6 ซี่

แตละเซลลจะจายกระแสไฟฟาออกมา
ประมาณ 2.1 V
7 แผนธาตุ

ประกอบไปดวยแผนธาตุขั้วบวกและลบ
(1/2)

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
แบตเตอรี่
หลักการประจุไฟและการคายประจุ
แบตเตอรี่จะประจุและคายประจุพลังงาน
ไฟฟาโดยผานปฏิกิริยาทางเคมีของน้าํ กรด

1 การคายประจุ
พลังงานไฟฟาจะถูกสรางขึ้นเมื่อกรด
ซัลฟูริกของน้าํ กรดทําปฏิกริยากับตะกั่ว
เและกลับกลายเปนน้าํ ในขณะเดียวกันนี้
กรดซัลฟูรกิ จะรวมตัวกับแผนธาตุ เปนเหตุ
ใหแผนขั้วบวกและขั้วลบกลายเปนตะกั่ว
ซัลเฟต
H2SO4:ซัลฟูริค H2O:น้าํ H2:ไฮโดรเจน O2:ออกซิเจน 2 การเก็บประจุ

เพราะกรดซัลฟูริกถูกคายประจุจาก
แผนธาตุ น้าํ ยาอิเล็กโทรไลทจะกลับกลาย
เปนกรดซัลฟูริก และคาความถวงจําเพาะ
ของน้าํ ยาอิเล็กโทรไลทจะเพิ่มขึ้น แผนธาตุ
ขั้วบวกจะกลายเปนตะกั่วออกไซด และ
แผนธาตุขั้วลบจะกลายเปนตะกั่วธรรมดา
A คายประจุกระแสไฟฟา

B เก็บไฟฟากระแสไฟฟา

ขอแนะนํา:
เมือ่ เกิดปฏิกริยาทางเคมี
(การแยกตัวของน้าํ ดวยไฟฟา)
จะเกิดขึ้นกับน้าํ ยาอิเล็กโทรไลท
ระหวางการประจุ แผนธาตุขั้วบวก
จะสรางกาซออกซิเจนและแผนธาตุ
ขั้วลบจะสรางกาซไฮโดรเจน
เนื่องจากการแยกตัวของน้าํ ดวยไฟฟา
ปริมาณน้าํ ยาอิเล็กโทรไลทจะลดลง
ดังนั้นจึงมีความจําเปนทีจ่ ะตองเติมน้าํ
กลั่นใหมทดแทน

(1/1)

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
รหัสขอมูลจําเพาะแบตเตอรี่ซึ่งจะทํา
เครื่องหมายไวบนตัวแบตเตอรี่ จะกําหนด
ขนาดและการทํางาน รวมทั้งความจุของ
กระแสไฟที่เก็บในแบตเตอรี่ ความจุของ
แบตเตอรี่

1 ความจุของแบตเตอรี่
แสดงถึงปริมาณของประจุไฟฟาใน
แบตเตอรี่ (ความจุของแบตเตอรี่)
ที่สามารถเก็บได ตัวเลขยิ่งมากจะบอกถึง
ประจุไฟฟาที่แบตเตอรี่สามารถเก็บไดมาก

ความจุของแบตเตอรี่ (AH) =
ปริมาณการคายประจุกระแสไฟฟา X
ระยะเวลาในการคายประจุ

2 ความกวางและความสูงของแบตเตอรี่
ขนาดความกวางและความสูงของแบตเตอรี่
จะแสดงเปนตัวอักษร 1 ใน 8 ตัว (A ถึง H)
อักษร H จะเปนขนาดความกวางและ
ความสูงของแบตเตอรีท่ ี่มากที่สุด
a ความกวาง

b ความสูง

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
3 ความยาวของแบตเตอรี่
แสดงถึงความยาวของแบตเตอรี่ มีหนวย
เปนเซนติเมตร (ซม.)
a ความยาว

ตัวอยาง:
ถามีตัวเลข "19" แสดงวามี
ความยาว 19 ซม.

4 ตําแหนงของขั้วลบ
แสดงถึงตําแหนงของขั้วลบวาอยูทางซาย
(L) หรือทางขวา (R) ของแบตเตอรี่
เมื่อดูจากดานหนา (ทิศทางที่สามารถ
อานรหัสขอมูลจําเพาะไดถูกตอง)

(2/2)

แบตเตอรี่
เสนผาศูนยกลางขั้ว
ขั้วบวก (+) และขั้วลบ (-) ของ
แบตเตอรี่มขี นาดเสนผาศูนยกลางที่
แตกตางกัน เพื่อหลีกเลีย่ งการตอผิดขั้ว

(1/1)

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
ระบบสตารท ระบบสตารท
ระบบสตารทเปนระบบที่ทาํ ใหเครือ่ งยนต
หมุนเพื่อเริ่มตนทํางานโดยใชมอเตอร
ไฟฟา

1 แบตเตอรี่
2 สวิตชจุดระเบิด
3 มอเตอรสตารท

(1/2)

ระบบสตารท
มอเตอรแบงออกไดเปน 4 ชนิด ตามรูปที่
แสดงทางดานซายมือ
A แบบทั่วไป

เปนมอเตอรสตารทชนิดหนึ่งซึง่ มี
ทุนอารเมเจอรและเฟองขับ
ซึ่งหมุนไปตามทิศทางเดียวกัน
B แบบเฟองทด

เปนมอเตอรสตารทชนิดที่มีเฟองทด
ระหวางเฟองขับกับเฟองตาม เพื่อลดการ
หมุนของทุนอารเมเจอรและสงกําลังไป
ขับเฟองขับ
1 เฟองขับ C แบบแพลนเนตตารี่

2 ทุนอารเมเจอร เปนมอเตอรสตารทชนิดหนึ่งซึง่ มีเฟอง


3 เฟองทด แพลนเนตตารี่ ซึ่งลดการหมุนของ
4 เฟองแพลนเนตตารี่ ทุนอารเมเจอร มันมีขนาดกะทัดรัดกวา
5 แมเหล็กถาวร และมีนา้ํ หนักเบากวาชนิดแบบเฟองทด
D แบบผสม

แมเหล็กแบบถาวรถูกใชในฟลดคอลย
ทุนอารเมเจอรถูกสรางใหมีขนาดเล็ก
ดังนั้นจึงทําใหความยาวของ
มอเตอรสตารทชนิดนี้สั้นลงกวาเดิม

(1/1)

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
การทํางานของมอเตอรสตารท
มอเตอรสตารทจะหมุนเครื่องยนต โดย
เฟองขับจะเลือ่ นออกไปขบกับเฟองลอ
ชวยแรง

1 สวิตชกุญแจ
2 ขดลวดดึง
3 ขดลวดยึด
4 ฟลดคอลย
5 ทุนอารเมเจอร
6 คลัตช
7 เฟองพีเนียน
8 ริงเกียร
A. ขณะสตารทเครื่องยนตหมุน

เมื่อหมุนสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง START
กระแสไฟจะไหลไปยังขดลวดดึงและ
ขดลวดยึด ดังนั้นเฟองขับจะเลื่อนไปขบกับ
เฟองของลอชวยแรง ในชวงเวลาเดียวกัน
กระแสจะไหลไปยังขดลวดสนามแมเหล็ก
ทําใหมอเตอรสตารทหมุน ในการเคลื่อนที่
นี้จะสงกําลังไปสูเฟองขับ เฟองลอชวยแรง
และเพลาขอเหวี่ยงเพื่อทําใหเครื่องยนต
หมุน
ขอแนะนํา:
เมือ่ เครื่องยนตสตารทติด เฟองลอ
ชวยแรงจะขับทุนอารเมเจอร เพื่อ
ปองกันมอเตอรจากการหมุนของ
เครื่องยนต คลัตชจะทําหนาที่นี้
เพื่อลดการเสียหายของทุนอารเมเจอร
จากการหมุนที่รอบความเร็วสูง

- 7 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
B. หลังสตารทเครื่องยนต
เมื่อปลอยสวิตชจุดระเบิดจากตําแหนง
START ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟา
ที่ไหลไปยังขดลวดจึงจะเปลี่ยนแปลง และ
เฟองขับจะเลือ่ นกลับไปยังตําแหนงเดิม
และเมือ่ กระแสไฟฟาหยุดไหลไปยังขดลวด
สนามแมเหล็ก มอเตอรก็จะหยุดหมุน

(2/2)

ระบบไฟชารจ ระบบไฟชารจ
ระบบไฟชารจจะผลิตกระแสไฟ เพื่อจายให
กับอุปกรณไฟฟาตามจํานวนกระแสไฟฟาที่
ตองการ และประจุไฟใหกับแบตเตอรี่
ขณะที่เครื่องยนตกาํ ลังทํางาน
ทันทีที่เครื่องยนตทาํ งานสายพานจะขับ
อัลเทอรเนเตอรใหทาํ งานดวย

1 อัลเทอรเนเตอร
2 แบตเตอรี่
3 ไฟเตือนไฟชารจ
4 สวิตชสตารท
(1/1)

อัลเทอรเนเตอร
ขณะเครือ่ งยนตเริ่มทํางาน สายพานขับ
จะทําใหพูลเลยของอัลเทอรเนเตอรหมุน
ซึ่งเปนผลใหโรเตอรหมุนดวยและกระแสไฟ
จะเกิดขึ้นที่ขดลวดของสเตเตอร

1 พูลเลย
2 โรเตอร (ขดลวด)
3 สเตเตอร(ขดลวด)
4 ชุดแปลงกระแส (ไดโอด)
5 IC เร็กกูเลเตอร
6 ขั้ว "B"

(1/2)

- 8 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
อัลเทอรเนเตอร
อัลเทอรเนเตอรแบบ SC
เปนระบบที่นาํ เอาตัวนําไฟฟามาตอเขา
ดวยกันเปนสวนๆ
(ขดลวดทองแดงที่ทาํ มุมสามเหลี่ยม)
ซึ่งขดลวดสเตเตอรจะถูกนํามาเชื่อมตอกัน
เปนสวนๆไป (SC, Segment Conductor)
แทนที่การตอกันของขดลวดในระบบเดิม
เมื่อเปรียบเทียบกับอัลเทอรเนเตอร
แบบเดิมแลว คาความตานทานของแบบ
SC จะลดลง และมีขนาดที่เล็กกวา
ใชขดลวดไฟฟาแบบ 3 เฟส 2 ชุด
ตอเขาดวยกัน ซึ่งสนามแมเหล็กที่
เกิดขึ้นจะหักลางกัน
(ทีเ่ กิดขึ้นในขดลวดสเตเตอร)
เปนการลดเสียงดังของอัลเทอรเนเตอร
(1/1)

อัลเทอรเนเตอร
อัลเทอรเนเตอรมีหนาที่ดวยกัน 3
ประการ:

1 พูลเลย
2 โรเตอร
3 ขดลวดโรเตอร
4 ขดลวดสเตเตอร

A. ผลิตกระแสไฟฟา
หนาที่ของอัลเทอรเนเตอร ผลิตไฟฟา
กระแสสลับ (Generation)
เมื่อเครื่องยนตทาํ งาน สายพานขับจะขับ
พูลเลยอัลเทอรเนเตอร ทําใหขดลวด
สเตเตอรผลิตไฟกระแสสลับ

1 ขดลวดโรเตอร
2 ขดลวดสเตเตอร

- 9 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
B. แปลงกระแสไฟฟา
ระบบไฟฟาของรถยนตจะใชไฟฟา
กระแสตรง ดังนั้น ชุดแปลงกระแส
จะเปลี่ยนไฟฟากระแสสลับที่เกิดขึ้นโดย
ขดลวดสเตเตอรใหเปนไฟฟากระแสตรง

1 ชุดแปลงกระแส (Rectifier)

C. ปรับแรงเคลื่อนไฟฟา
ระบบไฟฟาในรถยนตจะใชแรงดันขนาด
12 v. IC เร็กกูเลเตอรจะทําหนาที่ควบคุม
การผลิตกระแสไฟฟาใหมีคาแรงดันไฟฟา
คงที่ ถึงแมวารอบเครื่องยนตจะมีการ
เปลี่ยนแปลง

1 IC เร็กกูเลเตอร

(2/2)

ไฟเตือนไฟชารจ
ไฟเตือนไฟชารจจะสวางขึ้นเมื่อ
อัลเทอรเนเตอรไมสามารถผลิตกระแส
ไฟไดในบางกรณี ตัวอยางเชน
ถาไฟเตือนสวางขึ้น เมือ่ รถยนตเคลื่อนที่
อาจเกิดจากสายพานฉีกขาด

(1/1)

- 10 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
ระบบจุดระเบิด ระบบจุดระเบิด
ระบบจุดระเบิดจะผลิตประกายไฟแรงสูง
และจะจุดระเบิดสวนผสมของน้าํ มันกับ
อากาศ ที่มีแรงอัดสูงภายในกระบอกสูบ
ในชวงเวลาที่เหมาะสมที่สุด
สัญญาณพื้นฐานที่ไดรับจากตัวตรวจจับ
ECU ของเครือ่ งยนตจะควบคุมชวงเวลา
ในการจุดระเบิดใหถูกตองและเหมาะสมที่
สุด

1 สวิตชจุดระเบิด
2 แบตเตอรี่
3 คอลยจุดระเบิดพรอมตัวชวยจุดระเบิด
4 หัวเทียน
5 ECU เครื่องยนต
6 ตัวตรวจจับตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
7 ตัวตรวจจับตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
(1/1)

ระบบจุดระเบิดโดยตรง
ระบบจุดระเบิดโดยตรงจะจายไฟแรงสูง
โดยตรงจากคอลยจุดระเบิดไปยังหัวเทียน
A แบบ A

จะมีคอลยจุดระเบิดและตัวชวยจุดระเบิด
ทุกๆ สูบ
B แบบ B

จะมีคอลยจุดระเบิดและตัวชวยจุดระเบิด
1 ตัว ตอ 2 สูบ คอลยจุดระเบิดจะใช
สายไฟแรงสูงในการจายกระแสไฟไปยัง
หัวเทียน

1 คอลยจุดระเบิด
(พรอมตัวชวยจุดระเบิด)
2 หัวเทียน
3 สายไฟแรงสูง
(1/1)

- 11 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
ระบบจุดระเบิด
A แบบธรรมดา

กระแสไฟจะจายดวยคอลยจุดระเบิดและ
ตัวชวยจุดระเบิด โดยผานสายไฟแรงสูง
จากจานจาย
B แบบ IIA (Integrated Ignition

Assembly)
แบบนี้จะประกอบไปดวยคอลยจุดระเบิด
และตัวชวยจุดระเบิดในจานจาย

1 จานจาย
2 ฝาครอบจานจาย
3 โรเตอร (หัวนกกระจอก)
4 คอลยจุดระเบิด
5 ตัวชวยจุดระเบิด
6 ECU เครื่องยนต
(ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส)
7 โรเตอรสัญญาณ
8 ขดลวดกําเนิดสัญญาณ
(1/1)

- 12 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
คอลยจุดระเบิด
สวนประกอบนี้จะเพิ่มแรงดันไฟฟา
(12 โวลท) เพื่อสรางกระแสไฟแรงสูง
ไดมากกวา 10 กิโลโวลท ซึ่งมีความ
จําเปนสําหรับการจุดระเบิด

ขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิจะวางชิดติดกัน
เมื่อมีการใชกระแสหมุนเวียนที่ขดลวด
ปฐมภูมิจะทําใหเกิดการเหนี่ยวนํารวมของ
ไฟฟา ดวยกลไกนี้จะเกิดประโยชน
ในการสรางกระแสไฟแรงสูงที่ขดลวด
ทุติยภูมิ
คอลยจุดระเบิดสามารถผลิตกระแสไฟ
แรงสูง ซึ่งจะผันแปรตามจํานวนและ
ขนาดของขดลวดที่ใชพัน
A แบบธรรมดา

B แบบจุดระเบิดโดยตรง (DIS)

C แบบ IIA (Integrated Ignition

Assembly)

1 ขั้ว (+) ปฐมภูมิ


2 ขั้ว (-) ปฐมภูมิ
3 ขดลวดปฐมภูมิ
4 แกนเล็ก
5 ขดลวดทุติยภูมิ
6 ขั้วทุติยภูมิ
7 ตัวชวยจุดระเบิด
8 หัวเทียน
(1/1)

- 13 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
หัวเทียน
อุปกรณนี้จะรับไฟฟาแรงดันสูงที่เกิดขึ้น
จากคอลยจุดระเบิดเพื่อที่จะจุดสวนผสม
ระหวางอากาศกับน้าํ มันเชื้อเพลิงภายใน
กระบอกสูบ
ไฟฟาแรงดันสูงจะกระโดดขามระหวาง
ขั้วแกนกลางและขั้วกราวดของหัวเทียน
A หัวเทียนแบบหลายเขี้ยว

หัวเทียนชนิดนี้มีเขี้ยวหัวเทียนหลายเขี้ยว
และมีอายุการใชงานนานเปนพิเศษ
ซึ่งไดแก: 2 เขี้ยว, 3 เขี้ยว และ 4 เขี้ยว
B หัวเทียนแบบรอง
1 ¢ÑéÇ᡹¡ÅÒ§
หัวเทียนชนิดนี้จะมีขั้วกราวดหรือขั้วแกน
2 ขั้วดิน
กลางเปนรองตัว V หรือ ตัว U ซึ่งรองนี้จะ
3 รองตัววี
ทําใหมีประกายไฟเกิดขึ้นบริเวณรอบๆ
4 รองตัวยู
แกนกลาง จึงเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ
5 ความแตกตางของขั้วแกนกลาง
การจุดระเบิดขณะเดินเบา ความเร็วต่าํ
และภาระนอย
C หัวเทียนแบบเขี้ยวสั้น-ยาว

หัวเทียนชนิดนี้มีเขี้ยวยื่นเขาไปในหอง
เผาไหมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม
ซึ่งจะใชในเครื่องยนตที่ออกแบบมาเฉพาะ

(1/2)

หัวเทียน
ชนิดรหัสหัวเทียน
เด็นโซ
NGK

(1/1)

- 14 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
A หัวเทียนแบบมีตัวตานทาน
การจุดระเบิดจะทําใหเกิดสนามแมเหล็ก
รบกวนการทํางานของอุปกรณ
อิเล็กโทรนิกส หัวเทียนชนิดนี้จะมีตัว
ตานทานแบบเซรามิก ติดตั้งอยูภายในเพื่อ
ปองกันไมใหเกิดสนามแมเหล็กรบกวนขึ้น
B หัวเทียนแบบแพลทตินั่ม

หัวเทียนชนิดนี้ใชแพลทตินั่มตรงสวนปลาย
ของขั้วแกนกลางและสวนของขั้วกราวด
แบบนี้จะมีความทนทานและสามารถจุด
ระเบิดไดดีกวา
C หัวเทียนแบบอิริเดี่ยม

หัวเทียนชนิดนี้ใชสวนผสมของอิริเดี่ยมตรง
สวนปลายของขั้วแกนกลาง และสวนของ
ขั้วกราวดใชแพลทตินั่ม หัวเทียนแบบนี้จะ
ใหทั้งความทนทานและสมรรถนะสูง

1 ตัวตานทานกระแสไฟฟา
2 ขั้วแกนกลางปลายแพลทตินั่ม
3 ขั้วกราวดปลายแพลทตินั่ม
4 ขั้วแกนกลางปลายอิรเิ ดี่ยม
(1/1)

- 15 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย
1 ขั้วลบของแบตเตอรี่มีขนาดเสนผาศูนยกลางเทากันกับขั้วบวก ถูก ผิด
แบตเตอรี่ชนิดที่สามารถประจุไฟใหมไดจะจายไฟเมื่อเครื่องยนตหยุด
2 ถูก ผิด
ทํางาน แบตเตอรี่จะเก็บกระแสไฟฟาขณะที่เครื่องยนตทาํ งานปรกติ
หัวเทียนจะจุดประกายไฟสวนผสมน้าํ มันกับอากาศโดยการเปลีย่ น
3 ถูก ผิด
กระแสไฟแรงสูงที่ถูกสรางขึ้น โดยคอลยจุดระเบิดทําใหเปนประกายไฟ
4 ระบบจุดระเบิดโดยตรงจะไมมีคอลยจุดระเบิด ถูก ผิด
อัลเทอรเนเตอรมหี นาที่ 3 ประการ: ผลิตกระแสไฟฟา,
5 ถูก ผิด
แปลงกระแสไฟฟา, และปรับกระแสไฟฟา

คําถาม-2
ในแบตเตอรี่เลขรหัส '34B19R', ขอความใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับ 'R' ไดถูกตอง?
1. ความยาวของแบตเตอรี่
2. ความกวางและความสูง
3. ตําแหนงของขั้วลบ
4. ความจุ

คําถาม-3
จากรูปภาพที่แสดงใหดูขางลางนี้ ใหเลือกวาขอใดเปนมอเตอรสตารทแบบแพลนเนตตารี่

1. 2.

3. 4.

1. 2. 3. 4.

- 16 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ไฟฟาเครื่องยนต
คําถาม-4
จากรูปภาพที่แสดงขางลางนี้ ใหเลือกคําตอบตามรูปภาพที่แสดงไวใหถูกตองตามประเภทของหัวเทียน:
(1) หัวเทียน ( ) (2) หัวเทียน ( )

(3) หัวเทียน ( ) (4) หัวเทียน ( )

ก) แบบรอง ข) แบบมีตัวปองกันกระแส ค) หลายเขี้ยว ง) แบบขั้วแกนกลางยาว จ) แบบแพลทตินั่ม

คําตอบ: 1. 2. 3. 4.

- 17 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

พื้นฐานรถยนต ไฟฟาตัวถัง
สวนประกอบของไฟฟาตัวถัง
ไฟฟาตัวถังประกอบดวยชิ้นสวนซึ่งติดตั้ง
บรรจุอยูภายในตัวถังรถฐฃ

สวนประกอบพื้นฐาน
2. สวิตชและรีเลย

3. ระบบไฟสองสวาง

-1-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง
3. ระบบไฟสองสวาง

4. มาตรวัดรวมและเกจตางๆ

5. ที่ปด น้าํ ฝนและน้าํ ลางกระจก

-2-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง
6. ระบบปรับอากาศ

(1/1)

? ฏ ชุดสายไฟ
ชุดของสายไฟจะถูกแบงออกเปนกลุม
เพื่องายในการตอกันระหวางชิ้นสวนอุปกร
ณไฟฟาของรถยนต
• สายไฟและสายเคเบิ้ล
• อุปกรณสา ํ หรับเชื่อมตอกับชิ้นสวน
• ชิ้นสวนปองกันวงจร ฯลฯ ฐฃ

(1/1)

ขอมูลอางอิง:
กราวดตัวถัง (โบลทจดุ ลงดิน)
ในรถยนต ขั้วลบของอุปกรณไฟฟาทุกตัว
และขั้วลบของแบตเตอรี่จะถูกตอเขากับ
สวนที่เปนเหล็กของตัวถังเพื่อใหวงจรไฟฟา
สมบูรณ การตอขั้วลบลงตัวถังเรียก
อีกอยางหนึ่งวา "จุดลงดิน" การตอสายไฟ
ลงดินทําใหจาํ นวนของชุดสายไฟที่ถูกใช
ลดลงดวยฐฃ

(1/1)

-3-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

สายไฟและสายเคเบิ้ล
สายไฟและสายเคเบิ้ลทีใ่ ชในรถยนตจะมี
อยูดวยกัน 3 ชนิดหลักๆ
และเพื่อเปนการปองกันความเสียหายของ
สายไฟ
จึงตองมีอุปกรณที่ทาํ หนาที่ปองกันสายไฟ
รวมอยูดว ยฃฝ
1 สายไฟแรงต่า ํ
เปนสายไฟชนิดหนึ่งที่สวนมากถูกใช
ในรถยนต ซึง่ ประกอบไปดวย
ไสเสนลวดและฉนวนหุม
2 สายชีล

เปนสายเคเบิ้ลชนิดหนึ่งทีถ่ ูกออกแบบ
มาเพื่อปองกันการเหนี่ยวนํารบกวน
จากภายนอก ซึ่งจะถูกใชในพื้นที่
ตอไปนี้: สายอากาศวิทยุ,
สายสัญญาณจุดระเบิด,
สายสัญญาณตรวจจับออกซิเจน
ฯลฯฐฃ
3 สายไฟแรงสูง

สายไฟชนิดนี้ใชเปนสวนหนึ่งของระบบ
จุดระเบิดของเครื่องยนตแกสโซลีน
สายไฟนี้ประกอบไปดวยตัวนําดานใน
และมียางหุมเปนฉนวนเพื่อปองกัน
กระแสไฟฟาแรงสูงจากการลัดวงจรฐฃ
4 ชิ้นสวนปองกันสายไฟ

ชิ้นสวนปองกัน
หอหุมหรือพันสายไฟและสายเคเบิ้ล
หรือเพื่อความปลอดภัยในการปองกัน
ชิ้นสวนตางๆ
จากอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับชุดสายไฟฐ

(1/1)

-4-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ชิ้นสวนเชื่อมตอ
เพื่อใหเกิดความสะดวกในการเชื่อมตอชุด
สายไฟรวมในแตละสวนของรถยนตเขา
ดวยกัน
1. กลองรวมชุดสายไฟ (J/B)
กลองรวมชุดสายไฟเปนกลองซึ่งมีขั้วตอขอ
งวงจรไฟฟารวมอยูดวยกันเปนกลุม
โดยปกติ มักมีสวนประกอบดังนี้:
แผงวงจร, ฟวส, รีเลย,
เซอรกิตเบรกเกอรและอุปกรณอื่นๆ
2.กลองรีเลย (R/B)
จะมีความเหมือนกับกลองรวมชุด
สายไฟมากๆ แตกลองรีเลยจะไมมีแผง
วงจรหรือเปนจุดศูนยกลางของขั้วตอ
ฐฃ

1 (J/B หรือ R/B) หองเครื่องยนต


2 รีเลย
3 ฟวสและฟวสสายออน
(1/2)

-5-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

3. ขั้วตอ
การทํางานของขั้วตอซึ่งใชตอ ระหวางชุดสา
ยไฟทั้ง 2 ชุด
หรือระหวางชุดสายไฟกับอุปกรณไฟฟา
ขั้วตอมี 2 ชนิดคือ:
ขั้วตอระหวางสายไฟกับสายไฟ,
ขั้วตอระหวางสายไฟกับอุปกรณไฟฟา
ขั้วตอสายไฟแบงออกเปนตัวผูและตัวเมี
ยเนื่องจากมีรูปรางของขั้วสายตางกัน
ซึ่งขั้วตอสายไฟมีหลายสฐฃ
4. จุดรวมสายไฟ
จุดรวมสายไฟมีหนาที่เชื่อมตอขั้วใหอยูในก
ลุมเดียวกัน
5. โบลทจุดลงกราวด
โบลทจุดลงกราวดมีไวเพื่อใชตอชุดสาย
ไฟใหลงกราวดและยึดอุปกรณไฟฟาเขา
ตัวถัง ไมเหมือนโบลททั่วๆไป
ซึ่งผิวของโบลทจุดลงกราวดจะถูกเคลือ
บไวดว ยสีเขียวเพื่อปองกันการเกิดสนิม
ฐฃ
(2/2)

-6-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

อุปกรณปองกันวงจร
อุปกรณปองกันวงจรจะปองกันวงจรไฟ
หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส/อุปกรณไฟฟา
จากกระแสไฟเกินหรือลัดวงจรฐฃ
1 ฟวส

ฟวสติดตั้งอยูระหวางฟวสสายออนกับอุปก
รณไฟฟา
เมื่อกระแสไฟฟาเกินผานเขาไปในวงจ
รไฟของอุปกรณไฟฟา
ฟวสจะละลายเพื่อปองกันวงจรไฟฟา
ฟวสที่ใชมีอยู 2 ชนิด
ฟวสแบบแผนและฟวสแบบหลอดฐฃ
2 ฟวสสายออน

ฟวสสายออนถูกติดตั้งเปนแถวระหวางแหล
งกําเนิดพลังงานและอุปกรณไฟฟา
ซึ่งใชกับกระแสไฟฟาที่สูงได
เมื่อมีกระแสไฟฟาเกินผานเขาไปก็จะเ
ปนเหตุใหฟวสขาด
ฟวสสายออนจะละลายเพื่อปองกันกระ
แสไฟเกิน
ฟวสสายออนที่ใชมีอยู 2 ชนิด
แบบหลอดแข็งและแบบกลอง
(1/2)

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของฟวสและฟวสสายออน
มีรหัสสีไวบอกตามประจุไฟฟา
ขึ้นอยูกับความจุกระแสฐฃ

(1/1)

-7-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

เซอรกิตเบรกเกอร
เซอรกิตเบรกเกอรใชเพื่อปองกันกระแส
ไฟที่เกินกระแสไฟมากๆซึ่งฟวสไมสามารถ
ปองกันได ตัวอยางเชน กระจกไฟฟา,
อุปกรณไลฝา, โบลวเวอรมอเตอร ฯลฯ
เมื่อมีกระแสไฟเกินไหลผาน
ไบเมทัลคูในเบรกเกอรจะรอนขึ้นและ
ตัดการไหลของกระแสไฟ
แมวากระแสไฟจะต่าํ กวาอัตราที่กาํ หนด
หากกระแสไฟยอนกลับไปมาดวยระยะ
เวลาที่สั้นหรือยาวนาน
อุณหภูมขิ องแผนไบเมทัลจะเพิ่มขึ้นเพื่อตัด
กระแสไฟ
เซอรกิตเบรกเกอรสามารถปรับใหมได
เมื่อแผนไบเมทัลทําการรีเซ็ท (ปรับคืน)
เซอรกิตเบรกเกอรมี 2
ชนิดดังที่เห็นในภาพดานซาย:
แบบปรับอัตโนมัติ
ซึ่งปรับคืนไดอยางอัตโนมัติ
และแบบปรับดวยมือซึ่งปรับคืนไดเหมือนป
กติ ฐฃ
(2/2)

๘ ผ ฝบรตม รายละเอียดทั่วไป
สวิตชและรีเลยตอ และตัดวงจรไฟฟาเพื่อป
ดและเปดไฟแสงสวางรวมทั้งกระตุนการทํา
งานของระบบควบคุมอื่นๆฐฃ

1 สวิตช
สวิตชโดยทั่วไปบางตัวจะทํางานโดย
ใชมือควบคุมในขณะที่ยังมีแบบที่
ทํางานแบบอัตโนมัติอีก เชน
ทํางานโดยแรงดันน้าํ มัน,
ใชแรงดันหรืออุณหภูมฐิ ฃ
2 รีเลย
รีเลยสามารถที่จะทํางานดวย
กระแสไฟฟาเพียงเล็กนอย
เพื่อใชเปดปดวงจรไฟฟาที่มกี ระแส
ไฟฟาไหลในวงจรจํานวนมากฐฃ
3 แบตเตอรี่
(1/1)

-8-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของสวิตชและรีเลย
1 สวิตชซึ่งทํางานโดยตรงดวยมือ

a สวิตชแบบบิด

b สวิตชแบบกด

-9-
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

c สวิตชสองทาง

d วิตชแบบกาน

2 สวิตชที่ทาํ งานโดยการเปลีย่ นแปลง


ของอุณหภูมิหรือกระแสไฟฟา
e สวิตชตรวจจับอุณหภูม

- 10 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

f สวิตชตรวจจับกระแสไฟ ฯลฯ

3 สวิตชที่ทาํ งานโดยการเปลีย่ นแปลงใน


ระดับของเหลว

4 รีเลย
g รีเลยแมเหล็กไฟฟา

- 11 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

h รีเลยแบบ2หนาคอนแทค

(1/1)

’’ะ ตี รายละเอียด
ระบบไฟสองสวางถูกติดตั้งไวเพื่อความ
ปลอดภัยในการขับขี่ฐฃ

(1/1)

- 12 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ไฟหนา

คลิกที่ปุมในภาพ

ไฟหนาจะมีลาํ แสงมุงตรงไปขางหนาเพื่อให
ผูขับขี่มนั่ ใจขณะขับรถในเวลากลางคืน
ซึ่งสามารถปรับเปนไฟสูงและไฟต่าํ ได
ไฟหนาจะแจงใหรถคันอื่นหรือคนเดินเทาท
ราบการเคลื่อนที่ของรถยนต

ในรถบางรุนจะติดตั้งไฟบอกทาง
ซึ่งจะเปดตลอดเวลาเพื่อเตือนรถคันอื่น
ในบางรุนจะติดตั้งที่ทาํ ความสะอาดไฟหนา
เพื่อทําความสะอาดเลนสไฟหนา

ตอไปนี้เปนชนิดของหลอดไฟหนาที่ใชในร
ถยนต
แบบซีลบีมประกอบดวยหลอดไฟและเลน
สซึ่งประกอบเขาเปนชิ้นเดียวกัน
แบบกึ่งซีลบีมประกอบดวยหลอดไฟที่สาม
ารถถอดเปลี่ยนไดงาย

แบบซีลบีม
ไฟหนาชนิดนี้ หลอดไฟ,
รีเฟรคเตอรและเลนสจะรวมอยูในชุดเดียว
กัน

- 13 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

แบบธรรมดา

ไฟหนาแบบนี้สามารถเปลี่ยนหลอดไฟได
ซึ่งหลอดไฟจะมี 2 ชนิดคือ:
1 หลอดไฟธรรมดา

2 หลอดไฟแบบควอตช-ฮาโลเจน

ไฟหนาแบบ HID

หลอดไฟแบบนี้ใช discharge tube


เปนแหลงกําเนิดไฟ
เมื่อเทียบกับหลอดแบบฮาโลเจนธรรมดา
หลอดไฟแบบ HID จะสวางกวา 2-3 เทา
ในขณะที่กินไฟนอยกวา
โดยหลอดชนิดนี้ใชไป 20,000 V
ในการติด ดังนั้น ในขณะที่เปลี่ยนหลอดไฟ
ควรทําดวยความระมัดระวัง เพราะ
หลอดไฟจะรอนและขั้วหลอดไฟมีไฟแรงสูง

ไฟหนาแบบมัลติ-รีเฟลคเตอร
ไฟชนิดนี้จะใชเลนสใสและรีเฟลคเตอรที่มีรู
ปรางซับซอน
(ประกอบดวยรูปทรงพาราโบลิค)
1 ไฟหนาแบบมัลติ-รีเฟลคเตอร

2 ไฟหนาแบบธรรมดา

a รีเฟลคเตอร
b หลอดไฟหนา
c เลนส

- 14 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ไฟหนาแบบโปรเจคเตอร
ไฟหนาแบบนี้ใชแหลงกําเนิดไฟ
โดยการรวมแสงเขาหาจุดเล็กๆ
ไฟชนิดนี้มรี ีเฟลคเตอรรูปไข
เลนสที่นูนออกดานนอก

(1/1)

ขอมูลอางอิง
การเปลี่ยนไฟหนา
เนื่องจากหลอดไฟแบบควอตซ-ฮาโลเจน
จะรอนกวาหลอดไฟแบบธรรมดา
หากมีนา้ํ มันหรือจาระบีมาติดที่ผิว
อาจทําใหหลอดแตกได
นอกจากนี้
เกลือในตัวคนเราสามารถทําปฎิกิรยิ ากับ
ควอตซได ดังนั้น
จึงควรจับสวนของหนาแปลน
เมื่อทําการเปลี่ยนหลอดไฟ
เพื่อปองกันนิ้วมือสัมผัสกับควอตซ

1 หนาแปลน
2 ผิวหลอดไฟ
(1/1)

ระบบไฟอื่นๆ
ี ไฟแสงสวางภายนอก
1. ไฟหรีท่ าย
ในเวลากลางคืนหรือในอุโมงค
ไฟหรีท่ ายจะเปนสิ่งที่แสดงใหรถคัน
หลังเห็นรถของเรา

- 15 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

2. ไฟเบรก
สัญญาณไฟนี้จะเปนการบอกรถคันหลังให
ทราบวารถคันนี้กาํ ลังเบรก
โดยธรรมดาแลวไฟเบรกจะใชโคมไฟเดี
ยวกับไฟหรี่ทายและหลอดไฟเดียวกัน

3. ไฟเลี้ยว
สัญญาณไฟนี้จะทําใหรถคันอื่นๆ
ที่อยูบริเวณใกลเคียงกันทราบวารถคัน
นี้จะเลี้ยวซายหรือขวา
หรือจะทําการเปลี่ยนทิศทาง

4. ไฟฉุกเฉิน
สัญญาณไฟนี้จะทําใหรถคันอื่นบริเวณใกลเ
คียงทราบวา
รถคันนี้จอดฉุกเฉินหรือจอดอยูกับที่

- 16 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

5. ไฟถอยหลัง
สัญญาณไฟนี้จะทํางานเมือ่ รถมีการ
ถอยหลัง
และยังชวยสองสวางในตอนกลางคืนดว

6. ไฟหรีห่ นา
ในตอนกลางคืน
สัญญาณไฟนี้จะทําการแจงรถยนตคันอื่
นทราบถึงตําแหนงและความกวางของร
ถคันนี้

7. ไฟสองปาย
หลอดไฟนี้จะสองแสดงใหเห็นเลขทะเบี
ยนไดในเวลากลางคืน

- 17 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

8. ไฟตัดหมอกหนาและหลัง
ไฟนี้จะใชเมือ่ สภาวะการมองเห็นต่าํ
เชน หมอกลงหรือฝนตก

(1/2)

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของหลอดไฟ
ขอแนะนํา:ฃฝ
ระมัดระวังเมื่อมีการเปลี่ยนหลอดไฟเพ
ราะวาหลอดไฟแตละชนิดจะมีวิธีการที่
แตกตางกัน ตรวจสอบจุดตางๆ
และไมเปลี่ยนหลอดไฟที่มวี ัตตไมถูกตอ

1 หลอดไฟขั้วเดียว
a หลอดไฟขั้วเดียวไสเดี่ยว

หลอดไฟชนิดนี้ใชสาํ หรับไฟเลี้ยวและไฟถอ
ยหลัง
b หลอดไฟขั้วเดียว 2 ไส

หลอดไฟชนิดนี้ใชสาํ หรับไฟทายหรือไฟ
เบรก
ไสทั้งสองของหลอดไฟชนิดนี้จะมีวัตต
ที่แตกตางกัน
การเปลี่ยน:
กดหลอดไฟลงเพื่อปลดล็อค
จากนั้นหมุนหลอดไฟ
และดึงหลอดไฟออกมา
สวนการติดตั้งหลอดไฟใหมใหทาํ ยอน
ขั้นตอนการถอด

- 18 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

2 หลอดไฟแบบเสียบ
a หลอดไฟแบบเสียบไสเดี่ยว

หลอดไฟชนิดนี้ใชสาํ หรับไฟเลี้ยวหรือ
ไฟถอยหลัง ฯลฯ
b หลอดไฟแบบเสียบ 2 ไส

หลอดไฟชนิดนี้ใชสาํ หรับไฟทายหรือ
ไฟเบรกไสทั้งสองของหลอดไฟ
ชนิดนี้จะมีวัตตที่แตกตางกัน
การเปลี่ยน:
ดึงหลอดไฟออกดวยนิ้วมือและใสหลอดไฟ
ใหมเขาไป

3 หลอดไฟแบบขั้วสองดาน
ใชสาํ หรับไฟเกงหรือไฟสองสวางที่ประตู
การเปลี่ยน:
กดใหดานหนึ่งของขั้วเปดออกและดึงหลอด
ไฟออก สวนการติดตั้งหลอดไฟใหม
ใหนาํ ขั้วดานใดดานหนึ่งของหลอดไฟใสเข
าไปที่ขั้วหลอดไฟแลวคางไว
จากนั้นกดซ้าํ อีกดานหนึ่งลงไป

ขอแนะนํา:
ระมัดระวังเมื่อมีการเปลี่ยนหลอดไฟ
เพราะวาหลอดไฟแตละชนิดจะมีวิธีการที่แ
ตกตางกัน ตรวจสอบจุดตางๆ
และไมเปลี่ยนหลอดไฟทีม่ ีวัตตไมถูกตอง
(1/1)

- 19 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ระบบไฟอื่นๆ
ไฟแสงสวางภายใน
1 ไฟสองแผงหนาปด

ใชเปนไฟสองสวางมาตรวัดและเกจใน
ตอนกลางคืน
หรือหรี่ติดสวางขึ้นเมือ่ เปดไฟหนา
2 ไฟแสงสวางภายใน (ไฟเกง)

ีตามปกติ
ไฟชนิดนี้จะถูกติดตั้งอยูตรงกึ่งกลางของหลั
งคา หรือดานบนของกระจกมองหลัง
การทํางานของสวิตชนี้มี 3 ตําแหนง:
"ON" หมายถึงติดตลอด
"OFF" หมายถึง ปด
"DOOR"
ใหแสงสวางเมือ่ ประตูใดประตูหนึ่งถูกเปดเ
ทานั้น
(2/2)

- 20 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ระบบไฟอื่นๆ
ไฟแสงสวางภายใน
1 ไฟสองแผงหนาปด

ใชเปนไฟสองสวางมาตรวัดและเกจใน
ตอนกลางคืน
หรือหรี่ติดสวางขึ้นเมือ่ เปดไฟหนา
2 ไฟแสงสวางภายใน (ไฟเกง)

ีตามปกติ
ไฟชนิดนี้จะถูกติดตั้งอยูตรงกึ่งกลางของหลั
งคา หรือดานบนของกระจกมองหลัง
การทํางานของสวิตชนี้มี 3 ตําแหนง:
"ON" หมายถึงติดตลอด
"OFF" หมายถึง ปด
"DOOR"
ใหแสงสวางเมือ่ ประตูใดประตูหนึ่งถูกเปดเ
ทานั้น
(2/2)

- 20 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

มาตรวัดและเกจ รายละเอียดทั่วไป
มาตรวัดรวมและเกจ
ประกอบไปดวยมาตรวัด, เกจ,
สัญญาณไฟเตือนและไฟบอกการทํางานเพื่
อบอกถึงขอมูลที่ตองการในขณะขับขี่เพื่อค
วามปลอดภัยในการขับขี่

(1/1)

มาตรวัดและเกจ
มาตรวัดและเกจตอไปนี้แสดงคาผานการ
เคลื่อนที่ของเข็มชี้บอก
ซึ่งใหขอมูลเปลี่ยนแปลงอยางสม่าํ เสมอ

1 มาตรวัดรอบ
บอกรอบการหมุนของเครื่องยนต
เปนรอบ / นาที

- 21 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง
2 มาตรวัดความเร็ว
บอกความเร็วของรถยนตขณะขับขี่เปน:
กม./ชม. หรือ ไมล/ชม.
มีมาตรวัดระยะทางและการเดินทาง
บอกใหผูขับขี่ไดทราบ

3 เกจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น
บอกถึงอุณหภูมินา้ํ หลอเย็น
ของเครื่องยนต

4 เกจน้าํ มันเชื้อเพลิง
(แบบมีไฟเตือนระดับน้าํ มันเชื้อเพลิง)
แสดงปริมาณน้าํ มันเชื้อเพลิงที่
เหลืออยู

- 22 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง
บางรุนจะติดตั้งมาตรวัดดังตอไปนี้

5 เกจวัดแรงดันน้าํ มันเครื่อง
บอกถึงแรงดันของน้าํ มันเครื่องที่
ไหลเวียน
ในเครื่องยนต

6 โวลทมิเตอร
บอกถึงแรงดันไฟฟาที่สรางขึ้นโดย
อัลเทอรเนเตอร

- 23 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ไฟเตือน
สัญญาณไฟเตือนสวางขึ้นตามสภาวะดังนี้:
เพื่อเตือนคนขับวามีความผิดปกติขึ้นภายใ
นระบบ หรือตองการเติมหรือเปลีย่ น
เพื่อความมัน่ ใจในการขับขี่อยางปลอดภัย
การใชไฟสีแดงหรือหรือสีสมขึ้นอยูกับควา
มจําเปนรีบดวนหรือเพื่อบอกถึงสิ่งที่จะตอง
ทํากอน

1 ไฟเตือน ABS
(มีเฉพาะในรถที่ติดตัง้ ABS เทานั้น)
2 ไฟเตือนระดับน้า ํ มันเบรก
3 ไฟแสดงสถานะระบบเครื่องยนต

บกพรอง (MIL)
4 ไฟเตือนไฟชารจ

5 ไฟเตือนเข็มขัดนิรภัย

6 ไฟเตือนประตูเปด

7 ไฟเตือนถุงลมนิรภัย

(มีเฉพาะในรถที่ติดตั้งถุงลมนิรภัยเทา
นั้น)
8 ไฟเตือนระดับน้า ํ มันเชื้อเพลิงต่าํ
9 ไฟเตือนแรงดันน้า ํ มันเครือ่ งต่าํ
10 ไฟเตือนระดับน้า ํ ในน้าํ มันเชื้อเพลิง
(มีในรถยนตดเี ซลเทานั้น)
11 ไฟเตือนหัวเผา

(มีในรถยนตดเี ซลเทานั้น)

(1/1)

ไฟแสดงการทํางาน
ไฟนี้ติดสวางขึ้น
เพื่อบอกใหคนขับรูถึงการทํางานของอุปกร
ณแตละอยางหลังจากที่คนขับไดกดสวิตช
หรือโยกกานบังคับ
หลอดไฟที่ใชเปนสีนา้ํ เงิน,
เขียวและสีสมนั้นขึ้นอยูกับจุดประสงคใน
การใชงาน

- 24 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

1 ไฟเลี้ยวและแสดงไฟฉุกเฉิน

2 ไฟแสดงตําแหนงคันเกียร A/T
(เฉพาะรถเกียรอัตโนมัติเทานั้น)

3 ไฟสูง

- 25 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง
4 ไฟแสดงสถานะ O/D OFF

5 อื่นๆ

- 26 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ที่ปดน้ําฝนและน้ําลางกระจก รายละเอียดทั่วไป
ใบปดน้าํ ฝนชวยเพิ่มความมั่นใจในทัศนวิสั
ยของคนขับโดยการปดน้าํ ฝนหรือสิ่งสกปร
กออกจากกระจกหนาหรือหลัง
น้าํ ยาลางกระจกที่ฉีดใสกระจก
เพื่อทําความสะอาดสิ่งสกปรกหรือคราบน้าํ
มันซึ่งไมสามารถทําไดโดยใบปดน้าํ ฝน
เพียงอยางเดียว

การทํางานของที่ปดน้ําฝน
• ตําแหนงความเร็ว
สวิตชความเร็วปรับน้าํ ฝนจะอยูระหวาง
สูงและต่าํ
1 มอเตอรปดน้าํ ฝนและกานตอ 2 กานปดน้าํ ฝนและยางปด • ตําแหนงปดเปนชวงๆ

3 ถังน้าํ ฉีดกระจก 4 หัวฉีดน้าํ ลางกระจกดานหนา ปดน้าํ ฝนจะทํางานเปนชวงๆ


5 กานปดน้าํ ฝนหลังและยางปด 6 หัวฉีดน้าํ ลางกระจกดานหลัง ที่ความเร็วต่าํ
7 มอเตอรปดน้าํ ฝนดานหลัง มีแบบที่ชวงเวลาปดสามารถปรับไดหล
ายระดับ
• ตําแหนงปดครั้งเดียว
ปดน้าํ ฝนจะทํางานครั้งเดียวเมือ่ สวิตช
ทํางาน
• ตําแหนงเก็บใบปดน้า ํ ฝน
ไมตองคํานึงถึงตําแหนงของใบปดน้าํ ฝ
นขณะทํางาน บิดสวิตชไปที่ตาํ แหนงปด
ใบปดน้าํ ฝนจะกลับมาอยูที่ตาํ แหนงเก็บ
ใบปดน้าํ ฝนโดยอัตโนมัติ
• การทํางานรวมกับอุปกรณฉีด
น้าํ ลางกระจก
เพื่อกดสวิทชใหอุปกรณฉีดน้าํ ทํางานที่
ปดน้าํ ฝนจะทํางานโดยอัติโนมัติประมา
ณ 2-3 วินาที

(1/1)

- 27 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ที่ปดน้ําฝน
ระบบปดน้าํ ฝนประกอบดวย
สวิตชที่ปดน้าํ ฝน, มอเตอรปดน้าํ ฝน,
กานปดน้าํ ฝน, ใบปดและยางปดน้าํ ฝน

1 สวิตชปดน้ําฝน
บิดสวิตชปดน้าํ ฝนไปที่ ON/OFF
และเปลี่ยนความเร็วในการปด
2 มอเตอรปดน้าํ ฝน
มอเตอรนี้จะควบคุมการทํางาน
ของใบปดน้าํ ฝน
3 กานปดน้าํ ฝน
จะเปลีย่ นจังหวะการหมุนของ
มอเตอรใหเปนแบบเดียวกันทัง้ ดานซา
ยและขวา
4 ใบปดน้าํ ฝน
นอกจากจะปดน้าํ ฝนเปนจังหวะแลว
ยังใหแรงกดบนผิวกระจกที่คงที่ดวย
5 ยางปดน้าํ ฝน
คือสวนที่สัมผัสกับกระจก
ซึ่งตองเปลี่ยนตามระยะ
(1/1)

- 28 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

น้ําลางกระจก
ระบบน้าํ ลางกระจกประกอบดวย
ถังน้าํ ลางกระจก, มอเตอร, ทอยาง,
หัวฉีดและน้าํ ยาลางกระจก

1 ถังน้าํ ลางกระจก
มีไวสาํ หรับเก็บน้าํ ลางกระจก
2 มอเตอรนา ้ํ ลางกระจก
คอมแพ็คมอเตอรที่ปมน้าํ ลางกระจกขึ้นมา
และพนออกทางหัวฉีด
มักจะยึดอยูใตถังน้าํ ลางกระจก
3 ทอยาง

จะสงผานน้าํ ลางกระจกจากถังเก็บไปยังหัว
ฉีด
4 หัวฉีดน้า ํ ลางกระจก
เปนพวยที่พนน้าํ ลางกระจกออกมา
ซึ่งจะมีวาลวกันกลับคอยปองกันไมให
น้าํ ลางกระจกไหลกลับเขามาในถังเก็บ
โดยสามารถปรับมุมการพนของหัวฉีด
ได
5 น้า ํ ยาลางกระจก
เปนชนิดที่สามารถชะลางคราบ
สกปรกออกจากกระจกบังลมได
เมื่อใชงานขณะที่ผิวกระจกแหงยังอยู
น้าํ ยาลางกระจกชนิดนี้จะชวยปองกันไ
มใหยางปดน้าํ ฝนและผิวกระจกเสียหา
ย ในฤดูหนาว
ใหใชนา้ํ ยาลางกระจกที่มีจุดเยือกแข็งต
ำเพื่อปองกันไมใหเปนน้าํ แข็ง
(1/1)

- 29 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

๘’ต รายละเอียดทั่วไป

ระบบปรับอากาศจะมีหนาที่ควบคุมอุณหภู
มิภายในรถยนต
ซึ่งจะรวมถึงการควบคุมความชื้น
ในขณะที่สามารถปรับอุณหภูมไิ ดทั้งรอนแ
ละเย็น
นอกจากนั้น
ยังมีสวนขจัดสิ่งแปลกปลอมที่บดบัง เชน
ไอน้าํ , น้าํ แข็ง
และฝาออกจากกระจกหนาของรถยนต

(1/1)

ผง ‘ฆฟฬ

1 เครื่องทําความรอน
การทํางานของเครื่องทําความรอน
จะทํางานโดยลมที่ถูกเปาออกมาจาก
โบลเวอรจะไหลผานแผงทําความรอน
ซึ่งอาศัยความรอนจากน้าํ หลอเย็นของ
เครื่องยนตมาทําใหแผงเกิดความรอน

- 30 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

2 เครื่องทําความเย็น
ใชอวี าโปเรเตอร (คอลยเย็น)
ซึ่งจะทําหนที่แลกเปลี่ยนความรอนกับ
อากาศเพื่อทําใหอากาศเย็น
เมื่อเปดสวิตชเครื่องปรับอากาศไปที่
ON
คอมเพรสเซอรจะทํางานและอัดสารทํา
ความเย็นเขาไปยังอีวาโปเรเตอร
(คอลยเย็น)
ในขณะที่สารทําความเย็นไหลผานอีวา
โปเรเตอร
มันจะดูดซับความรอนจากอากาศบริเว
ณรอบๆ ซึ่งจะทําใหอากาศเย็นลง

3 เครื่องลดความชื้น
เมื่อเปดสวิตชเครื่องปรับอากาศ
คอลยเย็นจะดึงเอาความชื้นในอากาศ
ออกมาโดยการควบแนนจนกลายเปน
น้าํ ดังนั้นอากาศจึงแหง
ซึ่งเปนผลมาจากการดูดความชื้น
ความชื้นที่ถูกดูดออก
จะถูกปลอยออกไปภายนอกรถยนต

(1/1)

- 31 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ขอมูลอางอิง
สารทําความเย็น
ระบบปรับอากาศทําใหอากาศภายในห
องโดยสารเย็นขึ้นโดยการดูดซับเอาคว
ามรอนจากภายในหองโดยสารแลวปล
อยความรอนออกสูภายนอก
การทําความเย็นจะทําโดยการสงผานค
วามรอนภายในหองโดยสารใหออกไปสู
ภายนอก
ปจจุบันสารทําความเย็นชนิดที่ใชกันโด
ยทั่วไปคือ "HCF-134a" (หรือ
R134a)
การทํางานของระบบปรับอากาศโดยกา
รอัดน้าํ ยาดวยแรงดันที่สูง
อาจเปนสาเหตุทาํ ใหสารทําความเย็นรั่

ทําใหจาํ เปนตองมีการตรวจเช็คสภาพส
ารทําความเย็นเปนระยะๆ

ขอแนะนํา:
รถบางคันไมมีชองตรวจสอบ(ไซดกลา
ส)

(1/1)

- 32 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

การปรับตั้งอุณหภูมิที่เหมาะสม

เครื่องปรับอากาศในรถยนตจะใชทั้งฮีทเตอ
รและเครื่องทําความเย็น
ซึ่งการควบคุมอุณหภูมจิ ะทําไดโดยการปรั
บมุมของแผนผสมอากาศและการเปดของว
าลวน้าํ
แผนผสมอากาศและวาลวน้าํ จะทํางานพรอ
มกันกับการปรับปุมปรับอุณหภูมทิ ี่แผงคว
บคุม

1 พัดลม
2 คอลยเย็น
3 ฝาเปดชองสวนผสมอากาศ
4 แผงทําความรอน
5 ปุมปรับอุณหภูมิ
6 วาลวน้าํ

- 33 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

(1/1)

ขอมูลอางอิง
ระบบปรับอากาศอัตโนมัติ
ระบบปรับอากาศอัตโนมัติทาํ การปรับตั้ง
อุณหภูมภิ ายในหองโดยสารใหอยูในอุณห
ภูมทิ ี่กาํ หนดเอาไวโดยอัตโนมัติ
เมื่อระบบการทํางานถูกกําหนดเปนอัตโนมั
ติ และอุณหภูมิไดถูกตั้งเอาไวแลว
ตัวเซ็นเซอรจะตรวจจับอุณหภูมิของอากาศ
โดยรอบ, อุณหภูมใิ นหองโดยสาร
และกําหนดอุณหภูมิ ดังนั้น
คอมพิวเตอรจะทําการควบคุมอุณหภูมิทรี่ ะ
บายออกตามแรงลม
และสภาวะภายนอกเพื่อทําการปรับตั้ง
อุณหภูมิ
(1/1)

- 34 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

ฒขนุช ผรนฎ ตี ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต


ในระบบนี้ กลอง ECU
ในรถยนตจะทําการตรวจสอบ ID
ของแผนชิพ
ซึ่งถูกรวบรวมไวในกุญแจเพื่อปองกันเครื่อง
ยนตจากการสตารทดวยกุญแจที่ไมตรงกัน
1 กุญแจสตารท

2 แผนชิพ

3 คอลยกุญแจรหัส

(ตัวรับสัญญาณรหัส ID)
4 กระบอกกุญแจ

5 แอมปลิฟายเออรกุญแจรหัส

6 ECU เครื่องยนต

7 หัวเทียน

8 หัวฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิง
9 ปมหัวฉีด
ขอแนะนํา:
เหลานี้เปนแบบรวมซึ่งมีแอมปลิฟายเอ
อรกุญแจรหัสและ ECU เครื่องยนต

A เครื่องยนตแกสโซลีน
(หยุดการฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิง/จุดระเบิด)
B เครื่องยนตดีเซล

(หยุดการฉีดน้าํ มันเชื้อเพลิง)
(1/1)

- 35 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

SRS๘’ ฏ “ ถุงลมนิรภัย SRS“


ถุงลมนิรภัย SRS (Supplemental
Restraint System)
จะทํางานรวมกับเข็มขัดนิรภัย
ซึ่งถุงลมนิรภัย SRS
จะลดแรงกระแทกทีจ่ ะเกิดขึ้นกับผูโดยสาร
บริเวณศีรษะและหนาอก
ขณะที่มีการชนเกิดขึ้น
เมื่อเซ็นเซอรตรวจพบวามีการชนดานหนา
หรือดานขางเกิดขึ้น
ชุดประกอบถุงลมนิรภัยกลางจะจุดชนวน
และทําใหเกิดแกสภายในขยายตัว
ทําใหถุงลมนิรภัยพองตัวออกมา
1 ถุงลมนิรภัย SRS สําหรับคนขับ

2 ถุงลมนิรภัย SRS สําหรับผูโดยสาร

3 ถุงลมนิรภัย SRS ดานขาง

4 มานนิรภัย SRS

(1/1)

ขอมูลอางอิง:
ภาพแสดงลักษณะการติดตั้ง
1 เซ็นเซอรดา  นหนา
2 ชุดประกอบถุงลมนิรภัยกลาง

3 ถุงลมนิรภัย

(1/1)

- 36 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย
ผังวงจรไฟฟาจะใชตัวถังเปนกราวดประกอบดวยขั้วลบของอุปกรณไฟฟา
1 น‘ ฅฬ
และขั้วลบของแบตเตอรี่จะถูกตอเขากับตัวถังรถยนต
เนื่องจากหลอดฮาโลเจนจะมีอุณหภูมทิ ี่สูงเมื่อมันสวาง
2 น‘ ฅฬ
จึงไมควรสัมผัสพื้นที่สวนใดๆของหลอดขณะทําการเปลี่ยน
รีเลยที่ใชในรถยนตสามารถปด-เปดเพื่อเปลี่ยนวงจรกระแสไฟแรงสูง
3 น‘ ฅฬ
โดยปด-เปดวงจรกระแสไฟแรงต่าํ
เครื่องมือวัดรอบในมาตรวัดรวมแสดงใหเห็นจํานวนรอบของเครื่องยนต
4 น‘ ฅฬ
ตอนาที
5 แขนตอปดน้าํ ฝนของระบบปดน้าํ ฝนควรตองทําการเปลี่ยนตามระยะ น‘ ฅฬ

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศรถยนต?

1. หนาทีใ่ นการทําใหอุนของเครือ่ งปรับอากาศรถยนต โดยใชั้คอลยเย็นเปนตัวแลกเปลีย่ นความรอนกับอากาศ


2. หนาทีใ่ นการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศรถยนต
ใชแผงทําความรอนเปลีย่ นความรอนเพื่อทําใหอากาศเย็น
3. ภายหลังการใชงานเปนเวลานาน ความเย็นของเครือ่ งปรับอากาศจะลดลง
ดังนั้นจึงจําเปนตองตรวจสอบระดับของน้าํ ยาทําความเย็นเปนระยะๆ
4. ระบบปรับอากาศอัตโนมัตขิ องรถยนต มีหนาที่ในการควบคุมการทําความเย็นอยางอัตโนมัติ อยางไรก็ตาม
หนาทีข่ องการทําใหอุนจะตองถูกควบคุม โดยมือปรับ

- 37 -
พืน้ ฐานรถยนต -ไฟฟาตัวถัง
คําถาม-3
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับสัญญาณไฟเตือนและสัญญาณไฟแสดงการทํางาน?
1. สัญญาณไฟสูงสวางขึ้นเมือ่ สวิตชไฟสองสวางถูกเปด 1 ระดับ
2. สัญญาณไฟเตือนเข็มขัดนิรภัยสวางขึ้นเมื่อประตูรถเปด
3. สัญญาณไฟเตือนระดับน้าํ มันเชื้อเพลิงสวางขึ้นเมื่อระดับของน้าํ มันเชื้อเพลิงในถังเหลืออยูนอย
4. สัญญาณไฟเตือน ABS สวางขึ้นเพื่อเตือนวามีรถยนตคันอื่นอยูขางหนารถ

คําถาม-4
เลือกคําที่ถูกตองใหสอดคลองกับชื่อของภาพที่แสดง จากกลุมคําที่แสดงดานลาง
1. 2. 3. 4. 5.

ก) ไฟเตือนแรงดันน้าํ มันเครื่อง ข) ไฟเตือนหัวเผา ค) ไฟแสดงสถานะระบบเครื่องยนตบกพรอง


ง) ไฟเตือนระดับน้าํ มันเบรก จ) ไฟเตือนไฟชารจ
คําตอบ: 1. 2. 3. 4. 5.

- 38 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

รูปแบบตัวถัง รูปแบบตัวถัง
ตัวถังรถยนตเปนสวนหนึ่งของรถยนตซึ่งใช
บรรทุกผูโดยสารหรือสัมภาระ
รูปแบบตัวถังมีหลายชนิดตางกันไป

1 รถซีดาน
รถชนิดนี้เปนรถยนตนั่งโดยสาร ซึ่งเนนใน
เรื่องของผูโดยสารและความสะดวกสบาย
ของคนขับ

2 รถคูเป
รถชนิดนี้เปนรถสปอรต ซึ่งเนนในเรื่อง
ของรูปลักษณและสมรรถณะของเครื่อง

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

3 รถลิฟทแบ็ค
โดยพื้นฐาน รถชนิดนี้คลายคลึงกับรถคูเป
ซึ่งรวมพื้นที่โดยสารและพื้นที่วางสัมภาระ
เขาดวยกัน ตอนทายของประตูและ
หนาตางจะเปดออกพรอมๆ กัน

4 รถฮารดท็อป
รถชนิดนี้เปนรถซีดานที่ไมมีโครงหนาตาง
หรือเสากลาง

5 รถเปดประทุน
รถชนิดนี้เปนชนิดเดียวกับรถซีดานหรือ
คูเป ซึง่ สามารถเปดปดหลังคาขึ้นลง
ขณะขับขี่ได

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

6 รถปคอัพ
เปนรถบรรทุกขนาดเล็ก ซึ่งเครื่องยนตได
ถูกติดตั้งไวทางตอนหนาของคนขับ

7 รถตู/ รถตรวจการณ
รถชนิดนี้จะรวมพื้นที่โดยสารและพื้นที่
สัมภาระเขาไวดว ยกัน รถชนิดนี้สามารถ
บรรทุกผูโดยสารหรือสัมภาระไดคราวละ
มากๆ Vans หมายถึงบรรทุกสัมภาระ,
Wagon หมายถึงบรรทุกผูโดยสาร

(1/1)

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

การแยกประเภทโดยการแบงพื้นที่
พื้นที่เครื่องยนต, พื้นที่โดยสาร,
และพื้นที่สัมภาระของตัวถังรถยนต
มีลักษณะดังนี้
1 3 Box car

การแบงเครื่องยนต/ หองโดยสาร/
หองเก็บสัมภาระ
รถชนิดนี้ประกอบไปดวยสวนที่แยกกัน,
มีความอิสระของพื้นที่สาํ หรับเครื่องยนต,
หองผูโดยสารและหองเก็บสัมภาระ
2 2 Box car

หองโดยสารที่กวางขวาง/
หองเก็บสัมภาระตามแตการสรางสรรค
รถชนิดนี้มีพื้นที่เดียวกันกับโดยสารและสัม
ภาระ แยกสวนจากเครื่องยนต กรณีนี้
โดยทั่วไป มักประยุกตใหเปนรถคอมแพ็ค
3 1 Box car

หองโดยสารที่สมบูรณแบบ/ หองเก็บ
สัมภาระตามแตการสรางสรรคซงึ่ มี
เครื่องยนตอยูดา นลาง
รถรุน นี้พื้นที่โดยรวมถูกจัดไวสาํ หรับ
เครื่องยนต, หองโดยสาร, และหองเก็บ
สัมภาระ เปนการดีสาํ หรับการขนสง
ผูโดยสารจํานวนมากและบรรทุกสัมภาระ
ไดหลายชิ้น, คํานึงถึงประโยชนของพื้นที่
ใชสอยอยางมีประสิทธิภาพ
a พื้นที่เครื่องยนต

b พื้นที่โดยสาร

c พื้นที่เก็บสัมภาระ
(1/1)

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

พื้นฐานโครงสรางตัวถังรถยนต พื้นฐานโครงสรางตัวถังรถยนต
โครงสรางตัวถังรถยนตมี 2 ชนิด: the
frame body และ monocoque body
A Frame type body

โครงสรางชนิดนี้ประกอบไปดวยสวนของ
ตัวถัง และสวนของโครงสราง
(ซึง่ ใชติดตั้งเครื่องยนต, ระบบสงกําลัง
และบังคับเลี้ยว)
B Monocoque body

โครงสรางชนิดนี้ประกอบไปดวย ตัวถังและ
โครงสรางซึ่งรวมอยูในหนวยเดียว ตัวถังจะ
มีความทนทานเหมือนกลองใบเดียวเดี่ยวๆ
(1/1)

พื้นฐานโครงสรางตัวถังรถยนต
GOA (Global Outstanding Assessment)
GOA ไดผานเกณการทดสอบความ
ปลอดภัยสรางขึ้นโดย Toyota เพื่อแสดงถึง
โครงสรางของการชนแตละรูปแบบ มัน
ประกอบไปดวย การดูดซับแรงกระแทก
ของตัวถังและความแข็งแรงดานบนของ
หองโดยสารในระดับโลก

ความมีประสิทธิภาพในการดูดซับและ
กระจายแรงกระแทกดานหนาพื้นที่บริเวณ
ดานขางและพื้นที่ของหองโดยสารและ
ทําใหแรงในการชนลดลง ดวยเหตุนี้
ลักษณะของโครงสรางนิรภัยแบบนี้จึงทําให
มีการเสียรูปของหองโดยสารนอยที่สุด
(1/1)

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

พื้นฐานโครงสรางตัวถังรถยนต
คานกันกระแทกดานขาง (ประตู)
คานกันกระแทกดานขางเปนวัตถุเสริม
ความแข็งแรงชนิดหนึ่งที่ถูกติดตั้งไวใน
ประตูเพื่อกันกระแทก
1 คานกันกระแทกขางประตู

(1/1)

ชื่อชิ้นสวนตัวถัง
สวนประกอบภายนอกรถ
1 กันชน

2 กระจังหนา

3 ฝากระโปรง

4 กระจกบังลมหนา

5 เสาหนา เสาเกงหนา

6 บานเลื่อนหลังคา

7 หลังคา

8 ขอบประตู

9 เสากลาง

10 กระจกประตู

11 มือเปดประตูดานนอก

12 กระจกมองขาง

13 แผงประตู

14 บังโคลนหนา

15 คิ้วดานขาง

16 กันโคลน

17 กระจกหลัง

18 สปอยเลอรหลัง

19 ฝากระโปรงทาย

20 ฝาปดถังน้าํ มันเชื้อเพลิง
21 บังโคลน

22 เสาหลัง, เสาเกงหลัง
(1/2)

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

สวนประกอบภายในหองโดยสาร
1 ชองระบายอากาศ

2 แผงควบคุมกลาง

3 แผงคอนโซลหนาปด

4 กระจกมองหลัง

5 แผงบังแดด

6 แผงประตู

7 มือจับ

8 เบาะพักแขน

9 เข็มขัดนิรภัย

10 พนักพิงศีรษะ

11 เบาะพิง

12 ที่ปรับระดับเบาะ

13 เบาะนั่ง

14 ที่ปรับเลื่อนเบาะ

15 ที่ครอบพื้นประตู

16 ชองเก็บของ

17 มือเปดประตูดานใน

18 ที่พักแขน

19 ปุมล็อคประตู

20 ยางขอบประตู

21 ชองเก็บของ

22 มือจับหมุนกระจก
(2/2)

สี รายละเอียดทั่วไป
สี เปนการเคลือบทับชนิดหนึ่งที่ใชกับ
พื้นผิวตัวถังรถ มีวัตถุประสงคหลักคือ
ทําใหตัวถังมีความโดดเดนขึ้น
จุดประสงคอื่นๆ คือ เพื่อปกปองตัวถัง
จากสนิม, แสงแดด, ฝุนละอองและน้าํ ฝน
1 แผนเหล็ก

2 สีชั้นแรก

ปกปองตัวถังจากการเกิดสนิม
3 สีชั้นกลาง

ทําใหผิวและสีชั้นแรกเรียบเนียน
4 สีชั้นบน

สีนี้เปนสีทาทับชั้นสุดทายที่ทาํ ใหดูเงางาม
และดึงดูดใจ
(1/1)

- 7 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของสีชั้นบน

A สีโซลิด
สวนประกอบของสีเปนเพียงเลเยอรเดี่ยว
สีชนิดนี้ถูกพนทับเพียงสวนเดียวเทานั้น
ซึ่งไมมีสวนผสมของอลูมิเนียม
B สีเมทัลลิก

สีชั้นบนประกอบไปดวยสีเคลือบ 2 ชั้น:
สีเคลือบเมทัลลิกซึ่งมีอลูมเิ นียมผสมอยู
ดวยในขณะทาทับ และสีเคลือบเงาซึ่ง
ทํามาจากสีโปรงแสงนั่นเอง การระมัดระวัง
เปนสิ่งจําเปนขณะทําการบํารุงรักษาหรือ
ลางรถ เพราะหากมีรอยขีดขวนเพียง
เล็กนอยบนสีชั้นนอกก็จะเห็นไดชัดเจน
C สีเพริลไมกา

ประกอบไปดวยสีชั้นบน 3 ชั้น สีชั้นกลาง


มีสวนผสมของ tiny mica particles
ลักษณะพิเศษของสีชนิดนี้คือเกาะติดแนน,
เปลงประกายมันวาว และโปรงแสง
การดูแลจะตองปองกันสีเคลือบจากการ
ขูดขีด

1 การสะทอนแสง
(1/1)

- 8 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

กระจกรถยนต รายละเอียดทั่วไป
กระจกเปนองคประกอบที่สาํ คัญอีก
อยางหนึ่ง ซึ่งทําใหมนั่ ใจในความปลอดภัย
และสะดวกสบายแกรถ
นอกจากความโปรงใส กระจกรถยนตยัง
ชวยปองกันผูโดยสาร โดยที่มันจะไม
แตกงายๆ หากโดนวัตถุมากระทบ
กระแทกใส

1 แสงแดด
2 รังสี UV

A กระจกลามิเนต
ฟลมใสจะอัดอยูระหวางกระจกแบบธรรมดา 2 แผน และกดเขาดวยกัน ซึ่งออกแบบมาเพื่อปองกันวัตถุตางๆ เชน
หินที่กระเด็นมาจากดานนอกหรือถูกกระจก และยังปองกันเศษกระจกไมใหแตกกระจาย ในปจจุบัน
เราใชกระจกชนิดนี้ในการทํากระจกบังลมหนา ฟลมที่ใชในกระจกลามิเนตจะชวยลดรังสีอลั ตราไวโอเลต

B กระจกเทมเพิรด
เนื่องจากกระจกชนิดนี้จะรอนขึ้นและเย็นลงอยางรวดเร็ว ดังนั้นจึงตองใชกระจกที่มีความแข็งแรงเปน 4 เทา
ของกระจกแบบธรรมดาเพื่อใหทนตอแรงกระแทก กระจกที่แตกอันเนื่องมาจากการกระแทกอยางแรง
จะมีลกั ษณะเปนเม็ดๆ เพื่อลดการบาดเจ็บ

C กระจกลดรังสี UV
"UV" เปนอักษรยอของ "รังสีอัลตราไวโอเลต" และกระจกลดรังสี UV พัฒนาขึ้นเพื่อลดปริมาณรังสีอัลตราไวโอเลต
ที่อาจทําใหผิวไหมเกรียม โดยสวนมากจะใชบริเวณประตูและหนาตางดานหลัง กระจกชนิดนี้สามารถลด
รังสีอัลตราไวโอเลตไดถึง 90 ถึง 95 %

D กระจกสี
กระจกทั้งหมดเปนกระจกสีเขียวหรือสีบรอนซออนๆ สวนกระจกทีม่ ีบังแดดจะใชบริเวณกระจกบังลมหนา
ยกเวนสวนบนจะเปนสีออนๆ และตรงขอบที่เปนอีกสีหนึ่งเพื่อเพิ่มทัศนวิสัย

E กระจกดูดซับพลังงาน(กระจกโซลาร)
กระจกชนิดนี้ประกอบไปดวยชิ้นสวนเล็กๆ เชน นิกเกิ้ล, เหล็ก, โคบอล ฯลฯ ซึ่งสามารถดูดซับคลื่นแสง
ที่อยูในชวงอินฟาเรตได โดยจะชวยรักษาอุณหภูมิภายในรถไมใหสูงเกินไปเมื่อถูกแดดสองโดยตรง
(1/1)

- 9 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

ชิ้นสวนการทํางานภายในตัวรถ เบาะนั่ง
อุปกรณเสริมที่รองรับผูโดยสาร เบาะนั่ง
ทําหนาทีด่ ูดซับแรงกระแทกขณะขับรถ

1 พนักพิงศีรษะ
2 เบาะพิง
3 เบาะรองแผนหลัง
4 เบาะนั่ง

(1/1)

หนาที่ในการปรับตั้งเบาะ
เบาะนั่งถูกติดตั้งไวใหปรับตั้งในตําแหนง
ตางๆ เพื่อเพิ่มความมั่นใจใหผูโดยสารได
สะดวกสะบายและลดความเหนื่อยลาใน
ขณะเดินทางไกล
1 ปุมเลื่อนเบาะ

ปรับตําแหนงเบาะ โดยการเลื่อนรางที่
อยูใตเบาะ
2 แกนปรับตั้งเบาะ

ปรับเอนเบาะไปดานหนาหรือดานหลัง
3 ปรับตั้งเบาะตรง

ปรับความสูงของเบาะนั่ง เบาะบางชนิด
สามารถเลื่อนขึ้นลงไปมาได แตบางชนิด
เลื่อนไดเฉพาะไปดานหนาหรือดานหลัง
4 ปรับเบาะรองแผนหลัง

รองรับสวนหลังเพื่อบรรเทาความเหนื่อย
ลาในระหวางการขับขี่ระยะไกล
5 ปรับตั้งเบาะดานขาง

ปรับความกวางของเบาะดานขางและ
น้าํ หนักที่รองรับคนขับในระหวางการเลี้ยว
6 ปรับตั้งพนักพิงศีรษะ

พนักพิงศีรษะมีไวเพื่อปองกันการกระแทก
เมื่อเกิดการชนดานทาย ตัวปรับตัง้ พนักพิง
ศีรษะใชในการปรับตําแหนงพนักพิงให
เหมาะกับรูปราง ซึ่งมีทั้งแบบที่ปรับขึ้นลง
และแบบที่ปรับขึ้นลงและเลื่อนไปมาได

(1/1)

- 10 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

เข็มขัดนิรภัย
เมื่อเกิดการหยุดรถกระทันหัน หรือเมือ่
เกิดเหตุสุดวิสัย รางกายของคนขับจะ
เคลื่อนที่ไปดานหนาตามแรงเฉื่อย
เข็มขัดนิรภัยจะทําหนาที่ยึดรางกายของ
ผูโดยสารไวกับที่นั่งอยางปลอดภัย ดังนั้น
มันอาจจะปองกันผูโดยสารจากการ
กระแทกกับพวงมาลัยหรือกระจกบังลม
หนา หรือการถูกเหวี่ยงออกนอกตัวรถ
เข็มขัดนิรภัยมี 2 ชนิด: ชนิด 2 จุด จะยึด
บริเวณโคนขา และชนิด 3 จุดจะยึดบริเวณ
โคนขาทั้งสองขางและบริเวณหนาอก

1 แบบ 2 จุด
2 แบบ 3 จุด
(1/2)

ELR (Emergency Locking Retractor)


เมื่อเบรกรถทันทีทันใดหรือเกิดการชน
กะทันหัน อุปกรณนี้จะล็อคเข็มขัดนิรภัย
ในขณะถูกดึง โดยปกติ อุปกรณชิ้นนี้จะ
ยอมใหเข็มขัดถูกดึงตามการเคลื่อนที่
ของผูโดยสาร
1. แบบ Speed-sensing
เข็มขัดนิรภัยจะถูกล็อค ถาสายเข็มขัด
ถูกดึงอยางรวดเร็ว
2. แบบ G-sensing
เข็มขัดนิรภัยจะถูกล็อค เมื่อเซ็นเซอร
ตรวจจับแรงหนวงที่กระทํากับตัวรถ
3. แบบ Multiple-sensing
ทําหนาที่รวมกันทั้งแบบ
speed-sensing และ G-sensing

ในหนาที่อื่น จะทําหนาที่ลดแรงกระชาก
ซึ่งจะควบคุมแรงดึงกลับของเข็มขัดเพื่อลด
แรงกระแทก

(2/2)

- 11 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

ขอมูลอางอิง:
เข็มขัดแบบดึงรั้งกลับ
ในการถูกชนดานหนาอยางรุนแรง ชุด
พรี-เทนชั่นเนอรจะดึงสายรัดกลับอยางมี
ประสิทธิภาพ หลังจากการทํางานของชุด
พรี-เทนชั่นเนอร ตัวจํากัดแรงจะทํางาน
มันจะเคลื่อนที่ตามผูโดยสารตามแรงเฉื่อย
ที่เพิ่มขึ้น มันจะปลอยสายรัดเข็มขัดไป
ตามการเคลือ่ นที่ของคนขับเพื่อที่จะลดแรง
กระชากที่หนาอกผูโดยสาร

เข็มขัดแบบดึงรั้งกลับจะทํางานพรอมกับ
ถุงลมนิรภัย SRS
(1/1)

ล็อคประตู
ล็อคประตูจะปองกันประตูไมใหถูกเปดจาก
การสั่นสะเทือน, การกระแทก และปองกัน
การขโมย มันมีหนาที่ปองกันล็อคประตู
จากการ unlocked ที่การทํางานของ
มือจับทั้งดานนอกและดานในตัวรถ

A ประตูเปด
B ประตูปดไมสนิท
C ประตูปด

(1/1)

ขอมูลอางอิง:
ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท
สามารถทําการล็อคประตูหรือปลดล็อค
โดยการกดปุม LOCK หรือ UNLOCK
ที่ลกู กุญแจ รถบางคันจะมีการติดตั้ง
อุปกรณการทํางานแบบตอบกลับ ซึ่ง
สัญญาณไฟเลี้ยวจะกะพริบ 1 ครั้งเมือ่
ประตูล็อค หรือกะพริบ 2 ครัง้ เมื่อประตู
ปลดล็อค
1 ตัวสงสัญญาณ (กระจกมองหลัง)

2 ชุดล็อคประตู

3 รีโมท
(1/1)

- 12 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

ระบบปดประตู
เมื่อ ECU ตรวจพบวาประตูลอ็ คไมสนิท
ชุดมอเตอรล็อคประตูจะดึงประตูปดให
สนิท

ฝากระโปรงหลังก็สามารถทําใหปดไดสนิท
เชนเดียวกัน ถา ECU ตรวจพบวาปด
ไมสนิท ชุดมอเตอรจะทํางานและปดฝา
กระโปรงหลัง

1 ECU ประตู
2 ชุดล็อคประตู
3 กลอนล็อคประตู
4 มอเตอรชุดปดฝากระโปรงทาย

A กอนทํางาน
B หลังทํางาน
(1/1)

ระบบสมารทคีย
ระบบสมารทคีย ผูขับขี่สามารถทําสิ่งตางๆ
ได โดยเพียงแคพกกุญแจไวเทานั้น

A ปลดล็อค / ล็อคประตู
B ปลดล็อคพวงมาลัยและ
สตารทเครื่องยนต
C เปดฝากระโปรงทาย

1 เลื่อน
2 กุญแจเลื่อนออก
3 สวิตชล็อคประตู
(ภาพแสดงประตูดา นคนขับ)
4 สวิตชสตารทเครื่องยนต
5 ปุมเปดฝากระโปรงทาย
ขอแนะนํา:
สามารถนํามาใชเปดประตูและ
สตารทเครื่องยนตไดตามปกติ
(1/1)

- 13 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย
1 การล็อคประตูปองกันประตูเปดงาย จากการชนหรือแรงกระแทก ถูก ผิด
2 A 3-box car รวมเนื้อที่เครื่องยนต, เนื้อที่โดยสาร, และเนื้อที่สัมภาระ ถูก ผิด
เบาะรองนั่งทําหนาที่รองรับรางกายผูโดยสารและดูดซับ
3 ถูก ผิด
การกระแทกจากพื้นที่ผิวของถนน
ตัวถังแบบโมโนคอก (monocoque body)
4 ถูก ผิด
เปนโครงสรางที่ตัวถังกับโครงรถรวมอยูดวยกัน
สีของรถยนตทาํ หนาที่ปองกันตัวถังรถยนตจากรังสีของแสงแดดและ
5 ถูก ผิด
น้าํ ฝน รวมทั้งปองกันตัวถังจากสนิมดวย

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับรูปแบบตัวถัง
1. ö«Õ´Ò¹ÃÇÁà¹×éÍ·Õèâ´ÂÊÒÃáÅÐà¹×éÍ·ÕèÊÑÁÀÒÃÐà»ç¹Êèǹà´ÕÂǡѹ
2. ö«Õ´Ò¹äÁèÁÕâ¤Ã§Ë¹éÒµèÒ§áÅÐàÊÒ¡ÅÒ§à¾×èÍà¹é¹ã¹ÃÙ»Êѡɳì
3. ö»Ô¤ÍѾÃÇÁà¹×éÍ·Õèâ´ÂÊÒÃáÅÐà¹×éÍ·ÕèÊÑÁÀÒÃÐà»ç¹Êèǹà´ÕÂǡѹ
4. à¤Ã×èͧ¹µì¢Í§Ã¶»Ô¤ÍѾºÃ÷ء¶Ù¡µÔ´µÑé§ÍÂÙè´éҹ˹éҢͧàºÒйÑ觤¹¢Ñº

คําถาม-3
ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับเข็มขัดนิรภัย?
1. ¤ÇÒÁÂÒǢͧà¢çÁ¢Ñ´¹ÔÃÀѨж١¤ÅÒÂÍÍ¡ (Â×´ÍÍ¡) àÊÁÍ à¾×èÍ·Õè¨Ð»éͧ¡Ñ¹
áç´Ñ¹¡´·Õè¨Ðà¡Ô´¡Ñº¼Ùéâ´ÂÊÒâ³ÐËÂشöËÃ×Íà¡Ô´¡Òê¹
2. ¡Åä¡ ELR ¢Í§à¢çÁ¢Ñ´¹ÔÃÀÑ ·Ó˹éÒ·ÕèÅçͤà¢çÁ¢Ñ´¹ÔÃÀÑÂà¾×èÍ»éͧ¡Ñ¹¡ÒäÅÒ (Â×´)
¨Ò¡µÓá˹觢³ÐàºÃ¡¡Ð·Ñ¹ËѹËÃ×Íà˵ØÊØ´ÇÔÊÑÂ
3. ¡Åä¡¡ÒûÃѺ¤ÇÒÁµÖ§Åèǧ˹éҢͧà¢çÁ¢Ñ´¹ÔÃÀÑ ¨ÐÅçͤà¢çÁ¢Ñ´à¾×èÍ»éͧ¡Ñ¹¡ÒäÅÒ (Â×´)
¢³ÐàºÃ¡¡Ð·Ñ¹ËѹËÃ×Íà˵ØÊØ´ÇÔÊÑÂ
4. ¡Åä¡¡ÒûÃѺ¤ÇÒÁµÖ§Åèǧ˹éҢͧà¢çÁ¢Ñ´¹ÔÃÀÑ ¨Ð·Ó¡ÒäÅÒ (Â×´)
à¢çÁ¢Ñ´àÁ×èÍà¡Ô´¡Ò깫Öè§ÁÕáçÁÒ¡¡ÇèÒ¤èÒ·ÕèµÑé§äÇé¡Ñºà¢çÁ¢Ñ´

- 14 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต ตัวถัง
คําถาม-4
ภาพดานลางกลาวเกี่ยวกับกระจกรถยนต จงเลือกคําที่เหมาะสมกับภาพจากกลุมคําดานลาง

(1) ª¹Ô´¡ÃШ¡·Õè»éͧ¡Ñ¹àÈÉËÔ¹ËÃ×ÍÊÔè§á»Å¡»ÅÍÁ (2) ª¹Ô´¡ÃШ¡·ÕèªèÇÂÅ´»ÃÔÁÒ³áʧÍÑŵÃéÒäÇâÍàŵ


¡ÃÐà´ç¹ÁÒ·ÓãËé¡ÃШ¡áµ¡ä´é ¼èÒ¹à¢éÒÁÒã¹Ã¶

(3) ¡ÃШ¡·Õè´Ù´«ÑºáʧÍÔ¹¿ÃÒàôã¹áʧÍÒ·ÔµÂì (4) ª¹Ô´¡ÃШ¡·ÕèàÇÅÒᵡáÅéǨÐÁÕÅѡɳÐà»ç¹ªÔé¹àÅç¡æ

ก) กระจกเทมเพิรด ข) กระจกลามิเนต ค) กระจกดูดซับพลังงาน (กระจกโซลาร)


ง) กระจกสี จ) กระจกลดรังสี UV
คําตอบ: 1. 2. 3. 4.

- 15 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

คูมือการบริการ คูมือการบริการ
รถยนตไดมกี ารพัฒนารูปแบบและระบบ
ใหมๆ อยูอยางตอเนื่องและตลอดเวลา
ดังนั้นจึงมีความซับซอนและเปนเรือ่ งที่ยาก
สําหรับชางเทคนิคที่จะทําการซอมโดยใช
ประสบการณเพียงอยางเดียว

เพื่อเปนขอมูลใหกับบุคคลากรดานการ
บริการในสวนตางๆ
ทั่วโลกเกี่ยวกับการดําเนินการบริการและ
เทคโนโลยีใหมๆ บริษัท โตโยตา มอเตอร
คอรปอเรชั่น (TMC)
จึงไดจัดพิมพคูมือแบบตางๆ ขึ้นดังนี้

-1-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
1 คูมอ ื การซอม
คูมอื การซอมจะใหขอมูลเกี่ยวกับการถอด, การประกอบกลับ, การตรวจสอบ, และวิธีการปรับตัง้ ชิ้นสวนตางๆ
ในอเมริกาและแคนาดานั้น จะพิมพคูมือการซอมของรถทุกรุนและเกียรอัตโนมัติ สวนในประเทศอืน่ ๆ จะจัดพิมพเปน
2 แบบ: ชวงลางและตัวถังของรถทุกรุน และกลุมชิ้นสวนทั้งหมด เชน เครื่องยนตของแตละเครื่อง

2 คูมอื วงจรไฟฟา (EWD)


คูมอื นี้จะรวบรวมแผนผังซึ่งสรุปรายละเอียดเกี่ยวกับสายไฟในรถ โดยจะจัดพิมพทุกๆ รุน

3 รายการเครื่องมือพิเศษ (SST)
รายการนี้จะใหขอมูลเกี่ยวกับเครื่องมือพิเศษที่จาํ เปนในการซอมและตรวจสอบรถ โดยจะจัดพิมพทุกๆ ป

4 คูมอื รายละเอียดรถรุนใหม
คูมอื นี้จะใหขอมูลเกี่ยวกับรถและกลไกใหมๆ

5 แผนขอมูลการบริการ (SDS)
คาตางๆ (เชน ความตึงสายพานตัววีและระยะหางวาลว) ที่มักใชในการตรวจสอบและปรับตั้ง จะพิมพออกมาเปนใบๆ
ซึ่งจะจัดทําทุกปสาํ หรับรถทุกรุนตามแตละประเทศ ยกเวนอเมริกาและแคนาดา

6 คูมอื การใชรถ
คูมอื นี้จัดทําไวสาํ หรับเจาของรถโตโยตา เพื่อใหขอมูลที่สาํ คัญตางๆ เกี่ยวกับการใชรถ โดยจะจัดพิมพทุกๆ
รุนและมอบใหกับเจาของรถรุนนั้นๆ

7 อื่นๆ
เพื่อใหครบตามที่กลาวขางตน จึงมีการจัดพิมพคูมือตอไปนี้ดวย:
1. คูมือการซอมสําหรับตัวถังที่ผานการชนเสียหาย
2. ขั้นตอนการซอมตัวถังเบื้องตน
3. ขั้นตอนการทําสีเบื้องตน
4. พื้นฐานและการซอมระบบปรับอากาศ (HFC134a)
5. การซอมชุดสายไฟ
6. คูมือการบริการชิ้นสวนตางๆ ของเครื่องเสียง
7. คูมือชั่วโมงงานมาตรฐาน
8. คูมือการวิเคราะหปญหา
9. คูมือการอบรม
(1/1)

-2-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

อะไหลแทโตโยตา อะไหลแทโตโยตา
โครงสรางของอะไหลแทโตโยตา
อะไหลแทโตโยตาเปนอะไหลชนิดเดียวกัน
กับอะไหลที่ติดมากับรถยนต
อะไหลทุกชิ้นจะตองผานการตรวจสอบ
คุณภาพอยางเขมงวดที่สุด
เพื่อใหแนใจในคุณภาพและประสิทธิภาพ
ตลอดจนอายุการใชงานที่ยาวนาน
¢éÍá¹Ð¹Ó:
อะไหลแทโตโยตาทุกชิ้นจะบรรจุอยูใน
หีบหอ ซึ่งจะมีเครื่องหมาย
"TOYOTA GENUINE PARTS"

(1/1)

หมายเลขอะไหลโตโยตา
เพื่อเปนการแสดงความถูกตองของชิ้นสวน
และสวนประกอบทุกชิ้นของรถยนต
หมายเลขอะไหลที่ประกอบไปดวยตัวอักษร
และตัวเลข 10 หรือ 12 หลัก
จะถูกกําหนดลงบนอะไหลทุกชิ้น
สําหรับรายละเอียดตางๆ
จะแสดงอยูในคูมือแคตตาล็อคอะไหล*
*จัดพิมพโดยฝายบริหารการบริการอะไหล
โตโยตา

1 หมายเลขหลักของอะไหล
หมายเลข 5ตัวแรกคือหมายเลขหลัก
ของอะไหลซึ่งแสดงกลุม ทั่วไปของ
ชิ้นสวนที่เกี่ยวของเชนหมายเลขอะไหล
ที่เริ่มดวย 81110 จะแทนชิ้นสวน
ของไฟหนา
2 หมายเลขการออกแบบ
หมายเลข 5ตัวถัดไปจะใชสาํ หรับ
จําแนกประเภทของรถหรือเครือ่ งยนต
3 หมายเลขรหัสขนาดของอะไหล
หมายเลข 2 ตัวถัดไป (ถามี)
จะใชสาํ หรับจําแนกสีและขนาด
(1/1)

-3-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

แคตตาล็อคอะไหล
ถึงแมวาอะไหลทุกๆ ชิ้นจะมีหมายเลข
อะไหลกาํ กับอยูแตวาหมายเลขเหลานั้น
ไมจาํ เปนทีจ่ ะตองอยูบนตัวของมันเสมอไป
ซึ่งคุณจะสามารถหาหมายเลขอะไหลได
จากแคตตาล็อคอะไหล
หมายเลขอะไหลทุกชิ้นสามารถที่จะคนหา
ไดจากแคตตาล็อคอะไหล
ซึ่งจะมีอยูดวยกัน 3 แบบ
การใชแคตตาล็อคอะไหล*
จะมีวิธีการใชงาน
ซึ่งขึ้นอยูกับวาเปนแคตตาล็อคแบบใด
*จัดพิมพโดยฝายบริหารการบริการอะไหล
โตโยตา

1 ไมโครฟชแคตตาล็อคอะไหล
แคตตาล็อคนี้จะมาในรูปของ
แผนพลาสติกที่เรียกวา "ฟช"
เราจําเปนจะตองใชเครือ่ งมือพิเศษ
ที่เรียกวาเครือ่ งอานไมโครฟชในการ
ชมแคตตาล็อคเหลานี้
2 หนังสือแคตตาล็อคอะไหล
แคตตาล็อคเหลานี้จะจัดพิมพใหกับ
ประเทศตางๆ
ยกเวนในแถบอเมริกาเหนือและยุโรป
3 แคตตาล็อคอะไหลแบบอิเล็กทรอ-
นิกส (CD-ROM)
ขอมูลจากแคตตาล็อคอะไหล
จะเก็บอยูในแผนซีดี-รอม
(1/1)

-4-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

การคนหาหมายเลขอะไหล
ขอมูลที่ใชสําหรับการคนหาหมายเลข
อะไหล
การคนหมายเลขโทรศัพทในสมุดโทรศัพท
จําเปนตองทราบชื่อของบุคคลหรือที่อยู
สําหรับหมายเลขที่ตองการคนหาลวงหนา
เสียกอน
เชนเดียวกับการคนหาหมายเลขอะไหล
ในคูมอื อะไหล
ทานจะตองมีขอมูลบางอยางเกี่ยวกับรถ

ตัวอยาง:
• รหัสรุนรถยนต
• รหัสสีตัวถัง
• รหัสการตกแตงภายใน
• รหัสของสงกําลัง
• รหัสเพลา

ขอมูลเหลานี้จะบอกอยูในแผนปายชื่อ
หรือฉลากรับรองตามกฎหมายของรถ
1 แผนปายชื่อ

(1/4)

-5-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

แผนปายชื่อ
แผนปายชื่อ เปนที่รูจักกันดีในนามของ
"แผนปายผูผลิต"
ซึ่งมีรายละเอียดแตกตางกันไปตาม
ประเทศปลายทางที่จะสงรถยนตออกไป

แผนปายชื่อของรถยนตนั่งจะติดตัง้ บริเวณ
สวนของตัวถังใตกระจกบังลมหนา
คูมือการซอมจะแสดงตําแหนงทีต่ ั้งปายชื่อ
โดยละเอียด

A สําหรับสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
B สําหรับประเทศในแถบยุโรป
C สําหรับประเทศอื่นๆ

-6-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
1 รหัสรุนรถยนต

รหัสรุนรถยนตจะบงบอกถึงความแตกตางของเครื่องยนต, รุน , ชนิดตัวถัง และขอมูลเฉพาะเบื้องตนของรถยนต


รหัสรุนรถยนตประกอบไปดวยตัวอักษรและตัวเลข

2 ชนิดเครื่องยนตและปริมาตรกระบอกสูบ
ชนิดเครือ่ งยนตและปริมาตรกระบอกสูบจะมีระบุที่แผนปายผูผลิต
รถยนตที่รุนเดียวกันไมจาํ เปนที่ชนิดของเครือ่ งยนตและปริมาตรกระบอกสูบตองเหมือนกัน
3 หมายเลขตัวถัง
หมายเลขตัวถัง ซึ่งระบุที่ตัวรถ จะตอกอยูที่ตัวถังหรือโครงรถ
หมายเลขตัวถังจะบรรจุไปดวยรหัสรุนรถยนตพื้นฐานและหมายเลขประจํารถ

4 หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)
หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต ซึ่งแสดงทีร่ ถ โดยขึ้นอยูกับกฎหมายแตละประเทศ

5 รหัสสีตัวถัง
สีภายนอกของรถจะแสดงดวยรหัส
รหัสสีมีความจําเปนตอการพนสีตัวถังหรือสีชิ้นสวนภายนอก (เชน สีกันชนหรือกระจกมองขาง)

6 รหัสการตกแตงภายใน
รหัสการตกแตงภายในจะแสดงถึงสีภายในรถ รหัสนี้มคี วามจําเปนตอการสั่งทําสีของชิ้นสวนภายใน
(เชน พวงมาลัย, เบาะ, แผงประตู)

7 รหัสการสงกําลัง
รหัสการสงกําลังจะแสดงถึงชนิดของการสงกําลังวารถใชเกียรชนิดใด
รถที่รุนเดียวกันไมจาํ เปนตองมีชนิดเกียรแบบเดียวกัน

8 รหัสเพลา
รหัสเพลาจะประกอบไปดวยตัวอักษรและตัวเลขที่แสดงถึงขอมูลเล็กๆ นอยๆ :
-เสนผาศูนยกลางของริงเกียร
-อัตราทดเกียร
-หมายเลขของพีเนียนและเฟองทายแบบลิมิเต็ดสลิป (LSD)

9 รหัสชื่อโรงงาน
รหัสชื่อโรงงานจะแสดงถึงชื่อของโรงงานที่ผลิตรถ รหัสนี้ไมเกี่ยวกับอะไหลที่สั่ง
(2/4)

-7-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต
หมายเลขโครงรถหรือหมายเลขที่ระบุ
เฉพาะรถยนต (VIN)
จะถูกประทับไวภายในหองเครื่องยนตหรือ
แชสซีส เปนตน นอกจากที่แผนปายชื่อ
ใหดูตาํ แหนงการติดตั้งไดจากคูมือการซอม
เนื่องจากจะถูกติดตั้งในตําแหนงที่แตกตาง
กันไป ขึ้นอยูกับชนิดของรถยนต

1 หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)
2 แผนปายชื่อ

(3/4)

-8-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)
หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)
จะขึ้นอยูกับกฎหมายของแตละประเทศ
ที่จะทําการสงรถยนตไปจําหนายวา
ตําแหนงการติดตัง้ จะอยูที่แผนปายชื่อหรือ
ตัวถังของรถยนต
หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)
ประกอบไปดวยตัวอักษรและตัวเลข 17
หลัก ซึ่งจะประกอบดวย WMI
(ตัวยอของผูผลิตในโลก), VDS
(หมวดรายละเอียดรถยนต) และ VIS
(หมวดแสดงรายการของรถยนต)

WMI á¼è¹»éÒÂáÊ´§âç§Ò¹·Õè¼ÅÔµ หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)


VDS Êèǹ¢Í§ÃÒÂÅÐàÍÕ´à¡ÕèÂǡѺö จะเหมือนกับหมายเลขรุนของหมายเลข
VIS Êèǹ¢Í§ËÁÒÂàÅ¢»ÃШӵÑÇö โครงรถซึ่งรวมถึงระยะเวลาในการผลิต

หมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)
จะถูกใชในประเทศตางๆ ดังนี้:
• ÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡ÒáÅÐ᤹ҴÒ
(ÃÇÁ·Ñ駴ԹᴹÀÒÂãµé¡Òû¡¤Ãͧ
¢Í§ÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡Ò)
• ÂØâû
(ÃÇÁ·Ñ駴ԹᴹÀÒÂãµé¡Òû¡¤Ãͧ
¢Í§½ÃÑè§àÈÊ)
• ÍÍÊàµÃàÅÕÂ, ¹ÔÇ«ÕᏴì, ºÃÒ«ÔÅ,
Îèͧ¡§, ÍԹⴹÕà«ÕÂ, áÍ¿ÃÔ¡Òãµé, Í×è¹æ

สําหรับไดอะแกรมที่แสดงอยูทางซายมือจะ
แสดงหมายเลขที่ระบุเฉพาะรถยนต (VIN)
สําหรับสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

1 ชนิดของตัวถัง, ระบบสงกําลัง ฯลฯ


2 ชนิดเครื่องยนต
3 ซีรี่ส
4 ชนิดของระบบเสริมความปลอดภัย,
เกรด
5 ชื่อรุน
6 หมายเลขตรวจเช็ค, รหัสหรือปทผี่ ลิต
7 ปที่ผลิต
8 โรงงานผลิตหรือโรงประกอบ
9 VISจะเหมือนกับหมายเลขรุนของ
หมายเลขโครงรถซึ่งรวมถึงระยะเวลา
ในการผลิต

-9-
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
(4/4)
ขอมูลเฉพาะของรถยนต ขอมูลเฉพาะของรถยนต
ขอมูลเฉพาะของรถยนต จะบอกขนาด
สมรรถนะและรายละเอียดที่สาํ คัญๆ
ทั่วไปของรถยนต
ซึ่งสามารถคนหาไดในคูมือการผลิต
และคูมอื รายละเอียดรถรุนใหม (NCF)
เปนตน
ซึ่งชางเทคนิคจําเปนตองเขาใจทุกขออยาง
ถองแท เกี่ยวกับขอมูลเฉพาะของรถยนต

(1/1)

- 10 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
น้ําหนักและมิติของรถยนต
มิติของรถยนตจะประกอบไปดวย
รายละเอียดตางๆดังรูปภาพที่แสดง
ดานซายมือ

¹éÓ˹ѡµÑÇö

น้ําหนักตัวรถ
น้าํ หนักตัวรถจะประกอบไปดวยรายการที่
เปนมาตรฐาน
ซึ่งจําเปนในการทํางานของรถยนต เชน
น้าํ มันเชื้อเพลิง, น้าํ หลอเย็น, น้าํ มันเครื่อง,
ÁԵԢͧö
ยางอะไหลและเครื่องมือประจํารถ
1 ความกวางโดยรวม
ไมรวมคนขับและอุปกรณที่เก็บในหองเก็บ
คือความกวางสูงสุดของรถ รวมกระจกมองขาง
ของดานหลัง
2 ความกวางภายใน

คือระยะหางสูงสุดของกลางหองโดยสารระหวางประตูขวากับประตูซาย
น้ําหนักรวมตัวรถ
3 ความสูงโดยรวม
น้าํ หนักรวมตัวรถก็คือน้าํ หนักที่มีการ
คือความสูงของรถสูงสุดในสภาพรถเปลา รวมเสาอากาศ
บรรทุกขณะทําการขับขี่และถูกออกแบบมา
4 ระยะหางระหวางลอซายและขวา
ใหมีความสามารถในการรับน้าํ หนักได
คือระยะหางระหวางศูนยกลางลอขวากับลอซาย
สูงสุดและการบรรทุกจะตองไมเกินคา
5 ความยาวของหองโดยสาร
กําหนดที่ออกแบบไว
คือระยะหางระหวางศูนยกลางของแผงหนาปดของหองโดยสาร
กับพนักพิงหลัง
6 มุมเงยหนา
น้ําหนักเพลาหนา
คือน้าํ หนักของตัวรถซึ่งกระทําหรือกดลงที่
คือมุมที่สรางจากเสนสมมติกับเสนพื้นผิวถนน
เพลาหนา
(โดยลากเสนจากสวนลางของดานหนาสุดของรถกับผิวสัมผัสพืน้ ทาง
ดานหนายาง)
7 ความสูงจากพื้นถึงตัวรถต่ําสุด
น้ําหนักรวมเพลาหนา
คือระยะหางจากพื้นถึงสวนที่ตา่ํ ที่สุดของรถในขณะที่ไมมีนา้ํ หนักบรรทุก คือน้าํ หนักแตละสวนของตัวรถที่กระทํากับ
8 ความสูงหองโดยสาร
เพลาหนา
คือระยะหางแนวตั้งสูงสุดของกลางหองโดยสารระหวางหลังคากับ
พื้นหองโดยสาร น้ําหนักเพลาทาย
9 ระยะยื่น-หนา คือระยะหางจากศูนยกลางดุมลอหนาถึงดานหนาสุดของรถ
คือน้าํ หนักของตัวรถซึ่งกระทํากับเพลาทาย
10 ฐานลอ

ระยะหางระหวางศูนยกลางของดุมลอหนากับดุมลอหลัง น้ําหนักรวมเพลาทาย
11 ความยาวรวมของรถ คือระยะหางจากดานหนาสุดถึงดานหลังสุดของรถ
คือน้าํ หนักแตละสวนของตัวรถที่กระทํากับ
12 ระยะยื่น-หลัง
เพลาทาย
คือระยะหางจากศูนยกลางดุมลอหลังถึงดานหลังสุดของรถ
13 มุมเงยหลัง

คือมุมที่สรางจากเสนสมมติกับเสนพื้นผิวถนน
(โดยลากเสนจากสวนลางของดานหลังสุดของรถกับผิวสัมผัสพื้นทางดานหลัง
ยาง)
(1/1)

- 11 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
สมรรถนะ
1. ความเร็วสูงสุด
ก็คือตัวเลขที่ใชแสดงถึงสมรรถนะในการ
ขับขี่ของรถยนตความเร็วสูงสุดจะถูกวัดใน
ขณะที่ไมมีนา้ํ หนักบรรทุกและขับขี่บนทาง
เรียบ และจะแสดงหนวยเปน กม./ชม.
(ไมล/ชม.)

(1/4)
2. อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง
หมายถึงคาที่แสดงถึงปริมาณการ
สิ้นเปลืองน้าํ มันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต
เมื่อรถยนตเคลื่อนที่ตอ ระยะทาง
การคํานวณหาอัตราการสิ้นเปลืองน้าํ มัน
เชื้อเพลิง มี 2 วิธีการ คือ:

1 การวัดปริมาณการสิ้นเปลืองน้ํามัน
เชื้อเพลิง โดยขับรถที่ระยะทางคงที่
หนวยที่ใชคือ จํานวนลิตร ตอ 100
กิโลเมตร (L/100 km)
2 การวัดปริมาณการสิ้นเปลืองน้ํามัน
เชื้อเพลิงโดยการวัดระยะทางที่รถ
วิ่งตอปริมาณเชื้อเพลิงที่กําหนดให
หนวยที่ใชวัดคือ กิโลเมตรตอลิตร
(km/L)
¢éÍá¹Ð¹Ó:
อัตราการสิ้นเปลืองน้าํ มันเชื้อเพลิงที่ได
จากการวัด จะเปลี่ยนแปลงไมคงที่
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพของการขับขี่ชวง
ระยะเวลาในขณะทําการวัด (เชน
สภาวะอากาศ สภาพเครื่องยนต ภาระ
สภาพถนน ฯลฯ)
(2/4)

- 12 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
3. ความสามารถในการขับขึ้นทาง
ลาดชัน
คือความสามารถของรถในการขับขึ้นทาง
ลาดชัน ในสภาวะที่มีนา้ํ หนักรวมของรถ
A ระยะทางตามแนวราบ

B ความสูงแนวตั้ง

C มุมลาดชัน

= B / A

ตัวอยาง:
ความสูงแนวตั้ง (B = 20 เมตร)
และระยะทางตามแนวราบ (A = 100
เมตร)
20/100 = 0.2 (มุมลาดชัน)

¢éÍá¹Ð¹Ó:
รถยนตจะไมสามารถขับขึ้นทางลาดชัน
สูงสุดได
ถาหากวายางและพื้นผิวถนนมีความ
ตานทานแรงเสียดทานนอยเกินไป
(3/4)
4. รัศมีวงเลี้ยวต่ําสุด

เปนรัศมีที่ลากจากจุดกึ่งกลางการเคลื่อนที่
ของรถและจุดกึ่งกลางของยางลอดานนอก
สุด (หรือดานนอกสุดของตัวถัง)
เมื่อเลีย้ วรถอยางชาๆบนพื้นถนนโดยหมุน
พวงมาลัยไปทางซายหรือขวาจนสุด

1 รัศมีวงเลี้ยวต่าํ สุด (ยาง)


2 รัศมีวงเลี้ยวต่าํ สุด (ตัวถัง)

(4/4)

- 13 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
เครื่องยนต
กระบอกสูบและระยะชัก
เครื่องยนตสามารถจําแนกออกไดเปน
3 ประเภทดวยกัน
ขึ้นอยูกับอัตราสวนของขนาดเสนผาศูนย
กลางของกระบอกสูบและระยะชัก
ดังตอไปนี้:
1. เครื่องยนตระยะชักยาว
คือเครื่องยนตที่มีระยะชักของลูกสูบ
มากกวาขนาดเสนผาศูนยกลางของ
กระบอกสูบ
2. เครื่องยนตแบบสมดุลย
คือเครื่องยนตที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง
ของกระบอกสูบเทากับระยะชักของ
ลูกสูบ
3. เครื่องยนตระยะชักสั้น
คือเครื่องยนตที่มีระยะชักของลูกสูบ
สั้นกวาขนาดเสนผาศูนยกลางของ
กระบอกสูบ

1 กระบอกสูบ
2 ระยะชัก
3 TDC (ศูนยตายบน)
ตําแหนงที่ลกู สูบเคลื่อนตัวขึ้นสูงสุด
ในกระบอกสูบ
4 BDC (ศูนยตายลาง)
ตําแหนงที่ลกู สูบเคลื่อนตัวลงต่าํ สุด
ในกระบอกสูบ

(1/5)

- 14 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
ปริมาตรการบรรจุไอดีในกระบอกสูบ
ทั้งหมด
ปริมาตรการบรรจุไอดี
(หรือปริมาตรการบรรจุ)ถูกกําหนดโดย
ความกวางของกระบอกสูบและระยะชัก
ปริมาตรทั้งหมดของเครื่องยนต คือ
การแทนที่ปริมาตรของกระบอกสูบคูณ
จํานวนกระบอกสูบทั้งหมด
โดยทั่วไป เครื่องยนตที่มีปริมาตรมาก
จะใหกาํ ลังงานของเครื่องยนตที่สูงกวา

1 เสนผาศูนยกลางกระบอกสูบ
2 ระยะชัก
3 TDC (ศูนยตายบน)
4 BDC (ศูนยตายลาง)
(2/5)
อัตราสวนการอัด
คืออัตราสวนผสมน้าํ มันกับอากาศที่ถูกอัด
โดยลูกสูบ โดยทั่วไป
อัตราสวนผสมของเครื่องยนตแกสโซลีนอยู
ระหวาง 8 ถึง 11
และเครื่องยนตดีเซลอยูระหวาง 16 ถึง 24
อัตราสวนกําลังอัด = (V1+V2)/V1

V1 ปริมาตรหองเผาไหม
V2 ปริมาตรกระบอกสูบ
(ปริมาตรการบรรจุไอดี)

1 TDC (ศูนยตายบน)
2 BDC (ศูนยตายลาง)
(3/5)

- 15 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

แรงบิดของเครื่องยนต
แรงบิดของเครื่องยนตเปนคาที่แสดงกําลัง
หรือแรงในการหมุนของเพลาขอเหวี่ยง
ซึ่งคาที่แสดงมีหนวยเปนนิวตัน-เมตร
(N·m) และคํานวณไดดังตอไปนี้:

T=Nxm

T = แรงบิด
N = แรงกระทํา
m =ระยะทาง

¢éÍá¹Ð¹Ó:
นิวตัน (N) เปนหนวยของการวัดแรง
ซึ่งมีความสัมพันธกับหนวยวัดแรงบิด
เดิม คือ กิโลกรัมแรง (kgf) ดังนี้คือ:
1 N = 0.11355 kgf
1 kgf = 9.80665 N
(4/5)

- 16 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

กําลังของเครื่องยนต
กําลังของเครื่องยนตก็คือปริมาณของกําลัง
งานที่ผลิตไดในชวงระยะเวลาที่กาํ หนด
ถึงแมวาหนวยสากลที่ใชคือ กิโลวัตต (kW)
แตยังมีหนวยอื่นๆ ที่ใชกันอยางกวางขวาง
อีก เชน หนวยแรงมาของอังกฤษ (HP)
และหนวยแรงมาของเยอรมัน (PS)
กําลังงานที่ได คือผลลัพธของความเร็วรอบ
ของเครื่องยนตคูณดวยแรงบิด
เพราะวาแรงบิดของเพลาจะลดลงเนื่องจาก
ประสิทธิภาพของไอดีลดลง
ซึ่งเกิดขึ้นขณะที่รอบเครือ่ งยนตสูง
กําลังงานที่ไดสูงสุดอยูในระดับคงที่
ระดับกําลังงานสูงสุดนี้เราเรียกวา
กําลังงานสูงสุด

¢éÍá¹Ð¹Ó:
คาแสดงความเกี่ยวพันธระหวางหนวย
kW, HP, PS
1 kW = 1.3596 PS
(1 PS = 0.7355 kW)
1 kW = 1.3410 HP
(1 HP = 0.74571 kW)
(5/5)

เสนโคงแสดงสมรรถนะของเครื่องยนต
เสนโคงที่แสดงสมรรถนะของเครื่องยนต
จะนําเสนอในรูปแบบของกราฟ
ซึ่งจะแสดงถึงความสัมพันธที่เปนแรงบิด
และกําลังของเครื่องยนตเปนแนวตั้งและ
ความเร็วรอบของเครื่องยนตเปนแนวนอน

- 17 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

คาแสดงกําลังของเครื่องยนต
คาที่ไดจากเสนโคงที่แสดงจะไดคา
ประมาณการจากมาตรฐาน

คากําลังของเครื่องยนต
คานี้จะไดมาจากกําลังของเครื่องยนต
โดยตรง
คากําลังของเครื่องยนตที่ใชงานจริง
ไดจากกําลังของเครื่องยนตที่ไดมีการติดตั้ง
แลวในรถ
คาที่ไดจะนอยกวาคากําลังของเครื่องยนต
ที่วัดไดจากเครื่องยนตโดยตรงอยูประมาณ
10-15 %
(1/1)

อางอิง:
เสนโคงที่แสดงถึงสมรรถนะในการ
ขับเคลื่อน
เสนโคงนี้จะแสดงถึงสมรรถนะของ
เครื่องยนตที่ติดตั้งกับรถยนต
ซึ่งจะแสดงออกมาในรูปของกราฟ
และจะมีปจจัยที่เกี่ยวของ 3 ประการคือ:

1 ความเร็วของเครื่องยนตและรถยนต
เปนความสัมพันธกันระหวางความเร็ว
รอบเครื่องยนตและการเปลี่ยนเกียรใน
แตละตําแหนงเพื่อความเร็วของรถที่
เหมาะสม

2 แรงขับเคลื่อนและความเร็วของ
รถยนต
เปนความสัมพันธระหวางแรงขับ
เคลื่อนของแตละเกียรและความเร็ว
ของรถยนตเมือ่ เรงความเร็วเต็มที่

3 แรงตานทานขณะขับเคลื่อนและ
ความเร็วของรถยนต
เปนความสัมพันธระหวางความเร็ว
ของรถยนตขณะขับบนทางลาดชันและ
แรงตานทานขณะขับเคลื่อนบนพื้นที่
ลาดเอียง 0 ถึง 60 %

(1/1)

- 18 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ

¤Ó¶ÒÁ-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:
¢éÍ ¤Ó¶ÒÁ ¶Ù¡ËÃ×ͼԴ à©ÅÂ
คูมือการใชรถประกอบไปดวยขอมูลรถใหมและรายละเอียดของกลไก
1 ¶Ù¡ ¼Ô´
ตัวใหม
ความจุของกระบอกสูบทั้งหมดเทากับความจุของหองเผาไหมคูณดวย
2 ¶Ù¡ ¼Ô´
จํานวนกระบอกสูบ
3 แรงบิดเครือ่ งยนตคือคาของแรงที่ตองใชในการหมุนเพลาขอเหวี่ยง ¶Ù¡ ¼Ô´
ความจุกระบอกสูบทั้งหมดของเครือ่ งยนตเทากับความจุของกระบอกสูบ
4 ¶Ù¡ ¼Ô´
คูณดวยจํานวนกระบอกสูบ
5 ตัวเลข 5 ตัวแรกของหมายเลขอะไหลโตโยตาบอกถึงวันที่ผลิต ¶Ù¡ ¼Ô´

¤Ó¶ÒÁ-2
ขอความใดตอไปนี้อธิบายไดอยางถูกตองเกี่ยวกับแผนปายชื่อ?
1. แผนปายชื่อบอกถึงสมรรถนะในการขับขี่
2. แผนปายชื่อบอกถึงคูมือการซอมและคูมือผังวงจรไฟฟา
3. แผนปายชื่อบอกถึงหมายเลขรุนและหมายเลขตัวถัง
4. แผนปายชื่อบอกถึงชื่อของผูใช

¤Ó¶ÒÁ-3
ขอความใดตอไปนี้อธิบายไดอยางถูกตองเกี่ยวกับระยะหางฐานลอ?
1. ระยะหางฐานลอคือความกวางระหวางจุดศูนยกลางของลอขางซายกับลอขางขวา
2. ระยะหางฐานลอคือความยาวระหวางดานหนาสุดกับดานหลังสุดของรถ
3. ระยะหางฐานลอคือระยะหางระหวางพื้นกับสวนที่ตา่ํ ทีส่ ุดของรถ
4. ระยะหางฐานลอคือระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของลอหนากับจุดศูนยกลางของลอหลัง

- 19 -
¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» -¢ˆÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¤Ù‡Á×Í¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
¤Ó¶ÒÁ-4
จากกลุมคําดานลาง จงเลือกคําที่สัมพันธกับหมายเลข 1 ถึง 5

ก) ระยะหางระหวางลอซายและขวา
ข) ความสูงโดยรวม
ค) ระยะหางจากพื้นถึงจุดต่าํ สุดของรถยนต
ง) ความยาวโดยรวม
จ) ความกวางโดยรวม
ฉ) มุมเงยหนา
คําตอบ: 1. 2. 3. 4. 5.

- 20 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด

เชื้อเพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
เชื้อเพลิงและสารหลอลื่นที่ใชอยูในรถยนต
มีอยูมากมายหลายชนิด ซึ่งบางชนิดจะมี
สารพิษ และสารที่มีความไวไฟเจือปนอยู
ดังนั้นจึงตองระมัดระวังในการใชงาน
และถาหากวามีการใชเชื้อเพลิงหรือสาร
หลอลื่นผิดประเภท
จะทําใหเกิดผลเสียกับชิ้นสวนนั้นอยางมาก
ดังนั้นจึงจําเปนอยางมากที่จะตองรูจักเชื้อ
เพลิงและสารหลอลื่นตางๆ วิธีการใช
การเก็บรักษาอยางถูกตอง

(1/1)

น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันเชื้อเพลิง
น้าํ มันเชื้อเพลิงชนิดตางๆ ที่มีใชกับรถยนต
ในปจจุบันนี้มีดังนี้ คือ น้าํ มันเบนซิน
และน้าํ มันดีเซล เมทานอล แกสแอลพีจี
และเชื้อเพลิงอืน่ ๆ
ตอไปนี้เราจะอธิบายถึงเชื้อเพลิงที่มคี วาม
นิยมในการใชสูงสุดสองแบบคือ:
น้าํ มันเบนซินและดีเซล

ขอแนะนํา:
น้าํ มันเบนซินจะเสื่อมสภาพตามเวลาที่
ผานไป
(1/1)

-1-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด

น้ํามันเบนซิน
น้าํ มันเบนซินเปนสวนประกอบของสาร
ไฮโดรคารบอนผลิตไดจากการกลั่น
น้าํ มันดิบ
น้าํ มันเบนซินสามารถระเหยกลายเปนไอ
ไดงาย, ลุกติดไฟไดงายและใหความรอนสูง
ดังนั้นมันจึงถูกใชเปนเชื้อเพลิงของเครื่อง-
ยนต ซึง่ จะตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้:
ตองไมมีสารตกคางเจือปนอยู
มีคุณสมบัติในการปองกันการเขก (นอค)
ราคาตองไมแพง
เหตุผลตางๆ เหลานี้เปนสาเหตุในการนํา
น้าํ มันเชื้อเพลิงเบนซินมาใชในเครื่องยนต
แกสโซลีน

ขอควรระวัง:
น้าํ มันเบนซินเปนน้าํ มันที่ระเหยกลาย
เปนไองาย และกลายเปนแกส
เมือ่ สัมผัสกับอากาศ
เพราะฉะนั้น มันจะจุดติดไดงาย
เมือ่ มีประกายไฟ
ดังนั้น อาจเกิดอันตรายได
จึงตองมีการดูแลและการจัดเก็บที่ดี
(1/2)

-2-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด

เลขออกเทน
คาออกเทนนัมเบอรเปนวิธีการวัดคุณ
ลักษณะของเชื้อเพลิงเบนซินวิธีหนึ่งที่จะให
ทราบการปองกันการนอค
น้าํ มันเบนซินที่มีคาออคเทนสูงจะมีผลทํา
ใหเครือ่ งยนตเกิดการเขก (นอค)
ไดนอยกวาน้าํ มันซึ่งมีคาออคเทนต่าํ กวา
เพื่อเพิ่มคาออกเทนในน้าํ มันเบนซิน
น้าํ มันเบนซินบางชนิดจึงมีสารตะกั่ว
ประกอบอยูในขณะที่นา้ํ มันชนิดอื่นจะไมมี
สารตะกั่วประกอบอยู
ทั้งนี้เนื่องจากเครื่องยนตบางรุนถูกออก
แบบมาใหใชสารตะกั่วแตบางรุนไมใชสาร
ตะกั่วประกอบ
ดังนั้นการใชนา้ํ มันเบนซินควรเลือกใช
ใหเหมาะสมกับเครื่องยนตนั้นๆ

ขอแนะนํา:
เมือ่ มีการนอคหรือการเขกของเครื่อง
ยนตจะมีเสียงผิดปกติที่หองเผาไหมใน
กระบอกสูบจะมีเสียงกระแทกดังที่ผนัง
กระบอกสูบซึ่งเปนสาเหตุใหกาํ ลังของ
เครื่องยนตลดลง
(2/2)

-3-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด

น้ํามันดีเซล
น้าํ มันดีเซล
เปนสวนประกอบของสารไฮโดรคารบอน
ซึ่งกลั่นไดภายหลังการกลัน่ น้าํ มันเบนซิน
และน้าํ มันกาดจากการกลั่นน้าํ มันดิบที่
อุณหภูมติ ั้งแต 150 ถึง 370°C (302 ถึง
698°F)
น้าํ มันดีเซลสวนใหญใชกับเครื่องยนตดีเซล

คําเตือน:
• น้า
ํ มันดีเซลจะไมเหมือนกับน้าํ มัน
เบนซินน้าํ มันดีเซลจะคลายกับสาร
หลอลื่นหามใชแทนกันเพราะวาถา
เติมน้าํ มันเบนซินใหกับเครื่องยนต
ดีเซลมันจะทําความเสียหายใหกับ
หัวฉีดและปมแรงดันสูง
• น้าํ มันดีเซลจําแนกไดหลายชนิด
สวนใหญขึ้นอยูกับความหนืด
ถาอุณหภูมิตา่ํ ความหนืดก็จะสูง
ดังนั้นควรเลือกใชนา้ํ มันดีเซลให
เหมาะสมกับสภาพอากาศ
หรืออุณหภูมิที่จะใชงานนั่นเอง
(1/2)

-4-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด

เลขซีเทน
เลขซีเทนแสดงถึงความสามารถในการจุด
ระเบิดของน้าํ มันดีเซล
ซึ่งถามีคาซีเทนสูงขึ้นก็จะทําใหความสามา
รถในการปองกันการเขก (น็อค) ดีขึ้นดวย
ขอสังเกต คาซีเทนต่าํ สุดของเชื้อเพลิงที่ใช
กับเครื่องยนตดเี ซลรอบสูงของรถยนตทวั่ ๆ
ไป จะมีคาอยูระหวาง 40 ถึง 50

ขอแนะนํา:
การน็อคของเครื่องยนตดีเซลจะเกิด
กอนการจุดระเบิด
ซึ่งจะหนวงการจุดระเบิดใหชาลง เชน
เมือ่ มีการใชนา้ํ มันที่มีคาซีเทนต่าํ ที่
อุณหภูมิตา่ํ หรือความเร็วรอบตอนาที
ต่าํ เมื่อมีระยะเวลาในการจุดระเบิดลวง
หนาชาลงน้าํ มันที่มอี ยูในกระบอกสูบ
จะเผาไหมและระเบิดทันทีทันใด
ทําใหความดันเพิ่มขึ้นทันที
ซึ่งทําใหเกิดเสียงรัวหรือการเขกของ
เครื่องนั่นเอง
(2/2)

-5-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด

สารหลอลื่น ประเภทของสารหลอลื่น
สารหลอลื่นของรถยนตสวนใหญจะมี
พื้นฐานทํามาจากน้าํ มันปโตเลีย่ ม
และสารเติมเต็มเพิ่มคุณภาพตางๆ
แตจะมีบางประเภททําจากสารสังเคราะห
ดวยเชนกัน
ประเภทของสารหลอลื่น มีดังนี้:
• น้า
ํ มันเครื่อง
• น้าํ มันเกียร
• จาระบี
• น้า ํ มันประเภทตางๆ
• น้า ํ ยาหลอเย็นยืดอายุเครื่องยนต
(S-LLC)
• สารปองกันการรั่ว

ขอแนะนํา:
น้าํ มันประเภทตางๆแบงตามจุดประสงค
การใชงาน
น้าํ มันเครือ่ ง:
จุดประสงคหลักคือใชในการหลอลื่น
น้าํ มันประเภทตางๆ :
จุดประสงคหลักคือใหสวนตางๆ ของ
โครงสรางระบบทํางานตามแรงดันน้าํ มัน

(1/1)

-6-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด

-7-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
น้ํามันเครื่อง
น้าํ มันเครื่องจะแยกประเภทตามคุณสมบัติ
ในการใชงานดังตอไปนี้:
SAE
สมาคมวิศวกรยานยนต (Society of Auto-
motive Engineers)
จะแยกตามคาความหนืดของน้าํ มันเครือ่ ง
API / ILSAC
สถาบันปโตรเลียมของสหรัฐอเมริกา(Amer
ican Petroleum Institute / International
Lubricant Standardization and Approval
น้าํ มันเครื่องจะหลอลื่นชิ้นสวนตางๆ ภายในเครื่องยนต
Committee)
น้าํ มันเครื่องมีหนาที่หลักๆ ดวยกัน 4 อยางคือ:
จะแยกตามคุณภาพของน้าํ มันเครื่อง
1 การหลอลื่น:

น้าํ มันเครือ่ งจะหลอลื่นผิวสัมผัสที่เปนโลหะกับโลหะอีกดานหนึ่งใน ACEA


เครื่องยนตโดยทําการเคลือบเปนฟลมน้าํ มันเหนือสิ่งเหลานั้น (Association des Constructeurs Europ-
เพื่อใหเกิดการเสียดสีกันนอยที่สุดระหวางผิวโลหะ ens de l'Automobile)
2 การระบายความรอน: มาตรฐานของน้าํ มันเครื่องจะถูกกําหนด
น้าํ มันเครือ่ งจะระบายความรอนใหกับเครื่องยนตบริเวณทีร่ ะบบหลอเย็น โดยสมาคมน้าํ มันเครื่องแหงยุโรป
เขาไมถึง เชน ลูกสูบและพื้นผิวอื่นๆ ที่สัมผัสกัน (European Oil Association.)
3 การชะลางทําความสะอาด:

น้าํ มันเครือ่ งจะมีตะกอนที่เกิดจากการเผาไหมและเศษโลหะอยูใน ขอสังเกต:


น้าํ มันเครื่องหากปราศจากการทําสะอาดแลวจะทําใหเกิดตะกอนอยู • น้าํ มันเครื่องสําหรับเครื่องยนตดีเซล
ภายในชิ้นสวน และเครื่องยนตแกสโซลีนจะแตกตาง
4 การผนึกปองกันรั่ว:
กัน เครื่องยนตดีเซลมีกาํ ลังอัดที่สูงมาก
น้าํ มันเครือ่ งจะเคลือบฟลมน้าํ มันระหวางลูกสูบกับกระบอกสูบ ทําใหกาํ ลังดันทีเ่ กิดจากการเผาไหม
ซึ่งจะชวยผนึกปองกันรัว่ จากสวนผสมของแกสที่ไมถูกเผาไหมไมใหเล็ดลอด ภายในและแรงกดที่รุนแรงกระทําตอ
ออกมาได ชิ้นสวนที่หมุน ดังนั้น
น้าํ มันเครื่องทีใ่ ชสาํ หรับเครื่องยนต
ดีเซลจึงตองมีฟลมน้าํ มันที่แข็งแรง
อยางไรก็ตาม
ประเภทของน้าํ มันสําหรับประเภทของ
เครื่องยนตดีเซลและเครื่องยนตแกส
โซลีนขึ้นอยูกับการผลิต

• น้าํ มันเครื่องจะเกิดอ็อกซิเดชั่น
(การรวมตัวเขากับอากาศ)
หรือความรอนตามกําหนดเวลาของมัน
ทําใหเสื่อมสภาพดังนั้น
ตองเปลี่ยนน้าํ มันเครื่องตามระยะเวลา
ที่กาํ หนด

-8-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
(1/3)
ความหนืดของน้ํามันเครื่องตามมาตรฐา
น SAE:
คาดัชนีเหลานี้ระบุถึงอุณหภูมิโดยรวมที่ใช
กับน้าํ มันเครื่องแตละชนิด
(เชน: "10W-30")
ตัวเลขยิ่งมาก
แสดงวาความหนืดของน้าํ มันยิ่งมาก

ดัชนีที่ชี้บอกถึงความหนืดของน้าํ มันจะมี
เปนขอบเขตกําหนด เชน SAE 10W-30
คือน้าํ มันชนิดที่เปนแบบน้าํ มันเครื่องเกรด
รวม ตัวเลขแรกที่ตา่ํ กวาเชน เลข 10
แสดงถึงอุณหภูมิทตี่ า่ํ ที่สุดที่ทาํ ใหนา้ํ มันจับ
ตัวกัน สําหรับตัวเลขที่ 2 ไดแก เลข 30
จะแสดงถึงอุณหภูมิที่สูงสุดที่จะทําใหนา้ํ มัน
จางลง
W หมายถึงความเย็นที่ระบุวาความหนืด
ของน้าํ มันนี้จะไปใชที่อุณหภูมิตา่ํ สุดเทาใด
(2/3)

-9-
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
จัดแบงประเภทตามคุณภาพ

คุณสมบัติของน้ํามันตามมาตรฐาน API
จําแนกไดดังนี้:
ระบุถึงขอบเขตของน้าํ มันที่สามารถตาน
ทานได สําหรับเครื่องยนตแกสโซลีน
น้าํ มันจะถูกจําแนกเปนหลายระดับ
ตั้งแตระดับของ SA จนถึง SL
ถึงแมวาน้าํ มันเบนซินเกรด SE
เปนน้าํ มันเกรดสูงทีใ่ ชในรถยนต
แตนา้ํ มันเบนซินเกรด SL
ก็เปนน้าํ มันที่มีคุณสมบัติสูงสุด
สําหรับเครื่องยนตดีเซล
แบงเกรดของน้าํ มันจาก CA จนถึง CF-4
และน้าํ มันดีเซลเกรด CF-4
เปนน้าํ มันที่มีคุณสมบัติสูงสุด *

*ตามหลักเกณฑของ มี.ค.2545
คุณสมบัติของน้ํามัน ILSAC
สามารถจําแนกไดดังนี้:
น้าํ มันเหลานี้จะผานการทดสอบ ILSAC
ของการเผาไหมของน้าํ มันเชื้อเพลิงเพื่อให
ผานมาตรฐานของ API
มันสามารถจําแนกเปนเกรด GF-1 และ
GF-2 ตามรูปแบบการทํางานของน้าํ มัน
GF-2 เปนเกรดที่สูงที่สุด
(3/3)
น้ํามันเกียร
น้าํ มันเกียรจะมีคาดัชนีความหนืดสูงและ
คุณสมบัติในการรับแรงดันที่สูง
ซึ่งเกิดจากการทํางานของเฟองในชุดเกียร
น้าํ มันเกียรถูกแบงตามประเภทการใช
อาทิเชน สําหรับระบบสงกําลัง,
เฟองทายและกระปุกพวงมาลัย

น้าํ มันเครื่อง,
น้าํ มันเกียรก็มีการแบงลักษณะเดียวกันกับ
ประเภทตามความหนืด ตามมาตรฐาน
SAE และ API

(1/1)

- 10 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
จาระบี
จาระบีเปนสารหลอลื่นกึ่งแข็งกึ่งเหลว
สามารถแบงแยกประเภทตามการใชงาน
ดังนี้

ขอสังเกต:
เมือ่ ใชจาระบีบางประเภทกับชิ้นสวนที่
เปนยางจะมีประสิทธิภาพทีไ่ มดี เชน
เมือ่ นํามาใชกับลูกยางกระบอกเบรกจะ
ทําใหยางแข็ง ดังนั้น
ใหใชจาระบีชนิดทีเ่ ปนจาระบีฐานสบู
ลิเธียมแทนกับสวนที่เปนยางนั้น
จาระบีเอนกประสงค
สีจาระบี
สีนา้ํ ตาลเหลือง
ขอบเขตของการใช
• ลูกปนลอ
• ขอตอออน
• เฟองพวงมาลัย

จาระบีลูกปนลอ
สีจาระบี
• สีนา
้ํ ตาลเหลือง
ขอบเขตของการใช
• ลูกปนลอ

- 11 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
จาระบีฐานสบูโมลิบดินั่มไดซัลไฟดลิเธียม

สีจาระบี
• สีดา

ขอบเขตของการใช
• แร็คและพีเนียน
• เพลาขับ

จาระบีฐานสบูลิเธียม (glycol)

สีจาระบี
• สีชมพู
ขอบเขตของการใช
• แมปมเบรก/แมปมคลัตช
• ปมคลัตชตัวลาง
• กระบอกลูกสูบเบรกที่ลอ 
• กามปูดิสกเบรก

จาระบีทนอุณหภูมิสูง

สีจาระบี
• สีนา
้ํ ตาลออน
ขอบเขตของการใช
• แผนรอง (Backing plate)

- 12 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
จาระบีดิสกเบรก

สีจาระบี
• สีเทา
ขอบเขตของการใช
• แผนกันเสียงดิสกเบรก

จาระบีดุมลอ

สีจาระบี
• สีดาํ
ขอบเขตของการใช
• ขากดลูกปนคลัตช
(Clutch release hub)

(1/1)
น้ํามันประเภทตางๆ
น้าํ มันที่ใชในรถยนตมีดวยกันหลายชนิด
เชน: น้าํ มันเกียรอัตโนมัต,ิ
น้าํ มันพวงมาลัยเพาเวอร, น้าํ มันเบรก ฯลฯ

น้าํ มันตางๆ เหลานี้มใี ชอยางกวางขวาง


รวมทั้งการสงผานกําลัง,
การควบคุมไฮดรอลิคและการหลอลืน่

(1/5)

- 13 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
น้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติเปนน้าํ มันที่มี
คุณภาพสูง ถูกกลั่นและเติมสารตางๆ
อยางดี ถูกใชอยูในระบบเกียรอัตโนมัติ
(A/T) ในทองตลาด มีอยู 5 ประเภทคือ:
DEXRON II (D-II), แบบ T, T-II, T-III และ
T-IV.

ขอแนะนํา:
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติ แบบ "T" , "T- II"
และ "T- III"
ไดมีการเลิกใชภายหลังจากไดแนะนํา
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติแบบ "T- IV"
ขอสังเกต:
น้าํ มันมีหลากหลายชนิดขึ้นอยูกับรุน
ของเกียรอัตโนมัติ ดังนั้น
กอนที่จะทําการเปลี่ยนตองแนใจวาใช
น้าํ มันในเกรดที่ถูกตองโดยศึกษาจาก
คูมอื การซอม
(2/5)
น้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร
ทําหนาทีเ่ ปนน้าํ มันไฮดรอลิคและเปน
สารหลอลื่นสําหรับกระบอกสูบและปม

ขอแนะนํา:
ควรเลือกใชใหถูกตองตามขอกําหนด
ของคูมือซอมวาเปน DEXRON® II
หรือ DEXRON® III

(3/5)

- 14 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
น้ํามันเบรก
ระบบเบรกใชชิ้นสวนที่เปนยางจํานวนมาก
เชน ลูกยาง, บูชและขอออน ฯลฯ
ดังนั้นน้าํ มันเบรกซึ่งปกติทาํ มาจากสาร
สังเคราะหมีสวนผสมของethers และ
esters ซึ่งไมทาํ ปฏิกิริยากับยางและโลหะ
น้าํ มันเบรกสามารถที่จะนําไปใชกับ
ระบบคลัตชได

ขอควรระวังในการใช

(4/5)

- 15 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
น้ํามันประเภทตางๆ
สารหลอลื่น
ประเภทของน้ํามันเบรก
น้าํ มันเบรกมีการจัดแบงมาตรฐานตาม
FMVSS(มาตรฐานความปลอดภัยของ
ยานยนตสหรัฐ) อยูสี่มาตรฐาน
ซึ่งถึงแมวาการจัดมาตรฐานจะยึดถือ
พื้นฐานจากจุดเดือดของน้าํ มันเบรกเปน
หลักก็ตามแตสภาวะอื่นก็มีสวนในการ
พิจารณาดวย

ขอแนะนํา:
จุดเดือด
จุดเดือดสามารถเรียกวาจุดแหงไดดวย
เพราะเมื่อถึงจุดเดือดแลวจะมีนา้ํ ประกอบ
อยูที่ 0%
จุดเดือดเปยก
จุดเดือดแบบนี้เรียกไดวาจุดเดือดที่มีความ
ชื้นและจะมีนา้ํ เปนสวนประกอบอยู 3.5%
เมื่อถึงจุดเดือดแลว

(1/1)
น้ํามันประเภทตางๆ
น้ํามันโชคอัพ
น้าํ มันโชคอัพเปนน้าํ มันที่ใชหลอลืน่
เพื่อหนวงโชคอัพ
เพื่อลดแรงสั่นสะเทือนของสปริง
น้าํ มันโชคอัพไมสามารถเปลี่ยนไดเอง
ถามีการรัว่ ไหลของน้าํ มันใหเปลี่ยนโชคอัพ
ใหม
น้ํามันระบบรองรับ
น้าํ มันระบบรองรับเปนน้าํ มันที่ใชสาํ หรับ
ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบรวดเร็ว
(5/5)

- 16 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
น้ํายาหลอเย็นยืดอายุเครื่องยนต
(S-LLC)
S-LLC
คือน้าํ ยาหลอเย็นที่มีสวนประกอบของ
Ethylene glycol ผสมกับน้าํ
ซึ่งเหมาะกับทุกฤดูกาล อุณหภูมิของ
S-LLC จะอยูตา่ํ กวาจุดเยือกแข็ง
ซึ่งจะชวยปองกันระบบหลอเย็นจากฝุนหรือ
การกัดกรอน
S-LLC
จะผสมกับน้าํ และปรับสภาพตัวมันใหเขา
กับอุณหภูมิภายนอกเพื่อปองกันการเปน
น้าํ แข็ง น้าํ ยาหลอเย็นที่มีความเขมขนมาก
จะกลายเปนน้าํ แข็งไดยาก อยางไรก็ตาม
น้าํ ยาหลอเย็นที่มีความเขมขนมากเกินไป
จะทํางานไดไมดี ควรจะใชใหอยูในระดับ
30% - 50 % รวมกับน้าํ
• S-LLCตองหมั่นเปลี่ยนตามระยะเวลา
เพราะถาใชนานไปจะทําใหประสิทธิ
ภาพลดลง

ขอแนะนํา:
มาตรฐานการผสมน้าํ ยาหลอเย็นและ
อยูในคากําหนดของจุดเยือกแข็ง คือ:
30% จะไดอุณหภูมิ
- ประมาณ -16?
50% จะไดอุณหภูมิ
- ประมาณ -35?
(1/1)
สารปองกันการรั่ว
สารปองกันการรั่ว คือปะเก็นเหลว
เปนสารปองกันการรั่ว ใชทาเพื่อยึดติด
พื้นผิวของปะเก็นอางน้าํ มันเครื่องและ
ชิ้นสวนอื่นที่มีลักษณะคลายๆ กัน

(1/1)

- 17 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
ประเภทของสารปองกันการรั่ว
ปะเก็นเหลวสีดาํ (ทรีบอนด 1280)

สีปะเก็นเหลว
• สีดา

ขอบเขตของการใช
• อางน้า
ํ มันเครือ่ ง

ปะเก็นเหลว 1281 (ทรีบอนด 1281)

สีปะเก็นเหลว
• สีแดงเขม
ขอบเขตของการใช
• เสื้อเกียร

ปะเก็นเหลว 1282B (ทรีบอนด 1282B)

สีปะเก็นเหลว
• สีดา

ขอบเขตของการใช
• ปลั๊กถายน้า
ํ หมอน้าํ

- 18 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
สารกันรัว่ 1131 (ล็อคไทท518)
(ทรีบอนด 1131)

สีสารกันรั่ว
• สีขาว
ขอบเขตของการใช
• สําหรับรุน A24 ซีรี่ส,
เสื้อเกียรอัตโนมัติ

สารกันรัว่ 1324 (ทรีบอนด 1324)

สีสารกันรั่ว
• สีแดง
ขอบเขตของการใช
• สกรูเกลียวปลอย

สารกันรัว่ 1324 (ทรีบอนด 1324)

สีสารกันรั่ว
• สีแดง
ขอบเขตของการใช
• สกรูเกลียวปลอย

- 19 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
ขอควรระวังในการใช

(1/1)

- 20 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย
คาออกเทนจะแสดงคุณลักษณะของน้าํ มันเบนซิน
1 ถูก ผิด
โดยจะเปนตัวบอกถึงคาการผสมของน้าํ มันเบนซิน
ถึงแมวาใชนา้ํ มันเบนซินกับเครื่องยนตดีเซลจะไมทาํ ความเสียหายใหกับ
2 ถูก ผิด
ปมฉีดเชื้อเพลิงแรงดันสูง
สามารถใชนา้ํ มันเกียรกับเครื่องยนตเหมือนกับน้าํ มันเครื่องอื่นๆ
3 ถูก ผิด
ไดโดยไมมปี ญหา
น้าํ มันที่ใชในรถยนตมหี นาที่ในการขับเคลื่อนควบคุมแรงอัดไฮดรอลิค
4 ถูก ผิด
และหลอลื่น
หลังจากที่มีการซีลอางน้าํ มันเครื่องใหแนนแลวน้าํ มันเครือ่ งก็จะสามารถ
5 ถูก ผิด
ไหลออกจากอางน้าํ มันเครือ่ งไดทันที

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้ อธิบายไดอยางถูกตองเกี่ยวกับน้าํ มันเบรก?
1. ไมมีปญหาถาน้าํ มันเบรกหกลงบนสีของตัวรถ เพราะน้าํ มันเบรกไมมีผลกับยางหรือเหล็ก
2. ถึงแมจะผสมน้าํ มันเบรกกับน้าํ มันเบรกชนิดอื่นที่มีจุดเดือดที่ตางกันก็ตามจุดเดือดเดิม
ก็จะยังคงไมเปลี่ยนแปลง
3. โดยทั่วไป น้าํ มันเบรกใชเหมือนกับน้าํ มันคลัทช
4. ถึงแมวาจะผสมน้าํ ลงไปในน้าํ มันเบรกเปนจํานวนมาก จุดเดือดก็ยังคงไมเปลี่ยนแปลง

- 21 -
ขอมูลทั่วไป - เชือ้ เพลิงและสารหลอลื่น รายละเอียด
คําถาม-3
ภาพใดแสดงการใชจาระบีไดอยางถูกตอง
1. เกลียวของปลั๊กถายน้าํ หมอน้าํ 2. ผิวหนาของเพลาดุมลอ ‘

3. ลูกปนลอ 4. หนาสัมผัสของจานเบรก

1. 2. 3. 4. 5.

คําถาม-4
จงเลือกหมวดคําขางลางนี้วาใชนา้ํ มันชนิดใด และเลือกขอ "ก" ถาเปนน้าํ มันเครื่อง หรือขอ "ข" ถาเปนน้าํ มันชนิดตางๆ
ขอ ก หรือ ข เฉลย
1 เครื่องยนต ก ข
2 เกียรอัตโนมัติ ก ข
3 เกียรธรรมดา ก ข
4 เบรก ก ข
5 พวงมาลัยเพาเวอร ก ข
6 เฟองทาย ก ข

- 22 -
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

การใหบริการกอนสงมอบรถ วัตถุประสงคของการบริการกอน
สงมอบรถ
การบริการกอนสงมอบ (PDS)
เปนวิธีการตรวจสอบโดยผูขายกอนการสง
มอบรถใหมใหกับลูกคา
เพื่อใหแนใจวารถยนตอยูในสภาพสมบูรณ
ที่สุดและพรอมที่จะใชงานเมื่อสงถึงมือ
ลูกคา

การบริการกอนสงมอบ (PDS)
สามารถกระทําได 3 วิธีดังตอไปนี้:
1. ตรวจสอบสภาพของรถยนต
2. การทําใหรถอยูในสภาพพรอมใชงาน
3. ตรวจสอบการทํางานของชิ้นสวนตางๆ
ของรถ
ขอแนะนํา:
PDS: ตัวแทนจําหนายเปนผูตรวจสอบ
คุณภาพรถกอนสงมอบ
PDI (Pre- Delivery Inspection):
ผูจัดจําหนายเปนผูตรวจสอบคุณภาพ
รถใหม
(1/1)

ตรวจสอบสภาพของรถยนต รายละเอียดทั่วไป
กอนออกจากโรงงาน รถยนตแตละคัน
ไดผานการตรวจสอบขั้นสุดทาย
เพื่อยืนยันคุณภาพกอนรถยนตใหมถูก
ขนสงถึงมือลูกคา ในระหวางการขนสงนี้
ปญหาที่ไมคาดคิดอาจเกิดขึ้นได เชน
ความเสียหายจากการขนสง, ภัยธรรมชาติ
ดวยเหตุนี้จึงจําเปนจะตองพิสูจนและแกไข
ปญหาที่เกิดขึ้นกอนสงมอบรถยนตถึงมือ
ลูกคา

(1/1)

-1-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

การทําใหรถอยูในสภาพพรอมใชงาน การทําใหรถอยูในสภาพพรอมใชงาน
เพื่อปองกันปญหาทีจ่ ะเกิดขึ้นระหวางการ
ขนสง จะตองมีมาตรการในการปองกัน
ปญหาตางๆ หลายอยางกอนทีร่ ถยนต
จะถูกสงออกจากโรงงาน เพราะฉะนั้น
จึงมีความจําเปนที่จะตองดูแลรักษาสภาพ
ของรถยนตใหอยูในสภาพดีดังเดิมระหวาง
ขบวนการ PDS ถาไมมีการปฏิบัติดงั นี้
อาจจะนําไปสูผลกระทบตางๆ หรือเกิด
อุบัตเิ หตุซึ่งไมสามารถคาดการณลวงหนา
ได

1 การติดตั้งฟวสและชอตพิน
(Short Pins)
2 การติดตั้งชิ้นสวนที่มาจากโรงงาน
3 การถอดแผนหุมกันสนิมจากจาน
ดิสกเบรก
4 การติดตั้งปลั๊กยางตัวถัง
5 การถอดตัวรองสปริงดานหนา
6 การถอดหูลากจูงฉุกเฉิน
7 การปรับแรงดันลมยาง
8 การถอดแผนฉลากที่ไมจาํ เปน,
ปายตางๆ, สติ๊กเกอร ฯลฯ
9 การลอกฟลมปองกันสี
(1/10)

-2-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

การทําใหรถอยูในสภาพพรอมใชงาน
การติดตั้งฟวสและชอตพิน
กอนเริ่มตนในการตรวจสอบ
ทําการติดตั้งฟวสโดม,
ฟวสวิทยุหรือชอตพิน ใหเรียบรอยกอน
ชิ้นสวนเหลานี้จะถูกถอดออกในขั้นตอน
ของโรงงานเพื่อปองกันกระแสไฟฟาไหลใน
ขณะทําการขนสงและการจัดเก็บ
ขอแนะนํา:
• สลากที่บอกถึงตําแหนงของฟวสจะติด
อยูที่ดานในของฝาครอบกลองฟวสที่
ติดตั้งอยูภายในหองเครื่องยนต
• ตําแหนงของฟวสจะแตกตางกันไปขึ้น
อยูกับรถแตละรุน
1 กลองรีเลย

2 ฟวสหรือชอตพิน (Short Pin)


(2/10)

การติดตั้งอะไหลที่มาจากโรงงาน
อะไหลที่มาจากโรงงานจะถูกบรรจุหีบหอไว
โดยเฉพาะเพื่อปองกันความเสียหายระหวา
งการขนสง
ขอแนะนํา:
ติดตั้งฝาครอบลอหลังจากขันนัตยึดดุม
ลอเรียบรอยแลว

ตัวอยาง :
1 กระจกมองขาง

2 ตัวยึดลออะไหล

3 ทออากาศภายนอก

4 สปอยเลอรหนา

5 ฝาครอบลอและฝาครอบดุมลอ
(3/10)

-3-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

การถอดแผนหุมกันสนิมจากจานดิสก
เบรก
ถอดแผนหุม จานดิสกเบรกที่ตดิ กับจาน
ดิสกเบรกออก
ขอแนะนํา:
• ถามีแผนหุมจานดิสกเบรกติดอยูกับ
ชุดเบรกจะมีแผนคําเตือนติดอยูที่
กระจกบังลมหนา
• สําหรับรถยนตที่ติดตัง้ อุปกรณดิสก
เบรกทั้ง 4 ลอ จะมีแผนหุมจานทุกลอ
คําเตือน:
• ขณะทําการขนสงรถใหมซงึ่ แผนหุม
จานดิสกเบรกติดตัง้ อยูดังนั้นจึงไม
ควรใชเบรกเกินความจําเปน
• ใหใชมือถอดฝาครอบลอออก
เพราะถาคุณใชไขควงหรือเครื่องมือ
อื่นในการถอดจะทําใหเกิดความ
เสียหายกับลอหรือกับจานดิสกเบรก

1 แผนหุมจานดิสกเบรกสําหรับปองกัน
สนิม
2 ปายคําเตือน
(4/10)

การติดตั้งปลั๊กยางตัวถัง
ติดตัง้ ปลั๊กยางตัวถังเขากับรูที่อยูบริเวณ
ดานลางของรถ
ขอแนะนํา:
ปลั๊กยางตัวถังจะถูกเก็บอยูในชอง
เก็บของ (ผูโดยสารหนา)

1 ปลั๊กยางตัวถัง

(5/10)

-4-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

การถอดตัวรองสปริงดานหนา
ถอดตัวรองสปริงออกจากจากคอลยสปริง
หนา
ขอแนะนํา:
• ใหปฏิบัติกับรถที่มต
ี ัวรองสปริงเทานั้น
• ยกรถขึ้นดวยแมแรงหรือยกดวยลิฟท
เมื่อตองการถอดตัวรองสปริง

(6/10)

การถอดหูลากจูงฉุกเฉิน
• ถอดหูลากจูงฉุกเฉินออกจากกันชนหนา

• ติดตั้งฝาปดบนชองหูลากจูงฉุกเฉิน
ขอแนะนํา:
• ฝาปดตัวจับหูลากจูงฉุกเฉินจะอยูที่
ชองเก็บของ
• ตัวถอดหูลากจูงฉุกเฉินอยูในกระเปา
เครื่องมือ
• ใชกับรถทีมีการติดตังอุปกรณหูลากจูง
เทานั้น

1 หูลากจูงฉุกเฉิน
2 ฝาครอบตัวจับหูลากจูงฉุกเฉิน
3 ถุงเครื่องมือ
(7/10)

-5-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

การปรับแรงดันลมยาง
ปรับตั้งแรงดันลมยางใหเหมาะสม

ลมยางที่ไดทาํ การเติมมาจากโรงงานจะมี
แรงดันสูงกวาปกติ
เพื่อเปนการปองกันการเสียรูปของยางใน
ระหวางขนสง
ซึ่งแรงดันลมยางที่สูงเกินอาจทําใหการขับ
ขี่ไมนุมนวล หรือยางอาจจะสึกหรอผิดปกติ
ขอแนะนํา:
จะตองปรับแรงดันลมยางของลออะไหล
ดวย
(8/10)

ลอกแผนปาย, ปายชื่อ,สติ๊กเกอร
และอุปกรณปองกันออก
ขอแนะนํา:
ถอดอุปกรณปองกันกอนการสงมอบรถ
ใหกับลูกคา
คําเตือน:
หามใชของมีคมเชน มีด
ถอดอุปกรณปองกันเพราะจะทําใหเกิด
ความเสียหายกับเบาะนั่งและอุปกรณ
ตกแตงภายใน

1 ฉลาก, ปาย
2 อุปกรณปองกัน
(9/10)

-6-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

การลอกฟลมปองกันสี
ขั้นตอนการลอก
1. กอนที่จะลอกฟลมออก ควรจะลางรถ
เพื่อปองกันการเปนรอยขีดขวนบน
พื้นผิวสีจากเม็ดทรายและฝุนซึง่ สะสม
ระหวางการขนสง
2. เริม่ ลอกฟลมจากมุมกอน
(จากวงกลมสีแดงที่แสดงดังรูปดาน
ซายมือ)
(1) ดึงกลับ1801°และลอกฟลม
อยางรวดเร็ว
(2)ลอกฟลมในทิศทางแนวราบอยาง
รวดเร็ว
คําเตือน:
• หามวางมือหรือขอศอกบนรถ
เพื่อปองกันรอยขีดขวนหรือความ
เสียหายกับตัวถัง ฃ
• ใหใชมือในการลอกฟลมออกเทานั้น

3. หลังลอกฟลมออกแลวใหเช็คตัวรถวา
มีเทปหรือรอยกาวนูนติดอยูบนตัวรถ
หรือไม

1 ฟลมปองกันสี
2 สวนขอบตัวถังรถ
(10/10)

-7-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

ตรวจสอบการทํางานของชิ้นสวนตางๆ ของรถ รายละเอียด


การตรวจสอบในขั้นตอนนี้
ก็เพื่อใหแนใจวา ชิ้นสวนและกลไกตางๆ
ของรถยนตสามารถที่จะทํางานไดอยาง
สมบูรณ กอนที่จะสงมอบใหลูกคา
ซึ่งการทําในลักษณะนี้ เปนสิ่งที่จาํ เปน
อยางยิ่งเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการ
สงมอบรถและทําใหลูกคาเกิดความพึงพอ
ใจมากที่สุด

การบริการกอนสงมอบ (PDS)
ประกอบดวยการตรวจสอบดังตอไปนี้:
1 กอนทําการตรวจสอบ

จัดเตรียมเกจวัดลมยาง,
ผาคลุมกันเปอน และอื่นๆ
2 การตรวจสอบโดยการเดินดูรอบๆ

ตัวรถ
ตรวจสอบการทํางานของรถยนต
โดยการตรวจเช็คการทํางานของไฟ
สองสวางตางๆ
3 หองเครื่องยนต

ตรวจสอบหองเครื่องยนต
โดยตรวจเช็คระดับน้าํ มันเครื่องหรือ
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติ อื่นๆ
4 ใตทองรถ

ตรวจสอบโดยการตรวจเช็คการรั่ว
ของน้าํ มันเครื่องหรืออื่นๆ
5 ทดสอบบนถนน

ตรวจสอบสมรรถนะในการขับขี่
และความนุมนวลในการขับขี่
6 การตรวจสอบขั้นสุดทาย

ตรวจสอบโดยการถอดเอาฉลาก
ที่ไมจาํ เปนออกและลางทําความ
สะอาดรถยนต
(1/1)

-8-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

ตรวจสอบการทํางานของชิ้นสวนตางๆ ของรถ รายละเอียด


ใบตรวจสอบ (PDF)

(1/1)

-9-
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:

ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย

ถารถไมผานตามเงื่อนไขในระหวางขั้นตอน PDSรถอาจจะไมพรอม
1 ถูก ผิด
สําหรับการใชงาน หรืออาจทําใหประสบอุบตั ิเหตุที่ไมคาดคิดได

การตรวจสอบของ PDS เปนการตรวจสอบเพื่อใหแนใจวา สวนประกอบ


2 และกลไกไดทาํ หนาที่ตามระบบของมันกอนที่จะมีการสงมอบรถใหกับ ถูก ผิด
ลูกคา

อะไหลจากโรงงานจะถูกถอดออกสําหรับการขนสงเพราะอะไหลสามารถ
3 ถูก ผิด
ติดตั้งหรือไมติดตั้งก็ได

จะมีปายเตือนติดอยูที่กระจกบังลมหนาของรถยนตถามีแผนหุม
4 ถูก ผิด
จานดิสกเบรกติดอยูกับเบรก

หลังจากถอดหูลากจูงฉุกเฉินเราสามารถทิ้งไดเพราะมันไมจาํ เปนที่จะใช
5 ถูก ผิด
ตอไป

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้อธิบายไดอยางถูกตองเกี่ยวกับการทํา PDS?

1. สภาพของรถจะถูกตรวจสอบยืนยันระหวางการทํา PDS กอนที่จะถูกสงออกไปโดยผูผลิต

2. เพื่อปองกันปญหาที่จะเกิดขึ้นระหวางการขนสง การตรวจสอบระบบปองกันตางๆ
จะถูกตรวจกอนที่รถจะออกจากโรงงาน การดูแลรักษารถตามขั้นตอน PDS จะทําใหรถอยูในสภาพใชงานได

3. ใหทาํ PDS หลังจากไดสงมอบรถใหกับลูกคาแลว

4. การทํา PDS คือการประกอบชิ้นสวนอะไหลตางๆ ที่แยกการขนสงมาเพื่อทําใหรถคืนสูสภาพ


การใชงานเปนปกติ

- 10 -
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS

คําถาม-3
ขอความใดตอไปนี้อธิบายไดอยางถูกตองเกี่ยวกับการดูแลรักษารถ?

1. ใชไขควงในการถอดแผนหุมจานดิสกเบรกออกจากดิสกเบรก

2. ในขั้นแรกของการลอกฟลมปองกันสีรถออก ควรใชมีดขูดปะเก็นลอกออก

3. เติมลมยางใหสูงกวาปกติ

4. หามใชใบมีด, มีดในการลอกฟลมปองกันสีออก

- 11 -
ขอมูลทั่วไป -การตรวจสอบกอนสงมอบ PDS
คําถาม-4
จากกลุมคําที่อยูดานลาง จงเลือกกลุมคําที่มกี ารปฏิบัติตรงกับภาพที่แสดงอยูดานลางนี้

1. 2.

3. 4.

ก) การติดตั้งฟวสและชอตพิน (short pin) ข) การติดตั้งยางอุดตัวถัง ค) การถอดหูลากจูงฉุกเฉิน


ง) การถอดตัวรองคอลยสปริงหนา จ) การติดตั้งชิ้นสวนที่มาจากโรงงาน

คําตอบ: 1. 2. 3. 4.

- 12 -
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

นัตและโบลท นัตและโบลท
นัตและโบลทใชยึดชิ้นสวนเขาดวยกันให
แนนในสวนตางๆ ของรถ
ประเภทของนัตและโบลทมีอยูมากมาย
หลายชนิดขึ้นอยูกับการใชงาน
และเปนสิ่งจําเปนที่จะตองรูรายละเอียด
ของนัตและโบลทเพื่อที่จะไดรูวิธีการบํารุง
รักษาไดอยางถูกตอง

1 นัต
2 โบลท

(1/1)

ขอมูลจําเพาะของนัตและโบลท ชื่อของตําแหนงตางๆ
โบลทมีชื่อเรียกแตกตางกันไปตามขนาด
และความแข็ง
โบลทที่ใชในรถยนตถูกเลือกตามความแข็ง
และขนาดที่ตรงตามความตองการของ
แตละพื้นที่นั้นๆ

ดังนั้นการรูชื่อของโบลทเปนพื้นฐานอยาง
หนึ่งในการซอมบํารุงรักษา

ชื่อของโบลท
ตัวอยางเชน: M 8 x 1.25 - 4T
M: ประเภทของเกลียว
1 ความกวางดานราบ
"M" คือ เกลียวมาตรฐานของหนวยเมตริก
2 ความกวางดานมุม
ประเภทของเกลียวอื่นๆ เชน: "S" คือ
3 ความสูงของหัวโบลท
เกลียวเล็ก และ"UNC" คือ เกลียวหยาบ
4 ความยาวของเกลียว
5 ความยาวของโบลท
8: เสนผาศูนยกลางภายนอกของโบลท
6 ความสูงของนัต
ในแผนภาพ คือตําแหนงที่ 7
7 เสนผาศูนยกลางหลักของเกลียว
8 ระยะพิทของเกลียวสกรู วัดไดจากยอดเกลียวหนึ่งไปยังอีกยอดเกลียวหนึ่ง 1.25: ระยะพิทของเกลียว (มม.)
ในแผนภาพ คือตําแหนงที่ 8
4T: คาแรงขันหมายเลขที่แสดงถึง 1/10
ของคาต่าํ สุดในการขัน มีหนวยเปน กก/
มม2, และเรียกวา "คาแรงขัน"
คาแรงขันนี้จะประทับอยูดานบนของโบลท

-1-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

วิธีการขันโบลท
การขันโบลท
การขันโบลทควรขันดวยประแจปอนดใหได
คาแรงขันที่เหมาะสมที่แสดงอยูในคูมือการ
ซอม

ความจําเปนของการขันตามคากําหนด

(1/2)

เรียนรูการใช "ความรูสึก" ในการขัน


1.ใชประแจวัดแรงบิด
ขันโบลทหรือนัตดวยแรง 15 N-m
(150 kgf -cm).
2. ใชประแจแหวน ขันซ้าํ ดวยวิธีเดียวกัน
3. ทําซ้าํ หลายๆ ครั้งจนกระทั่งเรียนรูการ
ใช "ความรูสึก" ในการใชประแจแหวน
ไดสาํ เร็จเชนเดียวกับประแจวัดแรงบิด

ขอแนะนํา:
เพื่อใหมปี ระสบการณในการทําเกลียว
เสียใหทาํ การขันโบลทแรงที่สุดเทาที่
จะขันไดเพื่อสรางความเสียหายใหกับ
เกลียว
(2/2)

-2-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

ชนิดของโบลท
A โบลทหัวหกเหลี่ยม (Hexagonal
head bolt)
โบลทแบบนี้เปนแบบธรรมดาทั่วไป
บางแบบมีหนาแปลนหรือแหวนสปริงรอง
ใตหัวโบลท
แบบหนาแปลน:
สวนหัวของโบลทจะสัมผัสกับชิ้นสวนได
พื้นผิวมากเพื่อที่จะใหแรงกดสัมผัสของ
หัวโบลทกดชิ้นสวน
ดังนั้นมันทําใหเกิดความเสียหายกับ
ชิ้นสวนไดนอย
แบบแหวนรอง:
แบบนี้ประสิทธิภาพคลายคลึงกับประเภท
หนาแปลนมันจะใชไดผลเมื่อนําไปใชกับ
ชิ้นสวนที่มเี สนผาศูนยกลางกวางกวา
หัวโบลท
โบลทประเภทนี้จะใชแหวนสปริงรอง
ระหวางหัวโบลทกับแหวนรองในการลด
การคลายของโบลทใหนอยลง
B โบลทรูปตัวยู (สาแหรก)

โบลทเหลานี้ใชในการยึดแผนแหนบเขากับ
เสื้อเพลาทาย มีชื่อเรียกวา "โบลทรปู ตัวยู"
เพราะวามีรูปรางลักษณะเหมือนกับตัว "U"
C โบลทสตัด

โบลทแบบนี้ใชยึดชิ้นสวนติดกันหรือเพื่อ
สะดวกในการประกอบชิ้นสวน

-3-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

วิธีการถอดและเปลี่ยนโบลทสตัด
(Stud Bolt)
การขันโบลทสตัด
ใหขันนัตสองตัวเขาพรอมๆ กันบนตัวสตัด
จากนั้นขันนัตตัวบนในตําแหนงเขา
เพื่อยึดตัวโบลทสตัด
จากนั้นคลายนัตตัวลางออกเพื่อคลาย
โบลทสตัด
ดังนั้นจึงสามารถถอดโบลทสตัดออกไป
ดวยเทคนิคนี้เรียกวา "ดับเบิ้ลนัต"

ดวยเทคนิคนี้ การขันนัตใหแนนเขาดวยกัน
นัตจะสามารถทําหนาที่เปนหัวโบลทเชน
เดียวกับโบลทธรรมดา

• การติดตั้งโบลทสตัด
ใหขันนัตตัวบนในทิศทางการขัน
• การถอดโบลทสตัด
ใหคลายนัตตัวลางในทิศทางการคลาย
ขอแนะนํา:
เครื่องมือที่ใชถอดและติดตั้งโบลทสตัด
จะถูกออกแบบโดยเฉพาะ
(1/1)

โบลทแบบพลาสติกรีเจน
โบลทแบบพลาสติกรีเจน
จะมีแกนที่แข็งแรง และมีความทนทานสูง,
ใชเปนโบลทฝาสูบและโบลทประกับแบริ่ง
ของเครื่องยนตบางรุน
หัวโบลทชนิดนี้จะมีลักษณะเปน 12
เหลี่ยม และมีทั้งดานในและดานนอก

1 โบลทแบบพลาสติกรีเจน
2 ฝาสูบ
3 สวนประกอบของประกับแบริ่ง
(1/1)

-4-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

วิธีการใชโบลทแบบพลาสติกรีเจียน
วิธีการขันโบลทแบบพลาสติกรีเจียน
วิธีการขันโบลทแบบพลาสติกรีเจียนจะ
แตกตางจากการขันโบลททั่วๆ ไป
1 ขันโบลทแบบพลาสติกรีเจียนดวย

คาแรงขันที่กาํ หนด
2 ใชสีแตมทําเครื่องหมายที่หัวโบลท

3 ขันตามวิธีการในคูมือซอม

ในการขันโบลทแบบพลาสติกนั้น
จําเปนอยางยิ่งที่จะปฎิบัติตามที่คูมือซอม
แนะนํา
เพราะวาวิธีการขันโบลทแบบพลาสติกนั้น
จะมีการขันดวยกัน 2 วิธี
• การขันโบลทในครัง้ แรกนั้น
ใหขันดวยประแจปอนดตามคาแรงขันที่
กําหนดกอน จากนั้นใหขันเปนมุม 90°
เพิ่มอีก 1 ครัง้
• การขันโบลทครั้งแรกนั้น
ใหขันดวยประแจปอนดตามคาแรงขันที่
กําหนดกอน จากนั้นใหขันเปนมุม
90°เพิ่มอีก 2 ครั้ง รวมแลวเปน 180°
(1/3)

-5-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

วิธีการตัดสินใจในการนําโบลทแบบ
พลาสติกรีเจียนกลับมาใชใหม
โบลทแบบพลาสติกรีเจียนจะมีการเปลี่ยน
รูปตามแรงที่ขัน
วิธีการตัดสินใจในการนําโบลทแบบ
พลาสติกรีเจียนที่ถอดแลวกลับมาใชใหม
มี 2 วิธีคือ:
A วัดการหดตัวของโบลท

วิธีวัดคือใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัด
ที่ตาํ แหนงหดตัวมากที่สุดจากภาย
นอกและตรวจเช็คกับคาทีย่ อมรับได

ตัวอยางของคาที่ยอมรับได
เสนผาศูนยกลางมาตรฐาน:
7.3 - 7.5 มม.
(0.287 - 0.295 นิ้ว.)
เสนผาศูนยกลางต่าํ สุด
7.3 มม. (0.287 นิ้ว.)
หากผลที่วัดไดนอยกวา 7.3 มม.
(0.287 นิ้ว.), ใหทาํ การเปลี่ยนโบลท
B วัดการยืดตัวของโบลท

วิธีวัดคือ วัดความยาวของโบลท.

ตัวอยางของคาที่ยอมรับได
ความยาวโบลทมาตรฐาน :
142.8-144.2 มม.
(5.622 - 5.677 นิ้ว.)
ความยาวโบลทสูงสุด :
147.1 มม.(5.791 นิ้ว)
ในกรณีนี้ การเปลี่ยนโบลทนั้น
จะเปลี่ยนเมื่อผลการวัดที่ไดเกินกวา
147.1 มม. (5.791 นิ้ว) ขึ้นไป
(2/3)

-6-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

วิธีการขันโบลทแบบพลาสติกรีเจียน
โบลทธรรมดาจะถูกขันจนถึงยานการยืดตัว
ซึ่งแรงดึงเพิ่มขึ้นเปนอัตราสวนกับมุมการ
ขันของโบลท (แสดงดังรูป
B )เมือ
่ ถึงชวงพลาสติก
มุมการขันโบลทเทานั้นที่เปลี่ยนแปลงไป
แตคาแรงขันยังคงเหมือนเดิม
การขันโดยวิธีนี้
เมื่อโลหะยืดตัวไปแลวจะไมคืนสูสภาพเดิม
และจะเพิ่มแรงยึดของโบลทใหแนนมากขึ้น
แสดงดังรูป A

พลาสติกซิตี้
(การเปลี่ยนรูปแบบพลาสติก)
คุณสมบัติของวัตถุนั้นจะเปลีย่ นรูป
อันเนื่องมาจากแรงกระทําภายนอก
โดยไมมีการคืนรูปเมื่อแรงที่มากระทําหาย
ไปซึ่งตางกับการเปลี่ยนรูปแบบอีลาสติกที่
มีคุณสมบัติยอมใหวัตถุสามารถเปลีย่ น
สภาพกลับไปเหมือนเดิม
การที่เพิ่มแรงกระทําใหมากกวาขีดจํากัด
ของการเปลี่ยนรูปแบบอีลาสติก
ผลที่ไดทาํ ใหเกิดการเปลี่ยนรูปแบบ
พลาสติกขึ้นมา

อีลาสติกซิตี้
(การเปลี่ยนรูปแบบอีลาสติก)
คุณสมบัติของวัสดุในชวงอีลาสติกนี้
จะสามารถคืนรูปเดิมได
เมื่อผอนแรงกระทําออก
แตหากผอนแรงกระทําแลว วัสดุนั้นๆ
ไมคืนรูปเดิม แสดงวามีแรงกระทําตอวัสดุ
นั้นเกินคากําหนดในชวงอีลาสติก
(Elasticity limit) ดังนั้น เพื่อเปนการ
ปองกันวัสดุเสียรูปหรือเสียคุณสมบัติใน
ชวงนี้ไปจึงควรใชแรงกระทําตอวัสดุใหนอย
กวาคากําหนดในชวงอีลาสติกนี้
(3/3)

-7-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

ชนิดของนัต
A นัตหัวหกเหลี่ยม
นัตประเภทนี้เปนแบบที่มใี ชทั่วไป
หนาแปลนอยูดานลางดวย

B นัตลอ
แบบใชกับนัตลอของกระทะลออลูมเิ นียม
ซึ่งจะปดเกลียวในดานบนของนัต
เพื่อปองกันเกลียวที่อยูภายในไมใหโดนฝุน
หรือเปนสนิม
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อความสวยงาม

C นัตหัวผา
นัตหัวผามีรอยผาเปนแนวหรือเปนรองบน
ปลอกบนตัวนัต
เพื่อที่จะใชสลักพินสอดเขาไปในแนวรอง
เพื่อปองกันการคลายตัวของนัต
นัตเหลานี้จะใชในการเชื่อมตอในหลายๆ
จุด เชน นําไปใชในระบบบังคับเลี้ยว
(1/1)

ภฏนฎฒพฒฎ
A นัตล็อค
นัตล็อคจะมีเกลียวเปนแบบสกรู
เมื่อทําการขันแลว สวนบนของมันจะ
ถูกตอกใหยุบตัว เพื่อปองกันการคลาย
หรือบางชนิดจะเสียรูปเมือ่ ขันแนนแลว
การเสียรูปของนัตนี้จะปองกันการหลวม
หรือคลายตัวของนัต ซึ่งมีใชทั่วไปกับ
ชิ้นสวนของระบบสงกําลังของรถยนต

B แหวนรอง
โดยทั่วไปแบงแยกออกตามชนิดของ
การล็อคมี 2 แบบคือ
1 แหวนรองสปริงและแหวนรูปคลื่น

แรงอัดของสปริงจะทําใหโบลทและนัตมี
การคลายตัวนอยลง
2 แหวนรองแบบฟน

แหวนรองชนิดนี้จะมีฟน เปนซี่ซึ่งใชขบ
กับซี่ฟนทีค่ ลายกันของชิ้นสวนอีกชิ้นหนึ่ง
เพื่อใหเกิดแรงเสียดทานนอยที่สุด
ซึ่งจะมีผลตอการคลายของนัตหรือโบลท

-8-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท
(1/2)

C สลักหัวผา
สลักหัวผามิใชอุปกรณที่ทาํ หนาที่โดยตรง
หากแตวาจะตองใชควบคูกับนัตหัวผา
มีใชกับสวนประกอบของระบบบังคับเลี้ยว
ของรถยนต
1 นัตหัวผา

D แผนล็อค
แผนล็อคใชเพื่อปองกันการคลายตัวของ
โบลทหรือนัตซึ่งมีใชในจุดตางๆของรถยนต
แผนล็อคนี้จะไมสามารถนํากลับมาใชใหม
ไดอกี

ขอควรระวังของการใชสลักหัวผา

(2/2)

-9-
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย
1 โบลทรูปตัวยูใชสาํ หรับยึดแหนบสปริงกับเสื้อเพลา ถูก ผิด
2 ในการล็อคชิ้นสวนจะใชนัตลอหัวปดกับสลักหัวผา ถูก ผิด
3 นัตหัวผาจะล็อคดวยกลไกดวยตัวเอง ถูก ผิด
4 สลักหัวผาถูกใชไปแลว มันจะไมสามารถนํากลับมาใชไดอีก ถูก ผิด
5 โบลทที่ใชการขันแบบพลาสติกรีเจียนจะไมสามารถนํากลับมาใชไดอีก ถูก ผิด

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้ที่กลาวถึงโบลทไดอยางถูกตอง?
1.โบลทชนิดตางๆ จะมีความแข็งที่เหมือนกัน
2.ความแข็งของโบลทกาํ หนดไดดวยสี
3.ความแข็งของโบลทกาํ หนดไดดวยตัวเลขหรือสัญลักษณที่ประทับที่ตัวโบลท
4.โบลทจะไมเสียหายเวนแตวาจะใชเครื่องมือที่ใชลม

คําถาม-3
จงเลือกหัวขอวาขอใดใชโบลทที่มกี ารขันแบบพลาสติกรีเจียนในเครื่องยนตรุน 1NZ-FE
1. ยางแทนเครื่อง 2. ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว

3. ทอรวมไอดี 4. ฝาสูบ

1. 2. 3. 4.

- 10 -
ขอมูลทั่วไป นัตและโบลท
คําถาม-4
จากหัวขอที่กาํ หนดขางลางนี้ตรงกับคําตอบในขอใด ในเรือ่ งของชื่อโบลท
M10 x 1.25 - 11T
M: หมายถึงขอ [1]
10: หมายถึงขอ [2]
1.25: หมายถึงขอ [3]
11T: หมายถึงขอ [4]
ก) เสนผาศูนยกลางของโบลท ข) ความสูงของโบลท ค) ประเภทของเกลียว
ง) ความยาวของโบลท จ) ระยะพิทช ฉ) ความแข็ง
คําตอบ: 1. 2. 3. 4.

- 11 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

เครื่องมือและเครื่องมือวัด พื้นฐาน
การซอมรถยนตตองใชเครื่องมือและ
อุปกรณในการวัดหลายชนิด
เครื่องมือเหลานี้ถูกผลิตขึ้นมาเพื่อใชโดย
เฉพาะทางโดยจะมีความแมนยําและ
ปลอดภัย เมื่อใชในวิธีการที่ถูกตอง

หลักการพื้นฐานการใชเครื่องมือและเครื่องมือวัด
• ศึกษาวิธใชและหนาที่ใหถูกตอง
ศึกษาวิธีใชและคุณสมบัติหนาที่การใชงานของเครื่องมือแตละชิ้น ถาใชเครื่องมือผิดวัตถุประสงคนอกเหนือจากที่ระบุไว
ก็จะกอใหเกิดความเสียหายทั้งเครื่องมือและชิ้นสวนตลอดจนคุณภาพของงานอาจจะทําใหเกิดความเสียหายได
• ศึกษาการใชเครื่องมือใหถูกกับงาน
เครื่องมือและเครื่องมือวัดแตละชิ้นมีการอธิบายการใชงานทุกขั้นตอน
จะตองแนใจวานําไปใชอยางถูกตองและนําไปใชใหเหมาะสมกับงาน
• เลือกใชใหถูกตอง
มีเครื่องมือหลายชิ้นสําหรับการคลายโบลท ซึง่ จะขึ้นอยูกับขนาด, ตําแหนงและพื้นที่ตางๆ
เครื่องมือของคุณจะตองมีขนาดที่เหมาะสมกับชิ้นสวนและตําแหนงของชิ้นงานที่จะนําออกมา
• จัดเก็บใหเปนระเบียบ
พยายามจัดเก็บใหเปนระเบียบ เครื่องมือและเครื่องมือวัด
ควรจัดวางใหอยูในตําแหนงที่สามารถหยิบใชไดงายเมื่อตองการและจัดวางในที่ที่เหมาะสมเมือ่ ใชเสร็จแลว
• ดูแลเก็บรักษาเครื่องมืออยางเครงครัด
เครื่องมือควรจะทําความสะอาดและทาน้าํ มันในสวนที่จาํ เปนหลังจากทีน่ าํ ไปใช ซอมแซมทันทีที่เสีย
เพื่อที่วาเครือ่ งมือจะไดอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ

(1/1)

-1-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

เครื่องมือ การเลือกเครื่องมือ
เลือกใชเครื่องมือตามชนิดของงาน
• การขัน/คลายโบลทหรือนัตหรือปรับ
เปลีย่ นชิ้นสวน
โดยปกติจะใชชุดประแจบล็อกในการ
ซอมแซมเปลี่ยนแปลงถาประแจบล็อก
ไมสามารถนําไปใชในสวนชิน้ งานนั้นได
ก็ใหใชประแจแหวนหรือประแจปาก
ตาย

1 ชุดประแจบล็อก
2 ประแจแหวน
3 ประแจปากตาย
(1/4)

เลือกเครื่องมือตามความเหมาะสม
กับงาน
• ประแจบล็อกใชในการขันโบลท/นัต
โดยไมตอ งปรับเปลี่ยนตําแหนงอีก
สามารถใชขันโบลทและนัตไดอยาง
รวดเร็ว
• ประแจบล็อกสามารถนําไปใชไดหลายๆ
วิธี ขึ้นอยูกับชนิดของดามจับวา
เหมาะสมหรือไม
คําเตือน:
1.ประแจกรอกแกร็ก
เหมาะกับการใชในพื้นที่จาํ กัด
อยางไรก็ตามลักษณะของดามจับ
ไมเหมาะที่จะนําไปใชขันแรงบิด
ที่สูง
2. ประแจดามตัวที
ใชสาํ หรับงานที่มพี ื้นที่กวางและ
เหมาะกับการใชความเร็วในการขัน
3. ดามขัน
เหมาะกับงานที่ตองขันอยางเร็วและ
งานที่ตองเปลี่ยนหรือปรับตําแหนง
ดามขัน อยางไรก็ตามดามจับ
แบบนี้จะมีลักษณะยาวและยาก
ตอการใชในพื้นที่ที่แคบๆ
(2/4)

-2-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

การเลือกเครื่องมือดวยการพิจารณา
แรงบิดในการหมุน
• ถาตองการขันดวยแรงบิดที่สูงในการขัน
ครัง้ สุดทาย หรือคลายโบลท/นัต
ที่แนนมากๆ ในครั้งแรก
ควรใชประแจดามที่สามารถใชแรง
มากๆได
คําเตือน:
การที่จะใชแรงมาก/นอยแคไหน
ขึ้นอยูกับความยาวของดามประแจ
ดามที่ยาวจะมีแรงบิดมาก
ก็จะใชแรงบังคับที่นอย

ถาดามยาวมากเกินความจําเปนใน
การใชก็มอี ันตรายจากแรงบิดทีม่ าก
เกินไปเหมือนกันและโบลทอาจจะ
ขาดหรือเสียหายหรือรูดได
(3/4)

ขอควรระวังในการใช
1. ขนาดและการนําไปใช
• ตองแนใจวาขนาดความกวางของ
ปากประแจไดขนาดกับโบลท/นัต
• จะตองใหขนาดพอดีกับโบลท/นัต

-3-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

2. หลักการใช 1
• การขันตองดึงเครือ่ งมือเขาหาตัวเรา
ทุกครั้ง
• ถาเครื่องมือไมสามารถดึงเขาหาตัว
ไดเพราะวาพื้นที่จาํ กัดใหผลักดาม
ประแจดวยฝามือ

3. หลักการใช 2
โบลท/นัตที่ขันจนแนนมากแลว
สามารถคลายใหหลวมลงอยางงาย
โดยการใชแรง อยางไรก็ตาม
ไมควรใชคอนและสวมทอเพื่อทําให
ดามยาวขึ้นในการเพิ่มแรงบิด

4. การใชประแจแรงบิด
• ในการขันใหแนนครั้งสุดทาย
ควรจะใชประแจวัดแรงบิดเพื่อขัน
ใหแนนตามคามาตรฐาน

(4/4)

-4-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ลูกบล็อก (ชุดประแจบล็อก)
ชุดประแจบล็อก
เครื่องมือนี้ใชสาํ หรับขันโบลท/นัตเขา
หรือคลายออก โดยมีขนาดของลูกบล็อก
และดามจับที่แตกตางกันไป
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการนําไปใชงาน
การใช
เครื่องมือนี้จะนําไปจับยึดบนโบลท/นัต
เพื่อที่จะขันหรือคลายออกดวยชุดประแจ
บล็อก
1. ขนาดของลูกบล็อก
• มี 2 ขนาด: ใหญและเล็ก
ชิ้นที่ใหญสามารถใหแรงบิดไดมาก
กวาชิ้นเล็ก
2. ความลึกของลูกบล็อก
• มี 2 ชนิด: มาตรฐานและลึกพิเศษ
ซึ่งจะลึกกวามาตรฐาน 2 หรือ 3 เทา
ชนิดที่ลึกสามารถนําไปใชกับโบลท/
นัตที่เปนชนิดที่ใชกับงานเฉพาะที่ไม
เหมาะกับขนาดลูกบล็อกที่เปนขนาด
มาตรฐาน
3. ปากลูกบล็อก
• มี 2 ชนิด: 6 เหลี่ยมและ 12 เหลีย ่ม
สําหรับแบบ 6 เหลีย่ ม
จะมีพื้นที่ผิวที่ใหญพอทีจ่ ะสัมผัสกับ
โบลท/นัต
ทําใหยากทีจ่ ะทําความเสียหายใหกับ
โบลท/นัตได
(1/1)

-5-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ตัวตอลูกบล็อก (ชุดประแจบล็อก)
การใช
ใชตัวเชื่อมตอเพื่อเปลีย่ นขนาดของตัวตอ
ลูกบล็อก
คําเตือน:
เมือ่ ตองใชแรงขันสูงๆ ในการขัน
ไมควรที่จะใชลกู บล็อกขนาดเล็กขัน
เพราะมันจะมีขอจํากัดของแรงที่จะใช
ในการขันและอาจทําใหลูกบล็อกเกิด
ความเสียหาย

1 ตัวตอลูกบล็อก (ใหญไปเล็ก)
2 ตัวตอลูกบล็อก (เล็กไปใหญ)
3 ลูกบล็อกขนาดเล็ก
4 ลูกบล็อกขนาดใหญ
(1/1)

ขอตอออน (ชุดประแจบล็อก)
การใช
ขอตอลูกบล็อกแบบนี้
สามารถเคลื่อนไหวไปขางหนา-ขางหลัง
ซายหรือขวาไดและชวงขอของดามจับ
สามารถปรับเปลีย่ นมุมไดอยางอิสระ
ทําใหเปนประโยชนตอการใชงานในพื้นที่
ที่จาํ กัด
คําเตือน:
1. อยาใชในลักษณะที่ดามจับเอียง
มากๆ
2. อยาใชกับเครื่องมือลม
เพราะขอตออาจแยกออกจากกัน
ในขณะเดียวกันมันก็ไมสามารถ
รองรับแรงหมุนไดและจะทําใหเกิด
ความเสียหายกับเครื่องมือชิ้นสวน
อะไหลหรือรถได
(1/1)

-6-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ดามตอยาว (ชุดประแจบล็อก)
การใช
1. สามารถใชถอดและเปลี่ยนโบลท/นัต
ในตําแหนงที่ลึกสุด ไมสามารถเอื้อมถึง
2. ดามตอยาว สามารถนําไปใชเพื่อ
เพิ่มระยะใหกับเครื่องมือ เมื่อพื้นที่อยู
ติดหรือแบนราบมากๆ

(1/1)

ดามขัน (ชุดประแจบล็อก)
การใช
ดามจับชนิดนี้ใชสาํ หรับขันและคลาย
โบลท/นัตที่ตองการใชแรงขันมากๆ
• ปากบล็อกปรับมุมได
เพื่อใหขอมุมของดามจับสามารถปรับ
เปลีย่ นใหเหมาะสมกับประแจบล็อก
• ดามจับแบบสไลดยอมใหปรับเปลีย ่น
ความยาวของดามจับได
ขอควรระวัง:
ขยับดามจับจนเขาล็อคกอนที่จะใช
ถามันไมเขาล็อค ดามจับอาจจะเลื่อน
เขาออกไดในระหวางที่ใช ซึ่งจะทําให
ชางไดรับบาดเจ็บจากการเลื่อนไปมา
ได
(1/1)

-7-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ดามขันแบบเลื่อน (ชุดประแจบล็อก)
การใช
ดามจับชนิดนี้สามารถใชได 2
อยางโดยเลื่อนตําแหนงของดามจับ

1. แบบ L: เพื่อเพิ่มแรงบิด
2. แบบ T: เพื่อเรงความเร็วในการหมุน

(1/1)

ดามขันกรอกแกร็ก (ชุดประแจบล็อก)
การใช
1. ปรับตําแหนงไปทางขวาเพื่อขัน
โบลท/นัตใหแนนและไปทางซาย
เพื่อคลายโบลท/นัตออก
2. โบลท/นัตสามารถหมุนไปในทิศทาง
เดียว
3. ประแจบล็อกสามารถขันล็อคไดโดย
การหมุนขันในที่ที่จาํ กัดไดเพราะหมุน
ในองศาที่นอย
คําเตือน:
อยาใชขันกับงานที่ตองใชแรงบิดขัน
มากๆ
เพราะอาจทําใหโครงสรางภายในของ
กรอกแกร็กเสียหายได

1 การคลาย
2 การขันแนน
(1/1)

-8-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ประแจแหวน
การใช
ใชในการเพิ่มแรงขันใหมากขึ้นเนื่องจากมัน
สามารถใชแรงบิดไดมากกับโบลท/นัต
1.
เนื่องจากปากของประแจแหวนเปนแบ
บ 12 เหลี่ยม ทําใหเขากับโบลท/
นัตไดงาย
มันสามารถปรับใหแนนในพื้นที่ที่จาํ กัด
ได
2. เนื่องจากพื้นผิวขอบของโบลท/นัต
เปนแบบหกเหลี่ยม (Hexagonal)
จึงไมทาํ ความเสียหายใหกับมุมของ
โบลท และสามารถใชแรงบิดมากๆ ได
3. เนื่องจากดามมีขอที่เปนมุม
มันสามารถนําไปใชขันโบลท/นัต
ในพื้นที่ที่เปนรองหรือพื้นที่ที่แบน
ราบได
(1/1)

-9-
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ประแจปากตาย
การใช
ใชสาํ หรับขันในที่ที่ซึ่งประแจแหวน
ไมสามารถเขาไปขันหรือคลายโบลท/
นัตได
1. ดามจับจะทํามุมกับปาก
หมายความวาใหหมุนประแจปากตาย
ไปดานบน
มันจะสามารถหมุนไดดีเมื่ออยูในพื้นที่
ที่จาํ กัด
2. เพื่อปองกันชิ้นสวนที่อยูตรงขามไมให
หมุนตาม เชน
เมือ่ ตองการคลายทอน้าํ มันใหใชประแจ
ปากตาย 2 อันเพื่อชวยในการคลายนัต
3.ประแจไมสามารถใหแรงบิดไดมาก
ดังนั้นไมควรใชในการขันแนนในครัง้
สุดทาย *
คําเตือน:
ไมควรสวมทอเขากับดามจับเพื่อเพิ่ม
แรงบิดใหมากขึ้น เพราะอาจจะ
ทําความเสียหายใหกับโบลทหรือ
ประแจปากตาย

* การขันครัง้ สุดทาย:
ขันครั้งสุดทายที่ตัวโบลท/นัต
(1/1)

- 10 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ประแจเลื่อน
การใช
ประแจชนิดนี้สามารถปรับใหพอดีกับขนาด
ของนัตและโบลทที่จะทําการขันหรือคลาย
ได
• หมุนตัวปรับเพือปรับเปลียนปากประแจ
เลือ่ นสามารถนําไปใชแทนประแจปาก
ตายได
• ไมเหมาะที่จะใชแรงบิด/ขันมาก

วิธีใช
หมุนตัวปรับใหปากพอดีกับหัวของ
โบลท/นัต
คําเตือน:
หันประแจที่มีปากที่ปรับไดอยูใน
ตําแหนงที่สามารถขันขึ้นลงได
ถาประแจไมสามารถหมุนตามนี้ได
ก็จะทําใหเกิดแรงกดดันที่ตัวปรับ
เปลีย่ นกอใหเกิดความเสียหายตามมา
(1/1)

ประแจถอดหัวเทียน
การใช
เครื่องมือใชเฉพาะถอดหรือเปลีย่ น
หัวเทียน
• มี 2 ขนาด ใหญและเล็ก
ควรเลือกขนาดใหเหมาะสมกับหัวเทียน
• ขางในประแจจะมีแมเหล็กเพื่อใชยึดกับ
ตัวหัวเทียนใหอยูคงที่เพื่อสะดวกตอ
การใชงาน
คําเตือน:
1. แมเหล็กจะปองกันหัวเทียนหลุด
ออกมาแตก็ตองระวังไมใหหัวเทียน
หลนออกมาเหมือนกัน
2. เพื่อใหแนใจวาหัวเทียนไดใสเขาไป
อยางถูกตองแลว ใหหมุน 1 รอบ
ดวยมืออยางระมัดระวัง (อางอิง:
ใชคาแรงขัน 180~200 kg~cm)
(1/1)

- 11 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ไขควง
การใช
ใชคลายและขันสกรู
• ปลายของไขควงมีรูปรางตางๆ กัน เชน
ปากแบนหรือหัวแฉก เพื่อใหเหมาะสม
กับหัวของสกรู
วิธีใช
1. ใชไขควงที่มีขนาดและลักษณะที่
เหมาะสมพอดีกับสกรูที่จะขัน
2. ขณะที่ขันจะตองใหดามของไขควงอยูใน
แนวตรงและตั้งฉากกับหัวสกรูและ
พรอมกับออกแรงกดดวยในขณะที่ออก
แรงขัน
คําเตือน:
อยาใชคีมหรือเครื่องมืออื่นเพื่อชวยใน
การขันเพราะจะทําใหปลายของไขควง
เสียหายได
(1/1)

ไขควง
ื การเลือกไขควงเพื่อใชงาน
• นอกจากไขควงที่ใชกันอยูโดยทั่วไปแลว
ยังมีไขควงชนิดอื่นๆ
ที่แตกตางกันตามการใชงาน ดังนี้

A ไขควงชนิดใชคอนตอก
สามารถใชตอกเพื่อยึดสกรูได
B ไขควงชนิดกานสั้น
สามารถใชคลายและขันสกรู
ในพื้นที่จาํ กัดได
C ไขควงชนิดกานสี่เหลี่ยม
สามารถใชในงานที่ตองการ
ใชแรงขันมากๆ
D ไขควงจิ๋ว
สามารถใชถอดและเปลี่ยน
ชิ้นสวนเล็กๆ ได

1 กานไขควงอยูจนสุดภายในดามจับ
2 กานไขควงเปนสี่เหลี่ยม

- 12 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด
(1/1)

คีมปากแหลม (คีมปากจิ้งจก)
การใช
ใชจับและดึงพินล็อคหรือวัสดุชิ้นเล็กๆ
ในที่แคบๆ
• ปากคีมยาวและบาง
เหมาะสําหรับใชงานในที่แคบ
• รวมทั้งใบมีดที่อยูตอจากคอคีม
สามารถนํามาตัดสายไฟหรือใชปอก
สายไฟได
คําเตือน:
หามออกแรงกดปากคีมมากๆ
เพราะจะทําใหปากโคงงอเชิดขึ้นได
การกระทําอยางนี้จะทําใหนาํ มาใชงาน
อีกไมได

1 เปลี่ยนรูปราง
2 กอนเปลี่ยนรูปราง ื
(1/1)

คีมปากขยาย
การใช
ใชจับชิ้นงาน
คีมปากขยายสามารถปรับความกวางของ
ปากไดสองตําแหนง ขึ้นอยูกับชิ้นงานที่
จะจับ
• ปรับจุดรองรับใหอยูตรงชองเพราะ
ปากคีมสามารถขยับเปดปดได
• ปากคีมสามารถใชหนีบจับและดึงได
• บริเวณคอคีมสามารถใชตัดสายไฟที่มี
ขนาดเล็กๆ ได
คําเตือน:
ในชิ้นงานที่มีความเสียหายงาย
ควรจะมีผารองรับหรืออะไรก็ตาม
หอหุมกอนที่จะใชปากคีบจับยึดชิ้น
งานนั้นๆ
(1/1)

- 13 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

คีมตัด
การใช
ใชในการตัดหรือปลอกสายไฟ
• เนืองจากปากเปนใบมีดตัง แตปลายปาก
ลงมา
ทําใหสามารถนําไปตัดสายไฟไดหรือ
เลือกตัดสายไฟที่ตองการ
คําเตือน:
ไมสามารถนําไปใชตัดสายไฟที่แข็งและ
หนาได เพราะทําใหใบมีดตัดเสียหาย

(1/1)

คอน
การใช
ใชตอกชิ้นสวนอะไหลและใชทดสอบความ
แนนของโบลทโดยสังเกตจากเสียง

ลักษณะของคอนมีหลายชนิดขึ้นอยูกับการ
นําไปใชและวัตถุที่เราจะนําไปใชดวย
1 คอนหัวกลม

มีลักษณะเปนหัวเหล็ก
2 คอนพลาสติก

หัวเปนพลาสติกและสามารถหลีกเลี่ยง
การเปนรอยบนพื้นผิววัตถุ
3 คอนทดสอบ

เปนคอนเล็กที่มีดามยางและบาง
ใชทดสอบความแนนของโบลท/นัต
โดยฟงจากเสียงและแรงสั่นสะเทือน
เมื่อทุบลงไป
วิธีใช
1 ตอกแบบตรงๆ

ตัวอยาง ) ใชตอกและเปลีย่ นสลักออก


2 ใชถอดโดยตอกออกตรงๆ

ตัวอยาง) ใชสาํ หรับถอดแยกฝาครอบ


และตัวเรือนของชิ้นสวน
ใชถอดโดยการตอกออกตรงๆ
3 ใชตอกโบลทเบาๆ

ตัวอยาง) ใชเช็คการคลายของโบลท
(ระมัดระวังขณะตอกและฟงเสียง
การตอกไมใหผิดเพี้ยนไปจากปกติ)

- 14 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด
(1/1)

แทงทองเหลือง
การใช
อุปกรณที่ชวยปองกันความเสียหาย
ของคอน
• ทําจากทองเหลือง
ดังนั้นจะไมทาํ ความเสียหายใหกับ
ชิ้นสวน
(จะตองมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบกอนที่
จะไปใช)
คําเตือน:
ถาจะเปลีย่ นแปลงรูปแบบของปลาย
แทงทองเหลืองจะตองทําโดยการเจียร
ปลายแทงทองเหลือง
(1/1)

มีดขูดปะเก็น
การใช
ใชขูดปะเก็นฝาสูบ, ปะเก็นเหลว, สติกเกอร
ฯลฯ จากพื้นผิววัสดุที่แบนเรียบ
วิธีใช
1.ผลของการขูดจะขึ้นอยูกับทิศทางของ
ใบมีด:
(1)การใชปลายมีดกดลงที่ปะเก็นแลวขูด
ออกจะทําใหขูดไดดี
(2) การขูดปะเก็นดวยปลายมีดอาจจะไม
คอยเกลีย้ งเกลา แตอยางไรก็ตาม
ผิวหนาวัตถุที่โดนขูดก็จะไมเสียหาย
2. เมือ่ ตองการใชบนวัตถุที่มีพื้นผิวที่อาจ
จะเสียหายงายควรจะพันดวยเทป
พลาสติกกอน (ยกเวนบริเวณปลายมีด)
ขอควรระวัง:
• อยาวางมือไวหนาใบมีดคุณอาจ
จะไดรับบาดเจ็บจากใบมีดได
• อยาใชเครื่องเจียรกับใบมีด
ใหใชหนิ ลับน้าํ มันแทน
(1/1)

- 15 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

เหล็กนําศูนย
การใช
ใชทาํ เครื่องหมายบนชิ้นสวน
• สวนปลายผานการชุบแข็งและอบชุบมา
แลว
คําเตือน:
1. อยาตอกแรงเกินไปเมื่อตองการ
ทําเครื่องหมาย
2. บริเวณปลายของเหล็กนําศูนย
ควรหมั่นทาน้าํ มันรักษาไวเสมอ

เหล็กตอกสลัก
การใช
ใชสาํ หรับตอกเพื่อเปลีย่ นหรือปรับแตง
สลัก

• ปลายเหล็กผานการชุบแข็งและอบชุบมา
แลว
• ปลายที่ตอกจะมี 2
ขนาดที่สามารถใชไดกับสลักทุกขนาด
• จะมียางเปนตัวรองสลักกับดามตอกเพือ
ปองกันชิ้นสวนเสียหายเมือ่ ตอกสลัก
ลงไปแลว
วิธีใช
• ใชตอกตามแนวตั้ง
• ยางรองจะตองรองรับไดพอดีกับดาม
ตอกและจับใหมนั่ ขณะใชแรงตอก
(1/1)

- 16 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

เครื่องมือลม เครื่องมือลม
เครื่องมือลมจะใชแรงดันอากาศ
และนํามาใชขันและคลายโบลท/นัต
เครื่องมือชนิดนี้จะชวยใหทาํ งานไดเร็วขึ้น
ขอควรระวังในการใช
1. (คาที่ถูกตอง : 686 kPa
( 7 kg / cm2))
2. ตรวจสอบเครื่องมือลมเปนประจํา
ใชนา้ํ มันหลอลื่นเพื่อรักษาเครื่องมือ
เปนประจําและควรรักษาใหสะอาด
ปราศจากฝุนจับ
3. ถาใชเครื่องมือลมคลายนัตออกจาก
สกรูความแรงของการหมุนอาจจะทําให
นัตกระเด็นออกมา
4. ใหใชมือขันนัตไปบนสกรูกอน
แลวจึงใชเครื่องมือลม
เพราะถาใชเครื่องมือลมเริ่มขันกอน
มันจะทําใหรอยเกลียวของสกรูเสียหาย
ได ระวังอยาขันใหแนนเกินไป
ควรคอยๆ ใชกาํ ลังลมระดับต่าํ ๆ
ไวในการขันแนน
5. ควรใชประแจขันในการเช็คความแนน
ในขั้นตอนสุดทาย
(1/1)

- 17 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ปนลม
การใช
ใชกับโบลท/นัตที่ตองการใชแรงขันมากๆ
1. แรงขันสามารถปรับเปลี่ยนได 4-6
ระดับ
2. ทิศทางการหมุนสามารถปรับเปลี่ยนได
3. ใชรว มกับประแจบล็อกเพราะประแจ
บล็อกจะมีความแข็งแรงทนทานเปน
พิเศษและสามารถปองกันไมใหชิ้นสวน
กระเด็นออกมา ประแจบล็อกจะใชได
ดีกวาใชเครื่องมืออื่น
1 บล็อก ขอควรระวัง:
2 สลัก จะตองจับประแจลมดวยมือทั้งสอง
3 โอ-ริง อยางมัน่ คงขณะใชงาน เนื่องจาก
ขณะคลายออกจะเกิดแรงสะทาน
ขอแนะนํา:
จะมีปุมปรับแรงขันและทิศทาง
การหมุนหลายปุมซึ่งแลวแตผูผลิต
จะผลิตออกมา

(1/1)

กรอกแกร็กลม
การใช
ใชขันโบลท/นัตที่ไมตองใชแรงขันมาก

1. สามารถปรับเปลี่ยนทิศทางการ
หมุนได
2. สามารถใชรวมกับบล็อคและดามตอ
ได
3. สามารถนําไปใชเชนเดียวกับกรอก
แกร็กธรรมดาไดโดยไมตอ งใชแรง
ดันลม
ขอควรระวัง:
•ตองแนใจวาแรงลมที่ออกมานั้น
จะตองไมไปโดนโบลท/นัต
หรือชิ้นสวนเล็กๆ, น้าํ มันหรือของเสีย
ขอแนะนํา:
•ไมสามารถปรับเปลีย่ นแรงขันได

- 18 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด
(1/1)

เครื่องมือวัด คาการวัดที่ถูกตอง
เครื่องมือวัดที่ใชกับรถยนตเพื่อใชในการ
วัดขนาดของชิ้นสวนเพื่อปรับเปลี่ยนใหตรง
กับคามาตรฐานใชในการตรวจสอบหนาที่
ของการทํางานของเครื่องยนตและตรวจ
สอบชิ้นสวน

จุดที่จะตองตรวจสอบกอนการวัด:

1.ทําความสะอาดชิ้นงานและเครื่องมือ
วัด
เพราะสิ่งสกปรกที่จับบนตัวชิ้นงานอาจทํา
ใหคาคลาดเคลื่อนได
เพราะฉะนั้นควรทําความสะอาดกอนการ
วัดเสมอ
2.เลือกใชเครื่องมือวัดใหถูกตองและ
เหมาะสม
โดยเลือกตามระดับการใชงาน
ตัวอยางที่ไมถูกตอง:
ใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดความกวางของ
ลูกสูบ
1 ความละเอียดของการวัด:

0.05 มม.
2 ความละเอียดที่ตองการ:

0.01 มม.
1.สอบเทียบเครื่องมือวัดตําแหนง"0"
เช็คตําแหนงศูนยใหอยูในตําแหนงที่
ถูกตอง ตําแหนง"0"
คือตําแหนงของการวัดที่ถูกตอง
2.ดูแลรักษาเครื่องมือวัด
ดูแลรักษาและควรจะมีการสอบเทียบคา
"0" อยูเสมอ
อยาใชถาเครื่องมือวัดที่แตกหัก

(1/3)

- 19 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

คาการวัดที่ถูกตอง
จุดที่ตองสังเกตขณะทําการวัด:
1. ยึดเครื่องมือไมใหเคลื่อนไหวและ
วัดตั้งฉากกับชิ้นงาน
โดยกดเลื่อนเครือ่ งมือวัดใหเคลื่อนที่
เฉไปยังชิ้นงานที่วัด(รายละเอียดอางอิง
เครื่องมือวัดแตละอยาง)
2. ใชยานการวัดที่เหมาะสม
เมือ่ นําไปใชวัดคาแรงดันหรือ
กระแสไฟฟาควรเลือกใชยานสูงกอน
แลวคอยๆ ปรับลงมายังคาที่เหมาะสม
จะสามารถอานไดจากหนาปด
3. การอานคาที่ได
ควรอานตรงกับระดับสายตา
(2/3)

คาการวัดที่ถูกตอง
1. หามทําเครื่องมือวัดตกหลนหรือ
กระทบแรงๆเพราะมันจะทําความ
เสียหายใหกับชิ้นสวนขางในได
2. หลีกเลีย่ งในการใชหรือจัดเก็บในที่
ที่มีอุณหภูมิหรือความชื้นสูง
คาวัดที่ผิดพลาดอาจจะเกิดจากการ
ใชในที่ที่มีอุณหภูมิหรือความชื้นสูง
และเกิดจากตัวเครื่องมือวัดเองที่มี
อุณหภูมิสูง
3. ทําความสะอาดหลังจากใชเสร็จแลว
และจัดเก็บใหเขาที่
เครื่องมือวัดทุกชนิดควรปรับตั้งให
กลับไปอยูที่สภาพเดิมและควรเก็บ
ใสกลองกอนที่จะไปวางในชั้นวางที่
เหมาะสม
ถาตองการเก็บเครือ่ งมือวัดใหยาว
นานควรจะใชนา้ํ มันปองกันฝุนทา
ลงไปดวยและควรถอดแบตเตอรี่
ออกกอนทีจ่ ะเก็บ
(3/3)

- 20 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ประแจวัดแรงบิด
การใช
ใชในการขันโบลท/นัตใหแนน
ตามคากําหนดแรงขัน
1. ชนิดปรับคาได
ควรปรับตั้งแกนขันใหตรงกับแรงขันที่ตอง
การ
เมือ่ โบลทขันแนนจนถึงแกนที่เราปรับ
ตั้งไว มันจะมีเสียงดังคลิก
เพื่อแสดงวาขันเสร็จแลวโดยตรงกับแรง
ขันที่เราปรับตั้งไว
2.ชนิดกานชี้สปริง
(1) ชนิดมาตรฐาน
ประแจวัดแรงบิดจะใชเชื่อมตอกับกาน
ที่ทาํ มาจากแผนสปริงโดยแรงผาน
จากดามจับซึ่งแรงนี้สามารถอานคา
ไดจากสเกลบนประแจวัดแรงบิด
ที่แสดงไว
(2) ประแจวัดแรงบิดขนาดเล็ก
คาที่ใชวัดสูงสุดประมาณ 0.98 N·m
ใชสาํ หรับวัดพรีโหลด
วิธีใช
เพื่อใหการขันแนนมีประสิทธิภาพที่ดี
ควรใชประแจอื่นขันกอนในเบื้องตน
แลวจึงใชประแจวัดแรงบิดขัน
ถาใชประแจวัดแรงบิดขันกอน
จะทําใหประแจชํารุดได

* การขันกอนที่จะขันแนน:
เปนการขันใหแนนพอประมาณกอนที่จะ
ขันแนนในครั้งสุดทาย

(1/2)

- 21 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

คําเตือน:
1. ถาขันโบลทจาํ นวนมาก
ใหใชแรงขันที่เทา ๆ
กันในแตละโบลทและขันซ้าํ อีก 2-3
รอบ เพื่อกันลืม
2. ถาใชเครือ่ งมือพิเศษตอกับประแจ
วัดแรงบิดใหคาํ นวณคาแรงบิดตาม
คําแนะนําในคูมือซอม
3. ขอสําคัญสําหรับการใชประแจวัด
แรงบิดแบบกานชี้สปริง:

(1)ใชคาแรงขันบนสเกลระหวาง 50
ถึง 70%
เพื่อใหงายตอการขันที่ไดคาของแรง
บิดที่แนนอน
(2)จับดามจับใหไดศูนยกลาง
มิฉะนั้นคาแรงบิดที่วัดไดจะมีคา
คลาดเคลื่อน
(2/2)

- 22 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ประแจวัดแรงบิด
ใชประแจวัดแรงบิดพรอมดามตอ
ในการขัน:
1. การตอดามตอเพื่อยืดความยาว (L2)
ของประแจวัดแรงบิด
ถารวมทั้งสองสิ่งนี้แลวใชขันโบลท/
นัตจนกระทัง่ อานคาที่ขันไดจากประแจ
วัดแรงบิดแลว
คาแรงขันที่ไดจริงจะเกินกวาคาแรงขัน
ที่กาํ หนด
2. นอกจากคาแรงขันที่กาํ หนดในคูมอื
ซอมแลว ยังมีคา T'
T' = คาที่อานไดจากประแจวัดแรงบิดพรอมดามตอ [N·m {kgf·cm}] ของประแจวัดแรงบิดอีกชนิดหนึ่ง
T = คาแรงขันที่กาํ หนด [N·m {kgf·cm}] หากชนิดของประแจวัดแรงบิดไมมีมา
L1 = ความยาวของดามตอ [ซม.] ให สามารถหาไดจากสูตรคํานวณ
L2 = ความยาวของประแจวัดแรงบิด [ซม.]
3. ตัวอยางคาทีม่ ีในคูมือซอม
คามาตรฐาน:
T= 80 N·m [816 kgf·cm]
(คาแรงขันที่กาํ หนด)
T'= 65 N·m [663 kgf·cm]
(คาที่ไดจากประแจวัดแรงบิด 1300 F
พรอมดามตอ )
4. สูตร: T'= Tx L2 / (L1+L2)

(1/1)

- 23 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

เวอรเนียรคาลิปเปอร
การใช
เวอรเนียรคาลิปเปอรสามารถใชวัด
เสนผาศูนยกลางดานนอก
เสนผาศูนยกลางดานใน
และความลึกของชิ้นงาน
ชวงการวัด:
0~150, 200, 300 มม.
ความละเอียดของการวัด:
0.05 มม.

1 เสนผาศูนยกลางภายในของปากวัด
2 เสนผาศูนยกลางภายนอกของปากวัด
3 สกรูลอ็ ค
4 สเกลเวอรเนียร
5 สเกลหลัก
6 วัดความลึก
7 กานวัดลึก
(1/3)

วีธีใช
1. ปดปากของเวอรเนียรใหสนิทกอนทํา
การวัดและตรวจเช็ความีชองวางเพียง
พอที่แสงจะลอดผานชองมาอยางสม่าํ
เสมอ
2. เมือ่ ทําการวัด ใหคอยๆเลื่อน
คาลิปเปอรใหปากพอดีกับชิ้นสวนที่
ทําการวัดโดยถูกตองแมนยํา
3.ทันทีที่ชิ้นสวนไดพอดีกับปากคาลิปเปอร
ใหหมุนสกรูล็อคและอานคาที่วัดได
ซึ่งจะทําใหอานคาที่ทาํ การวัดไดงาย

1 สกรูลอ็ ค
2 เวอรเนียร
(2/3)

- 24 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ขอมูลอางอิง:
ตัวอยางการใชงาน
1. การวัดความยาว
2. การวัดเสนผาศูนยกลางดานใน
3. การวัดเสนผาศูนยกลางดานนอก
4. การวัดความลึก

(1/1)

การอานคา
1. ชองสเกลมีคาเปน 1.0 มม.
อานคาบนสเกลหลัก
ตรงตําแหนงที่ดา นซายของจุด
"0"ของสเกลเวอรเนียร A ตัวอยาง)
45 มม.
2. ชองสเกลมีคาเปน 0.05 มม. ซึ่งต่าํ กวา
1.0 มม.ใหดูจุดที่ขีดบนสเกลหลักตรง
กับขีดของสเกลเวอรเนีย. B ตัวอยาง)
0.25 มม.
3. การคํานวณคาการวัด
A + B

ตัวอยาง) 45+0.25=45.25 มม.


(3/3)

- 25 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ไมโครมิเตอร
การใช
ใชวัดเสนผาศูนยกลางดานนอก/
ความหนาของชิ้นสวนโดยคํานวณตาม
อัตราสวนของการหมุนของแกนวัด
ชวงการวัด:
0~25 มม.
25~50 มม.
50~75 มม.
75~100 มม.
ความละเอียดของการวัด: 0.01 มม.

1 แกนรับ
2 แกนวัด
3 แคลมปล็อค (ปุมล็อค)
4 เกลียว
5 ปลอกหมุนปรับหยาบ
6 หัวหมุนปรับละเอียด
(1/4)

- 26 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

วิธีใช
1. ปรับเทียบคา "0"
กอนที่จะใชไมโครมิเตอรวัดชิ้นงาน
ตองตรวจสอบใหแนใจวาจุด "0"
ของไมโครมิเตอรอยูในตําแหนงที่
ถูกตอง
การตรวจสอบ
ในกรณีไมโครมิเตอรขนาด 50~75 มม.
ดังที่แสดงในภาพ ใหตงั้ คามาตรฐานของ
เกจวัดอยูในคา 50มม.และหมุนหัวหมุน
ปรับละเอียดประมาณ 2-3 รอบ
แลวตรวจสอบตําแหนง "0" ของปลอกนอก
1 เกจวัดมาตรฐาน 50 มม. 2 ขาตั้ง 3 หัวหมุนปรับละเอียด ใหตรงและเปนแนวเดียวกันกับปลอกหมุน

4 แกนวัด 5 แคลมปล็อค (ปุม ล็อค) 6 ปลอกนอก การปรับตั้ง


7 ปลอกหมุน 8 ประแจปรับตั้ง
• ถาคาคลาดเคลื่อนนอยกวา
0.02 มม.
จับแกนวัดใหอยูกับทีด่ วยตัวล็อค
จากนั้นสอดปุมปลายประแจปรับตั้ง
(มีมาพรอมกับไมโครมิเตอร)
เขาที่รูเล็กๆ บนปลอกนอก แลวปรับให
"0" บนปลอกเลื่อนตรงกับเสนแบงบน
ปลอกนอก แสดงในรูป B
• ถาคาคลาดเคลื่อนมากกวา 0.02
มม.
จับแกนวัดใหอยูกับทีด่ วยตัวล็อค
และคลายหัวหมุนปรับละเอียดดวย
ประแจปรับตั้งเพื่อใหปลอกเลื่อนหมุน
เปนอิสระปรับใหจุด"0"ของปลอกเลื่อน
ตรงกับเสนแบงบนปลอกนอก
และขันหัวหมุนปรับละเอียดดวยประแจ
ปรับตั้งอีกครั้ง แสดงในรูป C

(2/4)

- 27 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

2. การวัด
(1) สวมตัวเครือ่ งมือแนบกับสวนที่จะวัด
และหมุนปลอกหมุนจนแกนวัดแตะกับ
สวนที่จะวัดเล็กนอย
(2) เมื่อแกนวัดแตะกับสวนที่จะวัดแลว
ใหบิดหัวหมุนปรับละเอียด 2-3 ครั้ง
แลวอานคาการวัด
(3)หัวหมุนปรับละเอียดจะทําใหแกนวัดมี
แรงดันเชนเดียวกัน ดังนั้นเมื่อแรงดันนี้
เกินกวาระดับที่กาํ หนด มันก็ไมทาํ งาน
คําเตือน:
1. ควรใหไมโครมิเตอรอยูในแนวตั้ง
เมื่อวัดชิ้นสวนที่มีขนาดเล็ก
2. คนหาตําแหนงทีส่ ามารถวัดเสน
ผาศูนยกลางอยางถูกตองไดจาก
การเคลือ่ นที่ของไมโครมิเตอร
(3/4)

3. การอานคาที่วัดได
(1) การอานคา 0.5 มม.
อานคาที่มากที่สุดที่วัดไดดวย
สายตาบนสเกลของปลอกนอก A

ตัวอยาง) 55.5 มม.


(2)การอานคา 0.01 มม. แตนอยกวา
0.5 มม.อานที่จุดซึ่งเปนเสนวัด
ที่ตรงกันของสเกลบนปลอกหมุนและ
สเกลบนปลอกนอก
B ตัวอยาง) 0.45 มม.

(3) การคํานวณคาการวัด
A + B

ตัวอยาง) 55.5+0.45=55.95 มม.

1 ปลอกนอก
2 ปลอกหมุน
3 เสนแบงขนาด 1 มม.
4 เสนฐานบนปลอกนอก
5 เสนแบงขนาด 0.5 มม.
(4/4)

- 28 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

ไดอัลเกจ
การใช
การเลือ่ นขึ้น-ลงของแกนวัด
จะเปลี่ยนเปนการหมุนของเข็มวัดทัง้ เข็ม
ยาวและเข็มสั้น
ใชสาํ หรับวัดคาความคลาดเคลื่อนหรือ
ความโคงงอของเพลาและพื้นผิวที่แกวงไป
มาของหนาแปลน
ชนิดของตัวเลื่อนปลายของเครื่องมือวัด
ชนิดนี้
A แบบยาว:

ใชวัดชิ้นสวนในพื้นที่ที่จาํ กัด
B แบบลอเลื่อน:

ใชวัดผิวโคง/เวาของหนายาง
C แบบโยกขึ้นลง:

ใชวัดชิ้นสวนที่แกวงไปมา
ไมสามารถสัมผัสไดโดยตรง
D แบบแผนแบน:

ใชวัดผิวนูนของลูกสูบ เปนตน

คาความละเอียดในการวัด: 0.01 มม.

1 เข็มวัดยาว (0.01 มม./1


รอบการหมุน)
2 เข็มวัดสั้น (1 มม./1 รอบการหมุน)
3 หนาปด (ควรหมุนปรับตั้งไปที่ "0"
กอนทําการวัด)
(1/2)

- 29 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

วิธีใช
1. การวัด
(1) โดยทั่วไปใชยึดกับฐานแมเหล็ก
ปรับตําแหนงไดอัลเกจใหอยูใน
ตําแหนงที่วัดและปรับจุดสัมผัสกานวัด
ใหไดระยะศูนยกลางของการเคลื่อนที่
(2) หมุนชิ้นสวนที่ถูกวัดและอานคาที่
เปลี่ยนไปของเข็ม
2. การอานคาที่ไดจากการวัด
คาบนหนาปดที่ขยับไป 7 ตําแหนง
คาที่ไดคือ: 0.07 มม.

1 ตัวล็อคคานมาตรวัด
2 คานวัด
3 ฐานแมเหล็ก
4 จุดสมดุลศูนยกลางของระยะการ
เคลื่อนที่
(2/2)

คาลิปเปอรเกจ
การใช
คาลิปเปอรเกจเปนเครื่องมือวัดชนิดหนึ่ง
ซึ่งประกอบไปดวยไดอัลเกจใชวัด
เสนผาศูนยกลางภายในของชิ้นงาน
ดังที่แสดงในรูปดานซายมือเข็มชี้ตัวยาว
หมุนไปหนึ่งรอบ จะไดคาเทากับ 2 มม.

คาความละเอียดในการวัด: 0.01 มม.


(คาวัดที่อา นได: 20 = 0.2 มม.)

1 ขาวัด (ที่สามารถเคลื่อนที่ได)
2 ปุมสัมผัส
3 ปุมปรับ
(เปดและปดไดโดยขาวัดที่เลื่อนได)
4 สเกลวัด (เข็มชี้เริ่มจากศูนย)
5 เสนผาศูนยกลางภายใน
(1/3)

- 30 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

วิธีใช
1. ปรับตั้งไปที่ "0"
(1)ปรับไมโครมิเตอรไปที่คามาตรฐาน
การวัดและจับตัวหมุนของแคลมปใหอยู
นิ่งๆ
(2)ใชขาวัด (ขาตายตัว)
เปนจุดรับน้าํ หนัก และทําการหมุนเกจ
(3)ใชขาวัด (ที่สามารถเคลือ่ นที่ได)
ของเกจไปชี้ในจุดที่จะวัดซึ่งสามารถเขา
ไปวัดได แลวปรับใหเกจเปน "0"
2. วิธีการวัด
1 ไมโครมิเตอร
2
(1) เลื่อนปุมสําหรับปรับขาวัด
แกนวัด
3
(ขาวัดที่สามารถเคลือ่ นที่ได)
แคลมปล็อค (ปุมล็อค)
4
สอดเขาไปในตําแหนงที่จะวัด
ขาตั้ง
5 จุดหมุน (2)เลื่อนขาวัดแบบเคลือ่ นที่ไดไป
6 ทิศทางการปด ทางซาย-ขวาหรือขึ้น-ลง
7 ทิศทางการเปด และอานคาที่วัดไดที่หนาปด
การเลื่อนตําแหนงของขาวัดไปทางซาย
และขวา: ใหเลื่อนไปในระยะทีห่ างที่สุด
การเลื่อนตําแหนงขึ้นลงของขาวัด:
ใหเลื่อนไปในระยะที่สั้นที่สุด
3. การคํานวณคาการวัด
คาการวัด = คาวัดมาตรฐาน
คาที่อานไดที่เกจ
ตัวอยาง) คาวัดมาตรฐาน,
คาที่อานไดที่เกจและคาการวัด:
12.00 มม. + 0.2 มม. = 12.20 มม.
12.00: คาวัดมาตรฐาน
0.2: คาที่อา นไดที่เกจ (ทิศทางการเปด)
12.20: คาการวัด

(2/3)

- 31 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

คําเตือน:
1.ใชขาวัด (แบบตายตัว) ทีจ่ ุดหมุน
แลวปรับเกจการวัดไปทางซายและ
ขวาเพื่อหาจุดทีก่ วางที่สุด
2. เลื่อนเกจขึ้นหรือลงไปทีจ่ ุดนั้นๆ
เพื่อวัดหาคาที่จุดที่ใกลที่สุด

(3/3)

เกจวัดกระบอกสูบ
การใช
เกจวัดกระบอกสูบเปนเครื่องมือวัดประเภท
หนึ่ง มักใชเพื่อวัดความโตของกระบอกสูบ

คาความละเอียดในการวัด: 0.01 มม.

คุณลักษณะ:
• สวนที่ยืดหรือหดของโพรบตองอานคา
ดวยไดอัลเกจ
• ตองใชเกจวัดกระบอกสูบรวมกับไมโคร
มิเตอร

1 กานเสริม
2 ตัวล็อคกานเสริม
3 จุดวัด
4 ไมโครมิเตอร

(1/5)

- 32 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

เกจวัดกระบอกสูบ
วิธีใช
1. ชุดเกจวัดกระบอกสูบ
(1)ใชเวอรเนียรคาลิปเปอรวัดความกวาง
ของกระบอกสูบ
เพื่อหาคาขนาดมาตรฐาน
(2)ทําการเลือกกานเสริมและใชแหวนรอง
เพื่อใหมขี นาดความยาวมากกวา
กระบอกสูบ 0.5 - 1.0 มม.
(กานเสริมจะมีขนาดการวัดตายตัว
(และขนาดจะเพิ่มขึ้นทีละ 5 มม.)
1 2 3
เลือกความยาวของกานเสริมใหเหมาะ
เวอรเนียรคาลิปเปอร กระบอกสูบ ตัวล็อคกานเสริม
สมและใชแหวนรองเพื่อปรับตั้งอีกครั้ง)
4 กานเสริม 5 ขนาดกานเสริม 6 แหวนปรับตั้ง

7 แกนวัด 8 สกรูปรับตั้ง (3)ทําการปรับแกนวัดไปประมาณ 1 มม.


เมือ่ ไดอัลเกจสัมผัสกับตัวเกจวัด
กระบอกสูบ

(2/5)

2. การสอบเทียบศูนยของเกจวัด
กระบอกสูบ
(1)ปรับตั้งไมโครมิเตอรใหอยูในคามาตร
ฐานที่จะนําไปใชประกอบกับเวอรเนียร
คาลิปเปอรยึดแกนวัดกับไมโครมิเตอร
ดวยแคลมป
(2)เลื่อนเกจวัดโดยใชกานเสริมที่จุดรับ
น้าํ หนัก
(3)ปรับคาของเกจวัดกระบอกสูบใหเปน
"0"(ตําแหนงที่เข็มไดอัลเกจหมุนกลับ
ไปยังดานที่สัมผัสกับขั้ว)

1 ไมโครมิเตอร
2 แกนวัด
3 แคลมป
4 ขาตั้ง
(3/5)

- 33 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

3. การวัดความโตกระบอกสูบ
(1)ทําการกดเบาๆที่แผนรองจุดวัด
และคอยๆ สอดเกจวัดเขาไปใน
กระบอกสูบ
(2)ขยับเกจเพื่อหาตําแหนงที่แคบทีส่ ุด
(3)อานคาบนหนาปดตรงตําแหนงที่สั้น
ที่สุด

1 แผนรองจุดวัด
2 จุดวัด
3 สวนขยาย
4 ดานหด
(4/5)

- 34 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

4. การอานคาที่วัดได
(1)การอานคาดานขยาย x + y
(2) การอานคาดานหด x - z
x : ขนาดมาตรฐานของ
ไมโครมิเตอร
y : เกจวัดคาแบบทวนเข็ม (ดาน 1 )
z : เกจวัดคาแบบตามเข็ม (ดาน 2 )
ตัวอยาง:
87.00(x) – 0.05(z)=86.95 มม.

ขอแนะนํา:
1 ดานที่ขยาย 2 ดานที่หด (1)ปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือการ
3 ทิศทางรุน 4 ทิศทางของเพลาขอเหวี่ยง ซอมสําหรับตําแหนงในการวัด
(2)หาคาแบบวงรีและแบบเทเปอรจาก
ขนาดของความโตกระบอกสูบ
5 ี แบบวงรี: A' – B' (A'>B')

:a' – b' (a'>b')


6 แบบเทเปอร: A' – a' (A'>a')

:B' – b' (B'>b')


*รูปทรงภายในของกระบอกสูบตองเปน
วงกลมพอดี อยางไรก็ตามดานรุนของ
ลูกสูบจะมีแรงกดดันจากสวนบนของ
กระบอกสูบและลูกสูบจะไมมนั่ คง
เนื่องจากไดรบั แรงกดดันและอุณหภูมิที่สูง
ดวยเหตุนี้กระบอกสูบจะเริ่มเปนวงรีหรือ
เทเปอรในบางสวนของกระบอกสูบได

(5/5)

- 35 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

พลาสติกเกจ
การใช
พลาสติกเกจใชในการวัดระยะชองวาง
น้าํ มันบริเวณที่ประกับถูกขัน อาทิเชน
ขอกานและสลักเพลาขอเหวี่ยง

พลาสติกเกจทําจากพลาสติกออนและ
มีทั้งหมด 3 สีโดยแตละสีจะแสดง
ความหนาที่แตกตางกัน

ระยะชองวางการวัด:
สีเขียว: 0.025 ~ 0.076 มม.
1 พลาสติกเกจ 2 ประแจวัดแรงบิด สีแดง: 0.051 ~ 0.152 มม.
3 สวนที่กวางที่สุดของพลาสติกเกจ สีนา้ํ เงิน: 0.102 ~ 0.229 มม.
4 เพลาขอเหวี่ยง 5 แบริ่งกานสูบ 6 ฝาประกับกานสูบ
7 กานสูบ 8 ระยะชองวางน้า
ํ มัน
วิธีใช
(1)ทําความสะอาดสลักเพลาขอเหวี่ยงและ
แบริง่
(2)ตัดพลาสติกเกจใหพอดีกับความกวาง
ของแบริ่ง
(3)ใสพลาสติกเกจบนสลักเพลาขอเหวี่ยง
(4)ใสประกับแบริ่งบนสลักเพลาขอเหวี่ยง
และขันใหไดแรงบิดตามคากําหนด
แรงบิด โดยหามหมุนเพลาขอเหวี่ยง
(5)ถอดประกับแบริ่งและใชสเกลวัดคาจาก
ปลอกพลาสติกเกจเพื่อดูความหนาของ
พลาสติกเกจ
การวัดความหนาใหวัดที่จุดกวางที่สุด
ของพลาสติกเกจ

(1/1)

- 36 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

เกจวัดระยะหางเขี้ยวหัวเทียน
การใช
ใชวัดและปรับแตงระยะหางเขี้ยวหัวเทียน

ระยะการวัด:
0.8 ~ 1.1 มม.

• ลวดแตละเสนมีความหนาที่แตกตางกัน
เพื่อใชวัดระยะหางของหัวเทียน
• เมือ่ เขี้ยวหัวเทียนโคงงอ
ใหใชแผนปรับตั้งเขาไปทําการปรับและ
ตั้งคาระยะหางของหัวเทียน
วิธีใช
(1)ทําความสะอาดหัวเทียน
(2)วัดระยะหางในสวนที่แคบที่สุด
(3)ขณะใชเกจวัดใหทดสอบเลื่อนเขาเลื่อน
ออกใหฝดเล็กนอยและอานคาระยะ
ความหางของเขี้ยวหัวเทียน

1 เกจ
2 แผนปรับตั้ง
3 ระยะชองวางของหัวเทียน
(1/3)

การปรับตั้ง
ทําการใสแผนปรับตั้งเหนือขั้วของหัวเทียน
และสอดรองของแผนเขาไปในชองของ
หัวเทียนเพื่อทําการปรับตัง้
อยาทําใหฉนวนหรือขั้วหัวเทียนเกิดการ
ชํารุดหรือเสียหายไดจากการปรับตั้ง

1 เขี้ยวหัวเทียน
2 ขั้วหัวเทียน
3 ฉนวนขั้วหัวเทียน
4 แผนปรับตั้ง
(2/3)

- 37 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

คําเตือน:
หัวเทียนแบบเขี้ยวทองคําขาวและ
หัวเทียนแบบอีริเดียม (Iridium) นั้น
ไมมกี ารปรับตั้งชองวางของหัวเทียน
ระหวางทําการตรวจเช็คระยะ
ในสภาวะการณทั่วๆ ไป
หัวเทียนแบบธรรมดาจะตองมีการ
ตรวจสอบ
ยกเวนหัวเทียนแบบทองคําขาวและ
แบบอีรเิ ดียมไมจาํ เปนตองตรวจสอบ
ถาเครื่องยนตยังทํางานเปนปกติ

A หัวเทียนแบบเขี้ยวทองคําขาว
(Platinum)
B หัวเทียนแบบอีริเดียม (Iridium)

1 เสนสีนา้ํ เงินเขม
2 แพลตตินั่ม
3 เสนสีเขียวอมเหลือง
4 อีริเดียม
5 แผนปรับตั้ง
(3/3)

ฟลเลอรเกจ
การใช
ใชในการวัดระยะหางวาลวหรือรองแหวน
ลูกสูบ ฯลฯ

(1/3)

- 38 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

วิธีใช
(1)ใชในการวัดระยะหางวาลวหรือรอง
แหวนลูกสูบ ฯลฯ
(2)ถาระยะหางไมสามารถวัดไดในเกจ
แผนเดียว ใหใชเกจรวมกัน 2-3 แผน
เพื่อใหไดจาํ นวนแผนเกจที่วัดนอยทีส่ ุด

(2/3)

คําเตือน:
(1)หลีกเลีย่ งไมใหแผนฟลเลอรเกจคดงอ
หรือเสียหายที่ปลายเกจ
อยาใชแรงเมื่อสอดฟลเลอรเกจเขาไป
ในบริเวณทีว่ ัด
(2)กอนที่จะเก็บฟลเลอรเกจทุกครั้งตอง
ชะโลมน้าํ มันเพื่อปองกันการเกิดสนิม

(3/3)

เครื่องมือวัดทางไฟฟาของโตโยตา
การใช
ใชวัดแรงเคลื่อนไฟฟา, กระแสไฟฟา,
ความตานทานและความถี่และใชทดสอบ
ความตอเนื่องทางไฟฟาของอุปกรณไฟฟา
และตรวจสอบไดโอด

1.สวิตชเลือกการทํางาน
สวิตชนี้จะใชในการเลือกรูปแบบการวัด
ใหเหมาะสมกับงานที่จะทําการวัด
เมือ่ ปรับสวิตชไปในตําแหนงที่
เหมาะสมแลว รูปแบบการวัดจะปรับ
ไปโดยอัตโนมัติตามสัญญาณทีเ่ ขาไป

- 39 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

2. สวิตชเลือกยานวัด
ยานออโต (Auto range)
สามารถวัดคาเปนจุดทศนิยมไดและจะ
เปลีย่ นแปลงโดยอัตโนมัติตามคาที่วัด
ได ถาคาของสัญญาณเปนคาทีแ่ นนอน
สามารถปรับตั้งเปนระบบ Manual ได
คาที่ไดนี้จะดูงายกวาระบบ AUTO
เพราะจุดทศนิยมและหนวยทีไ่ ดไม
เปลีย่ นแปลง

3. หนาจอแสดงผล
จะแสดงผลเปนกราฟและมีตวั เลข
ประกอบ รูปแบบนี้จะเปนประโยชนใน
การอานสัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลง
ซึ่งยากที่จะอานออกมาเปนคาตัวเลขได

4. ขั้วเสียบทดสอบ
เสียบสายทดสอบไปทีจ่ ุดเชื่อมตอของ
เครื่องวัด

- 40 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

5. สายทดสอบ
อุปกรณสาํ หรับการทดสอบกระแส
400A (การวัดกระแสที่มาก)
และตัวตอตางๆ มีใหเลือกใชงาน
หลายแบบ
1 คลิปวัดกระแสขนาด 400A

คลองกับสายไฟเพื่ออานคาของ
กระแสไฟฟา
2 IC คลิป

คลิปที่ขั้วสายขนาดเล็กๆ
3 คลิปหนีบ

หนีบขั้วปลายสายไฟโดยไม
กําหนดจุดวัด
4 เข็มวัด

ใชสาํ หรับวัดขั้วที่มีขนาดเล็กๆ เชน


กลอง ECU.
5 สายวัดหลัก

สายวัดที่ใชเชื่อมตอกับตัวตอตางๆ
(1/4)

วิธีใช
1.การวัดแรงดันไฟฟากระแสตรง
(1)เสียบสายสีดาํ (-) เขาที่ขั้ว COM
ของมิเตอร, และสายสีแดง (+) เขาที่
ขั้ว V ของมิเตอร
(2)ปรับยานวัดใหไปที่วัดไฟฟา
กระแสตรง
(3)ปรับตั้งระยะของการวัดกระแสไฟ
ใหอยูในขอบเขตของการวัดที่เหมาะสม

1 แรงดันไฟฟา (V)
2 สวิตชเลือกยานวัด
3 สวิตชเลือกการทํางาน

- 41 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

2. การวัดกระแสไฟฟากระแสตรง
• การวัดต่า
ํ กวา 20A
(1) เสียบสายสีดาํ (-) เขาที่ขั้ว COM
ของมิเตอร, และสายสีแดง (+)
เขาที่ขั้ว 20A หรือ mA
(2)สวิตชเลือกยานวัดใหไปที่ 20A
หรือ 400 mA
ใหเลือกการวัดเปนกระแสตรงจาก
ปุม DC/AC

1 DC ( )
2 กระแส (A)
3 สวิตช DC/AC
4 สวิตชเลือกการทํางาน

- 42 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

• การวัดสูงกวา 20A
(1) ตอขั้ว - สีดาํ ของตัวจับวัดขนาด
400A เขากับชอง COM, และขั้ว +
สีแดงเสียบเขากับชอง EXT
(2) ปรับสวิตชใหไปที่ขั้ว EXT และ
DC/AC โดยปรับไปที่ DC ( ),
แลววัดคา
(3) เปดสวิตชของตัวจับวัด 400A
และปรับตั้งหนาปดเครื่องวัดใหไป
อยูที่ 0.000
แลวหนีบตัวจับวัดเขากับตัวที่จะ
ควบคุมแลววัดกระแสไฟฟา
คําเตือน:
เมือ่ วัดคากระแสไฟในชวง 20A หรือ
400mA
ควรจะระมัดระวังไมใหเกินกวาคาไฟ
ที่กาํ หนดไว

1 ตัวจับวัด 400A
2 ปุมปรับตั้งคาศูนย
3 ทิศทางของกระแส
4 สวิตชเลือกยานวัด/เพาเวอร
5 DC( )
6 กระแส (A)
7 สวิตช DC/AC
8 สวิตชเลือกการทํางาน
(2/4)

- 43 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

3. การวัดคาความตานทาน
(1) เสียบสายสีดาํ (-) เขากับขั้ว
COMและสายสีแดง (+) เขากับขั้ว (Ω)
ของมิเตอร
(2)ปรับสวิตชไปที่ (Ω / )
และปรับสวิตช DC/AC ไปที่(Ω)
(3)เลือกยานวัดใหเหมาะสมกับคาความ
ตานทานที่จะทําการวัด
4. การวัดความตอเนื่องทางไฟฟา
(1) เสียบสายสีดาํ (-) เขากับขั้ว COM
และสายสีแดง (+) เขากับขั้ว
ของมิเตอร
(2) ปรับสวิตชไปที่ (Ω / ) และ DC/AC
ไปที่ แลวทําการวัด
(3)จะมีเสียงดังเตือนถาคาความตานทาน
ของชิ้นสวนที่วัดความตอเนื่องทาง
ไฟฟามีคาต่าํ กวา 40 Ω

1 สวิตชเลือกฟงกชั่นการทํางาน
2 ความตานทาน (Ω)
3 สวิตช DC/AC
4 สวิตชเลือกยานการทํางาน
5 ความตอเนื่องทางไฟฟา
(3/4)

- 44 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

คําเตือน:
1. การเปลี่ยนแบตเตอรี่
เปลีย่ นแบตเตอรีเ่ มื่อไมมีขอความ
ปรากฎที่หนาจอ หรือเมื่อหนาจอขึ้นวา
"BAT" และเมือ่ ไฟบนตัวจับวัด 400A
ไมสวาง
2. หลีกเลี่ยงที่จะเก็บเครื่องมือนี้ไวในที่ที่มี
อุณหภูมิสูง
3. หามปอนสัญญาณที่มีความตานทาน
มากเกินกวายานสูงสุดที่กาํ หนด

4. เมื่อเปลี่ยนยานการวัดตองเอาขั้ววัด
ออกจากวงจร
5. หลังจากการใชเครื่องวัดทุกครั้ง
สวิตชเลือกตองอยูในตําแหนง OFF
(4/4)

อื่นๆ ลิฟทสําหรับยกรถ
• ยกรถใหสูงขึ้นเพื่อใหชางสามารถตรวจ
ดูสภาพใตทองรถได
ลักษณะการยกนั้นมีอยู 3 ชนิด
ซึ่งจะแตกตางกันออกไปตามแนว
ลักษณะการยกสูง

1 ลิฟทแทน
2 ลิฟท 2 เสา
3 ลิฟท 4 เสา

(1/4)

- 45 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

วิธีใช
1. การนํารถเขาลิฟท
(1)จัดศูนยกลางน้าํ หนักรถใหอยูตรงศูนย
กลางของลิฟท
(2)จัดแผนรองและแขนลิฟทตามคูมือ
การซอม

1 ศูนยกลางลิฟท
2 จุดศูนยกลางน้าํ หนัก

(2/4)

ขอสังเกต:
A ลิฟท 2 เสา

• ปรับตั้งลักษณะการยกใหอยูใน
แนวขนาน
• ล็อคแขนทุกครัง้
B ลิฟท 4 เสา

• ใชที่กั้นลอและอุปกรณความปลอดภัย
C ลิฟทแทน

• ใชยางรองยกโดยรองรับตรงจุดที่
กําหนดในคูมอื การซอม
ขอควรระวัง:
• จัดวางตําแหนงยางรองใหเหมาะสม
เพื่อที่จะสามารถรองรับรถยนตได
• อยาใหยางรองหลุดออกจากฐาน
รองรับ

1 แทนรองรับ
2 แขนล็อค
3 ล็อค
4 ที่กั้นลอ
5 ยางรอง
(3/4)

- 46 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

2. ยกขึ้น / ปรับลง
• ตองตรวจสอบใหปลอดภัยทั้งกอน
ยกขึ้นและปรับลงและใหสัญญาณ
ตางๆ ในการปรับยก
• เมื่อยกลอรถขึ้นเหนือพื้นแลว
ทําใหสามารถตรวจเช็ครถไดงายขึ้น
ขอควรระวัง:
•ใหนาํ สัมภาระตางๆ ออกจากรถ
•ตรวจสอบวาไมมีอะไรขวางกั้นใน
ทิศทางการทํางานของลิฟท
•อยายกน้าํ หนักเกินพิกัดที่กาํ หนด
•รถที่ใชระบบรองรับแบบถุงลม
(Air suspension)ตองตรวจสอบ
และปฏิบัติตามคูมือการซอมในการยก
•อยาเคลื่อนรถในขณะที่ยกรถขึ้น ฃ
•ขณะที่ถอดหรือใสชิ้นสวนที่มีนา้ํ หนัก
มาก ควรระมัดระวังไมใหรถเคลื่อน
ออกจากจุดรองรับรถ
•อยายกรถขณะเปดประตู
•ถาทําการซอมรถยังไมเสร็จและใช
เวลานานเกิน ใหนาํ รถลงมากอน
(4/4)

แมแรง
A แมแรง
ใชแรงดันไฮดรอลิคในการยกรถขึ้น
ดานหนึ่ง
• การโยกที่ดามจับจะทําใหเปนการเพิ่ม
แรงดันขึ้นและทําใหสามารถยกรถขึ้น
ได
• ºÒ§Ã؇¹ãªˆÃкºáç´Ñ¹ÅÁ㹡ÒÃà¾ÔèÁ
áç´Ñ¹¹éÓÁѹÀÒÂã¹Ãкº
• หลายรุนก็จะมีกา ํ ลังความสามารถใน
การรับน้าํ หนักที่แตกตางกันออกไป
(วัดเปนหนวยตัน)
B ขาตั้ง
1 ตัวปลดล็อค 2 ดามโยก 3 แขน
4 แทนยก 5 ลอ 6 ลอแคสเตอร ใชคา้ํ ยันรถเมื่อใชแมแรงยกขึ้นแลว
7 8 9
• ความสูงในการยกสามารถปรับเปลีย ่น
ปุมยก (แบบลม) ทอลม (แบบลม) สลัก
10 รูปรับตั้งความสูง ไดตามการใสสลัก

(1/5)

- 47 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

วิธีใช
1. การเตรียมอุปกรณ
(1)ตรวจสอบจุดที่จะใชแมแรงในการยก
และขนาดความสูงของโครงแมแรงแบบ
ตายตัววามีการปรับตั้งแกนไวใน
ตําแหนงที่เหมาะสมตามคูมือหรือไม
(2)ตองปรับตั้งแมแรงใหมีความสูงที่
เหมาะสม และใกลรถยนต
(3)วางที่กั้นลอหนาทัง้ ซายและขวา
(ถามีการยกทางดานหลังของรถ)
(2/5)

- 48 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

2. การใชแมแรงยกขึ้น
(1)ปดวาลวตัวปลดล็อคที่ดามจับใหแนน
(2)สอดแมแรงในตําแหนงจุดยก
และยกรถขึ้นตามทิศทางที่กาํ หนด
คําเตือน:
•ปกติแลวจะยกแมแรงขึ้นจากทางดาน
ทายรถกอน แตอยางไรก็ตาม
สามารถเปลี่ยนแปลงไดทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
รุนของรถ
•ใหใชตัวปรับแมแรงมาชวยในการยก
รถ 4WD
ใหไปอยูในระยะที่หางจากเกียร
เฟองทาย
•อยาใชเพลาขวางชนิดแข็งงัดแมแรง
ขึ้น
ขอควรระวัง:
•ใหทาํ การยกรถบนพื้นราบและตอง
เอาสัมภาระในรถออกกอน
•ขณะขึ้นแมแรงยกรถใหเอาขาตั้ง
รองรับจุดรับน้าํ หนักไวเสมอ
อยาเขาไปใตทองรถจนกวาจะติดตั้ง
ขาตั้งเสร็จ
•อยาใชแมแรงหลายตัวพรอมกัน
•อยายกเกินน้าํ หนักที่ระบุไวที่แมแรง
•รถยนตที่ใชระบบรองรับลม
ตองเอาใจใสในการตรวจเช็ครถนั้นให
เปนไปตามคูมือตรวจสอบและปฏิบัติ
ตามคูมือการซอมในการยก
(3/5)

- 49 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

3. การใชขาตั้งรองรับ
(1)ตําแหนงของขาตั้งไดแสดงในรูป
ตองจัดแนวของยางรองใหตรงจุด
รองรับของตัวถังรถ
(2)ตรวจเช็คความสูงของแกนรองรับ
อีกครั้งเมือ่ รถอยูในแนวขนานกับพื้น
(3)คอยๆ คลายตัวปลดล็อคที่ดามจับ
โดยใหนา้ํ หนักของรถวางบนขาตั้ง
จากนั้นใชคอนเคาะที่ขาตั้งเบาๆ
เพื่อตรวจสอบวาขาตั้งทั้งหมดสัมผัสกับ
พื้นสนิทแลว
(4)เลื่อนแมแรงออกจากตัวรถเมื่อรถวาง
บนขาตั้งเรียบรอยแลว
ขอควรระวัง:
อยาเขาไปใตทองรถขณะขึ้นแมแรงหรือ
เอาขาตั้งออก
(4/5)

- 50 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

4. การลดแมแรงลง
(1)สอดแมแรงในตําแหนงจุดยก
และยกรถขึ้นตามทิศทางที่กาํ หนด
(2) นําขาตั้งออก
(3)คอยๆ
ปลดหัวปลดล็อคที่ดามจับและลดแมแร
งลงอยางนิ่มนวล
(4) ใชที่กั้นลอทันทีที่ยางสัมผัสกับพื้น
คําเตือน:
•ปกติแลวจะลดแมแรงทางดานหนารถ
ลงกอน แตอยางไรก็ตาม
1 ตัวปลดล็อค
สามารถเปลี่ยนแปลงไดทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
2 แขนยก
รุนของรถ ฃ
3 ดามโยก
ขอควรระวัง:
•เพื่อความปลอดภัยกอนที่จะยกขึ้น
หรือลดระดับของรถลงควรใหผูอื่น
ชวยตรวจสอบใตทองรถกอนวามีสิ่งใด
กีดขวางอยูหรือไม
•คอยๆ คลายตัวปลดล็อคที่ดามจับ
และลดแมแรงลงอยางนิ่มนวล
•เมื่อไมใชงานใหวางดามจับตัง้ ขึ้นและ
จัดใหแขนยกอยูในตําแหนงระดับปกติ
(5/5)

- 51 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

คําถาม-1
ใหทาํ เครือ่ งหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูก และชองผิดถาขอความนั้นอธิบายไมถูกตอง:

ขอ คําถาม ถูกหรือผิด เฉลย

การคลายโบลทและนัตออกใหเลือกใชเครื่องมือตางๆ
1 ตามลําดับดังตอไปนี้ ถูก ผิด
(1)ชุดประแจบล็อก --> (2)ประแจแหวน --> (3)ประแจปากตาย

2 ใชขาตั้งรองปลายสุดดานหนาและหลังของชายบันไดรถ ถูก ผิด

สําหรับการขันโบลท/นัตในขั้นตอนสุดทายใหใชประแจวัดแรงบิด
3 ถูก ผิด
ขันตามคากําหนดที่อยูในคูมือ

4 มีวิธีการยกรถขึ้นโดยการใชแมแรงสองตัวยกขึ้นพรอมๆ กัน ถูก ผิด

เมือ่ ตองการวัดขนาดของชิ้นสวนใหใชเครื่องมือในการวัดของชิ้นสวน
5 ถูก ผิด
นั้นๆ เพื่อใหไดคาที่ถูกตองและเหมาะสมของชิ้นสวนนั้นๆ

คําถาม-2
เข็มวัดยาวของคาลิปเปอรเกจในการวัด เมือ่ หมุนไป 1 รอบ จะอานคาได 2 มม. จากรูปที่แสดงขางลางนี้
ขอใดถูกตองตามคาการวัดของคาลิปเปอรเกจ เมื่อเข็มวัดยาวชี้ไปตําแหนงที่ "20"?

0.02mm 0.2mm 2mm 20mm

- 52 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด
คําถาม-3
เครื่องมือวัดในขอใดทีใ่ ชวัดเสนผาศูนยกลางดานนอกของลูกสูบไดดีที่สุด?

ความตองการในความละเอียด: 0.01 1. เวอรเนียคาลิปเปอร 2. ไมโครมิเตอร


มม. ความละเอียดในการวัด: 0.05 มม. ความละเอียดในการวัด: 0.01 มม.

3. เกจวัดกระบอกสูบ 4. คาลิปเปอรเกจ
ความละเอียดในการวัด: 0.01 มม. ความละเอียดในการวัด: 0.01 มม.

1 2 3 4

คําถาม-4
ืจงจับคูเครือ่ งมือที่แสดงขางลางนี้ ใหตรงกับชื่อเครื่องมือที่กาํ หนดให

(1) ประแจ ( ) (2) ประแจ ( )

(3) ประแจ ( ) (4) ประแจ ( )

ก) ปากตาย ข) เลื่อน ค) ปนลม ง) กรอกแกรกลม จ) วัดแรงบิด ฉ) ถอดหัวเทียน ช) บล็อก


ซ) แหวน

คําตอบ: 1. 2. 3. 4.

- 53 -
ขอมูลทั่วไป -เครื่องมือและเครื่องมือวัด

- 54 -
ขอมูลทั่วไป -แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• กรุณาทําแบบทดสอบนี้หลังศึกษาคูมือจบทุกหมวด

• คลิกที่ปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบของทานลงในกระดาษคําตอบบนหนาจอ

• หลังตอบครบทุกคําถาม ใหคลิกปุม "แสดงผล" ที่ดานลางของหนาจอ

• จะมีหนาตางใหมปรากฎขึ้น หลังจากปอนขอมูลที่ตองการทั้งหมดลงในกระดาษคําตอบ
ใหพิมพออกมาแลวสงใหครูฝก

-1-
ขอมูลทั่วไป -แบบทดสอบ

คําถาม-1 เลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว เกี่ยวกับความหมายของ 'A' ที่แสดงอยูในแผนภาพ?


ก.ความยาวของหองโดยสาร
ข.ดอกยาง
ค.ฐานลอ
ง.ความยาวรวมของรถ

คําถาม-2 ขอความขางลางกลาวเกี่ยวกับการถอดฝาครอบกันสนิมดิสกเบรกในระหวาง PDS


ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง?

ก. ใชเครื่องมือ เชน ไขควง ในการถอดฝาครอบออก


ข. ตองแนใจวา ใชมอื ในการถอดฝาครอบออก
ค. ไมวาฝาครอบจะถอดออกหรือไมก็ตาม ก็ไมมีผลอะไร
ง. ถารถมีดิสกเบรก 4 ลอ ใหถอดฝาครอบจากดานหนากอนเทานั้น

คําถาม-3 เลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว เกี่ยวกับน้าํ มันที่ใชแลวในยานพาหนะ?


ก. น้าํ มันเครื่องที่แบงตามคุณสมบัติของ API แสดงถึงความหนืดของน้าํ มัน
ข. น้าํ มันเครือ่ งมีหนาที่หลายอยาง เชน ชวยในการหลอลื่น, ระบายความรอน, ทําความสะอาดเครื่องยนต
และชวยปองกันการรั่วซึม
ค. น้าํ มันเกียรไมมกี ารแบงคุณสมบัติตามมาตรฐาน SAE หรือ API ซึ่งน้าํ มันเครื่องมี
ง. น้าํ มันเกียรใชคาความหนืดที่ตา่ํ เพื่อใหทนตอความดันสูง ซึ่งมันจะเกิดขึ้นระหวางที่เกียรขบกัน

คําถาม-4 เลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียวเกี่ยวกับน้าํ มันตางๆ ?


ก. น้าํ มันเกียรอตั โนมัติ สามารถใชแทนกันกับน้าํ มันเบรกได เพราะมันมีคุณภาพและความบริสุทธิ์สูง
ข. น้าํ มันโชคอัพตองทําการเปลีย่ นตามระยะเวลาที่กาํ หนด
ค. เมื่อมีนา้ํ ผสมอยูในน้าํ มันเบรก จะทําใหจุดเดือดของน้าํ มันเบรกสูงขึ้น ซึ่งมันจะทําใหประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
ง. น้าํ มันตางๆ มีไวใชสาํ หรับระบบสงกําลัง, ควบคุมแรงดันไฮดรอลิค, และหลอลื่น

-2-
ขอมูลทั่วไป -แบบทดสอบ

คําถาม-5 เลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียวเกี่ยวกับคาการวัดของเวอรเนียรคาลิปเปอรที่แสดงตามรูปขางลาง?
ก. 50.00 มม.
ข. 45.25 มม.
ค. 45.15 มม.
ง. 45.75 มม.

คําถาม-6 เลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียวเกี่ยวกับคาการวัดของไมโครมิเตอรที่แสดงตามรูปขางลาง?
ก. 55.45 มม.
ข. 55.95 มม.
ค. 55.545 มม.
ง. 56.45 มม.

คําถาม-7 ในการขันโบลทและนัตใหแนนเปนครั้งสุดทาย ตองใชแรงขันใหไดตามคาทีก่ าํ หนด


เลือกขอที่ถูกตองที่สุดเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใชตามขอความนี้?

ก.. ข.

ค. ง.

-3-
ขอมูลทั่วไป -แบบทดสอบ

คําถาม-8 เลือกขอที่ถูกตองที่สุดเกี่ยวกับเครื่องมือที่แสดงอยูดานขวา ที่ใชสาํ หรับคลายโบลท


ซึ่งอยูในตําแหนงพื้นที่ที่แสดงอยูตามรูปดานซาย?

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-9 เลือกขอที่ถูกตองทีส่ ุดเกี่ยวกับเครื่องมือวัดที่แสดงอยูดานขวาที่ใชสาํ หรับวัดกระบอกสูบ?


ก. ข.

ค. ง.

-4-
ขอมูลทั่วไป -แบบทดสอบ

คําถาม-10 ขอความใดตอไปนี้ที่กลาวถึงโบลทไดอยางถูกตอง?
ก. เพราะวาโบลทแบงตามโครงสรางความแข็งแรง ดังนั้นจึงไมจาํ เปนตองใชโบลทที่มีขนาดที่ถูกตอง
ข. โบลทที่มคี วามยาวเทากัน สามารถใชแทนกันได
ค. การขันโบลทแบบพลาสติกรีเจียนขันใหสุดดวยมือ จากนั้นขันเพิ่มอีก 90°
ง. ขนาดเสนผาศูนยกลางของโบลท M10x1.25-11T คือ 11 มม.

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
อะไรคือคําที่ กลาววา "การซอมใหญ" ?
การซอมใหญเปนงานที่พบสิ่งผิดปกติและมี
การซอมแซมตามตําแหนงของปญหาตลอด
จนมีการถอดแยกชิ้นสวนของเครือ่ งยนต,
ชุดสงกําลัง, เฟองทาย, อืน่ ๆและมีการปรับ
แตง, ซอมแซมหรือมีการเปลี่ยนชิ้นสวน
ถามีความจําเปน

(1/2)

ขั้นตอนการซอมใหญ
ในสวนของหมวดนี้เปนขั้นตอนการซอม
ใหญ มีอยู 4
ขั้นตอนและจะอธิบายจุดสําคัญของแตละ
ขั้นตอน
1. ยืนยันสภาพของปญหา/ลักษณะอาการ
2. การถอด/การแยกชิ้นสวน
3. การทําความสะอาด/การตรวจสอบ
4. การประกอบชิ้นสวน/การติดตัง้

(2/2)

ขั้นตอนการซอมใหญ ยืนยันสภาพของปญหา/ลักษณะอาการ
สรุปประเด็นในการซอมใหญ ประเภทของ
ปญหาขอบกพรองที่เกิดขึ้นและสวนใดของ
รถยนตที่ตองการการซอมใหญ
1. ยืนยันสภาพของปญหา/ลักษะอาการ
2. สรางสมมติฐานเกี่ยวกับสาเหตุที่เกิด
ความผิดปกติ
3. ตัดสินใจอยางใดอยางหนึ่งในการซอม
ใหญวาควรจะดําเนินการหรือไม

(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ

การถอด/การแยกชิ้นสวน
1. การถอด
การถอดสวนที่ตองการซอมใหญออกจาก
รถยนตนั้นชางเทคนิคตองมีความสามารถ
และทักษะในการแยกชิ้นสวนออกมา
(1)ถอดเครื่องยนตหรือระบบสงกําลังออก
จากดานบนหรือดานลางของรถยนต
โดยการใชลฟิ ท, แมแรง, และอืน่ ๆ
(2)เมื่อถอดชิ้นสวนที่มนี า้ํ หนักมากๆ
จําพวกเครื่องยนตหรือชุดสงกําลัง,
ในการทํางานตองคํานึงถึงความปลอด
ภัยอยางมาก เพื่อไมใหมันตก
หรือกลิ้งลงมา
(3)เมื่อมีการถอดชิ้นสวนออกจากรถยนต,
ขณะปฏิบัติงานตองระมัดระวังอยาใหมี
รอยขูดขีดหรือเกิดความเสียหายกับ
รถยนตได

(1/3)

2. การแยกชิ้นสวน
การแยกชิ้นสวนตามใบสั่งซอมเพื่อ
ตรวจสอบคามาตรฐาน, ปรับตั้งหรือ
ทําการซอม
(1)เครื่องยนต:
การถอดแยกชิ้นสวนแตละชิ้นของ
เครื่องยนต เชน: เพลาลูกเบี้ยว,
ฝาสูบหรือเสื้อสูบ, ลูกสูบ,
เพลาลูกเบี้ยว และอื่นๆ
(2)เกียร:
การถอดแยกชิ้นสวนแตละชิ้นของระบบ
สงกําลัง เชน: ชุดล็อคเฟองเกียร,
กามปูเลือ่ นเกียร, ชุดเฟองทาย
และอื่นๆ
ขอแนะนํา:
เมื่อมีการถอดแยกชิ้นสวน, ใหนาํ ชิ้นสวน
อะไหลแตละชิ้นมาตรวจสอบคามาตรฐาน
(2/3)

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ
3.การจัดเรียง
เมื่อมีการแยกชิ้นสวน, ใหจัดวางชิ้นสวน
แตละตัวใหเรียงตามลําดับอยางเปน
ระเบียบในพื้นที่ตาํ แหนงติดตั้ง เพื่อให
สะดวกในการประกอบ/ติดตั้งอุปกรณกลับ
ตามตําแหนงเดิมไดอยางถูกตอง
หลังจากประกอบและใสในตําแหนง
เดิมแลว แมวาชิ้นสวนอะไหลภายนอกจะ
เหมือนกัน แตความสึกหรอของแตละ
ชิ้นสวนไมเทากันจึงตองทําตําแหนงบอกไว
เพื่อไมใหเกิดการสลับตําแหนงกันเพื่อ
ปองกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

(3/3)

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ

การทําความสะอาด/การตรวจสอบ
1.การทําความสะอาด
เมื่อทําความสะอาดชิ้นสวนที่มกี ารถอด
แยกเรียบรอยแลวจะทําใหเกิดผลลัพธ
ดังหัวขอตอไปนี้
(1)จะทําใหมีการวัดคามาตรฐานไดอยาง
ถูกตองและแมนยํา
(2)จะทําใหงายตอการคนพบความผิด
ปกติ
(3)ความเปนไปไดที่จะมีการปองกัน
เศษผงหรือสิ่งแปลกปลอมเขาไปแทรก
อยูในชิ้นสวนขณะทําการประกอบติดตั้ง
(4)จะทําการนําเอาคราบสกปรกจําพวก
เขมาคารบอนหรือตะกอนออกจาก
ชิ้นสวนเพื่อใหกลับสูสภาพเดิมเหมือน
ขณะทีย่ ังไมมีการใชงาน
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด / การลาง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
86-89)

(1/2)

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ

2. การตรวจสอบ
มีการตรวจวัดและตรวจสอบคามาตรฐาน
ของชิ้นสวนแตละอันโดยวิธีการที่เหมาะสม
ตามวัตถุประสงคที่เปนจริง และเห็นคาที่
วัดไดชัดเจนโดยมีการตรวจสอบหรือ
การวัดดวยเครื่องมือวัด
ขอแนะนําการบริการ:
• ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
• การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)
• การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
3. เช็คความเที่ยงตรง
ตรวจเช็คหาความผิดปกติ โดยจาก
การวัดคาหรือตรวจสอบคามาตรฐาน
ในสาเหตุของปญหาที่เกิดความผิดปกติขึ้น
ถาสิ่งเหลานี้ไมมีการเปลี่ยนแปลง,
คนหาตรวจสอบเกี่ยวกับขอมูลของสาเหตุ
อีกครั้ง

(2/2)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ

การประกอบชิ้นสวน/การติดตั้ง
1. การประกอบชิ้นสวน/การติดตัง้
การประกอบชิ้นสวนตองทําตามขั้นตอน
และวิธีการที่ถูกตองทําใหถูกตองสมบูรณ
ตามคูมือการซอมของโตโยตา
ขอแนะนํา:
• ดูตามคาแรงขันมาตรฐานที่กา ํ หนดไว
• ตองทําการเปลีย ่ นชิ้นสวน ซึ่งไม
สามารถนํากลับมาใชไดอีก
ดังเชนน้าํ ยาซีลกันรั่ว/ปะเก็น
• กอนทําการประกอบ, นําน้า ํ มันหลอ
1 ประแจตั้งคาแรงขัน 2 ปะเก็นใหม ลื่น/จาระบีที่ระบุในคูมอื การซอม
3 น้าํ มันหลอลื่น 4 ตําแหนงดานหนา หลอลื่นตามตําแหนงที่คูมือการซอม
กําหนดไว
• การประกอบชิ้นสวนอะไหลตองใหเขา
ที่ตามสภาพเดิมและตําแหนง/ทิศทาง
เดิม
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

(1/2)

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ

2. การปรับตัง้ /การตรวจเช็คการทํางาน
เมื่อใดก็ตามที่มกี ารประกอบชิ้นสวน
ตองมีการปรับตั้งและตรวจสอบขั้นตอน
การทํางานและตรวจเช็คตามมาตรฐาน
การบํารุงรักษา
3.การตรวจสอบตามคามาตรฐานหลังจาก
การประกอบติดตัง้ เรียบรอยแลว
หลังจากมีการซอมเสร็จเรียบรอยแลว
ทําการตรวจสอบอาการของปญหาเดิม
อีกครั้งทําการวิเคราะหอกี ครั้งวายังพบ
ความผิดปกติเดิมอยูหรือไม
ในเวลาเดียวกันก็ทาํ การตรวจเช็คความ
เรียบรอยในการประกอบและการทํางาน
ของแตละชิ้นสวนไดอยางถูกตองควบคู
ไปดวย

(2/2)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ ขัน้ ตอนการซอมใหญ

คําถาม-1
คํากลาวของหัวขอใดตอไปนี้กลาวถึงวิธีการปองกันเกี่ยวกับการนําชิ้นสวนมาถอดแยก/ประกอบติดตั้งภายในรถยนต
เมื่อมีการซอมใหญไดอยางถูกตอง ?
1. เมือ่ มีการถอดแยก/การประกอบติดตัง้ เครื่องยนตหรือ เกียรภายในรถยนต ตองเตรียมชิ้นสวนอะไหล
เพื่อทําการเปลี่ยนลวงหนาเพราะวาทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิงหรือทอทางระบบเบรกในหองเครือ่ งยนตอาจจะเกิด
การเสียหายได

2. สําหรับชุดชิ้นสวนน้าํ หนักมากๆ เชนเครื่องยนตหรือเกียร,ตองแนใจและใหความสําคัญเปนอยางมาก


เรื่องความปลอดภัยที่จะไมทาํ ใหตกลงมา
3. เมือ่ ใชแมแรงรองรับเครื่องยนตหรือ เกียร,ตองแนใจในการใชมอื ชวยจับเพื่อปองกันจากการตกหลน
4. เมือ่ ใชแมแรงรองรับเครื่องยนตหรือ เกียร,ตองแนใจในการใชมอื ชวยจับเพื่อปองกันจากการตกหลน
เมื่อมีการถอดแยก/ประกอบติดตั้ง,เครื่องยนตหรือเกียรจากตัวถังรถยนตไมมีความจําเปนตองใสใจเกี่ยวกับ
ความเสียหายของรถยนต,เพราะวาไดทาํ การติดตั้งผาคลุมบังโคลนเพื่อปองกันรถเสียหายอยูแลว ถาเครือ่ งยนต
หรือเกียรกระทบกับรถยนต

คําถาม-2
ขอความขางลางขอใดอธิบายเกี่ยวกับขอควรระวังเบื้องตนในการติดตั้งชิ้นสวนไดอยางถูกตอง?
1. กรณีที่ชิ้นสวนชนิดไมนาํ กลับมาใชใหม เชน ปะเก็นถายังอยูในสภาพที่ดีอยูก็สามารถนํากลับมาใชใหมได
2. คากําหนดแรงขันโบลทจะกําหนดไวในคูมือซอมอยางไรก็ตามเมื่อมีการถอดชิ้นสวนออกมา
และประกอบเขาใหมใหขันโบลทดวยคาแรงขันมากกวาคากําหนดเล็กนอย
3. ตองแนใจวาไดทาจาระบี หรือน้าํ มันเครื่องในตําแหนงที่ถูกตองตามคูมือซอม
4. ถึงแมวาชิ้นสวนเปนชนิดเดียวกันแตมนั ก็ไมสามารถสลับตําแหนงกันได

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้เปนรายละเอียดของทักษะพื้นฐาน
ที่ควรรูในการทําการซอมใหญ
ถาคุณเรียนรูทักษะการซอมใหญแลวคุณจะ
สามารถปฎิบัติทุกขั้นตอนการทํางานได
โดยอางอิงจากคูมือการซอม

(1/3)

1.การตรวจสอบจุดสําคัญสําหรับการ
ถอดและการประกอบติดตั้งชิ้นสวน

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
(1) โบลท
การคลายหรือการขันโบลทใหทาํ ตามขอกําหนดการขันเพื่อปองกันการบิดงอในขณะทําการประกอบชิ้นสวนซึ่งอาจจะตอง
ทาน้าํ ยากันคลาย
(2) โบลททาน้ํายากันคลาย
เพื่อปองกันโบลทเกิดการคลายตัว โบลทบางตัวอาจจะตองทาน้าํ ยากันคลาย
(3) พูลเลย
เมือ่ มีการถอดและใสโบลทและนัตในชิ้นสวนที่หมุนไดตองใชเครื่องมือจับใหชิ้นสวนอยูกับที่กอนที่จะเริ่มตามขั้นตอน
การขัน
(4) โบลทพลาสติกรีเจน
การใชโบลทที่ทาํ มาในลักษณะพิเศษ ซึ่งทํามาใหขันคาแรงบิดตามคาที่กาํ หนดไดตามความตองการ
โบลทชนิดนี้เราเรียกวาโบลทพลาสติกรีเจน
(5) ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
เพื่อปองกันการรั่วของน้าํ มัน ปะเก็นเหลวหรือปะเก็นแผนจะใชกับชิ้นสวนบางตัว
(6)เพลาลูกเบี้ยว
เมือ่ มีการถอดเพลาลูกเบี้ยวและประกอบเพลาลูกเบี้ยว
จะตองทําใหแรงกดของสปริงวาลวทุกตัวอยูระดับเดียวกันและใหเพลาลูกเบีย้ วอยูในระดับเดียวกันดวย
(7) ชิ้นสวนที่ประกอบโดยการอัดเขา
ชิ้นสวน เชน เฟองเกียรหรือปลอกเลือ่ นตองทําการอัดเขาและมีความแนนกระชับกับเพลาตองใชการอัด
และเครื่องมือพิเศษในการถอดและการประกอบชิ้นสวนเหลานี้
(8) ซีลน้ํามัน
เพื่อปองกันการรั่วของน้าํ มัน ซีลน้าํ มันใชกับชิ้นสวนบางตัว
(9) แหวนล็อค
แหวนล็อคมีรปู รางชิ้นสวนเปนแหวนกลมๆ และอยูในตําแหนงตางๆ ทีเ่ หมาะสมเพื่อปองกันการคลายตัวออกของชิ้นสวน
(10) สลัก
การอัดสลักเขาในแกนเพลาเพื่อล็อคชิ้นสวนบางอัน
(11) นัตล็อค/แผนล็อคนัต
นัตล็อคและแผนล็อคจะปองกันชิ้นสวนหลวมตัวอยางงายจากการคลายตัว
(12) นัตหัวผา
ปองกันการคลายตัว สลักและนัตใชกับชิ้นสวนบางชิ้น
(13) ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตั้ง
ตําแหนงที่ติดตั้งและทิศทางของชิ้นสวนจะมีการระบุไวชัดเจน
(14) ทอยาง/แคลมปรัด
ทอทางและทอยางจะถูกรัดดวยแคลมปรัด
เมือ่ ทําการถอดและใสทอยาง เลือกใชเครือ่ งมือที่เหมาะสมและกระทําอยางถูกตองตามวิธีการ
(15) แบตเตอรี่
เมือ่ มีการปลดขั้วแบตเตอรี่ ใหทาํ ตามคําสั่งที่ระบุไวเพื่อปองกันการลัดวงจร
(16) ปลั๊กตอ
เมือ่ มีการปลดขั้วตอ อยางแรกใหปลดกลไกล็อคกอน และตอจากนั้นใหปลดขั้วตอออก
(17) คลิป / ขายึด
ชิ้นสวนภายในจะมีการติดตั้งดวยคลิป/ขายึด
(18) การบัดกรี ”
เมื่อมีการเปลี่ยนชิ้นสวน เชน แปรงถานของมอเตอรสตารทตองมีการบัดกรีชิ้นสวนใหม
(19) ถุงลมนิรภัย “
ตองมีความมั่นใจในการปฏิบัตงิ านสําหรับเรื่องของถุงลมนิรภัยอยางถูกตองถาไมเชนนั้นอาจจะมีการระเบิด
และเกิดสาเหตุอุบัติเหตุรายแรงขึ้น
(2/3)

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2.การตรวจสอบจุดสําคัญสําหรับการวัด
และตรวจสอบคามาตราฐาน

(1) ระยะหางชองวางน้ํามัน
ใชไดอัลเกจ พลาสติกเกจ และเกจวัดความหนา (ฟลเลอรเกจ) ทําการวัดและตรวจสอบความแตกตางของชองไฟ
เรียกวาระยะชองวางระหวางชิ้นสวน
(2)การวัดคา
ใชเวอรเนียรคาลิปเปอรและไมโครมิเตอร ตรวจสอบและวัดชิ้นสวน
(3) การตรวจสอบความคดงอของเพลา
ใชแทนตัววี และไดอัลเกจ ตรวจสอบและวัดความคดงอของเพลา
(4) การตรวจความโกงงอ
ตรวจสอบ และวัดการโกงของหนาสัมผัสโดยใชไมบรรทัดเหล็ก และฟลเลอรเกจ
(5) แบ็คแลช
เฟองเกียรจะมีชองวางระหวางฟนเฟอง
เพื่อที่จะใหเฟองหมุนไดอยางคลองตัวการวัดและปรับแตงชองวางระหวางเฟองจะใชไดอัลเกจเปนตัววัดคา
(6) พรีโหลด
เพื่อปองกันลูกปนเฟองทายเกิดการขัดตัว ลูกปนจะตองมีคาพรีโหลด
และจะตองมีการตรวจสอบและปรับแตงคาพรีโหลดนี้ดวย
(7) การตรวจสอบความเสียหาย/แตกราว
ตรวจสอบชิ้นสวนในการแตกราวและเสียหายโดยใชสีพนตรวจเช็ครอยราว
(8) ทําความสะอาด/การลาง
เปนการรักษาที่ถูกตองและทําใหการทําหนาที่ไดอยางสมบูรณแบบของชิ้นสวน จึงตองทําความสะอาดและลางชิ้นสวน
(9) การตรวจสอบดวยสายตา
นําการตรวจสอบดวยสายตามาใชเพื่อสรางความมั่นใจวาไมมีสิ่งที่ผิดปกติหรือชํารุดเสียหาย

(3/3)

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
โบลท
เมื่อทําการยึดชิ้นสวนดวยโบลทหลายตัว
ตองปฎิบัติตามรายละเอียดขางลางเพื่อ
ปองกันชิ้นสวนแตกหักเกิดความเสียหาย
และยังชวยใหปฎิบัติงานไดอยางสะดวก

1 ลําดับขั้นการถอดและขันนอต
2 การปองกันชิ้นสวนตกหลน
3 ความสะดวกในการทํางาน
4 การระมัดระวังในการประกอบโบลท

(1/5)
ขอควรระวัง:
• การถอดโบลทออกเพียงขางเดียวจะ
เปนสาเหตุใหชิ้นสวนเกิดการโกง,
บิดงอ และเกลียวของโบลทจะ
เสียหายได
• การขันและคลายโบลทสา ํ หรับยึด
ชิ้นสวนตางๆ ใหอางอิงที่คูมือซอม

1 โบลท
2 ฝาสูบ

(2/5)
2. การปองกันชิ้นสวนตกหลน
ชิ้นสวนที่มนี า้ํ หนักมากๆ เชน เครื่องยนต
และชุดเกียรจะถูกยึดดวยโบลทหลายตัว
เมื่อทําการถอดและประกอบชิ้นสวนเหลานี้
จะตองมีการปองกันชิ้นสวนตกหลนดวย
(1)เมื่อทําการถอดชุดเกียรอยาถอดโบลท
ออกทั้งหมดทีเดียวแตใหขันโบลทตัวใด
ตัวหนึ่งใหพอหลวมๆไวชั่วคราว
(2)เมื่อปฎิบัติตามขอ(1)จะสามารถ
ปองกันไมใหชุดเกียรหลนไดเมื่อมี
การถอดโบลทตัวสุดทาย

1 โบลท
2 ถอดโบลทตัวสุดทาย
3 เกียร

(3/5)

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
3. ความสะดวกในการทํางาน
(1)เมื่อทําการคลายโบลทถาน้าํ หนัก
ของชิ้นสวนกดไปที่โบลทมันจะทําให
คลายโบลทไดอยางลําบากใหรองรับชิ้น
สวนดวยลิฟทเพื่อกําจัดแรงที่จะไปกดที่
โบลทโบลทที่ไมมนี า้ํ หนักกดทับจะ
สามารถคลายใหหลวมไดอยางงาย
(2) เมือ่ ทําการติดตั้งโบลทหลายๆ ตัว เชน
บนซัฟเฟรม ถามีการขันโบลทใหแนน
เพียงดานเดียวจะเปนเหตุใหโบลทเอียง
ไมตรงกับแนวของรูเพื่อปองกันปญหานี้
เราควรขันโบลทยึดไวชั่วคราวและ
จัดรูใหตรงกับโบลทแลวจึงคอยทําการ
ขันแนน

1 การขันโบลท
2 ซัฟเฟรม

(4/5)
4. การระมัดระวังในการประกอบโบลท
เมื่อทําการขันโบลทจาํ เปนอยางมาก
ที่จะตองตรวจเช็ควาในรูโบลทไมมี
ของเหลวอยู เชน น้าํ มันหลอลืน่ หรือน้าํ
ถาโบลทถูกขันในสภาวะที่มีของเหลวอยูใน
รูโบลท แรงดันของของเหลวจะสูงขึ้น
ซึ่งเปนเหตุใหชิ้นสวนเกิดความเสียหายได

1 ลมแรงดันสูง
2 โบลท
3 น้าํ มันเครื่องหรือน้าํ

(5/5)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
โบลททาน้ํายากันคลาย
เพื่อปองกันไมใหโบลทหลวม โบลทบางตัว
จะทาน้าํ ยากันคลายดวย เมื่อจะนําโบลท
กลับมาใชอีก มีความจําเปนตองทํา
ความสะอาดโบลทและทาน้าํ ยากันคลาย
ใหม
โบลทบางตัวทาดวยน้าํ ยากันคลายมากอน
แลวกอนที่จะประกอบ เรียกวา
การทาการคลายเบือ้ งตน
เมื่อมีการคลายโบลทที่ทาน้าํ ยาครั้งแรกจะ
ทําไดลาํ บาก แตเมื่อคลายครั้งหนึ่งแลว
1 แปรงถาน ครั้งตอไปจะทําไดงาย
2 ลมแรงดันสูง 1. การทําความสะอาด
3 โบลทเกา (1)การทําความสะอาดโบลทดวยแปรง
4 รูโบลท ลวดและจากนั้นเปาดวยลม
(2)ทําความสะอาดน้าํ ยากันคลายที่
ติดแนนในรูโบลทพรอมทั้งทําความ
สะอาดน้าํ มันเครื่องหลังจากนั้นใช
ลมเปาเศษน้าํ ยากันคลายออกจาก
รูโบลท 

คําเตือน:
เมือ่ จะทําการขันโบลทใหทาํ ความ
สะอาดเอาสิ่งแปลกปลอมออกจาก
โบลทและชิ้นสวนที่จะขันกอน เพราะ
อาจจะทําใหชิ้นสวนเกิดการเสียหายได
ขอแนะนํา:
ใหทาํ ความสะอาดน้าํ ยากันคลายเกา
ออกกอนจะทาน้าํ ยากันคลายใหม
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการยึดเกาะ
(1/2)

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
2. การขัน (การทาน้ํายากันคลายใหม)
หลังจากทําความสะอาดโบลท ใหทาน้าํ ยา
กันคลายประมาณฟนที่ 2 ถึง 3 ของโบลท
คําเตือน:
• น้า
ํ ยากันคลายบางชนิดจะแข็งตัว
โดยทันทีทันใดหลังจากทาลงไปที่
โบลทดงั นั้นเมื่อใชนา้ํ ยาชนิดนี้
หลังจากทาใหขันโบลทอยางรวดเร็ว
• ถาตองการขันโบลทอยางรวดเร็ว
หลังจากทาน้าํ ยากันคลาย ตองแนใจ
วาไดเตรียมชิ้นสวนทีจ่ ะติดตั้งไวเรียบ
รอยแลวกอนทําการประกอบ
• มีนา้ํ ยากันคลายอยูหลายชนิดดวยกัน
การใชใหปฎิบัติตามคูมือซอม

1 โบลท
2 น้าํ ยากันคลาย

(2/2)
ขอมูลอางอิง:
ชนิดของน้ํายากันคลาย
1. น้ํายากันคลาย 1324
(น้ํายาทรีบอนด 1324)
คุณสมบัติ:น้าํ ยากันคลายจะแข็งตัวเมื่ออยู
ในบริเวณระหวางผิวสัมผัสของโลหะที่ไมมี
อากาศอยู
บริเวณที่ใช: กันรั่วที่สกรู
สีของน้าํ ยา: แดง
2. น้ํายากันคลาย 1344
(น้ํายาล็อคไททเบอร 242)
(น้ํายาทรีบอนด 1344)
ุคุณสมบัติ:น้าํ ยากันคลายจะแข็งตัวเมื่ออยู
ในบริเวณระหวางผิวสัมผัสของโลหะที่ไมมี
อากาศอยู
บริเวณที่ใช: กันรั่วที่สกรู
สีของน้าํ ยา: เขียว

(1/1)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
พูลเลย
เมื่อจะทําการถอดชิ้นสวนทีม่ ีการหมุน
เชน พูลเลยจะตองจับยึดชิ้นสวนไวไมให
หมุนตามขณะทําการถอดหรือประกอบ
ถาการจับยึดชิ้นสวนไวไมดีจะเปนเหตุให
โบลทเกิดความเสียหายหรือทําใหการ
ขันโบลทใหไดแรงขันตามคากําหนด
จะทําไดยาก
ในชิ้นสวนแตละชนิดจะมีตาํ แหนงและ
วิธีการจับยึดแตกตางกันไป
ใหอางอิงวิธีการจากคูมอื ซอม

วิธีการจับยึดชิ้นสวน:
• การจับยึดชินสวนดวยเครือ
 งมือพิเศษ

• การจับยึดชิ้นสวนดวยเครื่องมือหรือ
ปากกาจับชิ้นงาน

1 พูลเลยปมน้าํ
2 เครื่องมือพิเศษ
(ชุดประแจล็อคพูลเลย)
3 ปากกาจับชิ้นงาน
4 เพลาลูกเบี้ยว
5 ชุดเฟองไทมมิ่ง (ไมมี VVT-i)

(1/3)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
1.การจับยึดชิ้นสวนดวยเครื่องมือพิเศษ
• โบลทยดึ เพลาขอเหวี่ยง
(1) ติดตั้งเครื่องมือพิเศษ A เขากับพูลเลย
(2) ประกอบเครื่องมือพิเศษ B
เขากับเครื่องมือพิเศษ A
(3) ยึดเครื่องมือพิเศษ B ไว
(4) ถอดและติดตั้งโบลทยึดพูลเลย
ขอแนะนํา:
ชิ้นสวนไมสามารถยึดใหแนนดวย
เครื่องมือพิเศษ B อยางเดียว
จะตองประกอบเครื่องมือพิเศษ A
เขาไปดวย

1 เครือ่ งมือพิเศษA:เครื่องมือที่ยึดกับ
พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
2 เครื่องมือพิเศษB:เครื่องมือที่ยึด
เครื่องมือพิเศษ A

• พูลเลยป มน้ํา
(1) ปรับเขี้ยวของเครื่องมือพิเศษใหตรง
กับรูบริการแลวประกอบเครื่องมือ
พิเศษเขากับพูลเลย
(2) ยึดเครื่องมือพิเศษไวแลวขันและ
คลายโบลทยึดพูลเลย

1 เครือ่ งมือพิเศษ
(ชุดประแจล็อคพูลเลย)
2 ปรับเครื่องมือพิเศษใหไดระยะ
ที่จะใชงาน

(2/3)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
2. การจับยึดชิ้นสวนดวยเครื่องมือหรือ
ปากกาจับชิ้นงาน
ชิ้นสวนบางชิ้นถูกออกแบบมาเพื่อใชจับ
ดวยปากกาจับชิ้นงานและเครื่องมือ
โดยตรง
• เพลาลูกเบี้ย
ใชปากกาจับชิ้นงานจับสวนที่เปน 6
เหลี่ยมของเพลาลูกเบี้ยว โดยมีแผน
อลูมิเนียมรองอยู
ขอแนะนํา:
การใชปากกาจับชิ้นงานบีบแนนเกินไป
อาจจะทําใหชิ้นสวนเสียหายได
1 ประแจเลื่อน

2 ประแจแหวน

3 เพลาลูกเบี้ยว

4 ชิ้นสวนที่เปน 6 เหลี่ยม

5 ปากกาจับชิ้นงาน

6 แผนอลูมเิ นียม

(3/3)
โบลทพลาสติกรีเจน
โบลทพลาสติกรีเจน
ซึ่งสามารถเพิ่มแรงดึงในแนวแกนไดและ
ทําใหคาคงที่ไมเปลี่ยนแปลงดังนั้นใน
เครื่องยนตบวงแบบโบลททยี่ ึดฝาสูบและ
โบลทยึดฝาประกับแบริ่งจะขันโบลทโดยวิธี
พลาสติกรีเจน
หัวโบลทแบบ 12 เหลี่ยม
(ภายในและภายนอก)

1 โบลทพลาสติกรีเจน
2 ฝาสูบ
3 เสื้อสูบ
4 ประกับเพลาขอเหวี่ยง

(1/3)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
ขอมูลอางอิง:
ลักษณะพิเศษของโบลทพลาสติกรีเจน
การขันโบลทใหแนนเลยยานอีลาสติก
ซึ่งจะมีแรงดึงในแนวแกนและการหมุนของ
เกลียวโบลทเปนสัดสวนกัน (ตามรูป A )
ดังนั้นถาขันโบลทชนิดนี้ใหอยูในยาน
พลาสติกรีเจน ซึ่งจะทําใหมุมการหมุน
ของโบลทเปลี่ยนไป แตแรงดึงในแนวแกน
จะไมเปลี่ยนตาม วิธีการขันแบบนี้จะทําให
แกนของโบลทบิดตัวตานการขันของโบลท
เพื่อเพิ่มความมัน่ คงของแรงยึดในแนวแกน
เกลียวโบลท ดังที่แสดงใหเห็นในรูปกราฟ
การเปนพลาสติก
คุณสมบัติของวัตถุก็คือจะมีการเปลี่ยน
แปลงรูปรางตามแรงภายนอกที่มากระทํา
จะคืนกลับสภาพเดิมเมือ่ เอาแรงออก
นี่คือลักษณะการเปนอีลาสติก ซึ่ง
คุณสมบัติของมันจะทําใหคืนรูปได และถา
ออกแรงกระทํามากกวาชวงการยืดตัว
แบบอีลาสติกจะทําใหเกิดการเสียรูปแบบ
พลาสติก
การเปนอีลาสติก
คุณสมบัติของวัตถุที่มสี ภาพอีลาสติกก็คือ
จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางตามแรง
ภายนอกที่มากระทําและจะคืนกลับ
สภาพเดิมเมื่อเอาแรงออกถาหากวัตถุ
ไมคืนกลับสภาพเดิมเมื่อเอาแรงออก
นั่นแสดงวาออกแรงกระทํามากเกินไป
จะทําใหวัตถุพนสภาพการเปนอีลาสติก
และตรงจุดนี้เพียงแตออกแรงกระทําเพียง
นิดเดียวก็จะทําใหวัตถุเสียรูปได ซึ่งจะ
เรียกวาเปนการเสียรูปแบบอีลาสติก

(1/1)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
1. วิธีการขันโบลทพลาสติกรีเจน
วิธีการขันโบลทชนิดนี้จะแตกตางจากการ
ขันโบลททั่วๆไป
(1)ชโลมน้าํ มันเครื่องที่เกลียวและใตหัว
โบลท
(2)ประกอบและขันโบลทแบงเปนชวงๆ
และขันใหไดตามกําหนด
(3)ทําเครื่องหมายที่สวนหนาของหัวโบลท
แตละตัวดวยสี
(4)ขันโบลทอีกครั้งใหไดคามุมตาม
1 เครื่องหมายสี กําหนด
ตัวอยางของคากําหนดของมุมขัน
• 90 องศา +90 องศา
• 90 องศา
• 45 องศา +45 องศา

ขอแนะนํา:
คากําหนดของมุมขันขึ้นอยูกับ
ใหอา งอิงจากคูมือการซอม
(5)ตรวจเช็คตําแหนงเครื่องหมายของ
โบลท
(2/3)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
2. การเลือกโบลทชนิดพลาสติกรีเจน
กลับมาใชใหม
รูปทรงของโบลทชนิดนี้จะเปลี่ยนแปลงตาม
แรงในแนวแกน
ดังนั้นการตัดสินใจวาจะนําโบลทกลับมาใช
ใหมจะตองทําการตรวจวัดตามรูปภาพ
เพื่อนํามาพิจารณาวาจะสามารถนํากลับมา
ใชใหมไดหรือไม

(1)ตรวจวัดตําแหนงการยืดตัวของเสน
ผาศูนยกลางโบลท
A ที่เกลียวของโบลท

B ที่ใตหัวโบลท

(2)ตรวจวัดความยาวของโบลท
C ความยาวทั้งหมด

1 โบลทพลาสติกรีเจน
2 เวอรเนียรคาลิปเปอร
3 ตรวจวัดระหวางยอดเกลียวโบลท
4 พื้นที่การยุบตัวของเกลียวสูงสุด

(3/3)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
ชิ้นสวนที่ประกอบโดยใชหนาสัมผัสกัน
เชน เสื้อเกียรและอางน้าํ มันเครือ่ งจะตอง
ทาดวยปะเก็นเหลวหรือปะเก็นแผนเพื่อ
ปองกันน้าํ มันและน้าํ รั่วบริเวณที่จะทาดวย
ปะเก็นเหลวและปะเก็นแผนจะถูกทํา
ใหเปนสวนที่แข็งแรง

ชิ้นสวนในจุดตางๆ ที่ทาํ การถอดและ


ประกอบซึง่ ตองใชปะเก็นเหลวหรือปะเก็น
แผน:
• ถอดชิ้นสวนที่ถูกปะเก็นยึดออก
• ทําความสะอาดปะเก็นเหลวและปะเก็น
• การทาปะเก็นเหลว

1 ปะเก็น
2 อางน้าํ มันเครื่อง
3 เครื่องมือพิเศษ
(มีดตัดปะเก็นน้าํ มันเครือ่ ง)
4 เครื่องมือขูดปะเก็น
5 ผา
6 ปะเก็นเหลว

(1/5)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
1. ถอดชิ้นสวนที่ถูกปะเก็นยึดออก
• เมื่อทําการใชมีดตัดปะเก็นอาง
น้ํามันเครื่อง
(1)ตอกเครื่องมือพิเศษ (มีดตัดปะเก็น)
ตรงเขาไปทีหนาสัมผัสระหวางอาง
น้าํ มันเครื่องกับเสื้อสูบหรือ อื่นๆ
ขอแนะนํา:
อางน้าํ มันเครือ่ งจะบิดงอหรือเสีย
รูปทรงไดงายเมือ่ ตอกมีดตัดปะเก็น
เขาไปครัง้ แรกดังนั้นใหตอกมีดตัด
ปะเก็นเขาไปสม่าํ เสมอและเต็มหนา
1 เครื่องมือพิเศษ (มีดตัดปะเก็นน้าํ มันเครื่อง) สัมผัสของชิ้นสวนที่ถูกยึดอยู
2 อางน้าํ มันเครื่อง
3 ปะเก็นเหลว (2)ใหขยับมีดตัดปะเก็นไปในแนวนอน
และงัดตามรองทีเ่ ซาะไว
(3)การใชมดี ตัดปะเก็นถอดแยกชิ้นสวนที่
ยึดติดกันดวยดวยน้าํ ยากันรั่วจะตอง
แนใจวาไมทาํ ใหอางน้าํ มันเครื่องไมเกิด
การบิดงอ
ขอควรระวัง:
• ตองตรวจเช็คตําแหนงของโบลทกอน
ที่จะทําการตอกมีดตัดปะเก็นเขาไป
• ใหทาํ การตอกมีดตัดปะเก็นเขาไปที่
หนาสัมผัสของอางน้าํ มันเครื่องอยาง
ระมัดระวังอยาทําใหหนาสัมผัสบิดงอ
ถาหนาสัมผัสเกิดการเสียหายจะเปน
สาเหตุใหเกิดน้าํ มันรั่ว ดังนั้นจะตอง
ทํางานอยางระมัดระวังและทําการ
ถอดชิ้นสวนออกทีละนอย
(2/5)
• เมื่อใชไขควงปากแบนและคอน
พลาสติก
ใชไขควงปากแบนสอดเขาไปและใชคอน
พลาสติกตอกเพื่อถอดแยกชิ้นสวนที่ถูกยึด
อยู
ตัวอยางการทํางาน
• เมือ
่ ใชคอนพลาสติก

1 คอนพลาสติก
2 ฝาครอบเสื้อเกียร
3 สวนที่เปนสันของชิ้นสวน

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
• การใชไขควงปากแบน
ขอควรระวัง:
• ถาใชไขควงปากแบนจะตองพันดวย
เทปเพื่อปองกันความเสียหายที่อาจจะ
เกิดขึ้นกับหนาสัมผัสใหใชไขควงใหงัด
จุดที่อยูตรงขามกันเปนเสนทะแยง
เพื่อใหสามารถถอดไดราบรื่น
• ถาชิ้นสวนเกิดการบิดงอหรือหนา
สัมผัสเสียหายจะเปนสาเหตุทาํ ให
น้าํ มันรั่วได

1 คอนพลาสติก
2 ฝาครอบเสื้อเกียร
3 สวนที่เปนสันของชิ้นสวน

(3/5)
2. วิธีทําความสะอาดปะเก็นและ
ปะเก็นเหลว
เพื่อใหไดประสิทธิภาพสูงสุดตามที่ตองการ
จะตองทําความสะอาดปะเก็นและปะเก็น
เหลวเกาออกจากชิ้นสวนใหหมด
(1) ขัดสิ่งสกปรกและปะเก็นเกาออกดวย
หินขัด มีดขูดปะเก็น และแปรงลวด
(2) ใชนา้ํ มันทําความสะอาดเช็ด
ปะเก็นเหลวออก
(3) ลางคราบน้าํ มันออกดวย
ขอควรระวัง:
• ตองระมัดระวังไมใหหนาสัมผัสที่จะ
เคลือบดวยน้าํ ยากันรั่วเกิดการบิดงอ
หรือเสียหาย
• ถามีนา ้ํ มันหรือสิ่งแปลกปลอมอยูที่
หนาสัมผัสที่จะทาดวยน้าํ ยากันรั่วจะ
ทําใหนา้ํ ยาไมติดแนนและเปนเหตุให
น้าํ มันรั่วได

1 ผา
2 เครื่องมือขูดปะเก็น
3 หินน้าํ มัน
4 แปรงถาน

(4/5)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
3. การทาปะเก็นเหลว
ตองแนใจวามีการทาปะเก็นเหลวบริเวณ
หนาสัมผัสที่ถูกตองและมีจาํ นวนตามที่
กําหนด
ใหอางอิงที่คูมือซอมกอนที่จะปฏิบัติและ
จะตองตรวจเช็คสิ่งแปลกปลอมบนหนา
สัมผัสกอนจะทาปะเก็นเหลวโดยดูจากคูมือ
การซอม
ขอควรระวัง:
• น้า ํ ยาปะเก็นเหลวบางชนิดจะแข็งตัว
อยางเร็วดังนั้นหลังจากทาปะเก็น
1 ปะเก็นเหลว เหลวจะตองประกอบชิ้นสวนอยาง
2 ฝาครอบเสื้อเกียร รวดเร็ว
3 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1 • หลังจากประกอบชิ้นสวนใหมหามเติม

4 การทาปะเก็นเหลว น้าํ มันหลอลืน่ กอน 2 ชั่วโมง


• เมื่อทาปะเก็นเหลวและเมือ ่ ประกอบ
ชิ้นสวนปรากฎวาชิ้นสวนเกิดการขยับ
ตัวจะตองเช็ดปะเก็นเหลวออกและ
ทาปะเก็นเหลวใหม
• ถาทาปะเก็นในตําแหนงที่ผิดหรือนอย
เกินไปอาจจะเปนเหตุใหนา้ํ มันรั่วได
• ถาทาปะเก็นเหลวมากเกินไปอาจไป
อุดตันทอทางน้าํ มันเครื่องและกรอง
ได
ขอแนะนํา:
ถามีการอุนน้าํ ยาปะเก็นเหลวเล็กนอย
จะทําใหทาไดงายขึ้น
(5/5)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
ขอมูลอางอิง:
ชนิดของน้ํายากันรั่ว
1. ปะเก็นเหลวสีดํา
(ทรีบอนด 1280)
คุณสมบัติ: ใชกันน้าํ มันเครือ่ งรั่วไดดี
บริเวณที่ใช: น้าํ มันเครื่อง กันอากาศรั่ว
สีของน้าํ ยา: สีดาํ
2. ปะเก็นเหลว 1281
(ทรีบอนด 1281)
คุณสมบัติ: ใชกันน้าํ มันเกียรรั่วไดดี
บริเวณที่ใช: เกียร เฟองทายและปองกัน
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติ
สีของน้าํ ยา: สีแดง
3. ปะเก็นเหลว 1282B
(ทรีบอนด 1282B)
คุณสมบัติ:ใชกันน้าํ รัว่ เปนปะเก็นบริเวณ
ปมน้าํ
บริเวณที่ใช: ปองกันน้าํ หลอเย็นรั่ว
สีของน้าํ ยา: สีดาํ

4. น้ํายากันคลาย 1131
(ล็อคไทท No.518)
(ทรีบอนด 1131)
คุณสมบัติ:ใชสาํ หรับกันรั่วบริเวณที่อากาศ
จะตองไมมีการรั่ว
บริเวณที่ใช:ใชสาํ หรับกันรั่วในเกียร
อัตโนมัติในเฉพาะรุน
สีของน้าํ ยา: สีขาว

(1/1)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
เพลาลูกเบี้ยว
ในขณะทําการติดตั้งหรือถอดชิ้นสวนเพลา
ลูกเบี้ยวซึ่งทําหนาที่กดลูกถวยสปริงวาลว
ดังนั้นตองเช็คดูวาลูกเบีย้ วจะตองไมอยูใน
ตําแหนงกดลูกถวยสปริงวาลว
1. จัดตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวใหสามารถ
ถอดออกมาในแนวและตองแนใจวา
ลูกถวยสปริงวาลวไมถูกกด
2. คลายโบลทยึดประกับแบริ่งแตละตัว
ออกทีละนิดและทําซ้าํ แบบเดิมจนคลาย
โบลททุกตัวออกหมด
ขอแนะนํา:
การจัดตําแหนงของเพลาลูกเบี้ยวการ
ถอดหรือประกอบโบลทยึดฝาประกับ
ขึ้นอยูกับเครือ่ งยนตของแตละรุน
ใหอา งอิงจากคูมือการซอม

1 ประแจเลื่อน
2 เพลาลูกเบี้ยว
3 ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว

(1/1)
ขอมูลอางอิง:
แบบเฟอง2ชั้น
เฟองสองชั้นจะแยกออกจากเฟองตาม
มันจะอยูระหวางแหวนสปริงและเฟองตาม
ซึ่งสปริงที่อยูคั่นกลางจะลดระยะแบคแลช
ของเฟองขับและเฟองตามทําใหมีเสียงดัง
ของเฟองลดลง
จุดสําคัญของการถอดและประกอบเพลา
ลูกเบี้ยว
• เฟองตามรองดวยโบลท
• ถาระยะขับตัวนอยๆ จัดวางใหเพลา
ลูกเบี้ยวใหอยูในระดับเสมอกัน

1 แหวนล็อค
2 แหวนสปริง
3 เฟองรอง
4 แหวนสปริง
5 เฟองตาม

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
การเปลีย่ นเพลาลูกเบี้ยว
(1)ใชโบลทบริการยึดเฟองรองเขากับเฟอง
หลักและถอดแหวนสปริงที่ดันเฟองรอง
ออก
(2)จัดใหโบลทยึดเฟองรองตัง้ ขึ้นดานเพื่อ
ไมใหสปริงวาลวดันเพลาลูกเบี้ยวและ
จัดวางเพลาลูกเบี้ยวใหอยูในตําแหนงที่
สามารถถอดออกในแนวระดับเดียวกัน
ขอแนะนํา:
การจัดวางตําแหนงของเพลาลูกเบี้ยวจะ
แตกตางกันตามรุน ของเครื่องยนต
ใหอา งอิงคูมือการซอม

1 โบลทบริการ
2 ี เพลาลูกเบี้ยว

3 ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว

(1/2)
(3)ลําดับการถอดประกับแบริง่ เพลา
ลูกเบี้ยวที่ถูกตอง
ถาระยะขยับตัวของเฟองรองนอย
และเพลาลูกเบี้ยวเอียงทําใหเกิดแรงกดตอ
เพลาอาจทําใหเกิดความเสียหายตอเพลา
ลูกเบี้ยวได
ขอแนะนํา:
ลําดับการถอดประกับแบริ่งจะแตกตาง
กันตามรุน ของเครื่องยนต
โดยอางอิงคูมือการซอม

1 เพลาลูกเบี้ยว
2 เฟองรอง
3 เฟองตาม
4 โบลทบริการ
5 ฝาสูบ

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
(4)สําหรับการปฏิบัตงิ านใหทาํ การ
ประกอบชิ้นสวนจะยอนขั้นตอน
การประกอบโดยอางอิงคูมือการซอม

1 โบลทบริการ
2 เพลาลูกเบี้ยวดานเฟองตาม
3 เพลาลูกเบี้ยวดานเฟองขับ
4 มารคไทมมิ่ง - A
5 มารคไทมมิ่ง - B

(2/2)
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
ชิ้นสวนที่อัดเขาดวยกันเชนเฟองเกียร
และดุมคลัตชของเกียรจะยึดเกาะกันแนน
เพื่อปองกันไมใหหลุดออกไดโดยงาย
สําหรับเหตุผลนี้มกี ารเลือกใชเครื่องมือที่
ไมเหมาะสมหรือปฏิบัติตามขั้นตอนที่
ไมถูกตอง ในกรณีนี้สามารถทําใหชิ้นสวน
เกิดความเสียหายได

รายการขางลางเปนวิธีการถอดและ
ประกอบชิ้นสวนทีใ่ ชวิธีการอัดประกอบ:

1 การใชคอนกระแทก
2 การใชเหล็กดูดพูลเลย
3 การใชเครือ่ งมือพิเศษและเครื่องอัด
ไฮดรอลิค
4 การใชเครื่องมือพิเศษและคอน
5 การถอดชิ้นสวนโดยใชความรอน

(1/7)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
1. ”การใชคอนกระแทก
ติดตัง้ ตะขอจับเขากับชิ้นสวนแลวใชคอน
กระแทกเพื่อเพิ่มแรงดึงเพื่อใหชิ้นสวนหลุด
ออกมาดวยแรงกระแทกของน้าํ หนักคอน
ถูกใชเพื่อถอดชิ้นสวนที่มีลกั ษณะเปนรอง
สไปน
ขอแนะนํา:
• เมื่อดึงคอนกระแทกการกระแทกอาจ
ทําใหขอเกี่ยวหลุดจึงเกี่ยวขอใหมนั่ คง
• คอนกระแทกถูกใชเพื่ออัดชิ้นสวนดวย
เหมือนกัน

1 ขอเกี่ยวดึงซีลน้าํ มัน
2 ขอเกี่ยวสําหรับดึงเพลาขับ
3 น้าํ หนักกระแทก
4 เพลา
5 ดามจับ

ตัวอยางการทํางาน ”
• เมือ
่ ทําการถอดเพลาขับ

1 เครื่องมือพิเศษ (คอนกระแทก)
2 ขอเกี่ยวสําหรับถอดเพลาขับ
3 เพลาขับ
4 รองเพลาขับ

• เมือ่ ทําการถอดลูกเบี้ยวของเกียร

1 เครื่องมือพิเศษ (คอนกระแทก)
2 ลูกปน
3 ขอเกี่ยวสําหรับถอดซีลน้าํ มัน

(2/7)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
2. ”การใชเหล็กดูดพูลเลย
(1)วิธีประกอบขอเกี่ยวสําหรับถอดชิ้นสวน
<1>การติดตั้งเหล็กดูดขอเกี่ยวและโบลทจะ
ตองไมเอียงจะตองอยูระดับเดียวกัน
ระหวางขึ้นและลง
<2>ดังนั้นหมุนโบลท 4 ยึดขอเกี่ยว
จนกระทั่งไมใหขอเกี่ยวเปดออก
ขอควรระวัง:
ถาไมทาํ การยึดขอเกี่ยวใหแนน
อาจทําใหชิ้นสวนเกิดความเสียหายได
<3>เหล็กดึงจะมีที่ยึดสามารถปรับตั้งได
โดยใชขันโบลทตัวกลางของเหล็กดึง
ขอควรระวัง:
• ตองแนใจวาไดทาจาระบีที่บริเวณ
โบลทตวั กลางของเหล็กดึง
• ขณะทําการถอดถาโบลทของตัวกลาง
ของเหล็กดึงรูสึกฝดมาก ใหหยุดแลว
ตรวจสอบเพราะถายังมีการขันโบลท
ตออาจจะทําใหตวั ดึงและชิ้นสวนเกิด
การเสียหายได

1 เครื่องมือพิเศษ (ตัวดึง)
2 ขอเกี่ยว
3 โบลทตัวกลาง
4 โบลทยึด
5 ประแจเลื่อน
6 จาระบี

(3/7)

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
(2) ตัวอยางขั้นตอนการใช
• เมื่อใชสําหรับอัดชิ้นสวนออก
(ถอดลูกหมากปลายแร็ค)
ใหขันโบลทตัวกลางเขาอัดที่นัตลูกหมาก
ปลายเพลาแร็คแลวถอดลูกหมากปลาย
เพลาออก

1 เครื่องมือพิเศษ(เครื่องมือดูดลูกหมาก)
2 โบลทตัวกลาง
3 คอมา
4 ยางกันฝุน
5 ลูกหมาก
6 ลูกหมากปลายคันสง

• เมื่อทําการถอดชิ้นสวนออก
(ทําการถอดเฟองเกียร 5ของชุดเกียร)
ขันโบลทตัวกลางของเครื่องมือสําหรับดึง
คันที่เพลาสงกําลังเพื่อดึงพูลเลยออก

1 เครื่องมือพิเศษ (เซ็ท B)
2 โบลทตัวกลาง
3 ดุมเกียร
4 เฟองขับเกียร 5
5 ประแจเลื่อน
6 เครือ่ งมือพิเศษ
(เครื่องมือสําหรับรองปองกันปลาย
เพลาเสียหาย)
7 เพลาสงกําลังของเกียร

• ”เมื่อใชเครื่องมือสําหรับดึงประกอบ
กับโบลท(ถอดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง)
ขันโบลทตัวกลางของเครื่องมือสําหรับดึง
คันที่เพลาสงกําลังเพื่อดึงพูลเลยออก

1 เครื่องมือพิเศษ (เซ็ท B)
2 โบลทตัวกลาง
3 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
4 ประแจเลื่อน

(4/7)

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
3. การใชเครื่องมือพิเศษและเครื่องอัด
ไฮดรอลิค
ติดตัง้ ชิ้นสวนเขากับเครื่องมือพิเศษแลวใช
เครื่องอัด อัดชิ้นสวนออก
วิธีใชเครื่องอัด
• ติดตั้งชิ้นสวนเขาที่เครื่องอัด แลวใหแรง
กดลงบนชิ้นสวนในลักษณะแนวดิ่ง
• ใหใชแรงดันในการอัดชิ้นสวนเขาออก
อยางชาๆ ในการใชเครื่องอัดจะตอง
เลือกเครื่องมือพิเศษใหเหมาะพอดีกับ
แตละชิ้นสวน
• ถาอัดดวยแรงเกิน 100 กิโลกรัมแรง
ใหหยุดตรวจพบวาเกิดขอขัดของ
อยางไร
ถามีการกดดวยแรงเกิน100กิโลกรัม
แรงอาจทําใหเครื่องอัดและชิ้นสวน
เกิดการเสียหายได
• เมือ ทําการถอดโดยการอัดดวยเครือ งอัด
ไฮดรอลิคชิ้นสวนขยับลงดานลาง
ฉะนั้นใหใชมือจับชิ้นสวนไวดวย

1 เครื่องอัดไฮดรอลิค
2 เครื่องมือพิเศษ
3 เกินกวา 100 กิโลกรัมแรง
4 ปองกันอยาใหชิ้นสวนรวงหลน

ตัวอยางการทํางาน
• สลักลูกสูบ

1 เครื่องอัดไฮดรอลิค
2 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือถอดและเปลี่ยนสลักลูกสูบ)
3 สลักลูกสูบ
4 ประกับเพลาลูกเบี้ยว
5 ลูกสูบ
6 กานสูบ

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
• เฟองเกียรบนเพลาสงกําลัง

1 เครื่องอัดไฮดรอลิค
2 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดตลับลูกปน
3 ลูกปนเพลาสงกําลัง
4 เฟองตามเกียร 4

(5/7)

4. ”การใชเครื่องมือพิเศษและคอน
การใชเครื่องมือพิเศษจะตองเลือกใชให
เหมาะสมกับวิธีการสวมอัดหรือเลือกให
เหมาะสมกับชนิดของลูกปนหรือซีลน้าํ มัน
ที่จะประกอบ ดังนั้นอางอิงคูมือการซอม
ในการเลือกเครื่องมือพิเศษและวิธีการ
ทําใหเหมาะสมที่สุด
วิธีใชเครื่องมือพิเศษ
(การถอดเปลี่ยนตลับลูกปน)
(1)เลือกเครื่องมือพิเศษโดยดูจากลักษณะ
ของชิ้นสวน
เมือ่ รูปรางของชิ้นสวนเปนลักษณะ
พิเศษเลือกชองวางซึ่งปกปองชิ้นสวน
จากการกระแทกแลวเลือกใชเครื่องมือ
พิเศษ
(2)ระยะอัดเขา
เลือกใชเครื่องมือพิเศษใหเหมาะสมกับ
ระยะอัดเขา

1 กดสวมดานนอก
2 กดสวมดานใน
3 กดชิ้นงานใหเสมอกัน
4 เมื่อมีคาความลึกที่กาํ หนด

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ตัวอยางการทํางาน
• ซีลน้า
ํ มันเสื้อเกียร

1 คอน
2 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
3 ซีลน้าํ มันเสื้อเกียร

(6/7)

5. การใหความรอนกับชิ้นสวน
(ปลอกกานวาลว)
เมื่อฝาสูบไดรบั ความรอนจะขยายตัว
ดังนั้นจะทําใหปลอกกานวาลวหลวมและ
สามารถถอดไดงาย

1 ฝาสูบ
2 ปลอกกานวาลว
3 เครือ่ งมือพิเศษ
(เครื่องมือถอดเปลี่ยนปลอกกานวาล)
4 คอน
5 เวอรเนียรคาลิปเปอร

• การถอด
(1)ใหความรอนที่ฝาสูบจนมีอุณหภูมิสูง
80 ถึง 100 องศาเซลเซียส
(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษประกอบเขากับ
ปลอกกานวาลวแลวตอกดวยคอนเพื่อ
ถอดปลอกกานวาลวออกจากฝาสูบ

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• การอัดปลอกกานวาลวเขา
(1)ใหความรอนที่ฝาสูบจนมีอุณหภูมิสูง
80 ถึง 100 องศาเซลเซียส
(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษประกอบเขากับ
ปลอกกานวาลวและตอกดวยคอน
(3)วัดระยะที่ตอกเขาดวยเวอรเนียรคาลิป
เปอร
ขอแนะนํา:
ถาอุนฝาสูบดวยความรอนมากเกินไป
จะทําใหฝาสูบยืดขยายออก
ขอควรระวัง:
สําหรับระยะที่ตอกปลอกกานวาลวเขา
ใหอา งอิงคาที่ถูกตองจากคูมือ

(7/7)

ซีลน้ํามัน
ซีลน้าํ มันใชในการปองกันน้าํ มันรั่ว
ถาเลือกใชเครื่องมือประกอบไมถูกตองกับ
รูปรางของซีลน้าํ มันหรือตําแหนงการติดตั้ง
สามารถเปนสาเหตุทาํ ใหชิ้นสวนเกิดความ
เสียหายได
เครื่องมือพิเศษอื่นๆ ถูกนํามาใชสาํ หรับ
การถอดและติดตั้งของซีลน้าํ มัน

1 ซีลน้าํ มัน
2 เครื่องยนต
3 เกียร

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การเลือกใชเครื่องมือพิเศษในการ
ประกอบซีลน้ํามันมีจุดสังเกตในการ
เลือกใชดังรายละเอียดขางลาง
(1)การเลือกโดยดูจากตําแหนงที่จะอัด
ซีลน้าํ มันเขา
เมื่อทําการประกอบซีลเขาไปในชิ้นสวนทีม่ ี
รูปรางเปนทรงกระบอกหรือเพลาเลือก
ตําแหนงการอัดทีจ่ ะไมใหซีลหรือชิ้นสวน
เกิดความเสียหาย
(2)ระยะอัดเขา
เลือกใชเครือ่ งมือพิเศษใหเหมาะสมกับ
ระยะอัดเขา
(3)โดยใชตัวนําศูนย
ชุดตัวนําศูนยเมื่ออัดซีลเขาไปในชิ้นสวน
ที่อยูในลักษณะเอียง

1 ไมทาํ ใหขอบเกิดการเสียหาย
2 ประกอบซีลโดยใหซีลและชิ้นสวนอยู
ในระดับเดียวกัน
3 เมื่อมีคาความลึกที่กาํ หนด
4 ประกอบโดยมีตัวนําปองกันซีลบิดเบี้ยว

(1/2)

วิธีการถอดและประกอบซีลน้าํ มันจะมีวิธี
ดังแสดงขางลาง:
1. การถอด
• การใชเครื่องมือถอดซีลน้ํามัน
ในกรณีถอดซีลน้ํามันของชุดเกียร
ใชขายึดทีซ่ ีลน้าํ มันแลวใชตุมน้าํ หนัก
กระแทกดึงซีลน้าํ มันออก

1 ตุมน้าํ หนัก
2 ขายึด
3 ซีลน้าํ มันเสื้อเกียร
4 เกียร

- 29 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• การใชเหล็กดูดพูลเลย
เมื่อซีลน้ํามันหนาเกียร
การขันโบลทตรงกลางเครื่องมือดูดใหดัน
เพลาออกตรงๆ จะทําให
ซีลน้าํ มันถูกดึงออกมาดวยพรอมกัน

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือสําหรับดูดลูกปน)
2 ขายึด
3 ซีลน้าํ มันหนาเกียร

• การใชไขควงปากแบน
เมื่อซีลหนาเครื่องยนต
สอดปลายไขควงปากแบนเขากับขอบ
ซีลน้าํ มันแลวงัดออก
เมื่อซีลทายเครื่องยนต
ใชมีดคัตเตอรตัดขอบของซีลน้าํ มันเพื่อที่
จะใหมีชองวางสําหรับสอดไขควงได

1 ไขควงปากแบน
2 ผา
3 ซีลหนาเครือ่ งยนต
4 ซีลทายเครือ่ งยนต

- 30 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. การติดตั้ง
• การใชเครื่องมือพิเศษและคอน
ในกรณีถอดซีลน้ํามันของชุดเกียร
เครื่องมือพิเศษจําเปนตองเลือกใหเหมาะ
สมกับวิธีการประกอบซีลหรือเครือ่ งมือ
พิเศษอื่นๆ
การเลือกขึ้นอยูกับชนิดของซีลน้าํ มัน
ดังนั้น อางอิงคูมือการซอมในการเลือก
เครื่องมือพิเศษและวิธีการทําใหเหมาะสม
ที่สุด

1 เครื่องมือพิเศษ
(สําหรับถอดและเปลี่ยน)
2 คอน
3 ซีลน้าํ มันหนาเกียร

(2/2)

แหวนล็อค
สําหรับการถอดจะมีแหวนล็อคอยู 2
ประเภทดวยกัน คือ
ชนิดถางออก และชนิดหุบเขา
การใชเครื่องมือที่เหมาะสมขึ้นอยูกับ
ลักษณะรูปรางหรือตําแหนงการถอดและ
การใสของแหวนล็อค
การเลือกใชเครื่องมือที่ไมเหมาะสมหรือ
การใชแรงที่มากเกินไปอาจทําใหชิ้นสวน
หรือแหวนล็อคเสียหาย
1 การถอดในลักษณะถางออก

2 การถอดในลักษณะหุบเขา

3 คีมถางแหวน

4 คีมหุบแหวน

- 31 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ชนิดของคีม
ีเครื่องมืออยูหลายชนิดดวยกันสําหรับใช
ในการถอดและประกอบแหวนล็อก
ดังนั้นปากจับของเครื่องมือบางชิ้นสามารถ
เปลี่ยนสลับกันได
การเลือกใชเครื่องมือหรือคีมที่มีความ
เหมาะสมที่สุดขึ้นอยูกับชนิดของแหวนล็อค

ขอแนะนํา:
• รองแหวนบางสวนถูกปรับตั้งโดย
แหวนล็อค
• ตองแนใจในการที่แหวนล็อคตองหมุน
รอบๆอยางคลองตัวหลังจากที่
ประกอบเขาไป
ยืนยันชิ้นสวนนั้นถูกแหวนล็อคติดตั้ง
อยูในรองแหวนอยางสนิทพอดี
(แหวนล็อคอาจจะไมหมุนในบางกรณี
ขึ้นอยูกับตําแหนงในการใชงาน)
• เมื่อแหวนล็อคเกิดการเสียรูปให
เปลี่ยนแหวนล็อคตัวใหม

1 เฟองเกียรเพลาสงกําลัง
2 แหวนล็อค
3 ไขควงปากแบน
A รองใสแหวนล็อค
B ความหนาแหวนล็อค

(1/3)

- 32 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
1. ประเภทถาง
(1)”การใชคีมถางแหวนล็อค
ใชคีมถางจับบริเวณปากของแหวนล็อค
และดานตรงขามของแหวนล็อคใชมือ
ประคองไว ใชคีมถาง ถางแหวนล็อคออก
เพื่อใชในการถอดหรือใสแหวนล็อคใน
บริเวณที่กาํ หนด

1 คีมถางแหวน
2 แหวนล็อค
3 เสื้อเกียร

(2)การใชไขควงปากแบน
ใชไขควงปากแบน 2 อันจับที่ปาก
แหวนล็อคตัวละขางและเคาะดวยคอน
ที่ดามไขควงพรอมกันทั้ง 2 อันเพื่อถอด
แหวนล็อคออก ใชแทงทองเหลืองอัดเบาๆ
ดานตรงขามกับปากแหวนล็อค
และทําการตอกแทงทองเหลืองดวยคอน
ขอควรระวัง:
• ใชผากั้นเพื่อปองกันแหวนล็อค
กระเด็นออกมาอาจหายได
• ตองแนใจวาไมมีวัสดุอยางอื่นติดอยู
กับแทงทองเหลือง

1 ไขควงปากแบน
2 ผา
3 แหวนล็อค
4 เสื้อเกียร
5 คอน

(2/3)

- 33 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
2. ประเภทหุบเขา
(1) การใชคีมหุบแหวนล็อค
ใชปากคีมหุบแหวนสอดเขาไปในรูปาก
แหวนล็อคและบีบคีมใหปากแหวนล็อค
หุบเขาเพื่อทําการถอดหรือใสแหวนล็อค
ในที่กาํ หนด

1 คีมถางแหวน
2 แหวนล็อค
3 กระบอกแมปมเบรก

(2) การใชไขควงปากแบน
ใชไขควงปากแบนคอยๆสอดเขาไปทีป่ ลาย
ของแหวนล็อค เพื่อทําการถอดแหวนล็อค
การประกอบแหวนในตําแหนงติดตั้ง
งัดแหวนล็อคดวยไขควงแบนจนกระทั่งเขา
ไปในรองของแหวนล็อคอยางสนิทพอดี

1 แหวนล็อค
2 ไขควงปากแบน
3 ชุดคลัตชอันเดอรไดรของเกียรอัตโนมัติ

(3) การใชปากกาจับชิ้นงาน
การประกอบแหวนล็อคเขากับเพลา
จับยึดแหวนล็อคกับเพลาดวยปากกาและ
ทําการบีบเพื่อใหแหวนล็อคเขาพอดีกับรอง
แหวนที่เพลา

1 ปากกาจับชิ้นงาน
2 แหวนล็อค
3 ชุดอาเมเจอรมอเตอรสตารท

(3/3)

- 34 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

สลัก
สลักล็อคจะถูกใชเมือ่ ทําการยึดเพลา
ขณะทําการถอดและติดตั้งสลักกระทําโดย
การตอกเขาไปในรูสลัก
1. ดันสลักล็อคเขาไปจนถึงตําแหนงที่
สามารถใชมือดันได
2. ใชเหล็กสงและคอนตอกสลักลงไปโดย
สลักจะตองไมเอียง
ขอควรระวัง:
• ถาตอกสลักเอียงจะเปนเหตุใหสลัก
และชิ้นสวนเกิดการเสียหาย
• เลือกขนาดของเหล็กสงในการตอก
สลักเขาใหเหมาะสม
• การประกอบสลักบางชนิดอาจจะมี
คําแนะนําอยางอื่นใหอางอิง
จากคูมือซอม

1 สลักล็อค
2 เหล็กสง
3 คอน
4 สลักปองกันการเขาเกียรถอย
5 เสื้อเกียร

(1/1)

นัตล็อค/แผนล็อคนัต
นัตล็อคหรือแผนล็อคจะใชกับชิ้นสวนที่
เคลื่อนที่ได โดยชวยปองกันไมใหโบลท
คลายออกจากการยึดดวยการย้าํ สวนของ
นัตหรือพับแผนล็อค
เชนเดียวกันกับการประกอบสลักล็อคของ
ชุดเฟองทาย ชิ้นสวนบางอยางในการ
ประกอบตองตอกใหยุบตัวเพื่อปองกันไมให
เลื่อนตัวออกได

1 นัตล็อค
2 แผนล็อคนัต

(1/4)

- 35 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

1. นัตล็อค
ตอกสวนที่ยุบตัวของนัตใหเสียรูปเพื่อ
ปองกันนัตคลายตัว
• การตอกสวนที่ยุบตัวของนัตออก

(1)ใชเครือ่ งมือพิเศษตอกจุดที่ยุบตัว
บริเวณรองของเพลาขับ
(2)สอดเครื่องมือเขาไปที่ชองแลวงัดขึ้นลง
เพื่อใหจุดที่ยุบตัวคลายออก
ขอควรระวัง:
• ถาตอกเครื่องมือพิเศษเขามากเกินไป
อาจจะทําใหเกลียวของสกรูเสียหายได
• ถาตอกสวนที่ยุบตัวออกมาไมพอเมื่อ
ทําการถอดนัตล็อคออกอาจจะทําให
สกรูเกิดการเสียหายได

1 นัตล็อค
2 เครื่องมือพิเศษ
(เหล็กตอกนัตยึดเพลาขับ)
3 คอน
4 บริเวณที่จะตอก

• ตอก
(1)ขันนัตล็อคใหไดคาแรงขันที่กาํ หนด
(2)ตอกปลายของนัตล็อคใหยุบลงไปใน
รองของสกรู
ขอควรระวัง:
ใชนัตล็อคตัวใหม

1 นัตล็อค
2 สกัด
3 คอน
4 บริเวณที่จะตอก

- 36 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ชนิดของนัตล็อค
นัตที่ปองกันการคลายตัวออกดวยตัวของ
มันเองเรียกวานัตล็อค

1 สวนที่เปนยาง
2 สวนที่ถูกตีใหยุบตัว

(2/4)

2. แผนล็อคนัต
• การถอดแผนล็อค

(1)ใชสกัดและคอนถอดแผนล็อคออก
(2)ใชสกัดและคอนตอกแผนล็อคบริเวณ
สวนที่ตีพับไวอาออกใหสุด
ขอควรระวัง:
ถาตีแผนล็อคใหอาออกไมสุดอาจจะทํา
ใหโบลทและชิ้นสวนเสียหายได

1 แผนล็อคนัต
2 สกัด
3 คอน
4 แผนอลูมิเนียม
5 ปากกาจับชิ้นงาน
6 เสื้อเฟองทาย

- 37 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ตอก
(1)ใชสกัดสอดเขาที่แผนล็อคเล็กนอย
(2)ตอกสกัดแผนล็อคดวยคอนและตอก
แผนล็อคยึดโบลททุกตัว
ขอควรระวัง:
• เมื่อตอกแผนล็อคนัต เมื่อทําการตอก
โบลททางดานขางอาจทําใหนัตหลวม
ได
• ใชแผนล็อคตัวใหมประกอบเขาทุกครัง

1 แผนล็อคนัต
2 สกัด
3 คอน
4 แผนอลูมิเนียม
5 ปากกาจับชิ้นงาน
6 เสื้อเฟองทาย

(3/4)

- 38 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

3. สลักของเสื้อเฟองทาย
สลักเสื้อเฟองทายจะปองกันไมใหสลักล็อค
เพลาเฟองดอกจอกเลื่อนออก
• การถอด

(1)ใชสกัดตอกลงไปที่แผนล็อคสลักของ
ชุดเฟองทาย
(2)ใชคอนตอกที่หัวสกัดจนกระทั่งแผน
ล็อคถูกตีอาออกจนสุด
• การติดตั้ง

(1)ใชสกัดตอกยึดแผนล็อคสลักของชุด
เฟองทาย
(2)ใชคอนตอกที่หัวสกัดเพื่อยึดแผนล็อค
เขากับสลัก
ขอควรระวัง:
ถามีการถอดสลักล็อคเพลา กอนที่จะ
ตอกแผนล็อคออกจนอาสุดอาจจะเปน
สาเหตุใหเสื้อเฟองทายเกิดการเสียหาย
ได

1 เสื้อเฟองทาย
2 สลัก
3 สกัด
4 คอน
5 แผนอลูมิเนียม
6 ปากกาจับชิ้นงาน

(4/4)

นัตหัวผา
นัตหัวผาเปนนัตที่ติดตั้งบนชิ้นสวนที่มีการ
หมุน เชน ปองกันขอตอพวงมาลัยหลวม
นัตแบบนี้จะมีลักษณะพิเศษ คือ จะมีรอง
ที่ผาไวเพื่อใหสลักสอดผานนัตล็อค

1 นัตหัวผา
2 สลักล็อค
3 ลูกหมากปลายคันสง

- 39 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน
(1/2)

1. การถอด
(1)ดัดสลักยึดใหเหยียดตรงและดึงออก
จากนัตหัวผา
(2)ถอดนัตหัวผา

1 นัตหัวผา
2 สลักล็อค

2. การติดตั้ง
(1)ขันนัตหัวผาตามคาแรงขันที่กาํ หนด
(2)ขันนัตจนรองผาของหัวนัตตรงกับรูของ
โบลท
(3)เสียบสลักเขาที่รโู บลทแลวพับสลักให
เรียบรอย
ขอแนะนํา:
• ประกอบสลักใหขาดานที่ยาวอยู
ดานบน
• เลือกสลักที่จะประกอบเขาไปใหได
ขนาดพอเหมาะกับรูโบลท

1 นัตหัวผา
2 สลักล็อค

(2/2)

- 40 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตั้ง
ชิ้นสวนมีการกําหนดตําแหนงและทิศทาง
ของการประกอบอยางชัดเจน ถาสิ่งที่
กําหนดไวเหลานี้มกี ารติดตั้งอยางไม
ถูกตองขณะทําการประกอบชิ้นสวนจะ
เกิดความเสียหายและอาจจะไมอยูใน
สภาพที่จะนํามาประกอบได

ชิ้นสวนแบบนี้จะมีลักษณะทีบ่ งบอกเปน
เครื่องหมาย รูปราง การชี้บงเปนตัวเลข
และอื่นๆ เมื่อมีการถอดชิ้นสวนเหลานี้
ตองทําการบันทึกลักษณะการชี้บงอยาง
ละเอียดกอนทําตามขั้นตอนของการ
ประกอบตองแนใจเสมอวาชิ้นสวนที่จะ
ทําการเปลี่ยนจะตองเหมือนกับตัวเดิมเปน
อะไหลของแทและประกอบตามตําแหนง
ทิศทางอยางถูกตอง

เครื่องหมายของชิ้นสวนที่มกี ารกําหนด
ตําแหนงและทิศทาง
• การทําเครื่องหมาย / ติดปาย

• การประกอบชิ้นสวนไวชั่วคราว

• การจัดเรียงชิ้นสวนตางๆ
ตามลําดับที่ถอดแยก/
ทําเครื่องหมายเปนตัวเลขกํากับไว
• ตรวจสอบตําแหนงทิศทางของชิน  สวน

1 ลักษณะเครื่องหมาย
2 การบงชี้เปนตัวเลข
3 ประกับเพลาขอเหวี่ยง

(1/5)

- 41 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

1. การทําเครื่องหมาย / ติดปาย
ถอดชิ้นสวนตางๆ ที่มีความคลายคลึงกัน
เชน ทอยางและขั้วตอตางๆ ซึ่งจําเปนตอง
ใสกลับตําแหนงเดิม จากนั้นใหทาํ
เครื่องหมายหรือติดปายบอก
• สายพานไทมมิ่ง
ดานหลังของสายพานไทมมิ่ง
ทําเครื่องหมายลูกศรดวยชอลก ชี้บงตาม
ทิศทางการหมุนกอนทําการถอด
เชนเดียวกันทําเครือ่ งหมายที่สายพานให
ตรงกับเครื่องหมายที่เฟองเพลาลูกเบี้ยว
และเฟองเพลาขอเหวี่ยง
เมื่อทําการประกอบสายพานไทมมงิ่
ใหเครือ่ งหมายลูกศรและเครื่องหมาย
ตําแหนงของสายพานถูกตองตามตําแหนง
และทิศทางการหมุน
• ขั้วตอ/ทอยาง
เมื่อทําการถอดอุปกรณทางไฟฟาและ
ชิ้นสวนขอตอทอทางทําปายบงชี้บนขั้วตอ/
ทอยางเพื่อจะไดทาํ การประกอบไดอยางถูก
ตอง
1 เครื่องหมายลูกศร

2 สายพานไทมมิ่ง

3 ปาย

4 ขั้วตอ

(2/5)

- 42 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ขอมูลอางอิง:
ชิ้นสวนหมุน
ในการประกอบชิ้นสวนหมุนในทิศทางที่ผิด
จะมีการเปลี่ยนแปลงความสมดุลยและ
ตําแหนงการติดตัง้ ซึง่ จะเกิดสาเหตุผิดปกติ
มีเสียงดัง และการสั่นสะเทือน
การประกอบชิ้นสวนหมุนที่ถูกตองใหทาํ
เครื่องหมาย เมื่อมีการถอดและทําการ
ประกอบกลับใหตรงตามตําแหนงเดิม
• เพลากลาง
เพลากลาง X หนาแปลนเฟองทาย
• ดรัมเบรก
ดรัมเบรก X หนาแปลนดุมลอหลัง

1 ทําเครื่องหมาย
2 เพลากลาง
3 หนาแปลนเฟองทาย
4 ดรัมเบรก
5 หนาแปลนดุมลอหลัง

(1/1)

- 43 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. การประกอบชิ้นสวนไวชั่วคราว
สําหรับชิ้นสวนที่ประกอบหรือติดตั้งดวย
โบลทหลากหลายขนาดความยาวหรือ
ความหนาแตกตางกัน จนยากที่จะระบุ
ตําแหนงติดตั้งได
เพื่อปองกันปญหานี้ใหทดลองประกอบ
หรือติดตั้งดวยโบลทหรือนัตชั่วคราวเพื่อ
คนหาใหไดตาํ แหนงของโบลทและนัตที่
ถูกตอง
• การประกอบชั่วคราว
(ฝาครอบโซไทมมิ่ง)
ฝาครอบประกอบดวยโบลทหลายตัว
ดังนั้น ทดลองใสโบลทเขาไปในรูของ
ฝาครอบกอน

1 ฝาครอบโซไทมมิ่ง
2 นัต
3 โบลทชนิด A
4 โบลทชนิด B

• การประกอบชั่วคราว (ปลอกเลื่อน)
ตรวจเช็คทิศทางและตําแหนงการใสของ
ชุดปลอกเลื่อน

1 ดุมเกียร
2 ตัวหนอน
3 สปริงตัวหนอน
4 ปลอกเลื่อน

(3/5)

- 44 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

3. การจัดเรียงชิ้นสวนตางๆ
ตามลําดับที่ถอดแยก/
ทําเครื่องหมายเปนตัวเลขกํากับไว
ในถาดรองเปนการวางชิ้นสวนที่มลี ักษณะ
คลายคลึงกันจัดไวเปนหมวดหมูในถาดใส
และจัดเรียงชิ้นสวนตามลําดับหมายเลข
เพื่อจะไมใหมีการผิดพลาดในขณะทําการ
ประกอบ
(1)ทําหมายเลขติดไวเปนหมวดหมูในถาด
ใสและตําแหนงของชิ้นสวนในการถอด
ตามลําดับ
(2)ประกับแบริ่งและอืน่ ๆมีการบงชี้
หมายเลขทุกตัว ดังนั้นการระบุ
หมายเลขตองทําลวงหนาและกําหนด
ตําแหนงชิ้นสวนกอนที่จะมีการถอด
ตามลําดับแลวใสเปนหมวดหมูใน
ถาดใส

1 กานสูบ
2 วาลว
3 สปริงวาลว
4 ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว

(4/5)

4.ตรวจสอบตําแหนงทิศทางของชิ้นสวน
สําหรับชิ้นสวนที่มีทิศทางประกอบเขาดวย
กัน ตองแนใจวาติดตั้งที่ถูกตองในทิศทาง
• ลูกสูบ/กานสูบ
เครื่องหมายดานหนาบนหัวลูกสูบจะตอง
จัดใหตรงกับเครื่องหมายดานหนาของกาน
สูบในแนวเดียวกัน
• ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว
เครื่องหมายดานหนาและลําดับหมายเลข
หันไปดานหนาเครื่องและเรียงตามลําดับ

1 ลูกสูบ
2 กานสูบ
3 เครื่องหมายดานหนา
4 ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว
(5/5)

- 45 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ทอยาง/แคลมปรัด
ทอยางที่รัดดวยแคลมปเพื่อจะไดไมเลื่อน
หลุดเมื่อถอดแคลมปรัดจะตองใชเครื่องมือ
จับใหถูกตองเพราะวาถาจับผิดวิธีอาจทําให
เกิดความเสียหายไดเมื่อทําการประกอบ
แคลมปรดั ทอ จะตองรัดในตําแหนงเดิม
1. การถอดแคลมปรัดแบบสปริง
(1)ใชคีมจับปากของแคลมปใหตรงกับ
ตําแหนงและบีบใหแคลมปขยายตัวออก
(2)ถอดแคลมปโดยการดึงเลื่อนสปริงให
หลุดออกจากขอตอทอ
ขอควรระวัง:
• ถาปลายแคลมปรดั บิดงอเสียรูปไม
ควรนํากลับมาใชใหมจะตองเปลี่ยน
แคลมปรัด

1 แคลมปรัดทอ
2 ทอยาง

ขอแนะนํา:
ชนิดของแคลมปรัดและ
ขอตอแบบสวมเร็ว
• ชนิดของแคลมปรัด
ในรถยนตจะใชแคลมปรัดหลายชนิด

- 46 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ชนิดของขอตอแบบสวมเร็ว
1. การถอด
สําหรับระบบเชื้อเพลิงในรถยนต
จะใชแคลมปแบบสวมเร็ว

1 ทอยาง
2 ทอเหล็ก
3 ตัวล็อค
4 โอ-ริง
5 เครื่องมือพิเศษ (ถอดทอยาง)

• ขอตอชนิดคลิปล็อค
การถอดขั้วตอใหกดปลายของคลิปล็อค
ขอตอและดึงออก

1 ทอยาง
2 ทอเหล็ก
3 คลิปขอตอ
4 โอ-ริง

• ขอตอชนิดล็อค 2 ชั้น
การถอดขั้วตอใหกดตรงปุมล็อคของขอตอ
ตามรูปภาพ ตรงลูกศรใหญ

1 ทอยาง
2 ทอเหล็ก
3 ปุมล็อค
4 โอ-ริง

- 47 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ขอตอแบบรีเทนเนอร
หมุนตัวรีเทนเนอรออกจากขอล็อคและ
ดึงออก

1 ทอยาง
2 ทอเหล็ก
3 ตัวล็อค
4 โอ-ริง

(1/1)

2. การติดตั้ง
สําหรับระบบเชื้อเพลิงในรถยนตจะใช
ขอตอแบบสวมเร็ว
(1)ชะโลมน้าํ มันเชื้อเพลิงที่โอ -ริง
เพื่อปองกันการรั่วของน้าํ มัน
(2)ตอขอตอใหเขาที่จนกระทั่งไดยินเสียง
"คลิก๊ "
(3)ดึงขอตอเบาๆในทิศทางการถอด
เพื่อทําการตรวจเช็ควาขอตอเขาล็อค
ขอควรระวัง:
• ตรวจเช็ควาไมมส ี ิ่งสกปรกอยูรอบๆ
ขอตอกอนลงมือทํางานจะตองทํา
ความสะอาดเสียกอน
• โอ-ริงถูกใชในขอตอแบบเร็ว
ถาขอตอสกปรกจะทําใหโอ-
ริงเสียหายและเปนสาเหตุใหนา้ํ มันรั่ว
• อยาใชเครื่องมือชนิดอื่น
(ยกเวนเครือ่ งมือพิเศษ)
• ถาขอตอถอดยากใหดันทอน้า ํ มันเขา
ดานในและปลดสลักล็อค
การทําอยางนี้จะทําใหขอตอถอดออก
งาย (ไมมีเครื่องมือพิเศษ)
• หามโคงงอหรือบิดทอน้า ํ มัน
• หลังจากถอดทอน้า ํ มัน
ใหใชถุงพลาสติกคลุมทอน้าํ มัน

(1/1)

- 48 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2.การปลดทอน้ํา
(1)ทําเครื่องหมายบนทอน้าํ และดาน
ขอตอ
(2)ดึงเลื่อนแคลมปรดั ตรงกลางทอโดยใช
เครื่องมือใหถูกประเภทและวิธีการ
(3)เพื่อปองกันทอยางไมใหเกิดความ
เสียหายใชผาพันรอบๆทอยางแลว
ใชคีมดึงเลื่อนทอยางในขณะเดียวกัน
ใหหมุนทอไปพรอมกันดวย

1 แคลมปรัดทอ
2 ทอยางหมอน้าํ
3 หมอน้าํ
4 มารคแสดง
5 ผา
6 คีม

- 49 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ขอควรระวัง:
• การบิดทอยางอยางแรง
อาจทําใหทอยางเสียรูปได
• การใชคีมจับทอยางแนนเกินไป
อาจทําใหทอยางและชิ้นสวนที่ตอกัน
เสียหายได
• เมื่อถอดทอยางออกใชผาอุดทอเพื่อ
ปองกันไมใหนา้ํ รั่วออก หรือปองกัน
สิ่งแปลกปลอมจากดานนอกเขาไป
ในทอ

(2/3)

3. การตอทอยาง
(1)ทําความสะอาดทอยางและสวนที่จะตอ
เขาดวยกัน
(2)จัดทําเครื่องหมายใหตรงกันและวาง
แคลมปรัดตรงตําแหนงเดิม
ขอควรระวัง:
• ถาเครือ่ งหมายไมตรงกันและตําแหนง
ไมอยูในตําแหนงเดิมอาจทําใหนา้ํ รั่ว
ได
• ถาแคลมปเสียรูป ใหเปลี่ยนอันใหม

1 แคลมปรัดทอ
2 ทอยาง
3 ตําแหนงเดิมแคลมปรัด
4 มารคแสดง

(3/3)

- 50 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

แบตเตอรี่
เมื่อทําการถอดชิ้นสวนทางไฟฟาและ
แบตเตอรี่ ใหปลดขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่
ออกกอนที่จะลงปฏิบัติงาน เพื่อปองกัน
การลัดวงจร

คําแนะนําในการปลดขั้วลบ (-)
ของแบตเตอรี่
• บันทึกขอมูลแสดงผลเก็บไว

• การปลดและตอกลับตามลําดับ

• การคืนขอมูลหนวยความจํา
(1/4)

1. บันทึกขอมูลรถเก็บไว
การปลดขั้วลบ (-)
แบตเตอรี่จะลบขอมูลที่บนั ทึกไวในหนวย
ความจํา เชน ECU ออก เพื่อเก็บรักษา
ขอมูลไว ใหทาํ การจดบันทึกกอน ขอมูล
ตางๆเหลานี้ขึ้นอยูกับรุนและเกรดของ
รถยนต
บางชนิดจะมีการบันทึกขอมูลไวในหนวย
ความจํา
1 DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)

2 สถานีวิทยุ

3 ตําแหนงเบาะ

(มีระบบหนวยความจํา)
4 ตําแหนงพวงมาลัย

(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ

(2/4)

- 51 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2.การปลดและตอกลับตามลําดับ
(1)ดึงกุญแจออกจากสวิทชกุญแจที่คอพวง
มาลัยออก
ขอควรระวัง:
ในการปลดสายขั้วแบตเตอรี่ในขณะที่
สวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง ON
จะเปนดอันตรายเปนอยางมาก
เพราะวาจะเกิดการไหลของกระแสไฟ
จะทําใหเกิดประกายไฟระหวางสายขั้ว
แบตเตอรี่กับขั้วของแบตเตอรี่
(2)ทําการคลายนัตขั้วลบ (-)
ของแบตเตอรีใ่ หหลวมและปลดขั้วสาย
แบตเตอรี่ออก
ขอควรระวัง:
• การถอดขั้วสายของแบตเตอรี่โดยการ
หมุนสามารถทําใหขั้วแบตเตอรีถ่ ูกขูด
ขีดได
• การถอดขั้วสายของแบตเตอรี่ที่ผิดขั้น
ตอนสามารถทําใหเกิดสาเหตุลัดวงจร
ซึ่งสามารถทําใหฟวสขาดหรือชุด
สายไฟไหมได
(3)ใสขั้วสายแบตเตอรี่
ขอควรระวัง:
ใหสวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง OFF
ใสขั้วสายบวก (+)
แบตเตอรี่กอนแลวจึงใสขั้วสายลบ (-)
ของแบตเตอรี่

1 สวิตชจุดระเบิด
2 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
3 ขั้วบวก (+) แบตเตอรี่
4 แบตเตอรี่

- 52 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ลัดวงจร
โดยทั่วไปชิ้นสวนทางไฟฟาในรถยนต
จากวงจรไฟฟาจะไปลงกราวดที่ตัวถัง
รถยนตการปลดขั้วบวก (+)
แบตเตอรี่โดยไมปลดขั้วลบ (-)
ออกกอน อาจเปนสาเหตุใหเกิดการ
ลัดวงจรไดเมือ่ ขั้วบวก (+) ไปสัมผัส
ถูกเครื่องมือหรือสายไฟอื่น

1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


2 ขั้วบวก (+) แบตเตอรี่
3 เครื่องมือ
4 แบตเตอรี่
5 จุดตอกราวด

(3/4)

3. การคืนขอมูลหนวยความจํา
คืนขอมูลที่จดบันทึกไวใหกับรถ

การคืนขอมูลที่บันทึกไวใหแกอุปกรณดังนี้
1 ตั้งสถานีวิทยุ

2 การตั้งนาฬิกา

3 ตําแหนงพวงมาลัย

(มีระบบหนวยความจํา)
4 ตําแหนงเบาะ

(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ

(4/4)

- 53 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ปลั๊กตอ
ระบบไฟฟาเปนสวนประกอบของรถยนต
ซึ่งมีการตอกันดวย ปลัก๊ ตอ
ดังนั้นเมือ่ มีการถอดและประกอบสวน
ประกอบของระบบไฟฟา มีความจําเปน
ที่จะตองมีการปลดปลั๊กของ ปลั๊กตอ
ปลั๊กตอมีอยูดวยกันหลายประเภท
เมื่อมีการปลดปลัก๊ แตละชนิดตองมีวิธีการ
ซึ่งเหมาะสมและถูกตองติดปายบนปลั๊กตอ
เพื่อระบุตาํ แหนงของปลั๊กตอเมื่อมีการตอ
ปลั๊กเขาดวยกัน

1 ชุดสายไฟและขั้วตอ
2 ปลั๊กตอ
3 ปาย

1. การปลดปลั๊กตอ
หลังจากปลดขอเกี่ยวออกแลวจึงปลดปลั๊ก
ตอออก

ขอควรระวัง:
• ปลดขั้วตอโดยการดึงชุดสายไฟ
สามารถทําใหสายไฟขาดไดเพื่อ
ปองกันปญหานี้ปลดขั้วตอโดยจับที่ชุด
ขั้วตอ
• เมื่อปลดขั้วตอไดยาก ดันขั้วตอเขาไป
ดานในของขั้วตออีกดานหนึ่งจะทําให
ปลดล็อคขั้วตอไดงาย

(1/2)

- 54 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. การตอปลั๊กตอ
ตอปลั๊กตอใหสนิทจนไดยินเสียง "คลิก"
(ปลัก๊ ตอล็อค)

ขอแนะนํา:
• ปายที่ติดไวใชอางอิงขณะทําการปลด
หรือใสปลั๊กตอใหอยูในสภาพเดิม
• ตรวจดูเครื่องหมายทิศทางของขั้วตอ
เมื่อทําการประกอบชิ้นสวน และ
ระมัดระวังไมใหชุดสายไฟมีความตึง
มากเกินไป

(2/2)

ขอมูลอางอิง:
จะมีการถอดและประกอบขั้วตอแบบ
พิเศษไดอยางไร
• ปลั๊กตอแบบสวมเขาและกานล็อค
1. ปลดปลัก๊ ตอ
(1)กดตําแหนงหมายเลข 2 ในภาพเพื่อ
ปลดล็อคและดึงกานล็อคขึ้น
จากนั้นดึงกานล็อคออกใหสุด
(2)ปลดปลั๊กตอออก

1 กานล็อค
2 ล็อค

- 55 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. การใสปลั๊กตอ
(1)สวมขั้วตอเขาไปโดยใหกานล็อคยกตัว
ขึ้น
(2)กดกานล็อคลงจนกระทัง่ ไดยินเสียง
ล็อคดัง “คลิก”

1 กานล็อค
2 ล็อค

(1/3)

• ปลั๊กตอล็อคแบบ 2 ชั้น
1. การปลดปลั๊กตอ
(1) ปลดล็อคชั้นที่ 2 ออก
(2) ปลดล็อคชั้นแรกออกแลวปลดปลั๊กตอ

1 กานล็อค
2 ล็อค

2. การใสปลั๊กตอ
(1)ใสปลั๊กตอชั้นแรกใหล็อคแนนกอน
(2)กดล็อคชั้นที่ 2 ใหกานล็อคสนิท

1 กานล็อค
2 ล็อค

(2/3)

- 56 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ล็อคปลั๊กตอดวยโบลท
1. การปลดปลั๊กตอ
คลายโบลทดวยไขควง และอื่นๆเพื่อปลด
ปลั๊กตอออก
ขอแนะนํา:
ถาโบลทตามไมคลายออกใหคลาย
โบลทขณะเดียวกับดึงขั้วตอขึ้นใหตึง

1 โบลท

2. การใสปลั๊กตอ
ขันโบลทดวยไขควงและอื่นๆเพื่อใสปลั๊กตอ
ใหแนน
ขอแนะนํา:
ขันโบลทจนกระทั่งรูส ึกตึงมือพอดีและ
แนนสนิท

1 โบลท

(3/3)

- 57 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

คลิป / ขายึด
อุปกรณภายในเชนแผงคอนโซลแผงประตู
จะถูกยึดดวยคลิป เนื่องจากคลิป
มีหลายชนิด
ดังนั้น การถอดคลิปแตละชนิดจะตองใช
วิธีการที่เหมาะสม
1. การถอดคลิป/ขายึด
(1) อางอิงคูมือการซอม
เพื่อดูตาํ แหนงและรูปทรงของคลิป
(2) ใชเทปพันปลายไขควง
กอนที่จะถอดคลิปเพื่อปองกันการเกิด
ความเสียหายกับชิ้นสวน
(3) เลือกใชเครื่องมือหรือไขควง
เพื่อถอดคลิปใหเหมาะสมกับชนิดของ
คลิปล็อคหรือดึงออกดวยมือ
การดึงคลิปผิดทิศทางอาจเปนสาเหตุ
ทําใหชิ้นสวนเสียหายได
ขอแนะนํา:
คลิปล็อคมีหลายชนิด
ดังนั้นตองตรวจเช็คตําแหนงของคลิป
และอยาทําคลิปหาย
• คลิป

1 แผงขางประตู
2 ฝาครอบหองเก็บสัมภาระ
3 แผงบังลมใตกระจก
4 ฝาครอบมาตรวัดรวม

- 58 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ขายึด

1 สวิตชควบคุมไฟหนา
2 กระจังหนา
3 ฝาครอบชุดสายไฟดานลาง
4 แผงบันได
5 แผงครอบเครื่องเลนวิทยุ/เทป
6 ฝาครอบมาตรวัดรวม
7 สวิตชกระจกไฟฟา
8 แผงครอบเสาเกงหนา

(1/3)

2. การติดตั้งคลิป/ขายึด
(1) เมื่อใชคลิป/ขายึด
การจะนํากลับมาใชใหมไดหรือไม
จะตองพิจารณาจากหัวขอขางลาง:

• ขายึดแตกหักหรือไม
• คลิปบิดเบี้ยวหรืองอหรือไม
• ชิ้นสวนที่จะใสคลิปบิดเบี้ยวหรือไม

(2/3)

- 59 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

(2) ใสคลิปใหตรงตําแหนง
และตรวจเช็ควาคลิปเขาไดพอดีเบา
วิธีการใสคลิปขึ้นอยูกับชนิดของคลิป

• สําหรับการติดตั้ง
จะตองตรวจเช็คตําแหนงของคลิปกอน
• การติดตัง้ ผิดวิธีอาจทําใหคลิปเสียหาย
ได ดังนั้นจะตองเช็คตําแหนงกอนการ
ติดตั้ง

• คลิป

1 แผงขางประตู
2 ฝาครอบหองเก็บสัมภาระ
3 แผงบังลมใตกระจก
4 แผงครอบมาตรวัดรวม

• ขายึด

1 สวิตชควบคุมไฟหนา
2 กระจังหนา
3 ฝาครอบชุดสายไฟดานลาง
4 แผงบันได
5 แผงครอบเครื่องเลนวิทยุ/เทป
6 ฝาครอบมาตรวัดรวม
7 สวิตชกระจกไฟฟา
8 แผงครอบเสาเกงหนา

(3/3)

- 60 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การบัดกรี ”
การบัดกรีจะใชสาํ หรับงานบัดกรีชิ้นสวน
ทางไฟฟาหรือสายไฟ เนื่องจากหัวแรง
จะรอนในขณะจับจะตองมีความระมัดระวัง
ในขณะปฏิบัติงานนิยมใชตะกั่วใน
การบัดกรีถาใสตะกั่วมากไปอาจทําใหเกิด
การลัดวงจร

การบัดกรีจะตองปฏิบัติตามขั้นตอน
ดังตอไปนี้

1. การทําความสะอาด
(1) ขจัดคราบจาระบีนา้ํ มันสนิมหรือ
สิ่งสกปรกออกจากบริเวณทีบ่ ัดกรี
(2) ทําความสะอาดปลายหัวแรง
ขอแนะนํา:
อยาใชกระดาษทราย ขัดปลายหัวแรง
เพื่อปองกันหัวแรงชํารุดใหใชผาเปยก
หรือฟองน้าํ ในการทําความสะอาด

1 หัวบัดกรี
2 ฟองน้าํ
3 ผา

(1/2)

- 61 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. การบัดกรี
(1)อุนใหปลายหัวแรงใหมีอุณหภูมิในการ
ทํางาน
(2)กดปลายหัวแรงลงบนพื้นที่ชิ้นสวนที่
ตองการบัดกรีใหรอนเปนเวลาสัก 2-3
วินาที หลังจากนั้นใหทาํ การบัดกรี
ขอแนะนํา:
การใสตะกั่วบัดกรีมากไปอาจทําใหเกิด
การลัดวงจร
(3)หลังจากบัดกรีใหดึงปลายหัวแรงออก
เมือ่ ตะกั่วบัดกรีติดผิวงานแลว
ขอควรระวัง:
• จุดบัดกรีจะตองรอนระวังอยาใหมี
ความรอนสูงอาจทําใหเกิดการไหมได
• อยาสูดดมควันของตะกั่วบัดกรี
เพราะอาจทําใหเกิดอันตรายตอชีวิต

1 หัวบัดกรี
2 ตัวเรือนมอเตอรสตารท
3 แปรงถาน

3.ขอควรระวังกอนการบัดกรีดวยความ
รอนสูง
(1)อยาใชหัวแรงที่มีคาเกิน 30 วัตต
ลงบนชิ้นสวนอิเล็คทรอนิคส เชน ECU
เพราะอาจทําใหชิ้นสวนเกิดความ
เสียหายได
(2) อยากดหัวแรงแชนานเกินความจําเปน
เพราะอาจทําใหชิ้นสวนเกิดความ
เสียหาย

1 หัวบัดกรี
2 ECU

(2/2)

- 62 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ถุงลมนิรภัย
การปฏิบัติเกี่ยวกับถุงลมนิรภัยทํางานไม
ถูกตองหรือใชวิธีที่ผิด ซึ่งอาจทําให
เกิดอุบัตเิ หตุที่รุนแรงในขณะที่ถุงลมนิรภัย
ทํางานการซอมทีผ่ ิดวิธีอาจเปนสาเหตุ
ใหถุงลมนิรภัยทํางานบกพรอง
ดังนั้นเพื่อปองกันขัอผิดพลาดในการปฏิบัติ
งานจะตองอางอิงจากคูมอื ซอม

(1/6)

1. การปองกันการทํางานที่ไมถูกตอง
ECU
ระบบถุงลมนิรภัยจะมีแหลงจายไฟสํารอง
หลังจากที่ทาํ การถอดขั้วลบจะตองรอ
ประมาณ 90 วินาทีกอนที่จะทําการ
ปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานไมถูกวิธีอาจทําใหระบบ
ถุงลมนิรภัยและเข็มขัดนิรภัยชนิดดึงรั้ง
กลับทํางานไมสมบูรณซึ่งจะทําใหเกิด
อันตรายมาก
(1) ยืนยันรหัสวิเคราะหปญหา
(2) บิดสวิตชกุญแจไปตําแหนง "LOCK"
(3) ปลดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
(4) รอประมาณ 90วินาทีเริ่มทําการ
ถอดประกอบชุดถุงลมนิรภัย

1 เครื่องมือวิเคราะหปญหา
2 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
3 ขั้วตอถุงลมนิรภัย

(2/6)

- 63 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. การปลดและตอขั้วตอถุงลมนิรภัย
ขั้วตอและชุดสายไฟของถุงลมนิรภัย
จะมีสีเหลืองและใชขั้วตอชนิดพิเศษดวย
ชนิดของขั้วตอระบบถุงลมนริภัยมีดังนี้
(ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยตัวกลาง/
แปนพวงมาลัย และอื่นๆ ) เปนตน
• แบบเลื่อน

(1) ปลดขั้วตอ
ใหดึงตัวเลือ่ นเพื่อปลดล็อคของขั้วตอ
จากนั้นใหดึงขั้วตอออก
(2) การใสขั้วตอ
ขั้วตอจะล็อคเองโดยอัตโนมัติขณะสวมเขา
ดวยกัน
• แบบล็อค 2 ชั้น

(1)ปลดขั้วตอ
ถอดตัวล็อคชั้นที่ 2 ออกกอนโดยทําการ
ดึงขึ้น จากนั้นถอดตัวล็อคชั้นที่ 1ออก
โดยการจับที่ขั้วตอแลวดึงออก
(2)การใสขั้วตอ
สวมขั้วตอเขาดวยกันจนกระทั่งล็อคชั้นที่ 1
ล็อคเขาที่ จากนั้นใหกดล็อคชั้นที่ 2 เขา

1 แบบเลื่อน
2 แบบล็อค 2 ชั้น

(3/6)

- 64 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

3. ขอควรระวังเบื้องตนในการถอด/
ติดตั้งถุงลมนิรภัย SRS
(1) การปฏิบัติเกี่ยวกับชุดสายไฟขด
เมื่อถอดและติดตั้งพวงมาลัยตองแนใจวา
ประกอบชุดสายไฟขดไดตาํ แหนงกึ่งกลาง
<1>หมุนสายไฟขดทวนเข็มนาฬิกาจน
กระทั่งล็อค
ขอแนะนํา:
สายไฟขดจะหมุนไดมากที่สุด 5 รอบ
<2>หมุนสายไฟขดตามเข็มนาฬิกาจาก
ตําแหนงล็อคไป 2.5 รอบและตรงกับ
เครื่องหมายกึ่งกลางตําแหนงดังแสดง
ในรูป
คําเตือน:
ถาเครื่องหมายและจํานวนรอบของ
สายไฟขดไมตรงอาจทําใหสายไฟขด
เสียหาย

1 สายไฟขด
2 เครือ่ งหมายกึ่งกลาง

(4/6)

(2) การวางแปนพวงมาลัย
• หลังจากถอดแปนพวงมาลัยออกมา
จะตองใหวางใหแปนพวงมาลัยอยูดาน
บน
• ในขณะที่ทา ํ การวางแปนพวงมาลัย
หามนําสิ่งของหรือวัตถุ อื่นๆ
วางไวดานบนถุงลมนิรภัย
และหามวางใหดานถุงลมนิรภัยคว่าํ ลง
ขอควรระวัง:
ในขณะถอดแปนพวงมาลัยออกมา
และวางคว่าํ ลง ถาถุงลมนิรภัยทํางาน
ในขณะนั้นจะทําใหเกิดอุบัติเหตุที่ราย
แรงได

1 แปนแตร

(5/6)

- 65 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

(3)การตรวจเช็คโดยใชมลั ติมิเตอร
หามทําการวัดคาความตานทานของชุด
เซ็นเซอรกลางถุงลมนิรภัย
ขอควรระวัง:
ถาใชมลั ติเตอรวัดคาความตานทาน
อาจทําใหถุงลมนิรภัย และเข็มขัด
นิรภัยแบบดึงกลับลวงหนา ทํางาน
เพราะวามัลติมิเตอรจะจายไฟ
ไปยังชนวนของชุดถุงลมนิรภัยและ
เข็มขัดซึ่งจะเปนอันตรายมาก

1 ขั้วตอถุงลมนิรภัย
2 มัลติมเิ ตอร
3 ชุดเซ็นเซอรกลางถุงลมนิรภัย
4 แปนแตรพวงมาลัย
(มีระบบถุงลมนิรภัย)

(4) อื่นๆ
• จะมีฉลากเตือนติดไว
และตองปฏิบัติตามอยางเครงครัด
• หามทําการถอดแยกชิ้นสวน
• หามนําถุงลมนิรภัยจากรถคันอื่นมาใช
• หามเขาใกลกับความรอนสูงหรือสัมผัส
กับเปลวไฟโดยตรง
• หามทาจารบี น้า ํ ยาทําความสะอาด
น้าํ มันหลอลื่น หรือความชื้นอื่นๆ ที่
ชุดถุงลม ถามีความชืน้ เกิดขึ้น
ใหรบี เช็ดออก
• ใหกา ํ จัดถุงลมนิรภัยทิ้ง หลังจาก
ถุงลมนิรภัยทํางานแลว
คําเตือน:
คําเตือนตางๆ นอกจากดานบน
ใหอา งอิงจากคูมือการซอม

(6/6)

- 66 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

คําแนะนําสําหรับการวัดและการตรวจสอบ ระยะหางชองวางน้ํามัน
ระยะหางที่กลาวถึงเปนการเวนระยะที่
เหมาะสมของชิ้นสวน 2 ชิ้น
เพื่อใหนา้ํ มันเครื่องเขาไปอยูระหวางระยะ
หาง เพื่อเปนการหลอลื่นระหวางชิ้นสวนดี
ดังนั้นตองตรวจสอบใหระยะหางอยูในคา
ตามกําหนด เพื่อปองกันการติดขัด
และมีเสียงดัง

การทําใหระยะหางอยูในคาที่เหมาะสม
ทําการปรับตั้งระยะหางใหอยูในคากําหนด
หรือเปลี่ยนชิ้นสวนที่สึกหรอ

1 ระยะหางปกติ
2 ระยะหางระหวางชิ้นสวนมาก
3 ระยะหางระหวางชิ้นสวนนอย
4 น้าํ มันหลอลื่น ี
5 ลูกสูบ

• แนวรัศมีและแนวรุน

วิธีการวัดระยะหางระหวางชิ้นสวน
• การวัดดวยการคํานวณ

• ”การวัดโดยใชพลาสติกเกจ

• การวัดโดยใชไดอัลเกจ

• ”การวัดโดยใชฟลเลอรเกจ

ขอแนะนํา:
• ระยะหางมากกวาคาอางอิงที่กา ํ หนด
จะกอใหเกิดเสียงดังผิดปกติและการ
1 ไดอัลเกจ 2 เฟองเกียร 5 บนเพลาสงกําลัง สั่นสะเทือน
• ระยะหางนอยกวาคาอางอิงที่กา ํ หนด
A ระยะหางในแนวรุน B ระยะหางในแนวรัศมี
กอใหเกิดการติดขัดหรือชิ้นสวนเกิด
ความเสียหาย
• ระยะหางมากขึ้นในสภาพปกติ
เพราะวามันสึกหรอเนื่องจากการ
ใชงาน ดังนั้นเมื่อมีการวัดระยะหาง
นองกวาคาอางอิง ใหสงสัยไววา
เกินการผิดพลาดในการวัด

(1/5)

- 67 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

1. การวัดดวยการคํานวณ
คํานวณระยะหางระหวางชิ้นสวนโดยใช
ขนาดของชิน้ สวน 2 สวนที่วัดได
(1)วัดเสนผาศูนยกลางดานในและเสน
ผาศูนยกลางดานนอก
ระยะหางระหวางชิ้นสวน=เสนผาศูนย
กลางภายใน -เสนผาศูนยกลางภายนอก
ในชิ้นสวนที่เปนรูปทรงกระบอก
มีวิธีการวัดอยางอืน่ ๆ อีก
• มีลักษณะเปนเทเปอร
• มีลักษณะเปนวงรี

1 ไซลินเดอรเกจ 2 เสื้อสูบ อางอิงหนวยของ "การวัด"


3 ไมโครมิเตอร 4 ลูกสูบ (2)การวัดความหนา
5 ระยะหางระหวางชิ้นสวน 6 เวอรเนียรคาลิปเปอร และรองบากของชิ้นสวน
7 ลูกสูบ 8 กามปู ระยะหางระหวางชิ้นสวน=ความกวาง
9 ระยะหางระหวางชิ้นสวน ของรอง - ความหนา
A เสนผาศูนยกลางดานใน Bี เสนผาศูนยกลางดานนอก
C ความกวางของรอง D ความหนา

(2/5)

- 68 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. การวัดโดยใชพลาสติกเกจ
การวัดพลาสติกเกจที่มกี ารยุบตัวตาม
จํานวนตารางคากําหนดของชองวางของ
แบริ่งเพลาขอเหวี่ยง และแบริ่งกานสูบ
ถาระยะชองวางน้าํ มันหลอลื่นนอยไปจะทํา
ใหเกจแบนมากและชองของตารางความ
แบนจะเพิ่มขึ้น
ถาระยะชองวางน้าํ มันหลอลื่นมากไปจะ
ทําใหเกจแบนนอยและชองของตารางความ
แบนจะนอยลง
(1)ทําความสะอาดคราบน้าํ มันหรือฝุน
1 พลาสติกเกจ บริเวณที่จะทําการวัดและประกับแบริ่ง
2 ประแจวัดแรงบิด (2)นําเกจมาทาบเทากับความกวางของ
3 สวนที่กวางที่สุดของพลาสติกเกจ ปะกับแบริ่งและหักออกทีละอันจากซอง
4 เพลาขอเหวี่ยง
(3)นําเกจที่หักออกจากซองและจัดวาง
5 แบริ่งกานสูบ
ใหขนานตามขอของเพลาที่จะทํา
6 ฝาประกับกานสูบ
การวัด
7 กานสูบ
8 ชองวางน้าํ มัน (4)ขันประกับแบริ่งตามคาแรงขันที่
9 เพิ่ม กําหนด
10 ชองวางที่นอย คําเตือน:
11 ลด หามหมุนเพลาขณะทําการขันประกับ
12 ชองวางที่มาก แบริง่
การวัดคาจะไมสมบรูณถาเพลามีการ
หมุน
(5)ถอดประกับแบริ่ง
(6)อานคาความแตกตางของแรงกดบน
พลาสติกเกจจากแถบวัดบนซองของเกจ
ขอแนะนํา:
ถาแรงกดเกิดความแตกตางบนเกจที่
ถูกอัดทําใหขนาดความแบนของเกจไม
เทากันใหทาํ การวัดและอานคากําหนด
ตามขนาดที่ติดตั้งบนซองเกจ

(3/5)

- 69 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

3. การวัดโดยใชไดอัลเกจ
มีการเคลื่อนตัวของชิ้นสวนในแนวรุนหรือ
ในแนวรัศมีในชิ้นสวนที่มกี ารประกอบแลว
ดังนั้นจึงตองมีการวัดระยะหางตามการ
เคลื่อนตัวของชิ้นสวน
(1)ปรับปลายเข็มวัดไดอัลเกจในตําแหนง
การวัดชิ้นสวนที่เหมาะสม
(2)ขยับชิ้นสวนและทําการวัดระยะชองวาง
ขอแนะนํา:
• ติดตั้งฐานแมเหล็กในตําแหนงที่มั่นคง

1 ไดอัลเกจ 2 ฐานแมเหล็ก • เมื่อทําการวัดชิ้นสวนที่เปนอลูมเิ นียม

3 ระยะหางในแนวรัศมี น 4 ระยะหางในแนวรุน เชนเครื่องยนตและเกียรใหยึดฐาน


5 เกียร 6 เพลาสงกําลังของเกียร แมเหล็กบนแทนงานซอมใหญจึงจะ
7 แผนโลหะ 8 ฝาสูบ สามารถใหแมเหล็กยึดติดแนนในที่ตงั้
ไดหรือใชแผนเหล็กยึดชิ้นสวนดวย
โบลทและจึงทําการติดตั้งฐาน
แมเหล็กและทําการปรับเกจที่ชิ้นสวน
การวัดใหเหมาะสม

(4/5)

4. การวัดโดยใชฟลเลอรเกจ
สอดฟลเลอรเกจในชองวางของแหวนลูกสูบ
และทําการวัดคาสูงสุดที่วัดเขาไปใน
แนวนอน
ขอแนะนํา:
• ฟลเลอรเกจอานไดจากคาความหนา
บนเกจ ดวยความฝดเล็กนอย
แตไมฝดจนติด

1 ฟลเลอรเกจ
2 แหวนลูกสูบ
3 ลูกสูบ

(5/5)

- 70 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การวัดคา
ถาชิ้นสวนแตละสวนที่ติดตั้งในรถยนตไมมี
การทําใหอยูในคากําหนดมาตรฐาน
อาจเกิดเสียงดังผิดปกติ
และเกิดการสึกหรอผิดปกติได
ตามภาพเปนการวัดเกี่ยวกับเรื่องขนาดของ
ชิ้นสวน ขึ้นอยูกับตําแหนงการวัด
โดยการเลือกเครื่องมือวัดใหเหมาะสม
กับชิ้นงาน
• การวัดความเอียงของชิ้นสวน

• การวัดความยาวและความหนา

• การวัดเสนผาศูนยกลางดานในและ
ดานนอก

1 คาความเอียง
2 ความยาว
3 เสนผาศูนยกลางดานนอก
4 เหล็กฉาก
5 สปริงวาลว
6 วาลว
7 เวอรเนียรคาลิปเปอร
8 ไมโครมิเตอร
9 เพลาสงกําลัง

ขอแนะนํา:
แทนวัดระดับ
แทนวัดระดับจะแบนเรียบทําขึ้นจาก
จําพวกทองเหลืองและโดยสวนใหญ
ใชรว มกับไดอัลเกจแทนวัดระดับ
จะวางอยูอยางมั่นคง ดังนั้นมันถูกใช
สําหรับการวัดคามาตรฐาน

1 ตรวจสอบความคดงอ (รันเอาท)
2 ตรวจสอบมุมเอียง
3 แทนวัดระดับ

(1/5)

- 71 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

1. วัดความเอียงของสปริงวาลว
ในการวัดความเอียง วัดมุมของชิ้นสวน
(1)วางสปริงวาลวบนแทนวัดระดับ
(2)นําเหล็กฉากวางทาบกับสปริง
(3)เลือกความหนาของฟลเลอรเกจตาม
คาที่กาํ หนดที่สามารถวัดในตําแหนงที่
มีระยะหางที่เหมาะสมในขณะที่ทาํ การ
หมุนสปริง
ขอแนะนํา:
เมือ่ ทําการวัดดวยฟลเลอรเกจปรากฎ
วาความเอียงมากกวาคาที่กาํ หนดให
เปลีย่ นสปริงใหม

1 แทนวัดระดับ
2 เหล็กฉาก
3 ฟลเลอรเกจ
4 สปริงวาลว

(2/5)

2. การวัดคาความยาวและความหนา
ใชเวอรเนียรคาลิปเปอร หรือ ไมโครมิเตอร
เพื่อวัดความยาวและความหนา
วัดตําแหนงหนาสัมผัสที่มีการเคลื่อนตัว
จุดที่มีการสึกหรอมากที่สุด ถาคาที่วัดได
มีมากกวา 1 คา ใหอานคาที่นอยที่สุด

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
2 แปรงถาน
3 ตําแหนงการวัด (สึกหรอมากที่สุด)
4 สเตเตอร
5 ไมโครมิเตอร
6 ลูกถวยกดวาลว
A ความยาว
B ความหนา

(3/5)

- 72 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

3. การวัดคาเสนผาศูนยกลางภายใน
และภายนอก
โดยทั่วไปแลว ชิ้นสวนจะสึกหรอไมเทากัน
ดังนั้นตองเช็คสวนทีม่ ีการสึกหรอและวัด
คาที่ผิดปกติ ในที่นี้กลาวถึงมุมเรียว
และมุมรี สําหรับในสวนนี้ชิ้นสวนบางชิ้น
ระบุตาํ แหนงของการวัด
(1) เสนผาศูนยกลางภายใน
ใชเวอรเนียรคาลิปเปอร
ไซลินเดอรเกจหรือคาลิปเปอรเกจ
วัดเสนผาศูนยกลางภายในของชิ้นสวน
พิจารณาวามีการสึกหรอผิดปกติหรือไม
วัดชิ้นสวนหลายๆ ตําแหนง
และอานคาที่มากที่สุด
(2)เสนผาศูนยกลางภายนอก
ใชเวอรเนียรคาลิปเปอรหรือไมโครมิเตอร
วัดเสนผาศูนยกลางดานนอกของชิ้นสวน
พิจารณามีการสึกหรอผิดปกติหรือไม
วัดชิ้นสวนหลายๆ
ตําแหนงและอานคาที่นอยที่สุด

1 ไซลินเดอรเกจ
2 ไมโครมิเตอร
A เสนผาศูนยกลางภายใน
B เสนผาศูนยกลางภายนอก

(4/5)

- 73 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

(3)มีลักษณะเปนมุมเทเปอร
การวัดคาเพื่อตรวจเช็คชิ้นสวนใดสวนหนึ่ง
มีการสึกหรอเปนเทเปอรหรือไม
ใหทาํ การวัดคาเสนผาศูนยกลางภายใน 3
ตําแหนงดวยกัน คือ ดานบน สวนกลาง
และดานลาง ตามรูป A,B,C
(4)มีลักษณะเปนวงรี
การวัดคาเพื่อตรวจเช็คชิ้นสวนวาสวนใด
สวนหนึ่งมีการสึกหรอเปนรูปวงรี หรือไม
ใหทาํ การวัดเสนผาศูนยกลางภายใน 2
ตําแหนงดวยกันตามแนวเสนทแยงมุมตาม
รูป a และ b

1 มีลักษณะเปนมุมเทเปอร
2 มีลักษณะเปนวงรี

(5/5)

- 74 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การตรวจสอบความคดงอของเพลา
ถาเพลามีการบิดเบี้ยว
ถูกกระแทกเปนรอยขรุขระจนไมอาจหมุน
เลื่อนไดคลอง
การตรวจสอบ
(1)วางบล็อกรูปตัววี (V)บนแทนระดับ
เพื่อรองรับขอเพลา 2 ขาง
(2)วางชุดไดอัลเกจบนแทนระดับใชปลาย
เข็มจับที่มุมตรงขอตอสวนกลางของ
เพลาใหเหมาะสม
ทําการวัดคาการแกวงตัวของเพลาขณะ
ทําการหมุน a
ขอแนะนํา:
วิธีขั้นตอนการวัดใหดูจากรูปภาพ
• การอานคาการวัดอยางถูกตอง
ใหทาํ การหมุนเพลาอยางชาๆ
• ¶éÒ¤èҢͧ¡ÒÃÇÑ´à»ÅÕÂè ¹ä»ÁÒËÃ×Í¢Öé¹æ
ŧæãËéËÅÕ¡àÅÕ觨ҡÃÙ¹éÓÁѹ¢Í§
¢éÍà¾ÅÒ·Õè·Ó¡ÒÃÇÑ´

1 แทนวัดระดับ
2 ไดอัลเกจ
3 บล็อกรูปตัววี
4 ฐานแมเหล็ก
5 เพลาสงกําลังของเกียร

(1/1)

- 75 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การตรวจสอบความโกงงอ
การโกงตัวของผิวหนาสัมผัสระหวาง
ชิ้นสวนจะทําใหเกิดการรั่วของกาซ
หรือของเหลว

การตรวจสอบ
(1) ใชไมบรรทัดเหล็ก และฟลเลอรเกจ
ตรวจสอบเสื้อสูบตามแนวตั้ง แนวนอน
และตามแนวทะแยงมุมใน 6
ตําแหนงตามรูปที่แสดง
(2) ตรวจเช็ควาความหนาของฟลเลอรเกจ
ไมเกินคากําหนดเมื่อสอดเขาวัดชอง
วางระหวางไมบรรทัดเหล็กกับเสื้อสูบ
คําเตือน:
ถามีความโกงตัวเกินคากําหนด
ใหเปลี่ยนชิ้นสวนที่เกี่ยวของ

1 ไมบรรทัดเหล็ก
2 ฟลเลอรเกจ
3 เสื้อสูบ

(1/1)

แบ็คแลช
แบ็คแล็ช คือ ระยะฟรีในทิศทางการหมุน
เฟองระหวางฟนเฟองแบ็คแลช จะยอมให
เฟองเกียรสามารถหมุนในทิศทางที่
ตองการ ซึ่งจะปองกันจากการติดขัดของ
เฟองเกียรหรือเสียงดังของเฟอง

1 ปกติ
2 มาก
3 นอย

(1/4)

- 76 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

1. การวัดระยะแบ็คแลช
เมื่อทําการวัดระยะแบ็คแลชจะตองให
ชิ้นสวนหนึ่งอยูกับที่และใหอีกชิ้นสวน
ขยับตัว วัดระยะแบ็คแลชประมาณ 3
ตําแหนงขึ้นไป

• เฟองขางของชุดเฟองทาย
(1)ติดตั้งไดอัลเกจเขากับเสื้อเฟองทาย
และจัดตําแหนงเข็มไดอัลเกจเพื่อทํา
การวัดเขาที่ฟนเฟองขาง
(2)กดเฟองดอกจอกที่เสื้อเฟองทาย
ขยับหมุนเฟองขางในทิศทางเปน
วงกลมเพื่อจัดระยะแบ็คแลชของ
เฟองขาง และเฟองดอกจอก

1 ไดอัลเกจ
2 ฐานแมเหล็ก
3 เฟองขาง
4 เฟองพิเนียน

• เฟองบายศรีเฟองทายหลัง
(1)ติดตั้งไดอัลเกจเขากับเสื้อเฟองทาย
และปรับปลายเข็มไดอัลเกจใหสัมผัส
กับเฟองบายศรี
(2)จับเฟองเดือยหมูและขยับหมุนเฟอง
บายศรีในทิศทางวงกลมเพื่อวัดระยะ
แบ็คแลชเฟองบายศรีและเฟองเดือยหมู

1 ไดอัลเกจ
2 ฐานแมเหล็ก
3 เฟองเดือยหมู
4 เฟองบายศรี
5 เฟองทายหลัง

(2/4)

- 77 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

2. ปรับตั้งระยะแบ็คแล็ช
การปรับระยะแบ็คแลชมี 2 วิธี
• ปรับตั้งดวยแผนชิม
(ในเสื้อดานเฟองขาง)
ความหนาของแผนชิมของเฟองขางมีหลาย
ชนิด ถามีการเปลี่ยนจะทําใหระยะ
แบ็คแลชเปลี่ยนแปลง
(1)ใชไดอัลเกจวัดระยะแบ็คแลชของ
เฟองขาง
(2)เมื่อปรับตั้งระยะแบ็คแลชไดคาที่
ตองการถอดเฟองขางเฟองทายเพื่อ
1 ไดอัลเกจ 2 ฐานแมเหล็ก เลือกแผนชิมใหม
3 เสื้อเฟองทาย 4 เฟองขาง
5 เฟองพิเนียน 6 แผนชิม จ (3)เลือกแผนชิมตามขนาดที่ตองการ
A คาแบ็คแลชนอย B คาแบ็คแลชมาก (4)ประกอบเสื้อเฟองทาย
(5)วัดคาระยะแบ็คแลชและปรับหา
คาความหนาของแผนชิมหลายๆ
ครัง้ จนกระทั่งไดคาแผนชิมตามที่
ตองการ
ขอแนะนํา:
• การวัดระยะแบ็คแลชเฟองขางจะมี
แผนชิมหลายขนาด ดังนั้นในการหา
คาแผนชิมจะตองทําการปรับโดยการ
ถอด ประกอบหลายๆครั้งตามที่
ตองการ
• ถาแผนชิมหนาระยะแบ็คแลชจะนอย
และถาแผนชิมบางระยะแบ็คแลชจะ
เพิ่มขึ้น
(3/4)

- 78 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ปรับตั้งโดยใชนัตปรับตั้ง
(เฟองบายศรีและเฟองเดือยหมู
เฟองทายหลัง)
เลื่อนเสื้อเฟองทายโดยการหมุนเฟอง
บายศรีซาย-ขวาและขันนัตปรับตั้ง
ระยะแบ็คแลช
ขอแนะนํา:
• ปรับพรีโหลดลูกปนของลูกปนดานขาง
ลวงหนา ซึ่งจะมีการเปลี่ยนคา
พรีโหลดลูกปนดานขาง
• หมุนนัตปรับตั้งเขาซาย-ขวาใหเทาๆ
กันในระหวางทําขั้นตอนนี้จะตองหมุน
ดานหนึ่งแลวคลายดานหนึ่ง

1 นัตปรับตั้ง
2 เฟองบายศรี
3 เฟองเดือยหมู
4 เสื้อเฟองทาย
5 ไดอัลเกจ

(4/4)

พรีโหลด
พรีโหลดคือการปรับตั้งความตึงของลูกปน
ในสภาวะที่รับภาระหรือในขณะที่ไมมีภาระ
จุดประสงคของการปรับพรีโหลด
คือการปองกันการติดขัดของลูกปน
ซึ่งจะชวยผอนแรงกระชากของลูกปนที่จะ
กระทําตอเพลา
โดยทั่วไปในตําแหนงที่เกิดแรงกระทํามาก
จะใชลกู ปนชนิดเทเปอร
ซึ่งแรงทีก่ ระทําตอลูกปนจะไปดันแผนประ
กับลูกปนดานนอก

1 แบริ่งแบบเทเปอร
2 แผนประกับลูกปนดานนอก
3 แผนประกับลูกปนดานใน

(1/7)

- 79 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

1. วิธีการวัด
มีวิธีการอยู 2 แบบสําหรับการวัดพรีโหลด
• วัดเมื่อเริ่มมีแรงบิด
วัดแรงบิดเมื่อชิ้นสวนเริ่มหมุนแรงบิด
เริ่มตนจะมากกวาการเลือ่ นของแรงบิด
ปกติ

1 ประแจวัดแรงบิด
2 หนาแปลนเฟองทาย
3 เพลาเฟองเดือยหมู

• วัดโดยการใชตาชั่งสปริง
วัดแรงบิดของชิ้นสวนทีม่ ีการหมุน
(1)กอนปรับพรีโหลดหมุนหรือดึงตาชั่ง
สปริงหลายๆ ครั้งเพื่อทําการวัด
(2)วัดคาพรีโหลดดวยประแจวัดแรงบิด
หรือตาชั่งสปริง

1 ตาชั่งสปริง
2 ดุมลอ

(2/7)

2. วิธีการปรับตั้ง
วิธีการปรับตั้งพรีโหลดมี 3 วิธี

A ปรับตั้งดวยแผนชิม
B ปรับตั้งดวยนัตปรับตัง้
C ปรับตั้งดวยสเปเซอร

1 แผนชิม
2 นัตปรับตั้ง
3 สเปเซอร

(3/7)

- 80 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ปรับตั้งดวยแผนชิม
(ลูกปนขางเฟองทายของรถขับ
เคลื่อนลอหนา)
ปรับความตึงของลูกปนโดยเปลีย่ นขนาด
แผนชิมของลูกปนขาง
(1)ประกอบเสื้อเฟองทาย
(2)หมุนชุดเฟองทายตามเข็มหรือทวนเข็ม
นาฬิกาจนลูกปนมีคาความตึงพอดี
(3)วัดพรีโหลด
(4)ถาพรีโหลดไมอยูในคากําหนดปรับ
1 เสื้อเฟองทาย คาพรีโหลดโดยการเปลีย่ นขนาดความ
2 เสื้อเกียร หนาของแผนชิม
3 เสื้อเกียร ขอแนะนํา:
4 แผนชิม • การปรับพรีโหลดโดยการเปลีย ่ นแผน
5 ประแจวัดคาแรงบิด ชิมดานหลังของลูกปนขางการเปลีย่ น
แผนชิมจะตองทดลองปรับหลายๆ
ครั้งถอดประกอบชุดเฟองทายหลายๆ
ครั้งจะไดคาตามที่ตองการ
• เมื่อทําการเปลี่ยนแผนชิมใชแผนชิม
ใหไดคาความหนาตามที่ตองการ
• ถาใชแผนชิมหนาคาพรีโหลดจะเพิ่ม
ขึ้นในทางกลับกันถาใชแผนชิมบางคา
พรีโหลดจะลดลง
(4/7)

- 81 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ปรับตั้งโดยใชนัตปรับตั้ง
(ลูกปนขางเฟองทายของรถขับ
เคลื่อนลอหลัง)
ปรับตั้งโดยการใชนัตปรับตั้ง
(1)วางไดอัลเกจใสดานหลังของนัตปรับตั้ง
ที่ดานขวาของเฟองบายศรี
(2)ขันนัตปรับตั้งเขาหาเฟองบายศรี
จนกระทั่งเข็มไดอัลเกจเริ่มกระดิก
(ตําแหนงพรีโหลดเปนศูนย)
(3)จากพรีโหลดเปนศูนยขันนัตปรับตั้ง
ดานเฟองเดือยหมูเขาไปอีก 1 ถึง 1.5
1 ฐานแมเหล็ก เกลียว และเพิ่มพรีโหลดลูกปนขาง
2 ไดอัลเกจ
3 นัตปรับตั้ง (4)วัดคาพรีโหลด
4 ริงเกียร (5)ปรับพรีโหลดโดยหมุนนัตปรับตั้ง
5 1 ถึง 1.5 นัต (ขันนัตปรับตัง้ ) เพื่อที่จะวัด จนไดคาทีก่ าํ หนด
6 ประแจวัดแรงบิด
ขอแนะนํา:
7 หนาแปลนเฟองทาย
• ถาขันนัตปรับตั้งมากเกินไป
8 แบริ่งแบบเทเปอร
คาพรีโหลดจะเพิ่มขึ้นถาขันนัต
ปรับตั้งนอยไป คาพรีโหลดลดลง
• ในการปรับตั้งพรีโหลดชนิดนี้
การวัดพรีโหลดดานใดดานหนึ่งเปน
เรื่องยากดังนั้นการวัดตองวัดพรีโหลด
รวมที่กระทําตอเฟองเดือยหมูและ
ลูกปนขาง
(5/7)

- 82 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• การปรับตั้งโดยใชนัตปรับตั้ง
(ลูกปนดุมลอ)
การปรับตั้งประเภทนี้ลูกปนจะเปนชนิด
เทเปอรของดุมลอ
การปรับพรีโหลดโดยใชการขันนัตในการ
ปรับตั้ง
(1)ขันนัตปรับตั้งใหไดแรงบิดตามคาที่
กําหนด
(2)หมุนดุมเพลาลอหนาหลายๆ ครั้ง
จนกระทั่งลูกปนรูสึกตึงมือ
(3)คลายนัตปรับตั้งจนสามารถหมุนดวย
มือได
(4)ปรับพรีโหลดในขณะที่ขันนัตปรับตั้ง
ขอแนะนํา:
ถาขันนัตปรับตั้งมากเกินไปคาพรีโหลด
จะเพิ่มขึ้น ถาขันนัตปรับตั้งนอยไป
คาพรีโหลดลดลง

1 ดุมลอ
2 ประแจวัดคาแรงบิด
3 ตาชั่งสปริง

(6/7)

- 83 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

• ปรับตั้งดวยปลอกรอง
(พิเนียนเกียรของเฟองทายหลัง
ของรถขับเคลื่อนลอหลัง)
ปรับตั้งโหลดทีพ่ ยายามกระทํากับแบริ่งโดย
การขันนัตปลอกยุบ
ในกรณีของไฮลักซ LN 19#
(1)ขันนัตยึดหนาแปลนใหไดคาแรงขันที่
กําหนด
คาแรงขันที่กาํ หนด: 108 นิวตัน-เมตร
(1,100 กก.-ซม., 80 ฟุต-ปอนด)
1 ประแจวัดคาแรงบิด (2)วัดคาพรีโหลด
2 หนาแปลนเฟองทาย (3)ถาคาพรีโหลดไมเพียงพอใหขันนัต
3 ชองวางใหยุบตัว เขาไปดวยแรงขันเพิ่มขึ้นครั้งละ 13
4 นัต นิวตัน-เมตร (130 กก.-ซม, 9 ฟุต-
5 ปลอกแบริ่ง ปอนด) แลวทําการวัดคาพรีโหลด
ทําการปรับไปเรื่อยๆจนกระทัง่ คา
พรีโหลดไดคาตามกําหนด
(4)เมื่อทําการขันนัตจนไดคาแรงขันมาก
กวาคากําหนดแตถาคาพรีโหลดยังไม
ไดตามคาที่กาํ หนดใหเปลี่ยนปลอกยุบ
แลวทําการปรับตัง้ ใหม
คาแรงขันสูงสุด: 343 นิวตัน-เมตร
(3,500 กก.-ซม., 253 ฟุต-ปอนด)
ขอแนะนํา:
ปลอกยุบไมสามารถนํากลับมาใชไดอีก
(7/7)

- 84 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การตรวจสอบความเสียหาย/แตกราว
ตรวจสอบรอยแตกราวและความเสียหายที่
เสื้อสูบกับฝาสูบ และสวนอื่นๆ
โดยการตรวจสอบดวยสายตา
หรือใชสเปรยตรวจสอบรอยแตกราว
และรอยรั่วที่มีขนาดเล็กทีไ่ มสามารถตรวจ
ดวยสายตาได
การตรวจสอบโดยใชสเปรย
การตรวจสอบนี้ใชตรวจสอบการรั่ว
และการแตกราวของหนาสัมผัส
โดยมีสเปรยที่ใชอยู 3 ชนิด:
สเปรยฉีดเขาตามรอยแตกราวมีสีแดง
สเปรยทาํ ความสะอาดมีสีนา้ํ เงิน
และสเปรยเรงปฎิกิริยามีสีขาว
1.ทําความสะอาดบริเวณที่จะตรวจสอบ
2.ฉีดสเปรยและปลอยใหผิวสัมผัสแหง
(สีแดง)
3.ทําความสะอาดโดยฉีดสเปรย
(สีน้ําเงิน)
4.ฉีดสเปรยเรงปฎิกิริยา (สีขาว)
5.รอยแตกราวตางๆจะปรากฎขึ้นเปน
สีแดง

1 ฝาสูบ

(1/1)

- 85 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การทําความสะอาด/การลาง
1.วัตถุประสงคของการทําความสะอาด/
การลาง
(1)นําเอาเขมาคารบอนและอื่นๆที่สะสม
อยูออกจากชิ้นสวน เพื่อการทําหนาที่
ไดอยางสมบูรณ และมีประสิทธิภาพ
(2)การนําเอาสิ่งสกปรกออกเพื่อความ
แมนยําในการวัด และการตรวจสอบ
(3)การนําเอาสิ่งแปลกปลอมออกเพื่อ
ประกอบชิ้นสวนไดอยางแมนยําและ
ถูกตอง

1 วาลว
2 ไดอัลเกจ
3 หนาแปลนเฟองทาย
4 เพลาขอเหวี่ยง
5 แบริ่งประกับเพลาขอเหวี่ยงตัวลาง
6 ประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง

(1/6)

2. การใชมีดขูดประเก็น, แปรงลวด
และหินขัด
ถามีเขมาคารบอนติดแนนที่ชิ้นสวน
ใหขูดดวยมีดขูดประเก็น และทําความ
สะอาดดวยแปรงลวด และหินขัด
คําเตือน:
• การใชแปรงลวดจะทําใหชิ้นสวนทีเ่ ปน
พลาสติกเกิดความเสียหายเลือกแปรง
ใหเหมาะสมตามวัสดุที่ใชทาํ ชิ้นสวน
• ระมัดระวังไมใหหนาสัมผัสที่มีการติด
แนนของสิ่งสกปรกเกิดเสียรูปและ
เสียหายได

1 มีดขูดปะเก็น
2 หินขัด
3 แปรงลวด
4 ฝาสูบ
5 กานสูบ

(2/6)

- 86 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

ขอมูลอางอิง:
วาลวของเครื่องยนต
ในวาลวไอดี และวาลวไอเสีย
มีคราบเขมาคารบอนสะสมอยูมากบริเวณ
หลังวาลวนําออกโดยใชแทนสวานเจาะ
และอื่นๆ
1. ประยุกตใชอุปกรณที่จะชวยนําเขมา
ออกจากวาลว
2. ยึดจับวาลวเขากับแทนสวานเจาะใชมีด
ขูดปะเก็นหรือกระดาษทราย เพื่อนํา
เขมาคารบอนที่สะสมออกขณะสวาน
ทํางานหมุน

1 วาลว
2 กระดาษทราย
3 แทนสวานเจาะ

(1/1)

3. การใชน้ํามันลาง
ใชแปรง และอื่นๆทําความสะอาด
ดวยน้าํ มันลาง
คําเตือน:
• น้าํ มันกาดหรือน้าํ มันเบนซินจะเปน
สาเหตุใหชิ้นสวนที่เปนยางหรือ
พลาสติกเสื่อมสภาพ ดังนั้นไมควรใช
กับชิ้นสวนเหลานี้
• หลังจากทําความสะอาดดวยน้า ํ มัน
กาดหรือน้าํ มันเบนซินใหลางดวยน้าํ
เสมอ เมือ่ ชิ้นสวนมีความชื้นและเกิด
สนิมจะปองกันดวยน้าํ มันหลอลืน่
ซึ่งจะใชนา้ํ มันหลอลื่นของเครื่องยนต
ชโลมที่ชิ้นสวน

1 น้าํ มันกาด
2 แปรงลวด
3 ฝาสูบ

(3/6)

- 87 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

4. การใชลมแรงดันสูง
ใชปนลมเปาสิ่งสกปรก, ความชื้นและ
น้าํ มันออกดวยแรงดันลมสูง
คําเตือน:
ขณะใชปนลมใหกดหัวเปาลมใหตา่ํ ลง
เพราะวาฝุนที่กระจายออกไปสามารถ
ทําใหเกิดความสกปรกหรือเปน
อันตรายตอสุขภาพได

1 ปนลม
2 ดุมเกียร
3 ความชื้น

(4/6)

5. ลางจาระบีหรือกาวที่หนาสัมผัส
หลังจากการลางมีคราบมันที่หนาสัมผัส
ใหทาํ ความสะอาดดวยน้าํ มันเบนซินและ
อื่นๆ
คําเตือน:
ถามีนา้ํ มันหรือจาระบีอยูบนบริเวณใส
ปะเก็นเหลว ซีลเลอร ปะเก็น และอื่นๆ
จะทําใหนา้ํ ยาเหลานี้ไมสามารถยึด
เกาะติดไดซึ่งเปนสาเหตุการรั่วของ
น้าํ มันได

1 ผา
2 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
3 น้าํ มันเบนซิน

(5/6)

- 88 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

6. การใชสเปรยทําความสะอาดผาเบรก
ฝุนจากผาเบรกจะเปนอันตรายตอสุขภาพ
ดังนั้นการใชสเปรยทาํ ความสะอาดผาเบรก
โดยเฉพาะจะไมทาํ ใหฝุนเบรกกระจายไป
รอบๆ

1 ฝกเบรก
2 สเปรยทาํ ความสะอาดผาเบรก

คําเตือน:
การทําความสะอาดชิ้นสวนเบรก
(ยกเวนสําหรับผาเบรก ฝกเบรก)
หามใชนา้ํ มันเบรกและน้าํ มันอื่นๆ
ลางเชนน้าํ มันกาด หรือน้าํ มันเบนซิน
ควรใชแตนา้ํ มันเบรกเทานั้น

เมือ่ ใชนา้ํ มันลางจะทําใหชิ้นสวนที่เปน


ยางเกิดความเสียหายเชน ยางลูกถวย
น้าํ มันเบรก และมีผลทําให
ประสิทธิภาพในการเบรกลดลง

1 การลางดวยเบนซินหรือน้าํ มันกาด
2 แมปมเบรก

(6/6)

- 89 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

การตรวจสอบดวยสายตา
ตรวจเช็คความผิดปกติหรือความเสียหาย
ของชิ้นสวนดวยสายตา, ถาตรวจเช็คดวย
สายตาพบวามีความเสียหายเกิดขึ้น
ใหตรวจเช็คความผิดปกติของชิ้นสวนที่
เกี่ยวของของชิ้นสวนที่เสียหายดวยและทํา
การเปลีย่ นถาจําเปน การตรวจเช็คดวย
สายตาจะมีการตรวจสอบตามขั้นตอน
ขางลาง
1. การทําความสะอาด/การลาง
เมื่อสิ่งสกปรกหรือเขมาคารบอนถูกสะสม
อยูบนชิ้นสวน ใหทาํ ความสะอาดเพื่อที่จะ
ทําใหตรวจเช็คชิ้นสวนไดอยางถูกตอง
2. ตรวจเช็ค
(1)ตรวจเช็คบริเวณที่เกิดความผิดปกติ
ของการเกิดเขมาหรือตําแหนงอื่นๆ
ทั่วไป
(2)ตรวจเช็คการเปลีย่ นรูปรางแตกราว
หรือเสียหาย
(3)ตรวจเช็คความสึกหรอโดยการสังเกต
(4)ตรวจสอบการเปลี่ยนสีของบริเวณ
ที่เปนโลหะเนื่องจากการเผาไหม

(1/1)

- 90 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

คําถาม-1
ขอความใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับปะเก็นหรือปะเก็นเหลวไดถูกตอง?
1. ปะเก็นเหลวจะทําหนาที่ปองกันการรั่วของน้าํ มันถาผิวหนาสัมผัสมีรอยขูดขีดทําใหเกิดขอบกพรองจะทําให
น้าํ มันเกิดการรั่วได ดังนั้นเมื่อมีการถอดชิ้นสวน จะตองระวังอยางมากไมใหผิวหนาสัมผัสเปนรอย
2. สลักกันเลื่อนหนาสัมผัสระหวาง เสื้อสูบกับอางน้าํ มันเครื่องติดกันอยูดวยประเก็นเหลว ใชเครือ่ งมือตัดซีล
ตัดจากหนาสัมผัสดานขางเพื่อถอดอางน้าํ มันเครื่อง ในลักษณะนี้หนาสัมผัสอางน้าํ มันเครื่องจะเสียรูป
ดังนั้นตองทําใหหนาสัมผัสเรียบเสมอกอนโดยการซอมดวยมือ
3. เมือ่ ทําการทาปะเก็นเหลว แมวามีเศษวัตถุในตําแหนงที่ทาซีลแตจะไมมีผลตอประสิทธิภาพการเกาะติด
ของประเก็นเหลวและจะไมเกิดปญหาน้าํ มันเครื่องรั่วซึม
4. สําหรับชิ้นสวนเชน ฝาครอบเกียรจงตีใหหนักดวยคอนเพื่อที่จะกระแทกใหการยึดติดของประเก็นเหลว
ตอชิ้นงานคลายออกจากนั้นจึงถอดออก

คําถาม-2
ตามรายการขางลางอธิบายเกี่ยวกับชิ้นสวนที่มกี ารอัดประกอบใหเลือกหัวขอที่อธิบายไดถูกตองที่สุด
1.ชิ้นสวนที่ประกอบโดยใชเครื่องมือพิเศษ เชน พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
ถาเกิดการติดขัดในระหวางใชเครื่องมือพิเศษ หามใชแรงขันตอ และตรวจสอบหาสาเหตุการติดขัด
2.ชิ้นสวนที่ประกอบโดยใชเครื่องมือพิเศษเชนพูลเลยเพลาขอเหวี่ยงถาแรงในการอัดเขาสูงเกินไปในระหวางติดตั้ง
ใหใชคอนพลาสติกชวยเคาะบนชิ้นสวนหลายๆจุด
3.สําหรับชิ้นสวนทีป่ ระกอบโดยใชเครื่องอัดถาแรงในการอัดมากกวา 10 กิโลกรัมใหหยุด และตรวจสอบหาสาเหตุ
4. เมื่อทําการถอดชิ้นสวนโดยใชตัวดูด ถาขอเกี่ยวติดตั้งในลักษณะเอียง จะไมสามารถดูดชิ้นงานออกมาได

คําถาม-3
ตามรายการขางลางเปนรายละเอียดเกี่ยวกับแบตเตอรี่ ใหเลือกขอที่อธิบายไดเหมาะสมที่สุด
1. เมือ่ ทําการถอดอุปกรณไฟฟาใหปลดขั้วบวก (+) แบตเตอรี่ กอนจะเริม่ ตนถอดอุปกรณ
2. การถอดขั้วแบตเตอรี่จะทําใหขอมูลตางๆ ในหนวยความจําถูกลบออก เชนสถานีวิทยุที่เลือกไว
หรือรหัสวิเคราะหปญหาซึ่งมันเปนสิ่งจําเปนที่จะตองทําการบันทึกขอมูลตางๆ กอนปลดขั้วแบตเตอรี่
3. กอนจะถอดแบตเตอรี่ออกจากรถยนตใหคายประจุไฟฟาออกจากแบตเตอรี่ใหหมดกอน
4. เมื่อทําการถอดขั้วแบตเตอรี่ แหลงจายไฟจะถูกตัด ดังนั้นจะทําใหสตารทเครื่องยาวนานและเครือ่ งยนตไมติด
อาการดังกลาวจะไมเกิดขึ้น ถาสวิตชจุดระเบิดอยูตาํ แหนง ON ขณะทําการถอดขั้วแบตเตอรี่

- 91 -
ชางเทคนิคระดับสูง - พื้นฐานการซอมใหญ ทักษะพืน้ ฐาน

คําถาม-4
ขอใดตามหัวขอดานลางที่กลาวถึงการตรวจสอบความโกงงอของเสื้อสูบไดถูกตอง?
1. เมือ่ พบความโกงงอบนหนาสัมผัสระหวางเสื้อสูบและฝาสูบ เพื่อปองกันน้าํ มันเครือ่ งและกําลังอัดรัว่
ตองใชซีลกันรัว่ อยางถูกตอง
2. ใชไมบรรทัดเหล็กและฟลเลอรเกจ ตรวจสอบ 2 ตําแหนงดวยกัน ในแนวตั้งหรือแนวนอน
3. การตรวจสอบความโกงงอโดยยืนยันจากคากําหนดที่ไมสามารถสอดฟลเลอรเกจเขาไประหวางเสื้อสูบและ
ไมบรรทัดเหล็กได
4. เมื่อคาความโกงงอเกินคาที่กาํ หนดทําการเจียรปาดเสื้อสูบเพื่อทําใหอยูในคาที่ถูกตอง

คําถาม-5
ขอความใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับการทําความสะอาดและการลาง เลือกคํากลาวทีเ่ หมาะสมที่สุด

1. เมือ่ นํา น้าํ มันกาดหรือน้าํ มันเบนซินมาทําการลางคราบน้าํ มันตางๆมันเปนสิ่งที่เหมาะสมสําหรับ


ทําความสะอาดชิ้นสวนที่เปนยางหรือพลาสติก และอื่นๆ
2. เมื่อมีการลางโดยใชแปรง การเปลีย่ นชนิดของแปรงขึ้นอยูกับวัสดุที่นาํ มาทําชิ้นสวน
3. จุดประสงคหลักของการลางและทําความสะอาดชิ้นสวนคือ เพื่อลดเวลาในการถอดแยกชิ้นสวน
4. แมวาถามีนา้ํ มันหรือจาระบีติดอยูบนหนาสัมผัสชิ้นสวน ไมจาํ เปนตองเช็ดออกเพราะวา
น้าํ ยาทาปะเก็น,น้าํ ยากันรั่ว, ปะเก็น และอื่นๆ จะมีการดูดซับที่ดี

- 92 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอร จงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ แบบทดสอบ

คําถาม-1 ขอความขางลางขอใดอธิบายเกี่ยวกับขอควรระวังเบื้องตนในการถอดแยกชิ้นสวนอยางถูกตอง ?

ก. ในการทําตามขั้นตอนอยางมีประสิทธิภาพการถอดแยกชิ้นสวนทุกชิ้นจะตองทําแคครั้งเดียวและตรวจสอบ
ชิ้นสวนทั้งหมดพรอมๆ กัน
ข. ชิ้นสวนทุกชิ้นจะมีเครื่องหมายทีแ่ สดงทิศทาง และตําแหนงในการประกอบ
ดังนั้นการประกอบก็สามารถที่จะทําไดงาย
ค. เมื่อมีการจัดประเภทชิ้นสวนทั้งหมดเปนประเภทตางๆ และเก็บอยางเปนระเบียบเมือ่ มีการถอดแยก
จะทําใหสามารถประกอบไดอยางถูกตอง
ในเวลาที่มีการประกอบ จะไมเกิดปญหาแมวามีการรวมกันของชิ้นสวนที่เปลี่ยนแปลง
(ตัวอยาง เชน เมื่อมีการถอดวาลว จัดประเภทลูกถวยวาลวใหอยูในชุดวางเปนกลุมเดียวกัน
และสปริงวาลวอยูในชุดวางกลุมเดียวกันจัดเก็บไวเปนกลุม ๆ ไป)
ง. ในทุกๆ ครั้งที่มีการถอดชิ้นสวนแตละชิ้น ตรวจสอบสภาพในการประกอบ สิ่งสกปรก การสึกหรอ
ความบกพรอง และการแตกเสียหาย และอื่นๆ

คําถาม-2 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงเกี่ยวกับการทําความสะอาดชิ้นสวนอะไหลที่ถอดแยกออกไดอยางถูกตอง?

ก. เพราะวาการทําความสะอาดชิ้นสวนอะไหลที่มีการถอดแยกชิ้นสวนอะไหลจะไดรับความเสียหาย,
เพราะฉะนั้นไมตองทําความสะอาดชิ้นสวนอื่นๆ มากกวาที่มีการระบุไว
ข. เมื่อทําความสะอาดชิ้นสวนที่มีการถอดแยก เมื่อปฎิบัติพิจารณาดูวาชิ้นสวนเหลานั้นอยูในสภาพดีหรือไม
มันไมมีความจําเปนที่จะตองทําความสะอาดถามีสิ่งแปลกปลอมติดอยูเล็กนอยเทานั้น
ค. ถาเราไมสนใจการทําความสะอาดชิ้นสวนที่มีการถอดแยกทําใหยากตอการพิจารณาวาชิ้นสวนอยูในสภาพดี
หรือไมเปนสาเหตุใหทานไมพบปญหาและพิสูจนทราบไมได
ดังนั้นสิ่งแปลกปลอมสามารถหลุดเขาไปในขณะที่ทาํ การประกอบกลับ ซึ่งมีผลกับสมรรถนะ
สําหรับเหตุผลเหลานี้ ตองแนใจทําความสะอาดชิ้นสวนไดอยางสะอาดเรียบรอย
ง. สําหรับการทําความสะอาดชิ้นสวนที่มีการถอดแยกใหทาํ ความสะอาดชิ้นสวน สวนที่ตองการวัดเทานั้น
คือตําแหนงซึ่งนําเครื่องมือมาสัมผัสตรงที่ทาํ ความสะอาดไวมนั ไมมคี วามจําเปนที่จะตองทําความสะอาด
ชิ้นสวนใหสมบูรณทั้งหมดเพราะวามันสามารถที่จะมีการพิจารณาวามีสภาพดีอยูหรือไม

คําถาม-3 ขอความใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการถอดและการติดตั้งโบลทไดถูกตอง?

ก. เมือ่ ทําการขันหรือคลายโบลทจาํ นวนมาก ถาไมปฎิบัติตามขั้นตอนที่กาํ หนดอาจเปนสาเหตุทาํ ใหโบลทคดงอ


หรือบิดตัวได
ข. เมื่อถอดชิ้นสวนของเพลา คลายโบลทจากจุดศูนยกลางไปยังปลายของชิ้นสวน และถอดชิ้นสวนออก
ซึ่งจะไมทาํ ใหชิ้นสวนหรือแบริ่งเกิดความเสียหาย
ค. เมื่อชิ้นสวนถูกติดตั้งบนเพลาที่มีการหมุนดวยโบลท ในการคลายหรือขันโบลท
จะทําใหเพลาหมุนตามไปดวยกัน ดังนั้นตองมีคนหนึ่งจับเพลาไวดว ยมือ และอีกคนทําการคลายหรือขันโบลท
ง. เมื่อมีการขันหรือคลายโบลทไปรอบๆ เสนรอบวง เชน บนลอชวยแรง คลายหรือขันใหเทาๆ
กันตามเข็มนาฬิกาในแตละครั้ง

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ แบบทดสอบ

คําถาม-4 ขอความใดตอไปนี้กลาวถึงโบลท ซึ่งมีการทาน้าํ ยากันคลาย ขอความใดตอไปนี้กลาวไดถูกตอง ?

ก. เมือ่ ทําการถอดโบลทที่มีนา้ํ ยากันคลายออกจะไมสามารถนํากลับมาใชไดอีกจะตองใชโบลทตัวใหม


ข. น้าํ ยากันคลายที่ทาไวที่โบลทจะเปนตัวปองกันไมใหโบลทคลายตัวออก
ดังนั้นใหขันโบลทดวยแรงขันที่นอยกวาคากําหนด
ค. เมื่อทําการขันโบลททที่ าน้าํ ยากันคลาย ใหทาน้าํ ยากันคลายใหมทับของเกาไดเลยเพื่อใหการยึดแนนยิ่งขึ้น
ง. น้าํ ยากันคลายจะมีอยูดวยกันหลายประเภทใหเลือกใชใหเหมาะสมกับตําแหนงที่จะทาน้าํ ยา และอืน่ ๆ

คําถาม-5 ขอใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับการถอดโบลทพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง (ชิ้นสวนที่มีการหมุน)


เลือกขอความที่เหมาะสมทีส่ ุด?

ก. การทําการคลายโบลทซึ่งหมุนตามไปกับพูลเลย
ซึ่งคนหนึ่งจะตองจับยึดพูลเลยไวดวยมือและอีกคนหนึ่งทําการคลายโบลทออก
ข. การทําการคลายโบลทซึ่งหมุนตามไปกับพูลเลยซึ่งจะตองสอดไมแข็งที่เปนงามหรืออุปกรณที่มีลักษณะ
เหมือนกันเขาไประหวางพูลเลยกับเครื่องยนตเพื่อจับยึดพูลเลย
ค. การทําการคลายโบลท ซึ่งหมุนตามไปกับพูลเลย ซึ่งจะตองจับยึดพูลเลยดวยเครื่องมือพิเศษ (SST)
เพื่อทําการคลายโบลท
ง. การทําการคลายโบลท ซึ่งหมุนตามไปกับพูลเลยซึ่งจะตองจับยึดพูลเลยดวยปากกาจับชิ้นงาน
และทําการคลายโบลทออก

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ แบบทดสอบ

คําถาม-6 ขอใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับปลอกกานวาลว เลือกขอความที่เหมาะสมที่สุด?

ก. เมือ่ ปลอกกานวาลวถอดยาก ทําฝาสูบใหเย็นลงจนถึงอุณหภูมิระหวาง -20 ถึง 0 องศาเซลเซียส


ถึงจะทําการถอดไดงาย
ข. เมื่อทําการถอดปลอกกานวาลว ใหทาํ การถอดที่อุณหภูมิหองในพื้นที่ปฏิบัติงาน ระหวาง 20 ถึง 30
องศาเซลเซียส
ค. เมื่อทําการถอดปลอกกานวาลว ทําใหฝาสูบรอนขึ้นที่อุณหภูมิ ระหวาง 80 ถึง 100
องศาเซลเซียสจะทําใหถอดไดงาย
ง. เมือ่ ปลอกกานวาลวทําการถอดยาก ทําฝาสูบรอนขึ้นที่อุณหภูมิ ระหวาง 140 ถึง 160 องศาเซลเซียส
ถึงจะทําการถอดไดงาย

คําถาม-7 ขอความใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับเรื่องนัตล็อคและแผนล็อคนัต เลือกขอความที่เหมาะสมที่สุด?

ก. เมือ่ มีการติดตั้งนัตล็อคของเพลาขับ ตอกรอบๆของนัตล็อคเพื่อที่จะกันไมใหมันถูกถอดออกได


ข. เมื่อถอดนัตล็อคและแผนล็อคนัตตองแนใจในการทําใหรูปรางกลับคืนไดอยางสมบูรณและสามารถนําชิ้นสวน
ซึ่งเสียรูปเล็กนอยกลับมาใช
ค. นัตล็อคและแผนล็อคนัต ใชในการปองกันโบลทและนัตจากการคลายตัว
ง. สําหรับแผนล็อคนัต การพับบางสวนของแผนเพื่อปองกันการคลายตัว มันไมมีความจําเปนที่จะตองพับทั้งแผน

คําถาม-8 ขอความใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับเรื่องทอยางและแคลมปรัด เลือกคํากลาวที่เหมาะสมที่สุด?

ก. ทอยางถูกยึดติดดวยน้าํ ยากันรัว่ และถูกรัดดวยแคลมปรัด ดังนั้นมันไมสามารถหลุดออกได


ข. เมื่อทําการถอดทอยาง หักแคลมปโดยการขยายใหอาออก
ค. เมื่อมีการติดตั้งทอยาง ติดตั้งมันในตําแหนง ซึ่งเปนรอยเดิมและเปนทิศทางเดียวกัน
กอนที่จะมีการถอดออกมา
ง. ทอยางมีการติดตั้งดวยแคลมปรัด ใหตัดในตําแหนงรอยเดิมออกและจากนั้นทําการติดตั้งแคลมปรัดเขาไป

คําถาม-9 ขอความใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับขั้วตอ เลือกขอความที่เหมาะสมทีส่ ุด?

ก. ขั้วตอมีอยูดว ยกันหลายชนิด และวิธีการสําหรับปลดขั้วตอจะทําในลักษณะเดียวกัน


ข. กอนที่จะทําการปลดขั้วตอ ติดปายแสดงตําแหนงการตอจะทําใหงายขณะทําการประกอบ
ค. ถาขั้วตอมีการปลดยาก ใหดึงชุดสายไฟเพื่อปลดขณะกดตําแหนงล็อคออก
ง. เมื่ออุปกรณทางไฟฟาทํางานอยางถูกตองตลอดเวลาในการไหลของกระแส
มันไมจาํ เปนตองใสขั้วตอของอุปกรณทางไฟฟาจนกระทั่งล็อคตลอดการไหลของกระแส

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ แบบทดสอบ

คําถาม-10 ขอความใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับการบัดกรี เลือกขอความที่เหมาะสมที่สุด?


ก. เมือ่ ทําการบัดกรี ทาจาระบีในตําแหนงทีม่ ีการบัดกรี
ข. หลังการใชหัวแรงบัดกรี ทําความสะอาดดวยน้าํ และทําใหแหงโดยเก็บไวในที่รม
ค. ในขณะที่ใชหัวแรงบัดกรี เมือ่ ทําความสะอาดปลายหัวแรงที่มีตะกั่วเกาะมากเกินไป
ใหใชฟองน้าํ ดูดซับทําความสะอาด
ง. ในการทําความสะอาดปลายหัวแรงบัดกรีที่มตี ะกั่วเกาะติดมากเกินไป ใหใชกระดาษทรายขัดจนกระทั่งมันวาว
คําถาม-11 ใหเลือกหัวขอที่กลาวเกี่ยวกับระยะหางระหวางชิ้นสวนไดถูกตอง
ก. เมือ่ ทําการวัดระยะรุนของเกียรโดยใชไดอัลเกจ
จะตองจัดใหปลายเข็มวัดของไดอัลเกจสัมผัสกับเฟองที่จะทําการวัดเปนมุม 45 องศา
ข. เมื่อทําการวัดชองวางน้าํ มันของเพลาขอเหวี่ยงและกานสูบ โดยใชเกจอัด
ถาระยะชองวางน้าํ มันนอยจะทําใหพลาสติกเกจมีความแบนนอย
ค. ระยะชองวางที่วัดไดจะไมนอยกวาคามาตรฐาน ดังนั้นถาวัดไดคานอยกวาคากําหนดแสดงวามีการวัดผิดพลาด
ง. เมื่อระยะชองวางเกินคามาตรฐานสูงสุด ใหวัดชิ้นสวนทั้งสองแลวนําคาเปรียบเทียบกัน
และใหเปลีย่ นชิ้นที่มีคาใกลกับคามาตรฐานสูงสุด
คําถาม-12 ใหเลือกหัวขอที่กลาวเกี่ยวกับการวัดขนาดไดถูกตอง

ก. เมือ่ ทําการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางภายในของชิ้นสวน ใหวัดหลายๆ ตําแหนงและคํานวณคาเฉลีย่


เพื่อหาคาการสึกหรอของชิ้นสวน
ข. เมื่อทําการตรวจเช็ควาสปริงมีความเอียงถูกตองหรือไมบนแทนระดับ ซึ่งจะทําการวัดโดยใชเหล็กฉาก,
ไมโครมิเตอรและแทนระดับ
ค. เมื่อทําการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางภายนอกของลูกสูบโดยใชไมโครมิเตอร ใหวัดหลายๆ
ตําแหนงและอานคาที่นอยที่สุด
ง. เมื่อทําการวัดเพื่อตรวจสอบการสึกหรอลักษณะวงรีใหวัดเสนผาศูนยกลางสูงสุดและต่าํ สุดเพียงอยางใด
อยางหนึ่ง

คําถาม-13 ใหเลือกขอความที่กลาวเกี่ยวกับความคดงอของเพลาในชุดเกียรไดถูกตอง ?

ก. เมือ่ เพลาสงกําลังเกิดความคดงอของเพลา จะเกิดสาเหตุการสั่นสะเทือนและการหมุน


และการเลื่อนตัวที่ไมราบเรียบ
ข. เมื่อทําการตรวจสอบความคดงอของเพลาสงกําลัง จะใชวี-บล็อกและไดอัลเกจ และนอกจากนี้
ยังสามารถตรวจสอบบนโตะทํางานที่พื้นไมเรียบไดเชนกัน
ค. ในการวัดจัดใหปลายเข็มวัดของไดอัลเกจสัมผัสกับเพลาสงกําลังเปนมุม 45องศา
ง. ถาทานปดรูนา้ํ มันของเพลาสงกําลังดวยเทป และอืน่ ๆ เพื่อปองกันคาของการวัดเกิดการเปลี่ยนแปลงโดย
รูของน้าํ มัน มันไมจาํ เปนตองหลบหลีกรูเมื่อพิจารณาการวัดดวยปลายของไดอัลเกจ

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง- พื้นฐานการซอมใหญ แบบทดสอบ

คําถาม-14 ขอความใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับระยะแบ็คแล็ชของเฟองขางเฟองทายไดถูกตอง?

ก. เฟองดอกจอกสามารถหมุนไดแมวาจะไมมีระยะแบ็คแล็ช
ข. ระยะแบ็คแล็ชมีไวเพื่อปองกันเฟองดอกจอกติดขัดหรือมีเสียงดังขณะทํางาน
ค. สําหรับการวัดระยะแบ็คแล็ช วัดเฉพาะตําแหนงที่ใชไดอัลเกจ
ง. เมื่อเฟองดอกจอกมีระยะแบ็คแล็ชมาก ใหเปลี่ยนชิมหนาขึ้นหนึ่งขนาดเพื่อทําการปรับตั้ง

คําถาม-15 ขอความขางลางขอใดกลาวเกี่ยวกับพรีโหลดไดถูกตอง?

ก. พรีโหลดคือแรงที่กระทําอยางตอเนื่องตอความแข็งและทิศทางของกําลังที่จะดูดซับแรงดวยลูกปน
ข. การวัดพรีโหลดมี 2 วิธี: วิธีที่ 1 คือการวัดแรงบิดเริ่มตนเมื่อชิ้นสวนเริ่มหมุน
และอีกวิธีหนึ่งคือการวัดแรงบิดเมือ่ ชิ้นสวนหมุน
ค. ชิ้นสวนทั้งหมดซึ่งมีพรีโหลด จะมีวิธีการปรับพรีโหลดวิธีเดียว คือ: เปลี่ยนความหนาของแผนชิม
ง. เมื่อพรีโหลดมาก ในกรณีของการใชนัตปรับตั้ง แรงที่ใชในการขันนัตจะตองออกแรงมากกวาปกติ

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• กรุณาทําแบบทดสอบนี้หลังศึกษาคูมือจบทุกหมวด
• คลิกที่ปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"
• พิมพคาํ ตอบของทานลงในกระดาษคําตอบบนหนาจอ
• หลังตอบครบทุกคําถาม ใหคลิกปุม "แสดงผล" ที่ดานลางของหนาจอ
• จะมีหนาตางใหมปรากฎขึ้น หลังจากปอนขอมูลทีต
่ องการทั้งหมดลงในกระดาษคําตอบ ใหพิมพออกมาแลวสงใหครูฝก

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต แบบทดสอบ

คําถาม-1 ขอความใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับการทํางานสี่จังหวะของเครือ่ งยนตแกสโซลีน?

ก. ระหวางจังหวะดูด วาลวไอดีจะปดและวาลวไอเสียจะเปด
ข. ระหวางจังหวะอัด วาลวไอดีจะปดและวาลวไอเสียจะปด
ค. ระหวางจังหวะระเบิด วาลวไอดีจะเปดและวาลวไอเสียจะปด
ง. ระหวางจังหวะคาย วาลวไอดีจะเปดและวาลวไอเสียจะเปด

คําถาม-2 ขอความใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับสวนประกอบของเครือ่ งยนตแกสโซลีน?

ก. การเคลื่อนทีใ่ นแนวเสนตรงของลูกสูบถูกสงผานกานสูบและถูกเปลีย่ นเปนการเคลื่อนที่เชิงมุมของ


เพลาขอเหวี่ยง
ข. สายพานขับจะถายทอดการเคลื่อนที่เชิงมุมของเพลาลูกเบี้ยวผานพูลเลยเพื่อขับอัลเทอรเนเตอร
ค. โซขับจะถายทอดการเคลือ่ นที่ของเพลาลูกเบี้ยวสูเพลาขอเหวี่ยงโดยผานพูลเลย
ง. ปมน้าํ มันเครื่องถูกขับโดยการหมุนของเพลาขอเหวี่ยงผานทางสายพานขับ

คําถาม-3 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับระบบหลอลืน่ ของเครื่องยนตแกสโซลีน?

ก. ปมน้าํ มันเครื่องถูกขับโดยสายพานเพื่อสงน้าํ มันเครื่องไปยังสวนตางๆ ของเครือ่ งยนต


ข. สวิตชควบคุมแรงดันน้าํ มันจะวัดความเร็วของน้าํ มันเครื่องที่ถูกปม มายังเครื่องยนต
ค. กรองน้าํ มันเครื่องจะมีวาลวระบายเพื่อปองกันการหยุดไหลของน้าํ มันเครื่อง เชน
เนื่องจากกรองน้าํ มันเครื่องอุดตัน เปนตน
ง. กรองหยาบจะติดตั้งที่สวนทายของการไหลเวียนในระบบหลอลื่นเพื่อเปนตัวกรองสิ่งเจือปนที่มี
ขนาดใหญในน้าํ มันเครื่อง

คําถาม-4 ขอความใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับลักษณะของเครื่องยนตดีเซล?

ก. อัตราสวนการอัดของเครือ่ งยนตดเี ซลโดยทั่วไปจะต่าํ กวาเครื่องยนตแกสโซลีน


ข. ที่ความจุกระบอกสูบเทากัน เครื่องยนตดีเซลจะเบากวาเครื่องยนตแกสโซลีน
ค. ระบบหัวฉีดของเครื่องยนตดีเซลจะทํางานโดยใชกลไกเทานั้น ซึง่ ตางจากเครื่องยนตแกสโซลีน
ง. ในเครื่องยนตดีเซลจะไมมีระบบจุดระเบิดซึ่งตางจากเครื่องยนตแกสโซลีน

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต แบบทดสอบ

คําถาม-5 ขอความใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับการควบคุมกําลังเครื่องยนตดีเซล?

ก. กําลังของเครื่องยนตดีเซลถูกควบคุมโดยการแปรผันของความดันของน้าํ มันเชื้อเพลิง
ข. กําลังของเครื่องยนตดีเซลถูกควบคุมโดยการควบคุมปริมาตรน้าํ มันที่ฉีดออกมา
ค. กําลังของเครื่องยนตดีเซลถูกควบคุมโดยการควบคุมปริมาตรไอดีที่ดูดเขามา
ง. กําลังของเครื่องยนตดีเซลถูกควบคุมโดยการเพิ่มความหนาแนนของไอดี

คําถาม-6 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับเกียรธรรมดา?

ก. เกียรธรรมดาจะสงกําลังโดยการตัดตอกําลังและการขบของเกียร
ข. เกียรธรรมดาจะถายทอดกําลังของเครื่องยนตผานทอรคคอนเวอรเตอร
ค. เพลารับและเพลาสงกําลังของเกียรธรรมดาจะหมุนดวยความเร็วที่เทากัน โดยไมคาํ นึงถึงตําแหนงของเกียร
ง. เพลารับและเพลาสงกําลังของเกียรธรรมดาจะหมุนในทิศเดียวกันเสมอ

คําถาม-7 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับเฟองทาย?

ก. เปนสวนที่ทาํ หนาที่ลดความเร็วของเฟองทาย เพื่อใหรถยนตสามารถเขาโคงอยางนุมนวล


ข. หนาที่ของเฟองทาย ชวยปรับความเร็วการหมุนระหวางลอซาย-ขวาขณะเขาโคง
ค. เฟองทายสําหรับการขับเคลื่อนลอหนา จะถูกขับโดยใชเพลาขับ
ง. เฟองทายเพิ่มความเร็วการหมุนจากเฟองสงกําลังและสงตอกําลังไปที่ลอ

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต แบบทดสอบ

คําถาม-8 จากรูปดานลางจงเลือกวารูปใดเปนระบบรองรับแบบแมคเฟอสัน-สตรัท?

¡. ¢.

¤. §.

คําถาม-9 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับเบรก?

ก. ดิสกเบรกจะหยุดการหมุนของลอ โดยแรงเสียดทานที่ถูกสรางขึ้นเมื่อผาดิสกเบรกจับกับจานเบรก
ข. ดรัมเบรกจะหยุดการหมุนของลอ โดยแรงเสียดทานที่ถูกสรางขึ้นเมื่อผาดิสกเบรกจับกับจานเบรก
ค. เบรกมือจะล็อกเพียงลอหนาเทานั้น
ง. แมปมเบรกจะเพิ่มแรงเบรกขึ้น โดยไมขึ้นอยูกับแรงที่กระทําตอแปนเบรก

คําถาม-10 ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง?

ก. ระบบ ABS จะสงแรงเบรกโดยการควบคุมแรงดันไฮดรอลิคใหเพียงพอตอความตองการ


หากคอมพิวเตอรจับไดวาเปนการเบรกกะทันหันหรือฉุกเฉิน
ข. ระบบ TRC ใชคอมพิวเตอรเพื่อควบคุมแรงดันไฮดรอลิคทีส่ งไปยังแมปมเพื่อปองกันลอล็อคขณะเบรกกะทันหัน
ค. ระบบ BA จะปองกันลอจากการลืน่ ไถลและรักษาเสถียรภาพของการขับขี่ เมื่อมีแรงมากระทําตอลอ เชน
ในขณะที่รถออกตัว
ง. ระบบ VSC จะควบคุมเสถียรภาพในการเลี้ยวและเขาโคงของรถยนต

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต แบบทดสอบ

คําถาม-11 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับแบตเตอรี?่

ก. ขั้วบวกและลบของแบตเตอรี่ จะมีขนาดเสนผาศูนยกลางเทากัน
ข. ถาแบตเตอรี่มรี หัส '34B19L' ดังรูป ขั้วบวกจะอยูในตําแหนง 'A'
ค. แบตเตอรี่ชนิดที่สามารถประจุไฟใหมไดจะจายไฟเมื่อเครือ่ งยนตหยุดทํางาน
และจะเก็บไฟในขณะที่เครื่องยนตทาํ งาน
ง. รูระบายจะอยูบนแบตเตอรี่เพื่อปองกันอากาศเขาสูแบตเตอรี่

คําถาม-12 ¢éͤÇÒÁã´µèÍ仹Õé¶Ù¡µéͧà¡ÕèÂǡѺ¤ÍÅì¨شÃÐàºÔ´?

ก. คอลยจุดระเบิดจะจายไฟแรงสูงไปยังกระบอกสูบ
ข. คอลยจุดระเบิดจะเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ เพื่อใชสาํ หรับการจุดระเบิด
ค. เครื่องยนต 4 สูบ (สําหรับการจุดระเบิดโดยตรง) จะมีคอลยจุดระเบิดเพียงคอลยเดียว
ง. คอลยจุดระเบิดจะสงไฟไปยังขดลวดปฐมภูมิ เพื่อทีจ่ ะสรางแรงเคลื่อนไฟฟาสูงๆ ที่ขดลวดทุติยภูมิ

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต - พืน้ ฐานรถยนต แบบทดสอบ

คําถาม-13 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับฟวส?

ก. วงจรเบรกเกอรไมสามารถนํากลับมาใชได
ข. ฟวสสาย ใชแทงโลหะไบเมทอลที่มีคุณสมบัติไดรับความรอนแลวจะขยายตัวเมื่อมีกระแสไฟเกิน
ซึ่งจะทําการตัดวงจรไฟฟา
ค. ฟวสขนาด 10 A ไมสามารถใหไฟไหลผาน หากมีไฟ 20 Aไหลผาน
ง. ฟวสแผนจะมีรหัสสีเพื่อบอกขนาดของมัน

คําถาม-14 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับไฟสองสวาง?

ก. หลอดไฟของไฟหนาแบบมัลติ-รีเฟลคเตอรไมสามารถเปลี่ยนได
ข. ในเวลากลางคืน ไฟเกงจะติดเมื่อปรับสวิตชไฟสองสวางไป 1 จังหวะ
ค. ไฟเบรกกับไฟถอยหลังจะทํางานรวมกันเพื่อใหไฟสวางมากขึ้นในกรณีที่เบรก
ง. ไฟทายจะเปนตัวบอกรถคันหลังถึงตําแหนงและขนาดของรถได

คําถาม-15 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับตัวถัง?

ก. รถยนตแบบคูเปจัดเปนรถแบบ 1 box car โดยมีพื้นที่สวนเดียว แบงเปน หองโดยสารและหองเก็บสัมภาระ


ข. ตัวถังแบบโมโนคอก (monocoque body) เปนโครงสรางที่ตัวถังกับโครงรถรวมอยูดวยกัน
โครงสรางของรถจะเปนแบบ 1 บล็อก
ค. วัตถุประสงคของสีรถ เพื่อแสดงสีลักษณะภายนอกเทานั้น โดยจะไมสามารถปองกันสนิมได
ง. กระจกแบบลามิเนตจะปองกันบุคคลโดยสาร โดยกระจกจะแตกเปนชิ้นเล็กๆ ขึ้นอยูกับแรงกระแทก

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครื่องยนต รายละเอียดทั่วไป

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในสวนนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการกําหนด
ขั้นตอนการทํางานสําหรับการซอมใหญ
เครื่องยนตตามทีเ่ ปนจริงการซอมใหญจะ
ไลตามลําดับการปฏิบัตใิ หสอดคลองกับ
ขั้นตอนตามหัวขอดานลาง
1. การถอดเครื่องยนตออกจากตัว
รถยนต
ถอดเครื่องยนตและชุดสงกําลังเปนชุดเดียว
กันออกทางดานลางของตัวรถยนต
2. การถอดแยกชิ้นสวนของเครื่องยนต
ถอดแยกชิ้นสวนของเครือ่ งยนตในชุดฝาสูบ
และเสื้อสูบ
3. การทําความสะอาดและการตรวจ
สอบชิ้นสวน
ตรวจสอบชิ้นสวนหลังจากลางทําความ
สะอาดชิ้นสวนทั้งหมด
4. การประกอบเครื่องยนตกลับ
ประกอบชุดฝาสูบและเสื้อสูบเขาดวยกัน
5. นําเครื่องยนตกลับเขาไปติดตั้งใน
รถยนต
นําเครื่องยนตและชุดสงกําลังประกอบเปน
ชุดเดียวกันเขัาไปติดตั้งในรถยนตทาง
ดานลาง
6. ตรวจสอบความเรียบรอยครั้ง
สุดทาย
ทําการตรวจสอบครั้งสุดทายเพื่อตรวจเช็ค
ความเรียบรอยในการประกอบ

(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายถึงการยกเครื่องยนตออก
จากตัวรถเพื่อติดตั้งเครื่องยนตเขากับแทน
โอเวอรฮอลเครื่องยนต
ถอดเครื่องออกจากตัวรถยนต
ทําการถอดเครื่องยนต เกียร
สวนประกอบของชวงลางและอื่นๆ
ซึ่งติดเปนชุดเดียวกันออกจากดานลางตัว
รถยนต

1 เครื่องยนต
2 เกียร
3 ซัฟเฟรม
4 เพลาขับ
5 ลิฟทยกเครื่องยนต
6 แร็คพวงมาลัย

ขอมูลอางอิง:
เมื่อทําการถอดเครื่องยนตออกทางดาน
บน (รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
เมื่อทําการถอดเครื่องยนตออกทางดานบน
ถอดเครื่องยนตและเกียรใหติดเปนชุดเดียว
กัน
สวนประกอบที่ตองการถอดออกตาม
หัวขอดานลาง
(1) ฝากระโปรงหนา
(2) หมอน้าํ
(3) เพลากลาง
(4) คันเกียร
เมื่อทําการถอดเครื่องยนตออก ตองมีการ
เอียงและหมุนตัวเครื่องยนตขณะใชชุดรอก
ดึงออกมาเพื่อใหพนสิ่งกีดขวางของตัวถัง
ของรถยนต

(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

การถอด สวนประกอบ
1. ปลดขั้วตอปมน้าํ มันเชื้อเพลิงเพื่อ
ปองกันน้าํ มันเบนซินหกออกมา
(1) ปลั๊กตอปมน้าํ มันเชื้อเพลิง

2. การถอดแบตเตอรี่
(1) แบตเตอรี่

3. ถายน้าํ หลอเย็น
(1) ฝาหมอน้าํ
(2) ปลั๊กถายน้าํ ที่เครือ่ งยนต
(3) ปลั๊กถายน้าํ หมอน้าํ

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

4. ปลดขั้วตอและชุดสายไฟ
(1) กลอง ECU เครื่องยนต
(2) กลองรวมชุดสายไฟที่คอนโซล
(3) กลองรวมชุดสายไฟในหองเครื่องยนต

5. ถอดชิ้นสวนภายในหองโดยสาร
(1) ขอตอแกนพวงมาลัย

6. ปลดแคลมปและทอยาง
(1) ทอสูญญากาศหมอลมเบรค
(2) ทอยางน้าํ หลอเย็น
(3) ทอฮีทเตอร
(4) ทอยางหมอกรองอากาศ
(5) หมอกรองอากาศ

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

7. ปลดทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิง
(1) ทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิง

8. ถอดสวนประกอบในหองเครื่องยนต
(1) สายเลือกเกียรและสายเปลี่ยนเกียร
(2) ปมคลัตชตัวลาง
(3) คอมเพรสเซอร
(4) สายพานขับ
(5) ยางแทนเครือ่ งยนต
(6) สายคันเรง

9. ถอดสวนประกอบจากใตทองรถยนต
(1) เพลาขับ
(2) ลูกหมากปลายคันสง
(3) ทอไอเสีย
(4) เหล็กกันโคลง

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

10. ชุดแมแรงยกเครื่อง
(1) ลิฟทยกเครื่องยนต

11. ถอดเครื่องยนตพรอมเกียร
(1) เครือ่ งยนต
(2) เกียร
(3) คานลาง
(4) เพลาขับ
(5) ลิฟทยกเครื่องยนต

12. ถอดเกียรออกจากรถยนต
(1) ตะขอลูกรอก
(2) ลูกรอกยกเครื่อง
(3) เครือ่ งยนต
(4) หูยึดเครื่องยนต

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

13. ถอดชุดคลัตชและลอชวยแรง
(1) ลอชวยแรง
(2) แผนคลัตช
(3) ฝาครอบคลัตช

14. ติดตัง้ เครื่องยนตบนแทนโอเวอรฮอล


(1) เครือ่ งยนต
(2) แทนโอเวอรฮอลเครื่องยนต

15. ถอดทอรวมไอดีและทอรวมไอเสีย
อัลเทอรเนเตอร ชุดสายไฟเครื่องยนต
(1) แผงปองกันความรอนทอรวมไอเสีย
(2) ทอรวมไอเสีย
(3) ปะเก็นทอรวมไอเสีย
(4) แขนยึดทอรวม
(5) ปะเก็นทอรวมไอดี
(6) ทอรวมไอดี
(7) อัลเทอรเนเตอร
(8) ชุดสายไฟเครื่องยนต

(1/1)

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ปลดขั้วตอปมน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อ
ปองกันน้ํามันเบนซินหกออกมา
ถอดทอแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
หลังจากเครื่องยนตดับแลว แรงดันน้าํ มัน
เชื้อเพลิงยังคงมีอยูในทอแรงดัน เพื่อให
การสตารทเครื่องครั้งตอไปไดงาย
คําเตือน:
ขณะทําการถอดทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิงที่มี
แรงดันสูงมาก อาจทําใหเกิดอันตรายได
เนื่องจากน้าํ มันเชื้อเพลิงจะถูกฉีดออกมา
เปนละอองสเปรยและอาจทําใหเกิดไฟไหม
ได
(1/3)

1. ปลดขั้วตอปมน้ํามันเชื้อเพลิง
(1) ถอดเบาะนั่งดานหลังออก
(2) ถอดฝาครอบรูบริการดานหลังออก
(3) ถอดขอตอปมน้าํ มันเชื้อเพลิง
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
54-57)
ขอแนะนํา:
• เราสามารถหยุดการทํางานของปมน้า ํ
มันเชื้อเพลิงดวยการถอดรีเลยเปด
วงจรออก
• ตําแหนงของขั้วตอปมน้า
ํ มันเชื้อเพลิง
ใหดูอางอิงจากคูมือการซอมของ
รถยนตรนุ ๆ

1 ปลั๊กตอปมน้าํ มันเชื้อเพลิง

(2/3)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

2.ปลดขัว้ ตอปมน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อ
ปองกันน้ํามันเบนซินหกออกมา
(1) ติดเครื่องยนต
หมายเหตุ:
เมือ่ ถอดขอตอของปมน้าํ มันเชื้อเพลิง
ออกเครือ่ งยนตยังสามารถสตารทติด
ได อยางไรก็ตาม เมื่อปมหยุดทํางาน
แลวแรงดันของน้าํ มันเชื้อเพลิงภายใน
ทอน้าํ มันเชื้อเพลิงและหัวฉีดจะคอยๆ
ลดลงทําใหเครื่องยนตดับเอง
(2) หลังจากที่เครื่องยนตดับลงแลว
สตารทเครื่องยนตอีกครั้งหนึ่งเพื่อให
แนใจวาเครื่องยนตไมสามารถสตารท
ติดไดอกี
ขอแนะนํา:
การกระทํานี้เพื่อยืนยันวาแรงดันของน้าํ
มันเชื้อเพลิงภายในทอน้าํ มันเชื้อเพลิง
ลดลง
(3) บิดสวิตชกุญแจไปตําแหนง "LOCK"

(3/3)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ถอดแบตเตอรี่
1. ถอดขั้วสายแบตเตอรี่ออก
กอนที่จะทําการถอดขั้วแบตเตอรีอ่ อก
ใหทาํ การบันทึกขอมูลตางๆ
ที่ถูกบันทึกในกลอง ECU กอน,เชน
• DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)

• ตําแหนงคลื่นสถานีวิทยุ

• ตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
• ตําแหนงพวงมาลัย

1 สายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่ (มีระบบหนวยความจํา)


2 สายขั้วลบ (+) แบตเตอรี่ อื่นๆ
3 ขายึดแบตเตอรี่ ขอแนะนําการบริการ:
4 แบตเตอรี่
แบตเตอรี่
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
51-53)
2. ถอดแบตเตอรี่
ถอดแคลมปรดั แบตเตอรี่และแบตเตอรี่
ออก
(1) ถอดสายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
(2) ถอดสายขั้วบวก (+) แบตเตอรี่
(3) ถอดขายึดแบตเตอรี่
(4) ถอดแบตเตอรี่
ขอควรระวัง:
แบตเตอรี่มีนา้ํ ยาอิเล็คโทไลท
(กรดซัลฟูรคิ ) ดังนั้นใหยกแบตเตอรี่
ในแนวระดับเพื่อปองกันไมใหนา้ํ ยาหก
ออกมา
(1/1)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ถายน้ํายาหลอเย็น
การยกเครื่องยนต มันเปนสิ่งจําเปนที่จะ
ตองถอดทอทางน้าํ ยาหลอเย็นซึ่งเปนสวน
หนึ่งของระบบหลอเย็น เชนทอทางน้าํ เขา
และทอทางน้าํ ออก ดวยเหตุผลนี้ จึงตอง
ถายน้าํ ยาหลอเย็นไวกอน
คําเตือน:
หากถอดฝาหมอน้าํ ขณะเครื่องยนต
รอนอาจทําใหเกิดอันตรายไดเพราะวา
น้าํ ยาหลอเย็นจะพุงออกมา
กอนทําการถอดฝาหมอน้าํ ควรรอจน
กระทั่งเครื่องยนตเย็นลง
ขอควรระวัง:
ตัวถังอาจเปนรอยดางถาน้าํ ยาหลอเย็น
มาสัมผัสมัน
ดังนั้นหากน้าํ ยาหลอเย็นหกใหทาํ การ
ลางออกโดยทันที
1 ฝาหมอน้า ํ
2 ปลั๊กถายน้าํ ที่เครื่องยนต
3 ปลั๊กถายน้า ํ หมอน้าํ

(1/2)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

1. ถายน้ํายาหลอเย็น
(1) ใชผาคลุมฝาหมอน้าํ ไวเพื่อไมใหนา้ํ
กระเด็นออกมา
(2) คลายฝาหมอน้าํ ออกโดยการบิดให
หมุนประมาณ 45 องศา เพื่อปลอย
แรงดันภายในหมอน้าํ ออก
(3) หมุนฝาหมอน้าํ อีก 45 องศา
เพื่อถอดออกมา
(4) จัดวางถาดรองน้าํ ยาหมอน้าํ ไวดาน
ลางปลั๊กถายของหมอน้าํ และเสื้อสูบ
ขอแนะนํา:
ตําแหนงปลั๊กถายน้าํ ยาหลอเย็นใน
รถยนตแตละรุนไมเหมือนกันใหอางอิง
จากคูมือการซอม
(5) ถายน้าํ ยาหลอเย็นออกโดยทําการ
คลายปลั๊กถายน้าํ ยาหลอเย็นของ
หมอน้าํ ออกกอน แลวหลังจากนั้น
คลายปลั๊กถายน้าํ ยาหลอเย็นที่เสื้อสูบ
ออก

(2/2)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ปลดขั้วตอและชุดสายไฟ
เครื่องยนตมีขั้วตอจํานวนมาก เชน ขั้วตอ
ของเซ็นเซอร สวิตช และแอ็คชิวเอเตอร
ขั้วตอเหลานี้ถูกตอเขากับชุดสายไฟ
เครื่องยนต ปลดขั้วตอสายไฟเครื่องยนต
ออกจากกลอง ECU เครื่องยนต
และกลองรวมสายไฟที่หองเครื่องยนตไม
ใหปลดที่เครื่องยนตเนื่องจากจํานวนขั้วตอ
ที่ถอดออกนอยกวา
1. ปลดขั้วตอสายไฟเครื่องยนตตาม
ลําดับของชิ้นสวนตอไปนี้
(1) กลอง ECU เครื่องยนต
(2) กลองรวมชุดสายไฟที่คอนโซล
(3) กลองรวมชุดสายไฟในหองเครื่องยนต
(4) อื่นๆ
• สายกราวด
• สายไฟมอเตอรสตารท
• ขั้วตอออกซิเจนเซ็นเซอร

ขอแนะนํา:
สําหรับขั้วตอออกซิเจนเซ็นเซอรจะอยู
ดานลางพื้นรถ
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
54-57)

(1/2)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

2. ดึงสายไฟเครื่องยนตออก
กอนดึงชุดสายไฟเครื่องยนตออกใหผูก
เชือกชุดสายไฟไว และปลดเชือกออก
เมื่อดึงชุดสายไฟเครื่องยนตออกมาแลว
ขอแนะนํา:
การผูกเชือกดังแสดงในภาพจะทําให
การดึงสายไฟพรอมกับเครื่องยนตออก
งายขึ้น

1 เชือกผูก
2 ชุดสายไฟ

(2/2)

ถอดชิ้นสวนภายในหองโดยสาร
ถอดแยกขอตอแกนพวงมาลัย
ถอดแยกแร็คพวงมาลัยและขอตอแกนพวง
มาลัย
1. ผูกวงพวงมาลัยใหแนน
ผูกวงพวงมาลัยไวใหแนนโดยเข็มขัดนิรภัย
เพื่อปองกันไมใหสายไฟขดของระบบถุงลม
นิรภัยขาด

2. ถอดขอตอแกนพวงมาลัย
ใหทาํ เครื่องหมายลงบนขอตอแกนพวง
มาลัยและเฟองพิเนียนกอนทําการถอด
ขอมูลอางอิง:
• ถอดคันเกียร
(รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)

1 แกนพวงมาลัย
2 แร็คพวงมาลัย

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

การถอดคันเกียร
(รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
1. ถอดคอนโซลกลาง
2. ถอดคันเกียร
ลักษณะของการยึดคันเกียรเขากับเกียร
มี 3 วิธีการดังนี้
(1) ยึดดวยโบลท นัต และแผนกั้น
(2) ยึดดวยโบลท และแผนกั้น
(3) ยึดดวยคลิปล็อก
ขอควรระวัง:
1 โบลท 2 ซีลคันเกียร
• คันเกียรจะมีจารบีเคลือบไวเพื่อการ
3 นัต 4 หัวเหล็กกลม หลอลื่น ดังนั้นควรคลุมไวดวยผา
5 คลิป ขณะที่ทาํ การถอดและเมื่อวางไวเพื่อ
ปองกันไมใหฝุนเกาะคันเกียร
• เพื่อไมใหสิ่งแปลกปลอมตางๆเขาไป
ในเกียรควรใชผาคลุมบริเวณจุดทีถ่ อด
คันเกียร
ขอแนะนํา:
เนื่องจากคันเกียรประกอบผิดทิศทางไม
ได ควรตรวจเช็คใหแนใจกอนทําการ
ถอดออกมา
(1/1)

ปลดแคลมปและทอยาง
ทอยางน้าํ ยาหลอเย็น ทอสูญญากาศ
และทออื่นๆ ที่ถูกตอเขากับเครื่องยนต
กอนยกเครื่องยนตออกมาทุกๆ ทอควรถูก
ปลดออกกอน
1. ปลดทอตามลําดับดังนี้
(1) ทอสูญญากาศหมอลมเบรค
(2) ทอยางน้าํ ยาหลอเย็น
(3) ทอฮีทเตอร
(4) ทอยางหมอกรองอากาศ
(5) หมอกรองอากาศ

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ขอควรระวัง:
• เนื่องจากน้าํ ยาหลอเย็นที่อยูภายใน
เครื่องยนตไมสามารถถายออกได
หมด เมื่อถอดทอยางน้าํ ยาหลอเย็น
และทอฮีทเตอรออกจากเครื่องยนต
แลวควรใชผาอุดปลายทอน้าํ แตละ
ดานไวเพื่อปองกันไมใหนา้ํ ยาหลอเย็น
รั่วออกมา
• หลังจากถอดชุดกรองอากาศออกแลว
ใหใชผาหรือผาเทปปดทอยางอากาศ
ไวเพื่อปองกันสิ่งแปลกปลอมตางๆ
เขาไปในตัวเรือนลิ้นเรง ถามีสิ่งแปลก
ปลอมเขาไปในเรือนลิ้นเรงมันอาจทํา
ใหวาลวหรือหองเผาไหมเสียได
ขอแนะนําการบริการ:
ทอยาง/แคลมปรดั
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
46-50)

(1/1)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ถอดทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ถอดทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง
ขอตอทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิงมีหลายแบบ
ซึ่งจะถือเอาตามลักษณะของขอตอนั้น
(1) ขอตอแบบสวมเร็ว
• ชนิดการใชเครือ
่ งมือพิเศษ (SST)
• ชนิดขอตอ

(2) ขอตอแบบใชโบลทยึด
ขอแนะนําการบริการ:
ทอยาง/แคลมปรดั
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
46-50)
คําเตือน:
ภายในทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิงยังคงมี
แรงดันอยู ดังนั้นควรใชผาปดขอตอ
เมือ่ ถอดขอตอออกแลว
2. ปองกันน้ํามันเชื้อเพลิงรั่ว
ปดทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิงดวยถุงพลาสติก
เพื่อปองกันไมใหนา้ํ มันเชื้อเพลิงรั่วและ
สิ่งแปลกปลอมเขาไปภายใน
คําเตือน:
มันจะเปนอันตรายมาก ถาไมมีการ
ปดสวนปลายของทอทางเดินน้าํ มัน
ขณะทําการถอด ซึ่งอาจทําใหเกิด
การรั่วและไฟไหมได

(1/2)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ขอตอแบบใชโบลทยึด
เพื่อปองกันไมใหทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิง
หรือชิ้นสวนของระบบเชื้อเพลิงบิดตัว หรือ
เสียหายใหยึดดานหนึ่งไวใหแนน และหลัง
จากนั้นจึงคลายโบลทยึดขอตอออก

(2/2)

ถอดชิ้นสวนภายในหองเครื่องยนตออก
1. ถอดชิ้นสวนออกจากเครื่องยนต
ตามลําดับดังนี้
1 สายพานขับ

2 คอมเพรสเซอรแอร

3 ยางแทนเครื่องดานหนาเครื่อง

(คลายใหหลวมเทานั้น)
4 สายคันเรง

2. ถอดชิ้นสวนออกจากเกียรตาม
ลําดับดังนี้
5 ปมคลัตชตัวลาง

6 สายควบคุมเลือกตําแหนงเกียรและ

สายเปลี่ยนเกียร
7 ยางแทนเครื่องดานเกียร

(คลายใหหลวมเทานั้น)
ขอแนะนํา:
• ทอน้า
ํ มันของพวงมาลัยเพาเวอรไม
จําเปนตองถอด เครื่องยนตถูกยกออก
มาพรอมกับแร็คพวงมาลัยซึ่งยึดติด
กับคานกลาง และปมพวงมาลัย
เพาเวอรยึดติดกับเครือ่ งยนต ดังนั้น
จึงไมจาํ เปนตองถอดทอน้าํ มัน
พวงมาลัยเพาเวอรออก
• ถาถอดทอน้า ํ มันพวงมาลัยเพาเวอร
อาจทําใหนา้ํ มันรั่วและอากาศเขาใน
ระบบได

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต
(1/3)

3. การถอดสายพานขับ
คลายนัตยึดอัลเทอรเนเตอรออกใหหลวม
และถอดสายพานออก
ขอควรระวัง:
ในการถอดอัลเทอรเนเตอรอยาใชวิธี
การดึงสายพานเพื่อใหสายพานขับ
อัลเทอรเนเตอรหยอน

1 สายพานขับ
2 อัลเทอรเนเตอร

4. ถอดคอมเพรสเซอรแอร
และปมคลัตชตัวลาง
ผูกคอมเพรสเซอรแอรและปมคลัตชตัวลาง
ดวยเชือกในตําแหนงที่ไมขวางทางการยก
เครื่องและเกียรออกจากรถยนต
ขอควรระวัง:
ระวังอยาทําใหทอของคอมเพรสเซอร
แอรและปมคลัตชตัวลางเสียรูป

1 คอมเพรสเซอร
2 ปมคลัตชตัวลาง

(2/3)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

5. ปลดสายควบคุมเลือกตําแหนง
เกียรและสายเปลี่ยนเกียร
ถอดคลิปและแหวนรองและปลดแยกสาย
ควบคุมเลือกตําแหนงเกียรและสายเปลี่ยน
เกียรออกจากชุดเกียร
ขอควรระวัง:
อยาดัดหรือบิดสายควบคุมเลือก
ตําแหนงเกียรแรงเกินไป
ขอแนะนํา:
• อยาใหคลิปกระเด็นออก
• ใชเชือกผูกสายควบคุมการเลือก
ตําแหนงเกียรไวเพื่อไมใหขวางทาง
การยกเกียรออกจากรถยนต
• ใหติดปายชื่อบนสายควบคุมเลือก
ตําแหนงเกียรแตละคูไวเพื่อการ
ประกอบไดงายขึ้น

1 คลิป
2 แหวนรอง
3 สายควบคุมเลือกตําแหนงเกียร
4 สายเปลี่ยนเกียร

(3/3)

ถอดชิ้นสวนตางๆที่อยูดานลาง
รถยนต
1. ถอดชิ้นสวนดังตอไปนี้
(1) ทอไอเสีย
(2) ลูกหมากปลายคันสง
(3) เพลาขับ
(4) เหล็กกันโคลง

(1/5)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

เพลากลาง (รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
การถอดเพลากลาง
(1) ทําเครื่องหมายจับคูบนหนาแปลน
เพลากลางกับหนาแปลนเฟองทาย
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงและทิศทางการประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)
(2) ถอดโบลทและนัตออกจากหนา
แปลนเฟองทายและลูกปนเพลากลาง
(3) ใชคอนพลาสติกเคาะที่ขอตอเพื่อให
แยกออกจากกันแลวถอดเพลากลาง
ออก
ขอควรระวัง:
ถาเพลากลางติดตั้งไมไดตาํ แหนงเดิม
มันอาจเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดเสียงดัง
และมีการสั่นสะเทือนได

ขอแนะนํา:
• การถอดเพลากลางควรปฏิบัติ 2 คน
• เมือ
่ ถอดเพลากลางพรอมลูกปน
เพลากลาง ใหทาํ เครือ่ งหมายจับคู
กอนทําการถอดในระหวางทําการ
ติดตั้งเพลากลาง ถาใชแหวนรอง
ผิดตําแหนง อาจเปนสาเหตุใหเกิด
การสั่นสะเทือน

1 เฟองทาย
2 หนาแปลนเฟองทาย
3 เพลากลาง
4 แหวนรอง
5 ลูกปนตัวกลาง

(1/2)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

(4) เพื่อปองกันน้าํ มันรั่ว ใหสอดเครื่องมือ


พิเศษเขาไปที่เสื้อเพลาสงกําลังเสื้อทาย
เกียรและใชผาเทปพันเครื่องมือพิเศษ
ไว
ขอควรระวัง:
ขณะทําการติดตั้งเครื่องมือพิเศษ
ระมัดระวังอยาทําใหซีลน้าํ มันเกิด
การเสียหาย

1 เกียร
2 เครื่องมือพิเศษ (ปลัก๊ อุดน้าํ มันเกียร)
3 เทป

(2/2)

2. ถอดทอไอเสีย
ใชนา้ํ ยาลางสนิมที่เกลียวโบลทหรือนัต
กอนทําการถอดทอไอเสีย
ขอแนะนํา:
• การถอดทอไอเสียตองชวยกันทํา
ดวยกัน 2 คน
• หามนําโบลท และปะเก็นทอไอเสีย
กลับมาใชใหมตองมั่นใจวาใชชิ้นสวน
ใหมเมื่อทําการประกอบกลับทอ
ไอเสีย

1 ทอไอเสีย
2 ทอรวมไอเสีย
3 ปะเก็น
4 สปริงอัด
5 โบลท

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

(2/5)

3. ถอดแยกลูกหมากปลายคันสง
(1)ถอดสลักและนัตหัวผาออก
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
39-40)
(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษ ถอดแยกลูกหมาก
ปลายคันสงออกจากแขนบังขับเลี้ยว
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มกี ารอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอควรระวัง:
การกระแทกเครื่องมือพิเศษอาจทําให
เกิดความเสียหายกับยางกันฝุน

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือดูดลูกหมาก)
2 ยางกันฝุน
3 ลูกหมากปลายคันสง
4 แขนบังคับเลีย้ ว

(3/5)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

4. ถอดนัตล็อคและเพลาขับ
(1) หมุนใหดานที่มรี องล็อคขึ้นดานบน
(2) ใชเครื่องมือพิเศษและคอนตอก
รองพับของนัตล็อคขึ้นใหตรง
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)
(3) การคลายนัตล็อคใหปฏิบัติ 2 คน
ขอแนะนํา:
ใหคนหนึ่งเหยียบเบรกไวเพื่อไมให
เพลาขับหมุนและอีกคนคลายนัตล็อค
ออก

1 นัตล็อค
2 เครื่องมือพิเศษ (สกัดนัตยึดเพลาขับ)
3 คอน

(4/5)

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

5. ถอดเพลาขับ
(1) ถอดปกนกตัวลางออกจากดุมลอ
(2) ถอดเหล็กกันโคลงออกจากโชคอัพ
(3) คอยๆ ดันดุมลอออกทางดานนอก
ตัวรถ ใชคอนพลาสติกเคาะลงบน
ปลายเพลาขับและถอดเพลาขับออก
จากดุมลอ
ขอควรระวัง:
• กอนถอดเพลาขับจะตองทําการถอด
เซ็นเซอร ABS กอน
• ระมัดระวังอยาใหโรเตอรของเซ็นเซอร
จับความเร็วและบูชเพลาขับเสียหาย
• หามทําใหเกลียวของเพลาขับเสียหาย

ขอแนะนํา:
ตองแนใจวาไดถอดเพลาขับเฉพาะดาน
ดุมลอเทานั้น และดานเกียรยังคง
ประกอบอยู
(4) แขวนเพลาขับกับเครื่องยนต เกียร
หรือคานไวดวยเชือก

(5/5)

การจัดลิฟทยกเครื่อง
จัดลิฟทยกเครื่องรองรับเครื่องยนตไวแลว
ถอดนัตยึดคานลางและยางแทนเครื่อง
และหลังจากนั้นยกเครื่องยนต เกียร
และคานลางออกมาเปนชุดเดียวกัน
1. การยกรถ
ยกรถขึ้นจนกระทั่งลิฟทยกเครื่องเขาไป
ดานลางเครื่องยนตได

1 ลิฟทยกเครื่องยนต

(1/2)

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

2. จัดลิฟทยกรองรับเครื่องยนต
(1) ยกลิฟทยกเครือ่ งจนกระทัง่ เกือบถึง
อางน้าํ มันเครือ่ ง
(2) ใชฐานรองยกเครื่องรองรับบริเวณ
สวนที่ยื่นออกมาของอางน้าํ มันเครื่อง
เกียร และคานลาง
ขอควรระวัง:
อยาใชฐานรองรับที่อางน้าํ มันเครื่อง
เพราะการทําเชนนี้อาจทําใหอางน้าํ มัน
เครื่องบุบหรือยุบได
ขอแนะนํา:
จัดลิฟทยกเครื่องใหอยูในตําแหนงรอง
รับน้าํ หนักไดศูนยกลางที่เหมาะสม
การทําเชนนี้จะทําใหถอดนัตยึดยาง
แทนเครือ่ งไดงาย
(3) ถอดนัตยึดยางแทนเครื่อง

1 เครื่องยนต
2 เกียร
3 ลิฟทยกเครื่องยนต
4 ฐานรองยกเครื่อง

(2/2)

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ถอดเครื่องยนตพรอมกับเกียร
1. ถอดโบลทยึดคานลาง
ขอแนะนํา:
ถาเครื่องยนตไมถูกยกขึ้นโดยลิฟทยก
เครื่อง น้าํ หนักทั้งหมดของเครือ่ งยนต
จะถูกรองรับไวดวยโบลทของยางแทน
เครื่อง ซึ่งจะทําใหการถอดโบลท
ยุงยากขึ้น
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)

1 คานขวางและคานกลาง

2. ยกเครื่องยนต เกียร คานลาง


และอื่นๆ ออกมาพรอมกัน
(1) ตองแนใจวาสายไฟ และทอตางๆ
ถูกถอดออกหมดแลว
(2) ยกเครื่องลงอยางชาๆ และระวังอยาให
กระแทกกับตัวถังรถยนต

1 เครื่องยนต
2 เกียร
3 คาน
4 เพลาขับ
5 ลิฟทยกเครื่องยนต
6 แร็กพวงมาลัย

(1/1)

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ถอดเกียร
1. ประกอบหูหิ้วเครื่องยนต
(1) ประกอบหูหิ้วเครื่องยนต
(2) ประกอบโซยกเครื่องเขากับหูหิ้ว
เครื่องยนต
(3) หลังจากประกอบขอเกี่ยวเขากับโซ
ยกเครื่องแลว ใหทาํ การยกโซขึ้น
จนกระทั่งโซตึง
คําเตือน:
ถาโซทั้ง 2 ดานตึงไมเทากัน จะทําให
เครื่องยนตเอียงซึง่ จะทําใหเกิดอันตราย
ได

1 หูหิ้วเครื่องยนต
2 ขอเกี่ยว
3 โซยกเครื่องยนต

ขอแนะนํา:
หูหิ้วเครื่องยนตมีอยู 2 แบบการใช
โซยกเครื่องประกอบเขากับหูหิ้ว
เครื่องยนตตองใชใหเหมาะสมกับชนิด
ของหูหิ้วเครื่องยนต

1 หูหิ้วเครื่องยนต
2 โซยกเครื่องยนต

(1/3)

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

2. ยกเครื่องลง
(1) ยกเครื่องยนตพรอมกับเกียร
ออกจากลิฟทยกลงบนโตะงาน
ขอควรระวัง:
อางน้าํ มันเครือ่ งอาจบุบไดถาหากวา
กระแทกกับโตะงานดังนั้นขณะที่ลด
ระดับเครือ่ งยนตลงบนโตะงานตองใช
ความระมัดระวังอยางสูง
(2) รองเกียรดวยฐานรองเครื่อง
ขอแนะนํา:
1 ขอเกี่ยว 2 โซยกเครื่องยนต ใชฐานรองเพื่อปองกันไมใหเกียรเอียง
3 หูหิ้วเครื่องยนต 4 เครื่องยนต หลังจากถอดเครื่องยนตแลว
5 เกียร 6 ฐานรองเครือ่ ง
(3) ถอดปมพวงมาลัยเพาเวอร
7 ปมพวงมาลัยเพาเวอร
(2/3)

3. ถอดเกียร
(1) ถอดเครื่องยนตและโบลทยึดขาแทน
เกียร
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
(2) สอดไขควงปากแบนเขาไปในชองวาง
ระหวางเครื่องยนตกับเกียรและทําให
1 2
เพลารับกําลังของเกียรหลุดโดยใช
ขอเกี่ยว โซยกเครื่องยนต
3 4
ไขควงปากแบนงัดออก
หูหิ้วเครื่องยนต เครื่องยนต
5 เกียร 6 ฐานรองเครือ่ ง (3) ถอดเกียรออกจากเครื่องยนตโดยการ
โยกเครื่องเบาๆ
ขอควรระวัง:
การโยกเครื่องยนตรุนแรงอาจทําให
เพลารับกําลังและหรือแผนคลัตช
เสียหายได

(3/3)

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ถอดคลัตชและลอชวยแรง
1. ถอดคลัตช ลอชวยแรง
(1)ทําเครื่องหมายจับคูบนฝาครอบคลัตช
กับลอชวยแรง
(2)ประกอบเครื่องมือพิเศษเพื่อยึดเพลา
ขอเหวี่ยงไมใหหมุน
(3)ถอดฝาครอบคลัตชและจานคลัตชออก
(4)ถอดลอชวยแรง
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)

1 เครื่องมือพิเศษยึดพูลเลยเพลา
ขอเหวี่ยง
2 ฝาครอบคลัตช

(1/1)

- 29 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ติดตั้งเครื่องยนตบนแทนโอเวอรฮอล
1. คลายนัตยึดแทนโอเวอรฮอลและจัดให
ตรงรูนัตของเสื้อสูบ
(1)จัดแทนยึดใหเหมาะสมและพอดี
ระหวางแขนยึดดานซายกับดานขวา
(2)จัดตําแหนงจุดศูนยถวงของเครื่องยนต
ใหอยูตา่ํ กวาศูนยกลางการยึดของแทน
โอเวอรฮอล
2. ประกอบเครื่องยนตเขากับแทน
โอเวอรฮอล
จัดเครือ่ งยนตใหอยูในแนวขนานกับพื้น
และยึดใหแนนดวยโบลท
3. ถอดโซยกเครือ่ ง
ขอควรระวัง:
ยึดเครื่องยนตเขากับแทนโอเวอรฮอล
ใหมนั่ คงกอนทําการถอดโซยกเครื่อง

1 แทนโอเวอรฮอล
2 เครื่องยนต

(1/1)

- 30 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

ถอดทอรวมไอดี ทอรวมไอเสีย
สายไฟเครื่องยนต อัลเทอรเนเตอร
1. ถอดทอรวมไอดีและทอรวมไอเสีย
(1) คลายนัตและโบลทของทอรวมไอดี
และไอเสียออก การคลายจะตองคลาย
จากดานนอกเขาดานในตามลําดับ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
1 2
4-5)
ทอรวมไอเสีย ทอรวมไอดี
3 ปะเก็น 4 ชุดสายไฟเครื่องยนต (2) ถอดทอรวมไอดีและทอรวมไอเสีย
2. ถอดสายไฟเครื่องยนต
ถอดขั้วตอสายไฟและแคลมปรัดออก
จากเครื่องยนต
ขอแนะนําการบริการ:
ปลัก๊ ตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
54-57)

(1/2)

- 31 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

3. ถอดอัลเทอรเนเตอร
(1) คลายนัตยึดอัลเทอรเนเตอรออกให
หลวมและถอดสายพานขับออก
(2) ถอดสายพานขับ
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานเพื่อทําให
อัลเทอรเนเตอรเลื่อนอาจทําให
สายพานเสียหาย
(3) ถอดนัตยึดอัลเทอรเนเตอรทั้งหมด
และถอดอัลเทอรเนเตอรออก
ขอแนะนํา:
เนื่องจากอัลเทอรเนเตอรถูกยึดดวย
โบลท ซึ่งมีปลอกรองกับแทนรองรับ
ของเครื่องยนตซึ่งมันถูกทําใหแนน
ดวยเหตุนี้ ควรโยกอัลเทอรเนเตอรขึ้น
และลงกอนทําการถอด

1 ปลอกรอง
2 อัลเทอรเนเตอร
3 แทนรอง (ดานเครื่องยนต)

- 32 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

การเปลี่ยนสายพานขับ
แบบไมมีลูกรอก (ไมมีโบลทปรับตั้ง)
สําหรับแบบไมมีลูกรอก
(ไมมีโบลทปรับตั้ง)
วิธีการปรับตั้งความตึงสายพานจะทําได
โดยการปรับโบลทปรับตั้งเพื่อใหอุปกรณ
ที่ยึดอยูเลื่อนใหสายพานตึง
สําหรับเครื่องยนต 1NZ-FE
1. ถอดสายพานขับ
(1) คลายโบลทยึดตัวที่ 2 และ 3
ของอัลเทอรเพื่อปรับแตงความตึงของ
สายพาน
(2) ดันอัลเทอรเนเตอรเขาหาเครื่องยนต
แลวถอดเอาสายพานออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานเพื่อทําให
อัลเทอรเนเตอรเลื่อนอาจทําให
สายพานเสียหาย

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด

(2/2)

- 33 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

คําถาม-1
ทําเครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด :
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
ขณะที่อุณหภูมขิ องเครื่องยนตสูง การถอดฝาหมอน้าํ จะเปนอันตราย
1 ถูก ผิด
อยางมากเพราะวาน้าํ ยาหลอเย็นจะพุงออกมา
2 น้าํ ยาหลอเย็นเมื่อสัมผัสกับตัวถังรถยนตจะไมเปนอันตรายกับสีรถยนต ถูก ผิด
หลังจากถอดทอทางอากาศออกจากตัวเรือนลิ้นเรงแลวใหปดทออากาศ
3 ถูก ผิด
ของตัวเรือนลิ้นเรงเพื่อปองกันผงฝุนตางๆ เขาไปในเรือนลิ้นเรง
เมือ่ ยกเครื่องยนตออกจากรถยนต ใหนาํ ลิฟทยกเครือ่ งมารองรับที่อา ง
4 ถูก ผิด
น้าํ มันเครื่องเพื่อรับน้าํ หนักของเครื่องยนต
เมือ่ ประกอบเครื่องยนตเขากับแทนโอเวอรฮอลเครือ่ งยนตตองติดตั้งใน
5 ถูก ผิด
ตําแหนงที่ตา่ํ กวาจุดศูนยกลางการรับน้าํ หนัก

คําถาม-2
เมื่อทําการถอดทอน้าํ มันของเครื่องยนตระบบ EFI จะตองปองกันไมใหนา้ํ มันเชื้อเพลิงหกหรือรั่ว
จงเรียงลําดับการทํางานเพื่อปองกันน้าํ มันเชื้อเพลิงรั่วหรือหก ตามหัวขอตอไปนี้
1. ติดเครื่องยนต
2. บิดสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง "LOCK"
3. ถอดขอตอปมน้าํ มันเชื้อเพลิงออกจากปมน้าํ มันเชื้อเพลิงเพื่อใหปม น้าํ มันเชื้อเพลิงหยุดทํางาน
4. เมื่อเครื่องยนตดับเองใหสตารทเครื่องยนตอีกครัง้ หนึ่งเพื่อใหแนใจวาเครื่องยนตจะไมสามารถสตารทติดได

คําตอบทีถ่ ูกตอง : → → →

- 34 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ถอดเครื่องยนต

คําถาม-3
จงเลือกรูปภาพดังตอไปนี้ทแี่ สดงวิธีการถอดลูกหมากปลายคันสงไดอยางถูกตอง
1 2

3 4

1. 2. 3. 4.

- 35 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายการถอดแยกชิ้นสวนและ
การตรวจสอบคามาตราฐานในชิ้นสวน
หลักของเครื่องยนต*
1.การถอดแยกชิ้นสวน
ถอดชุดโซราวลิ้นและเพลาลูกเบีย้ วและ
ถอดฝาสูบและชุดเสื้อสูบ
2.การตรวจสอบ
ใชเครื่องมือวัดทําการวัดชิ้นสวนที่มีการ
สึกหรอ ถามีการสึกหรอมากกวาคาที่
กําหนดไว ตองทําการเปลีย่ นชิ้นสวน
อันใหม

*ชิ้นสวนหลักของเครื่องยนต
• เครื่องยนตซึ่งมีการถอดแยกสวน
ประกอบยอยและทอรวมไอดีและทอ
รวมไอเสีย
• ชิ้นสวนที่ใหญที่สุดคือชิ้นสวนหลักของ
เครื่องยนต

1 ชิ้นสวนหลักของเครื่องยนต
2 ทอรวมไอเสีย
3 ทอรวมไอดี
4 สวนประกอบยอย (อัลเทอรเนเตอร)
(1/1)

การถอดแยกชิ้นสวน สวนประกอบ
1. ถอดพูลเลยปมน้าํ
(1) พูลเลยปมน้าํ
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

2. ถอดขายึดยางแทนเครื่อง
(1) ขายึดยางแทนเครือ่ ง

3. ถอดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
1. จัดตําแหนงของลูกสูบ
2. ถอดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง

1 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง

1. จัดตําแหนงของลูกสูบ
(1) หมุนเพลาขอเหวี่ยงเพื่อใหมารคที่
พูลเลยเพลาขอเหวี่ยงตรง "0" และสูบ
1 อยูในจังหวะอัด(อยูที่ศูนยตายบน)
ดังนั้นมารคของเพลาลูกเบี้ยวจะอยูใน
ตําแหนงดานบน
ขอแนะนํา:
เพื่อใหงายตอการถอดและประกอบควร
ทํามารคไวที่โซไทมมิ่งกับเฟองเพลา
ลูกเบี้ยวไว

1 สูบที่ 1 อยูในตําแหนงอัดสุด (TDC)


2 มารคไทมมิ่งของเพลาลูกเบี้ยว
3 มารคไทมมิ่งของเพลาขอเหวี่ยง

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

2. ถอดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
(1) ใชเครื่องมือพิเศษยึดพูลเลยเพลา
ขอเหวี่ยง และถอดโบลท
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)
(2) ใชเครื่องมือพิเศษถอดพูลเลยเพลา
ขอเหวี่ยงออก
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)

1 เครื่องมือพิเศษ(ตัวถอดน็อตยึด
พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง)
2 เครื่องมือพิเศษ
(ตัวดูดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง)
3 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง

4. ถอดปมน้าํ
(1) ปมน้าํ
(2) ปะเก็น
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

5. ถอดฝาครอบโซไทมมิ่ง
1. ถอดฝาครอบวาลวและปะเก็น
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)

1 ฝาครอบวาลว
2 ปะเก็น
3 ฝาครอบโซไทมมิ่ง

2. ถอดฝาครอบโซไทมมิ่ง
(1) ถอดโบลทและนัตทุกตัวออก
(2) ใชไขควงที่พันเทปไวตรงปลาย
แลวงัดระหวางฝาครอบโซไทมมิ่งกับ
เสื้อสูบและฝาสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)

1 ฝาครอบโซไทมมิ่ง
2 เทป
(1/1)

6. ถอดโซไทมมงิ่
1. ถอดตัวปรับความตึงโซ
2. ถอดตัวเลื่อนปรับความตึงโซ
3. ถอดตัวกันสะเทือนของโซ

1 ตัวปรับตัง้ ความตึงโซ
2 ตัวเลื่อนปรับความตึงโซ
3 ตัวกันสะเทือนของโซ
4 โซไทมมิ่ง

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

1. ถอดตัวปรับความตึงโซ
(ตัวปรับตั้งอัตโนมัติ)
ปลดตัวปรับความตึงโซ
ตัวดันของตัวปรับความตึงโซถูกออกแบบ
มาเปนแบบที่มีกลไกรองฟนเฟอง ซึ่งถูกขบ
โดยกระเดื่องกด และภายในของตัวดัน
จะมีสปริงดันตัวดันออกดานนอกตลอด
เวลา ดังนั้นการปลดล็อคใหดันตัวเลื่อน
ปรับความตึงโซเล็กนอยแลวดันตัวกั้น เพื่อ
ปลดล็อคตัวดันและจากนั้นดันตัวปรับ
ความตึงโซเพื่อดันตัวกั้นใหเขาไปดานใน
แลวจึงทําการคลายโซไทมมิ่ง
คําเตือน:
การถอดตัวปรับความตึงโซในขณะที่โซ
ยังตึงอยูอาจทําใหตวั ปรับความตึงโซ
กระเด็นออกมาจากเครื่องยนตได ซึ่ง
อาจไดรับความเสียหาย ดังนั้นกอน
ถอดควรทําใหโซไทมมิ่งหยอนไวกอน
2. ถอดตัวเลื่อนปรับความตึงโซ
3. ถอดตัวกันสะเทือนของโซ

1 ตัวปรับตัง้ ความตึงโซ
2 ตัวดัน
3 ตัวกั้น
4 โซไทมมิ่ง
5 ตัวเลื่อนปรับความตึงโซ
(1/2)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

4. ถอดโซไทมมิ่ง
ถอดโซไทมมิ่งออก โดยหามใชแรงในการ
ถอดมากเกินไป
5. จัดตําแหนงลูกสูบ
ทําใหลูกสูบเลื่อนลงดวยการหมุนเพลา
ขอเหวี่ยงทวนเข็มนาฬิกา 40 องศา
จากศูนยตายบน(TDC)
ขอแนะนํา:
เพราะวาการหมุนเพลาขอเหวี่ยงหลัง
จากที่ถอดโซไทมมิ่งออกแลวจะทําให
วาลวยันกับลูกสูบดังนั้นจึงตองทําให
ลูกสูบอยูตา่ํ กวาตําแหนงศูนยตายบน

1 มารคไทมมิ่งเฟองเพลาลูกเบี้ยว
2 มารคไทมมิ่ง
3 ไทมมิ่งมารคเฟองเพลาขอเหวี่ยง
4 มารคไทมมิ่ง
(2/2)

7. ตรวจสอบโซไทมมงิ่
การตรวจสอบความยาวของโซไทมมิ่ง
ยึดโซใหติดกับผนังแลวใชตาชั่งสปริงดึงโซ
ไทมมิ่งใหยาวออก และใชเวอรเนียร
คาลิปเปอรวัดความยาวของโซ
หากสลักและบูชสึกหรอจะทําใหโซไทมมิ่ง
ยาวขึ้น
ดังนั้นการวัดความยาวของโซไทมมิ่งจะเปน
ตัวชี้วัดในการนําโซไทมมิ่งกลับมาใชไดอีก
หรือไม
ขอแนะนํา:
1 เวอรเนียรคาลิปเปอร 2 โซไทมมงิ่ • ถาความยาวเกินคาสูงสุดใหเปลี่ยน
3 ตาชั่งสปริง 4 สลัก โซไทมมิ่ง
5 บูช • องศาการทํางานของวาลวจะไมถูก
ตองถาโซไทมมิ่งยืดยาวออกมากเกิน
ไป
• คาความยาวมาตราฐานใหอางอิงที่
คูมือซอม

(1/1)

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

8. ถอดเพลาลูกเบี้ยว
1. จัดตําแหนงโบลทยึดเพลาลูกเบี้ยว
2. ถอดเพลาลูกเบี้ยว

1 ประกับเพลาลูกเบี้ยว
2 เพลาลูกเบี้ยว

(1/1)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

1. จัดตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
(1)จัดตําแหนงของเพลาลูกเบี้ยวเพื่อให
หลบแรงตานจากสปริงวาลว
ขอแนะนํา:
การจัดตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวของ
เครื่องยนตแตละรุนไมเหมือนกัน
รายละเอียดการถอดใหอา งอิงที่คูมือ
ซอมของรุนนั้นๆ
2. ถอดเพลาลูกเบี้ยว
(1)คลายโบลทยึดประกับแบริ่ง
1 ถึง 9 เปนการถอดประกับแบริ่งตามลําดับ ครัง้ ละเทาๆ กัน หลายๆ ครั้ง
1 มารคไทมิ่ง (2)ถอดประกับแบริ่งและเพลาลูกเบี้ยว
ออก
ขอแนะนําการบริการ:
เพลาลูกเบี้ยว
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
19-21)
ขอแนะนํา:
ลําดับการคลายและการถอดโบลท
ประกับแบริง่ จะแตกตางกันไปตามชนิด
ของเครื่องยนต รายละเอียดการถอด
ใหอา งอิงที่คูมือซอมของรุนนั้นๆ
(3)จัดเรียงประกับแบริ่งตามลําดับหลัง
จากถอดออกมาแลว
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

9. ตรวจสอบเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบมี VVT-i)
เครื่องยนต1NZ-FE:
สําหรับเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบมี VVT-i) เมื่อเครื่องยนตหยุดทํางาน
สลักล็อคจะล็อคใบพัด (เวน) กับตัวเรือน
ดวยแรงดันของสปริงเมือ่ เครื่องยนต
ทํางานแรงดันของน้าํ มันเครื่องจะถูกจาย
ไปยังสลักล็อคเพื่อปลดล็อค
ดวยเหตุผลนี้ การล็อคและปลดล็อค
จําเปนตองมีการตรวจสอบ

1 ใบพัด
2 ตัวเรือน
3 สลักล็อค
ชองแรงดันน้าํ มันเครื่อง
A (1/3)

สําหรับสลักล็อค ใชแรงดันของน้าํ มัน


เครื่องเพื่อใหดา นหนวงปลดล็อค สําหรับ
การตรวจสอบใชแรงดันอากาศแทนแรงดัน
น้าํ มันเครื่อง
1. ใชแรงดันอากาศเปาเขาไปในชอง
ดานลวงหนา และชองดานหนวง
ขอแนะนํา:
ความแตกตางของแรงดันอากาศ
ระหวางดานลวงหนาและดานหนวง
จะทําใหเฟองไทมมิ่งเคลื่อนที่ไปทาง
ดานลวงหนา
2. ลดแรงดันอากาศดานหนวงและ
เฟองไทมมิ่งจะเคลื่อนตัวไปทางดาน
ลวงหนา
ขอแนะนํา:
ความแตกตางของแรงดันการอัด
อากาศระหวางดานลวงหนาและดาน
หนวงจะทําใหไทมมิ่งเกียรเคลื่อนที่ไป
ทางดานลวงหนา

1 ดานหนวง
2 ดานลวงหนา
(2/3)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

3. เมือ่ เฟองไทมมิ่งเคลื่อนที่ไปทางดาน
ลวงหนาจนสุดแลว ใหนาํ หัวเปาแรงดัน
อากาศออกจากทางดานหนวง และหลัง
จากนั้นนําหัวเปาแรงดันอากาศออก
จากทางดานลวงหนาตามลําดับ
ขอควรระวัง:
ถานําหัวเปาแรงดันอากาศของชองดาน
ลวงหนาออกกอนชองดานหนวงจะ
ทําใหเฟองไทมมิ่งเคลื่อนทีไ่ ปทางดาน
หนวงอยางทันทีทันใด ซึ่งอาจทําให
เฟองไทมมิ่งเสียหายได
4. เมือ่ สลักล็อคปลดล็อคแลว ใหตรวจ
สอบการหมุนอยางคลองตัวของเฟอง
ไทมมงิ่ ดวยมือยกเวนตําแหนงดาน
หนวงสุด
5. หมุนเฟองไทมมิ่งไปทางดานหนวงสุด
และตรวจสอบการล็อคเฟองไทมมงิ่ ใน
ตําแหนงหนวงสุด

1 ดานหนวง
2 ดานลวงหนา
(3/3)

10. ถอดเฟอง/
ฟนเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
1. ถอดเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบมี VVT-i)
2. ถอดเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบไมมี VVT-i)

1 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว (แบบมี
VVT-i)
2 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว (แบบไมมี
VVT-i)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

1. ถอดเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบมี VVT-i)
(1) อัดแรงดันอากาศเพื่อปลดล็อคสลัก
ล็อค
(2) หมุนเฟองไทมมงิ่ ไปทางดานลวงหนา
มากที่สุด
(3) ถอดโบลทยึดเฟองไทมมิ่งเพื่อถอด
เฟองไทมมิ่งออก
ขอควรระวัง:
• ถาถอดโบลทยึดเฟองไทมมงิ่ ออกใน
1 สลักล็อค 2 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว (แบบมี VVT-i) ขณะที่สลักยังไมถูกปลดล็อคจะเกิด
3 เพลาลูกเบี้ยว 4 แผนอลูมเิ นียม แรงในแนวนอนจากแรงดันสปริงดัน
5 ปากกาจับชิ้นงาน 6 โบลทยึดเฟองไทมมงิ่ ใหสลักล็อคดันออกมาซึ่งการทําให
เกิดการสึกหรอได
• ถอดเฉพาะโบลทยึดเฟองไทมมิ่ง
เทานั้น ชุดเฟองไทมมงิ่ ไมสามารถ
ถอดแยกได
2. ถอดเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบไมมี VVT-i)
(1) ยึดเพลาลูกเบี้ยวดวยปากกาจับ
ชิ้นงานโดยมีแผนอลูมเิ นียมรองรับอยู
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)
(2) ถอดเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบไมมี VVT-i)
(1/1)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

11. ถอดฝาสูบ
1. ถอดโบลทฝาสูบ
2. การถอดฝาสูบ

1 ฝาสูบ

1. ถอดโบลทฝาสูบ
(1) คลายและถอดโบลทยึดฝาสูบจาก
ดานนอกเขาดานในตามลําดับ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
2. การถอดฝาสูบ
ใชคอนพลาสติกเคาะบริเวณที่เปนโครง
เพื่อถอดฝาสูบออก
1 ถึง 10 เปนการถอดโบลทยึดฝาสูบตามลําดับ ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)
ขอแนะนํา:
เมือ่ ถอดฝาสูบออกมาแลวจะมีนา้ํ หลอ
เย็นและน้าํ มันหลอลื่นรัว่ ออกจากรูนา้ํ
และรูนา้ํ มันหลอลื่น กอนวางฝาสูบ
ลงบนโตะทํางานหรือในถาดใหใชผาปู
รองไวกอนเพื่อดูดซับน้าํ และน้าํ มัน
หลอลืน่ เพื่อความสะอาดของบริเวณ
ปฏิบัติงาน
(1/1)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

12. ถอดปะเก็นฝาสูบ
(1) ปะเก็นฝาสูบ

(1/1)

13. ถอดอางน้าํ มันเครื่อง


1. ถอดอางน้ํามันตัวที่ 2
2. ถอดอางน้ํามันตัวที่ 1

1 ปลั๊กถายน้าํ มัน
2 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2
3 ชุดกรองหยาบ
4 ปะเก็น
5 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1

(1/1)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

1. ถอดอางน้ํามันเครื่องตัวที่ 2
อางน้าํ มันเครือ่ งถูกทากันรั่วดวยปะเก็น
เหลว ดังนั้น ใหใชเครื่องมือพิเศษตัด
ปะเก็นเหลวเพื่อถอดอางน้าํ มันเครือ่ ง
ขอควรระวัง:
อยาหมุนเครื่องยนตกอนทําการถอด
อางน้าํ มันเครือ่ งตัวที่ 2 โคลนและ
เศษโลหะขนาดเล็กอาจเขาไปในลูกสูบ
และกระบอกสูบ ซึ่งอาจทําใหผนัง
กระบอกสูบสึกหรอได ดังนั้นอยาหมุน
เครื่องยนตกอนถอดอางน้าํ มันเครื่องตัว
ที่ 2
2. ถอดอางน้ํามันเครื่องตัวที่ 1
หมุนเครื่องยนตใหคว่าํ ลง ใชไขควง
ปากแบนถอดอางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
โดยงัดระหวางเสื้อสูบกับอางน้าํ มันเครือ่ ง
ตัวที่ 1
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)

1 เครื่องมือพิเศษ
(มีดตัดปะเก็นน้าํ มันเครือ่ ง)
2 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2
3 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
(1/1)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

14. ถอดซีลน้าํ มัน


1. ถอดซีลน้ํามันฝาครอบโซไทมมิ่ง
2. ถอดซีลทายเครื่องยนต

1 ซีลน้าํ มันฝาครอบโซไทมมิ่ง
2 ซีลทายเครือ่ งยนต

(1/1)

1. ถอดซีลน้ํามันฝาครอบโซไทมมิ่ง
งัดซีลน้าํ มันฝาครอบโซไทมมิ่งออกโดยใช
ไขควง
ขอควรระวัง:
ใชผาคลุมฝาครอบโซเพื่อปองกันการ
เสียหายจากการงัดซีลน้าํ มันออก
ขอแนะนําการบริการ:
ซีลน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
28-31)
2. ถอดซีลทายเครื่องยนต
ถอดซีลทายเครื่องยนตออกจากเพลา
ขอเหวี่ยง

1 ซีลน้าํ มันฝาครอบโซไทมมิ่ง
2 ผาสะอาด
3 ซีลทายเครือ่ งยนต
(1/1)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

การตรวจสอบ สวนประกอบ
1. ตรวจสอบตัวปรับความตึงโซ
2. ตรวจสอบเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
3. ตรวจสอบตัวเลื่อนปรับความตึงโซ
และตัวกันสะเทือน
4. ตรวจสอบโบลทยึดฝาสูบ

(1/1)

การตรวจสอบตัวปรับความตึงโซ
ถาหากตัวปรับความตึงโซมปี ญหาไม
สามารถยื่นออกมาเทาที่ควรจะเปนอาจจะ
ทําใหโซไทมมงิ่ หยอน ซึ่งทําใหเกิดการ
หลวมและกระโดดขามฟนเฟองและเปน
เหตุใหเกิดความเสียหายกับกลไกวาลว
1. เมือ่ ยกกระเดื่องกดขึ้นตรวจสอบการ
เคลื่อนตัวของตัวดันดวยนิ้วมือ
2. เมือ่ ปลอยกระเดื่องกดใหล็อคตรวจ
สอบการล็อคตัวดันวาอยูกับที่หรือไม
และไมเลื่อนตัวเมื่อใชนิ้วกด
ขอแนะนํา:
• ตองแนใจวาตัวดันเคลื่อนตัวไดอยาง
ราบเรียบ
• เปลี่ยนตัวปรับความตึงโซถาผิดปกติ
1 ตัวดัน

2 กระเดื่องกด

3 แผนกั้น

4 ตัวปรับตัง้ ความตึงโซ
(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

การตรวจสอบเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
การสึกหรอของฟนเฟองจะเกิดขึ้นระหวาง
ซี่ฟน ของฟนเฟอง

การสึกหรอของฟนเฟองเนื่องจากโซเขาไป
ขบกับฟนเฟอง ทําใหเสนผาศูนยกลาง
ของโซขณะขบกับฟนเฟองลดลงเมือ่ ฟน
เฟองสึกหรอมาก

ดังนั้น ใหคลองโซรอบเฟองไทมมิ่งจากนั้น
วัดเสนผาศูนยกลางภายนอกของโซเพื่อ
เปนการตัดสินวาฟนเฟองสามารถใชตอไป
ไดหรือไม

หากใชฟนเฟองที่สึกหรออาจทําใหเฟองหัก
หรือการกระโดดขามฟนเฟองเพราะโซ
หยอน ซึ่งจะสงผลทําใหเกิดการเสียหาย
กับกลไกวาลวได

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
2 โซไทมมิ่ง
3 ฟนเฟอง
(1/1)

ตรวจสอบตัวเลื่อนปรับความตึงโซและ
ตัวกันสะเทือน
บริเวณหนาสัมผัสของตัวเลื่อนปรับความ
ตึงโซและตัวกันสะเทือนของโซจะสัมผัสกับ
โซไทมมงิ่ ตลอดเวลาทําใหเกิดการสึกหรอ
เมื่อเกิดการสึกหรอจะทําใหโซไทมมงิ่ เกิด
การสั่น กระพรือ ซึ่งความยาวของตัวปรับ
ความตึงโซไมสามารถดันใหโซไทมมิ่งตึงได
เปนสาเหตุใหโซไทมมิ่งหยอนและกระโดด
ขามฟนเฟอง ซึง่ ทําใหกลไกวาลว
เสียหายได

1 ตัวเลื่อนปรับความตึงโซ
2 ตัวกันสะเทือนของโซ
(1/1)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

ตรวจสอบโบลทยึดฝาสูบ
ฝาสูบถูกยึดดวยโบลทแบบพลาสติกรีเจน
ทุกครั้งที่ขันโบลทยึดฝาสูบแบบพลาสติก
รีเจนจะทําใหโบลทยืดยาวออกการวัด
ความยาวและเสนผาศูนยกลางของโบลท
แตละตัวจะเปนการตัดสินวาจะนําโบลท
กลับมาใชอีกไดหรือไม
ขอแนะนําการบริการ:
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
2 โบลทยึดฝาสูบ
(1/1)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

คําถาม-1
ทําเครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด :
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
1 สําหรับพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง การถอดใหใชคอนเคาะพูลเลยออกมา ถูก ผิด
การถอดโซไทมมิ่งของเครื่องยนต 1NZ-FE ใหถอดเมื่อลูกสูบที่ 1
2 ถูก ผิด
อยูในตําแหนงศูนยตายบน TDC
เวลาหมุนเพลาลูกเบี้ยวในขณะที่ไมมีโซไทมมงิ่ จัดลูกสูบของสูบที่ 1
3 ถูก ผิด
อยูในตําแหนงศูนยตายบน TDC เล็กนอยกอนทําการหมุน
การถอดประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยวใหถอดจากดานหนาเครื่องและเรียง
4 ถูก ผิด
ตามลําดับไปดานทายเครื่อง
การตรวจสอบการสึกหรอของเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยวใหวัดความหนา
5 ถูก ผิด
ของฟนเฟองดวยไมโครมิเตอร

คําถาม-2
จากภาพดานลางแสดงเกี่ยวกับการตรวจสอบโซไทมมิ่ง ภาพใดตรวจสอบไดถูกตอง?
1. 2.

3. 4.

1. 2. 3. 4.

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง-การซอมใหญเครื่องยนต ถอดแยกชิน้ สวนเครื่องยนต

คําถาม-3
จากภาพดานลางแสดงเกี่ยวกับวิธีการถอดอางน้าํ มันเครื่องที่ใชซีลแพคกิ้งเปนซีลกันรั่วภาพใดแสดงวิธีการถอดที่ถูกตอง
1. 2.

3. 4.

1. 2. 3. 4.
คําถาม-4
จากภาพดานลางแสดงเกี่ยวกับการคลายโบลทยึดฝาสูบ ภาพใดแสดงวิธีการถอดโบลทไดถูกตอง
1. 2.

3. 4.

1. 2. 3. 4.

คําถาม-5
ขอใดตอไปนี้กลาวถึงโบลทพลาสติกรีเจนไดถูกตอง?
1. โบลทพลาสติกรีเจนใชขันยึดไดเพียงครั้งเดียว
2. การขันโบลทพลาสติกรีเจนใหขันตามคาแรงขันที่กาํ หนดจากนั้นใหขัน 90° 1หรือ 2 ครั้งตามคูมือการซอม
3. โบลทพลาสติกรีเจนถูกใชเพื่อขันยึดทอรวมไอเสียกับฝาสูบ
4. หนาแปลนดานบนของโบลทพลาสติกรีเจนมีไวเพื่อปองกันการคลายตัวของโบลท

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายการถอดแยกชิ้นสวน
ฝาสูบ, การตรวจสอบและการประกอบ
กลับ
1. การถอดแยกชิ้นสวน
ใชเครื่องมือพิเศษถอดวาลว
2. การตรวจสอบ
ใชเครื่องมือวัดทําการวัดความบิดเบีย้ ว
และการสึกหรอ เปลี่ยนชิ้นสวนที่มี
คาเกินมาตราฐานดวยอะไหลชิ้นใหม
3. การประกอบกลับ
ตรวจเช็คตําแหนงการประกอบของ
ชิ้นสวนขณะมีการปฏิบัติงาน

(1/1)

ถอดแยกชิ้นสวน สวนประกอบ
1.ถอดลูกถวยกดวาลว
2.ถอดวาลว
3.ถอดซีลน้าํ มันหมวกวาลว
4.ทําความสะอาดฝาสูบ

1 ลูกถวยวาลว
2 ประกับวาลว
3 บารองสปริงวาลว
4 สปริงวาลว
5 ซีลน้าํ มันหมวกวาลว
6 แหวนรองสปริงวาลว
7 วาลว

(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

ถอดลูกถวยกดวาลว
1. ถอดลูกถวยกดวาลว
(1) ถอดลูกถวยกดวาลวออกดวยมือ
ขอควรระวัง:
อยาใชคีมเพราะอาจจะทําใหลูกถวยกด
วาลวเสียหายได
(2) ถอดลูกถวยกดวาลว และจัดเรียงบน
กระดาษตามลําดับหมายเลขเพื่อความ
สะดวกในการประกอบ
ขอแนะนํา:
ขณะทําการประกอบจะตองประกอบ
ลูกถวยกดวาลวกลับตําแหนงเดิมจาก
การถอดชิ้นสวนออกมา
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

(1/1)

ถอดวาลว
1. จัดเครือ่ งมือพิเศษใหตรงระหวางดาน
ลางของวาลวและบารองสปริงวาลว
2. ขันเครือ่ งมือพิเศษเพื่ออัดสปริงวาลว
และถอดประกับวาลวทั้ง 2 อันออก
3. ถอดเครื่องมือพิเศษออกแลวถอด
บารองสปริงและสปริงออก หลังจาก
นั้นดันวาลวลงดานหองเผาไหมออก
ดวยมือ

1 เครื่องมือพิเศษกดสปริงวาลว
2 ประกับวาลว
3 วาลว
4 สปริงวาลว
5 บารองสปริงวาลว

(1/2)

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

4. วางวาลวและชิ้นสวนอื่นๆ ลงบน
กระดาษที่ทาํ หมายเลขไวเพื่อการ
ประกอบที่ถูกตองและรวดเร็ว
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

(2/2)

ถอดซีลน้ํามันหมวกวาลว
1. ถอดซีลน้ํามันหมวกวาลว
ใชคีมปากแหลมจับบริเวณสวนที่เปนโลหะ
ของซีลน้าํ มันหมวกวาลวแลวถอดซีลน้าํ มัน
หมวกวาลว
ขอควรระวัง:
อยาดึงสวนที่เปนยางของซีลน้าํ มัน
หมวกวาลวเพราะวาจะทําใหยางฉีกขาด
ได
2. ถอดแหวนรองสปริงวาลว
(1) ใชไขควงดันใหแหวนรองสปริงวาลว
ยกตัวขึ้น
(2) ใชไขควงแมเหล็กดูดแหวนรองสปริง
วาลวออก

1 ซีลน้าํ มันหมวกวาลว
2 แหวนรองสปริงวาลว
3 ไขควงแมเหล็ก

(1/1)

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

ทําความสะอาดฝาสูบ
1. ขูดปะเก็นเกาที่ติดอยูบนฝาสูบออก
ดวยมีดขูดปะเก็น
2. ถาไมสามารถขูดปะเก็นเกาออกได
ดวยมีดขูดปะเก็นเกา ใหใชนา้ํ มันเครือ่ ง
ทาและขัดดวยหินขัดน้าํ มัน
ขอควรระวัง:
การสึกหรอของผิวหนาฝาสูบจะเปน
สาเหตุใหเกิดปญหาดังตอไปนี้
• น้า
ํ /น้าํ มันเครื่องรั่ว
• กําลังอัดรั่ว

ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
86-89)

1 มีดขูดปะเก็น
2 หินขัดน้าํ มัน
3 น้าํ มันเครื่อง

(1/1)

การตรวจสอบ สวนประกอบ
1.ตรวจสอบฝาสูบดวยบรรทัดเหล็ก
2.ตรวจสอบการแตกราวของฝาสูบ
3.ตรวจสอบระยะชองวาง
4.ตรวจสอบวาลว
5.ตรวจสอบสปริงวาลว
6.เปลี่ยนปลอกนําวาลว
7.ตรวจสอบบาวาลว
8.ปรับแตงบาวาลว
9.ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว

(1/1)

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

ตรวจสอบฝาสูบดวยบรรทัดเหล็ก
ใชบรรทัดเหล็กและฟลเลอรเกจตรวจสอบ
ความโกงของฝาสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความโกงงอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
76)
ขอแนะนํา:
เครื่องยนตที่โอเวอรฮีทอาจเปนผลให
ฝาสูบโกงได

1 บรรทัดเหล็ก
2 ฟลเลอรเกจ
A ดานเสื้อสูบ
B ดานทอรวมไอดี
C ดานทอรวมไอเสีย

(1/1)

ตรวจสอบการแตกราวของฝาสูบ
ใชนา้ํ ยาตรวจหารอยแตกราวเพื่อหารอย
แตกราวและตรวจสอบฝาสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความเสียหาย/แตกราว
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
85)
ขอแนะนํา:
• เครื่องยนตที่มีการซอมใหญหรือ
เครื่องยนตที่มกี ารน็อคอยางรุนแรง
อาจทําใหฝาสูบแตกราวได
• เปลีย่ นฝาสูบถามีรอยแตกราวหรือ
เสียหาย

1 การแตกราว
2 ฝาสูบ

(1/1)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

ตรวจสอบระยะชองวาง
มีหลายตําแหนงบนฝาสูบที่จะตองทําการ
วัดระยะหางชองวางน้าํ มัน
1. ระยะหางชองวางน้ํามันปลอก
นําวาลว
2. ระยะหางชองวางน้ํามันลูกถวย
กดวาลว
3. ระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว
4. ระยะหางชองวางน้ํามันเพลา
ลูกเบี้ยว
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)

1 ปลอกนําวาลว
2 วาลว
3 ลูกถวยกดวาลว
4 เพลาลูกเบี้ยว
5 พลาสติกเกจ

1. ระยะหางชองวางน้ํามันปลอก
นําวาลว
ใชคาลิปเปอรเกจวัดเสนผาศูนยกลางภาย
ในของปลอกนําวาลว และใชไมโครมิเตอร
วัดเสนผาศูนยกลางภายนอกของกานวาลว
และหลังจากนั้นคํานวณหาระยะหางชอง
วางน้าํ มัน

1 คาลิปเปอรเกจ
2 ไมโครมิเตอร
3 ปลอกนําวาลว
4 วาลว

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

2. ระยะหางชองวางน้ํามันลูกถวย
กดวาลว
ใชคาลิปเปอรเกจวัดเสนผาศูนยกลางภาย
ในของเบาลูกถวยกดวาลว และใช
ไมโครมิเตอรวัดเสนผาศูนยกลางภายนอก
ของลูกถวยกดวาลว และหลังจากนั้น
คํานวณหาระยะหางชองวางน้าํ มัน

1 คาลิปเปอรเกจ
2 ไมโครมิเตอร
3 ลูกถวยวาลว

3. ระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว
ใชไดอัลเกจและไขควงปากแบนวัดระยะ
รุนเพลาลูกเบี้ยว

1 ไดอัลเกจ
2 เพลาลูกเบี้ยว

4. ระยะหางชองวางน้ํามันเพลาลูกเบี้ยว
ใชพลาสติกเกจวัดระยะหางชองวางน้าํ มัน

1 เพลาลูกเบี้ยว
2 พลาสติกเกจ
3 ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว

(1/1)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

ตรวจสอบวาลว
1. การตรวจสอบดวยตาเปลา
ตรวจสอบคราบเขมาที่เกาะอยูบริเวณหนา
วาลว และตรวจสอบหาคราบน้าํ มันเครื่อง
ที่ผานแหวนลูกสูบหรือปลอกนําวาลวออก
มา
ขอแนะนํา:
• ถาหากมีคราบเขมาเกาะอยูบริเวณ
หนาวาลว อาจเกิดขึ้นจากมีนา้ํ มันรั่ว
ผานแหวนลูกสูบขึ้นมายังวาลว ดังนั้น
ใหตรวจสอบระยะหางชองวางน้าํ มัน
ลูกสูบ และแหวนลูกสูบ
• ถาหากมีคราบเขมาเกาะอยูบริเวณ
ดานหลังวาลว
อาจเกิดขึ้นจากมีนา้ํ มันรั่วผานปลอก
นําวาลวเขามายังวาลว ดังนั้น ให
ตรวจสอบระยะหางชองวางน้าํ มัน
ปลอกนําวาลว

1 มีนา้ํ มันเครื่องรัว่ ผานปลอกนําวาลว


2 มีนา้ํ มันเครื่องรัว่ ผานแหวนลูกสูบ

(1/2)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

2. วัดขนาดวาลว
ใชเวอรเนียคาลิปเปอร และไมโครมิเตอร
ตรวจสอบตําแหนงตอไปนี้
(1) ความยาวของวาลว
(2) วัดเสนผาศูนยกลางภายนอกของ
วาลว
(3) วัดความหนาของขอบวาลว
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
เปลีย่ นวาลวถาคาที่วัดไดตา่ํ กวาคา
มาตรฐาน

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร

(2/2)

ตรวจสอบสปริงวาลว
1. ตรวจเช็คสถานะของสปริง
(1) ตรวจเช็คความยาวอิสระ
(2) ตรวจเช็คความเอียงสปริงวาลว
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
2 ฟลเลอรเกจ
3 เหล็กฉาก

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

2. ตรวจเช็คแรงกดสปริง
ใชเครื่องมือทดสอบสปริงวัดแรงกดสปริงที่
ระยะความยาวกําหนดมาตรฐาน
แรงกดสปริงเมื่อติดตั้ง:
แรงกดเมื่อความยาวของสปริงวาลวอยูใน
สภาพที่ติดตั้งบนฝาสูบ
แรงกดสูงสุด:
แรงกดเมื่อความยาวของสปริงถูกกดลงใน
สภาวะที่รับแรงอัดภายใตการทํางานที่
แทจริง
ขอแนะนํา:
เปลีย่ นสปริงวาลวถาแรงกดขณะติดตั้ง
ไมเปนไปตามคากําหนด

1 เครื่องมือทดสอบสปริง

(1/1)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

เปลี่ยนปลอกนําวาลว
ปลอกนําวาลวจะสามารถเปลี่ยนไดอยาง
งายโดยการตมใหรอนกอนเพื่อใหฝาสูบ
ขยายตัว
1. ถอดปลอกนําวาลว
(1) ใหความรอนแกฝาสูบ 80° ถึง 100°C
(176°ถึง 212°F )
ขอควรระวัง:
ฝาสูบอาจเสียรูปไดถาหากไดรับความ
รอนสูงเกินไป
(2) ใชเครื่องมือพิเศษและคอนตอกปลอก
นําวาลวออกทางดานหองเผาไหม
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)

1 เครื่องมือพิเศษถอดและเปลี่ยน
ปลอกนําวาลว
2 ปลอกนําวาลว
3 เครื่องทําความรอน

(1/3)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

2. วัดเสนผาศูนยกลางภายในของรูป
ลอกนําวาลวดวยคาลิปเปอรเกจ
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
ถาคาที่วัดไดสูงกวาคามาตรฐานใหทาํ
การควานรูปลอกนําวาลวเปนขนาด
โอเวอรไซด เพื่อใหสามารถใสวาลว
โอเวอรไซดลงไปได

1 คาลิปเปอรเกจ

(2/3)

3. ตอกปลอกนําวาลว
(1) ใหความรอนแกฝาสูบ 80°ถึง 100° C
(176° ถึง 212° F)
(2) ใชเครื่องมือพิเศษ และคอนตอก
ปลอกนําวาลวเบาๆ ลงไปบนฝาสูบ
จากทางดานบน
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอแนะนํา:
ขณะทีท่ าํ การตอกปลอกนําวาลวใหใช
เวอรเนียคาลิปเปอรวัดระยะความสูง
ของปลอกนําวาลวดวย

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
2 ปลอกนําวาลว

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

4. ควานปลอกนําวาลว
ใชรีมเมอรควานปลอกนําวาลว

1 รีมเมอร
2 ปลอกนําวาลว

(3/3)

ตรวจสอบบาวาลว
ตรวจเช็คผิวหนาสัมผัสระหวางวาลว
และบาวาลว
(1) ทาสีนา้ํ เงินอมเขียวบางๆ
(หรือขาวตะกั่ว) รอบๆผิวหนาสัมผัส
ของวาลว
(2) กดวาลวใหแนบลงกับบาวาลว
(3) ตรวจเช็ควาสีนา้ํ เงินอมเขียว
(หรือสีขาวตะกั่ว) เกาะติดอยูกับ
บาวาลว
1 วาลว ตรวจสอบความกวางหนาสัมผัสและ
2 สีนา้ํ เงินอมเขียว (หรือขาวตะกั่ว) ตําแหนง
3 ไมบดวาลว ถาหนาสัมผัสบาวาลวกวางเกินไปจะทําให
คราบเขมาเกาะบาวาลวไดงายและทําให
บาวาลวรัว่
ตรงกันขามถาหนาสัมผัสแคบเกินไปจะ
ทําใหบาวาลวสึกหรอไมเทากัน
ขอควรระวัง:
• อยาทาสีนา
้ํ เงินอมเขียว
(หรือสีขาวตะกั่ว) มากเกินไป
• ขณะกดวาลวใหแนบลงกับบาวาลว
อยาหมุนวาลว
• การตรวจสอบจะไมสามารถกระทํา
ไดถาหากวาลวคดหรือปลอกนําวาลว
มีระยะหางชองวางน้าํ มันมากเกินไป

(1/1)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

ปรับแตงบาวาลว
1. ปรับแตงบาวาลว
(1)มีดปาดบาวาลวสามารถเปลี่ยน
ตําแหนงหนาสัมผัสบาวาลวได
(2)ความกวางหนาสัมผัสที่ถูกตองให
เทียบกับคามาตรฐาน
ขอควรระวัง:
• ใหหยุดปาดบาวาลวเปนระยะๆ
เพื่อดูความแตกตางของหนาสัมผัส
บาวาลวในแตละครั้ง
• อยาหมุนวาลวกลับทิศทางขณะที่
กดลงบนบาวาลว
• ตรวจเช็คตําแหนงหนาสัมผัสและ
ความกวางขณะทําการปาดบาวาลว
• หากหนาสัมผัสเปนรองหรือกินหนา
สัมผัสเปนชวงๆ ใหลดแรงในการปาด
บาวาลวลง

1 หนาสัมผัสวาลวสูงเกินไป
2 หนาสัมผัสวาลวต่าํ เกินไป
3 ตําแหนงในการปาดหนาสัมผัส
บาวาลว

(1/2)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

2. การบดวาลว
(1) หลังจากทําการปาดบาวาลวทา
บาวาลวดวยกากเพชร
(2) ดันวาลวขึ้นลงดวยไมบดวาลวและ
ใหวาลวสัมผัสกับบาวาลว
ขอควรระวัง:
ขณะกดวาลวใหแนบลงกับบาวาลวอยา
หมุนวาลว
(3) หลังจากที่ทาํ ตามขอ 2 เรียบรอยแลว
ทําความสะอาดกากเพชรออกจากวาลว
และบาวาลว
3. ตรวจเช็ค
ตรวจเช็คหนาสัมผัสวาลวและบาวาลว
อีกครั้ง
1 ไมบดวาลว

(2/2)

ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว
ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยวดังตอไปนี้
1. ตรวจเช็คความคดงอของเพลา
2. ตรวจเช็คความสูงยอดแคม
3. ตรวจเช็คเสนผาศูนยกลางขอเพลา
ลูกเบี้ยว
ขอแนะนํา:
• ลูกเบี้ยวที่สึกหรอจะทําใหเกิด
เสียงดังและเปนเหตุใหวาลวไอดีและ
ไอเสียเปดและปดไมตรงกับจังหวะ
การทํางาน
• ถาคาที่วัดไดไมอยูในคากําหนดให
เปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยว

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

1. ตรวจเช็คความคดงอของเพลา
วางเพลาลูกเบี้ยวบน วี-บล็อคและใช
ไดอัลเกจวัดความคดงอของเพลาลูกเบี้ยว
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความคดงอของเพลา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
75)

1 ไดอัลเกจ
2 แทนวัดเพลาตัววี

2. ตรวจเช็คความสูงยอดแคม
ใชไมโครมิเตอรวัดความสูงของแคม
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

1 ไมโครมิเตอร

3. ตรวจเช็คขอเพลาลูกเบี้ยว
ใชไมโครมิเตอรวัดขอเพลาลูกเบี้ยว
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

1 ไมโครมิเตอร

(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

การประกอบกลับ สวนประกอบ
1.ติดตัง้ ซีลน้าํ มันหมวกวาลว
2.ติดตัง้ วาลว
3.ติดตัง้ ลูกถวยกดวาลว

1 ลูกถวยกดวาลว
2 ประกับวาลว
3 บารองสปริงวาลว
4 สปริงวาลว
5 ซีลน้าํ มันหมวกวาลว
6 แหวนรองสปริงวาลว
7 วาลว

(1/1)

ติดตั้งซีลน้ํามันหมวกวาลว
1. ติดตั้งแหวนรองสปริงวาลว
2. ติดตั้งซีลน้ํามันหมวกวาลว
(1) ทาน้าํ มันเครื่องบริเวณผิวหนาดาน
ในของซีลน้าํ มันหมวกวาลว
(2) จัดซีลน้าํ มันหมวกวาลวเขากับ
เครื่องมือพิเศษ
(3) ดันซีลน้าํ มันหมวกวาลวใหตรงเขา
กับปลอกนําวาลว
ขอควรระวัง:
• ซีลน้าํ มันหมวกวาลวของวาลวไอดี
และวาลวไอเสียมีสีไมเหมือนกัน
ถาติดตั้งผิดจะทําใหเกิดความเสียหาย
ได
• ซีลน้า ํ มันหมวกวาลวของวาลวไม
สามารถนํากลับมาใชใหมไดในการ
ติดตั้งตองใชซีลน้าํ มันหมวกวาลว
ตัวใหม

1 เครื่องมือพิเศษถอดเปลี่ยนซีลน้าํ มัน
หมวกวาลว
2 ซีลน้าํ มันหมวกวาลว
3 แหวนรองสปริงวาลว
ทาน้าํ มันเครื่อง
(1/1)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

ติดตั้งวาลว
ติดตัง้ วาลวกลับตําแหนงเดิมตามลําดับ
ดังนี้
1. ทาน้าํ มันเครื่องบริเวณกานวาลวแลัว
สอดเขาไปในรูของปลอกนําวาลวจาก
ทางดานหองเผาไหม
2. ตรวจสอบการเคลื่อนตัวของวาลววา
เปนไปอยางราบเรียบ
3. ติดตั้งสปริงวาลวและบารองสปริง
4. จัดเครือ่ งมือพิเศษเขากับบารอง
สปริงวาลว
5. หมุนเครือ่ งมือพิเศษอัดสปริงวาลว
ลงไปจนกระทั่งสามารถติดตั้งประกับ
วาลวได
6. เพื่อปองกันไมใหประกับวาลวหลน
ออกมา เมื่อประกอบใหทาจาระบีที่
ประกับวาลวกอนประกอบ
7. ถอดเครื่องมือพิเศษกดสปริงวาลว

1 เครื่องมือพิเศษกดสปริงวาลว
2 ประกับวาลว
ทาจาระบีเอนกประสงค
(1/2)

8. หลังจากถอดเครื่องมือพิเศษแลว ใช
วาลวเกาวางบนวาลวที่ติดตั้งแลวเคาะ
ดวยคอนพลาสติกเพื่อใหวาลวเขาที่
ขอควรระวัง:
กอนทําการเคาะใหใชผาสะอาดคลุม
กอนเพื่อปองกันประกับวาลวกระเด็น
ออกมาถาหากติดตั้งไมดี

1 วาลวเกา
2 เทป
3 ผาสะอาด

(2/2)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ

คําถาม-1
ทําเครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด :
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
1 การถอดลูกถวยกดวาลวใหใชคีมปากแหลมออกจากฝาสูบ ถูก ผิด
ใหจัดวางวาลวบนกระดาษทีม่ ีมารคบอกตําแหนงเพื่อการประกอบกลับ
2 ถูก ผิด
ตําแหนงเดิมไดถูกตอง
ในเครื่องยนตที่ผานการโอเวอรฮีตมาแลวหรือเครื่องยนตที่มกี ารน็อค
3 ถูก ผิด
อยางรุนแรงอาจทําใหฝาสูบแตกราวได
4 ในการวัดระยะหางชองวางน้าํ มันของเพลาลูกเบี้ยวใหใชไดอัลเกจวัด ถูก ผิด
ถามีคราบเขมาเกาะที่ดา นหลังของวาลวไอดีเปนลักษณะรูประฆังอาจ
5 ถูก ผิด
เกิดจากมีนา้ํ มันรั่วผานมาทางดานปลอกนําวาลว

คําถาม-2
สาเหตุจากขอใดที่ทาํ ใหฝาสูบเกิดการโกงงอได
1. น้าํ หลอเย็นมากเกินไป
2. มีนา้ํ มันเครื่องรั่วผานแหวนลูกสูบ
3. แบริ่งกานสูบละลาย
4. เครื่องยนตรอนจัด (โอเวอรฮีท)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ
คําถาม-3
การถอดปลอกนําวาลวขอใดกลาวถูกตอง?
ุ หภูมริ ะหวาง -20° C ถึง 0° C
1. กอนทําการถอดทําใหฝาสูบเย็นตัวกอนที่อณ
2. ใหถอดในหองทีม่ ีอุณหภูมิระหวาง 20° C ถึง 40° C
3. กอนทําการถอดทําใหฝาสูบรอนกอนทีอ่ ุณหภูมิระหวาง 80° C ถึง 100° C
4. กอนทําการถอดทําใหฝาสูบรอนกอนทีอ่ ุณหภูมิระหวาง 140° C ถึง 160° C

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง- การซอมใหญเครื่องยนต ฝาสูบ
คําถาม-4
ภาพตอไปนี้แสดงการวัดความยาวอิสระของสปริงวาลวไดถูกตอง?
1. 2.

3. 4.

1. 2. 3. 4.

คําถาม-5
การประกอบซีลน้าํ มันหมวกวาลวขอใดกลาวถูกตอง?
1. ซีลน้าํ มันหมวกวาลวของลิน้ ไอดี สามารถนํากลับมาใชใหมได
2. ซีลน้าํ มันหมวกวาลวของลิน้ ไอดีและลิ้นไอเสียมีลักษณะเหมือนกัน
3. เมื่อประกอบซีลน้าํ มันหมวกวาลว หามทาจาระบีเพื่อปองกันไมใหนา้ํ มันรัว่ ผานปลอกนําวาลวได
4. ใชซีลน้าํ มันหมวกวาลวอันใหม และเครือ่ งมือพิเศษเทานั้น ในการประกอบ

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการถอดแยก
ตรวจสอบ และการประกอบกลับเสื้อสูบ
1. การถอดแยกชิ้นสวน
ถอดลูกสูบและเพลาขอเหวี่ยงหลังจาก
ทําการวัดระยะหางชองวางน้าํ มัน
2. การตรวจสอบ
ใชเครื่องมือวัดทําการวัดความบิดเบี้ยวและ
การสึกหรอของชิ้นสวนและทําการเปลี่ยน
ชิ้นสวนที่มคี าเกินมาตราฐานดวยอะไหล
ชิ้นใหม
3. การประกอบกลับ
การประกอบลูกสูบและเพลาขอเหวี่ยงขณะ
ทําการประกอบตรวจสอบตําแหนงและ
ทิศทางใหถูกตอง
(1/1)

การถอดแยกชิ้นสวน ตรวจสอบระยะชองวาง
ตรวจสอบตามหัวขอดังตอไปนี้
กอนทําการถอดชิ้นสวนออกจากเสื้อสูบ
1. ระยะรุนกานสูบ
2. ระยะหางชองวางน้ํามันของ
ประกับกานสูบ
3. ระยะรุนเพลาขอเหวี่ยง
ขอแนะนํา:
ตรวจสอบระยะรุนของเพลาขอเหวี่ยง
หลังจากถอดลูกสูบกับกานสูบออกแลว
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)
(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

1. ระยะรุนกานสูบ
ใชไดอัลเกจวัดระยะรุน

1 ไดอัลเกจ
2 กานสูบ
3 เพลาขอเหวี่ยง

2. ระยะหางชองวางน้ํามันของ
ประกับกานสูบ
ใชพลาสติกเกจวัดระยะหางชองวางน้าํ มัน

1 พลาสติกเกจ
2 กานสูบ
3 เพลาขอเหวี่ยง

การเลือกแบริ่งกานสูบ

แบริ่งกานสูบมีหลายขนาด
การเปลีย่ นแบริ่งใหใชแบริ่งที่มีขนาด
เหมือนกับแบริ่งอันเดิม ซึ่งแบริ่งแตละตัว
และประกับกานสูบจะมีมารคบอกขนาดบน
ตัวมัน

1 แบริ่ง
2 ประกับกานสูบ
3 มารคบอกขนาด

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

3. ระยะรุนเพลาขอเหวี่ยง
ใชไดอัลเกจและไขควงปากแบนวัดระยะ
รุนเพลาลูกเบี้ยว

1 ไดอัลเกจ

(1/1)

ถอดลูกสูบ
1. ขจัดคราบเขมาออกจากผนัง
ดานในของกระบอกสูบ
2. ถอดประกับแบริ่งกานสูบ
3. ถอดแบริ่งกานสูบ
4. ถอดลูกสูบ

1 ลูกสูบพรอมกานสูบ
2 ลูกปน
3 ประกับแบริ่ง

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

1. ขจัดคราบเขมาออกจากผนังดานใน
ของกระบอกสูบ
ขอแนะนํา:
ถามีเขมาสะสมอยู แหวนลูกสูบจะติด
ที่เขมาและทําใหแหวนลูกสูบเสียหาย
เมือ่ ทําการถอดออก
2. ถอดประกับแบริ่งกานสูบ
ขอแนะนํา:
ถาประกับกานสูบถอดยากใหใช
โบลท 2 ตัวสอดเขาไปภายในรูยึด
ประกับกานสูบแลวทําการโยกไปมาจน
กระทั่งประกับกานสูบหลุดออก

1 รีมเมอร
2 คราบเขมา
3 แหวนลูกสูบ
4 ลูกสูบ
5 ประกับแบริ่ง
(1/2)

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

3. ถอดแบริ่งกานสูบ
สอดไขควงปากแบนลงไปในรองบากของ
ประกับกานสูบอยางระมัดระวังและงัด
แบริ่งออกมาจากประกับกานสูบ
4. ถอดลูกสูบ
กระแทกกานสูบเบาๆ ดวยดามคอน
และถอดลูกสูบ และกานสูบออกมา
ขอควรระวัง:
• ระวังอยาใหกานสูบกระแทกกับผนัง
กระบอกสูบอาจทําใหกระบอกสูบ
เสียหายได
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

1 ลูกปน
2 ประกับกานสูบ
3 ลูกสูบ

• ถากานมีโบลทใหสวมโบลทไวดวย
ทอพลาสติกเพื่อปองกันการเกิดความ
เสียหายกับผนังกระบอกสูบ

1 ทอพลาสติก
2 กานสูบ

(2/2)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

ถอดเพลาขอเหวี่ยง
1. ถอดประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง
2. ถอดเพลาขอเหวี่ยง
3. ถอดแบริ่ง

1 เพลาขอเหวี่ยง
2 แบริ่งกันรุน
3 แบริ่ง
4 ประกับเพลาขอเหวี่ยง

1. ถอดประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง
ถอดโบลทยึดประกับเพลาขอเหวี่ยงจาก
ดานนอกเขาดานในตามลําดับ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
ขอแนะนํา:
ถาประกับเพลาขอเหวี่ยงถอดยากใหใช
1 10
โบลท 2 ตัวสอดเขาไปในรูประกับเพลา
ถึง เปนการถอดประกับแบริ่งตามลําดับ
ขอเหวี่ยงแลวทําการโยกไปมาจน
กระทั่งประกับเพลาขอเหวี่ยงหลุดออก
1 โบลทยึดประกับเพลาขอเหวี่ยง
2 ประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง 2. ถอดเพลาขอเหวี่ยง
3 แบริ่ง ถอดเพลาขอเหวี่ยงออกโดยยกขึ้นดานบน
ในแนวตรง
3. ถอดแบริ่ง
สอดไขควงปากแบนลงไปในรองบากของ
ประกับกานสูบอยางระมัดระวังและงัด
แบริ่งออกมาจากประกับกานสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)
(1/1)

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

ถอดแยกลูกสูบ
1. ถอดแหวนลูกสูบ
(1) ถอดแหวนลูกสูบตัวที่ 1 และ 2
ตามลําดับดวยคีมถางแหวนตามชนิด
ของแหวนลูกสูบที่เหมาะสมกับลักษณะ
ของหนาสัมผัสกับปากแหวน
ขอควรระวัง:
แหวนลูกสูบอาจเสียหายไดถาถางหรือ
บิดตัวมากเกินไป
(2) ถอดแหวนน้าํ มันดวยมือ

1 แหวนลูกสูบตัวที่ 1
2 แหวนลูกสูบตัวที่ 2
3 แหวนน้าํ มัน
4 ลูกสูบ
5 สลักลูกสูบ
6 กานสูบ

1. ถอดแหวนลูกสูบ
(1) ถอดแหวนลูกสูบตัวที่ 1 และ 2
ตามลําดับดวยคีมถางแหวนตามชนิด
ของแหวนลูกสูบที่เหมาะสมกับลักษณะ
ของหนาสัมผัสกับปากแหวน
ขอควรระวัง:
แหวนลูกสูบอาจเสียหายไดถาถางหรือ
บิดตัวมากเกินไป

1 คีมถางแหวน
2 แหวนลูกสูบ
3 ลูกสูบ

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

(2) ถอดแหวนน้าํ มันดวยมือ

4 แหวนน้าํ มัน
5 รางน้าํ มัน

(1/2)

2. ถอดสลักลูกสูบ
(1) จัดลูกสูบใหตรงในเครื่องมือพิเศษ
ขอควรระวัง:
ถาเครื่องมือพิเศษและลูกสูบเอียงจะทํา
ใหลกู สูบแตกราวได
(2) อัดเครื่องมือพิเศษดวยเครือ่ งอัด
ไฮดรอลิก และถอดสลักลูกสูบออก
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
1 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดเปลี่ยนสลักลูกสูบ “พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
2 กานสูบ 3 สลักลูกสูบ
21-28)
4 ประกับกานสูบ 5 ลูกสูบ
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติตั้ง
6 เครื่องอัดไฮดรอลิค (ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

(2/2)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

การตรวจสอบ สวนประกอบ
1. ตรวจสอบความโกงของเสื้อสูบ
2. ตรวจสอบระยะหาง
3. ตรวจสอบลูกสูบและแหวนลูกสูบ
4. ตรวจสอบโบลทยึดประกับแบริ่ง
5. ตรวจสอบเพลาขอเหวี่ยง

(1/1)

ตรวจสอบความโกงของเสื้อสูบ
ใชบรรทัดเหล็กและฟลเลอรเกจตรวจสอบ
ความโกงของเสื้อสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความโกงงอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
76)
ขอแนะนํา:
เครื่องยนตที่รอนจัดอาจทําใหเสื้อสูบ
โกงได

1 บรรทัดเหล็ก
2 ฟลเลอรเกจ
(1/1)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

ตรวจสอบระยะชองวาง
ตรวจเช็คระยะหางตางๆ ของเสื้อสูบ
ดังตอไปนี้
1. ระยะหางชองวางน้ํามันลูกสูบ
2. ระยะหางชองวางน้ํามันสลักลูกสูบ
3. ระยะหางชองวางน้ํามันประกับ
เพลาขอเหวี่ยง
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)

1 ลูกสูบ
2 เสื้อสูบ
3 สลักลูกสูบ
4 กานสูบ
5 ประกับเพลาขอเหวี่ยง
6 เพลาขอเหวี่ยง

1. ระยะหางชองวางน้ํามันลูกสูบ
ใชไมโครมิเตอรวัดเสนผาศูนยกลาง
ภายนอกของลูกสูบและใชไซลินเดอรเกจ
วัดขนาดของกระบอกสูบแลวนําคามา
คํานวณหาระยะหางชองวางน้าํ มัน
ขอแนะนํา:
สําหรับตําแหนงการวัดจุด"a" และ
จุด"d"ดังแสดงในภาพใหอางอิงจาก
คูมอื การซอม

1 ลูกสูบ
2 ไมโครมิเตอร
3 ไซลินเดอรเกจ
4 ระยะหางชองวางน้าํ มันลูกสูบ
5 ทิศทางการรุน
6 ทิศทางตามแนวแกน

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

2. ระยะหางชองวางน้ํามันสลักลูกสูบ
ใชไมโครมิเตอรวัดขนาดเสนผาศูนยกลาง
ภายนอกสลักลูกสูบและใชคาลิปเปอรเกจ
วัดขนาดรูสลักลูกสูบแลวนําคามาคํานวณ
หาระยะชองวางน้าํ มัน

1 สลักลูกสูบ
2 ลูกสูบ
3 กานสูบ
4 ไมโครมิเตอร
5 คาลิปเปอรเกจ

3. ระยะหางชองวางน้ํามันเพลา
ขอเหวี่ยง
ใชพลาสติกเกจวัดระยะหางชองวางน้าํ มัน

1 พลาสติกเกจ
2 ประกับเพลาขอเหวี่ยง
3 เพลาขอเหวี่ยง
4 เสื้อสูบ

การเลือกขนาดแบริง่ เพลาขอเหวี่ยง

เปลี่ยนแบริ่งที่มีขนาดเดียวกัน ดังทีแ่ สดง


ไวบนประกับเพลาขอเหวี่ยงและเสื้อสูบ ซึ่ง
มีมารคบอกขนาดกํากับไว

1 เพลาขอเหวี่ยง
2 แบริ่ง
3 เสื้อสูบ
4 มารคบอกขนาด

(1/1)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

ตรวจสอบลูกสูบและแหวนลูกสูบ
1. ระยะหางของรองแหวนลูกสูบ
ใชฟลเลอรเกจวัดระยะชองวางระหวาง
แหวนลูกสูบกับรองแหวนลูกสูบรองที่ 1
และรองที่ 2
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
ขอแนะนํา:
• ถาระยะหางรองแหวนมากเกินไปจะ
เปนสาเหตุทาํ ใหเกิดเสียงดังผิดปกติ
• ถาระยะหางรองแหวนนอยเกินไปจะ
เปนสาเหตุทาํ ใหแหวนลูกสูบเสียหาย
ได และ/หรือทําใหผนังกระบอกสูบ
ขยายตัวมากเกินไปเนื่องจากความ
รอนสูง

1 ฟลเลอรเกจ
2 แหวนลูกสูบชุดใหม
3 ระยะหางแหวนลูกสูบตัวที่ 1
4 ระยะหางแหวนลูกสูบตัวที่ 2
(1/2)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

2. ชองวางปากแหวนลูกสูบ
ใชลูกสูบดันแหวนลูกสูบลงไปในกระบอก
สูบใหแหวนลูกสูบอยูในแนวขนาน และ
ความลึกใหตรงกับตําแหนงตามคา
มาตรฐานทีก่ าํ หนด ซึ่งเปนตําแหนงที่มี
การสึกหรอนอยที่สุด
• ถาระยะชองวางปากแหวนมากเกินไป
จะทําใหกําลังอัดรั่วผานปากแหวน
• ถาระยะชองวางปากแหวนนอยเกินไป
เมื่อปากแหวนขยายตัวจะทําใหปาก
แหวนชนกัน และ/หรือทําใหผนัง
กระบอกสูบเปนรอยขูดจาก
ปากแหวน
ขอแนะนํา:
• การวัดระยะหางปากแหวนใหวัดใน
สภาพคลายกับการใชงานจริง โดย
การจัดแหวนลูกสูบใหอยูภายใน
กระบอกสูบ
• ระยะ A ทีแ ่ สดงตามรูป
ใหอางอิงจากคูมือการซอม

1 ลูกสูบ
2 แหวนลูกสูบ
3 ฟลเลอรเกจ
(2/2)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

ตรวจสอบโบลทยึดประกับแบริ่ง
ถาโบลทแบบพลาสติกรีเจนถูกใชขัน
ประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยงแลว
ทุกครั้งที่ขันโบลทยึดฝาสูบแบบพลาสติก
รีเจนจะทําใหโบลทยืดยาวออกการวัด
ความยาวและเสนผาศูนยกลางของโบลท
แตละตัวจะเปนการตัดสินวาจะนําโบลท
กลับมาใชอีกไดหรือไม

ตรวจสอบโบลทดงั ตอไปนี้
(1) โบลทยึดประกับแบริง่ เพลาขอเหวี่ยง
(2) โบลทยึดประกับแบริง่ กานสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
(1/1)

ตรวจสอบเพลาขอเหวี่ยง
ตรวจสอบเพลาขอเหวี่ยงตามลําดับทัง้ 3
ขอดังนี้
1. ความคดงอของเพลาขอเหวี่ยง
2. วัดเสนผาศูนยกลางของขอหลัก
และขอกาน
3. ตรวจสอบการสึกหรอของฟนเฟอง
ไทมมงิ่

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

1. ความคดงอของเพลาขอเหวี่ยง
วางเพลาขอเหวี่ยงลงบนแทนรูปตัววีและใช
ไดอัลเกจวัดความคดงอของเพลาขอเหวี่ยง
โดยการหมุนเพลาขอเหวี่ยง 1 รอบ
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความคดงอของเพลา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
75)

1 ไดอัลเกจ
2 แทนรูปตัววี
(1/1)

2. วัดเสนผาศูนยกลางของขอหลัก
และขอกาน
ใชไมโครมิเตอรวัดขนาดของขอหลัก
และขอกาน
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

1 ไมโครมิเตอร
2 ขอกาน
3 ขอหลัก

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

3. ตรวจสอบการสึกหรอของฟนเฟอง
ไทมมงิ่
ใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดเสนผาศูนยกลาง
ภายนอกของฟนเฟองไทมมิ่ง
การสึกหรอจะเกิดขึ้นอยูระหวางรองฟน
สาเหตุที่ฟนเฟองสึกหรอเพราะโรลเลอร
ของโซสวมเขาไปในรองฟนของเฟองไทมมงิ่
เมื่อเฟองขับโซที่มีแรงตานจากการกดสปริง
วาลวจะทําใหฟนเฟองไทมมิ่งสึกหรอเปน
สาเหตุใหเสนผาศูนยกลางภายนอกของฟน
เฟองลดลง ดังนั้น การวัดขนาดของเสน
ผาศูนยกลางเพื่อใชในการวินิจฉัยฟนเฟอง
ไทมมิ่งวาสามารถใชตอไปไดหรือไม
ถาใชฟนเฟองไทมมิ่งที่สึกหรอเกินคา
กําหนดจะทําใหโซหยอน และกระโดดขาม
ฟนเฟองได ซึ่งอาจทําใหเกิดความเสียหาย
กับกลไกวาลวได

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
2 โซไทมมิ่ง
3 ฟนเฟองไทมมงิ่
(1/1)

การประกอบกลับ ติดตั้งเพลาขอเหวี่ยง

1 เพลาขอเหวี่ยง
2 แบริ่งกันรุน
3 แบริ่ง
4 ประกับเพลาขอเหวี่ยง

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

ติดตั้งเพลาขอเหวี่ยง
(1) ประกอบแบริ่งและแหวนกันรุนเขากับ
เสื้อสูบและประกับเพลาขอเหวี่ยง
(2) ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวหนาสัมผัสของ
แบริง่
ขอควรระวัง:
หามทาน้าํ มันที่ดานหลังของแบริ่ง
ความรอนที่เกิดขึ้นที่แบริ่งจะถูกระบาย
ความรอนไปยังเสื้อสูบโดยผานทางดาน
หลังของแบริ่ง ถามีนา้ํ มันเครื่องอยู
1
บริเวณดานหลังของแบริ่งจะทําใหการ
ถึง 10 เปนการติดตั้งประกับแบริ่งตามลําดับ
1
ระบายความรอนผานไปยังเสื้อสูบได
แบริ่ง
2
ไมดี
แบริ่งกันรุน
3 ประกับเพลาขอเหวี่ยง (3) จัดวางเพลาขอเหวี่ยงลงบนเสื้อสูบ
4 เสื้อสูบ (4) ขันโบลทยึดประกับเพลาขอเหวี่ยง
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)
(5) หลังจากประกอบเพลาขอเหวี่ยงเสร็จ
แลวทดลองหมุนเพลาขอเหวี่ยงดวยมือ
(1/1)

ประกอบชิ้นสวนลูกสูบ
1. ประกอบลูกสูบและกานสูบ
2. ประกอบแหวนลูกสูบ

1 แหวนลูกสูบ
2 แหวนน้าํ มัน
3 ลูกสูบ
4 สลักลูกสูบ
5 กานสูบ

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

1. ประกอบลูกสูบและกานสูบ
(1) จัดมารคดานหนาของลูกสูบและกาน
สูบใหตรงกัน
(2) จัดลูกสูบ สลักลูกสูบและกานสูบเขา
กับเครื่องมือพิเศษ แลวดันสลักลูกสูบ
เขาไปในลูกสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอควรระวัง:
ถาเครื่องมือพิเศษและลูกสูบเอียงจะ
ทําใหลูกสูบแตกราวได

1 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดเปลี่ยน
สลักลูกสูบ
2 ลูกสูบ 3 สลักลูกสูบ

4 กานสูบ 5 มารคดานหนา
(1/2)

2. ประกอบแหวนลูกสูบ
(1) ประกอบแหวนน้าํ มันดวยมือ
(2) วางแหวนลูกสูบใหอยูในแนวราบ
ภายในคีมถางแหวนและประกอบแหวน
ลูกสูบเขากับรองแหวนลูกสูบรองที่ 2
และรองที่ 1 ตามลําดับ
ขอควรระวัง:
แหวนลูกสูบอาจเสียหายไดถาถางหรือ
บิดตัวมากเกินไป
ขอแนะนํา:
1 คีมถางแหวน 2 แหวนลูกสูบ • อยาจัดปากแหวนใหอยูตรงกัน
3 ชองวางปากแหวนลูกสูบ 4 แหวนลูกสูบตัวที่ 1 เพราะจะทําใหกาํ ลังอัดรั่วผานรอง
5 แหวนลูกสูบตัวที่ 2 6 แหวนน้า
ํ มัน ปากแหวนได
A มารคดานหนา • การจัดปากแหวนใหอา  งอิงจาก
คูมือการซอม

(2/2)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

ติดตั้งลูกสูบ

1 ลูกสูบพรอมกานสูบ
2 แบริ่ง
3 ประกับกานสูบ

ติดตั้งลูกสูบ
1. จัดเสื้อสูบใหอยูตาํ แหนงตั้งตรง
ขอควรระวัง:
• ถาเสื้อสูบเอียงหรือตะแคง ขณะ
ประกอบลูกสูบอาจทําใหกานสูบไปขูด
กับผนังกระบอกสูบทําใหกระบอกสูบ
สึกหรอได

• ถากานมีโบลทใหสวมโบลทไวดวย
ทอพลาสติกเพื่อปองกันการเกิด
ความเสียหายกับผนังกระบอกสูบ

1 ทอพลาสติก
2 กานสูบ

(1/3)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

2. ติดตั้งลูกสูบ
(1) ประกอบแบริ่งกานสูบเขากับกานสูบ
และประกับกานสูบ
(2) ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวหนาสัมผัสของ
แบริง่
ขอควรระวัง:
หามทาน้าํ มันที่ดานหลังของแบริ่ง
ความรอนที่เกิดขึ้นที่แบริ่งจะถูกระบาย
ความรอนไปยังกานสูบโดยผานทาง
ดานหลังของแบริง่ ถามีนา้ํ มันเครื่องอยู
บริเวณดานหลังของแบริ่งจะทําใหการ
ระบายความรอนผานไปยังกานสูบได
ไมดี

1 แบริ่ง
2 กานสูบ
(2/3)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

(2) รัดแหวนเขากับรองแหวนลูกสูบดวย
ปลอกรัดแหวน
ขอควรระวัง:
ถาลูกสูบหมุนหรือขยับขณะอยูในปลอก
รัดแหวนตําแหนงของปากแหวนอาจ
เลือ่ นเปลี่ยนตําแหนงได และ/หรือ
ลูกสูบอาจเสียหายได
ขอแนะนํา:
• ถาแหวนอัดยื่นออกมาจากรองแหวน
ในขณะที่กาํ ลังดันลูกสูบลงไปใน
กระบอกสูบจะทําใหลูกสูบลงใน
กระบอกสูบไดยาก
• ทาน้าํ มันเครือ่ งที่แหวนลูกสูบเพื่อ
หลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับ
ลูกสูบและแหวนลูกสูบ
(3) หันมารคดานหนาของลูกสูบไป
ดานหนาเครื่องยนตและใชดามคอน
เคาะลูกสูบลงไปในกระบอกสูบอยาง
เบาๆ
(4) ประกอบประกับกานสูบและขันโบลท
ยึดกานสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)
(5) ทุกครั้งที่ประกอบลูกสูบใหหมุนเพลา
ขอเหวี่ยงเพื่อใหเพลาขอเหวี่ยงหมุนได
อยางราบเรียบ

1 ปลอกรัดแหวน
(3/3)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

คําถาม-1
ทําเครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด :
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
เมือ่ ประกับกานสูบถอดออกยากใหใชไขควงงัดระหวางเพลาขอเหวี่ยง
1 ถูก ผิด
กับประกับกานสูบ
เมือ่ ถอดลูกสูบออกจากเสื้อสูบใหใชดามคอนกระแทกกานสูบออกเบาๆ
2 หรือไมใหกระบอกสูบสึกหรอคอยๆ ดึงลูกสูบออก ทางดานบนของ ถูก ผิด
เสื้อสูบ
การคลายโบลทยึดประกับเพลาขอเหวี่ยงใหคลายจากตัวนอกสุดเขา
3 ดานใน และใหคลายโบลทออกครั้งละเทาๆ กันหลายๆ ครั้ง ถูก ผิด
อยาคลายเพียงครั้งเดียว
สําหรับระยะชองวางน้าํ มันสลักลูกสูบใหวัดเสนผาศูนยกลางภายนอก
ของสลักลูกสูบดวยคาลิปเปอรเกจและวัดเสนผาศูนยกลางภายในของ
4 ถูก ผิด
รูสลักลูกสูบดวยไมโครมิเตอรจากนั้นนําคาทั้งสองมาคํานวณหาระยะ
ชองวางน้าํ มัน
สําหรับการวัดระยะชองวางน้าํ มันเพลาขอเหวี่ยงใหใชเกจวัดแรงดันทํา
5 ถูก ผิด
การวัด

คําถาม-2
จากภาพดานลางเปนการวัดความโกงของเสื้อสูบ ภาพใดแสดงตําแหนงการวัดไดถูกตอง?
1. 2.

3. 4.

1. 2. 3. 4.

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต เสื้อสูบ

คําถาม-3
ขอใดตอไปนี้กลาวถึงวิธีการวัดระยะหางชองน้าํ มันลูกสูบไดถูกตอง?
1. วัดดวยเกจวัดแรงดัน
2. วัดเสนผาศูนยกลางภายนอกของลูกสูบดวยไมโครมิเตอร และวัดขนาดของกระบอกสูบดวยไซลินเดอรเกจ
เพื่อนําคามาคํานวณหาระยะหางชองวางน้าํ มัน
3. ใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดเสนผาศูนยกลางภายนอกของลูกสูบ และวัดขนาดของกระบอกสูบ
เพื่อนําคามาคํานวณหาระยะหางชองวางน้าํ มัน
4. ใชฟลเลอรเกจวัดระหวางชวงชองวางของลูกสูบกับผนังกระบอกสูบ

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายถึงวิธีการประกอบ
เครื่องยนตหลังจากการซอมใหญฝาสูบใน
บางสวนของเครื่องยนตแลวประกอบ
ชิ้นสวนตางๆ
การประกอบชิ้นสวนตางๆ
การประกอบฝาสูบและเสื้อสูบ ทําการ
ตรวจเช็คและปรับตั้งระยะหางวาลว

(1/1)

การประกอบกลับ สวนประกอบ
1. ติดตั้งอางน้ํามันเครื่อง
เมื่อติดตั้งอางน้าํ มันเครื่องใหใชปะเก็น
เหลวทา
สําหรับการทาปะเก็นเหลวใหทาํ ตาม
คําแนะนําจากคูมือการซอม
ตําแหนงหรือบริเวณที่จะตองทําการทา
ปะเก็นเหลวใหอางอิงจากคูมือการซอมใน
รุนนั้น

1 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
2 ปะเก็น
3 กรองหยาบ
4 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2
5 ปลั๊กถายน้าํ มันเครื่อง

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

1. เช็ดทําความสะอาดหนาสัมผัส
อางน้ํามันเครื่อง
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
86-89)
2. การทาปะเก็นเหลว
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)
3. ติดตั้งอางน้ํามันเครื่อง
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
1 ผาสะอาด

2 ปะเก็นเหลว

3 อางน้า
ํ มันเครื่องตัวที่ 1
4 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

2.ติดตั้งปะเก็นฝาสูบ
1. ติดตั้งปะเก็นฝาสูบ
(1) กอนติดตั้งปะเก็นฝาสูบใหทาํ ความ
สะอาดบริเวณผิวสัมผัสปะเก็นทั้งเสื้อ
สูบและฝาสูบ
(2) ทําความสะอาดรูโบลทยึดฝาสูบและ
ทําความสะอาดน้าํ มันหรือน้าํ ออกจาก
รูโบลทยึดฝาสูบ
ขอควรระวัง:
ถาหากภายในรูโบลทยึดฝาสูบยังคงมี
1 ผาสะอาด น้าํ มันหรือน้าํ อยูภายในอาจทําให
2 ปะเก็นฝาสูบ เสื้อสูบเสียหายเนื่องจากแรงดันของ
3 เสื้อสูบ ของเหลวได
(3) ดูตาํ แหนงและทิศทางของปะเก็น
ฝาสูบใหถูกตอง และติดตั้งลงบนเสื้อสูบ
ขอควรระวัง:
ถาประกอบผิดตําแหนงจะทําใหรูนา้ํ มัน
หลอลืน่ และชองทางน้าํ ยาหลอเย็น
ไมตรง ซึ่งอาจทําใหนา้ํ มันเครื่อง
และน้าํ ยาหลอเย็นรั่วได
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
86-89)

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

3.ติดตั้งฝาสูบ
1. จัดตั้งเรียงฝาสูบใหตรงกับสลักตรงที่
อยูบนเสื้อสูบ และทําการตั้งบนฝา
เสื้อสูบ
ขอควรระวัง:
เมือ่ ทําการจัดวางฝาสูบซึง่ อยูบนเสื้อสูบ
ใหระมัดระวังไมใหฝาสูบเคลื่อนที่
เพราะดานลางของฝาสูบจะมีสลักตรง
เพื่อยึดฝาสูบไวอาจเกิดความเสียหาย
ได
2. ขันยึดฝาสูบดวยโบลทใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)
1 ฝาสูบ 2 ปะเก็นฝาสูบ

3 เสื้อสูบ 4 สลักยึดล็อคฝาสูบ
5 โบลทยึดฝาสูบ

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

4. ติดตั้งซีลน้ํามัน
ติดตัง้ ซีลน้าํ มันเขาที่ฝาครอบโซไทมมิ่งของ
เครื่องยนตเพื่อปองกันน้าํ มันเครื่องไหล
ออกมา
ใชเครื่องมือพิเศษในการตอกซีลน้าํ มันโดย
ใชคอนตอกไปที่เครื่องมือพิเศษซึ่งประกอบ
อยูกับซีลน้าํ มัน
ขอแนะนําการบริการ:
ซีลน้าํ มัน
ขอแนะนํา:
• กอนที่จะทําการตอกซีลควรใชจาระบี
ทาบริเวณของขอบซีลกอน
• หามใชซีลน้า ํ มันตัวเกา ใหทาํ การ
เปลี่ยนซีลน้าํ มันใหมทุกครั้งที่มีการ
ถอดซีลออก
1 เครื่องมือพิเศษ (เปลี่ยนซีลน้า ํ มัน)
2 ซีลน้าํ มัน
3 เสื้อสูบ

4 ฝาครอบโซไทมมิ่ง

5. ติดตั้งเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
1. ติดตั้งเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบมี VVT-i)
2. ติดตั้งเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบไมมี VVT-i)

1 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
2 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(พรอมตัวควบคุม VVT-i)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

1. ติดตั้งเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบมี VVT-i)
ทําการประกอบเพลาลูกเบี้ยวเขากับเฟอง
เพลาไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยวโดยจัดใหสลัก
ตรงกับรองหมุนเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
ทวนเข็มนาฬิกาโดยกดที่เพลาลูกเบี้ยวแลว
กดตรงตําแหนงที่สลักเขาไปในรองอีกครัง้
(1) ขันโบลทยึดเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
ใหแนน
(2) หมุนเฟองไทมมงิ่ ไปทางดานตามเข็ม
นาฬิกาและใหแนใจวาเฟองมีการล็อค
1 สลักล็อค
2
ขอควรระวัง:
เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
3 เพลาลูกเบี้ยว ถาขันโบลทยึดเฟองเกียรเพลาลูกเบี้ยว
4 โบลทยึดเฟองไทมมิ่ง ในขณะที่สลักล็อคถูกล็อคไวแรงจาก
5 แผนอลูมิเนียม การขันอาจจะทําใหสลักล็อคเสียหายได
6 ปากกาจับชิ้นงาน 2. ติดตั้งเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
(แบบไมมี VVT-i)
(1) ทําการยึดเพลาลูกเบี้ยวเขากับปากกา
จับชิ้นงาน
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)
(2) ติดตั้งเฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว

6. ติดตั้งเพลาลูกเบี้ยว

1 ประกับเพลาลูกเบี้ยว
2 เพลาลูกเบี้ยว

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

1. ติดตั้งเพลาลูกเบี้ยว
(1) ทําใหลูกสูบเลื่อนลงดวยการหมุน
เพลาขอเหวี่ยงทวนเข็มนาฬิกา 40
องศา โดยใหกระบอกสูบที่ 1
อยูในตําแหนง TDC (ศูนยตายบน)
ขอแนะนํา:
ตําแหนงของมารคไทมมิ่งจะเปลี่ยน
แปลงขึ้นอยูกับชนิดของรถยนต
ดังนั้นใหศึกษาจากคูมือการซอม
(2) ตําแหนงของเพลาลูกเบี้ยวที่อยูบน
1
ฝาสูบจะตองตรงกับมารคที่อยูที่เพลา
¶Ö§ 5 à»ç¹¡ÒõԴµÑ駻ÃСѺáºÃÔ觵ÒÁÅӴѺ
1
ลูกเบี้ยว
มารคไทมิ่ง
(3) ใสประกับยึดเพลาลูกเบี้ยวและทําการ
ขันโบลทตามลําดับพอตึงมือทุกตัวแลว
ขันใหแนนตามคากําหนดอีกครั้ง
ในการขันโบลทยึดแนนจะขันอยูกับ
ชนิดของเครื่องยนต ดังนั้นควรศึกษา
จากคูมือการซอม
ขอแนะนําการบริการ:
เพลาลูกเบี้ยว
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
19-21)

7. ติดตั้งโซไทมมิ่ง
1. มารคตั้งคาไทมมิ่ง
2. ติดตั้งตัวกันสะเทือนของโซ
3. ติดตั้งโซไทมมิ่ง
4. เช็คเครื่องหมายมารคไทมมิ่งให
ตรงกัน
1 ตัวปรับตัง ้ ความตึงโซ
2 ตัวเลื่อนปรับความตึงโซ

3 ตัวกันสะเทือนของโซ

4 โซไทมมิ่ง

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

1. ตรวจเช็คตําแหนงของมารคไทมมิ่ง
(1) ปรับตั้งเพลาขอเหวี่ยงใหกระบอกสูบ
ตัวทีห่ นึ่งอยูในตําแหนง ATDC
(หลังศูนยตายบน)ในตําแหนงอัด 40-
140 องศา
(2) ปรับตั้งที่เฟองเพลาลูกเบี้ยวไอดีและ
เพลาลูกเบี้ยวไอเสียไปที่ตาํ แหนง ATDC
20 องศาใหกระบอกสูบที่ 1 อยูใน
ตําแหนงอัด 20 องศา
(3) จัดตั้งเพลาขอเหวี่ยงโดยใหกระบอก
สูบที่ 1 อยูตาํ แหนงอัด ATDC 20 องศา
ขอควรระวัง:
ตองแนใจการตัง้ มารคไทมมิ่งตองถูก
ตอง มิฉะนั้นจะทําใหวาลวและลูกสูบ
เกิดความเสียหาย
ขอแนะนํา:
การปรับตั้งมารคไทมมงิ่ ทําไดหลายวิธี
ขึ้นอยูกับรถยนตแตละรุน ใหอางอิง
จากคูมือการซอม

1 เฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยง
2 ไทมมิ่งมารคเฟองเพลาขอเหวี่ยง
3 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
4 มารคไทมมิ่งเฟองเพลาลูกเบี้ยว
(1/3)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

2. ติดตั้งตัวกันสะเทือนโซไทมมิ่ง
3. ติดตั้งโซไทมมิ่ง
ติดตัง้ โซไทมมิ่งกับเพลาลูกเบี้ยวและเฟอง
เพลาขอเหวี่ยงทําการดึงโซใหตึงและใหโซ
ไทมมิ่งรองอยูบนตัวกันสะเทือนโซไทมมงิ่
ขอแนะนํา:
• เพื่อปองกันเพลาลูกเบี้ยวไอเสียตีกลับ
ควรใชประแจล็อคและทําการหมุน
เพลาลูกเบี้ยวใหไดตรงมารคที่กาํ หนด
• ถาโซและฟนเฟองเกิดการหางกัน
เล็กนอยใหทาํ การหมุนเพลาลูกเบี้ยว
และขยับโซใหขบกับฟนเฟอง

1 ตัวกันสะเทือนของโซ
2 โซไทมมิ่ง

3 มารคไทมิ่ง

4 ี เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยวไอเสีย

5 ี เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยวไอดี
(2/3)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

4. ตรวจเช็คมารคไทมมิ่งใหตรง
หลังจากติดตั้งตัวเลื่อนปรับตั้งโซและตัว
ปรับความตึงของโซใหทาํ การหมุนเพลา
ขอเหวี่ยงตามเข็มนาฬิกาสองรอบ และ
ตรวจเช็คดูมารคของพูลเลยไทมมงิ่
และมารคของเพลาลูกเบีย้ วจะตองตรงกัน
ขอควรระวัง:
• การติดตั้งโซไทมมิ่งในตําแหนงที่ผิด
ทําใหการเปดและปดของวาลวไทมมงิ่
ไมถูกตอง ขึ้นอยูกับชนิดของ
เครื่องยนตดวย ลูกสูบและวาลวอาจ
เกิดการเสียหาย ทําการปองกัน
ความผิดพลาดโดยการหมุนเพลา
ขอเหวี่ยงเพื่อตรวจสอบ
• หมุนเพลาขอเหวี่ยงอยางชาๆ
• ในขณะที่หมุนเพลาขอเหวี่ยงแลว
เกิดการติดขัดไมควรที่จะหมุนเพลา
ขอเหวี่ยงโดยใชแรงมากเกินไป
• ถามารคไทมมงิ่ ยังไมตรงใหทา
ํ การ
หมุนเพลาขอเหวี่ยง 2 รอบแลว
ทําการติดตั้งมารคไทมมงิ่ ใหตรง

1 ตัวเลื่อนปรับความตึงโซ
2 ตัวปรับตัง้ ความตึงโซ
3 มารคไทมิ่ง
(3/3)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

8. ติดตั้งฝาครอบโซไทมมงิ่
เมื่อติดตั้งฝาครอบโซไทมมงิ่ ใหใชปะเก็น
เหลวทา
สําหรับการทาปะเก็นเหลวใหทาํ ตาม
คําแนะนําจากคูมือการซอม
ตําแหนงหรือบริเวณที่จะตองทําการทา
ปะเก็นเหลวใหอางอิงจากคูมือการซอมใน
รุนนั้น
1. ทําความสะอาดผิวหนา
ขอแนะนําการบริการ:
1
การทําความสะอาด/การลาง
ฝาครอบโซไทมมิ่ง
2
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
ปะเก็นเหลว
3
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
โอ-ริง
86-89)
2. การทาปะเก็นเหลว
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)
3. ประกอบฝาครอบโซไทมมิ่ง
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)

9. การติดตั้งพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
(1) พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

10. ติดตั้งปมน้ํา
(1) ปมน้าํ
(2) ปะเก็น
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)

11. ติดตั้งพูลเลยปมน้ํา
(1) พูลเลยปมน้าํ
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

12. ตรวจสอบระยะหางวาลว
1. วัตถุประสงคของการตรวจสอบ
ระยะหางวาลว
(1) ถาระยะหางของวาลวมีมากเกินไป
จะมีเสียงกระแทกภายในดังผิดปกติ
(2) ถาระยะหางของวาลวมีนอยเกินไป
วาลวจะเกิดความรอนและเกิดการ
ขยายขณะที่ทาํ การติดเครื่องยนต
ทําใหวาลวกดติดอยูกับลูกเบี้ยว
เพราะฉะนั้นเวลาที่วาลวปดสนิทจะปด
ไมสนิท
ขอแนะนํา:
การตั้งระยะหางของวาลว ควรตั้งขณะ
ที่เครื่องเย็น

A ระยะหางวาลวมาก
B ระยะหางวาลวนอย

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

2. ตรวจสอบระยะหางวาลว
(1) หมุนเพลาขอเหวี่ยงเพื่อจัดใหสูบที่ 1
อยูในตําแหนงศูนยตายบน TDC/
จังหวะอัด
ขอแนะนํา:
สังเกตมารคไทมมิ่งของพูลเลยเพลา
ขอเหวี่ยง และมารคที่โซไทมมิ่ง
ตองตรงกัน ดังนั้นกระบอกสูบที่ 1
วาลวไอดีและวาลวไอเสียจะตองปด
สนิท

1
(2) วัดระยะหางระหวางเพลาลูกเบี้ยวและ
ฟลเลอรเกจ
2
ลูกถวยกดวาลว วาลวจะตองปดสนิท
มารคไทมิ่ง
(3) สอดฟลเลอรเกจเขาไปในชองวาง
ระหวางลูกเบี้ยวและลูกถวยกดวาลว
และอานคาจากฟลเลอรเกจเมื่อมี
ความฝดที่เหมาะสมในตําแหนงที่
ฟลเลอรเกจตั้งตรงไดระดับ
(4) หมุนเพลาขอเหวี่ยง 1 รอบ
และวัดคาระยะหางของวาลวตัวอื่นๆ
ขอควรระวัง:
การใชแรงดันมากเกินไปในการสอดใส
ฟลเลอรเกจอาจทําใหฟล เลอรเกจคดงอ
ได

13. ปรับตั้งระยะหางวาลว
วิธีการปรับตั้งระยะหางวาลวจะแตกตางกัน
ตามรุนของเครือ่ งยนต
A แบบแผนชิมอยูภายในลูกถวย

และชนิดที่ตองมีการเปลี่ยนชิม
ถอดเพลาลูกเบี้ยวเพื่อเปลี่ยนแผนชิม
B แบบแผนชิมอยูดานบน

ไมตองถอดเพลาลูกเบี้ยวออกเพื่อที่จะ
เปลี่ยนแผนชิม

1 แผนชิม
2 ลูกถวยกดวาลว

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

1. วัดระยะหางของวาลว

2. ถอดแผนชิมออกจากลูกถวย
A ใชเครื่องมือพิเศษในการถอดแผนชิม

B การถอดแผนชิมชนิดนี้ไมตองใช

เครื่องมือพิเศษใหถอดเพลาลูกเบี้ยว
ออก

1 เครื่องมือพิเศษในการถอดแผนชิม
2 ลูกถวยกดวาลว
3 แผนชิม
4 เพลาลูกเบี้ยว

3. วัดความหนาของแผนชิม (ลูกถวย)
ใชไมโครมิเตอรวัดความหนาของแผนชิม
(ลูกถวย) แตละตัว

1 ไมโครมิเตอร

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

4. การเลือกแผนชิม
การคํานวณหาคาจากการวัดระยะหางที่วัด
ได (A) และใชคาของแผนชิม(ลูกถวย)เกา
เทียบเพื่อเลือกขนาดของแผนชิม(ลูกถวย)
ใหม
5. การประกอบแผนชิม
6. วัดระยะหางของวาลวอีกครั้ง
ขอแนะนํา:
ทําการตัง้ วาลวใหมอีกครั้ง ถาระยะหาง
ของวาลวไมเปนไปตามคาที่กาํ หนด

14. ติดตั้งฝาครอบวาลว
1. ติดตั้งปะเก็นฝาครอบวาลว
ขอควรระวัง:
อยาติดตั้งปะเก็นขณะที่มีการบิดงอหรือ
ยื่นออกมาจากรอง

2. ขันโบลทฝาครอบวาลวจากดานใน
ออกนอกตามลําดับ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)
1 ถึง 11 เปนการติดตั้งโบลทยึดฝาครอบวาลวตามลําดับ 1 ฝาครอบวาลว
2 ปะเก็น

þ ¡Ò÷һÐà¡ç¹àËÅÇ

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต
(1/1)
คําถาม-1
ทําเครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด :
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
1 อางน้าํ มันเครื่องยึดติดอยูกับเสื้อสูบโดยปะเก็นเหลว ถูก ผิด
ปะเก็นฝาสูบไมมีมารคบอกทิศทาง การปะกอบถาประกอบสลับดาน
2 ถูก ผิด
จะไมทาํ ใหนา้ํ ยาหลอเย็นรั่ว
ปะเก็นของปมน้าํ เมือ่ ถอดออกมาแลวถาไมมีการสึกหรอสามารถนํามา
3 ถูก ผิด
ใชใหมได
วิธีการปรับตั้งระยะหางของวาลวแบบแผนชิมอยูภายในลูกถวยอาจ
4 ถูก ผิด
ปรับตั้งไดโดยไมตองถอดประกอบเพลาลูกเบี้ยว
วิธีการคํานวณหาคาความหนาของแผนชิมอันใหม
N = T + (A -คามาตรฐาน)
5 N = ความหนาของแผนชิมใหม ถูก ผิด
T = ความหนาของแผนชิมเกา
A = ระยะหางของวาลวที่วัดได

คําถาม-2
ในการประกอบฝาสูบจะตองทําความสะอาดรูโบลทฝาสูบเพื่อจุดประสงคใด จาก 1 ถึง 4
1. ถาขันโบลทยึดฝาสูบโดยมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบจะทําใหเกิดแรงดันจากน้าํ มันเครื่อง
หรือน้าํ และทําใหเสื้อสูบแตกราวได
2. ถาขันโบลทโดยมีนา้ํ มันเครือ่ งหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบจะทําใหนา้ํ มันเกิดการลุกไหมเนื่องจากความรอน
จากแรงเสียดทานจากการขันโบลทเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดอันตรายได
3. ถาขันโบลทฝาสูบโดยมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบจะเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดสนิม
4. ถาขันโบลทฝาสูบโดยมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบ จะทําใหโบลทแตกหรือขาดได
เมือ่ ใชโบลทครั้งตอไป

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต

คําถาม-3
ในการประกอบซีลน้าํ มันหนาเครื่อง และทายเครื่องใชอะไรทาซีลเพื่อหลอลื่นในการประกอบจากขอ 1 ถึง 4
1. ใชนา้ํ มันเกียรอัตโนมัติทาทีป่ ากซีล
2. ใชจาระบีเอนกประสงคทาที่ปากซีล
3. ใชนา้ํ มันเบรกทาที่ปากซีล
4. ใชนา้ํ ยาหลอเย็นทาที่ปากซีล

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต ประกอบชิน้ สวนเครื่องยนต
คําถาม-4
ขอใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับมารคไทมมงิ่ หลังจากประกอบโซไทมมิ่งแลวขอใดถูกตอง จากขอ 1 ถึง 4
1. หมุนเพลาขอเหวี่ยงทวนเข็มนาฬิกา 2 รอบเพื่อตรวจสอบมารคไทมมิ่ง
2. หมุนเพลาขอเหวี่ยงตามเข็มนาฬิกา 1 รอบเพื่อตรวจสอบมารคไทมมิ่ง
3. หมุนเพลาขอเหวี่ยงตามเข็มนาฬิกา 2 รอบเพื่อตรวจสอบมารคไทมมิ่ง
4. หมุนเพลาขอเหวี่ยงทวนเข็มนาฬิกา 1 รอบเพื่อตรวจสอบมารคไทมมิ่ง

คําถาม-5
ขอความใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับการปรับระยะหางวาลวไดอยางถูกตอง?
1. ถาระยะหางวาลวมากเกินไปจะทําใหเกิดเสียงดังจากการกระแทกของวาลว
2. ถาระยะหางวาลวนอยเกินไปจะทําใหเกิดเสียงดังจากการกระแทกของวาลวเมือ่ อุนเครื่องยนตแลว
3. การวัดหรือปรับตั้งระยะหางวาลวของเครื่องยนตที่ใชกลไกการขับวาลวแบบ DOHC จะตองทําการวัดขณะ
เครื่องยนตรอนเทานั้น
4. เครื่องมือทีใ่ ชวัดระยะหางวาลว คือ พลาสติกเกจ

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการซอมใหญ
เครื่องยนตจะมีการติดตั้งเขาไปในรถยนต
และการตรวจสอบขั้นสุดทายซึ่งจะมีการ
ตรวจเช็คสภาพการประกอบเรียบรอยแลว
ติดตั้งเครื่องยนต
ทําการติดตั้งเครื่องยนต ชุดสงกําลัง
สวนประกอบของชวงลางและอื่นๆทั้งชุด
เขาไปในดานลางของตัวรถยนต

(1/1)

ขอมูลอางอิง:
เมื่อมีการติดตั้งเครื่องยนตดานบน
(รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
เมื่อมีการติดตั้งเครื่องยนตจากทางดานบน
ของรถ ตองทําการหมุนหรือเอียง
เครื่องยนตขณะทําการติดตั้งเพื่อไมใหมีสิ่ง
กีดขวางของตัวถังรถยนต
ชิ้นสวนที่ตองประกอบมีดังตอไปนี้
ชิ้นสวนที่ตองประกอบมีดังตอไปนี้
(1)เพลากลาง
(2)คันเกียร
(3)หมอน้าํ
(4)ฝากระโปรงหนา
(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ืการติดตั้ง สวนประกอบ
1. ติดตั้งทอรวมไอดีและทอรวมไอเสีย
อัลเทอรเนเตอร ชุดสายไฟเครื่องยนต
(1) แผงปองกันความรอนทอรวมไอเสีย
(2) ทอรวมไอเสีย
(3) ปะเก็นทอรวมไอเสีย
(4) แขนยึดทอรวม
(5) ปะเก็นทอรวมไอดี
(6) ทอรวมไอดี
(7) อัลเทอรเนเตอร
(8) ชุดสายไฟเครื่องยนต

2.ถอดเครื่องยนตออกจากแทนโอเวอรฮอล
เครื่องยนต
(1) เครือ่ งยนต
(2) แทนโอเวอรฮอล
(3) ลูกรอกยกเครื่อง
(4) หูยึดเครื่องยนต

3.การติดตั้งลอชวยแรงและคลัตช
(1) ลอชวยแรง
(2) แผนคลัตช
(3) ฝาครอบคลัตช

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

4. การติดตั้งเกียรเขากับเครือ่ งยนต
(1) ตะขอลูกรอก
(2) ลูกรอกยกเครื่อง
(3) เครือ่ งยนต
(4) เกียร
(5) แผนกั้นบนลิฟส

5. วางเครื่องยนตบนแมแรงยกเครื่อง
(1) ตะขอลูกรอก
(2) ลูกรอกยกเครื่อง
(3) เครือ่ งยนต
(4) เกียร

6. การติดตั้งเครื่องยนต
(1) ลิฟทยกเครื่องยนต
(2) เพลาขับ
(3) ลูกหมากปลายคันสง
(4) เครือ่ งยนต
(5) เกียร

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

7.การประกอบอุปกรณที่อยูใตทองรถยนต
(1) เพลาขับ
(2) ลูกหมากปลายคันสง
(3) ทอไอเสีย
(4) เหล็กกันโคลง

8. ประกอบชิ้นสวนในหองเครื่องยนต
(1) สายเคเบิ้ลควบคุมการเขาเกียร
(2) ปมคลัตชตัวลาง
(3) คอมเพรสเซอร
(4) สายพานขับ
(5) ยางแทนเครือ่ งยนต
(6) สายคันเรง

9.การตอทอทางเชื้อเพลิง
(1) ทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิง

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

10. ประกอบแคลมปรดั และทอยาง


(1) ทอฮีทเตอร
(2) ทอสูญญากาศหมอลมเบรค
(3) หมอกรองอากาศ
(4) ทอยางหมอกรองอากาศ
(5) ทอยางน้าํ หลอเย็น

11. ติดตัง้ สวนประกอบภายในรถยนต


(1) ขอตอแกนพวงมาลัย

12. ตอขั้วตอและชุดสายไฟ
(1) กลอง ECU เครื่องยนต
(2) กลองรวมชุดสายไฟที่คอนโซล
(3) กลองรวมชุดสายไฟในหองเครื่องยนต

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

13. เติมน้าํ หลอเย็น


(1) ฝาหมอน้าํ
(2) ปลั๊กถายน้าํ ที่เครือ่ งยนต
(3) ปลั๊กถายน้าํ หมอน้าํ

14. ติดตัง้ แบตเตอรี่


(1) แบตเตอรี่

15.การตรวจสอบคามาตราฐานการ
ทํางานและความเรียบรอยขั้นสุดทาย

(1/1)

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ติดตั้งทอรวมไอดีและทอรวมไอเสีย
อัลเทอรเนเตอร ชุดสายไฟเครื่องยนต
1. ประกอบทอรวมไอดีและทอรวม
ไอเสีย
(1)ใชปะเก็นอันใหมประกอบทอรวมไอดี
เขากับฝาสูบ
(2)ประกอบและขันโบลทยึดทอรวมไอดี
และไอเสียจากดานในออกดานนอก
ตามลําดับ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท

2. ประกอบชุดสายไฟเครื่องยนต
ประกอบชุดสายไฟและขายึดเขากับ
เครื่องยนต
ขอแนะนําการบริการ:
ปลัก๊ ตอ

1 ทอรวมไอเสีย
2 ทอรวมไอดี
3 ปะเก็น
4 ชุดสายไฟเครื่องยนต

3. ติดตั้งอัลเทอรเนเตอร
(1)เลื่อนปลอกรองรับจนกระทั่งหนาสัมผัส
แนบสนิทกับแขนยึด
ขอแนะนํา:
การเลื่อนปลอกรองรับใหใชแทงทอง
เหลืองและคอนตอกเพื่อประกอบ
อัลเทอรเนเตอร
(2)ประกอบอัลเทอรเนเตอรและยึดไว
ชั่วคราวดวยโบลท A
(3) ประกอบ โบลท B ไวพอหลวม

1 ปลอกรอง
2 อัลเทอรเนเตอร
3 ขายึด (ดานเครื่องยนต)
4 โบลทยึด (A)
5 โบลทยึด (B)
(1/1)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ถอดเครื่องยนตออกจากแทนโอเวอร
ฮอลเครื่องยนต
1. ประกอบรอกยกเครื่องยึดเขากับหูหิ้ว
เครื่องยนต
2. หลังจากประกอบรอกยกเครื่องแลวดึง
ตะขอเกี่ยวขึ้นใหโซตึงเล็กนอยในโซทั้ง
สองดาน
คําเตือน:
• ระวังอยาใหแทนโอเวอรฮอลยกขึ้น
จากพื้น
• ถาตะขอเกี่ยวถูกยกขึ้นใหสูงแทน
โอเวอรฮอลเครือ่ งยนตก็จะถูกยกขึ้น
ตามไปดวย ซึ่งจะทําใหเกิด
อันตรายได
• ถาแรงตึงโซไมเทากันทั้ง 2 ดาน
เครื่องยนตจะเอียงซึ่งจะทําใหเกิด
อันตรายได
3. ยกเครื่องยนตออกจากแทนโอเวอรฮอล
เครื่อง

1 ลูกรอกยกเครื่อง
2 หูยึดเครื่องยนต
3 แทนโอเวอรฮอล

ขอแนะนํา:
หูยึดเครื่องยนตมี 2 ชนิด
การใชโซยกเครือ่ งประกอบเขากับหูหิ้ว
เครื่องยนตตองใชเหมาะสมกับชนิดของ
หูหิ้วเครื่องยนต

1 ลูกรอกยกเครื่อง
2 หูยึดเครื่องยนต

(1/1)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

การติดตั้งลอชวยแรงและคลัตช
1.ประกอบลอชวยแรง
(1)ประกอบเครื่องมือพิเศษเขากับพูลเลย
เพลาขอเหวี่ยงเพื่อยึดเพลาขอเหวี่ยงไว
(2)ประกอบลอชวยแรงและขันโบลทยึด
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
8-10)
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
10-13)
1 เครื่องมือพิเศษ

(ยึดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง)
2 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง

2.ประกอบคลัตช
(1)สอดเครื่องมือพิเศษเขาไปในรูของ
แผนคลัตชจากนั้นประกอบเขากับลอชว
ยแรง
ขอควรระวัง:
ระวังอยาใสแผนคลัตชกลับดาน

(2)จัดฝาครอบคลัตชและลอชวยแรงโดย
ใหมารคตรงกันแลวขันนัตยึดฝาครอบ
ไวพอหลวม
(3)ขยับเครื่องมือพิเศษขึ้นลง และซายขวา
เพื่อหาตําแหนงจุดศูนยกลางระหวาง
ลอชวยแรงกับแผนคลัตชใหตรงกัน
มากที่สุด
(4)ขันโบลทยึดฝาครอบใหแนน

3 เครื่องมือพิเศษ (เหล็กนําคลัตช)
4 แผนคลัตช
5 ลอชวยแรง
6 ฝาครอบคลัตช
(1/1)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ติดตั้งเกียรเขากับเครื่องยนต
1. ติดตั้งเกียรเขากับเครื่องยนต
(1)ทาจาระบีพิเศษที่เฟองเพลารับกําลัง
ของเกียร
(2)จัดตําแหนงของเพลารับกําลังและรูของ
แผนคลัตชใหตรงกันแลวประกอบ
เครื่องยนตเขากับเกียร
ขอแนะนํา:
ถาตําแหนงของเพลารับกําลังกับรูของ
แผนคลัตชไมตรงกันใหทาํ การหมุน
เพลาขอเหวี่ยงหาตําแหนงตรงกัน
(3)ประกอบแลวขันโบลทยึดใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
(4)ประกอบเวนปมพวงมาลัยเพาเวอร

1 เกียร
2 แผนคลัตช
3 เพลารับกําลังจากเกียร
4 ประกอบเวนปมพวงมาลัยเพาเวอร
(1/1)

วางเครื่องยนตบนแมแรงยกเครื่อง
จัดอุปกรณสาํ หรับรองเครื่อง เกียร
และคานกลางซึ่งประกอบเปนหนวย
เดียวกันรองกับลิฟทยกเครื่อง
ขอควรระวัง:
ถาวางเครื่องลงบนลิฟทยกเครื่องโดย
ตรงจะทําใหอางน้าํ มันเครือ่ งบุบได
ดังนั้น ควรหาอุปกรณวางรองใน
ตําแหนงที่เหมาะสม

1 เครื่องยนต
2 เกียร
3 ลิฟทยกเครื่องยนต
(1/1)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

การติดตั้งเครื่องยนต
1. ติดตั้งเครื่องยนต
(1)ในขณะที่ยกเครื่องยนตขึ้นไปใหระวัง
ชุดสายไฟและทอตางๆไปเกี่ยวหรือโดน
กับชิ้นสวนตางๆ ของรถยนตหรือไป
กระแทกกับตัวถังรถยนต
(2)ในขณะจัดตําแหนงของยางแทนเครื่อง
กับแทนเครื่องใหตรงกันพรอมกันนั้น
จัดตําแหนงของคานกลางดวยแลว
ประกอบเครื่องยนตเขากับตัวถังรถยนต
ขอควรระวัง:
ขณะทํางานควรระมัดระวังการกระแทก
กับตัวถังรถยนต
(1/2)

2. การจัดตําแหนงของคานลางใหตรง
(1)สอดเครื่องมือพิเศษเขาไปในรูของคาน
กลางใหตรงกับรูของตัวถังรถยนตแลว
ขันโบลทยึดคานลางกับตัวถังรถยนต
ดวยมือไวพอหลวม
(2)ขันโบลทยึดแทนเครื่องดวยมือ
(3)ขันโบลทยึดคานลางใหแนนตามคาแรง
ขันที่กาํ หนด
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
ขอควรระวัง:
อยาเอาลิฟทยกเครื่องออกถายังไมได
ขันโบลทยึดคานลางใหแนน

1 เครื่องมือพิเศษ
(ตัวชวยใสนอตซัฟเฟรม)
2 อางอิงรูของตัวถังรถยนต
3 อางอิงรูคานลาง
4 คานลาง
5 โบลทยึดแทนเครื่อง
(2/2)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

การประกอบอุปกรณที่อยูใ ตทองรถยนต
1.ประกอบชิ้นสวนที่ถอดออกมากลับ
คืนสภาพเดิม
(1)เพลาขับ
(2)ลูกหมากปลายคันสง
(3)ทอไอเสีย
(4)เหล็กกันโคลง
ขอแนะนํา:
หลังจากขันนัตและโบลทดวยมือให
ทําการขันตรวจสอบความแนนของ
นัตและโบลทอีกครั้งเพื่อปองกันชิ้นสวน
นั้นหลุด
(1/5)

ขอมูลอางอิง:
เพลากลาง (รถยนตรุนขับเคลื่อนลอหลัง)
1. ถอดเครือ่ งมือพิเศษปองกันน้าํ มันรั่ว
ออกจากทายเกียร
2. ทาจาระบีบริเวณซีลทายเกียร
3. สอดเพลากลางเขากับทายเกียร

1 เครื่องมือพิเศษ
(ปลั๊กอุดน้าํ มันทายเกียร)
2 เกียร

4. ขันนอตตุกตาเพลากลางและหนาแปลน
เฟองทายใหแนน
ขอแนะนํา:
• ประกอบแผนรองตุกตาเพลากลางใน
ตําแหนงเดิมตามที่ทาํ เครือ่ งหมาย
กอนการถอด
• ทําเครื่องหมายของเพลากลางและ
หนาแปลนเฟองทาย
5. ขันโบลทและนอตยึดตุกตาเพลากลาง
และหนาแปลนเฟองทายใหแนน

4 เฟองทาย
5 หนาแปลนเฟองทาย

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

3 เพลากลาง
6 สเปเซอร
7 หนาแปลนเฟองทาย
ทาจาระบี

(1/1)

2. ติดตั้งเพลาขับ
(1)
จัดใหรองสไปนของเพลาขับและดุมลอ
ตรงกันแลวประกอบดุมลอเขาไปที่เพลา
ขับ
ขอควรระวัง:
• หามดึงดุมลอออกมามากเกินไปขณะ
ประกอบ
• หามทําใหโรเตอรและยางหุมเพลาขับ
เสียหาย
ขอแนะนํา:
เลือ่ นรองสลักของเพลาขับและจัดใหอยู
ในตําแหนงที่ประกอบนัตล็อคไดงาย
(2)ประกอบปกนกตัวลางเขากับดุมลอ
(3)ติดตั้งเซ็นเซอรของระบบ ABS

1 รองบากล็อคนัตเพลาขับ
(2/5)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

3.ประกอบนัตยึดเพลาขับเขากับดุมลอ
(1)ขณะขันนัตยึดเพลาขับเขากับดุมลอให
ปฏิบัติ 2 คน เพื่อใหนัตยึดแนนยิ่งขึ้น
ขอควรระวัง:
หามใชนัตล็อคตัวเกา
ใหเปลี่ยนใหมทุกครั้ง
ขอแนะนํา:
ในการขันนัตยึดดุมลอใหคนหนึ่ง
เหยียบเบรคไวและอีกคนหนึ่งขันนัต
ยึดเพลาขับเขากับดุมลอ
(2)จัดใหรอ งทีเ่ พลาขับเพลาขึ้นดานบน
(3)ใชสกัดและคอนตอกใหนัตล็อคยุบตัว
ลงไปในรอง
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)

1 นัตล็อคตัวใหม
2 สกัด
(3/5)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

4. ติดตั้งลูกหมากปลายคันสง
(1)สวมลูกหมากปลายคันสงเขาไปที่แขน
บังคับเลี้ยว
(2)ขันนัตยึดลูกหมากตามคาแรงขันแลว
ล็อคดวยสลัก
ขอควรระวัง:
หามใชสลักล็อคตัวเกา
ใหเปลี่ยนใหมทุกครั้ง
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
39)

1 ลูกหมากปลายคันสง
2 แขนบังคับเลี้ยว
3 นัตหัวผา
4 สลักล็อค
(4/5)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

5. ประกอบทอไอเสีย
(1)ใชเวอรเนียรวัดความยาวของสปริง
ทอไอเสีย
ขอแนะนํา:
ถาเกินคามาตรฐาน
ใหทาํ การเปลี่ยนสปริงทอไอเสียใหม
(2)ใชปะเก็นทอไอเสียใหม
ขอแนะนํา:
ถาปะเก็นทอไอเสียติดกับหนาแปลน
ทอไมสามารถแยกออกจากกันไดเรา
สามารถนําปะเก็นตัวเดิมกลับมาใชใหม
1 ทอไอเสีย
ได ถาปะเก็นไมเสียหาย
2 ทอรวมไอเสีย
ควรระวังในขณะขันโบลท
3 ปะเก็น
อาจทําใหปะเก็นเกิดความเสียหาย
4 สปริงทอไอเสีย
ตองขันนอตอยางระมัดระวัง
5 โบลท
(3)จัดรูของทอรวมไอเสียกับทอไอเสีย
ใหอยูในระดับเดียวกัน
และยึดใหแนนดวยโบลท
ขอแนะนํา:
• การประกอบทอไอเสียตองทําดวยกัน
2 คน
• โดยปกตินัตและโบลทยึดทอไอเสีย
จะตองเปลี่ยนใหม

(5/5)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ประกอบชิ้นสวนในหองเครื่องยนต
ประกอบชิ้นสวนของเครือ่ งยนตและเกียร
ดังตอไปนี้
1. คอมเพรสเซอร
2. ปมคลัตชตัวลาง
3. สายเคเบิลควบคุมการเปลีย่ นเกียร
4. สายพานขับ
5. โบลทยึดยางแทนเครื่อง,โบลทยึด
และนัต
6. สายคันเรง

1. ติดตั้งคอมเพรสเซอรแอร
ขอควรระวัง:
ระวังการกระแทกของคอมเพรสเซอร
แอรกับหมอน้าํ หรือชิ้นสวนอื่นๆ
ซึ่งอาจทําใหเกิดความเสียหายได
(1/3)

2. ประกอบปมคลัตชตัวลาง
ประกอบปมคลัตชตัวลางในขณะที่ดันให
กานดันยุบตัวแลว
ขอควรระวัง:
อยาทําใหทอน้าํ มันคลัตชเสียรูป
ขอแนะนํา:
การประกอบแคลมปล็อคทอใหปฏิบัติ
หลังจากประกอบปม คลัตชตวั ลางเสร็จ
แลว

1 ทอน้าํ มันคลัตช
2 ปมคลัตชตัวลาง
3 แคลมปรัดทอ
(2/3)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

3. ประกอบสายเลือกเกียรและสายเลื่อน
เปลี่ยนเกียร
ประกอบสายควบคุมการเลือกตําแหนง
เกียรเขากับเกียรแลวล็อคดวยคลิปล็อค
ขอควรระวัง:
ในการประกอบอยาใชแรงในการ
ประกอบมากเกินไป มิฉะนั้นจะทําให
สายควบคุมการเลือกตําแหนงเกียร
คดงอได
ขอแนะนํา:
ในรถยนตบางรุนคลิปล็อคไมสามารถ
นํากลับมาใชไดอกี
ใหอา งอิงจากคูมือการซอมวาสามารถ
นํากลับมาใชไดอกี หรือไม

1 คลิป
2 แหวนรอง
3 สายเลือกเกียร
4 สายเปลี่ยนเกียร
(3/3)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

4. ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขาไปที่พูลเลยในขณะที่
โบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ยังคลายอยู
(2)ใชดามคอนหรือดามขันของเครื่องมือ
อื่นๆดันเลื่อนอัลเทอรเนเตอรเพื่อ
ปรับความตึงของสายพานแลวขันโบลท
ยึดตัวที่ 3 ใหแนน
ขอควรระวัง:
• วางปลายดามคอนไวที่ตา ํ แหนงที่จะ
ไมทาํ ใหชิ้นสวนเสียหาย เชน
ฝาสูบหรือเสื้อสูบ
• จะตองใชดามคอนหรือดามขันอื่นๆ
งัดเขากับสวนทีแ่ ข็งและกึ่งกลางของ
อัลเทอรเนเตอร
(3)ตรวจเช็คคาความตึงของสายพานขับ
ทุกครั้งและขันโบลทใหไดตามคา
กําหนด
5. ขันโบลทและนัตยึดยางแทนเครื่อง
ใหแนน

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด
(3/3)

การตอทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง
1.ประกอบทอน้ํามันเชื้อเพลิงใหถูกตอง
คําเตือน:
ถาน้าํ มันเชื้อเพลิงรั่วอาจทําใหเกิด
ไฟไหมและจะเปนอันตรายอยางสูง

ขอตอน้าํ มันเชื้อเพลิงมี 2 แบบ


(1)ขอตอแบบสวมเร็ว
ขอแนะนําการบริการ:
ทอยาง/แคลมปรดั
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
45-50)
(2)ขอตอแบบใชโบลทยึด
(1/2)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

2. ขอตอแบบใชโบลทยึด
(1)ประกอบปะเก็นใหมทั้ง 2
ตัวเขากับขอตอทอน้าํ มันเชื้อเพลิง
และใชโบลทสวมเขาไปในปะเก็น
(2)ขณะดันขอตอใหตรงกับรูโบลทใหใชมือ
ขันโบลทยึดขอตอเขาไป
(3)ใชประแจยึดเสื้อรูโบลท
และขันโบลทยึดขอตอน้าํ มันเชื้อเพลิง
คําเตือน:
การบิดงอของทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิง
หรือชิ้นสวนตางๆ
ของระบบเชื้อเพลิงจะเปนสาเหตุใหนา้ํ
มันเชื้อเพลิงรั่วได

1 ขอตอแบบใชโบลทยึด
2 ปะเก็น
(2/2)

ประกอบแคลมปรัดและทอยาง
1. การตอทอยาง
ประกอบทอทั้งหมดกลับตําแหนงเดิมอยาง
ถูกตองใหเหมือนกับการถอดออกมา
ขอแนะนํา:
ใชลมเปาเพื่อทําความสะอาดกรอง
อากาศกอนประกอบทอไอดี
2.ประกอบแคลมปรัด
ขอแนะนําการบริการ:
ทอยาง/แคลมปรดั
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
45-50)

1 ทอยางน้าํ หลอเย็น
2 ทอฮีทเตอร
3 ทอสูญญากาศหมอลมเบรค
4 ทอยางหมอกรองอากาศ
(1/1)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ติดตั้งสวนประกอบภายในรถยนต
ติดตั้งขอตอแกนพวงมาลัย
จัดตําแหนงของพวงมาลัยและลออยูใน
ตําแหนงตรงจากนั้นจัดตําแหนงของ
ขอตอแกนพวงมาลัยและแร็คพวงมาลัย
ใหมารคทั้งสองตรงกันแลวขันโบลทยึด
ขอควรระวัง:
ถาตําแหนงของขอตอแกนพวงมาลัย
และแร็คพวงมาลัยเอียงตําแหนง
พวงมาลัยชุดสายจะไมตรงและอาจทํา
ใหไฟสไปรอลของแอรแบ็คขาดได

1 ขอตอแกนพวงมาลัย
2 แร็คพวงมาลัยพาวเวอร
(1/1)

ขอมูลอางอิง:
ติดตั้งคันเกียร
(รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
1.ติดตั้งคันเกียร
(รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
(1)ทาจาระบีตรงสวนปลายของคันเกียร
(สวนเขาจุดหมุนคันเกียร)
(2)จัดตําแหนงของคันเกียรใหถูกตองแลว
ประกอบเขากับเกียร
(3)ยึดคันเกียร

1 โบลท การยึดคันเกียรมี 3 แบบ


2 ซีลคันเกียร A ยึดโบลท นัต และแผนกั้น
3 นัต B ยึดดวยโบลท และ แผนกั้น
4 เขาจุดหมุนคันเกียร C ยึดดวยคลิป
5 คลิปล็อค
ทาจาระบี 2.ประกอบคอนโซลกลาง

(1/1)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ตอขั้วตอและชุดสายไฟ
1. ตอขอตอสายไฟที่ถูกถอดออกมา
กลับเขาที่เดิม
(1)กลอง ECU เครื่องยนต
(2)กลองรวมชุดสายไฟทีค่ อนโซล
(3)กลองรวมชุดสายไฟในหองเครื่องยนต
(4)อื่นๆ
• สายกราวด
• สายไฟมอเตอรสตารท
• ขั้วตอออกซิเจนเซ็นเซอร

(1/2)

2. ดึงชุดสายไฟเครื่องยนต
(1)ชุดสายไฟเครื่องยนตถูกผูกไวดว ยเชือก
ในขณะถอดออกจากรถยนต
ดังนั้นเมื่อประกอบใหดึงชุดสายไฟ
เครื่องยนตจากหองเครื่องยนตเขาไป
ยังหองโดยสารดวยการดึงเชือก
(2)ประกอบยางกันฝุน
ขอควรระวัง:
ถาประกอบยางกันฝุน ไมดีจะทําใหนา้ํ
เขาหองโดยสารซึ่งจะทําใหอุปกรณ
ไฟฟาเสียหายได
(3)ตอขั้วตอชุดสายไฟเขากับกลอง ECU
เครื่องยนตและกลองรวมสายที่
หองโดยสาร
ขอแนะนําการบริการ:
ปลัก๊ ตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
54-57)

1 เชือกผูก
2 ชุดสายไฟเครือ่ งยนต
(2/2)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

เติมน้ํายาหลอเย็น
1. กอนเติมน้าํ ยาหลอเย็นตองแนใจวา
ปลั๊กถายน้าํ ที่หมอน้าํ และโบลทถายน้าํ
ที่เสื้อสูบถูกขันใหแนนแลว

1 ฝาหมอน้าํ
2 โบลทถายน้าํ ที่เสื้อสูบ
3 ปลั๊กถายน้าํ ยาหลอเย็น

(1/2)

2.ปรับสวิตชควบคุมอุณหภูมิไปทีต่ าํ แหนง
MAX HOT
3. เติมน้าํ ยาหลอเย็นจนเต็มหมอน้าํ
4. เติมน้าํ ยาหลอเย็นที่หมอพักน้าํ จนถึง
ระดับ Full
5. ปดฝาหมอน้าํ
ขอแนะนํา:
• ระดับความเขมขนของน้า ํ ยาหลอเย็น
ใหอางอิงจากคูมือการซอม
• ในขณะเติมน้า ํ หลอเย็นใหบีบทอ
น้าํ หลอเย็นและทอฮีทเตอรเบาๆ
เพื่อใหนา้ํ หลอเย็นไหลเขาระบบได
โดยงาย
• ในรถบางรุน  จะมีการไลอากาศจาก
ระบบ วิธีการไลอากาศใหตรวจเช็ค
การปฏิบัติงานจากคูมือการซอม
(2/2)

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

ติดตั้งแบตเตอรี่
1. ติดตั้งแบตเตอรี่
ตรวจเช็คตําแหนงของขั้วแบตเตอรี่
ประกอบแบตเตอรีแ่ ละสวมขั้วตอแบตเตอรี่
อยางระมัดระวัง

ขอควรระวัง:
ภายในแบตเตอรี่มนี า้ํ ยาอิเล็คโตรไลท
(กดซัลฟุริค ออกไซดเจือจาง)
ดังนั้นอยาเอียงแบตเตอรี่หรือทําให
น้าํ ยาอิเล็คโตรไลทหก
ถาเกิดการหกใหรีบลางออกดวยน้าํ
สะอาดทันที
2. ใสขั้วสายแบตเตอรี่
ยึดขั้วตอแบตเตอรี่เขากับขั้วแบตเตอรี่ให
แนน และใหระวังขณะสวมตอขั้วแบตเตอรี่
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
51-53)

1 สายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


2 สายขั้วบวก (+) แบตเตอรี่
3 แคลมปยึดแบตเตอรี่
4 แบตเตอรี่
(1/1)

แบตเตอรี่
เมื่อทําการถอดชิ้นสวนทางไฟฟาและ
แบตเตอรี่ ใหปลดขั้วลบ (-)
ของแบตเตอรี่ออกกอนที่จะลงปฏิบัติงาน
เพื่อปองกันการลัดวงจร

คําแนะนําในการปลดขั้วลบ (-)
ของแบตเตอรี่
• บันทึกขอมูลแสดงผลเก็บไว
• การปลดและตอกลับตามลําดับ
• การคืนขอมูลหนวยความจํา

(1/6)

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

การตรวจสอบคามาตรฐานการทํางาน
และความเรียบรอยขั้นสุดทาย
1. การตรวจสอบกอนสตารทเครื่องยนต
ใหทาํ การตรวจสอบการหลวมของชิ้นสวน
หรือชิ้นที่ไมไดประกอบตามลําดับดังนี้
(1) ตรวจยืนยันวาตอขั้วตอตรงตําแหนง
ตามปายที่ติดไวขณะทําการถอด
(2) ขยับดึงขั้วตอเบาๆทีละอันเพื่อ
ตรวจดูใหแนใจวาไมหลุดออก
(3) ตรวจดูใหแนใจวาไมมีโบลทหรือนัต
ตัวใดหรือหลวม
(4) ตรวจดูวาไมมีชิ้นสวนใดตกคางหรือ
วางอยูรอบๆ ถาดหรือที่นั่งทํางาน
(5) ตรวจดูวายึดแคลมปทุกตัวเขาที่
เรียบรอย
(6) ตรวจเช็คทอน้าํ และทอน้าํ มันตางๆ
ตองไมมีนา้ํ หรือน้าํ มันรั่วออกมา
(7) ตรวจดูวาเติมน้าํ มันเครือ่ งถึงขีด “F”
ของเกจวัดระดับน้าํ มัน
(8) ตรวจดูวาติดตั้งสายพานเขาที่ใน
ตําแหนงที่ถูกตอง
(9) ตรวจเช็ควาความตึงสายพาน
เหมาะสม
(10)ตรวจหาเสียงผิดปกติ(เสียงกระทบ
กัน,เสียดสีกันของชิ้นสวน)
ในขณะสตารทเครื่องยนต
ขอแนะนํา:
ตองใหแนใจวาขอตอทอทางน้าํ มัน
เชื้อเพลิงถูกประกอบเรียบรอยแลวกอน
ทําการสตารทเครื่อง
(11)ตอขั้วตอปมเชื้อเพลิงและใหปม
เชื้อเพลิงทํางานโดยใชเครื่องวิเคราะห
ปญหาเพื่อตรวจหารอยรั่วของ
เชื้อเพลิง
(2/6)

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

2. การตรวจสอบหลังจากเครื่องยนต
สตารทติด
(1)สตารทเครือ่ งยนตและทําการ
ตรวจสอบดังนี้:
<1>ตรวจเช็ควาเครื่องยนตสตารทติดงาย
<2>ตรวจสอบเสียงผิดปกติ (เชน
เสียงเคาะหรือเสียงขูด)ที่เกิดขึ้นหลัง
จากสตารทเครือ่ งยนตแลว
<3>ตรวจดูวาเชื้อเพลิงไมรั่ว
<4>ตรวจดูวาไมมีการรั่วของน้าํ หลอเย็น
หรือน้าํ มันเครื่อง
<5>ตรวจดูวาไมมีกาซรั่ว
<6>ตรวจดูวาไมมีการสั่นสะเทือนผิดปกติ
ของเครื่องยนต
(2)ใชเครือ่ งจูน-อัพเครื่องยนต และ
CO/HC มิเตอรเพื่อตรวจสอบรอบ
เครื่องยนต องศาการจุดระเบิด
และระดับความเขมของแกสไอเสีย

1 CO/HC มิเตอร
2 เครื่องจูน-อัพเครื่องยนต
(3/6)

3. ตรวจสอบน้ํายาหลอเย็น
เมื่ออุนเครื่องยนตแลว ใหดับเครื่องยนต
และรอจนกระทั่งน้าํ หลอเย็นที่หมอพักน้าํ
และหมอน้าํ เย็นลงและถาจําเปนใหเติมน้าํ
ยาหลอเย็นลงในหมอน้าํ และเติมที่หมอ
พักน้าํ จนถึงระดับ "FULL"
ขอแนะนํา:
ขณะทีเ่ ครื่องยนตรอนจนถึงอุณหภูมิ
ทํางานน้าํ ยาหลอเย็นจะไหลเวียนอยูใน
ระบบหลอเย็นและอากาศที่อยูภายใน
เครื่องยนตและฮีทเตอรจะถูกไลออกมา
อยูทหี่ มอน้าํ ดังนั้นใหเติมน้าํ ยาหลอเย็น
เพิ่มหลังจากเครื่องยนตอุนแลว
(4/6)

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

4. การตรวจสอบขณะขับขี่
หลังจากไลฟองอากาศออกจากน้าํ ยาหลอ
เย็นแลว ใหขับรถและตรวจสอบดังตอไปนี้
(1)เมื่อสตารทรถใหตรวจหาเสียงผิดปกติ
รอบๆ ชิ้นสวนที่ถอดออก
(2)ตรวจหาเสียงผิดปกติขณะเรงหรือลด
ความเร็ว หรือเมื่อใชเบรกเครื่องยนต

(5/6)

5. ตรวจสอบหลังการขับทดสอบ
ทําการตรวจสอบดังตอไปนี้เพื่อตรวจหา
การติดตั้งชิ้นสวนที่ไมเหมาะสม
(1)ปริมาณน้าํ มันเครื่องและการรั่ว
(2)การรั่วของน้าํ มันเชื้อเพลิง
(3)ปริมาณของน้าํ ยาหลอเย็นและรอยรั่ว

6.การคืนขอมูลใหกับรถ
หลังจากตรวจสอบเรียบรอยแลวปรับระบบ
ตางๆ ดังตอไปนี้ใหกลับสูสภาพเดิม
กอนทํางานตอไป
(1)ปรับความถี่คลื่นวิทยุ
(2)ปรับนาฬิกา
(3)ปรับตําแหนงพวงมาลัย
(กรณีที่มีระบบหนวยความจํา)
(4)ปรับตําแหนงเบาะนั่ง
(กรณีที่มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ
(6/6)

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต การติดตั้งเครื่องยนต

คําถาม-1
หทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด :
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
การประกอบทอรวมไอดี ไอเสียใหขันโบลทจากดานนอกเขาดานใน
1 ถูก ผิด
ตามลําดับ
2 นัตยึดเพลาขับที่ดุมลอไมสามารถนํากลับมาใชไดอีก ถูก ผิด
การประกอบปมคลัตชตัวลางใหถอดกานดันและยางกันฝุนออก
3 ถูก ผิด
กอนเริ่มประกอบ
ที่ทอทางน้าํ มีรอยของแคลมปรัดอยูบนทอถาประกอบแคลมปรัดใหม
4 ถูก ผิด
ตรงรอยแคลมปรัดเดิมอาจทําใหนา้ํ หลอเย็นรั่วได
โอ-ริง ของขอตอแบบสวมเร็วสามารถนํากลับมาใชไดอีกเพราะวา
5 ถูก ผิด
มันไมมีการสึกหรอ

คําถาม-2
กอนประกอบเครื่องยนตเขากับเกียรแบบธรรมดา เราใชอะไรสําหรับทาเพลารับกําลังของเกียรเพื่อหลอลื่นจงเลือกคําตอบ
จากขอ 1 ถึง 4ที่ถูกตองที่สุด
1.ทาน้าํ มันเบรค
2.ทาน้าํ มันเกียร
3.ทาจาระบีทนความรอน
4.ทาจาระบีพิเศษ

คําถาม-3
หลังจากตรวจสอบเครื่องยนตที่ผานการซอมใหญแลว จงเลือกหัวขอที่ตองตรวจสอบจากหัวขอดานลาง?
1.สภาพลมยางที่ลอ 2. ปรับนาฬิกา
3.การรั่วของน้าํ มันเฟองทาย 4. การสตารทเครื่องยนต
5. ความถวงจําเพาะของแบตเตอรี่ 6. ระดับน้าํ หลอเย็น
7. สภาพของฝาถังน้าํ มัน 8. ปรับคลื่นความถี่วิทยุ
9. ปริมาณน้าํ มันเครื่อง 10.การรั่วของน้าํ มันเบรค

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอรจงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต แบบทดสอบ

คําถาม-1 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงการยกเครื่องยนตออกจากรถยนตไดถูกตอง?

ก. เพื่อปองกันชุดสายไฟขดของระบบถุงนิรภัยขาด (ดานคนขับ) ใหถอดชุดสายไฟขดออกกอนถอดแร็คพวงมาลัย


และขอตอแกนพวงมาลัยออกจากกัน
ข. เมื่อจะถอดทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิงหามระบายแรงดันน้าํ มันเชื้อเพลิงออกกอนเพราะจะทําใหนา้ํ มันเชื้อเพลิงพุง
ออกมาขณะทําการถอด ทําใหเกิดอันตรายอยางมาก
ค. เมื่อใชขอตอน้าํ มันเชื้อเพลิงแบบสวมเร็ว เราสามารถถอดขอตอโดยไมตองใชเครือ่ งมือหรือเครื่องมือพิเศษ
ง. ใหพับทอทางน้าํ มันหรือสายไฟ และมัดดวยเชือกหรือสอดไวกับเครื่องยนตขณะยกเครื่องออกจากรถยนต

คําถาม-2 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงการติดตั้งเครื่องยนตเขากับรถยนตไดถูกตอง?

ก. เมื่อประกอบทอไอเสีย ตองใชปะเก็นทอไอเสียอันใหมแมวาปะเก็นอันเกาไมสึกหรอ
ข. เมือ่ สวมทอทางน้าํ เขากับหมอน้าํ ไดยาก ใหทาน้าํ มันเครือ่ งเพื่อหลอลื่นทอทางน้าํ
ค. หลังจากตอทอทางน้าํ มันเชื้อเพลิง ตองทําการตรวจสอบขอตอน้าํ มันเชื้อเพลิงตามขั้นตอนวิธีการตรวจสอบ
ง. เมื่อประกอบทอทางน้าํ หลอเย็นอยารัดแคลมปแนนเกินไป
เพราะขณะถอดทอน้าํ เปนรอยของแคลมปรัดทําใหนา้ํ หลอเย็นรั่วได

คําถาม-3 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงการซอมใหญเครื่องยนตไดถูกตอง?

ก. สําหรับปะเก็นทอรวมไอดี เมื่อตรวจสอบแลวไมมีการสึกหรอหรือบิดเบี้ยว สามารถนํามาใชไดอีก


ข. การประกอบโบลทและนัตยึดทอไอเสียใหขันจากดานสูบที่ 1-2-3-4 เรียงตามลําดับ
ค. การประกอบทอรวมไอดีและไอเสียตองใชโบลทพลาสติดกรีเจนขัน
ง. การขันโบลททอรวมไอดีใหขันหลายๆครั้งครั้งละเทาๆกันจากดานในออกดานนอกขันครั้งสุดทายตามคาแรง
ขันที่กาํ หนด

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต แบบทดสอบ

คําถาม-4 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงการซอมใหญเครื่องยนต 1NZ-FE ไดถูกตอง?

ก. ถอดลอชวยแรงออกกอนประกอบเครื่องยนตเขากับแทนโอเวอรฮอลเครื่องยนต
ข. การวางเครื่องใหวางบนแทนโอเวอรฮอลเครื่องยนตจัดใหเครื่องยนตอยูสูงกวาจุดศูนยถวงเล็กนอย
หลังจากนั้นถอดฝาสูบออก
ค. เมื่อถอดอางน้าํ มันเครื่องใหคว่าํ เครื่องยนตลงเพื่องายตอการถอด
ง. การซอมใหญเครื่องยนตที่ดีจะตองไมมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ หลอเย็นไหลออกมาจากเครื่องยนตขณะซอมใหญ
ดังนั้นเพื่อใหนา้ํ มันเครื่องและน้าํ หลอเย็นออกจากเครื่องยนตใหหมดใหคว่าํ เครื่องยนตทันทีหลังจากประกอบ
เครื่องยนตเขากับแทนโอเวอรฮอล

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต แบบทดสอบ

คําถาม-5 จากรูปดานลางรูปใดแสดงตําแหนงการวัดความโกงของฝาสูบไดอยางถูกตอง?

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-6 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงโบลทพลาสติกรีเจนไดถูกตอง?

ก. ถาหากนําโบลทพลาสติกรีเจนมาใชอีกใหวัดความยาว และเสนผาศูนยกลางของโบลท
ถาไมอยูในคากําหนดแสดงวาโบลทสามารถนํากลับมาใชไดอีก
ข. ถาหากนําโบลทพลาสติกรีเจนมาใชอีกใหทาจาระบีกอนทําการขันเพื่อปองกันการคลายตัวของโบลท
ค. การขันโบลทพลาสติกรีเจนแตละรุนไมเหมือนกันเพื่อใหเกิดความแนนอนใหอางอิงจากคูมือการซอม
ง. การขันโบลทพลาสติกรีเจนใหขันตามคาแรงขัน และจากนั้นใหคลายออกเล็กนอยเพื่อใหโบลทยึดแนนยิ่งขึ้น

คําถาม-7 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงการวัดชิ้นสวนของเครือ่ งยนตไดถูกตอง?

ก. การตรวจสอบความคดงอของเพลาลูกเบี้ยวใหวางปลายแตละดานของเพลาลูกเบี้ยวลงบน วี-บล็อค
และวัดความคดงอเพลาลูกเบี้ยวขอกลาง
ข. การวัดความโกงฝาสูบใหตรวจสอบผิวหนาดานฝาสูบ และผิวหนาดานทอรวมไอดี และไอเสีย
ถาไมอยูในคากําหนดใหเปลี่ยนฝาสูบใหม
ค. การตรวจสอบความสูงของลูกเบี้ยวใหใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดความสูงของลูกเบีย้ ว
ง. การตรวจสอบการสึกหรอของฟนเฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยงใหวัดระหวางปลายฟนเฟองดานตรงขามกันดวย
เวอรเนียรคาลิปเปอร

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต แบบทดสอบ

คําถาม-8 จากรูปดานลาง รูปใดแสดงลําดับการขันโบลทยึดฝาสูบไดถูกตอง

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-9 ขอความตอไปนี้ขอใดกลาวถึงเพลาขอเหวี่ยงไดอยางถูกตอง?

ก. โดยทั่วไปแลว จะมีมารคแสดงตําแหนงการประกอบอยูบนแบริง่ เพลาขอเหวี่ยง


ข. หลังจากประกอบเพลาขอเหวี่ยงใหวัดระยะรุนของเพลาขอเหวี่ยงอยูในสภาพที่ใชไดหรือไม
ถาวัดคาไดมากกวาคามาตรฐานใหสลับดานของประกับเพลาขอเหวี่ยงเมือ่ ประกอบ
ค. ถาเพลาขอเหวี่ยงเกิดการโกงงอ ใหใชคอนพลาสติกเคาะใหคืนรูปเดิม
ง. การประกอบประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยงจะตองประกอบกลับในตําแหนงและทิศทางเดิม

คําถาม-10 ภาพใดแสดงวิธีการวัดความคดงอของเพลาขอเหวี่ยง?

ก. ข.

ค. ง.

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต แบบทดสอบ

คําถาม-11 ขอความตอไปนี้ขอใดกลาวถึงวิธีการประกอบเพลาขอเหวี่ยงไดอยางถูกตอง?

ก. ทาน้าํ มันเครือ่ งบนผิวดานหนาของแบริง่ เพลาขอเหวี่ยง และประกอบ


ข. ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวดานหนา และทาน้าํ มันซิลิโคนบนผิวดานหลังของแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง และประกอบ
ค. ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวดานหนาและดานหลังของแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง และประกอบ
ง. ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวดานหนาและดานหลังของแบริง่ เพลาขอเหวี่ยง และประกอบ

คําถาม-12 ในการวัดระยะชองวางน้าํ มันของกระบอกสูบกับลูกสูบใชเครื่องมือวัดชนิดใด?

ก. ฟลเลอรเกจ และบรรทัดเหล็ก
ข. ไซลินเดอรเกจ และไมโครมิเตอร
ค. ไซลินเดอรเกจ และไดอัลเกจ
ง. ไดอัลเกจ และเวอรเนียคาลิปเปอร

คําถาม-13 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงการประกอบลูกสูบเขากับกระบอกสูบของเครื่องยนต 1NZ-FE ไดถูกตอง?

ก. บนลูกสูบจะไมมีมารคดานหนา และขนาดของลูกสูบ ดังนั้น


เราสามารถสลับลูกสูบประกอบกับกระบอกสูบอื่นๆ ได
ข. ทาน้าํ มันเครื่องบริเวณผนังกระบอกสูบ เพื่อปองกันแหวนลูกสูบ และลูกสูบสึกหรอ
ค. เมื่อประกอบลูกสูบแลวมารคลูกสูบทุกตัวจะตองอยูในแนวเดียวกัน
ง. กอนประกอบแบริ่งกานสูบใหทาน้าํ มันเครือ่ งหลอลื่นผิวหนาของกานสูบ

คําถาม-14 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงแหวนลูกสูบของเครือ่ งยนต 1NZ-FE ไดถูกตอง?

ก. ระยะชองวางปากแหวนที่ดีจะตองนอยคามาตรฐานเพราะวากําลังอัดไมสามารถรั่วผานไดงาย
ข. ในเมื่อแหวนอัดตัวที่ 1 และตัวที่ 2 มีรูปราง
และขนาดเทากันเมือ่ ประกอบไมจาํ เปนตองดูคูมือการซอมเพื่ออางอิง
ค. ตําแหนงในการวัดระยะชองวางปากแหวน คือสวนบนของกระบอกสูบ
ง. สําหรับการประกอบแหวนลูกสูบเขากับลูกสูบใหประกอบตามคากําหนดในคูมือการซอม

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเครือ่ งยนต แบบทดสอบ

คําถาม-15 ในการประกอบฝาสูบจะตองทําความสะอาดรูโบลทฝาสูบเพื่อจุดประสงคใด?

ก. ถาขันโบลทโดยมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบจะทําใหนา้ํ มันเกิดการลุกไหมเนื่องจากความรอน


จากแรงเสียดทานจากการขันโบลทเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดอันตรายได
ข. ถาขันโบลทฝาสูบโดยมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบจะเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดสนิม
ค. ถาขันโบลทยึดฝาสูบโดยมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบจะทําใหเกิดแรงดันจากน้าํ มันเครื่องหรือ
น้าํ และทําใหเสื้อสูบแตกราวได
ง. ถาขันโบลทฝาสูบโดยมีนา้ํ มันเครื่องหรือน้าํ อยูภายในรูโบลทฝาสูบจะทําใหโบลทแตกหรือขาดไดเมื่อใชโบลท
ครั้งตอไป

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร รายละเอียดทั่วไป

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
คูมือนี้จะมีรายละเอียดทั่วไปที่เปนขั้นตอน
ที่เกี่ยวของกับการซอมใหญของเกียร
ขั้นตอนการซอมใหญ จะแบงไดเปน
4 ขั้นตอน:
1. ถอดเกียรออกจากรถยนต
ยกรถขึ้นลิฟทและถอดเกียรออกจากรถยนต
2. ถอดแยกชิ้นสวนเกียร,
ตรวจสอบชิ้นสวน, และประกอบกลับ
(1)อันดับแรก ถอดแยกเสื้อเกียรและ
ยกเพลารับกําลัง, เพลาสงกําลัง
และเฟองทายออก
(2)ทําความสะอาดและถอดแยกชิ้นสวน
แตละชิ้น
(3)ประกอบเพลารับกําลัง, เพลาสงกําลัง
และเฟองทายเขากับเสื้อเกียร
3. ประกอบเกียรเขากับรถยนต
ยกรถขึ้นและประกอบเกียรเขากับรถยนต
4. ตรวจสอบขั้นตอนสุดทาย
ตรวจสอบขั้นสุดทายวามีจุดใดที่ปฎิบัติผิด
ขั้นตอน

(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
หัวขอนี้จะเปนขั้นตอนหลักสําหรับการถอด
ชุดเกียรขับเคลื่อนลอหนาออกจากรถยนต
ถอดชุดเกียรออกจากรถยนต
(NZE12# )
การปฎิบัติงานที่เกี่ยวกับเครือ่ งยนต
และบริเวณสายเคเบิลในขณะที่ยกลิฟทขึ้น
หรือลง และถอดอุปกรณและเกียรออก
จากดานลางรถอยางระมัดระวัง

1 ผาคลุมบังโคลน
2 กระจังหนา
3 ตะขอลูกรอก
4 ลูกรอกโซ
5 เกียร
6 แมแรงยกเกียร
(1/1)

ขอมูลอางอิง:
• รุนขับเคลื่อนลอหลัง
หัวขอนี้จะเปนขั้นตอนทัง้ หมดสําหรับการ
ถอดชุดเกียรขับเคลื่อนลอหลังออกจาก
รถยนต
การถอดเกียรออกจากรถยนต
(รุนขับเคลื่อนลอหลัง)
จํานวนของชิ้นสวนที่ตองการถอดจะมี
ขนาดเล็กกวาเมื่อเปรียบเทียบกับรถยนต
ขับเคลือ่ นลอหนา ดังนั้นการทํางานจะตอง
ยกลิฟทขึ้นกอน

1 ผาคลุมบังโคลน
2 กระจังหนา
3 เกียร
4 แมแรงยกเกียร
5 ตะขอลูกรอก
6 ลูกรอกโซ
(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

การถอด สวนประกอบ
1. ถอดแบตเตอรี่
2. ถอดฝากระโปรงหนา
3. ถอดชิ้นสวนภายในหองโดยสาร
4. ถอดสวนประกอบในหองเครื่องยนต
5. ถอดอุปกรณจากใตทองรถยนต
6. การถอดเกียรออกจากรถยนต

(1/1)

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

ถอดแบตเตอรี่
1. ถอดขั้วสายแบตเตอรี่ออก
กอนที่จะทําการถอดขั้วแบตเตอรีอ่ อก
ใหทาํ การบันทึกขอมูลตางๆ ที่ถูกบันทึก
ในกลอง ECU กอน
• DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)

• ตําแหนงคลื่นสถานีวิทยุ

• ตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
• ตําแหนงพวงมาลัย

1 สายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่ (มีระบบหนวยความจํา)


2 สายขั้วบวก (+) แบตเตอรี่ อื่นๆ
3 แคลมปยึดแบตเตอรี่ ขอแนะนําการบริการ:
4 แบตเตอรี่ แบตเตอรี่
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
51-53)
2. ถอดแบตเตอรี่
ถอดแคลมปรดั แบตเตอรี่และแบตเตอรี่
ออก
(1) ถอดสายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
(2) ถอดสายขั้วบวก (+) แบตเตอรี่
(3) ถอดแคลมปรัดแบตเตอรี่
(4) ถอดแบตเตอรี่
ขอควรระวัง:
แบตเตอรี่มีนา้ํ ยาอิเล็คโทไลท
(กรดซัลฟูรคิ แบบเจือจาง) ดังนั้นให
ยกแบตเตอรี่ในแนวระดับเพื่อปองกัน
ไมใหนา้ํ ยาหกออกมา

(1/1)

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

ถอดฝากระโปรงหนา
ตองใชคน 3 คน สําหรับการถอดฝา
กระโปรงหนา
คนหนึ่งจับที่ดานหนาของฝากระโปรง
อีกสองคนจับที่ดานซายและขวาของฝา
กระโปรงในขณะที่คลายนัตยึด
ขอควรระวัง:
• ใชผาคลุมตัวถังอืน
่ ๆ เพื่อปองกัน
กระจกบังลมหนาหรือตัวถังจากการ
ถูกขีดขวนหรือเปนรอย
• คลุมฝากระโปรงดวยผานุม
เพื่อปองกันไมใหเปนรอย
ขอแนะนํา:
ทําเครือ่ งหมายตําแหนงบนฝากระโปรง
เพื่อใหงายตอการประกอบกลับ

1 ผา
(1/1)

ถอดชิ้นสวนภายในหองโดยสาร
ถอดแยกขอตอแกนพวงมาลัย
ถอดแยกแร็คพวงมาลัยและขอตอแกนพวง
มาลัย
1. ผูกวงพวงมาลัยใหแนน
ผูกวงพวงมาลัยไวใหแนนโดยเข็มขัดนิรภัย
เพื่อปองกันไมใหสายไฟขดของระบบถุง
ลมนิรภัยขาด

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

2. ถอดขอตอแกนพวงมาลัย
ใหทาํ เครื่องหมายลงบนเฟองแร็คพวง
มาลัยและขอตอแกนพวงมาลัยกอนทําการ
ถอด

1 ขอตอแกนพวงมาลัย
2 เฟองแร็คพวงมาลัยพาวเวอร

ขอมูลอางอิง:
การถอดกระปุกเกียร
(รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
1. ถอดคอนโซลกลาง
2. ถอดคันเกียร
ลักษณะของการยึดคันเกียรเขากับเกียรมี
3 วิธีการดังนี้
(1) ยึดดวยโบลท นัต และแผนกั้น
(2) ยึดดวยโบลท และแผนกั้น
(3) ยึดดวยคลิป
1 โบลท
2 ยางรอง ขอควรระวัง:
3 นัต • คันเกียรจะมีจารบีเคลือบไวเพื่อการ
4 หัวเหล็กกลม หลอลื่น ดังนั้นควรคลุมไวดวยผา
5 คลิป สะอาด ดังนั้นเมื่อทําการถอดและ
วางคันเกียรจะทําใหหองโดยสารไม
สกปรก
• คลุมชุดเกียรดวยผาสะอาดเพื่อ
ปองกันสิ่งสกปรกเขาไปในขอตอเลื่อน
เกียร
ขอแนะนํา:
เนื่องจากคันเลื่อนเกียรประกอบผิดทิศ
ทางไมได ควรตรวจเช็คใหแนใจกอน
ทําการถอดออกมา

(1/1)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

ถอดสวนประกอบในหองเครื่องยนต
ถอดชิ้นสวนตอไปนี้จากหองเครื่องยนต
กอนที่จะทําการยกรถขึ้น
1.หมอกรองอากาศ
2.มอเตอรสตารท
3.ปมคลัตชตัวลาง
4.ชุดสายไฟและขั้วตอ
5.สายเลือกเกียรและสายเปลี่ยนเกียร
6.ยางยึดแทนเครื่องขางซาย

1.หมอกรองอากาศ

2.มอเตอรสตารท

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

3.ปมคลัตชตัวลาง

4.ชุดสายไฟและขั้วตอ

5.สายเลือกเกียรและสายเปลี่ยนเกียร

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

6.ยางยึดแทนเครื่องขางซาย

(1/7)

1. ถอดกรองอากาศ
ถอดหมอกรองอากาศจากเรือนลิ้นเรง
ขอควรระวัง:
หลังจากถอดชุดกรองอากาศออกแลว
ใหใชผาหรือผาเทปปดทอยางอากาศไว
เพื่อปองกันสิ่งแปลกปลอมตางๆ เขาไป
ในตัวเรือนลิ้นเรง ถามีสิ่งแปลกปลอม
เขาไปในเรือนลิ้นเรงอาจทําใหวาลว
หรือหองเผาไหมเสียได

1 หมอกรองอากาศ
2 เรือนลิน้ เรง
3 ผา
(2/7)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

2. ถอดมอเตอรสตารท
(1) ถอดนัตยึดมอเตอรและถอดสายไฟ
และขอตอออก
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
54-57)
ขอควรระวัง:
ถอดสายไฟมอเตอร จะตองไมทาํ ให
เกลียวของขั้ว B เสียหาย
(2)ถอดโบลทยึดและมอเตอรสตารทออก
ขอควรระวัง:
อยาทํามอเตอรสตารทหลนลงพื้น

1 สเตเตอร
2 ขอตอ
3 ขั้ว B
4 สายไฟมอเตอรสตารท
(3/7)

3. ถอดปมคลัตชตัวลาง
ถอดแคลมปรดั ทอน้าํ มันเบรกและถอดปม
คลัตชตัวลางออกจากเสื้อเกียรพรอมกัน
ขอควรระวัง:
อยาทําใหทอน้าํ มันคลัตชเสียรูป
ขอแนะนํา:
ทอน้าํ มันคลัตชไมควรจะถอดแยกออก
จากปมคลัตชตัวลาง การแยกทอออน
ของทอน้าํ มันและปมคลัตชตัวลาง
จะทําใหมีอากาศเขามาในระบบคลัตช

1 ทอน้าํ มันคลัตช
2 ปมคลัตชตัวลาง
3 แคลมป
(4/7)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

4. ถอดขอตอและสายไฟ
ถอดแยกชุดสายไฟและขอตอออกจากเสื้อ
เกียร
1 สวิตชไฟเกียรถอย

2 เซ็นเซอรตรวจจับความเร็ว

3 แคลมปรัดสายไฟ

4 สายกราวด

ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
54-57)
ขอแนะนํา:
ตําแหนงของแคลมปรัดสายไฟและสาย
ดินจะแตกตางกันขึ้นอยูกับรุนรถยนต
ดังนั้นควรอางอิงคูมือการซอม
(5/7)

5. ถอดคลิปและแหวนรองแลวจึงปลด
สายเลื่อนและเลือกเกียร
ถอดคลิปและแหวนรองแลวจึงปลดสาย
เลื่อนและเลือกเกียร
ขอควรระวัง:
อยาออกแรงหรือโคงงอ สายเลื่อนและ
เลือกเกียร
ขอแนะนํา:
• อยาทิ้งคลิปล็อค
• ใชเชือกผูกมัดสายเลือนและเลือกเกียร
ไมใหเกะกะการยกเกียรออกจากรถ
• ผูกเครื่องหมายที่สายเลื่อนและเลือก
เกียรที่ไดทาํ การปลดเพื่องายตอใน
การประกอบกลับ

1 คลิป
2 แหวนรอง
3 สายเลือกเกียร
4 สายเปลี่ยนเกียร

(6/7)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

6. ถอดแยกยางยึดแทนเครื่องยนต
ดานซาย
(1) ประกอบตะขอเกี่ยวโซและใชโซยึดที่หู
ยึดยกเครื่องยนต
(2) ใชแรงยกโซเพียงเล็กนอย (พอง)
แลวถอดโบลทที่ยึดยางแทนเครื่องยนต
ดานซาย
(3) ถอดโบลทและยางยึดแทนเครื่องออก
จากชุดเกียร
คําเตือน:
• ถาใชแรงยกโซมากเกินไป รถยนต
อาจยกตามออกจากลิฟท อาจทําให
เกิดอันตรายได
• ถาแรงตึงโซไมเทากันทั้ง 2 ดาน
เครื่องยนตจะเอียงซึ่งอาจจะทําใหเกิด
อันตรายได

1 หูยึดเครื่องยนต
2 ตะขอลูกรอก
3 ลูกรอกโซ
4 ยางยึดแทนเครื่องขางซาย
5 ความตึงของโซตองเทากัน

ขอแนะนํา:
หูยึดเครื่องยนตมี 2 ชนิด
การติดตั้งโซที่หูยึดเครื่องยนตจะตองใช
ใหเหมาะสมขึ้นอยูกับชนิดหูยึดที่ใช

1 หูยึดเครื่องยนต
2 ลูกรอกโซ

(7/7)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

การถอด
เครื่องมือชวยยกเครื่องยนต
เครื่องมือชนิดนี้จะชวยในการยึดเครื่อง
ยนตเมือ่ ทําการถอด-ประกอบเครือ่ งยนต
หรือเกียร
การประกอบเครื่องมือชวยยกเครื่องยนต
จะมีเสาค้าํ รองรับและยึดเครื่องยนตดวยโซ
เมื่อไดจุดศูนยกลางของเสาค้าํ รองรับ
ดังนั้นคานรองจะยึดเครื่องยนตไดมั่นคง
ขอควรระวัง:
การยึดที่แกมดานขางดวยเครื่องมือ
ชนิดนี้อาจทําใหตัวถังรถเกิดความเสีย
หายได

1 คานหลัก
2 เสาค้าํ คานหลักตัวที่ 2
3 ตะขอลูกรอก
4 เสาค้าํ คานหลักตัวที่ 1
5 คานรอง
6 โซคานรอง
7 กานยึดคานรอง
(1/1)

ถอดสวนประกอบจากใตทองรถยนต
ใชลิฟทยกชิ้นสวนออกจากดานลางรถยนต
ดังตอไปนี้
1. น้ํามันเกียร
2. ทอน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร
3. ลูกหมากปลายคันสง
4. เพลาขับ
5. คานขวางและซัฟเฟรม
ขอแนะนํา:
เมือ่ ยกรถขึ้น ตองมั่นใจวาความตึงโซที่
ลูกรอกตองเทากัน
(1/8)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

การถอด
ทอไอเสีย
ใชนา้ํ ยาลางสนิมฟนที่โบลทหรือนัตกอนทํา
การถอดทอไอเสีย
ขอแนะนํา:
• การถอดทอไอเสียตองทําดวยกัน
2 คน
• หามนําโบลท และปะเก็นทอไอเสีย
กลับมาใชใหมตองมั่นใจวาใชชิ้นสวน
ใหมเมื่อทําการประกอบทอไอเสีย

1 ทอไอเสีย
2 ทอรวมไอเสีย
3 ปะเก็น
4 สปริง
5 โบลท

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

การถอด
เพลากลาง (รุนขับเคลื่อนลอหลัง)
การถอดเพลากลาง
(1) ทําเครื่องหมายบนหนาแปลนเพลา
กลางและเฟองทาย
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)
(2) ถอดโบลทและนัตออกจากหนาแปลน
และตุกตาเพลากลาง
(3) ใชคอนพลาสติกเคาะที่ขอตอ และถอด
เพลากลางออก

ขอควรระวัง:
ถาเพลากลางติดตั้งไมไดตาํ แหนงเดิม
มันอาจเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดเสียงดัง
และมีการสั่นสะเทือน
ขอแนะนํา:
• การถอดเพลากลางตองใชชางเทคนิค
2 คน
• เมื่อถอดเพลากลางพรอมตุกตาเพลา
กลาง ใหทาํ เครื่องหมายกอนทําการ
ถอดในระหวางทําการติดตั้งเพลา
กลาง ถาใชแหวนรองผิดตําแหนง
อาจเปนสาเหตุใหเกิดการสั่นสะเทือน

1 เฟองทาย
2 หนาแปลนเฟองทาย
3 เพลากลาง
4 สเปเซอร
5 ลูกปนตัวกลาง
(1/2)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

(4) การปองกันน้าํ มันรั่ว ใหสอดเครื่องมือ


พิเศษเขาไปที่เสื้อทายเกียรและใชผา
เทปพันรัด ดังรูป
ขอควรระวัง:
ขณะทําการติดตั้งเครื่องมือพิเศษ
ระมัดระวังอยาทําใหซีลน้าํ มันเกิดการ
เสียหาย

1 เกียร
2 เครื่องมือพิเศษ (ปลัก๊ อุดน้าํ มันเกียร)
3 เทป
(2/2)

1. ถายน้ํามันเกียรออก
คลายปลัก๊ เติมน้าํ มันออกกอนจะถอดปลั๊ก
ถายน้าํ มัน แลวจึงถายน้าํ มันเกียรลงสูอาง
ขอแนะนํา:
ใชแมแรงยกเกียร และวางถาดรอง
น้าํ มันในตําแหนงที่ไมทาํ ใหนา้ํ มันหก
ขณะคลายปลั๊กถาย

1 เกียร
2 ปลั๊กเติม
3 ปลั๊กถาย
4 ปะเก็น
(2/8)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

2. ถอดทอน้ํามันเพาเวอร
(1) วางถาดที่จะรองน้าํ มันเพาเวอรไวใต
คานลาง
(2) ใชเครื่องมือพิเศษ ถอดทอน้าํ มัน
แรงดันและทอน้าํ มันไหลกลับออกจาก
กระปุกเกียร
ขอแนะนํา:
หลังจากถายน้าํ มันทิ้งแลว ปดกระปุก
เกียรและทอดวยถุงพลาสติก, อื่นๆ
เก็บรักษาอยาใหสิ่งสกปรกแปลกปลอม
เขาไปในทอ

1 เครื่องมือพิเศษ
(ประแจขันนัตทอน้าํ มัน)
2 ทอแรงดันน้าํ มัน
3 ทอน้าํ มันไหลกลับ
(3/8)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

3. ถอดแยกลูกหมากปลายคันสง
(1) ถอดสลักและนัตหัวผาออก
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
39-40)
(2) ใช เครื่องมือพิเศษ ถอดแยกลูกหมาก
ปลายคันสงออกจากแกนพวงมาลัย
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอควรระวัง:
การกระแทก เครื่องมือพิเศษ เขากับ
ตัวกันฝุนอาจทําใหเกิดความเสียหาย

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือดูดลูกหมาก)
2 ยางกันฝุน
3 ลูกหมากปลายคันสง
4 ขอบังคับเลี้ยว
(4/8)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

4. ถอดเพลาขับ
(1) ตําแหนงเพลาขับจะอยูดานบน
(2) ใช เครื่องมือพิเศษ และคอนตอกที่
นัตล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(3) ถอดนัตล็อคออก
ขอแนะนํา:
ใหคนหนึ่งเหยียบเบรกเพื่อยึดเพลาขับ
ไวขณะที่อีกคนทําการคลายนัตล็อค
ออก
(4)ถอดปกนกตัวลางออกจากดุมลอ

1 เครื่องมือพิเศษ
(เหล็กตอกนัตยึดเพลาขับ)
2 นัตล็อค
3 ดุมลอ

(5) ในขณะที่คอยๆ ดึงดุมลอออกมาจาก


เพลา ใชคอนพลาสติกเคาะเบาๆ
และถอดดุมลอและเพลาขับออกจากกัน
ขอควรระวัง:
• ลงมือทําหลังจากที่ถอดเซ็นเซอรของ
ระบบ ABS ออก
• ระมัดระวังอยาใหโรเตอรและบูชเพลา
ขับเสียหาย
• อยาทําใหเกลียวของเพลาขับเกิดการ
เสียหาย

3 ดุมลอ
(5/8)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

(6) ใช เครือ่ งมือพิเศษ ดึงเอาเพลาขับออก


ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มกี ารอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอควรระวัง:
ใชขอเกี่ยวของ เครื่องมือพิเศษ เกี่ยวเขา
กับรองบนเพลาขับอยางระมัดระวัง
ถาเกี่ยวไมดีอาจทําใหเพลาขับเสียหาย
ขอแนะนํา:
• การถอดเพลาขับจะตองใชผป ู ฏิบตั งิ าน
2 คน
• การดึงเพลาขับใหไดระดับจะทําให
ถอดเพลาขับงาย

1 เครื่องมือพิเศษ
(คอนกระตุกสําหรับถอดเพลาขับ)
2 เพลาขับ
3 เครื่องมือพิเศษ (ตัวดูดเฟองเพลาขาง)
(6/8)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

5. ถอดชุดคานลางและคานกลาง
(1)ยกแมแรงดึงตะขอเกี่ยวโซจนกระทั่ง
โซตึงเทากัน
คําเตือน:
• ถาใชแรงยกโซตึงเกินไป รถยนตอาจ
ยกตามทําใหเกิดอันตรายเปนอยางยิ่ง
• ถาแรงดึงของโซซายขวาไมเทากัน
มันจะทําใหเครื่องยนตเอียงไปดานใด
ดานหนึ่ง ทําใหเกิดอันตรายเปน
อยางยิ่ง

1
ขอแนะนําการบริการ:
คานลางและซัฟเฟรม
2 แมแรงยกเกียร โบลท

(2)ถอดนัตและเหล็กกันโคลง
(3)ถอดยางยึดแทนเครื่องและนัต
และถอดแยกเครื่องยนตออกจากชุด
คานลาง
(4)ใชแมแรงยกเกียรรองรับชุดคานลาง
(5)ถอดโบลทยึดคานและแยกชุดคานลาง,
คานกลาง, ปกนกลาง,กระปุกพวง
มาลัยเพาเวอร และชุดเหล็กกันโคลง
ออกจากกัน
(7/8)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

(6)ลดแมแรงยกชุดคานลงในขณะที่ตรวจ
เช็คดูวาชุดคานไมมีสวนใดติดกับ
ตัวถังรถ
ขอแนะนํา:
• ใชเสนลวด, อื่นๆรัดชุดคานเขากับ
แมแรง เพื่อปองกันไมใหหลน
• ประกอบโบลทไวที่ชุดคานลางไว
ชั่วคราว เพื่อที่จะทําใหประกอบกันได
งาย

1 คานลาง
2 ซัฟเฟรม
3 ปกนกตัวลาง
4 แร็คพวงมาลัย
5 เหล็กกันโคลง
6 แมแรงยกเกียร
(8/8)

ถอดเกียรออกจากรถยนต
1. ใชแมแรงรับเกียรและปรับมุมใหแนน
เพื่อปองกันไมใหเกียรหลน
คําเตือน:
• ถาแมแรงรับเกียรยกสูงเกินไป
จะทําใหรถยนตถูกดนใหสูงตาม
ซึ่งจะทําใหเกิดอันตรายมาก
• ตรวจเช็คดูวาโซมีแรงตึงที่เทากัน

1 ผาคลุมบังโคลน
2 กระจังหนา
3 ลูกรอกโซ
4 เกียร
5 แมแรงยกเกียร
6 แผนยึด
(1/3)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

2. ถอดโบลทยึดเกียร สอดไขควงปากแบน
เขาไประหวางเครื่องยนตกับเกียร
แลวงัดแยกเกียรออก
คําเตือน:
กอนทํางานถอดแยกเกียร จะตองแนใจ
วาโซยึดเครือ่ งยนต 2 ดานตึงเทากัน
ขอแนะนํา:
เกียรจะถอดยากเพราะวาจะติดกับ
เครื่องยนตโดยเพลารับกําลังกับสลัก
3. ดึงเกียรออกในขณะที่โยกเมื่อดึงเกียร
ออกจากเครื่องยนตตองทําอยางระมัด
ระวัง
ขอควรระวัง:
การเขยา, โยกเกียรอยางแรงอาจเปน
สาเหตุที่ทาํ ใหเพลารับกําลังหรือแผน
คลัตชเกิดความเสียหาย

1 เกียร
2 แมแรงยกเกียร
(2/3)

4. ลดแมแรงที่รับเกียรลงชาๆ ในขณะ
ที่เช็คดูวาไมมีสวนใดของเกียรติดกับ
ตัวถัง
ขอควรระวัง:
ใชลวดหรืออื่นๆ รัดเกียรเขากับแมแรง
เพื่อปองกันไมใหเกียรหลนจากแมแรง

1 ผาคลุมบังโคลน
2 กระจังหนา
3 ลูกรอกโซ
4 เกียร
5 แมแรงยกเกียร
(3/3)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายถูกหรือผิดในคําถามตอไปนี้:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
หลังจากถอดกรองอากาศ
1 ถูก ผิด
ใชผาคลุมทอทางอากาศเพื่อปองกันสิ่งแปลกปลอมเขาไปในเรือนลิ้นเรง
เมือ่ ถอดฝากระโปรงหนา ถาฝากระโปรงหนักมาก
2 ถูก ผิด
ตองแนใจวาตะขอเกี่ยวโซและโซยึดเครื่องยนตถูกถอดออกกอน
เมือ่ ถอดแมปมคลัตชตัวลางออกจากเกียร
3 ถูก ผิด
ถอดทอน้าํ มันคลัตชออกจากแมปมคลัตชตัวลาง จะทําใหปฏิบัติงานงาย
เมือ่ ถายน้าํ มันเกียรออกจากเกียร คลายปลั๊กเติมน้าํ มันเกียรเล็กนอย
4 ถูก ผิด
แลวถอดปลั๊กถายออกจะทําใหนา้ํ มันไหลสะดวก
เมือ่ ดึงเพลาขับออกจากเกียร
5 ถูก ผิด
ใหปฏิบัติโดยการดึงเพลาขับใหเอียงเล็กนอยจะทําใหดึงเพลาขับออกงาย

คําถาม-2
จงเลือกหัวขอของเครื่องมือที่ใชตอกนัตล็อคเพลาขับ
1. ไขควงปากแบนและคอน
2. สกัดและคอน
3. เครื่องมือพิเศษ (เหล็กตอกนัตยึดเพลาขับ) และคอน
4. แทงทองเหลืองและคอน

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดเกียรออกจากรถยนต
คําถาม-3
ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด ที่เปนขอควรระวังเกี่ยวกับการถอดจุดยึดเครือ่ งยนต?
ก; มันจะเปนอันตรายอยางมาก ถายกโซยึดเครื่องยนตกอนที่จะทําการถอดจุดยึดเครื่องยนต เพราะวารถยนต
จะยกตามการดึงของการยกโซ
ข; ถาแรงตึงของโซที่ยึดเครื่องยนตที่ดึงโซดานซายและขวาเทากันมันจะทําใหเกิดอันตราย
เมื่อเครื่องยนตเอียงหรือเมื่อถอดจุดยึดเครื่องยนตออก
1. ขอ ก ถูก
2. ขอ ข ถูก
3. ถูกทั้ง 2 ขอ
4. ผิดทั้ง 2 ขอ

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ËÑÇ¢é͹Õé¨Ð͸ԺÒÂà¡ÕèÂǡѺ¢Ñ鹵͹ËÅÑ¡ã¹
¡ÒöʹáÅСÒõÃǨÊͺªØ´à¡ÕÂÃì
1.การถอดแยกชิ้นสวนเกียร
¶Í´ªÔé¹ÊèǹÃͺæ àÊ×éÍà¡ÕÂÃìÍÍ¡ËÅѧ¨Ò¡
¹Ñ鹶ʹá¡àÊ×éÍà¡ÕÂÃìÍÍ¡¨Ò¡¡Ñ¹ áÅжʹ
à¾ÅÒÃѺ¡ÓÅѧ, à¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ,áÅÐà¿×ͧ·éÒÂ
2.การตรวจสอบสวนประกอบของเกียร
þãªéà¤Ã×èͧÁ×͵ÃǨÇÑ´¡ÒÃÊÖ¡ËÃ×Íâ´ÂÇÑ´
ÃÐÂÐËèÒ§¢Í§ªÔé¹Êèǹ·Õèà¡Ô´¢Öé¹ÀÒÂ㹪ش
à¡ÕÂÃìà»ÅÕ蹪Ôé¹Êèǹ·ÕèÊÖ¡ËÃÍà¡Ô¹
¤èÒ¡Ó˹´
(1/1)

การถอดแยกชิ้นสวน สวนประกอบ
1.ถอดเซ็นเซอรตรวจจับความเร็วรถยนต
(1)เซ็นเซอรตรวจจับความเร็วรถยนต

2.ถอดกามปูคลัตชและลูกปนกดคลัตช
(1)กามปูคลัตช
(2)ÅÙ¡»×¹¡´¤Åѵªì
(3)ºÙêªÂÒ§¡éÒÁ»Ù
(4)¨Ø´ÂÖ´¡éÒÁ»Ù¤Åѵªì

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

3.ถอดสวิตชไฟเกียรถอย
(1)สวิตชไฟเกียรถอย

4.ถอดโบลทล็อคหัวเลือกเกียร
(1)โบลทล็อคหัวเลือกเกียร

5.ถอดชุดหัวเลื่อนและเลือกเกียร
(1)ชุดเลือกเกียร
(2)ᢹÂÖ´àÊ×éͤѹ¤Çº¤ØÁ
(3)¤Ñ¹àÅ×Í¡à¡ÕÂÃì

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
6.ถอดฝาครอบเสื้อเกียร
(1)ฝาครอบเสื้อเกียร

7.ถอดนัตล็อคเพลาสงกําลัง
(1)นัตล็อคเพลาสงกําลัง

8.ถอดกามปูและปลอกเลื่อน
(1)กามปูตัวที่ 3
(2)»ÅÍ¡àÅ×è͹µÑÇ·Õè 3

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
9.ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
(1)ระยะรุนเกียร 5 ในแนวแกน
(2)ÃÐÂÐÃعà¡ÕÂÃì 5 ã¹á¹ÇÃÑÈÁÕ

10.ถอดแหวนล็อค
(1)แหวนล็อคดุมเกียร
(2)áËǹÅçͤà¾ÅÒ¡éÒÁ»Ù
(3)áËǹÅçͤà¾ÅÒÃѺ¡ÓÅѧ
(4)áËǹÅçͤà¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ

11.ถอดดุมเกียรและเฟองเกียร
(1)ดุมเกียร
(2)à¿×ͧ¢Ñºà¡ÕÂÃì
(3)à¿×ͧµÒÁà¡ÕÂÃì 5

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
12.ถอดแยกดุมเกียร
(1)ดุมเกียร
(2)µÑÇ˹͹
(3)Ê»ÃÔ§µÑÇ˹͹

13. ถอดชุดลูกปนล็อคปองกันเกียรหลุด
(1) ปลั๊กหัวจีบ (เกียร 5 และเกียรถอย)
(2) ลูกปน (เกียร 5 และเกียรถอย)
(3) ปลั๊กหัวจีบ (เกียร 3 และเกียร 4)
(4) ลูกปน (เกียร 3 และเกียร 4)
(5) ปลั๊กหัวจีบ (เกียร 1 และเกียร 2)
(6) ลูกปน (เกียร 1 และเกียร 2)
(7) ชุดบอลล็อค

14.ถอดเสื้อเกียร
(1)เสื้อเกียร
(2)á¼è¹»ÃСѺÅÙ¡»×¹
(3)âºÅ·ìÂÖ´à¿×ͧÊоҹà¡ÕÂÃì¶ÍÂ

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
15.เพลาและเฟองสะพานเกียรถอย
(1)เฟองสะพานเกียรถอย
(2)à¾ÅÒà¿×ͧÊоҹà¡ÕÂÃì¶ÍÂ
(3)áËǹ¡Ñ¹Ãع

16. ถอดเพลากามปูและกามปู
(1) เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(2) เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
(3) เพลากามปูตัวที่ 3
(เกียร 5 และเกียรถอย)
(4) กามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(5) กามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
(6) หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)
(7) แขนเลื่อนเกียรถอย

17.ถอดเพลาสงกําลังและเพลารับกําลัง
(1)ชุดเพลารับกําลัง
(2)ªØ´à¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
18.ถอดเฟองทาย
(1)ชุดเฟองทาย

19.ถอดชิ้นสวนตางๆ
(1)แผนรับน้าํ มัน
(2)á¼è¹ÅçͤÅÙ¡»×¹
(3)áÁèàËÅç¡
(4)½Ò¤Ãͺà¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ
(5)·èÍÃѺ¹éÓÁѹà¡ÕÂÃìµÑÇ·Õè 1
(6)ÊÅÑ¡
(7)·èÍÃѺ¹éÓÁѹà¡ÕÂÃìµÑÇ·Õè

20.ถอดลูกปนและซีลน้าํ มัน
(1)ซีลน้าํ มันหนาเกียร (ซีลเพลารับกําลัง)
(2)ÅÙ¡»×¹à¾ÅÒÃѺ¡ÓÅѧ´éҹ˹éÒ
(3)ÅÙ¡»×¹à¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ´éҹ˹éÒ
(4)«ÕŹéÓÁѹ («ÕÅà¿×ͧ·éÒÂ)
(5)»ÅÍ¡ÃͧÅÙ¡»×¹à¿×ͧ·éÒ´éҹ˹éÒ
áÅÐá¼è¹ªÔÁ
(6)ÅÙ¡»×¹à¿×ͧ·éÒ´éҹ˹éÒ
(7)ÅÙ¡»×¹à¿×ͧ·éÒ´éÒ¹ËÅѧ
(8)»ÅÍ¡ÃͧÅÙ¡»×¹à¿×ͧ·éÒ´éÒ¹ËÅѧ
áÅÐá¼è¹ªÔÁ
(9)«ÕŹéÓÁѹ («ÕÅà¿×ͧ·éÒÂ)
(2/2)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดกามปูกดคลัตชและลูกปนกดคลัตช
1. ถอดกามปูคลัตช
´Ö§¡éÒÁ»Ù¤Åѵªìä»´éҹ˹éÒ
áÅéÇá¡¡éÒÁ»ÙÍÍ¡¨Ò¡¨Ø´ÂÖ´¡éÒÁ»Ù¤Åѵªì
¶Í´¡éÒÁ»ÙáÅÐÅÙ¡»×¹¤ÅѵªìÍÍ¡¨Ò¡àÊ×éÍ
à¡ÕÂÃì (ËÑÇËÁÙ)
2. ถอดลูกปนกดคลัตช
(1) ถอดลูกปนกดคลัตชออกจากกามปู
คลัตช
(2) กอนทําการถอดลูกปนกดคลัตช
จะตองสังเกตตําแหนงคลิปล็อคลูกปนที่
ถูกตอง เพื่องายตอการประกอบกลับ
ขอแนะนํา:
• ถอดลูกปนเฉพาะเมื่อทําการเปลี่ยน
เกียรเทานั้น ดังนั้นลูกปนควรจะคา
ไวติดกับกามปูกดคลัตชถาไมมีการ
เปลี่ยน
• หลีกเลี่ยงในการใชแรงอยางมากใน
การดึงคลิปล็อคลูกปน เพราะอาจทํา
ใหชิ้นสวนเสียรูป

1 จุดยึดกามปูคลัตช
2 คลิปล็อคลูกปน
3 กามปูคลัตช
4 ลูกปนกดคลัตช
(1/1)

วางเกียรแบบสมดุล
ÇÒ§à¡ÕÂÃìŧº¹âµêзӧҹâ´ÂãªéäÁéÃͧ·Õè
´éҹ˹éÒà¡ÕÂÃì
ขอควรระวัง:
การปฏิบัติโดยเอาไวรองดานหนาเกียร
(หัวหมู) เพื่อปองกันหนาสัมผัสเสื้อ
เกียรเปนรอย

1 ไมรอง

(1/1)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดกลไกเลื่อนและเลือกเกียร
1. ตรวจเช็คตําแหนงเกียรวาง
»ÃѺãËéËÑÇàÅ×Í¡à¡ÕÂÃìÍÂÙèã¹µÓá˹è§à¡ÕÂÃì
ÇèÒ§
ขอแนะนํา
ถาหัวเลือกเกียรไมอยูในตําแหนงเกียร
วางจะไมสามารถถอดออกจากเกียรได
2. ถอดกลไกเลื่อนและเลือกเกียร
(1)คลายโบลทตามแนวทแยงมุม
หมุนโบลทออกทีละนิดจนหมด และ
ถอดหัวเลือกเกียรออก
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
(2) ดูดหัวเลือกเกียรออกจากเกียรใน
แนวตรง
(1/1)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดฝาครอบเสื้อเกียร
½Ò¤Ãͺà¡ÕÂÃì 5 ¨ÐÁÕ»Ðà¡ç¹àËÅÇ·Ò·Õè
ºÃÔàdz˹éÒÊÑÁ¼Ñʢͧà¡ÕÂÃì¡Ñº½Ò¤Ãͺà¾×èÍ
»éͧ¡Ñ¹¡ÒÃÃÑèÇ
1. ถอดโบลทยึดฝาครอบเกียร 5
àÁ×èͶʹâºÅ·ì¤ÇáÃШÒÂáç¢Ñ¹âºÅ·ì
à»ç¹á¹Ç·á§ÁØÁ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
1 ปะเก็นเหลว 2 ฝาครอบเสื้อเกียร “พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
3 คอนพลาสติก 4-5)
2. ถอดฝาครอบเกียร
Íѹ´Ñºááãªé¤é͹¾ÅÒʵԡà¤ÒкÃÔàdz
¢Íº½Ò¤Ãͺ áÅéǶʹ½Ò¤ÃͺÍÍ¡
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)
(1/1)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดนัตล็อคเพลาสงกําลัง
1. ตอกนัตล็อคเพลาสงกําลัง
ãªé¤é͹áÅеÑǵ͡ÊÅÑ¡ µÍ¡ËÑǹѵÅçͤ
à¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)
2. การล็อคเพลาสงกําลัง
à¾×èÍ·Õè¨ÐËÁع¤ÅÒ¹ѵÅçͤà¾ÅÒÊ觡ÓÅѧãËé
à¢éÒà¡ÕÂÃìãËéà¿×ͧ¢º¡Ñ¹ 2 à¡ÕÂÃì à¾×èÍ»éͧ¡Ñ¹
à¾ÅÒËÁعµÒÁ ¡ÃзÓä´éâ´Âãªé䢤ǧ§Ñ´
ËÑÇàÅ×Í¡à¡ÕÂÃì¢Öé¹ËÃ×Íŧ

1 สกัด
2 นัตล็อคเพลาสงกําลัง
3 เพลากามปู
เลื่อนเพลากามปู
(1/2)

3. ถอดนัตล็อคเพลาสงกําลัง
¶Í´¹ÑµÅçͤà¾ÅÒÊ觡ÓÅѧ áÅéÇãªé䢤ǧ§Ñ´
à¾ÅÒ¡éÒÁ»ÙãËéÍÂÙèã¹µÓá˹è§à¡ÕÂÃìÇèÒ§
ขอแนะนํา:
การปฏิบัติในกรณีนี้ ควรจะปฏิบัติงาน
2 คนเพราะวาจะทําใหออกแรงไดมาก

1 เพลากามปู
เลื่อนเพลากามปู

(2/2)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดกามปูหมายเลข 3 และปลอกเลื่อน
»ÅÍ¡àÅ×è͹áÅÐà¾ÅÒ¡éÒÁ»Ù¨ÐÁÕ·ÔÈ·Ò§ã¹
¡ÒõԴµÑé§ ´Ñ§¹Ñ鹨еéͧ¨ÓµÓá˹觡è͹
¡Òöʹ
¶Í´âºÅ·ìáÅжʹ¡éÒÁ»ÙáÅлÅÍ¡àÅ×è͹
ÍÍ¡¾ÃéÍÁ¡Ñ¹
ขอแนะนํา:
วางปลอกเลื่อนและกามปูไวในชุดเดียว
กัน

1 ปลอกเลื่อน
2 กามปูตัวที่ 3
3 ตัวหนอน
4 ดุมเกียร
5 เฟองขับเกียร 5
(1/1)

ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
¡è͹¨Ð·Ó¡Òöʹᡪشà¡ÕÂÃì
ãªéä´ÍÑÅࡨÇÑ´ÃÐÂÐËèÒ§¢Í§à¿×ͧà¡ÕÂÃì
ระยะหางเฟองเกียร 5
1.วัดระยะรุนในแนวแกน
2.วัดระยะรุนในแนวรัศมี
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
1 ดุมเกียร 67-70)
2 เฟองขับเกียร 5
3 วิธีการตอกแหวนล็อค ขอแนะนํา:
4 ไดอัลเกจ ถาระยะหางเฟองเกียรนอยไป
เฟองเกียรจะไมไดรบั การหลอลื่นที่
เพียงพอ เชนเดียวกัน ถาระยะหาง
เฟองเกียรมากเกินไปจะทําใหเกียร
หลุดไดและยังจะทําใหเกิดเสียงดังอีก
ดวย

(1/1)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดแหวนล็อค
ÇÔ¸Õ¡ÒöʹáËǹÅçͤ¢Öé¹ÍÂÙè¡ÑºÃÙ»ÃèÒ§¢Í§
áËǹáÅеÓá˹è§
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)
1. ใชไขควงคูที่มีขนาดเทากัน
ตอกดวยคอนและถอดดังตอไปนี้:
(1) แหวนล็อคดุมเกียร
(2) แหวนล็อคเพลากามปู

1 ผา
2 ดุมเกียร
3 เฟองขับเกียร 5
(1/1)

2. ใชคีมถางถอดแหวนล็อคลูกปน
(1) แหวนล็อคเพลารับกําลัง
(2) แหวนล็อคเพลาสงกําลัง
ขอแนะนํา:
ขั้นตอนการถอดเพลาใหดึงเพลาดวย
มือขึ้นขางบนจะทําใหถอดไดงาย

1 คีมถางแหวน
2 เพลารับกําลัง
3 เพลาสงกําลัง
(1/1)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดดุมเกียรและเฟองเกียร
1. ถอดเฟองเกียร 5 และดุมเกียร
2. ถอดเฟองตามเกียร 5

1 เฟองทองเหลือง

1. ถอดเฟองเกียร 5 และดุมเกียร
ãªéà¤Ã×èͧÁ×;ÔàÈɶʹ´ØÁà¡ÕÂÃì,
à¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧáÅÐà¿×ͧà¡ÕÂÃì 5
ขอแนะนํา:
วางเครื่องมือพิเศษโดยใหปากจับเฟอง
เกียรเทากันทั้งดานซายและขวา เพื่อ
ปองกันการหลุด
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)

1 เครื่องมือพิเศษ (ดูดพูลเลย)
2 ดุมเกียร
3 เฟองขับเกียร 5
4 เฟองทองเหลือง

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

2. ถอดเฟองตามเกียร 5
ãªéà¤Ã×èͧÁ×;ÔàÈɶʹà¿×ͧµÒÁà¡ÕÂÃì 5
ขอแนะนํา:
วางเครื่องมือพิเศษโดยใหปากจับเฟอง
เกียรเทากันทั้งดานซายและขวา เพื่อ
ปองกันการหลุด
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ

1 เครื่องมือพิเศษ (ดูดพูลเลย)
2 เฟองตามเกียร 5
(1/1)

ถอดแยกดุมเกียร
1. การตรวจเช็คตําแหนง
´ØÁà¡ÕÂÃìáÅеÑÇ˹͹¨ÐÁÕ·ÔÈ·Ò§¡ÒõԴ
µÑé§ µéͧÊѧࡵµÓá˹觡è͹·Õè¨Ð·Ó¡ÒÃ
¶Í´á¡

1 ชุดดุมคลัตช
2 ตัวหนอน
3 ดุมเกียร
4 สปริงตัวหนอน

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

2. การถอดตัวหนอน
ãªé¼éÒ¤ÅØÁ´ØÁà¡ÕÂÃì à¾×èÍ»éͧ¡Ñ¹µÑÇ˹͹
áÅÐÊ»ÃÔ§µÑÇ˹͹ËÅè¹ËÒ áÅéÇãªé䢤ǧ
»Ò¡áº¹§Ñ´Ê»ÃÔ§
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)
ขอแนะนํา:
เก็บดุมเกียรและตัวหนอนไวดวยกัน
เปนชุด

1 ตัวหนอน
2 ดุมเกียร
3 สปริงตัวหนอน
4 ผา
(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดชุดลูกปนล็อคปองกันเกียรหลุด
1. ใชลกู บ็อกซหัวจีบขันหัวจีบ แลวถอด
ปลั๊กหัวจีบและลูกปนออกจากเสื้อเกียร
(1) ปลั๊กหัวจีบ (เกียร 1 และเกียร 2)
(2) ปลั๊กหัวจีบ(เกียร 3 และเกียร 4)
(3) ปลั๊กหัวจีบ (เกียร 5 และเกียรถอย)
(4) ชุดบอลล็อค
ขอแนะนํา:
ในขณะที่คลายปลั๊กหัวจีบ กดลูกบ็อกซ
ลงเล็กนอยเพื่อปองกันไมใหรอ งหัวจีบ
1
เสียหาย
à¾ÅÒ¡éÒÁ»ÙµÑÇ·Õè 2 (à¡ÕÂÃì 3 áÅÐà¡ÕÂÃì 4)
2 à¾ÅÒ¡éÒÁ»ÙµÑÇ·Õè 3 (à¡ÕÂÃì 5 áÅÐà¡ÕÂÃì¶ÍÂ) 2. ใชไขควงแมเหล็ก, ปลอกครอบสปริง,
3 à¾ÅÒ¡éÒÁ»ÙµÑÇ·Õè 1 (à¡ÕÂÃì 1 áÅÐà¡ÕÂÃì 2) สปริง และลูกปนออก
4 ÅÙ¡»×¹ºÍÅÅçͤ หนาที่ของลูกปนบอลล็อค
5 Ê»ÃÔ§ àÁ×èÍÁÕ¡ÒÃà¢éÒà¡ÕÂÃì Ê»ÃÔ§¨Ð´Ñ¹ÅÙ¡»×¹ãËéä»
6 áËǹÃͧʻÃÔ§ÇÒÅìÇ ÍÂÙèã¹Ãèͧ¢Í§à¾ÅÒ¡éÒÁ»Ù à¾×èͪèÇÂãËéà¡ÕÂÃì
ÍÂÙèã¹µÓá˹觷Õè¶Ù¡µéͧáÅÐÂѧ»éͧ¡Ñ¹¡ÒÃ
àÅ×è͹ËÅØ´¢Í§à¡ÕÂÃìáÅÐÂѧãËé¤ÇÒÁÃÙéÊÖ¡ÇèÒ
à¡ÕÂÃìà¢éÒÊØ´àÁ×èÍÁÕ¡ÒÃàÅ×è͹à¡ÕÂÃì
หนาที่ของชุดลูกปนล็อค
»éͧ¡Ñ¹à¿×ͧÊоҹà¡ÕÂÃì¶ÍÂäÁèãËéà¤Å×è͹
·ÕèàÁ×èÍäÁèÁÕ¡ÒÃà¢éÒà¡ÕÂÃì¶ÍÂ

(1/1)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดเสื้อเกียร
àÊ×éÍà¡ÕÂÃì¨ÐÁÕ»Ðà¡ç¹àËÅÇ«ÕÅäÇéà¾×èÍ»éͧ¡Ñ¹
¡ÒÃÃÑèÇ
1. ถอดโบลทยึดฝาครอบเกียร
¢Ñ¹âºÅ·ìâ´Âãªéáç¢Ñ¹âºÅ·ìÍÍ¡´éÇÂáç
à·èÒæ ¡Ñ¹ áÅФÅÒÂâºÅ·ìã¹á¹Ç·á§ÁØÁ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
2. ถอดเสื้อเกียร
Íѹ´Ñºááãªé¤é͹¾ÅÒʵԡà¤ÒÐàºÒæ ·Õè
ºÃÔàdz¢ÍºàÊ×éÍà¡ÕÂÃì áÅéÇ¡àÊ×éÍà¡ÕÂÃìÍÍ¡
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)

1 คอนพลาสติก
2 ปะเก็นเหลว
3 เสื้อเกียร
4 เสื้อเกียร
(1/1)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดเพลากามปูและกามปู
¡Ò÷ӧҹàÃÔèÁ¨Ò¡á¢¹â¡, à¾ÅÒ¡éÒÁ»Ù
áÅСéÒÁ»Ù·ÓãËé»ÅÍ¡àÅ×è͹àÅ×è͹ áÅзÓ
ãËéà¿×ͧà¡ÕÂÃì·Ó§Ò¹
1. การตรวจเช็คตําแหนง
¡éÒÁ»ÙáÅÐà¾ÅÒ¡éÒÁ»Ù¨ÐÁÕµÓá˹è§áÅзÔÈ
·Ò§ µéͧÊѧࡵµÓá˹觡è͹·Õè¨Ð·Ó¡ÒÃ
¶Í´á¡

1 กามปูตัวที่ 1 (เกียร 1 และเกียร 2)


2 เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
3 หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)
4 กามปูตัวที่ 2 (เกียร 3 และเกียร 4)
5 เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
6 เพลากามปูตัวที่ 3
(เกียร 5 และเกียรถอย)
(1/2)

2. ถอดเพลากามปูและกามปู
¶Í´à¾ÅÒ¡éÒÁ»ÙáÅСéÒÁ»ÙµÒÁ¢Ñ鹵͹µèÍ
仹Õé:
(1) เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
(2) หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)
(3) เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(4) กามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(5) เพลากามปูตัวที่ 3และกามปูเกียรถอย
(เกียร 5 และเกียรถอยหลัง)
(6) กามปูตัวที่ 2 (เกียร 3 และเกียร 4)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

(1) เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)

(2) หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)

(3) เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)

1 แหวนล็อค

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดแหวนล็อคเพลากามปูตัวที่ 1
ãªé䢤ǧ»Ò¡áº¹¢¹Ò´à·èҡѹ 2Íѹ áÅÐ
¤é͹µÍ¡áËǹÅçͤà¾ÅÒ¡éÒÁ»ÙµÑÇ·Õè 1ÍÍ¡
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)

1 กามปูตัวที่ 1 (เกียร 1 และเกียร 2)


2 แหวนล็อคเพลากามปู
3 เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
4 ผา

(4) กามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)

(5) เพลากามปูตัวที่ 3และกามปูเกียรถอย


(เกียร 5 และเกียรถอยหลัง)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
(6) กามปูตัวที่ 2 (เกียร 3 และเกียร 4)

ถอดเพลาสงกําลังและเพลารับกําลัง
¡Òöʹà¾ÅÒÃѺ¡ÓÅѧáÅÐÊ觡ÓÅѧÍÍ¡¨Ò¡
à¡ÕÂÃì ãËé·Ó¡Òá·Ñé§ 2à¾ÅÒ¢Öé¹ÍÍ¡¨Ò¡
àºéÒÅÙ¡»×¹¾ÃéÍÁæ¡Ñ¹ ã¹¢³Ð·Õèà¿×ͧà¡ÕÂÃì
·Ñé§ 2 à¾ÅÒÂѧ¢º¡Ñ¹ÍÂÙè
ขอแนะนํา:
เพลารับและสงกําลังไมสามารถยกออก
ไดเฉพาะเพลาใดเพลาหนึ่ง เนื่องจาก
เฟองเกียรขบกันตลอดเวลา

1 เพลาสงกําลัง
2 เพลาสงกําลัง
(1/1)

ถอดเฟองทาย
à¾×èÍ»éͧ¡Ñ¹ÅÙ¡»×¹äÁèãËéà¡Ô´¤ÇÒÁàÊÕÂËÒÂ
ãËé¡à¿×ͧ·éÒ¢Ö鹵çæ áÅжʹÍÍ¡¨Ò¡
àÊ×éÍà¡ÕÂÃì
1 เฟองทาย

(1/1)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ถอดลูกปนและซีลน้ํามัน
ÇÔ¸Õ¡Òöʹ«ÕŹéÓÁѹáÅÐÅÙ¡»×¹¨Ðᵡ
µèÒ§¡Ñ¹¢Öé¹ÍÂÙè¡ÑºÃÙ»ÃèÒ§áÅеÓá˹觢ͧ
Áѹ ¡ÒöʹÅÙ¡»×¹â´ÂäÁèÁÕÀÒÃзÕèÅÙ¡»×¹
ÊѧࡵµÓá˹è§áÅзÔÈ·Ò§¡ÒõԴµÑ駢ͧ
ÅÙ¡»×¹áÅЫÕŹéÓÁѹ¡è͹·Õè¨Ð·Ó¡Òöʹ

(1/3)

1. ถอดลูกปน, ปลอกรองและแผนชิม
(1) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเพลารับ
กําลัง (ดานหนา)
(2) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเฟอง
ทายดานหนา, ปลอกรองและแผนชิม
(3) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเฟอง
ทายดานหลัง, ปลอกรองและแผนชิม
(4) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเพลาสง
กําลังดานหนา
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

(1) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเพลารับ
กําลัง (ดานหนา)

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือสําหรับดูดลูกปน)
2 ลูกปนเพลารับกําลังดานหนา

(2) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเฟอง
ทายดานหนา, ปลอกรองและแผนชิม
1 เครื่องมือพิเศษ

(เครื่องมือสําหรับดูดลูกปน)
2 เครื่องมือพิเศษ (ดูดพูลเลย)

3 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดตลับลูกปน

4 ลูกปนเฟองทายดานหนา

5 ปลอกรองลูกปนและแผนชิม

6 แผนชิม

7 ปลอกรองลูกปน

(3) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเฟอง
ทายดานหลัง, ปลอกรองและแผนชิม

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือสําหรับดูดลูกปน)
2 เครื่องมือพิเศษ (ดูดพูลเลย)
3 ลูกปนเฟองทายดานหลัง
4 ปลอกรองลูกปนและแผนชิม
5 แผนชิม
6 ปลอกรองลูกปน

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

(4) ใชเครื่องมือพิเศษถอดลูกปนเพลาสง
กําลังดานหนา

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือเปลี่ยนซีลน้าํ มัน)
2 ลูกปนเพลาสงกําลังดานหนา

(2/3)

2. ถอดซีลน้ํามัน
(1) ใชเครื่องมือพิเศษถอดซีลน้าํ มันเสื้อ
เกียร
(2) ใชเครื่องมือพิเศษและคอนตอกซีล
น้าํ มันออก
(3) ใชเครื่องมือพิเศษและคอนตอกซีล
น้าํ มันออก
ขอแนะนําการบริการ:
• ชิ้นสวนที่มกี ารอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
• ซีลน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
28-31)

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

(1) ใชเครื่องมือพิเศษถอดซีลน้าํ มัน


เสื้อเกียร

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือสําหรับดูดลูกปน)
2 ซีลน้าํ มันหนาเกียร

(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษและคอนตอกซีล
น้าํ มันออก

1 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
2 ซีลน้าํ มันเสื้อเกียร

(3)ใชเครือ่ งมือพิเศษและคอนตอกซีล
น้าํ มันออก

1 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
2 ซีลน้าํ มันเสื้อเกียร

(3/3)

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

การตรวจสอบ สวนประกอบ
1.µÃǨÊͺà¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧ
2.µÃǨÊͺ´ØÁà¡ÕÂÃìáÅлÅÍ¡àÅ×è͹
3.µÃǨÊͺ»ÅÍ¡àÅ×è͹áÅСéÒÁ»Ù
4.µÃǨÊͺà¿×ͧà¡ÕÂÃìáÅÐà¾ÅÒà¡ÕÂÃì

(1/1)

ตรวจสอบเฟองทองเหลือง
àÁ×èÍàÅ×è͹¤Ñ¹à¡ÕÂÃì áËǹ·Í§àËÅ×ͧ¨Ðä»
´Ñ¹¡ÃÇÂà¿×ͧà¡ÕÂÃì ·ÓãËé¤ÇÒÁàÃçÇ¡ÒÃ
ËÁع¢Í§à¿×ͧà¡ÕÂÃìà¾ÔèÁËÃ×ÍÅ´ÇÔ¸Õ¡ÒùÕé
à»ç¹¡Òâ¨Ñ´¤ÇÒÁᵡµèÒ§¢Í§¡ÒÃËÁع
¢Í§à¿×ͧà¡ÕÂÃì à»ç¹¼Å·ÓãËé¤ÇÒÁ½×´
ÃÐËÇèÒ§¡ÃÇÂà¿×ͧà¡ÕÂÃìáÅÐà¿×ͧ
·Í§àËÅ×ͧ¤èÍÂæÊÖ¡ËÃÍÀÒÂã¹Ãèͧ¿Ñ¹
à¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧ ¡ÒÃÊÖ¡ËÃÍà¾ÔèÁ¢Öé¹
ªèͧÇèÒ§ÃÐËÇèÒ§à¿×ͧŴŧ·ÓãËéà¿×ͧ·Í§
àËÅ×ͧÅ×è¹äÁèÊÒÁÒöàºÃ¡à¿×ͧà¡ÕÂÃìä´é
áÅзÓãËéà¡ÕÂÃìà¢éÒÂÒ¡

1 เฟองเกียร
2 เพลา
3 สปริงตัวหนอน
4 เฟองทองเหลือง
5 กามปู
6 ปลอกเลื่อน
7 ดุมเกียร
8 ตัวหนอน
9 เพลากามปู

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

• àÁ×èÍà¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧÁÕÊÀÒ¾»¡µÔ

• àÁ×èÍà¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧÊÖ¡ËÃÍ

(1/3)

1. ตรวจสอบเฟองทองเหลือง
ดวยสายตา
µÃǨàªç¤Ë¹éÒÊÑÁ¼ÑÊáÅÐÃèͧ¢Í§à¿×ͧ·Í§
àËÅ×ͧäÁèÁÕ¡ÒÃÊÖ¡ËÃÍ ÃÇÁ·Ñé§àªç¤ãËéá¹èã¨
ÇèÒäÁèÁÕÃÍ¢մ·Õè˹éÒÊÑÁ¼ÑÊ´éÒ¹ã¹à¿×ͧ·Í§
àËÅ×ͧ

(2/3)

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

2. วัดระยะหางระหวางเฟองเกียรและ
เฟองทองเหลือง
ãªéÁ×Í¡´à¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧà¢éҡѺ¡ÃÇÂ
à¿×ͧà¡ÕÂÃì ãªé¿ÔÅàÅÍÃìࡨÇÑ´ÃÐÂЪèͧÇèÒ§
ä»Ãͺæ à¿×ͧà¡ÕÂÃì
ขอแนะนํา:
ถาหนาสัมผัสดานในเฟองทองเหลือง
สึกหรอ เฟองทองเหลืองจะสัมผัสกับ
กรวยเฟองเกียรใกลมากขึ้น
3. ตรวจสอบการทํางานของเฟอง
ทองเหลือง
ãªéÁ×Í¡´à¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧà¢éҡѺ¡ÃÇÂà¿×ͧ
à¡ÕÂÃì áÅéÇÍÍ¡áçËÁعà¿×ͧ·Í§àËÅ×ͧ
¨ÐµéͧäÁèÁÕ¡ÒÃÊÑè¹ (½×´)

1 เฟองทองเหลือง
2 เฟองเกียร
3 ฟลเลอรเกจ
(3/3)

ตรวจสอบดุมเกียรและปลอกเลื่อน
1. ตรวจสอบดวยสายตา
µÃǨàªç¤´ÙÇèÒäÁèÁÕÃÍ¢մËÃ×Í¡ÒÃàÊÕÂÃÙ»
¢Í§´ØÁà¡ÕÂÃìáÅÐÃèͧ¿Ñ¹à¿×ͧ
2. ตรวจสอบประสิทธิภาพการเลื่อน
ของปลอกเลื่อนและดุมคลัตช
»ÃСͺ´ØÁà¡ÕÂÃìáÅлÅÍ¡àÅ×è͹à¢éÒ´éÇÂ
¡Ñ¹ áÅÐàªç¤´ÙÇèÒÁѹÊÒÁÒöàÅ×è͹ä´é§èÒÂ
áÅФÅèͧ
ขอแนะนํา:
ถาดุมเกียรและปลอกเลื่อนมีรอยขีด
คันเลื่อนเกียรจะรูสึกติดขัด

1 ปลอกเลื่อน (เกียรถอย)
2 ดุมเกียร
(1/1)

- 29 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ตรวจสอบปลอกเลื่อนและกามปู
1. ตรวจสอบดวยสายตา
µÃǨÊͺÃÍÂËÃ×Í¡ÒÃàÊÕÂÃÙ»·Õè¡éÒÁ»ÙáÅÐ
»ÅÍ¡àÅ×è͹·ÕèÁѹÊÑÁ¼Ñʡѹ
2. วัดระยะหางระหวางปลอกเลื่อนกับ
กามปู
¤Ó¹Ç³ªèͧÇèÒ§ÃÐËÇèÒ§»ÅÍ¡àÅ×è͹áÅÐ
¡éÒÁ»Ù ãªéàÇÍÃìà¹ÕÂÇÑ´¤ÇÒÁ¡ÇéÒ§¢Í§»ÅÍ¡
àÅ×è͹ (A) áÅФÇÒÁ˹Ңͧ¡éÒÁ»Ù (B)
ระยะชองวาง (C) = (A) - (B)
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
ขอแนะนํา:
เมือ่ ชองวางมีคาเกินมาตรฐาน
เฟองเกียรจะจับไมราบรื่น เพราะวา
ระยะเลื่อนไมพอเหมาะ

1 ปลอกเลื่อน
2 กามปู
3 เวอรเนียรคาลิปเปอร
(1/1)

- 30 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

ตรวจสอบเฟองเกียรและเพลาเกียร
à¿×ͧà¡ÕÂÃì¨ÐµÔ´µÑé§ÍÂÙ躹à¾ÅÒà¡ÕÂÃìâ´Â
¼èÒ¹áºÃÔè§ àÁ×èÍàÊé¹¼èÒÈÙ¹Âì¡ÅÒ§´éҹ㹢ͧ
à¿×ͧà¡ÕÂÃìáÅÐàÊé¹¼èÒÈÙ¹Âì¡ÅÒ§´éÒ¹¹Í¡
¢Í§à¾ÅÒÊÖ¡ËÃÍ ÁÕÃÑÈÁÕà¾ÔèÁ¢Öé¹ ´éÇÂà˵عÕé
Áѹ¨Ð·ÓãËéà¡ÕÂÃ좺¡Ñ¹ä´éÂÒ¡ áÅШзÓãËé
à¡Ô´àÊÕ§´Ñ§
1. ตรวจสอบเฟองเกียร 5
และเฟองสะพานเกียรถอย
ดวยสายตา
(1)ตรวจดูวามีรอยหรือการเสียรูปที่หนา
1 คาลิปเปอรเกจ สัมผัสของเฟองเกียรและเพลา
2 เฟองขับเกียร 5
3 เฟองสะพานเกียรถอย (2)ตรวจดูวามีการเปลี่ยนแปลงของสี
เฟองกรวยเฟองเกียรและเฟองทอง
เหลืองที่มันสัมผัสกัน
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
2. วัดเสนผาศูนยกลางดานในของ
เฟองเกียร 5 และเฟองสะพาน
เกียรถอย
ãªé¤ÒÅÔ»à»ÍÃìࡨÇÑ´àÊé¹¼èÒÈÙ¹Âì¡ÅÒ§ÀÒÂ
ã¹à¿×ͧà¡ÕÂÃìËÅÒÂæ µÓá˹è§
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)
(1/2)

- 31 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

3. ตรวจเช็คเพลาเฟองสะพานเกียร
ถอยดวยสายตา
µÃǨ´ÙÇèÒÁÕÃÍÂËÃ×Í¡ÒÃàÊÕÂÃÙ»·Õè¼ÔǢͧ
à¾ÅÒ
4. วัดเสนผาศูนยกลางดานนอกของ
เพลาเฟองสะพานเกียรถอย
ãªéäÁâ¤ÃÁÔàµÍÃìÇÑ´àÊé¹¼èÒÈÙ¹Âì¡ÅÒ§ÀÒÂ
¹Í¡ËÅÒÂæ µÓá˹è§
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
วัดและทําการคํานวณคาเสนผาศูนย
กลางภายนอกของผิวหนาสัมผัสของ
เพลา

1 เพลาเฟองสะพานเกียรถอย
2 ไมโครมิเตอร
(2/2)

- 32 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร

คําถาม-1
ใหทาํ เครือ่ งหมายถูกหรือผิดในคําถามตอไปนี้:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
เมือ่ ยึดเกียรเขากับโตะทํางาน ใหยึดดานหนาเกียร (หัวหมู)
1 ถูก ผิด
เขากับไมรอง
ดุมเกียรของเกียร C51 และตัวหนอนจะมีทิศทางการติดตั้ง
2 ถูก ผิด
แตกามปูและเพลากามปูไมมที ิศทางในการติดตั้ง
เมือ่ คลายนัตล็อคของเกียร C51 จะตองทําใหเกียรเขาซอนกัน
3 ถูก ผิด
เพราะจะทําใหการคลายนัตล็อคเพลาสงกําลังงายขึ้น
วิธีการถอดแบริ่งและซีลกันน้าํ มันแตกตางกันขึ้นอยูกับรูปราง
4 ถูก ผิด
และตําแหนงของมัน
5 ขันโบลทยึดฝาครอบทายเกียรใหเทากัน และขันในลักษณะทแยงมุม ถูก ผิด

คําถาม-2
เมื่อถอดหัวเลือกเกียรของเกียร C51 จงเลือกตําแหนงของเกียรในขณะที่ถอดชุดหัวเลือกเกียร
1. ตําแหนงเกียร 1
2. ตําแหนงเกียร 3
3. ตําแหนงเกียรถอยหลัง
4. ตําแหนงเกียรวาง

- 33 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
คําถาม-3
ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับหนาที่ของลูกปนและชุดบอลล็อคไดถูกตองที่สุด?
¡: ÅÙ¡»×¹¨Ð·Ó˹éÒ·Õè»éͧ¡Ñ¹äÁèãËéà¡ÕÂÃìËÅØ´ã¹¢³ÐÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹à¡ÕÂÃì
ข: ชุดบอลล็อคจะปองกันไมใหเกียรเขาซอน
1. ขอ ก ถูก
2. ขอ ข ถูก
3. ถูกทั้ง 2 ขอ
4. ผิดทั้ง 2 ขอ

คําถาม-4
ใหทาํ เครื่องหมายถูกหรือผิดในคําถามตอไปนี้:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
เมือ่ ผิวดานในของเฟองทองเหลืองสึก
1 ถูก ผิด
ระยะหางระหวางเฟองทองเหลืองกับเฟองจะเล็กลง
สําหรับวิธีการวัดระยะหางระหวางเฟองกับเฟองทองเหลือง
2 ถูก ผิด
ใหวัดในหลายๆ ตําแหนงโดยใชมือกดและใชฟลเลอรเกจ
ถาพบรอยลากในการเลื่อนของดุมเฟองเกียรและปลอกเลื่อนนั้น
3 ถูก ผิด
จะพบรอยลากในคันดามคันเกียรดวย
ถาระยะหางระหวางปลอกเลื่อนและกามปูมากเกินคากําหนด
4 ถูก ผิด
ปลอกเลื่อนจะมีระยะชักนอยเมื่อเขาเกียร เปนเหตุใหเกียรเขายาก

5 เมือ่ เสนผาศูนยกลางภายในของเฟองและเสนผาศูนยกลางภายนอกของ ถูก ผิด


เพลาสึก ระยะรุนจะมากขึ้น

- 34 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การถอดแยกชิน้ สวนเกียร
คําถาม-5
จากรูปแสดงถึงการตรวจสอบอะไร?
1. การสึกหรอที่ไมเทากันของกรวยเฟองเกียร
2. ตัวหนอน
3. ผลของเฟองทองเหลืองแตก
4. ระยะหางระหวางเฟองและเฟองทองเหลือง

- 35 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
บทเรียนนี้กลาวถึงขั้นตอนหลักในการถอด,
ตรวจสอบ และประกอบกลับของชุดเพลา
สงกําลัง
1. การถอดแยกเพลาสงกําลัง
วัดระยะหางระหวางเฟองเกียรแลวใช
เครื่องมือพิเศษและเครื่องอัดไฮดรอลิค
กดลูกปน, เฟองเกียร และดุมเกียรออก
2. การตรวจสอบเพลาสงกําลัง
ใชเครื่องมือวัดตรวจวัดการสึกหรอของชิ้น
สวนแตละอันเปลี่ยนชิ้นสวนที่สึกหรอเกิน
คากําหนด
3. การประกอบเพลาสงกําลัง
ใชเครื่องมือพิเศษและเครื่องอัดไฮดรอลิค
กดลูกปน, เฟองเกียรและชุดดุมเกียร
เขากับเพลาใหพอดีแลววัดระยะหาง
ระหวางเฟองเกียรใหไดคากําหนด

* ขั้นตอนการถอดประกอบเพลารับกําลัง
เหมือนกันกับขั้นตอนการถอดประกอบ
เพลาสงกําลังดวยเหตุนี้ รายละเอียดของ
การถอดประกอบเพลารับกําลังจึงไม
แสดงในขั้นตอนนี้

(1/1)

การถอดแยกชิ้นสวน สวนประกอบ
1.ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
(1)ระยะรุนเฟองเกียร 1
(2)ระยะรุนแนวรัศมีเฟองเกียร 1
(3)ระยะรุนเฟองเกียร 2
(4)ระยะรุนแนวรัศมีเฟองเกียร 2

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

2.ถอดดุมเกียรและเฟองเกียร
(1)ลูกปนเพลาสงกําลัง
(2)เฟองตามเกียร 4
(3)ปลอกรองเพลาเกียร
(4)เฟองตามเกียร 3
(5)เฟองเกียร 2
(6) ลูกปนเข็ม
(7)สเปเซอร
(8)แหวนล็อค
(9)เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 2)
(10)ชุดดุมเกียรตัวที่ 1
(11)เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 1)
(12)เฟองเกียร 1
(13)ลูกปนเข็ม
(14)เพลาสงกําลัง
(1/1)

3.ถอดชิ้นสวนตางๆ
(1)แหวนกันรุน
(2)ลูกปน

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

4.ถอดแยกดุมเกียร
(1)ปลอกเลือ่ น
(2)สปริงตัวหนอน
(3)ตัวหนอน
(4)ดุมเฟองเกียร

(1/1)

ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
กอนจะแยกชิ้นสวนเพลาสงกําลัง ใหใช
ฟลเลอรเกจหรือไดอัลเกจในการวัดคา
ระยะหางเฟองเกียร

1 เฟองเกียร 1
2 เฟองเกียร 2

1. ระยะหางเฟองเกียร 1

1 เฟองเกียร 1

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

1. ระยะหางเฟองเกียร 1
(1)ใชฟลเลอรเกจวัดระยะรุน
(2)ใชไดอัลเกจวัดระยะรุนแนวรัศมี
ระหวางเฟองกับเพลา
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
ขอแนะนํา:
ถาระยะหางเฟองเกียรนอยไป
เฟองเกียรจะไมไดรบั การหลอลื่นที่
เพียงพอ เชนเดียวกัน
ถาระยะหางเฟองเกียรมากเกินไปจะทํา
ใหเฟองเกียรขบกันไมราบรื่นและยังจะ
ทําใหเกิดเสียงดังอีกดวย

1 เฟองเกียร 1
2 ฟลเลอรเกจ
3 แผนอลูมิเนียม
4 ปากกาจับชิ้นงาน
5 ไดอัลเกจ

2. ระยะหางเฟองเกียร 2

1 เฟองเกียร 2

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

2. ระยะหางเฟองเกียร 2
(1)ใชไดอัลเกจวัดระยะรุน
(2)ใชไดอัลเกจวัดระยะรุนแนวรัศมี
ระหวางเฟองกับเพลา
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
ขอแนะนํา:
ถาระยะหางเฟองเกียรนอยไป
เฟองเกียรจะไมไดรบั การหลอลื่นที่
เพียงพอ เชนเดียวกัน
ถาระยะหางเฟองเกียรมากเกินไปจะทํา
ใหเฟองเกียรขบกันไมราบรื่นและยังจะ
ทําใหเกิดเสียงดังอีกดวย

2 แผนอลูมิเนียม
3 ปากกาจับชิ้นงาน
4 ไดอัลเกจ
5 กานวัด
(1/1)

ถอดดุมเฟองเกียรและเฟองเกียรออก
จากเพลาสงกําลัง
เฟองตามและดุมเฟองเกียรทั้งคูจะถูกอัด
กับเพลาสงกําลังและล็อคดวยแหวนล็อค
สเปเซอร, ลูกปนเข็ม, เฟองทองเหลือง
และเฟองอื่นๆ ถูกอัดแนนอยูระหวางชิ้น
สวนเหลานี้ ใหใชเครื่องมือพิเศษและ
เครื่องอัดไฮดรอลิคในการถอดชิ้นสวน
ตอไปนี้
1. เฟองตามเกียร 4
2. เฟองเกียร 2 และเฟองตามเกียร 3
3. แหวนล็อค
4. เฟองเกียร 1

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

1. เฟองตามเกียร 4
(1)ลูกปนเพลาสงกําลัง
(2)เฟองตามเกียร 4
(3)ปลอกรองเพลาเกียร

2. เฟองเกียร 2 และเฟองตามเกียร 3
(1)เฟองตามเกียร 3
(2)เฟองเกียร 2
(3)ลูกปนเข็ม (ตัวที่ 2)
(4)เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 2)
(5)สเปเซอร

3. แหวนล็อค
(1)แหวนล็อค

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

4. เฟองเกียร 1
(1)ชุดดุมเฟองเกียร
(เกียร 1 และเกียรถอยหลัง)
(2)เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 1)
(3)ลูกปนเข็ม (ตัวที่ 1)
(4)เฟองเกียร 1

(1/2)

1. ถอดเฟองตามเกียร 4
สอดเครื่องมือพิเศษไวใตเฟองและใชเครื่อง
อัดไฮดรอลิคอัดเพลาสงกําลังเพื่อใหลูกปน
เพลาสงกําลังและเฟองตามเกียร 4
หลุดออกมา
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)
คําเตือน:
การถอดเฟองออกจากเพลาสงกําลัง
จะทําใหเพลาสงกําลังหลุดออก
ดังนั้นควรใชมือรองเพลาสงกําลังดวย
เพื่อปองกันไมใหตกลงพื้นเมือ่ จะถอด
เฟองออก

1 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดตลับลูกปน
2 เครื่องอัดไฮดรอลิค
3 แทนเหล็กรองรับ
4 ลูกปนเพลาสงกําลัง
5 เฟองตามเกียร 4

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

2. ถอดเฟองเกียร 2
และเฟองตามเกียร 3
สอดเครื่องมือพิเศษไวใตเฟองและใชเครื่อง
อัดไฮดรอลิคอัดเพลาสงกําลังเพื่อใหเฟอง
เกียร 2 และเฟองตามเกียร 3 หลุดออกมา
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)
คําเตือน:
การถอดเฟองออกจากเพลาสงกําลัง
จะทําใหเพลาสงกําลังหลุดออก
ดังนั้นควรใชมือรองเพลาสงกําลังดวย
เพื่อปองกันไมใหตกลงพื้นเมือ่ จะถอด
เฟองออก

1 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดตลับลูกปน
2 เครื่องอัดไฮดรอลิค
3 แทนเหล็กรองรับ
4 เฟองตามเกียร 3
5 เฟองเกียร 2

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

3. ถอดแหวนล็อค
ใชไขควงแบน 2 อัน แทงไปในแหวนล็อค
พรอมกับใชคอนตี เพื่อถางแหวนล็อคออก
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)
คําเตือน:
การถอดเฟองออกจากเพลาสงกําลัง
จะทําใหเพลาสงกําลังหลุดออก
ดังนั้นควรใชมือรองเพลาสงกําลังดวย
เพื่อปองกันไมใหตกลงพื้นเมือ่ จะถอด
เฟองออก

1 เฟองเกียร 1
2 แหวนล็อค
3 ชุดดุมเฟองเกียร

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

4. ถอดเฟองเกียร 1
สอดเครื่องมือพิเศษไวใตเฟองและใชเครื่อง
อัดไฮดรอลิคอัดเพลาสงกําลังเพื่อใหชุด
ดุมเกียรและเฟองเกียร 1 หลุดออกมา
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)
ขอควรระวัง:
การถอดเฟองออกจากเพลาสงกําลัง
จะทําใหเพลาสงกําลังหลุดออก
ดังนั้นควรใชมือรองเพลาสงกําลังดวย
เพื่อปองกันไมใหตกลงพื้นเมือ่ จะถอด
เฟองออก

1 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดตลับ
ลูกปน
2 เครื่องอัดไฮดรอลิค
3 แทนเหล็กรองรับ
4 เฟองตามเกียร 3
5 เฟองเกียร 2
(2/2)

ถอดแยกดุมเฟองเกียร
1. ตรวจสอบตําแหนงของปลอกเลื่อน
และดุมเฟองเกียร
ปลอกเลือ่ นและดุมเฟองเกียรมีตาํ แหนงที่
เฉพาะของมันเอง ควรทําเครื่องหมายหรือ
จดตําแหนงของชิ้นสวนเหลานี้ไวกอนทํา
การถอดออก

1 ชุดดุมเฟองเกียร
2 ดุมเฟองเกียร
3 ปลอกเลื่อน
4 ตัวหนอน
5 สปริงตัวหนอน

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

2. ถอดปลอกเลื่อน
ใชผาคลุมชุดดุมเฟองเกียรเอาไว
เพื่อปองกันไมใหตัวหนอนและสปริง
ตัวหนอนกระเด็นออกมา
ขอแนะนํา:
• ชุดเกียรธรรมดารหัส C นั้น
เฟองเกียรถอยหลังและปลอกเลื่อน
รวมอยูในชุดเดียวกัน
• เวลาถอดชุดเฟองเกียร
อยาแยกปลอกเลือ่ นและดุมเฟองเกียร
ออกจากกัน

1 ดุมเฟองเกียร
2 ปลอกเลื่อน
3 ตัวหนอน
4 สปริงตัวหนอน
5 ผา
(1/1)

การตรวจสอบ สวนประกอบ
1.ตรวจสอบเพลาสงกําลัง
2.ตรวจสอบเฟองเกียร
3.ตรวจสอบเฟองทองเหลือง
4.ตรวจสอบดุมเฟองเกียรและปลอกเลื่อน
5.ตรวจสอบปลอกเลื่อนและกามปู

(1/1)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

ตรวจสอบเพลาสงกําลัง
เฟองเกียรทั้งหลายซึ่งรองรับอยูโดยแกน
เพลาสงกําลัง เมื่อมีการคดงอของเพลา
เพิ่มมากขึ้น เสนผาศูนยกลางภายนอกของ
เพลาทีม่ ีฝาประกับก็จะลดลงตามการสึก
หรอ ดวยเหตุนี้ มันจะทําใหเกียรขบกัน
ไดยาก และจะทําใหเกิดเสียงดัง
ในกรณีที่สึกหรอมากๆ เกียรจะเสียหายได

1. ตรวจสอบแตละขอเพลาดวยสายตา
ตรวจสอบรอยขูดขีดหรือความเสียหายและ
1 เพลาสงกําลัง ตรวจสอบวาไมมกี ารเปลี่ยนสี (สีดาง)
2 ไดอัลเกจ
3
ขอแนะนําการบริการ:
แทนรูปตัววี
การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
2. วัดความคดงอ (รันเอาท)
วางเพลาลงบนบล็อคตัววี จากนั้นใช
ไดอัลเกจวัดคาการคดงอของเพลาในขณะที่
เพลากําลังหมุน
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความคดงอของเพลา
(รันเอาท)
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
75)
(1/2)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

3. วัดเสนผาศูนยกลางภายนอก
ใชไมโครมิเตอรวัดคาเสนผาศูนยกลางภาย
นอกของแตละแกนเพลา โดยวัดที่หลายๆ
ตําแหนง
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

1 เพลาสงกําลัง
2 ไมโครมิเตอร
(2/2)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

ตรวจสอบเฟองเกียร
เฟองเกียรนั้นรองรับอยูดวยเพลาสงกําลัง
โดยผานลูกปน เมื่อเสนผาศูนยกลางภาย
ในและเสนผาศูนยกลางภายนอกของเพลา
นั้นสึกหรอ จะทําใหระยะรุนแนวรัศมีเพิ่ม
ขึ้นดวยเหตุนี้ มันจะทําใหเกียรขบกัน
ไดยาก และจะทําใหเกิดเสียงดัง
1. ตรวจสอบเฟองเกียร 1 และเกียร 2
ดวยสายตา
(1)ตรวจดูวามีรอยหรือการเสียรูปที่ผิวของ
เพลา
(2)ตรวจดูวามีการเปลี่ยนแปลงของสีกรวย
เฟองเกียรและเฟองทองเหลืองที่มนั
สัมผัสกัน
2. วัดเสนผาศูนยกลางดานในของ
เฟองเกียร 1 และเฟองเกียร 2
ใชไซลินเดอรเกจวัดเสนผาศูนยกลางภาย
ในเฟองเกียรหลายๆ ตําแหนง
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

1 ไซลินเดอรเกจ
2 เฟองเกียร 2
3 เฟองเกียร 1
(1/1)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

ตรวจสอบเฟองทองเหลือง
เมื่อเลือ่ นคันเกียร
แหวนทองเหลืองจะไปดันกรวยเฟองเกียร
ทําใหความเร็วการหมุนของเฟองเกียรเพิ่ม
หรือลด ซึ่งจะทําใหเฟองที่หมุนอยูถูกขัด
จังหวะการหมุน เปนผลทําใหความฝด
ระหวางกรวยเฟองเกียรและเฟองทอง
เหลืองคอยๆสึกหรอภายในรองฟนเฟอง
ทองเหลือง เมื่อการสึกหรอเพิ่มขึ้นทําให
ชองวางระหวางเฟองลดลงทําใหเฟองทอง
เหลืองลื่นไมสามารถเบรกเฟองเกียรได
และทําใหเกียรเขายาก

1 เฟองเกียร
2 เพลา
3 สปริงตัวหนอน
4 เฟองทองเหลือง
5 กามปู
6 ปลอกเลื่อน
7 ดุมเฟองเกียร
8 ตัวหนอน
9 เพลาเลือ่ นกามปู

• เมื่อเฟองทองเหลืองมีสภาพปกติ

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

• เมื่อเฟองทองเหลืองสึกหรอ

(1/3)

1. ตรวจสอบเฟองทองเหลืองดวย
สายตา
ตรวจเช็คหนาสัมผัสและรองของเฟองทอง
เหลืองไมมีการสึกหรอ รวมทั้งเช็คใหแนใจ
วาไมมีรอยขีดที่หนาสัมผัสดานในเฟองทอง
เหลือง
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
(2/3)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

2. ตรวจสอบเฟองทองเหลือง
ใชมือกดเฟองทองเหลืองเขากับกรวยเฟอง
เกียร ใชฟลเลอรเกจวัดระยะชองวางไป
รอบๆ เฟองเกียร
ขอแนะนํา:
ถาหนาสัมผัสดานในเฟองทองเหลือง
สึกหรอ เฟองทองเหลืองจะสัมผัสกับ
กรวยเฟองเกียรใกลมากขึ้น
3. ตรวจสอบการทํางานของเฟอง
ทองเหลือง
ใชมือกดเฟองทองเหลืองเขากับกรวยเฟอง
เกียร แลวออกแรงหมุนเฟองทองเหลือง
จะตองไมมีการลื่น (ฝด)

1 เฟองทองเหลือง
2 เฟองเกียร
3 ฟลเลอรเกจ
(3/3)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

ตรวจสอบดุมเฟองเกียรและปลอกเลื่อน
1. ตรวจสอบดวยสายตา
ตรวจเช็คดูวาไมมีรอยขีดหรือการเสียรูป
ของดุมเฟองเกียรและสไปลนปลอกเลือ่ น
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
2. ตรวจสอบประสิทธิภาพการเลื่อน
ของปลอกเลื่อนและดุมเฟองเกียร
ประกอบดุมเฟองเกียรและปลอกเลื่อนเขา
ดวยกัน และเช็คดูวามันสามารถเลื่อนได
งายและคลอง
ขอแนะนํา:
ถาดุมเฟองเกียรและปลอกเลือ่ นขัดกัน
เมือ่ เขาเกียรจะรูสึกคลายกับการลาก
เกียร

1 ปลอกเลื่อน
2 ดุมเฟองเกียร
(1/1)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

ตรวจสอบปลอกเลื่อนและกามปู
1. ตรวจสอบดวยสายตา
ตรวจสอบรอยหรือการเสียรูปที่กามปูและ
ปลอกเลือ่ นที่มันสัมผัสกัน
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
2. วัดคาระยะหางระหวางปลอกเลื่อน
กับกามปู
คํานวณชองวางระหวางปลอกเลื่อนและ
กามปู ใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดความ
กวางของปลอกเลื่อน (A)
และความหนาของกามปู (B)ทีหลายๆ
ตําแหนง
ระยะชองวาง (C) = (A) - (B)
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
ขอแนะนํา:
• ชุดเกียรธรรมดารหัส C นั้น
เฟองเกียรถอยหลังและปลอกเลื่อนจะ
รวมอยูในชุดเดียวกัน
• เมื่อคาระยะหางมีคาเกินมาตรฐาน
เฟองเกียรจะจับไมราบรื่น เพราะวา
ระยะเลื่อนไมพอเหมาะ

1 ปลอกเลื่อน
2 กามปู
3 เวอรเนียรคาลิปเปอร
(1/1)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

การประกอบกลับ สวนประกอบ
1.ประกอบชิ้นสวนดุมเฟองเกียร
(1)ปลอกเลือ่ น
(2)สปริงตัวหนอน
(3)ตัวหนอน
(4)ดุมเฟองเกียร

2.ประกอบชิ้นสวนตางๆ
(1)แหวนกันรุน (เกียร 1)
(2)ฺลูกปน

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

3.ประกอบดุมเฟองเกียรและเฟองเกียร
เขากับเพลาสงกําลัง
(1)ลูกปนเพลาสงกําลัง
(2)เฟองตามเกียร 4
(3)ปลอกรองเพลาเกียร
(4)เฟองตามเกียร 3
(5)เฟองเกียร 2
(6)ลูกปนเข็ม (ตัวที่ 2)
(7)สเปเซอร
(8)แหวนล็อค
(9)เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 2)
(10)ชุดดุมเฟองเกียร
(11)เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 1)
(12)เฟองเกียร 1
(13)ลูกปนเข็ม (ตัวที่ 1)
(14)เพลาสงกําลัง

4.ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
(1)ระยะรุนเฟองเกียร 1
(2)ระยะรุนแนวรัศมีเฟองเกียร 1
(3)ระยะรุนเฟองเกียร 2
(4)ระยะรุนแนวรัศมีเฟองเกียร 2

(1/1)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

ประกอบชิ้นสวนดุมเฟองเกียรกลับ
การประกอบดุมเฟองเกียรและปลอกเลือ่ น
กลับตองระวังเรื่องตําแหนงของมัน
หลังจากนั้นใหใสตัวหนอนและสปริง
ตัวหนอนเขาไป
ขอแนะนํา:
• ชุดเกียรธรรมดารหัส C นั้น
เฟองเกียรถอยหลังและปลอกเลื่อนจะ
รวมอยูในชุดเดียวกัน
• ทาบริเวณที่เคลือ ่ นที่ของปลอกเลื่อน
ดวยน้าํ มันเกียรกอนประกอบกลับ
1. ชนิดแหวนสปริง
2. ชนิดสปริงขด

1 ปลอกเลื่อน
2 สปริงตัวหนอน
3 ตัวหนอน
4 ดุมเฟองเกียร

1. ชนิดแหวนสปริง
ขอแนะนํา:
• เกี่ยวขายึดของสปริงตัวหนอนเขากับ
ตัวหนอน
• หามยืดหรือดัดสปริงตัวหนอนที่งาง
ออกมา

1 ปลอกเลื่อน
2 สปริงตัวหนอน
3 ตัวหนอน
4 ดุมเฟองเกียร

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

2. ชนิดสปริงขด
ขอแนะนํา:
งางสปริงตัวหนอนโดยใชไขควงแบน
แลวสอดตัวหนอนเขาไป

1 ปลอกเลื่อน
2 สปริงตัวหนอน
3 ตัวหนอน
4 ดุมเฟองเกียร

(1/1)

ประกอบดุมเฟองเกียรและเฟองเกียร
เขากับเพลาสงกําลัง
ติดตั้งเฟองเกียร
1.ระมัดระวังเรื่องตําแหนงและทิศทางใน
การติดตั้งของแตละชิ้นสวน
คําเตือน:
• หมุนเฟองเกียรใหตว ั หนอนตรงกับรอง
ในเฟองทองเหลือง
• ทาบริเวณที่เคลือ ่ นที่ของปลอกเลื่อน
ดวยน้าํ มันเกียรกอนประกอบกลับ
1 ลูกปนเข็ม (ตัวที่ 1) 6 เครื่องอัดไฮดรอลิค 2.เตรียมเครื่องมือพิเศษ และใช
2 เฟองเกียร 1 7 แหวนกันรุนและลูกปน เครื่องอัดไฮดรอลิคอัดดุมเฟอง
3 เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 1) 8 ตัวหนอน เกียร, เฟองเกียรและลูกปน
4 ดุมเฟองเกียรตัวที่ 1 ขอแนะนําการบริการ:
5 เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือเปลี่ยนแบริ่งเกียรทรานสเฟอรและเกียร)
ชิ้นสวนที่มกี ารอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
3.หลังจากอัดชิ้นสวนตางๆ แลว
ใหตรวจสอบวาแตละเฟองหมุนไดอยาง
ราบเรียบหรือไม
• เฟองเกียร 1 และดุมเฟองเกียรตว
ั ที่ 1
การประกอบแหวนล็อคกลับ
• ติดตั้งเฟองตามเกียร 3
• ติดตั้งเฟองตามเกียร 4
• ติดตั้งลูกปนเพลาสงกําลัง

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

การประกอบแหวนล็อคกลับ
(1)เลือกแหวนล็อคตัวที่หนาที่สุดที่
สามารถสอดเขาในรองแหวนล็อค (A)
ได
(คาระยะหางระหวางรองแหวนล็อคกับ
แหวนล็อคควรจะนอยกวาหรือเทากับ
0.1 มม.)
ขอแนะนํา:
เลือกขนาดของแหวนล็อคเพื่อปรับคา
ระยะรุนของเฟองเกียรตามตองการ
(2)ใชแทงทองเหลืองและคอนเพื่อติดตั้ง
แหวนล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)

1 เฟองเกียร 1 2 แหวนล็อค
3 ดุมเฟองเกียรตัวที่ 1

• ติดตั้งเฟองตามเกียร 3

1 เครื่องมือพิเศษ(เครื่องมือเปลี่ยน
แบริ่งเกียรทรานสเฟอรและเกียร)
2 เครื่องอัดไฮดรอลิค
3 สเปเซอร
4 ลูกปนเข็ม (ตัวที่ 2)
5 เฟองทองเหลือง (ตัวที่ 2)
6 เฟองเกียร 2
7 เฟองตามเกียร 3
8 ตัวหนอน

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

• ติดตั้งเฟองตามเกียร 4

1 เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือถอด/
เปลี่ยนแบริง่ )
2 เครื่องอัดไฮดรอลิค
3 เฟองตามเกียร 4
4 ปลอกรองเพลาเกียร

• ติดตั้งลูกปนเพลาสงกําลัง

1 เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือถอด/
เปลี่ยนแบริง่ )
2 เครื่องอัดไฮดรอลิค
3 ลูกปนเพลาสงกําลัง

(1/1)

ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
ในการวัดคาระยะหาง ใชฟลเลอรเกจและ
ไดอัลเกจ

1 เฟองเกียร 1
2 เฟองเกียร 2

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

1. ระยะหางเฟองเกียร 1

1 เฟองเกียร 1
2 ฟลเลอรเกจ
3 แผนอลูมิเนียม
4 ปากกาจับชิ้นงาน
5 ไดอัลเกจ

1. ระยะหางเฟองเกียร 1
(1)ใชฟลเลอรเกจวัดระยะรุน
(2)ใชไดอัลเกจวัดระยะรุนแนวรัศมี
ระหวางเฟองกับเพลา
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
ขอแนะนํา:
ถาระยะหางเฟองเกียรนอยไป
เฟองเกียรจะไมไดรบั การหลอลื่นที่
เพียงพอ เชนเดียวกัน
ถาระยะหางเฟองเกียรมากเกินไปจะทํา
ใหเกียรหลุดไดและยังจะทําใหเกิดเสียง
ดังอีกดวย

1 เฟองเกียร 1
2 ฟลเลอรเกจ
3 แผนอลูมิเนียม
4 ปากกาจับชิ้นงาน
5 ไดอัลเกจ

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

2. ระยะหางเฟองเกียร 2

1 เฟองเกียร 2

2. ระยะหางเฟองเกียร 2
(1)ใชไดอัลเกจวัดระยะรุน
(2)ใชไดอัลเกจวัดระยะรุนแนวรัศมี
ระหวางเฟองกับเพลา
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน

ขอแนะนํา:
ถาระยะหางเฟองเกียรนอยไป
เฟองเกียรจะไมไดรบั การหลอลื่นที่
เพียงพอ เชนเดียวกันถาระยะหาง
เฟองเกียรมากเกินไปจะทําใหเกียรหลุด
ไดและยังจะทําใหเกิดเสียงดังอีกดวย

2 แผนอลูมิเนียม
3 ปากกาจับชิ้นงาน
4 ไดอัลเกจ
5 กานวัด
(1/1)

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง

คําถาม-1
พิจารณาวาขอใดตอไปนี้ถูกหรือผิด:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
ถาเจอรนัลของเพลาสงกําลังมีการสึกหรอ จะเขาเกียรไดยาก
1 ถูก ผิด
และมีเสียงเกียรหอนเกิดขึ้น
สําหรับการวัดคาการคดงอของเพลาสงกําลัง (เรนเอาท)
2 ถูก ผิด
ใหนาํ เพลาวางบนบล็อครูปตัววี และวัดเจอรนัลดวยไมโครมิเตอร
สําหรับการแยกชิ้นสวนของเพลาสงกําลัง
3 ตองวัดคาระยะหางของแตละเฟองกอนที่จะถอดลูกปน, เฟอง, ถูก ผิด
ดุมเฟองเกียร ฯลฯ
เมือ่ จะถอดเฟองออกจากเพลาสงกําลังโดยใชเครื่องอัดไฮดรอลิคและ
4 เครื่องมือพิเศษนั้น ใหรองดานลางของเพลาสงกําลังไวดวยมือเพื่อวา ถูก ผิด
เพลาสงกําลังจะไดไมหลนลงพื้นเวลาที่ถอดเฟองออก

คําถาม-2
ขอใดเหมาะสมทีส่ ุดในเรื่องวิธีการตรวจสอบเฟองเกียร?
ก: เมื่อเสนผาศูนยกลางภายในสึกหรอ ระยะรุนในแนวรัศมีจะมากขึ้น ทําใหเกียรเขายากและมีเสียงดังจากการเขาเกียร
ข: เมื่อทําการวัดหนาสัมผัสภายในของเฟองจะตองทําการตรวจวัดหลายๆ ตําแหนง
1. ขอ ก ถูก
2. ขอ ข ถูก
3. ถูกทั้ง 2 ขอ
4. ผิดทั้ง 2 ขอ

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร เพลาสงกําลัง
คําถาม-3
ขอใดตอไปนี้อธิบายถึงการตรวจสอบในรูปที่แสดง?
1. การตรวจสอบแบ็คแลชเฟองเกียร
2. การตรวจสอบระยะรุน
3. การตรวจสอบการเลื่อนของเฟองเกียร
4. การตรวจสอบระยะรุนแนวรัศมี

- 29 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในรายละเอียดสวนนี้ทั้งหมดจะเปนขั้น
ตอนในการถอดชิ้นสวน, การตรวจสอบ
และประกอบเฟองทายกลับ
1. การถอดแยกชิ้นสวนชุดเฟองทาย
เมื่อถอดแยกเฟองทาย กอนอื่นจะตอง
ถอดชิ้นสวนรอบๆ เสื้อเฟองทายแลววัด
ระยะแบ็คแล็ชและถอดตัวเรือนเฟองทาย
ออก
2. การตรวจสอบเฟองทาย
ใชเครื่องมือวัดทําการวัดชิ้นสวนที่เกิดการ
สึกหรอของชุดเฟองทายเปลี่ยนชิ้นสวนที่
สึกหรอเกินคากําหนด
3. การประกอบเฟองทาย
ประกอบเสื้อเฟองทายและปรับระยะแบ็ค
แล็ชตามที่ตองการแลวประกอบชิ้นสวนที่
ติดอยูกับชุดเสื้อเฟองทาย

(1/1)

การถอดแยกชิ้นสวนและการตรวจสอบ สวนประกอบ
1. ถอดเฟองขับมาตรวัดความเร็ว
(1)เฟองขับมาตรวัดความเร็ว

- 1 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

2. ถอดเฟองบายศรี
(1)เฟองบายศรี

3. ตรวจสอบแบ็คแล็ชเฟองขาง
(1)ไดอัลเกจ
(2)เฟองขาง

4. ถอดเฟองดอกจอกและเฟองขาง
(1)สลัก
(2)เพลาเฟองดอกจอก
(3)เฟองขาง
(4)แหวนกันรุน
(5)เฟองดอกจอก
(6)เสื้อเฟองทาย

- 2 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

5. ตรวจสอบแหวนกันรุนเฟองดอกจอก
และเพลาเฟองดอกจอก
(1)ไมโครมิเตอร
(2)แหวนกันรุน
(3)เพลาเฟองดอกจอก

(1/1)

- 3 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ถอดเฟองบายศรี
1. ทําเครื่องหมาย
ทําการมารคเครื่องหมายแสดงตําแหนง
และทิศทางใหตรงกันระหวางเฟองบายศรี
และเรือนเฟองทายขณะทําการประกอบ
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)
1 เฟองบายศรี 2. ถอดโบลทยึดเฟองบายศรี
2 แผนอลูมิเนียม (1)หามทําการขยับเฟองบายศรี ใหทาํ
การยึดเฟองบายศรีไวระหวางแผน
อลูมเิ นียมของปากกาจับงาน
ขอแนะนํา:
ขณะทําการหนีบยึดเฟองบายศรีกับ
ปากกาจับงาน ระมัดระวังไมใหปากกา
จับงานหนีบยึดกับตัวโบลท
ขอควรระวัง:
ไมควรยึดชิ้นงานกับปากกาจับชิ้นงาน
แนนเกินไป
(2)เพื่อกระจายแรงกดของโบลทขณะทํา
การถอดโบลท ใหทาํ การถอดในทิศ
ตรงกันขามตามลําดับ โดยใชแรงขัน
โบลทออกทีละนอย
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
(1/2)

- 4 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ขอมูลอางอิง:
การใชแผนล็อค
ใชไขควงและคอนทําการคลายตัวแผนล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)
ขอแนะนํา:
จําไววาแผนล็อคไมสามารถนํามาใช
ใหมไดอีก ตองทําการเปลี่ยนแผนล็อค
ใหมเมื่อทําการประกอบเฟองบายศรี

1 แผนล็อคนัต

(1/1)

3. ถอดเฟองบายศรี
(1)คลายปากกาจับเรือนเฟองทาย
(2)ถอดเฟองบายศรีโดยการใชคอน
พลาสติกเคาะบริเวณรอบๆ เฟอง
บายศรีเบาๆ จากนั้นจึงถอดออกได
ขอควรระวัง:
• หามทําการตอกที่ตา ํ แหนงเดียวซ้าํ ๆ
โดยคอนพลาสติก
• เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายของเฟอง
บายศรีโดยกระแทกกับพื้น
ใหทาํ การรองเฟองดวยผาหรือวัสดุ
ออนนุม

1 คอนพลาสติก
2 เฟองบายศรี
3 ผา

(2/2)

- 5 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ตรวจสอบแบ็คแล็ชเฟองขาง
เพื่อใหเกียรหมุนอยางราบเรียบ จะตองมี
ชองวางระหวางฟนเฟองเกียร ซึ่งเรียกวา
"แบ็คแลช"
กอนทําการถอดเรือนเฟองทาย ใหทาํ การ
วัดระยะแบ็คแลชกอนดวยไดอัลเกจ
การวัดระยะแบ็คแลช
ยึดเรือนเฟองทายดวยปากกาจับชิ้นงาน
โดยใชแผนอลูมิเนียมรอง จากนั้น ทําการ
วัดระยะแบ็คแลช
ขอแนะนําการบริการ:
แบ็คแลช
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
76-79)
ขอควรระวัง:
ไมควรยึดชิ้นงานกับปากกาจับชิ้นงาน
แนนเกินไป
ขอแนะนํา:
อางอิงคาที่วัดไดนี้ แลวทําการปรับ
ระยะแบ็คแลช กอนทําการประกอบ
เรือนเฟองทาย

1 ไดอัลเกจ
2 เฟองขาง
3 แผนอลูมิเนียม

(1/1)

- 6 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ถอดเฟองดอกจอกและเฟองขาง
1. ถอดสลัก
(1)เริ่มแรกยึดเรือนเฟองทายใหมั่นคง
ดวยปากกาจับชิ้นงานโดยอยูระหวาง
แผนอลูมเิ นียม
ขอควรระวัง:
ไมควรยึดชิ้นงานกับปากกาจับชิ้นงาน
แนนเกินไป
(2)ใชสกัดและคอนทําการคลายที่ตัวสลัก
และดันออกดวยตัวตอกสลัก
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)
สลัก
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35)

3 แผนอลูมิเนียม
4 สกัด

ถอดเฟองดอกจอกและเฟองขาง

1 เหล็กสง
2 สลัก
3 แผนอลูมิเนียม

- 7 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ถอดเฟองดอกจอกและเฟองขาง
2. ถอดเพลาดอกจอก, เฟองขาง
ถอดเพลาดอกจอก, เฟองดอกจอก, เฟอง
ขางและแหวนกันรุนจากเรือนเฟองทาย

5 เฟองทาย
6 แหวนกันรุน
7 เฟองขาง
8 เฟองดอกจอก
9 เพลาเฟองดอกจอก

(1/1)

- 8 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ตรวจสอบแหวนกันรุนเฟองดอกจอก
และเพลาเฟองดอกจอก
1. ตรวจสอบดวยสายตา
ตรวจสอบรอยถลอกหรือความเสียหายชิ้น
สวนที่เสียดสีกับเฟองดอกจอก
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
2. วัดความหนาของแหวนกันรุน
ใชไมโครมิเตอรวัดความหนาของแหวน
กันรุน
3. วัดเสนผาศูนยกลางดานนอกของ
เพลาเฟองดอกจอก
ทําการวัดเสนผาศูนยกลางภายนอกของ
สวนที่เสียดสีกับเฟองดอกจอกโดยใช
ไมโครมิเตอร
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

1 ไมโครมิเตอร
2 แหวนกันรุน
3 เพลาเฟองดอกจอก

(1/1)

- 9 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

การประกอบกลับ สวนประกอบ
1. ปรับระยะแบ็คแลชเฟองขางเฟองทาย
(1)ไดอัลเกจ
(2)เฟองขาง
(3)แหวนกันรุน

2. ติดตั้งเฟองบายศรี
(1)เฟองบายศรี

3. ประกอบเฟองขับมาตรวัดความเร็ว
(1)เฟองขับมาตรวัดความเร็ว

(1/1)

- 10 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ปรับระยะแบ็คแลชเฟองขางเฟองทาย
1. การประกอบเรือนเฟองทายกลับ
(1)ติดตั้งเฟองขางและแหวนกันรุนบน
เรือนเฟองทาย
ขอแนะนํา:
เลือกแหวนกันรุนที่มีความหนาขนาด
เดียวกับคาที่วัดไวตอนที่ถอด
(2)ติดตั้งเฟองดอกจอกและแหวนกันรุน
บนเรือนเฟองทาย
(3)จัดรูของเรือนเฟองทายใหตรงกับรูของ
เฟองดอกจอก และทําการหมุนเฟอง
ดอกจอก เพื่อใหสามารถสอดเพลา
ดอกจอกเขาไปได

1 เพลาเฟองดอกจอก
2 เฟองขาง
3 แหวนกันรุน
4 เฟองดอกจอก

(1/3)

- 11 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

2. วัดระยะแบ็คแลชเฟองขาง
เริ่มแรกยึดเรือนเฟองทายใหมั่นคงดวย
ปากกาจับชิ้นงานโดยอยูระหวางแผน
อลูมิเนียม จากนั้น ทําการวัดระยะแบ็ค
แลช
ขอแนะนําการบริการ:
แบ็คแลช
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
76-79)
ขอควรระวัง:
1 ไดอัลเกจ 2 เฟองขาง
ไมควรยึดชิ้นงานกับปากกาจับชิ้นงาน
3 แหวนกันรุน
แนนเกินไป
3. ปรับตั้งระยะแบ็คแล็ช
ถาคาระยะแบ็คแลชที่วัดไดแตกตางจาก
คาที่กาํ หนด ใหเลือกแหวนกันรุนอันอื่น
เพื่อปรับระยะแบ็คแลช
ขอแนะนํา:
ถาคาระยะแบ็คแลชที่วัดไดมีคามาก
ใหทาํ การเลือกแหวนกันรุนที่หนากวา
เดิมเพื่อปรับระยะแบ็คแลช เชน เดียว
กัน ถาคาระยะแบ็คแลชที่วัดไดนอย
ใหเลือกแหวนกันรุนที่บางกวาเดิมเพื่อ
ปรับระยะแบ็คแลช

(2/3)

- 12 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

4. ติดตั้งสลัก
(1)เริ่มแรกยึดเรือนเฟองทายใหมั่นคง
ดวยปากกาจับชิ้นงานโดยอยูระหวาง
แผนอลูมเิ นียม
ขอควรระวัง:
ไมควรยึดชิ้นงานกับปากกาจับชิ้นงาน
แนนเกินไป
(2)ใชตัวตอกสลักและคอนดันสลักเขาไป
และงัดสลักขึ้นดวยสกัด
ขอแนะนําการบริการ:
สลัก
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35)
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)

1 เหล็กสง
2 สลัก
3 สกัด
4 แผนอลูมิเนียม

(3/3)

- 13 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ติดตั้งเฟองบายศรี
1. ใหความรอนเฟองบายศรี
ตมเฟองบายศรีดวยอุณหภูมิ 90 - 110°C
(194 - 230°F)
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอแนะนํา:
• การใหความรอน เพื่อทําใหเฟองบาย
ศรีขยายตัว ดวยเหตุนี้ เสนผาศูนย
กลางภายในเฟองบายศรีจะขยายตัว
ทําใหงายตอการประกอบเขากับเรือน
เฟองทาย
• ระมัดระวังในการนําเอาเฟองบายศรี
ออกจากเครื่องอุน

1 เฟองบายศรี
2 เครื่องทําความรอน

(1/3)

- 14 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

2. ติดตั้งเฟองบายศรี
(1)ทําความสะอาดเฟองบายศรี
(2)จัดเครื่องหมายที่ทาํ ไวใหตรงกัน แลว
ทําการประกอบเฟองบายศรี และโบลท
กับเรือนเฟองทายอยางรวดเร็ว
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)
ขอแนะนํา:
การติดตั้งเฟองบายศรีตองประกอบ
ดานสัมผัสกับเรือนเฟองทายใหถูกตอง
มิเชนนั้นจะไมสามารถใสโบลทไดพอดี

1 เฟองบายศรี

(2/3)

3. ขันโบลทยดึ เฟองบายศรี
(1)หามทําการขยับเฟองบายศรี ใหทาํ
การยึดเฟองบายศรีไวระหวางแผน
อลูมเิ นียมของปากกาจับงาน
ขอควรระวัง:
ไมควรยึดชิ้นงานกับปากกาจับชิ้นงาน
แนนเกินไป
(2)เพื่อกระจายแรงกดของโบลท ขณะทํา
การขันโบลท ใหทาํ การขันในทิศตรง
กันขามตามลําดับ โดยใชแรงขันโบลท
ทีละนอย
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)

1 เฟองบายศรี
2 แผนอลูมิเนียม
(3/3)

- 15 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

ขอมูลอางอิง:
การใชแผนล็อค
การใชแผนล็อค
ขันแนนโบลทยึดบนแผนล็อค จากนั้นใช
สิ่วและคอนพับแผนล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)

1 สกัด
2 แผนอลูมิเนียม

(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร เฟองทาย

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายถูกหรือผิดในคําถามตอไปนี้:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
เมือ่ จะทําการถอดโบลทยึดเฟองบายศรี ใหทาํ การยึดเฟองบายศรีดวย
1 ถูก ผิด
ปากกาจับชิ้นงานโดยมีแผนอลูมิเนียมรอง และตองไมยึดที่บริเวณโบลท
เมื่อเราทําการถอดแผนล็อคที่ตัวโบลทยึดเฟองบายศรี เราสามารถนํา
2 ถูก ผิด
แผนล็อคกลับมาใชไดอีกในการประกอบกลับ
ระยะแบ็คแลช หมายความถึง ระยะระหวางฟนเฟอง และมีผลถึงการ
3 ถูก ผิด
เคลื่อนของเกียรอยางราบเรียบ
เมื่อจะทําการถอดสลักที่ติดตั้งบนเรือนเฟองทาย ใหทาํ การถอดสลัก
4 ถูก ผิด
โดยการใชสกัดและคอน

คําถาม-2
เลือกขอความที่ถูกตองเกี่ยวกับขั้นตอนการติดตั้งเฟองบายศรีบนเรือนเฟองทายไดโดยงาย
1. ทําการแชเฟองทายดวยอุณหภูมิ 20 ถึง 0 องศาเซลเซียสกอนทําการติดตัง้
2. ติดตั้งในหองปฏิบตั ิการที่มอี ุณหภูมิ 20 ถึง 40 องศาเซลเซียส
3. ทําการอุนเฟองบายศรีที่อณ
ุ หภูมิ 90 ถึง 100 องศาเซลเซียสกอนทําการติดตั้ง
4. ทําการอุนเฟองบายศรีที่อณ
ุ หภูมิ 140 ถึง 160 องศาเซลเซียสกอนทําการติดตัง้

- 17 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในรายละเอียดสวนนี้ทั้งหมดจะเปนขั้น
ตอนในการประกอบกลับเกียร
การประกอบชิ้นสวนเกียร
ในขณะที่ปฎิบัตงิ าน จะตองตรวจเช็ค
ตําแหนงและทิศทางของชิ้นสวนทั้งหมด
อยางรอบคอบ

(1/1)

การประกอบกลับ สวนประกอบ
1. ประกอบลูกปนและซีลน้าํ มัน
(1) ซีลน้าํ มันหนาเกียร
(2) ลูกปนเพลารับกําลังดานหนา
(3) ลูกปนเพลาสงกําลังดานหนา
(4) ซีลน้าํ มันเสื้อเกียร
(5) ซีลน้าํ มันเสื้อเกียร

2. ปรับตั้งพรีโหลดลูกปนขางเฟองทาย
(1) ปลอกรองลูกปนเฟองทายดานหนา
และแผนชิม
(2) ลูกปนเฟองทายดานหนา
(3) ลูกปนเฟองทายดานหลัง
(4) ปลอกรองลูกปนเฟองทายดานหลัง
และแผนชิม

- 1 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
3. ประกอบชิ้นสวนตางๆ
(1) แผนรับน้าํ มัน
(2) แผนล็อคลูกปน
(3) แมเหล็ก
(4) ฝาครอบเพลาสงกําลัง
(5) ทอรับน้าํ มันเกียรตัวที่1
(6) ทอรับน้าํ มันเกียรตัวที่2

4. ติดตั้งสลักปองกันการเขาเกียรถอย
(1) สลักปองกันการเขาเกียรถอย

5. ประกอบเพลารับกําลังและเพลาสงกําลัง
(1) เพลารับกําลัง
(2) เพลาสงกําลัง

- 2 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
6. ติดตั้งเพลาและเฟองสะพานเกียรถอย
(1) เฟองสะพานเกียรถอย
(2) เพลาเฟองสะพานเกียรถอย
(3) แหวนกันรุน

7. ประกอบกามปูและเพลากามปู
(1) เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(2) เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
(3) เพลากามปูตัวที่ 3
(เกียร 5 และเกียรถอย)
(4) กามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(5) กามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
(6) หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)
(7) แขนเลื่อนเกียรถอย

8. ติดตั้งเสื้อเกียร
(1) เสื้อเกียร

- 3 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
9. ประกอบโบลทยึดเพลาเฟองสะพาน
เกียรถอย
(1) โบลทยึดเฟองสะพานเกียรถอย

10. ประกอบแหวนล็อค
(1) แหวนล็อคเพลารับกําลัง
(2) แหวนล็อคเพลาสงกําลัง

11. ประกอบแผนประกับลูกปน
(1) แผนประกับลูกปน

- 4 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
12. การติดตั้งปลั๊กดันสปริงและลูกปน
ล็อคปองกันเกียรหลุด
(1) ปลั๊กหัวจีบ
(เกียร 5 และเกียรถอย)
(2) ปลั๊กหัวจีบ
(เกียร 3 และเกียร 4)
(3) ปลั๊กหัวจีบ
(เกียร 1 และเกียร 2)
(4) ชุดบอลล็อค

(1/2)

13. ประกอบเฟองขับเกียร 5 และ


เฟองตามเกียร 5
(1) เฟองขับเกียร 5
(2) เฟองตามเกียร 5

14. ประกอบดุมเกียร
(1) ดุมเกียร

- 5 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
15. ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
(1) วัดระยะรุนแนวแกน
(2) ระยะรุนเกียร 5 ในแนวรัศมี

16. ประกอบกามปูและปลอกเลื่อน
(1) กามปู
(2) ปลอกเลื่อน

17. ติดตัง้ นัตล็อคเพลาสงกําลัง


(1) นัตล็อคเพลาสงกําลัง

- 6 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
18. ติดตัง้ ฝาครอบเสื้อเกียร
(1) ฝาครอบเสื้อเกียร

19. ประกอบกลไกเลื่อนและเลือกเกียร
(1) กลไกเลื่อนและเลือกเกียร
(2) แขนยึดเสื้อคันควบคุม
(3) คันเลือกเกียร
(4) โบลทยึดกลไกอินเตอรลอ็ ค

20. ประกอบสวิตชไฟเกียรถอย
(1) สวิตชไฟเกียรถอย

- 7 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
21. ประกอบเซ็นเซอรตรวจจับความเร็ว
รถยนต
(1) เซ็นเซอรตรวจจับความเร็วรถยนต

22. ประกอบกามปูคลัตชและลูกปนกด
คลัตช
(1) กามปูคลัตช
(2) ลูกปนกดคลัตช
(3) บูชยางกามปู
(4) จุดยึดกามปูคลัตช

(2/2)

ประกอบลูกปนและซีลน้ํามัน
ขั้นตอนการประกอบลูกปนและซีลน้าํ มัน
ขึ้นอยูกับรูปรางและตําแหนงของมัน
เพื่อปองกันลูกปนจากแรงกดที่มากเกินไป
กดแผนประกับนอกและในใหลูกปนเขา
ตําแหนง
ใหสังเกตทิศทางการติดตั้งของลูกปนและ
ซีลน้าํ มัน ตองมั่นใจวาตําแหนงการติดตั้ง
ถูกตองกอนประกอบลูกปนและซีลน้าํ มัน

(1/3)

- 8 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

1. การประกอบลูกปน, ปลอกรองลูกปน
และแผนชิม
ใชเครื่องมือพิเศษและเครื่องอัดไฮดรอลิค
กดชิ้นสวนดังตอไปนี้
(1) ประกอบลูกปนเพลาสงกําลังดานหนา
(2) ประกอบลูกปนเพลารับกําลังดานหนา
(3) ประกอบลูกปนเสือ เฟองทายดานหนา,
ปลอกรองลูกปนและแผนชิม
(4) ประกอบลูกปนเสื้อเฟองทายดานหลัง,
ปลอกรองลูกปนและแผนชิม

(1) ประกอบลูกปนเพลาสงกําลังดานหนา

1 เครื่องอัดไฮดรอลิค
2 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
3 ลูกปน

(2) ประกอบลูกปนเพลารับกําลังดานหนา

1 เครื่องอัดไฮดรอลิค
2 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
3 ลูกปน

- 9 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

(3) ประกอบลูกปนเสือ เฟองทายดานหนา,


ปลอกรองลูกปนและแผนชิม
ขอควรระวัง:
วางเครื่องมือพิเศษเขากับหนาสัมผัส
ดานในของลูกปน
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)

1 เครื่องอัดไฮดรอลิค
2 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
3 ลูกปน
4 ปลอกรองลูกปนและแผนชิม
5 ปลอกรองลูกปน
6 แผนชิม

(4) ประกอบลูกปนเสื้อเฟองทายดานหลัง,
ปลอกรองลูกปนและแผนชิม
ขอควรระวัง:
วางเครื่องมือพิเศษเขากับหนาสัมผัส
ดานในของลูกปน
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ

1 เครื่องอัดไฮดรอลิค
2 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
3 ลูกปน
4 ปลอกรองลูกปนและแผนชิม
5 ปลอกรองลูกปน
6 แผนชิม

(2/3)

- 10 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

2. การประกอบซีลน้ํามัน
ใชเครื่องมือพิเศษ และคอนประกอบซีล
น้าํ มัน:
(1) ประกอบซีลน้าํ มันเสื้อเฟองเกียรดาน
หนา
(2) ประกอบซีลน้าํ มันเสื้อเฟองเกียร
(กลาง)
(3) ประกอบซีลน้าํ มันเสื้อเฟองทาย

(1) ประกอบซีลน้าํ มันเสื้อเฟองเกียรดาน


หนา
ขอแนะนํา:
ประกอบใหขอบของซีลน้าํ มันใหพอดี
กับขอบเสื้อเกียร
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ซีลน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
28-31)

1 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
2 ซีลน้าํ มันใหม

- 11 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

(2) ประกอบซีลน้าํ มันเสื้อเฟองเกียร


(กลาง)
ขอแนะนํา:
ประกอบใหขอบของซีลน้าํ มันใหพอดี
กับขอบเสื้อเกียร

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือตอกซีลน้าํ มัน)
2 ซีลน้าํ มันใหม

(3) ประกอบซีลน้าํ มันเสื้อเฟองทาย


ขอแนะนํา:
ประกอบใหขอบของซีลน้าํ มันใหพอดี
กับขอบเสื้อเกียร

1 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
2 ซีลน้าํ มันใหม

(3/3)

- 12 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ปรับตั้งพรีโหลดลูกปนขางเฟองทาย
เฟองทายจะใชลูกปนเฟองทายชนิดเทเปอร
ซึ่งจะตองมีความตึงของลูกปนใหพอดี เพื่อ
ทําใหเกิดเสถียรภาพ และปองกันการสั่น
สะเทือน
1. การวัดความตึงลูกปน (พรีโหลด)
(1)ประกอบเฟองทาย, เสื้อเกียร
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษและประแจวัดแรงบิด
วัดความตึงลูกปน (ในขณะเริ่มหมุน)
ขอแนะนําการบริการ:
พรีโหลด
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
79-84)

1 เฟองทาย
2 เสื้อเกียร
3 เสื้อเกียร
4 เครื่องมือพิเศษ
(ลูกบ็อกซประแจวัดแรงบิด)
5 ประแจวัดคาแรงบิด

(1/2)

- 13 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

2. ปรับตั้งพรีโหลด
(1)ถาวัดคาความตึงไดเกินคามาตรฐาน
ใชเครื่องมือพิเศษถอดปลอกรองลูกปน
ดานหนาและหลัง รวมทั้งแผนชิมออก
แลวเลือกแผนชิมอันใหมและประกอบ
ยอนกลับ
(2)ทําซ้าํ ขั้นตอนในการวัดความตึงของ
ลูกปนจนกระทั่งความตึงลูกปนอยูใน
คามาตรฐาน

1 เฟองทาย
2 เสื้อเกียร
3 เสื้อเกียร

2. ปรับตั้งพรีโหลด

4 เครื่องมือพิเศษสําหรับถอดตลับลูกปน
5 ปลอกรองลูกปนและแผนชิม

2. ปรับตั้งพรีโหลด

6 แผนชิม

- 14 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
2. ปรับตั้งพรีโหลด

7 เครื่องอัดไฮดรอลิค
8 เครื่องมือพิเศษ
(ดามตอกและหัวสําหรับถอดเปลี่ยน)
9 ปลอกรองลูกปนและแผนชิม

2. ปรับตั้งพรีโหลด

1 เฟองทาย
2 เสื้อเกียร
3 เสื้อเกียร

2. ปรับตั้งพรีโหลด

1 เฟองทาย
10 ประแจวัดคาแรงบิด
11 เครื่องมือพิเศษ
(ลูกบ็อกซประแจวัดแรงบิด)

(2/2)

- 15 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ติดตั้งสลักปองกันการเขาเกียรถอย
1. ติดตั้งสลักปองกันการเขาเกียรถอย
กอนการประกอบเขากับเสื้อเกียรจะตอง
ตรวจเช็คทิศทางและตําแหนงในการติดตั้ง
สลักปองกันการเขาเกียรถอยอยางถูกตอง
2. ติดตั้งสลัก
ใชตัวตอกสลักและคอนตอกสลักล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
สลัก
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35)
3. ประกอบปลั๊กอุด
ทําความสะอาดปลั๊กอุด และทาน้าํ ยากัน
คลาย แลวประกอบปลั๊กอุดเขากับเสื้อเกียร
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
6-7)
1 เหล็กสง

2 สลักปองกันการเขาเกียรถอย

3 สลัก

4 เสื้อเกียร

5 ลูกบ็อกซหัวจีบ

6 ประแจวัดคาแรงบิด

7 ปลั๊กอุด

(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

การติดตั้งเพลาสงกําลัง และเพลารับ
กําลัง
ประกอบเพลารับกําลัง และเพลาสงกําลัง
จัดใหเฟองเกียรขบกัน แลวจัดใหเฟองขับ
ของเพลาสงกําลังตรงกับเฟองบายศรีของ
เฟองทายใหมันขับกัน
ขอแนะนํา:
• ออกแรงขยับใหเพลารับและสงกําลัง
เอียง และสอดเขาไปในลูกปนที่อยูใน
เสื้อเกียร ทําใหเกิดความเสียหายตอ
ลูกปนและตัวเฟอง
• ใสนา้ํ มันเกียรของแตละเฟอง และชิ้น
สวนที่มีการเลื่อน กอนการประกอบ
กลับ

1 เพลาสงกําลัง
2 เพลารับกําลัง

(1/1)

การติดตั้งเพลา และเฟองสะพานเกียร
ถอย
ประกอบเฟองสะพานเกียรถอย, แหวนกัน
รุน และเพลาเฟองสะพานเกียรถอย เขากับ
เสื้อเกียร (หนา) เมื่อประกอบเฟองสะพาน
เกียรถอยหลัง กอนการประกอบจะตอง
แนใจวาเครื่องหมายบนเพลาเฟองสะพาน
เกียรถอยติดตั้งถูกตอง
ขอแนะนํา:
จะตองจัดรูยึดเพลาเฟองสะพานใหตรง
กับรูโบลทที่เสื้อเกียร

1 เพลาเฟองสะพานเกียรถอย
2 แหวนกันรุน
3 เฟองสะพานเกียรถอย
4 เสื้อเกียร

(1/1)

- 17 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ประกอบกามปูและเพลากามปู
1. ตรวจเช็คทิศทางของชิ้นสวน
กามปูและเพลากามปูจะมีทิศทางในการ
ประกอบ จะตองสังเกตและวางชิ้นสวนให
ถูกทิศทางกอนประกอบ

1 หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)
2 เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
3 เพลากามปูตัวที่ 3
(เกียร 5 และเกียรถอย)
4 กามปูตัวที่ 2 (เกียร 3 และเกียร 4)
5 กามปูตัวที่ 1 (เกียร 1 และเกียร 2)
6 เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)

(1/3)

2. ประกอบกามปูและเพลากามปู
ประกอบกามปูและเพลากามปูตามขั้นตอน
ดังนี้:
(1) กามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(2) กามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
(3) เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
(4) เพลากามปูตัวที่ 3 และกามปูเกียร
ถอย (เกียร 5 และเกียรถอยหลัง)
(5) หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)
(6) เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)

- 18 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

(1) กามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)

(2) กามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)

(3) เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)

- 19 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ประกอบแหวนล็อค
ใชแทงทองเหลืองและคอนเพื่อติดตั้งแหวน
ล็อค

1 กามปูตัวที่ 1 (เกียร 1 และเกียร 2)


2 แหวนล็อคเพลากามปู
3 เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)

(4) เพลากามปูตัวที่ 3 และกามปูเกียร


ถอย (เกียร 5 และเกียรถอยหลัง)
ขอแนะนํา:
ทาจาระบีที่ลูกปนเพื่อที่จะทําใหลูกปน
ไมหลุด แลวประกอบมันเขากับเพลา
กามปูเกียรถอยหลัง

(5) หัวเลือกเกียรตัวที่ 1
(เกียร 3 และเกียร 4)

- 20 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
(6) เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)

3. ประกอบโบลทยึดเพลากามปู
ทําความสะอาดโบลท และทาน้าํ ยากัน
คลาย แลวขันโบลทยึดใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
6-7)

(3/3)

- 21 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

การติดตั้งเสื้อเกียร
ทาประเก็นเหลวที่เสื้อเกียรบริเวณหนา
ประกอบ และประกอบเสื้อเกียร
1. ใชมดี ขูดปะเก็นทําความสะอาด
บริเวณขอบเสื้อเกียร
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
86-90)
1 ปะเก็นเหลว 2. ทาปะเก็นเหลวใหเปนเสนตามขอบ
2 เสื้อเกียร ดานในเสื้อเกียรใหมขี นาดเสนผาศูนย
3 เสื้อเกียร กลาง 1.2 มม.
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)
3. ประกอบทิศทางของเสื้อเกียรใหตรง
กับสลักและรูของโบลท
4. ทําความสะอาดโบลทและทาน้าํ ยากัน
คลาย แลวประกอบและขันโบลทยึดให
แนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
6-7)
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
ขอแนะนํา:
อยาลืมขันโบลทดานหนาเสื้อเกียรให
แนน

(1/2)

- 22 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ประกอบโบลทยดึ เพลาเฟองสะพาน
เกียรถอย
1. ทําความสะอาดโบลทยึดเพลาเฟอง
สะพานเกียรถอยหลัง และทาน้าํ ยา
กันคลาย
2. ใชปะเก็นตัวใหม ในการประกอบโบลท
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
ขอแนะนํา:
• ระวังอยาทําใหปะเก็นใหมโคงงอหรือ
เสียหาย เพราะวาการใชปะเก็นที่
เสียหายจะทําใหนา้ํ มันเกียรรวั่
• ใชไขควงจัดตําแหนงของรูโบลทของ
เพลาเฟองสะพานเกียรถอยใหตรงกับ
รูที่เสื้อเกียรตามตองการ

1 เสื้อเกียร
2 เพลาเฟองสะพานเกียรถอย
3 เฟองสะพานเกียรถอย
4 ปะเก็นใหม
5 โบลทยึดเฟองสะพานเกียรถอย

(1/1)

- 23 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ติดตั้งชุดลูกปนล็อคปองกันเกียรหลุด
1. ประกอบลูกปน, สปริง และปลอกรอง
สปริง เขากับเสื้อเกียร
2. ทําความสะอาดหัวจีบ และทาน้าํ ยา
กันคลาย
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
3. ใชประแจหัวจีบขันล็อคเขากับเสื้อเกียร
(1) ชุดบอลล็อค
(2) ปลั๊กหัวจีบ (เกียร 1 และเกียร 2)
(3) ปลั๊กหัวจีบ(เกียร 3 และเกียร 4)
(4) ปลั๊กหัวจีบ (เกียร 5 และเกียรถอย)
ขอแนะนํา:
ขันหัวจีบใหแนนในขณะที่มอื กดที่หัวจีบ
เบาๆ เพื่อปองกันรูหัวจีบเสียหาย

1 เพลากามปูตัวที่ 2
(เกียร 3 และเกียร 4)
2 เพลากามปูตัวที่ 3
(เกียร 5 และเกียรถอย)
3 เพลากามปูตัวที่ 1
(เกียร 1 และเกียร 2)
4 ลูกปนบอลล็อค
5 สปริง
6 แหวนรองสปริงวาลว

(1/1)

- 24 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

การติดตั้งแหวนล็อค
ขั้นตอนการประกอบแหวนล็อคจะแตกตาง
กันขึ้นอยูกับรูปรางและตําแหนงของมัน
1. ใชคีมถางประกอบตามรูปภาพ
(1) แหวนล็อคเพลารับกําลัง
(2) แหวนล็อคเพลาสงกําลัง
ขอแนะนํา:
ขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อใหติดตัง้ ไดงาย
ใหดงึ เพลาขึ้นดานบนใหเห็นรองของ
แหวนล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)

1 คีมถางแหวน
2 เพลารับกําลัง
3 เพลาสงกําลัง

2. ใชแทงทองเหลืองและคอนตอกแหวน
ล็อคเพลากามปู

(1/1)

- 25 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ประกอบแผนประกับลูกปน
1. ตรวจเช็คดูวาหนาสัมผัสประกับลูกปน
วางถูกตอง จัดตําแหนงรูโบลทกับเสื้อ
เกียรใหตรงกัน
2. ทําความสะอาดโบลทและทาน้าํ ยากัน
คลาย แลวประกอบและขันแผนประกับ
ลูกปนใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
6-7)

1 แผนประกับลูกปน

(1/1)

ประกอบเฟองขับเกียร 5 และเฟองตาม
เกียร 5
1. ประกอบเฟองตามเกียร 5
2. ประกอบเฟองเกียร 5

1 เฟองตามเกียร 5
2 แผนรองลูกปน
3 ลูกปนเข็ม
4 เฟองขับเกียร 5
5 เฟองทองเหลือง

- 26 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

1. ประกอบเฟองตามเกียร 5
(1)ตองมัน่ ใจวาทิศทางการประกอบ
ถูกตอง และจัดรองสไปนเขาประกอบ
เขาเฟองตามเกียร 5
(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษกดเฟองตามเกียร 5
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอแนะนํา:
วางเครื่องมือพิเศษแนบกับเฟองเกียร
อยาใหขายึดเปดออก

1 เครื่องมือพิเศษ (ดูดพูลเลย)
2 เฟองตามเกียร 5

2. ประกอบเฟองเกียร 5
(1) ประกอบแหวนรองลูกปนเข็ม
(2) ประกอบลูกปนเข็ม
(3) ประกอบเฟองเกียร 5
(4) ประกอบเฟองทองเหลือง

1 เฟองตามเกียร 5 เพลารับกําลัง
2 แผนรองลูกปน
3 ลูกปนเข็ม
4 เฟองขับเกียร 5
5 เฟองทองเหลือง
6 เพลารับกําลัง

(1/1)

- 27 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ประกอบดุมเกียร
1. ประกอบดุมเกียร
(1)ดุมเกียรและตัวหนอนจะมีทิศทางการ
ติดตั้ง จะตองสังเกตทิศทางของชิ้นสวน
กอนทําการติดตั้งวาถูกตองหรือไม
(2)ประกอบสปริงตัวหนอนเขากับดุมเกียร
เพื่อดันตัวหนอน อยาใหปลายของ
สปริงตัวหนอนอยูในทิศทางเดียวกัน
และระวังตัวหนอนไมใหหลุด
ขอแนะนํา:
เกี่ยวขายึดของสปริงตัวหนอนเขากับตัว
หนอน
(3)ตองแนใจวาจัดรองสไปนและทิศทาง
ของการประกอบดุมเกียรไดถูกตอง

1 ชุดดุมเกียร
2 ตัวหนอน
3 ดุมเกียร
4 สปริงตัวหนอน

(1/3)

- 28 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

(4)ตองแนใจวาตัวหนอนตรงกับรองของ
เฟองทองเหลือง
(5)ใชเครือ่ งมือพิเศษและคอน ตอกดุม
เฟองเกียร
ขอควรระวัง:
เมือ่ ทําการตอกดุมเกียร ใหใชไมแผน
วางรองที่ปลายเพลารับกําลังเพื่อลด
ภาระของโหลดที่กระทําตอลูกปน
เพลารับกําลัง
ขอแนะนํา:
• ตองแนใจวาตัวหนอนตรงกับรองของ
เฟองทองเหลือง
• การตอกดุมเกียรแรงเกินไป อาจจะ
ทําใหหนาสัมผัสดุมเกียรแนนเกินไป
ถาเกิดอาการเชนนี้ ตรวจเช็คอีกครั้ง
และทําการจัดตําแหนงดุมเกียรใหถูก
ตอง
• ตอกดุมเกียรจนกระทั่งมันสัมผัสกับ
เฟองเกียร 5
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
(6)หลังจากตอกดุมเกียร เช็คการหมุนของ
แตละเกียรจะตองหมุนไดอยางอิสระ

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือตอกดุมเฟองเกียร 5)
2 ดุมเกียร
3 เฟองขับเกียร 5
4 ไมรอง
5 เพลารับกําลัง
6 เฟองทองเหลือง

(2/3)

- 29 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

2. ประกอบแหวนล็อค
(1)เลือกแหวนล็อคตัวที่หนาที่สุดที่
สามารถสอดเขาในรองแหวนล็อค (A)
ได (ชองวางระหวางรองแหวนล็อค
และแหวนล็อคควรจะมีขนาด 0.1 มม.
หรือนอยกวา)
ขอแนะนํา:
เลือกขนาดของแหวนล็อคเพื่อปรับคา
ระยะรุนของเฟองเกียรตามตองการ
(2)ใชแทงทองเหลืองและคอนเพื่อติดตั้ง
แหวนล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)

1 เฟองตามเกียร 5
2 เฟองขับเกียร 5
3 แหวนล็อค
4 ดุมเกียร

(3/3)

- 30 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ตรวจสอบระยะหางเฟองเกียร
ใชฟลเลอรเกจและไดอัลเกจวัดระยะรุน
เฟองเกียร
ระยะหางเฟองเกียร 5
1. วัดระยะรุนในแนวแกน
2. วัดระยะรุนในแนวรัศมี
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
67-70)
ขอแนะนํา:
ถาเกียรมรี ะยะหางของเฟองเกียรนอย
ไป จะทําใหนา้ํ มันหลอลื่นไมเพียงพอ
ในทางกลับกัน ถาระยะหางของเฟอง
เกียรมมี ากเกินไปจะทําใหเฟองเกียร
หลุด และทําใหเกิดเสียงดังดวย

1 ดุมเกียร
2 เฟองขับเกียร 5
3 แขนวัด
4 ไดอัลเกจ

(1/1)

- 31 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ประกอบกามปูและปลอกเลื่อน
1. ประกอบกามปูและปลอกเลื่อน
ตองแนใจวาทิศทางการประกอบของปลอก
เลื่อนและกามปู, ชุดกามปูสวมเขากับ
ปลอกเลือ่ น และประกอบเขากับดุมเกียร
และเพลากามปู แลวประกอบโบลทเขากับ
เพลากามปู
ขอแนะนํา:
เมือ่ ประกอบปลอกเลื่อน วางปลอก
เลือ่ นเขากับดุมเกียรและตัวหนอนชาๆ
อยาใหชิ้นสวนแยกจากกัน
2. ประกอบโบลทยึดเพลากามปู
ทําความสะอาดโบลทยึดกามปู และทาน้าํ
ยากันคลาย แลวขันโบลทยึดกามปูใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
6-7)

1 ปลอกเลื่อน
2 ดุมเกียร
3 ตัวหนอน
4 กามปู

(1/1)

- 32 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ติดตั้งนัตล็อคเพลาสงกําลัง
1. ล็อคเพลา
ขันนัตล็อคใหม ล็อคเพลาสงกําลังใหแนน
ใชเฟองเกียรสองชุดขบกันเพื่อปองกันไมให
เฟองเกียรหมุน กระทําไดโดยใชไขควงงัด
หัวเลือกเกียรขึ้นหรือลง
2. ประกอบนัตล็อค
ใชนัตล็อคใหมขันเพลาใหแนน
ขอแนะนํา:
• การปฏิบัติในกรณีนี้ ควรจะปฏิบัติ
งาน 2 คน เพราะวาจะทําใหออกแรง
ไดมาก
• จะตองปลดล็อคเกียรใหวางหลังจาก
ขันนัตล็อค
3. ตอกนัตล็อค
ใชสกัดและคอนตอกใหนัตล็อคยุบตัวลงไป
ในรอง
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)

1 นัตล็อคเพลาสงกําลังใหม
2 เพลากามปู
3 สกัด
เลื่อนเพลากามปู

(1/1)

- 33 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ติดตั้งฝาครอบเสื้อเกียร
ทาปะเก็นเหลวที่บริเวณขอบในของฝา
ครอบเสื้อเกียร
1. ใชมีดขูดปะเก็นทําความสะอาด
บริเวณขอบฝาครอบเสื้อเกียร
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
86-90)
2. ทาปะเก็นเหลวใหเปนเสนตามขอบ
ดานในเสื้อเกียร ใหมขี นาดเสนผา
ศูนยกลาง 1.2 มม.
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
14-18)
3. ประกอบทิศทางของเสื้อเกียรให
ตรงกับสลักและรูของโบลท
4. ทําความสะอาดโบลทและทาน้ํายา
กันคลาย แลวขันโบลทยึดใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
6-7)
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)

1 ปะเก็นเหลว
2 ฝาครอบเสื้อเกียร
3 เสื้อเกียร

(1/1)

- 34 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

ประกอบกลไกเลื่อนและเลือกเกียร
1. แขนเลือกเกียรตอ งอยูในตําแหนง
เกียรวาง
2. ดันคันเลือกเกียรใหอยูในตําแหนง
เกียรวางและสอดคันเลือกเกียรเขาไป
ตรงๆ และใชปะเก็นใหม
ขอควรระวัง:
ระวังอยาทําใหปะเก็นใหมโคงงอหรือ
เสียหาย เพราะวาการใชปะเก็นที่เสีย
หายจะทําใหนา้ํ มันเกียรรั่ว
3. ทําความสะอาดโบลทและทาน้าํ ยา
กันคลาย แลวขันโบลทยึดใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลททาน้าํ ยากันคลาย
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
6-7)
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
(1/1)

ประกอบกามปูคลัตชและลูกปนกดคลัตช
1. ทาจาระบี
ทาจาระบีตามรูปภาพ
ขอแนะนํา:
• ทาจาระบีที่สไปนของเพลารับกําลัง
• ทาจาระบีที่กามปูกดคลัตชและลูกปน
กดคลัตช
1 กามปูคลัตช

2 ลูกปนกดคลัตช

3 เพลารับกําลัง

4 จุดยึดกามปู

ทาจาระบี

- 35 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

2. ประกอบลูกปน
(1)ประกอบลูกปนกดคลัตช ตองแนใจวา
ประกอบไดถูกทิศทาง
(2)สอดกามปูกดคลัตชเขากับลูกปนกด
คลัตชและดันพวกมันเขากับคลิป
ขอแนะนํา:
สอดคลิปกามปูกดคลัตชเขากับจุดยึด
กามปูเบาๆ
3. ประกอบลูกปน
ใสลกู ปนกดคลัตชเขาไปที่เพลารับกําลัง
และประกอบกามปูกดคลัตชเขากับจุดยึด
กามปู
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คดูวากามปูและลูกปนกดคลัตช
ทํางานไดราบเรียบ

1 กามปูคลัตช
2 ลูกปนกดคลัตช
4 จุดยึดกามปู
5 คลิป
ทาจาระบี

(1/1)

- 36 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร

คําถาม-1
ใหพิจารณาวาถูกหรือผิดในคําถามตอไปนี้:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
ลูกปนและซีลน้าํ มันของเกียรธรรมดามีทศิ ทางการติดตั้ง ดังนั้นตอง
1 ถูก ผิด
ตรวจเช็คทิศทางกอนทําการประกอบ
สําหรับการประกอบซีลน้าํ มันดานหนาของเกียรธรรมดารุน C51
2 ถูก ผิด
การประกอบใหใชเครื่องมือพิเศษสําหรับ (ตัวถอด) และเครื่องอัด
ความตึงลูกปน (พรีโหลด) ที่ลูกปนแบบเทเปอรของเฟองทาย จะชวย
3 ถูก ผิด
ใหเฟองทายไมมีการสั่นสะเทือน
สําหรับการประกอบเพลารับกําลังและเพลาสงกําลังของเกียรธรรมดา
4 ถูก ผิด
รุน C51 การประกอบจะตองใหเฟองเกียรทั้ง 2 เพลาขบกันกอน
ทาน้าํ มัน เชน น้าํ มันเกียรหรือจาระบีขึ้นอยูกับตําแหนงประกอบของ
5 ถูก ผิด
เฟองเกียรแตละอันหรือชิ้นสวนที่มีการเคลือ่ นที่

คําถาม-2
ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการประกอบปลัก๊ อุดสลักกลไกปองกันการเขาเกียรถอยหลังผิดพลาดของเกียรธรรมดา
รุน C51 ไดถูกตอง?
1. ทาน้าํ มันเกียร
2. ทาสีรองพื้น
3. ทาจาระบี
4. ทาน้าํ ยาทาเกลียวโบลทกันคลาย

- 37 -
ชางเทคนิค - การซอมใหญเกียร การประกอบชิน้ สวนเกียร
คําถาม-3
ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการประกอบเสื้อเกียรของเกียรธรรมดา?
1. ทาน้าํ มันเครือ่ ง
2. ทาปะเก็นเหลว
3. ทาจาระบีเอนกประสงค
4. ทาสีรองพื้น

- 38 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายขั้นตอนการประกอบชุด
เกียรเขากับตัวรถยนต
ติดตั้งเกียรเขากับรถยนต
(รุน NZE12#)
ยกรถยนตขึ้น, ประกอบเกียร, ชุดซัฟเฟรม
จากดานลางของรถยนตลดรถยนตลง
ทําการประกอบชิ้นสวนตางๆ ในหอง
เครื่องยนตและภายในหองโดยสาร

1 ผาคลุมบังโคลน
2 กระจังหนา
3 ตะขอลูกรอก
4 ลูกรอกยกเครื่อง
5 เกียร
6 แมแรงยกเกียร
(1/1)

ขอมูลอางอิง:
อางอิง : รุนขับเคลื่อนลอหลัง
รายละเอียดของขั้นตอนทั้งหมดในสวนนี้
สําหรับประกอบเกียรรถขับเคลื่อนลอหลัง
เขากับรถยนต
ประกอบเกียรขับลอหลัง
(รุนขับเคลื่อนลอหลัง)
ยกรถยนตขึ้นโดยใชลิฟท
ประกอบเกียรเขาทางดานลางการประกอบ
เกียรรถขับเคลื่อนลอหลังจะมีขั้นตอนการ
ทํางานที่นอยกวารถขับเคลื่อนลอหนา
เพราะอุปกรณสวนมากจะติดตั้งอยูใตทอง
รถยนต

1 ผาคลุมบังโคลน
2 กระจังหนา
3 ตะขอลูกรอก
4 ลูกรอกยกเครื่อง
5 เกียร
6 แมแรงยกเกียร
(1/1)

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

การติดตั้ง สวนประกอบ
1. ติดตั้งเกียรเขากับรถยนต
2. การประกอบอุปกรณที่อยูใตทองรถยนต
3. ประกอบชิ้นสวนในหองเครื่องยนต
4. ประกอบอุปกรณที่ดานใน
5. ติดตั้งฝากระโปรงหนา
6. ติดตั้งแบตเตอรี่
7. ตรวจเช็คกอนสตารทเครื่องยนต
8. ไลลมออกจากทอน้าํ มันพวงมาลัย
เพาเวอร
9. ตรวจเช็คหลังจากสตารทเครื่องยนต
10.ตรวจเช็คขณะขับทดสอบ
11.การตรวจเช็คหลังขับทดสอบ
(1/1)

ติดตั้งเกียรเขากับรถยนต
1. ทาจาระบีที่สไปนของเพลารับกําลัง
2. ติดตั้งชุดเกียรเขากับแมแรงยกเกียร
ใหอยูในแนวนอนโดยการปรับมุมของ
แมแรงและยึดไว
ขอควรระวัง:
เพื่อความปลอดภัยตอชุดเกียร
ใหใชเสนลวดมัดเกียรเขากับแมแรงเพื่อ
ปองกันไมใหเกียรหลน
3. ขึ้นแมแรงชาๆ เพื่อแนใจวามันจะไม
กระแทกกับตัวถังรถยนต

1 ผาคลุมบังโคลน
2 กระจังหนา
3 ลูกรอกยกเครื่อง
4 เกียร
5 แมแรงยกเกียร
6 แผนยึด
ทาจาระบีพิเศษ
(1/2)

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

4. ปรับมุมของชุดเกียร สวมเพลารับกําลัง
และชุดคลัตชในขณะที่เขยาตัวเกียร
และประกอบขันนัตยึด
คําเตือน:
ตองแนใจวาความตึงโซที่ยึดเครื่องยนต
ทั้งสองขางตองเทากัน
ขอควรระวัง:
การเขยาเกียรแรงเกินไปอาจทําให
เพลารับกําลังและชุดคลัตชเสียหาย
ขอแนะนํา:
1 เกียร ถาเพลารับกําลังใสเขายาก อาจเกิดจาก
2 แมแรงยกเกียร ชุดคลัตชอยูในตําแหนงที่ผิด ใหใช
3 เครื่องมือพิเศษ (เหล็กนําคลัตช) เครื่องมือพิเศษและตรวจเช็คการ
4 ยางยึดแทนเครื่องขางซาย ประกอบของชุดคลัตช
5. ประกอบแลวขันโบลทยึดชุดเกียร
ใหแนน
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
6. ประกอบและขันโบลทยางยึดแทน
เครื่องดานซายใหแนน

(2/2)

ประกอบอุปกรณที่อยูใตทองรถยนต
หลังจากยกลิฟทขึ้น ประกอบชิ้นสวนจาก
ใตทองรถยนต:
1. คานขวางและซัฟเฟรม
2. เพลาขับ
3. ลูกหมากปลายคันสง
4. ทอพวงมาลัยเพาเวอร
5. น้ํามันเกียร

(1/8)

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

ขอมูลอางอิง:
เพลากลาง (รุนขับเคลื่อนลอหลัง)
1. ถอดเครื่องมือพิเศษออกจากทายเกียร
2. ทาจาระบีบริเวณซีลทายเกียร

1 เครื่องมือพิเศษ
(ปลั๊กอุดน้าํ มันทายเกียร)
2 เกียร
ทาจาระบี

3. สอดเพลากลางเขากับทายเกียร
4. ขันนอตตุกตาเพลากลางและหนา
แปลนเฟองทายใหแนน
ขอแนะนํา:
• ประกอบแผนรองตุกตาเพลากลางใน
ตําแหนงเดิมตามที่ทาํ เครือ่ งหมาย
กอนการถอด
• ทําเครื่องหมายของเพลากลางและ
หนาแปลนเฟองทาย
4 เฟองทาย

5 หนาแปลนเฟองทาย

5. ขันโบลทและนอตยึดตุก ตาเพลากลาง
และหนาแปลนเฟองทายใหแนน

3 เพลากลาง
6 สเปเซอร
7 ลูกปนตัวกลาง

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

ขอมูลอางอิง:
ทอไอเสีย
1. ใชเวอรเนียรวัดความยาวของสปริง
ทอไอเสีย
ขอแนะนํา:
ถาเกินคามาตรฐาน ใหทาํ การเปลี่ยน
สปริงทอไอเสียใหม
2. ใชปะเก็นทอไอเสียใหม
ขอแนะนํา:
ถาปะเก็นทอไอเสียติดกับหนาแปลน
1 ทอไอเสีย 2 ทอรวมไอเสีย ทอ ไมสามารถแกะออกจากกันได
3 ปะเก็น 4 สปริง มันสามารถนํากลับมาใชใหมไดถาใช
5 โบลท ปะเก็นตัวเดิมควรระวังในขณะขัน
โบลทอาจทําใหปะเก็นเกิดความเสีย
หาย ตองขันนอตอยางระมัดระวัง
3. รูของทอรวมไอเสียกับทอไอเสีย ใหอยู
ในระดับเดียวกัน แลวใสสปริงเขากับ
โบลท ขันยึดใหแนน
ขอแนะนํา:
• การติดตั้งทอไอเสีย จะตองใชชาง
2 คน
• โดยปกติ นัตและโบลทยึดทอไอ
เสียไมสามารถนํากลับมาใชใหมได
จําเปนตองเปลี่ยนใหม

(1/1)

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

1. ประกอบระบบรองรับและคานขวาง
(1)ขึ้นแมแรงที่ใสชุดรองรับ, คานขวาง,
กระปุกพวงมาลัยและเหล็กกันโคลง
อยางชาๆเพื่อปองกันมันกระแทกกับ
ตัวถังรถยนต
ขอควรระวัง:
เพื่อความปลอดภัยใชลวดมัดชิ้นสวนที่
อยูบนแมแรงเพื่อไมใหมนั รวงหลน
(2)สอดเครื่องมือพิเศษเขากับรูของ
ตัวถังเพื่อทําใหใสโบลทไดและขัน
1 2
โบลทยดึ ใหแนน
คานขวางและซัฟเฟรม กระปุกพวงมาลัย
3 แมแรงยกเกียร 4 เครื่องมือพิเศษ (ชวยใสนอตซัฟเฟรม) ขอแนะนําการบริการ:
5 ปกนกตัวลาง 6 เหล็กกันโคลง โบลท
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
4-5)
ตําแหนงติดตัง้ /ทิศทางการติดตั้ง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
41-45)

(2/8)

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

(3)ขันนัตและโบลทยึดชุดรองรับ, คาน
ขวางใหไดแรงขันตามคากําหนด
ขอควรระวัง:
• อยาถอดโซยึดจนกวาการประกอบยาง
ยึดแทนเครือ่ งจะเสร็จสมบูรณ
• ถาโซถูกถอดออกในขณะที่ขันโบลท
ดวยมือ มันจะทําใหขันยาก และการ
ขันโบลทแตละตัวก็จะไดแรงขันไมได
ตามคากําหนด
(4)ถอดแมแรงออก
(5)ประกอบและขันโบลท,
นัตยึดยางแทนเครื่องใหแนน
(6)ประกอบและขันเหล็กกันโคลงใหแนน
(7)ถอดโซยึดออกจากเครื่องยนต

1 คานขวางและซัฟเฟรม
(3/8)

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

2. ติดตั้งเพลาขับ
(1)ทาน้าํ มันเกียรที่ปลายเพลาขับดาน
เฟองทาย และใสมันเขากับรองของ
เฟองขางของเฟองบายศรี
ขอแนะนํา:
ใหหนาสัมผัสแหวนล็อคเพลาขับหันลง
ดานลาง
(2)ใชแทงทองเหลืองและคอนตอกที่รอง
เพลาขับและดันเพลานี้เขากับเฟองขาง
ของชุดเฟองทายโดยการเคาะแทงทอง
เหลืองเบาๆ ดวยคอน
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
21-28)
ขอแนะนํา:
การที่จะดูวาเพลาขับสวมเขาไปสนิท
ดีหรือไมนั้นใหดูจากแรงกระแทกของ
แทงทองเหลืองหรือเสียงที่เกิดขึ้นขณะ
ตอกเขาไป
(4/8)

(3)ดึงดุมเพลาออกดานนอกเบาๆ และ
สอดสไปนของเพลาขับเขากับดุมเพลา
ขอควรระวัง:
• อยาดึงดุมเพลาออกดานนอกดวยแรง
มากเกินไป
• หามทําใหโรเตอรของเซ็นเซอรความ
เร็วและยางหุมเพลาขับเสียหาย
ขอแนะนํา:
เลือ่ นรองสลักของเพลาขับและจัดใหอยู
ในตําแหนงที่ประกอบนัตล็อคไดงาย
(4)ประกอบปกนกตัวลางเขากับดุมลอ
(5)ติดตั้งเซ็นเซอรของระบบ ABS

(5/8)

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

(6)เพื่อความปลอดภัยเมื่อล็อคนัตให
แนนควรใชชางเทคนิค 2 คน
ขอควรระวัง:
หามใชนัตล็อคตัวเกา ใหเปลี่ยนใหม
ทุกครั้ง
ขอแนะนํา:
ในการขันนัตยึดดุมลอใหคนหนึ่ง
เหยียบเบรคไวและอีกคนหนึ่งขันนัตยึด
เพลาขับเขากับดุมลอ
(7)จัดใหรอ งทีเ่ พลาขับขึ้นดานบน
(8)ใชสกัดและคอนตอกพับนัตล็อคตัวใหม
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
35-39)

1 สกัด
2 นัตล็อคตัวใหม
(6/8)

- 9 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

3. ติดตั้งลูกหมากปลายคันสง
(1)สวมลูกหมากปลายคันสงเขาไปที่
ขอบังคับเลี้ยว
(2)ขันนัตยึดลูกหมากตามคาแรงขัน
แลวล็อคดวยสลัก
ขอควรระวัง:
หามใชสลักล็อคตัวเกา ใหเปลี่ยนใหม
ทุกครั้ง
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
39-40)

1 ลูกหมากปลายคันสง
2 คอมา
3 นัตหัวผา
4 สลักล็อค

4. ประกอบทอน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร
หลังจากขันทอน้าํ มันพวงมาลัยเพาเวอร
ของกระปุกพวงมาลัย, ใชเครื่องมือ
พิเศษขันทอน้าํ มันใหแนน

1 ทอแรงดันน้ํามัน
2 ทอน้ํามันไหลกลับ
3 เครื่องมือพิเศษ
(ประแจขันนัตทอน้ํามัน)

(7/8)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

5. เติมน้ํามันเกียร
(1)วางถาดรองน้าํ มันทีใ่ ตปลั๊กเติม
ขอแนะนํา:
ถาเปนไปไดใหยกถาดรองน้าํ มันใน
ตําแหนงที่ใกลปลั๊กเติมที่สุดโดยใชแม
แรงยก
(2)เติมน้าํ มันเกียรจนกระทั่งมีนา้ํ มัน
ไหลออกมาจากรูเติมเล็กนอย
หลังจากนั้นเช็คระดับน้าํ มันตามคา
กําหนด,ประกอบปะเก็นใหมและ
ปลั๊กอุด

1 ปลั๊กเติม
2 ปะเก็นใหม
3 ถาดรอง
(8/8)

ประกอบชิ้นสวนในหองเครื่องยนต
ลงลิฟทและประกอบอุปกรณในหอง
เครื่องยนต
1. สายเลือกเกียรและสายเปลี่ยนเกียร
2. ชุดสายไฟและขั้วตอ
3. ปมคลัตชตัวลาง
4. มอเตอรสตารท
5. หมอกรองอากาศ

1. สายเลือกเกียรและสายเปลี่ยนเกียร

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต
2. ชุดสายไฟและขั้วตอ

3. ปมคลัตชตัวลาง

4. มอเตอรสตารท

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต
5. หมอกรองอากาศ

(1/6)

1. ประกอบสายเลือกเกียรและสาย
เลื่อนเปลี่ยนเกียร
ประกอบสายควบคุมการเลือกตําแหนง
เกียรเขากับเกียรแลวล็อคดวยคลิปล็อค
ขอควรระวัง:
อยาใชแรงในการติดตั้งสายเลือกและ
เลือ่ นเกียรมากเกินไป มันอาจจะ
โคงงอได
ขอแนะนํา:
รถยนตบางรุนไมควรจะใชคลิปล็อคอัน
เกา ใหอางอิงจากคูมอื การซอมหรือเช็ค
สภาพของคลิปวามันยังใชงานไดหรือ
ไม

1 คลิป
2 แหวนรอง
3 สายเลือกเกียร
4 สายเปลี่ยนเกียร
(2/6)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

2. ประกอบสายไฟและขอตอ
ประกอบสายไฟและขอตอเขากับชุดเกียร
ขอควรระวัง:
ติดตั้งสายไฟและขอตอในตําแหนงที่ถูก
ตอง และอยาใชแรงดึงมากเกินไป
ขอแนะนํา:
จุดเชื่อมตอของสายไฟใหทาํ ปายเพื่อ
อางอิงในขณะที่ทาํ การถอด
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
54-57)

1 สวิตชไฟเกียรถอย
2 เซ็นเซอรตรวจจับความเร็ว
3 แคลมปรัดสายไฟ
4 สายดิน
(3/6)

3. ประกอบปมคลัตชตัวลาง
ประกอบปมคลัตชตัวลางในขณะที่กานดัน
คอยๆ ยุบตัว
ขอควรระวัง:
อยาทําใหทอน้าํ มันคลัตชเสียรูป
ขอแนะนํา:
การประกอบแคลมปล็อคทอใหปฏิบัติ
หลังจากประกอบปม คลัตชตวั ลางเสร็จ
แลว

1 ทอน้าํ มันคลัตช
2 ปมคลัตชตัวลาง
3 แคลมปรัดทอ
(4/6)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

4. ติดตั้งมอเตอรสตารท
(1)ติดตั้งมอเตอรสตารทเขาโบลทใน
ขณะทีใ่ ชมือชวยรองรับน้าํ หนักมอเตอร
และขันโบลทยึดใหแนน
ขอควรระวัง:
ตองแนใจวามอเตอรจะไมหลน
(2)ตอขั้วตอ B และขอตอของมอเตอร
สตารท
ขอแนะนําการบริการ:
ขอตอ
ขอควรระวัง:
ประกอบขั้ว B ของมอเตอรเขาตรงกับ
เกลียวและระวังอยาใหเกลียวเกิดความ
เสียหาย
ขอแนะนํา:
ขั้ว B ของมอเตอรสตารทจะมียาง
ครอบเพื่อปองกันการลัดวงจร
ตองมั่นใจวายางครอบนี้อยูในตําแหนง
ที่ครอบปดอยางดี

1 มอเตอรสตารท
2 ขอตอ
3 ขั้ว B
4 สายไฟมอเตอรสตารท
(5/6)

5. ประกอบกรองอากาศ
ประกอบทอกรองอากาศเขากับเรือนลิ้นเรง
ขอแนะนํา:
ทําความสะอาดกรองอากาศดวยปนลม
กอนทําการประกอบกรองอากาศ

1 หมอกรองอากาศ
2 เรือนลิ้นเรง

(6/6)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

ติดตั้งสวนประกอบภายในรถยนต
ติดตั้งเพลาแกนพวงมาลัย
ตองแนใจวาพวงมาลัยและกระปุก
พวงมาลัยอยูในตําแหนงตรงกลาง
แลวปรับขอตอแกนพวงมาลัยและกระปุก
เกียรที่ทาํ เครื่องหมายไวใหตรงกัน
ขันโบลทยึดใหแนน
ขอควรระวัง:
ถาขอตอแกนพวงมาลัยและกระปุก
เกียรไมตรงกัน, ที่ตาํ แหนงพวงมาลัย
อยูตรงกลาง จะทําใหไมสมดุลอาจทํา
ใหสายไฟระบบถุงลมนิรภัยขาดได

1 ขอตอแกนพวงมาลัย
2 กระปุกพวงมาลัย

(1/1)

ขอมูลอางอิง:
ติดตั้งคันเกียร
(รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง)
1. ติดตั้งคันเกียร
(รถยนตขับเคลื่อนลอหนา)
(1)ทาจาระบีตรงสวนปลายของคันเกียร
(2)จัดตําแหนงของคันเกียรใหถูกตอง
แลวประกอบเขากับเกียร
(3)ยึดคันเกียร
การยึดคันเกียรมี 3 แบบ
A ยึดดวยโบลท นัต และแผนกั้น

B ยึดดวยโบลท และแผนกั้น

C ยึดดวยคลิป

2. ประกอบคอนโซลกลาง

1 โบลท 2 ซีดคันเกียร
3 นัต 4 หัวเหล็กกลม
5 คลิป ทาจาระบี
(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

ติดตั้งฝากระโปรงหนา
1. ประกอบฝากระโปรงหนา ควรใชชาง
เทคนิค 3 คน
ขอควรระวัง:
กอนประกอบฝากระโปรงหนา,
คลุมผาที่ตวั ถังเพื่อปองกันกระจกหรือ
ตัวถังจากการขูดหรือขีด
ขอแนะนํา:
• ใชชางเทคนิคคนที่ 1 จับดานหนา
ฝากระโปรงและอีก 2 คนจับที่ดาน
ซายและขวาในขณะที่ขันโบลทยึดให
แนน
• การปรับตั้งสามารถทําไดงายโดยจัด
ใหรูของโบลทตัวยึดตรงกับเครื่อง
หมายของรูโบลทบนฝากระโปรงหนา
2. ตรวจเช็คชองวางระยะหางระหวาง
ฝากระโปรงหนาและตัวถังรถและ
ปรับตั้งตําแหนงการติดตั้งของ
ฝากระโปรงหนา
ขอแนะนํา:
ระยะหางระหวางฝากระโปรงและตัวถัง
รายละเอียดการถอดใหอา งอิงที่คูมือ
ซอมของรุนนั้นๆ

1 ผา
(1/1)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

ติดตั้งแบตเตอรี่
1. ติดตั้งแบตเตอรี่
ตรวจเช็คตําแหนงของขั้วแบตเตอรี่
ประกอบแบตเตอรี่ และสวมขอตอขั้ว
แบตเตอรี่อยางระมัดระวัง
ขอควรระวัง:
แบตเตอรี่จะบรรจุนา้ํ ยาอิเลคโตรไลท
(กรดเจือจาง) ดังนั้น อยาเขยา
แบตเตอรี่ใหนา้ํ ยาหก
ถามีนา้ํ ยาหกจะตองทําความสะอาดทัน
ทีดวยน้าํ
2. ใสขั้วสายแบตเตอรี่
ยึดขั้วตอแบตเตอรี่เขากับขั้วแบตเตอรี่ให
แนนดวยนัต
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
51-53)

1 สายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


2 สายขั้วบวก (+) แบตเตอรี่
3 แคลมปยึดแบตเตอรี่
4 แบตเตอรี่
(1/1)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

ตรวจเช็คกอนสตารทเครื่องยนต
1. ตรวจเช็คสภาพการติดตั้งชิ้นสวน
ตางๆ
ทําการตรวจเช็คดังตอไปนี้เพื่อใหแนใจวา
ชิ้นสวนทั้งหมดติดตั้งไดอยางเหมาะสมและ
ถูกตอง
• ตองแนใจวาขอตอทั้งหมดที่ถอดออก
ตอนประกอบกลับจะตองใหถูก
ตําแหนงเดิม
• ดึงขอตอแตละอันเบาๆ
เพื่อเช็ควาสายไฟจะไมหลุด
• ใชประแจตรวจเช็คการหลวมของ
โบลทและนัตเมื่อมีการคลาย
• ตองแนใจวาไมมีชิ้นสวนเหลือทิ้งไว
บนโตะทํางานหรือถาด

(1/4)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

2. ตรวจเช็คทอและทอยางตางๆ
ที่ติดตั้งอยู
ทําการตรวจเช็คดังตอไปนี้เพื่อใหแนใจวา
ชิ้นสวนทั้งหมดติดตั้งไดอยางเหมาะสมและ
ถูกตอง:
• ตองแนใจวาทอยางและทอโลหะทั้ง
หมดที่ถอดจะตองใสกลับไดอยางถูก
ตอง
• ตองแนใจวาแคลมปรด ั ทอติดตัง อยาง
ถูกตอง
• ใชประแจตรวจเช็คการคลายของ
โบลทและนัต
• ตองแนใจวาไมมีน้ํามันรั่วออกจากขอ
ตอทอยางหรือทอโลหะ

(2/4)

3. ตรวจเช็คการทํางานของปมคลัตช
ตัวลาง
การตรวจสอบการทํางานของแมปมคลัตช
จะตองใชชางเทคนิคในการตรวจสอบ 2
คนชางเทคนิคคนที่ 1 เหยียบคลัตชและ
คนที่ 2 ตรวจเช็คการทํางานของแม
ปมคลัตช
ขอควรระวัง:
ในกรณีบกพรอง ตรวจเช็คสภาพการ
ติดตั้งของแมปมคลัตชและทอทาง
น้าํ มัน และตรวจเช็คความบกพรอง
(3/4)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

4. ตรวจเช็คการเลื่อนเปลี่ยนเกียร
เหยียบคลัตชและเลื่อนคันเกียร ตองแนใจ
วาคันเกียรสามารถเลื่อนไดในแตละ
ตําแหนงเกียรไดอยางคลองตัว
ขอควรระวัง:
ในกรณีบกพรอง ตรวจเช็คสภาพการ
ติดตั้งสายเลือกและเลื่อนคันเกียร
5. ตรวจเช็คมุมลอ
เมื่อมีการถอดชุดระบบรองรับออกจากตัว
รถยนต ตองทําการตรวจเช็คศูนยลอ
ใหอางอิงที่คูมือซอม
(4/4)

ไลลมออกจากทอน้ํามันพวงมาลัย
เพาเวอร
ถามีการถอดทอน้าํ มันออกจากระบบ
จะตองไลลมตามขั้นตอนดังตอไปนี้
1. เติมน้าํ มันพวงมาลัยเพาเวอร
2. ยกรถยนตขึ้นจนกระทั่งลอลอยอยู
เหนือพื้น
3. ทําการหมุนพวงมาลัยไปซาย-ขวาจน
สุดหลายๆ ครั้ง ในขณะที่เติมน้าํ มัน
ไฮดรอลิคดวย โดยไมตองติด
เครื่องยนต และปฏิบัติจนกระทั่ง
ไมมฟี องอากาศในกระปุกเติมน้าํ มัน
ขอแนะนํา:
ถาการปฏิบัติดังขั้นตอนดานบนโดยทํา
การติดเครื่องยนต น้าํ มันไฮดรอลิคจะ
เกิดฟองและฟองอากาศจะไหลเขาไปใน
กระปุกเกียร ซึ่งจะทําใหการไลลม
ตองใชเวลานานจนกวาฟองอากาศจะ
หมด
(1/2)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

4. เติมน้าํ มันไฮดรอลิคที่กระปุกหลังจาก
สตารทเครื่องยนต ทําการหมุน
พวงมาลัยซาย-ขวาซ้าํ จนกระทั่งมี
อากาศออกจากกระปุกน้าํ มัน
5. เติมน้าํ มันอยูในคากําหนด

(2/2)

ตรวจเช็คหลังจากสตารทเครื่องยนต
1. ตรวจเช็คการทํางานของเครื่องยนต
สตารทเครือ่ งยนตและตรวจเช็คตามหัวขอ
ดานลาง:
• เสียงผิดปกติ
• น้ํามันรั่ว
• ไอเสียรั่วจากทอไอเสีย
• การสั่นสะเทือนในเครื่องยนต
และเกียร
ขอควรระวัง:
ถาเสียงดังยังคงเกิดขึ้นหลายๆ ครั้ง
หลังจากสตารทเครื่องยนต มันอาจมี
สาเหตุจากชุดเกียรประกอบไมถูกตอง
(1/2)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

2. ตรวจเช็คการทํางานของคลัตช
ดันคันเกียรไปยังตําแหนงถอยหลังและ
ตรวจเช็คดูวาไมมีเสียงดังของเฟองเกียร
เกิดขึ้น
• หลังจากหยุดรถยนต กดแปนคลัตช
และดันคันเกียรไปยังตําแหนงเกียรถ
อยหลัง ตองแนใจวามันสามารถ
เลื่อนคันเกียรไดอยางคลองตัวโดย
ไมมีเสียงดังของเฟองเกียร
ขอควรระวัง:
ถามีเสียงดังเกิดขึ้นและเกียรไมสามารถ
เขาได อาจเกิดจากคลัตชไมจาก
ขอแนะนํา:
เมือ่ ชุดซินโครเมชติดตัง้ ในเกียรถอย
หลัง เฟองเกียรจะไมมีเสียงดัง
ถึงแมวาคลัตชจากเพียงเล็กนอย
(2/2)

ตรวจเช็คขณะขับทดสอบ
ขับรถยนตและทําการตรวจเช็คดังนี้:
• ขณะขับขี่ใหเขาเกียรทีละตําแหนง
และดูใหแนใจวาไมมเี สียงการทํางาน
ผิดปกติ หรือเสียงเกียรดังผิดปกติ
• ตรวจหาเสียงผิดปกติจากเฟองทาย
เมื่อทําการเลี้ยว
• ตรวจหาความชวยเหลือ ความไม
ราบรื่น เสียงผิดปกติ และการสั่น
สะเทือนขณะวิ่งตรงไปขางหนาและ
ทําการเลี้ยว
ขอควรระวัง:
ถามีเสียงดังผิดปกติสาเหตุอาจเกิดจาก
การประกอบชุดสงกําลังไมถูกตอง
(1/1)

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

การตรวจเช็คหลังขับทดสอบ
1. หลังจากขับขี่ ตรวจเช็คปญหาของ
การประกอบรถยนตและชุดสงกําลัง
โดยปฏิบัติดังขั้นตอนดังตอไปนี้
• ตรวจดูสภาพการตอขั้วตอตางๆ

• ตรวจดูสภาพการติดตั้งทอ

• ตรวจดูการรั่วของน้ํามันเครื่องที
ละสวน
• ตรวจดูระดับนำมันพวงมาลัยเพาเวอร

2. หลังจากตรวจเช็คทุกหัวขอดานบน
ปรับตั้งขอมูลของรถยนตที่บันทึกไว
กอนที่จะทําการถอดขั้วลบแบตเตอรี:่
• ชองสถานีวิทยุที่เลือกไว

• การตั้งนาฬิกา

• ปรับตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
• ปรับตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา) อื่นๆ
(1/1)

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายถูกหรือผิดในคําถามตอไปนี้:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
หลังจากขันทอน้าํ มันและทอน้าํ มันไหลกลับของพวงมาลัยเพาเวอรดวย
1 ถูก ผิด
มือชั่วคราว แลวใชเครื่องมือพิเศษขันทอใหแนน
เมือ่ ประกอบเกียรธรรมดาเขากับเครื่องยนต ถาเพลารับกําลังของ
2 เกียรเขากับแผนคลัตชไมคลองตัว ดันเกียรในขณะที่เขยาเกียรดวย ถูก ผิด
อยางแรง
นัตล็อคเพลาขับเปนชิ้นสวนที่ไมนาํ กลับมาใชใหม
3 ถูก ผิด
ดังนั้นจะตองเปลี่ยนนัตล็อคเพลาขับใหม
นัตล็อคเพลาขับเปนชิ้นสวนที่ไมนาํ กลับมาใชใหม ดังนั้นจะตอง
4 ถูก ผิด
เปลี่ยนนัตล็อคเพลาขับใหม

คําถาม-2
จงเลือกเครื่องมือที่ใชสาํ หรับพับนัตล็อคเพลาขับ
1. ไขควงปากแบน
2. เครื่องมือพิเศษและคอน
3. สกัดและคอน
4. สกัดและคอน

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร การติดตั้งเกียรเขากับรถยนต
คําถาม-3
ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับประกอบชุดแกนพวงมาลัยไดถูกตองที่สุด?
ก: ตําแหนงของแกนพวงมาลัยและขอตอแกนพวงมาลัยไมตรงกันจะทําใหตาํ แหนงของพวงมาลัยไมตรง
ข: ตําแหนงของแกนพวงมาลัยและขอตอแกนพวงมาลัยไมตรงกัน จะทําใหสายไฟขดของระบบถุงลมนิรภัย
ขาด
1. ขอ ก ถูก
2. ขอ ข ถูก
3. ถูกทั้ง 2 ขอ
4. ผิดทั้ง 2 ขอ

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอรจงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียด ครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

- 1 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

คําถาม-1 ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการถอดชุดเกียรไดอยางถูกตอง?

ก. ตองแนใจวาความตึงโซยกเครื่องยนตดานซาย-ขวาเทากัน กอนทําการถอดเกียรออกจากเครื่องยนต
ข. เมื่อถอดเกียรออกจากเครื่องยนต เขยาเกียรอยางแรงใหเกียรหลุดออกจากเครื่องยนต
ค. เมื่อใชแมแรงยกเกียร เลือ่ นแผนยึดเกียรของแมแรงยกเกียรเพื่อใหมนั สามารถถอดออกจากเครือ่ งยนตไดงาย
แลวปรับแมแรงเพื่อที่จะทําใหเกียรสามารถแกวงไปมาบนแมแรงยกเกียรได
ง. ชุดเกียรจะสวมกับเครือ่ งยนตโดยผานเพลารับกําลังและสลักมือ
สอดไขควงแบนเขาไประหวางเกียรและเครือ่ งยนต เพราะวามันจะถอดยาก แลวถอดเกียรออกอยางระมัดระวัง

คําถาม-2 ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการถอดกรองอากาศไดอยางถูกตอง?

ก. หลังจากถอดไสกรองอากาศ ปดทอทางอากาศดวยผาหรือเทปพันสายไฟ เพื่อปองกันสิ่งแปลกปลอมเขาไปใน


ทอทางอากาศ
ข. หลังจากถอดไสกรองอากาศ ปดเสื้อกรองอากาศดวยผาหรือเทปพันสายไฟเพื่อ
ปองกันสิ่งแปลกปลอมเขาไปในเสื้อกรองอากาศ
ค. หลังจากถอดไสกรองอากาศ ปดกรองอากาศดวยผาหรือเทปพันสายไฟเพื่อ
ปองกันสิ่งแปลกปลอมเขาไปในไสกรองอากาศ
ง. หลังจากถอดไสกรองอากาศ ลางไสกรองอากาศและทําความสะอาดไสกรองอากาศ

- 2 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

คําถาม-3 ขอใดตอไปนี้เปนรูปภาพที่แสดงการใชเครื่องมือพิเศษจับเพลาขับ เพื่อทําการถอดเพลาขับของ


รถยนตโคโรลลา NZE 12# ป 2000 ไดถูกตอง?

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-4 ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการถอดและประกอบดุมเกียรไดอยางถูกตอง?

ก. ดุมเกียรและตัวหนอนจะมีทิศทางการติดตัง้ ดังนั้นตองมีการตรวจเช็คกอนทําการถอด
ข. เมื่อประกอบแหวนสปริงตัวหนอนเขากับปลอกเลื่อน ปลายทั้งสองของแหวนสปริงตัวหนอนจะตองตรงกัน
ค. เมื่อประกอบ ทาน้าํ มันเครื่องที่ชิ้นสวนที่เลื่อนไดของดุมเกียร, ตัวหนอนและปลอกเลื่อน
ง. อยาถอดแหวนสปริงตัวหนอนเพราะวามันไมสามารถประกอบกลับคืนไดเมื่อมีการถอด

- 3 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

คําถาม-5 จากรูปภาพเปนการแสดงวิธีการตรวจสอบดุมเกียร และปลอกเลื่อน จงเลือกขอความที่อธิบาย


ไดอยางถูกตอง

ก. หลังจากประกอบดุมเกียรและปลอกเลื่อน ตองแนใจวาจับดุมเกียรไว และไมสามารถเลื่อนไดในแนวแกน


ข. หลังจากประกอบดุมเกียรและปลอกเลื่อน มันจะตองสามารถเลือ่ นไปมาในแนวแกนไดอยางคลองตัว
ค. หลังจากประกอบดุมเกียรและปลอกเลื่อน ตองแนใจวาดุมเกียรหมุนไดในทิศทางเดียว และไมสามารถ
หมุนในทิศทางอื่นๆ ได
ง. หลังจากประกอบดุมเกียรและปลอกเลือ่ น จับดุมเกียรไว ปลอกเลื่อนจะตองสามารถหมุนตามเข็มและทวน
เข็มนาฬิกาได

คําถาม-6 จากรูปภาพเปนการแสดงการตรวจสอบเฟองทองเหลือง โดยการใชมือกดเฟองทองเหลืองเขากับกรวย


เฟองเกียร และจงเลือกหัวขอที่อธิบายเกี่ยวกับการทํางานของเฟองทองเหลืองเมือ่ ใชแรงกดเฟองทองเหลือง
และทิศทางการหมุนไดอยางถูกตอง

ก. เฟองทองเหลืองหมุนอยางคลองตัว
ข. เฟองทองเหลืองหมุนไดทิศทางเดียวและไมสามารถหมุนในทิศทางอื่นได
ค. เฟองทองเหลืองไมสามารถหมุนได
ง. เฟองทองเหลืองหมุนไดแค 360° (1 รอบ)และไมสามารถหมุนตอไปได

- 4 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

คําถาม-7 ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการถอดเฟองบายศรีไดอยางถูกตอง?

A: กอนทําการถอด ทําเครื่องหมายเพื่อที่จะทําใหการประกอบกลับในตําแหนงและทิศทางของเฟองทายไดโดยไมเปลี่ยนแปลง
B: เมือ่ คลายโบลทยึดเฟองบายศรี ใหทาํ การคลายโบลทในทิศทางทแยงมุม
ก. ขอ ก ถูก
ข. ขอ ข ถูก
ค. ถูกทั้ง 2 ขอ
ง. ผิดทั้ง 2 ขอ

คําถาม-8 จากรูปแสดงถึงการตรวจสอบอะไร?

ก. การวัดระยะรุน
ข. การวัดระยะรุนในแนวรัศมี
ค. การวัดระยะแบ็คแลช
ง. การตรวจสอบการเลือ่ นของเฟองขาง

- 5 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

คําถาม-9 จากรูปภาพเปนการแสดงการติดตั้งนัตล็อคเพลาสงกําลัง จงเลือกขอความที่อธิบายไดถูกตองที่สุด

ก. นัตล็อคเพลาสงกําลัง สามารถนํากลับมาใชใหมได
ข. เมื่อประกอบนัตล็อค ใหทาํ การยึดเพลาสงกําลังโดยการเขาเกียรซอนเพื่อปองกันเพลาสงกําลังไมใหหมุน
ค. เมื่อขันนัตล็อคเพลาสงกําลัง ถาขันแนนเกินไปจะทําใหเพลาสงกําลังสึกหรอจากการหมุน ดังนั้นจะตองขันนัต
ใหตา่ํ กวาคาแรงขันมาตรฐาน
ง. หลังจากขันนัตล็อคเรียบรอย ยังคงใหเกียรเขาซอนอยู

คําถาม-10 ขอใดตอไปนี้อธิบายถึงการตรวจสอบในรูปที่แสดง?

ก. การวัดระยะแบ็คแลช
ข. การตรวจวัดความตึงลูกปน (พรีโหลด)
ค. การตรวจวัดระยะชองวาง
ง. การตรวจวัดความบิดเบี้ยว

คําถาม-11 เมื่อถอดหัวเลือกเกียรของเกียร C51 จงเลือกตําแหนงของเกียรในขณะที่ถอดชุดหัวเลือกเกียร

ก. ตําแหนงเกียร 1
ข. ตําแหนงเกียร 3
ค. ตําแหนงเกียรวาง
ง. ตําแหนงเกียรถอยหลัง

- 6 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

คําถาม-12 ขอใดเหมาะสมที่สุดในเรื่องวิธีการตรวจสอบเฟองเกียร?

A: เมื่อเสนผาศูนยกลางภายในสึกหรอ ระยะรุนในแนวรัศมีจะมากขึ้น ทําใหเกียรเขายากและมีเสียงดังจากการเขาเกียร


B: เมือ่ ทําการวัดตรวจวัดหนาสัมผัสภายใน จะตองทําการตรวจวัดหลายๆ ตําแหนง
ก. ขอ ก ถูก
ข. ขอ ข ถูก
ค. ถูกทั้ง 2 ขอ
ง. ผิดทั้ง 2 ขอ

คําถาม-13 เลือกขอความที่ถูกตองเกี่ยวกับขั้นตอนการติดตั้งเฟองบายศรีบนเรือนเฟองทายไดโดยงาย

ก. ทําการแชเฟองบายศรีดวยอุณหภูมิ 20 ถึง 0 องศาเซลเซียสกอนทําการติดตั้ง


ข. ติดตั้งในหองปฏิบัติการที่มอี ุณหภูมิ 20 ถึง 40 องศาเซลเซียส
ค. ทําการอุนเฟองบายศรีที่อุณหภูมิ 90 ถึง 100 องศาเซลเซียสกอนทําการติดตั้ง
ง. ทําการอุนเฟองบายศรีที่อุณหภูมิ 140 ถึง 160 องศาเซลเซียสกอนทําการติดตั้ง

- 7 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญเกียร แบบทดสอบ

คําถาม-14 ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการประกอบปลั๊กอุดสลักกลไกปองกันการเขาเกียรถอยหลังผิดพลาดของเกียร
ธรรมดารุน C51 ไดถูกตอง?

ก. ทาน้าํ มันเกียร
ข. ทาน้าํ ยาทาเกลียวโบลทกันคลาย
ค. ทาจาระบี
ง. ทาสีรองพื้น

คําถาม-15 ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการประกอบเสื้อเกียรของเกียรธรรมดา?

ก. ทาน้าํ มันเครือ่ ง
ข. ทาปะเก็นเหลว
ค. ทาจาระบีเอนกประสงค
ง. ทาสีรองพื้น

- 8 -
ชางเทคนิคระดับสูง- แผงคอนโซลหนาปด รายละเอียดทั่วไป

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในคูมอื นี้จะไดอธิบายถึงขั้นตอนในการ-
ถอดแยกขายึดและคลิปล็อค ในขณะที่ทาํ
การถอดแยก ติดตั้ง หรือตรวจเช็คแผง
คอนโซลหนาปด
ทําการเรียนรูถึงตําแหนงของปลัก๊ ตอและ
กลอง ECU หรือจุดตอเชื่อมของชุดสายไฟ
ตางๆ ในแผงคอนโซลหนาปด รวมถึง
วิธีการถอดและการติดตั้งเขากับชิ้นสวน
ในขณะเดียวกัน การใชเครื่องมือวัด
ทางไฟฟาและ EWD จะชวยทําใหการตรวจ
เช็คปลั๊กตอและชุดสายไฟตางๆ
ทําไดงายยิ่งขึ้น
1. การถอด
ถอดชิ้นสวนของแผงคอนโซลหนาปด
2. การตรวจสอบ
ตรวจเช็คปลั๊กตอและชุดสายไฟ และตรวจ
เช็คคาแรงดันไฟฟาของอุปกรณตางๆ
3. การติดตั้ง
ประกอบชิ้นสวนของแผงคอนโซลหนาปด
*EWD: แผนผังวงจรไฟฟา

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
การถอด สวนประกอบ
1. ถอดขั้วลบแบตเตอรี่ (-)

2. ถอดพวงมาลัย

3. ถอดมาตรวัดรวม

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
4. ถอดกลองเก็บของดานผูโดยสาร

5. ถอดเครื่องเลนวิทยุ-เทป

6. ถอดแผงครอบบันไดหนาและ
ฝาครอบชุดสายไฟดานลาง

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
ถอดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
1. ถอดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
กอนทําการถอดสายไฟขั้วลบออกจาก
แบตเตอรี่ ควรทําการจดบันทึกขอมูลซึง่
เก็บอยูภายในของ ECU และอื่นๆ เชน
• DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)

• สถานีวิทยุที่ตั้งไว

• ตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา51-53)

1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

(1/1)

การถอดพวงมาลัย
แปนพวงมาลัยไดบรรจุถุงลมนิรภัยแบบ
SRS
ตองมีความแนใจในการปฏิบัติงานสําหรับ
เรื่องของถุงลมนิรภัยอยางถูกตอง
ถาไมเชนนั้นอาจจะมีการระเบิดและเปน
สาเหตุใหเกิดการบาดเจ็บหรือตายได
ขอแนะนําการบริการ:
ถุงลมนิรภัย SRS
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา63-66)
1. ถอดแปนกดแตร
(1)ปรับพวงมาลัยในตําแหนงตรง

1 พวงมาลัย

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
(2)คลายสกรูหัวจีบ
และดึงแปนกดแตรออก

1 สกรูยึด

(3)ถอดปลัก๊ ตอ และถอดแปนกดแตร


ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)

(1/2)

2. การถอดพวงมาลัย
(1)ถอดนัตปรับตั้งพวงมาลัย

1 นัตปรับตั้ง

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
(2)ทําตําแหนงเครื่องหมายบนพวงมาลัย
และแกนพวงมาลัย
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา41-45)
ขอแนะนํา:
การทําตําแหนงเครือ่ งหมายจะทําให
สามารถตั้งพวงมาลัยใหอยูทิศทางลอ
ตรง เมื่อทําการติดตั้ง
คําเตือน:
ที่ตัวสายเคเบิลถุงลมนิรภัยจะมี
ตําแหนงมารคเพื่อปองกันการเคลือ่ นที่
ถามารคอยูไมตรงตําแหนง สายไฟอาจ
เกิดการขาดขณะทําการเลี้ยวพวงมาลัย

(3)ใชเครือ่ งมือพิเศษทําการถอด
พวงมาลัยออก
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา21-28)

1 เครื่องมือพิเศษ (ดูดพูลเลย)

(2/2)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
การถอดมาตรวัดรวม
1. ถอดแผงครอบมาตรวัดรวม
(1)ถอด คลิป
(2)ปลดขายึด
และถอดแผงครอบมาตรวัดรวม
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 คลิป
2 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ A)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ B)

2. ถอดมาตรวัดรวม
(1)กดปลายของคลิปทั้ง 2 จุด
(2)ดึงมาตรวัดรวมขึ้นเพื่อถอดออก

1 ดานมาตรวัดรวม
2 ดานแผงคอนโซลหนาปด
3 ปลายขาคลิป

(3)ถอดปลัก๊ ตอ และถอดมาตรวัดรวม

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
(1/1)

ถอดกลองเก็บของดานผูโดยสาร
1. ถอดกลองเก็บของดานผูโดยสาร
(1)ถอดสกรู

1 สกรูยึด

(2)บิดกลองเก็บของเบาๆ
ทําการถอดตัวกั้นที่ดานบน
และถอดกลองเก็บของดานหนา

1 ตัวกั้น

(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
การถอดเครื่องเลนวิทยุ-เทป
1. ถอดแผงปดหนาปดกลาง
(1)ปลดขายึด
(2)ถอดแผงปดหนาปดกลางโดยดึงเขา
หาตัว
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 ขายึด (แบบ A)
2 ขายึด (แบบ B)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ A)
4 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ B)

2. ถอดชุดเครื่องเลนวิทยุ-เทป
(1)ถอดสกรู และปลดปลัก๊ ตอ
(2)ถอดเครื่องเลนวิทยุ-เทป
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)

1 สกรูยึด
2 ปลั๊กตอ

(1/1)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - คอนโซลแผงหนาปด การถอด
การถอดแผงครอบบันไดหนาและ
ฝา ครอบชุดสายไฟดานลาง
ปลดคลิป และถอดชิ้นสวนตอไปนี้
1. แผงครอบบันไดหนา

1 ตําแหนงของการติดตั้งคลิป
2 คลิป

2. ฝาครอบชุดสายไฟดานลาง
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)
ขอแนะนํา:
ถอดคลิปโดยการหมุนออกเชนเดียวกับ
การถอดนัต

1 ตําแหนงของการติดตั้งคลิป

(1/1)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
การตรวจสอบ สวนประกอบ
1. ตรวจเช็คตําแหนงติดตั้งของอุปกรณ
ไฟฟา
2. ตรวจสอบปลัก๊ ตอมาตรวัดรวม
3. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของปลั๊กตอที่
มาตรวัดรวม
4. ตรวจสอบปลัก๊ ตอของเครื่องเลนวิทยุ-
เทป
5. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของเครื่องเลน
วิทยุ-เทป

(1/1)

การตรวจเช็คตําแหนงติดตั้งของอุปกรณ
ไฟฟา
ดู "ตําแหนงรีเลย" ใน EWD
เพื่อยืนยันตําแหนงติดตั้งของอุปกรณไฟฟา
ในชุดแผงคอนโซลหนาปด

1 จังชั่นบล็อคในแผงคอนโซลหนาปด
(จุดตอรวม)
2 กลองรีเลยหมายเลข 3
3 ECU เครื่องยนตและเกียร
(เกียรอัตโนมัติ) หรือ ECU
เครื่องยนต (เกียรธรรมดา)
4 EMPS ECU
(รถยนตที่ใชระบบบังคับเลี้ยวดวย
มอเตอรไฟฟา)

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
การตรวจสอบปลั๊กตอมาตรวัดรวม
1. การเดินระบบสายไฟ
ดู "Electrical Wiring Routing" ใน EWD
เพื่อยืนยันตําแหนงของปลั๊กตอมาตรวัด
รวม “C7”
ขอแนะนํา:
• EWD: แผนผังวงจรไฟฟา
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ปลั๊กตอทีอ่ ยูใน “CONNECTOR LIST”
ใน EWD แสดงถึงปลั๊กตอดานสายไฟ
• ดูวิธีอาน EWD จากหัวขอ “HOW TO
USE THIS MANUAL”

2. แบบของปลั๊กตอ
ดู “CONNECTOR LIST” ใน EWD
เพื่อยืนยันชนิดของปลัก๊ ตอ และหมายเลข
พินของปลัก๊ ตอของมาตรวัดรวม
ขอแนะนํา:
• EWD: แผนผังวงจรไฟฟา
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ปลั๊กตอทีอ่ ยูใน “CONNECTOR LIST”
ใน EWD แสดงถึงปลั๊กตอดานสายไฟ
• ดูวิธีอาน EWD จากหัวขอ “HOW TO
USE THIS MANUAL”

3. วงจรของระบบ
ดู “SYSTEM CIRCUIT” ใน EWD เพื่อ
ยืนยันสีของสายไฟปลั๊กตอมาตรวัดรวม
ขอแนะนํา:
• EWD: แผนผังวงจรไฟฟา
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ปลั๊กตอทีอ่ ยูใน “CONNECTOR LIST”
ใน EWD แสดงถึงปลั๊กตอดานสายไฟ
• ดูวิธีอาน EWD จากหัวขอ “HOW TO
USE THIS MANUAL”

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
การตรวจสอบแรงดันไฟฟาของปลั๊กตอ
ที่มาตรวัดรวม
1. การเตรียมการกอนการตรวจสอบ
ตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

1 ขั้วลบ (-)

การตรวจสอบ
ตรวจสอบ และลบรหัสวิเคราะหปญหา
(DTC)
ในระบบที่มีฟงกชั่นการตรวจสอบตัวเอง
เชนระบบถุงลมนิรภัย SRS รหัสวิเคราะห
ปญหา (DTC) จะถูกเก็บไวในชุดเซ็นเซอร
ถุงลมนิรภัย เมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น
เมื่อปลั๊กตอหรือชิ้นสวนอื่นถูกถอดออกจะ
ทําใหเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยตรวจจับรหัส
วิเคราะหปญหาไดในกรณีนี้จาํ เปนตองลบ
DTC ที่จับไดหลังจากแกปญหาแลวขั้นตอน
การลบ DTC ก็ตางกันไปตามแตละระบบ
ดังนั้นควรทําตามคูมอื การซอมแตละรุน

1 ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
2 ขั้วลบ (-)

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
2. ตรวจสอบวงจรแหลงจายไฟของ
สวิตชจุดระเบิด
(1)ตั้งเครื่องมือวัดทางไฟฟาใหอยูในยาน
ทําการวัดแรงดันไฟฟา
(2) บิดสวิตชกุญแจไปที่ตาํ แหนง ON
แลววัดการเปลีย่ นแปลงแรงดันไฟฟา
ระหวางปลั๊กตอมาตรวัดรวมที่ ขั้ว A
และ ขั้ว B

ขอแนะนํา:
บิดสวิตชกุญแจไปที่ตาํ แหนง ON
จะมีแรงดันไฟฟาจากแบตเตอรี่ผาน
สวิตชกุญแจไปยังมาตรวัดรวม
ดวยเหตุนี้มาตรวัดรวมจึงทํางาน
ดูตาํ แหนงการตรวจสอบใน “SYSTEM
CIRCUITS” ใน EWD

1 ขั้ว A (+)
2 ขั้ว B (-)

(1/2)

3. ตรวจสอบวงจรไฟเรืองแสง
(1)ตั้งเครื่องมือวัดทาง
ไฟฟาใหอยูในยานทํา
การวัดแรงดันไฟฟา
(2)เมื่อบิดสวิตชไฟหนาไปที่ตาํ แหนง
ไฟหรีแ่ ลววัดการเปลี่ยนแปลงแรงดัน
ไฟฟาระหวางปลั๊กตอมาตรวัดรวมที่ขั้ว
C และขั้ว B บนดานรถยนต

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
บิดสวิตชไฟหนาไปที่ตาํ แหนงไฟหรี่จะมี
แรงดันไฟฟาจากแบตเตอรี่มาที่มาตร
วัดรวม (ขั้ว C) โดยผานสวิตชไฟหนา
ดวยเหตุนี้ ไฟเรืองแสงบนมาตรวัดรวม
จึงติดขึ้น
ดูพื้นที่ตรวจสอบใน “SYSTEM CIR-
CUITS” ใน EWD

1 ขั้ว C (+)
2 ขั้ว B (-)

(2/2)

การตรวจสอบปลั๊กตอของเครื่องเลน
วิทยุ-เทป
1. การเดินระบบสายไฟ
ดู "ELECTRICAL WIRING ROUTING" ใน
EWD เพื่อยืนยันตําแหนงของปลั๊กตอ
ชุดรับสัญญาณวิทยุ "R3"
ขอแนะนํา:
• EWD: แผนผังวงจรไฟฟา
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ตรวจเช็ค และตรวจสอบขั้วตอของ
ชุดสายไฟบนรถ
• ดูวิธีอา
 น EWD จากหัวขอ “HOW TO
USE THIS MANUAL”

2. แบบของปลั๊กตอ
ดู “CONNECTOR LIST” ใน EWD
เพื่อยืนยันรูปราง และหมายเลขพินของ
ปลั๊กตอของชุดรับสัญญาณวิทยุ
ขอแนะนํา:
• EWD: แผนผังวงจรไฟฟา
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ตรวจเช็ค และตรวจสอบขั้วตอของ
ชุดสายไฟบน
• ดูวิธีอาน EWD จากหัวขอ “HOW TO
USE THIS MANUAL”

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
3. วงจรของระบบ
ดู "SYSTEM CIRCUIT" ใน EWD เพื่อยืนยัน
สีของสายไฟปลั๊กตอชุดรับสัญญาณวิทยุ
ขอแนะนํา:
• EWD: แผนผังวงจรไฟฟา
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ตรวจเช็ค และตรวจสอบขั้วตอของ
ชุดสายไฟบนร
• ดูวิธีอาน EWD จากหัวขอ “HOW TO
USE THIS MANUAL”

1 ปลั๊กตอ

(1/1)

การตรวจสอบแรงดันไฟฟาของเครื่อง
เลนวิทยุ-เทป
1. การเตรียมการกอนการตรวจสอบ
ตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

1 ขั้วลบ (-)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
ขอมูลอางอิง:
ตรวจสอบ และลบรหัสวิเคราะหปญหา
(DTC)
ในระบบที่มีฟงกชั่นการตรวจสอบตัวเอง
เชนระบบถุงลมนิรภัย SRS รหัสวิเคราะห
ปญหา (DTC) จะถูกเก็บไวในชุดเซ็นเซอร
ถุงลมนิรภัย เมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น
เมื่อปลั๊กตอหรือชิ้นสวนอื่นถูกถอดออกจะ
ทําใหเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยตรวจจับรหัส
วิเคราะหปญหาไดในกรณีนี้จาํ เปนตองลบ
DTC ที่จับไดหลังจากแกปญหาแลวขั้นตอน
การลบ DTC ก็ตางกันไปตามแตละระบบ
ดังนั้นควรทําตามคูมอื การซอมแตละรุน

1 ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
2 ขั้วลบ (-)

(1/1)

2. ตรวจสอบวงจรแหลงจายไฟ +B
(1)ตั้งเครื่องมือวัดทางไฟฟาใหอยูในยาน
ทําการวัดแรงดันไฟฟา
(2)เมื่อสวิตชกุญแจอยูที่ตาํ แหนง LOCK
วัดการเปลี่ยนแปลงคาแรงดันไฟฟา
ระหวางปลั๊กตอของชุดรับสัญญาณวิทยุ
ที่ ขั้ว E และ F

1 ขั้ว E (+)
2 ขั้ว F (-)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
ÁÕ¤Ò‡ áç´Ñ¹ä¿¿éÒÍÂÙº‡ ҧʇǹ·Õ¨è Ò‡ ÂãË顺Ñ
ªØ´ÃѺÊÑ−−Ò³ÇÔ·ÂØÍÂÙ¤è §·Õµè ÅÍ´àÇÅÒäÁ‡
ÇèÒÊÇÔµªì¡− Ø á¨¨ÐÍÂÙ·è µèÕ Óá˹è§ã´
à¾×Íè äÁ‡ãˈªÍ‡ §Ê¶Ò¹ÕÇ·Ô ÂØ·¶èÕ ¡Ù ºÑ¹·Ö¡äLj¹¹Ñé
ËÒÂä»
ดูตาํ แหนงที่จะตรวจสอบใน “SYSTEM
CIRCUITS” ใน EWD

1 ขั้ว E (+)
2 ขั้ว F (-)

(1/2)

3. ตรวจสอบวงจรไฟเรืองแสง
(1)ตั้งเครื่องมือวัดทางไฟฟาใหอยูในยาน
ทําการวัดแรงดันไฟฟา
(2)àÁ×Íè ºÔ´ÊÇÔµªìä¿Ë¹ˆÒä»·Õµè Óá˹‡§ä¿ËÃÕè
áÅéÇÇÑ´¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¤‡Òáç´Ñ¹ä¿¿éÒ
ÃÐËLJҧปลัก๊ µ‡Í¢Í§ÁÒµÃÇÑ´ÃÇÁ·Õ¢è ÑéÇ G
áÅТÑéÇ F
(3)ปลดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

1 ขั้ว G (+)
2 ขั้ว F (-)

ขอแนะนํา:
ºÔ´ÊÇÔµªìä¿Ë¹ˆÒä»·Õµè Óá˹‡§ä¿ËÃÕ¨è ÐÁÕ
áç´Ñ¹ä¿¿éҨҡẵàµÍÃÕÁè Ò·ÕÁè ÒµÃÇÑ´
ÃÇÁ (¢ÑéÇ G) â´Â¼‡Ò¹ÊÇÔµª‹ä¿Ë¹ˆÒ
´ˆÇÂà˵¹Õäé ¿àÃ×ͧáʧ¢Í§ªØ´ÃѺ
ÊÑ−−Ò³ÇÔ·Âب§Ö µÔ´¢Ö¹é
ดูพื้นที่ตรวจสอบใน “SYSTEM CIR-
CUITS” ใน EWD

1 ขั้ว G (+)
2 ขั้ว F (-)

(2/2)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
การติดตั้ง สวนประกอบ
1. ติดตั้งฝาครอบชุดสายไฟดานลางและ
แผงครอบบันไดหนา

2. ติดตั้งชุดเครื่องเลนวิทยุ-เทป

3. ติดตั้งกลองเก็บของดานผูโดยสาร

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
4. ติดตั้งมาตรวัดรวม

5. ติดตั้งพวงมาลัย

6. ตอสายขั้วลบแบตเตอรี่ (-)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
7. ตรวจสอบขั้นสุดทาย

(1/1)

ติดตั้งฝาครอบชุดสายไฟดานลางและ
แผงครอบบันไดหนา
ตรวจเช็คคลิปที่ใชประกอบสามารถนํามา
ใชอีกครั้งได นําชิ้นสวนที่จะนํามาประกอบ
ติดตัง้ ในตําแหนงดังรูป และใชมือกดลงไป
ใหคลิปยึดติดกับชิ้นสวน
1. ฝาครอบชุดสายไฟดานลาง

1 ตําแหนงของการติดตั้งคลิป

2. แผงครอบบันไดหนา
ขอแนะนําการบริการ
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 ตําแหนงของการติดตั้งคลิป
2 คลิป

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
ติดตั้งชุดเครื่องเลนวิทยุ-เทป
1. ติดตั้งเครื่องรับวิทยุ
(1)ตอปลั๊กตอทีต่ ัวเครื่องรับวิทยุ
(2)ติดตั้งเครื่องรับวิทยุดวยสกรู

1 สกรูยึด
2 ปลั๊กตอ

2. ติดตั้งแผงปดหนาปดกลาง
(1)จัดขายึดใหตรงกับตําแหนงติดตั้ง
(2)ติดตั้งแผงปดหนาปดกลาง
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 ขายึด (แบบ A)
2 ขายึด (แบบ B)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ A)
4 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ B)

(1/1)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
ติดตั้งกลองเก็บของดานผูโดยสาร
1. ติดตั้งกลองเก็บของดานผูโดยสาร
(1)บิดกลองที่เก็บของเบาๆ
เพื่อจะใสตัวกั้นในบริเวณรองของแผง
คอนโซลหนาเพื่อติดตั้งกลองเก็บของ
ดานผูโดยสาร
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 ตัวกั้น

(2)ติดตั้งสกรูยึด

1 สกรูยึด

(1/1)

ติดตั้งมาตรวัดรวม
1. ติดตั้งมาตรวัดรวม
(1)ตอปลั๊กตอดานหลังของมาตรวัดรวม
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
(2)ยึดคลิป 2
ตัวกับขายึดและทําการขันสกรู

1 ดานมาตรวัดรวม
2 ดานแผงคอนโซลหนาปด
3 ปลายขาคลิป

2. ติดตั้งแผงครอบมาตรวัดรวม
(1)นําแผงครอบมาตรวัดรวมมาไวที่
ตํา-แหนงติดตั้ง และใชมือกดเพื่อให
ลงตําแหนงขายึด
(2)ติดตั้งคลิป
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 คลิป
2 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ A)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ B)

(1/1)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
ติดตั้งพวงมาลัย
1. การติดตั้งพวงมาลัย
(1)จัดตําแหนงมารคที่พวงมาลัยและที่
แกนพวงมาลัยใหตรงกัน
ทําการติดตั้งพวงมาลัย
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา41-45)

ขอควรระวัง:
• การติดตั้งพวงมาลัยตองอยูใน
ตําแหนงตรงกลาง มิฉะนั้นอาจเกิด
ปญหาขณะทําการขับขี่
• ที่ตัวสายเคเบิลถุงลมนิรภัยจะมี
ตําแหนงมารคศูนยกลาง
เมื่อตําแหนงมารคเกิดเคลื่อนที่
ตองแนใจวาตัวสายเคเบิลจะตองอยูใน
ตําแหนงตรงศูนยกลาง

1 พวงมาลัย

ขอมูลอางอิง:
การทําใหสายเคเบิลถุงลมนิรภัยอยู
ตําแหนงตรงศูนยกลาง
1. หมุนสายเคเบิลทวนเข็มนาฬิกาจน
กระทั่งล็อค
ขอแนะนํา:
สายเคเบิลจะหมุนไดมากทีส่ ุด 5 รอบ

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
2. หมุนสายเคเบิลตามเข็มนาฬิกาจาก
ตําแหนงล็อคไป 2.5 รอบ
และจัดตําแหนงเครือ่ งหมายกึ่งกลางให
ตรงกันดังแสดงในรูป

(1/1)

(2)ยึดพวงมาลัยโดยมือ
และทําการขันนัตปรับตั้ง

1 นัตปรับตั้ง

(1/2)

2. ติดตั้งแปนแตร
(1)ตอปลั๊กตอถุงลมนิรภัย

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
(2)ติดตั้งแปนแตรและขันสกรูหัวจีบ
ขอแนะนําการบริการ:
ถุงลมนิรภัย SRS
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา63-66)

1 สกรูยึด
2 แปนแตร

(2/2)

ตอสายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


1. ตอสายขั้วลบ (-) แบตเตอ
(1)ตอสายขั้วแบตเตอรี่กับสายแบตเตอรี่
โดยตรงไมเปนอันตรายกับขั้วแบตเตอรี่
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา51-53)
(2)เซ็ทขอมูลของรถยนตทจี ดบันทึกไวกลับ
หลังจากตรวจเช็คตามขั้นตอนเสร็จแลว
• สถานีวิทยุที่เลือกไว

• การตั้งนาฬิก

• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
• ปรับตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ

1 ขั้วลบ (-)

(1/1)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด การติดตั้ง
ตรวจสอบขั้นสุดทาย
ตรวจเช็คความผิดพลาดในการติดตั้ง
อุปกรณอิเล็คทรอนิคส และเช็คการทํางาน
ของมาตรวัดรวม และเครื่องรับวิทยุวา
ทํางานอยางถูกตองหรือไม
1. ตรวจสอบขั้นสุดทาย
(1)ไฟสองสวางของแตละมาตรวัดติด
สวางขึ้นหรือไม เมือ่ บิดสวิตชจุดระเบิด
ไปที่ตาํ แหนง ON

(2)มาตรวัดทํางานอยางถูกตองหรือไม

(3)เสียงวิทยุดังขึ้นหรือไมเมื่อเปดสวิตช
อื่นๆ

1 สวิตชเปด-ปดวิทยุ

(1/1)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอร จงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด แบบทดสอบ

Q-1 ขอใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับขอควรระวังสําหรับการถอดและติดตั้งชุดถุงลมนิรภัย SRS ไดถูกตอง?

ก. หามใชเครือ่ งมือวัดทางไฟฟาทําการวัดสวนใดๆ
ของถุงลมนิรภัยเพราะวามันอาจจะไปกระตุนทําใหระเบิดเองได
ข. เก็บชุดถุงลมนิรภัย SRS ที่ถอดออกมาในลักษณะหงายขึ้น
ค. หลังจากถอดขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ออกแลวใหรีบถอดปลั๊กตอของชุดถุงลมนิรภัยออกทันทีเพื่อวา ECU
ของถุงลมนิรภัยจะไดไมบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาเอาไว
ง. เมือ่ ถอดชุดถุงลมนิรภัยออกมาใหแนใจวาไดเก็บถุงลมในลักษณะที่คว่าํ ดานที่ระเบิดลงขางลาง

Q-2 ãˈàÅ×Í¡ÀÒ¾·Õáè Ê´§¶Ö§à¤Ã×Íè §ËÁÒ·ÕÁè ÒˤäLjàÁ×Íè ¶Í´¾Ç§ÁÒÅÑÂÍÍ¡ ÃÙ»ã´áÊ´§¶Ö§à¤Ã×Íè §ËÁÒ·ÕÁè ÒˤäLj䴈¶¡Ù µˆÍ§?

ก. ข.

ค. ง.

Q-3 ใหเลือกภาพที่แสดงถึงการปลดปลั๊กตอออกไดอยางถูกตอง?

ก. ข.

ค. ง.

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - แผงคอนโซลหนาปด แบบทดสอบ

Q-4 ชุดเครื่องรับวิทยุจะมีไฟเรืองแสงเพื่อใหมองเห็นไดในตอนกลางคืน จากวงจรขางลางนี้ใหเลือกจุดตอขั้ว


ที่ทาํ ใหวงจรนี้ไดรับแรงดันไฟฟามาจากแบตเตอรี่และทําใหมีไฟติดที่เครื่องรับวิทยุ

ก. จุดตอขั้ว A ข. จุดตอขั้ว B
ค. จุดตอขั้ว C ง. จุดตอขั้ว D

Q-5 ชุดเครื่องรับวิทยุมกี ระแสไฟฟาซึ่งไดรบั มาจากการจายไฟอยางสม่าํ เสมอของแบตเตอรีใ่ หเลือกเหตุผลที่ถูกตอง


ของการทีก่ ระแสไฟฟาถูกจายมาใหวิทยุอยางสม่าํ เสมอ?

ก. เพื่อใหฟงวิทยุไดโดยไมตองบิดสตารทเครื่องยนต
ข. ถาไมจายกระแสไฟฟาใหกับวิทยุแบบสม่าํ เสมอจะทําใหวิทยุเสียหายได
ค. เพื่อชารจกระแสไฟฟาโดยจายกระแสไฟฟาใหกับวิทยุเนื่องจากตองใชกระแสไฟฟาสูงมาก
ง. เพื่อเปนการปองกันหนวยความจําชองสถานีถูกลบ

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา รายละเอียดทั่วไป

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในสวนนี้จะอธิบายถึงวิธีการถอดและการ
ติดตัง้ ชิ้นสวนของอุปกรณไฟฟาตัวถังทั้ง
ดานในและดานนอก การใชเครื่องมือวัด
ทางไฟฟาและ EWD*
ตรวจเช็คขั้นตอนในการถอดและติดตั้ง
อุปกรณไฟฟา
1. การถอด
ถอดไฟหนาและสวิตชควบคุม
2. การตรวจสอบ
ตรวจเช็คความตอเนื่องและแรงดันไฟฟา
ของไฟหนาและสวิตชควบคุม
3. การติดตั้ง
ติดตัง้ ไฟหนาและสวิตชควบคุม

*EWD: ผังวงจรไฟฟา

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

การถอด สวนประกอบ
1. การถอดขั้วลบแบตเตอรี่

2. ถอดแผนกันโคลนซุมลอ

3. ถอดกระจังหนาและกันชนหนา
(1)กระจังหนา
(2)กันชนหนา

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

4. ถอดไฟหนา

5. การถอดหลอดไฟหนา

6. ถอดสวิตชควบคุม

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

ถอดสายไฟขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
1. ถอดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
กอนทําการถอดสายไฟขั้วลบออกจาก
แบตเตอรี่ ควรทําการจดบันทึกขอมูล
ซึ่งบรรจุอยูภายในของกลอง ECU และอื่นๆ
เชน
• DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)

• เลือกสถานีวิทยุ

• ตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา51-53)

1 ขั้วลบ (-)

(1/1)

ถอดแผนกันโคลนซุมลอ
1. ถอดแผนกันโคลนซุม ลอ
(1)ใชเทปปดปองกันความเสียหาย
ระหวางทําการถอดแผงกันชนหนา

1 เทปปดปองกันความเสียหาย

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

(2)ถอดสกรูและคลิป
(ที่บริเวณกึ่งกลางระหวางดานหนากับ
ลอหนา)
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 คลิป
2 สกรูยึด

(3)บิดแผงบังโคลนซุมลอ
ขอควรระวัง:
• ในรุนที่นัตยึดโคมไฟหนาอยูหลังแผง
บังโคลนจําเปนตองบิดแผงบังโคลน
ออกมาดานนอก
• ระวังอยาใหแผงกันโคลนเกิดการพับ
เพราะจะทําใหมันไมเขารูปตามปกติ
หลังทําการประกอบ

(1/1)

ถอดกระจังหนาและกันชน
1. ถอดกระจังหนา
(1)ถอดนัต และสกรู
(2)ปลดกระจังหนาออกจากขาล็อค

1 ขายึด
2 โบลท
3 สกรูยึด

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

2. ถอดแผงกันชนหนา
(1)ถอดคลิป และนัต
(2)ถอดแผงกันชนหนาออกจากเหล็กยึด
กันชน
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป/ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 ขอเกี่ยว
2 โบลท
3 คลิป

(1/1)

ถอดไฟหนา
1. ถอดไฟหนา
(1)ถอดขอตอของไฟหนาออก
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)

(2)ถอดนัตยึดโคมไฟหนา

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

(3)ปลดขาเกี่ยวโคมไฟหนาออกจาก
ขายึด
ตอจากนั้นจึงทําการถอดออกจากกาน
ยึดหนาในโดยทําการดึงโคมไฟออกมา
ทางดานหนาของรถแลวถอดออก
ขอควรระวัง:
อยาดึงโคมไฟหนาดวยความรุนแรง
เพราะอาจจะทําใหกานยึดเสียหาย

1 สลัก
2 กานยึดดานใน
3 โคมไฟหนา

(1/1)

การถอดหลอดไฟหนา
1. ถอดหลอดไฟหนาออก
(1)ถอดยางครอบโดยการดึงที่แถบยาง

1 ยางครอบขั้ว

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

(2)ถอดสปริงล็อคหลอดไฟหนาออกและ
ถอดหลอดออก
ขอควรระวัง:
• อยาสัมผัสกับสวนที่เปนหลอดแกว
เพราะถามีคราบน้าํ มันบนหลอดแกว
จะทําใหอายุการใชงานของหลอดสั้น
ลง
• การถอดหลอดไฟออกจากโคมเปน
ระยะเวลานานๆ อาจทําใหฝุนละออง
หรือความชื้นเขาไปเกาะตามเลนส
ควรปดชองใสหลอดดวยถุงพลาสติก
หรือวัสดุหอหุม อื่นๆ

1 สปริง
2 หลอดไฟหนา

(1/1)

ถอดสวิตชควบคุม
1. ถอดฝาครอบแกนพวงมาลัย
ถอดสกรู 3 ตัวแลวถอดฝาครอบ
แกนพวงมาลัย
ขอแนะนํา:
ใหหมุนพวงมาลัยประมาณ 90 องศา
จะทําใหมองเห็นตําแหนงของสกรู

2. ถอดสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
(1)ทําการปลดขั้วตอโดยการกดที่ขาล็อค
ของขั้วตอแลวทําการดึงขั้วตอออก
ขอแนะนําการบริการ:
ปลัก๊ ตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การถอด

(2)ปลดขาล็อคและถอดสวิตชควบคุมไฟ
สองสวาง
ขอแนะนํา:
ใชไขควงสอดเขาไปและกดสวนที่
ตองการปลดแลวทําการถอดสวิตช
ควบคุมไฟสองสวาง
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 ขายึด

(1/1)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การตรวจสอบ

การตรวจสอบ สวนประกอบ
1. ตรวจสอบหลอดไฟหนา
2. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
3. ตรวจสอบวงจรไฟหนา
4. ตรวจสอบสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
5. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาในวงจรไฟหนา

(1/1)

ตรวจสอบหลอดไฟหนา
1. ตั้งเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา
ใหอยูในยานทําการวัดความตานทาน
2. ตอสายวัดของเครื่องมือทดสอบ
ทางไฟฟาเขากับหลอดไฟแลวตรวจ
สอบความตอเนื่อง
(1)ดานไฟต่าํ :
วัดทีข่ ั้ว 1 และ ขั้ว 3 ของหลอด
(2)ดานไฟสูง:
วัดทีข่ ั้ว 2 และ ขั้ว 3 ของหลอด

1 ขั้ว 1
2 ขั้ว 2
3 ขั้ว 3

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การตรวจสอบ

ตรวจสอบแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
1. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
(1)ตั้งเครื่องมือวัดทางไฟฟาใหอยูในยาน
ทําการวัดแรงดันไฟฟากระแสตรง
(DC)
(2)ตอสายลบของเครื่องมือวัดเขากับขั้ว
ลบของแบตเตอรี่และตอสายบวกของ
เครื่องมือวัดเขากับขั้วบวกของ
แบตเตอรี่
(3)ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
ขอแนะนํา:
ปกติแรงดันไฟฟาของแบตเตอรีจ่ ะอยู
ประมาณ 12.6 V
แตแรงดันไฟฟาที่วัดไดจริงอาจจะอยูใน
ระหวาง 10 - 14 V

(1/1)

ตรวจสอบวงจรไฟหนา
1. ตรวจเช็คปลั๊กตอของไฟหนา
(ขั้วตอ เบอร H1/H2)
(1)ดู "เสนทางการเดินสายไฟฟา"
ใน EWD เพื่อยืนยันตําแหนง
ของปลัก๊ ตอไฟหนา
ขอแนะนํา:
• EWD: Electrical Wiring Diagram
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ตรวจเช็คปลั๊กตอของชุดสายไฟบนรถ
• การใช EWD ใหดใู นวิธีการใชคูมือ

1 ปลั๊กตอ H1
2 ปลั๊กตอ H2

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การตรวจสอบ

(2)ดู "รายการปลัก๊ ตอ" ในEWD


เพื่อยืนยันรูปรางลักษณะและหมายเลข
ขั้วภายในของสวิตชควบคุมไฟหนา
ขอแนะนํา:
• EWD: Electrical Wiring Diagram
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ตรวจเช็คปลั๊กตอของชุดสายไฟบนรถ
• การใช EWD ใหดใู นวิธีการใชคูมือ

(3)ดู "วงจรของระบบ" ใน EWD


เพื่อยืนยันสีของสายไฟในชุดสายไฟ
ขอแนะนํา:
• EWD: Electrical Wiring Diagram
(หมายเลขการพิมพ EWD 434E)
• ตรวจเช็คปลั๊กตอของชุดสายไฟบนรถ
• การใช EWD ใหดใู นวิธีการใชคูมือ

(1/2)

2. ตรวจสอบปลั๊กตอสวิตชควบคุมไฟ
สองสวาง (ปลั๊กตอ เบอร.C8)
(1)ดู "เสนทางการเดินของสายไฟ"
เพื่อยืนยันตําแหนงปลั๊กตอของสวิตช
ควบคุมไฟสองสวาง

1 ขั้วตอ เบอร.C8

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การตรวจสอบ

(2)ดู "รายการปลัก๊ ตอ"


ในEWD เพื่อยืนยันรูปรางลักษณะ
และหมายเลขขั้วภายในของสวิตช
ควบคุมไฟสองสวาง

(3)ดู "วงจรของระบบ" ใน EWD


เพื่อยืนยันสีของสายไฟในชุดสายไฟ

(2/2)

ตรวจสอบสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
1. การตรวจสอบสวิตชควบคุมไฟหนา
(1)ตั้งเครื่องมือวัดทางไฟฟาใหอยูใน
ยานทําการวัดความตอเนื่อง
(2)ตรวจเช็คความตอเนื่องระหวางจุด
ตอตางๆ ของสวิตชในขณะที่ใหสวิตช
ทํางานในตําแหนงตาง

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การตรวจสอบ

ขอแนะนํา:
• ตําแหนงไฟหรี่
ทําการบิดสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
ไปที่ตาํ แหนง TAIL จะทําใหกระแส
ไฟฟาไหลผานระหวางขั้ว A และ ขั้ว B
ทําใหไฟหรี่ติดขึ้น

ขอแนะนํา:
• ตําแหนง ไฟหนา (ต่า ํ)
ทําการบิดสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
ไปที่ตาํ แหนง HEAD (LOW)
จะทําใหกระแสไฟฟาไหลผานระหวาง
ขั้ว C และ ขั้ว E ทําใหไฟหนา (ต่าํ )
ติดขึ้น

ขอแนะนํา:
• ตําแหนง ไฟหนา (สูง)
ทําการบิดสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
ไปที่ตาํ แหนง HEAD (HIGH)
จะทําใหกระแสไฟฟาไหลผานระหวาง
ขั้ว D และ ขั้ว E ทําใหไฟหนา (สูง)
ติดขึ้น

(1/1)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การตรวจสอบ

ตรวจสอบแรงดันไฟฟาในวงจรไฟหนา
1. เตรียมการตรวจสอบ
• ตอสายไฟเขากับขัวแบตเตอรีโดยใสจาก
ดานบนในแนวตรงเพื่อไมเกิดความเสีย
หายกับขั้วแบตเตอรี่

1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

• ตอขั้วของสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)
2. การตรวจสอบแรงดันไฟฟา
ของปลั๊กตอไฟหนา
(1)ตั้งเครื่องมือวัดทางไฟฟาใหอยูใน
ยานทําการวัดแรงดันไฟฟา

(1/2)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การตรวจสอบ

(2)ตอสายวัดของเครือ่ งทดสอบเขากับ
ขั้วดังแสดงในรูปภาพ
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาโดยทําการตอ
สายวัดเครื่องทดสอบเขากับปลัก๊ ตอ
ดานที่ติดตั้งอยูบนรถยนต
ขอควรระวัง:
อยาดึงปลั๊กตอเพราะอาจทําใหปลั๊กตอ
เสียหาย
(3)ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาที่ทาํ การตรวจ
เช็คแลวมีการเปลี่ยนแปลงหรือไมเมือ่ มี
การบิดสวิตชไปตําแหนงไฟต่าํ
และไฟสูง
• ไฟต่ํา

1 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่

• ไฟสูง
(4)ปลดขั้วลบ (-)
แบตเตอรี่และปลั๊กตอสวิตชควบคุมไฟ
สองสวาง

1 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่

(2/2)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

การติดตั้ง สวนประกอบ
1. ติดตั้งสวิตชควบคุมไฟสองสวาง

2. ติดตั้งหลอดไฟหนา

3. ติดตั้งไฟหนา

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

4. ติดตั้งกระจังหนาและกันชน
(1)กันชนหนา
(2)กระจังหนา

5. ติดตั้งแผนกันโคลนซุมลอ

6. การตอสายขั้วลบเขากับแบตเตอรี่

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

7. การตรวจสอบขั้นสุดทาย

(1/1)

ติดตั้งสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
1. ติดตั้งสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
(1)ติดตั้งสวิตชควบคุมไฟสองสวาง
(2)ตรวจใหแนใจวาตัวล็อคทํางาน

1 ขายึด

(3)ประกอบขั้วตอของสวิตชเขากับขั้วตอ
ของชุดสายไฟ
(4)ตรวจใหแนใจวาตัวล็อคขั้วตอทํางาน
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

2. ติดตั้งฝาครอบแกนพวงมาลัย
ติดตัง้ ฝาครอบแกนพวงมาลัย และทําการ
ยึดดวยสกรู 3 ตัว
ขอแนะนํา:
ใหหมุนพวงมาลัยประมาณ 90 องศา
จะทําใหมองเห็นตําแหนงของสกรู

(1/1)

ติดตั้งหลอดไฟหนา
1. ติดตั้งหลอดไฟหนา
(1)ประกอบหลอดไฟหนาลงในรู และจัด
ใหตรงตําแหนงใหแนบกับแถบภายในรู
ขอแนะนํา:
เมือ่ เปลี่ยนหลอดไฟใหมจะตองใช
หลอดที่มีกาํ ลังวัตตเทาเดิม

(2)ทําการล็อคหลอดไฟดวยสปริงล็อค

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

(3)ติดตั้งยางครอบขั้วหลอดโดยให
เครื่องหมาย TOP อยูดานบน
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตั้งฺ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา41-45)
ขอควรระวัง:
• ถาเครือ่ งหมาย TOP ไมอยูดานบน
อาจทําใหนา้ํ รั่วเขาสูภายในได
• หามสัมผัสสวนที่เปนหลอดแกวเพราะ
น้าํ มันจากผิวจะทําใหอายุการใชงาน
สั้นลง

1 ตัวครอบไฟหนา

(1/1)

ติดตั้งไฟหนา
1. ติดตั้งไฟหนา
(1)ติดตั้งชุดโคมไฟหนาโดยสอดใสโคมไฟ
ใหเขาล็อคกับแทนรองรับดานใน
และสลักยึด

1 กานยึดดานใน
2 สลัก

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

(2)ประกอบนัตยึดตัวโคมไฟ

(3)ตอขอตอของไฟหนา
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา54-57)

(1/1)

ติดตั้งกระจังหนาและกันชน
ยึดแผงกันชนหนาและกระจังหนาดวย
คลิป และขาล็อคโดยเฉพาะอยางยิ่ง
ตําแหนงการติดตัง้ นัต และสกรูจะตอง
เหมาะกับการติดตั้ง และติดตั้งใหแนนหนา
1. ติดตั้งแผงกันชนหนา
(1)ยึดแผงกันชนหนาเขากับคานเกี่ยว
รองรับ
(2)ติดตั้ง คลิป และนัต

1 ขอเกี่ยว
2 โบลท
3 คลิป

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

2. ติดตั้งกระจังหนา
(1)ยึดกระจังหนาเขากับขาล็อค
(2)ยึดกระจังหนาดวยนัตและสกรู
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป/ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)

1 ขายึด
2 โบลท
3 สกรูยึด

(1/1)

ติดตั้งแผนกันโคลนซุมลอ
1. ติดตั้งแผนกันโคลนซุม ลอ
(1)จัดตําแหนงรูของขาล็อค และรูยึด
ของกระจังหนาใหตรงกัน
(2)ประกอบคลิป และสกรูทั้งหมดชั่วคราว
สุดทายจึงทําการขันและประกอบยึดให
แนนทุกตัว
ขอแนะนํา:
กระจังหนาทําจากเรซินออน
ระมัดระวังอยาทําใหงอในขณะประกอบ
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา58-60)
(3) แกะเทปปองกันรอยขีดขวนออก

1 คลิป
2 สกรูยึด

(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

ตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


1. ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
(1)ตอสายไฟเขากับขั้วลบแบตเตอรีโ่ ดย
ใสจากดานบนในแนวตรงเพื่อไมเกิด
ความเสียหายกับขั้วแบตเตอรี่
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา51-53)
(2)คืนขอมูลที่จดบันทึกไวใหกับรถ
หลังจากตรวจเช็คตามขั้นตอนเสร็จแลว
ใหทาํ การใสขอมูลเดิมที่เคยจดบันทึกไว
• เลือกสถานีวิทยุ
• การตั้งนาฬิกา
• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
• ปรับตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ

1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

(1/1)

การตรวจสอบขั้นสุดทาย
ตรวจเช็คความผิดพลาดในขั้นตอนการติด
ตั้งอุปกรณไฟฟา และตรวจสอบวาไฟหนา
ทํางานอยางถูกตองหรือไม
• ทดสอบการทํางานสวิตชควบคุมไฟ
สองสวาง และตรวจสอบวาไฟติด
สอดคลองกับแตละตําแหนงกับ
สวิตชหรือไม
(1)ไฟต่าํ

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา การติดตั้ง

(2)ไฟสูง

(1/1)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอร จงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา แบบทดสอบ

คําถาม-1 วงจรที่แสดงตอไปนี้เปนวงจรควบคุมการทํางานของสวิตชไฟหนาที่อธิบายในแผงผังวงจรไฟฟา EWD


เมื่อทําการเปดสวิตชควบคุมไฟหนาที่ตาํ แหนงไฟต่าํ ขอใดตอไปนี้จะเกิดการตอเนื่องของวงจร?

ก. จุดตอขั้ว A-E ข. จุดตอขั้ว A-E


ค. จุดตอขั้ว A-E ง. จุดตอขั้ว A-E

คําถาม-2 ขอใดตอไปนี้ในแผนผังวงจรไฟฟาที่ระบุตาํ แหนงของปลั๊กตอ ?

¡. ข.

ค. ง.

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ไฟหนา แบบทดสอบ

คําถาม-3 ขอใดตอไปนี้ในแผนผังวงจรไฟฟาที่ระบุตาํ แหนงของรีเลย ?

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-4 ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยววิธีการปฏิบัติกับหลอดไฟหนา?

ก. ทําความสะอาดโคมไฟหนาดวยปนลมกอนเพราะอาจมีสิ่งแปลกปลอมเขาไปในโคมไฟหนาหลังจากถอดหลอด
ไฟหนาออก
ข. เมือ่ ทําการติดตั้งปลอกกันน้าํ เขาหลอดไฟ ใหติดตั้งโดยหมุนสัญลักษณ 'TOP' ใหอยูดานลาง
ค. ทําความสะอาดหลอดไฟดวยน้าํ มันเครื่องเพื่อลางสิ่งสกปรก
ง. หามสัมผัสบริเวณกระเปาะหลอดไฟดวยมือเพราะน้าํ มันจากผิวหนังจะทําใหอายุของหลอดสั้นลง

คําถาม-5 เมือ่ ทําการซอมชิ้นสวนที่เกี่ยวของกับทางไฟฟา, ใหปลดขั้วแบตเตอรี่ออกกอนเพื่อปองกันการลัดวงจร


ภายหลังจากทําการซอมและใสขั้วแบตเตอรี่เรียบรอยแลว. ประโยคใดตอไปนี้เปนจริง ?

ก. ขอมูลของรถจะถูกเก็บอยูใน ECU และไมถูกลบเพราะสามารถกูขอมูลคืนมาไดดังนั้น ปรับนาฬิกาให


ตรงเวลาทําการตัง้ คาสถานีวิทยุที่เคยใชงานและตรวจสอบความเรียบรอยของบริเวณการซอม
ข. ปรับนาฬิกาใหตรงเวลาตั้งคาสถานีวิทยุที่เคยใชงานและขอมูลของรถจะถูกบันทึกใน ECU และตรวจสอบความ
เรียบรอยบริเวณการซอม
ค. ขอมูลของรถจะถูกบันทึกใน ECU และสถานีวิทยุที่เคยใชงานจะไมถูกลบเพราะขอมูลสามารถกูคืนมาได,
ดังนั้นปรับนาฬิกาใหตรงเวลาและตรวจสอบความเรียบรอยบริเวณการซอม
ง. สถานีวิทยุที่เคยใชงานจะไมถูกลบเพราะสามารถกูคืนมาไดดงั นั้นปรับนาฬิกาใหตรงเวลา, กูขอมูลที่เคย
บันทึกไวใน ECU และตรวจสอบความเรียบรอยบริเวณการซอม

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท รายละเอียดทั่วไป

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
วัตถุประสงคของตําราเลมนี้ จะทําใหคุณ
มีความรูความชํานาญในดานขั้นตอน
การตรวจสอบและการซอมอุปกรณไฟฟา
ระหวางที่ทาํ การศึกษาหนาที่ของระบบ
ไฟชารจในรถยนต
โดยทําตามขั้นตอนการปฏิบัติงานดังนี้
1. การถอด
การถอดมอเตอรสตารท
2. การถอดแยกชิ้นสวน
ถอดแยกชิ้นสวนของมอเตอรสตารท
3. การตรวจสอบ
ตรวจสอบชิ้นสวนที่ทาํ การถอดแยก เชน
อาเมเจอร คอมมิวเตเตอร อื่นๆ
4. การประกอบชิ้นสวน
ประกอบชิ้นสวนมอเตอรสตารท
5. การทดสอบ
ตรวจสอบการทํางานของมอเตอรสตารท
6. การติดตั้ง
ติดตัง้ มอเตอรสตารท

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอด

การถอด สวนประกอบ
1. การถอดขั้วลบแบตเตอรี่

2. ถอดมอเตอรสตารท

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอด

ถอดสายไฟขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
1. ¶Í´ÊÒÂä¿¢ÑéÇźÍÍ¡¨Ò¡áºµàµÍÃÕè
กอนทําการถอดสายไฟขั้วลบออกจาก
แบตเตอรี่ ควรทําการจดบันทึกขอมูล
ซึ่งบรรจุอยูภายในของกลอง ECU
และอื่นๆ เชน

• DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)
• สถานีวิทยุ

• ตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ ใน PDF หนา
51-53)

1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

(1/1)

ถอดมอเตอรสตารท
1. ถอดสายไฟมอเตอรสตารท
(1)ถอดฝาครอบปองกันการลัดวงจร
(2)ถอดนัตล็อคสายไฟของมอเตอรสตารท
(3)ถอดสายไฟขั้ว 30 ออกจากมอเตอร
สตารท
ขอแนะนํา:
สายไฟของมอเตอรสตารทจะตอโดย
ตรงมาจากแบตเตอรี่ จะมีฝาครอบชุด
ปองกันการลัดวงจรอยู

1 นัตปรับตั้ง
2 สายไฟมอเตอรสตารท
3 ฝาครอบปองกันการลัดวงจร

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอด

2. ถอดขั้วตอของมอเตอรสตารท
ทําการปลดขั้วตอโดยการกดที่ขาล็อคของ
ขั้วตอแลวทําการดึงขั้วตอออก
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ ใน PDF หนา
54-57)

1 ปลั๊กตอ

3. ถอดมอเตอรสตารท
ถอดโบลทยึดมอเตอรสตารท และเลื่อน
มอเตอรสตารทออก

3 โบลท

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอดแยกชิน้ สวน

การถอดแยกชิ้นสวน สวนประกอบ
1. ถอดชุดสวิตชแมเหล็ก
(1)สวิตชแมเหล็ก
(2)แขนเลื่อน

2. ถอดแยกชุดมอเตอร
(1)ตัวเรือนมอเตอรสตารท
(2)ฝาครอบทาย
(3)ฝาครอบหนา

3. ถอดสปริงแปรงถาน
(1)แผนรอง
(2)สปริง
(3)ซองแปรงถาน

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอดแยกชิน้ สวน

4. ถอดแยกชุดอาเมเจอร
(1)ชุดอเมเจอรมอเตอรสตารท

5. ถอดแยกชุดคลัตชสตารท
(1)คลัตชสตารท
(2)ปลอกกั้น
(3)แหวนล็อค

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอดแยกชิน้ สวน

ถอดชุดสวิตชแมเหล็ก
1. ถอดสายจากขั้วสวิตชแมเหล็ก
(1)ถอดนัตและปลดสายตอออกจากขั้ว
สวิตชแมเหล็ก
2. ถอดชุดสวิตชแมเหล็กมอเตอร
สตารท
(1)ถอดนัต 2 ตัวที่ยึดสวิตชแมเหล็ก
แลวดึงสวิตชแมเหล็กออก
(2)ดึงสวิตชแมเหล็กออกในขณะที่ยก
สวนหนาของสวิตชแมเหล็กขึ้น
ปลดขอเกี่ยวออกจากขาเลื่อนชุดคลัตช
(3)ถอดสวิตชแมเหล็ก

1 ปลายยึดขั้วสนามแมเหล็ก
2 ฝาครอบหนา
3 สวิตชแมเหล็ก
4 แขนเลื่อน
5 ขอเกี่ยวของลูกสูบสวิตชแมเหล็ก

(1/1)

ถอดแยกชุดมอเตอร
1. ถอดตัวเรือนมอเตอรสตารท
(1)ถอดโบลทยึด 2 ตัว
(2)ถอดฝาครอบทายของคอมพิวเตเตอร
ออก
(3)ถอดฝาครอบหนาจากตัวเรือน
มอเตอรสตารท
(4)ถอดแขนเลื่อนชุดคลัตช

1 ฝาครอบทาย
2 ตัวเรือนมอเตอรสตารท
3 ฝาครอบหนา
4 แขนเลื่อน

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอดแยกชิน้ สวน

ถอดสปริงแปรงถาน
1. ถอดสปริงแปรงถาน
(1)ยึดปลายของอาเมเจอรโดยใชปากกา
บีบใหแนนโดยใชอลูมิเนียมหรือผารอง
ไว

(2)ถอดขอเกี่ยวและถอดแผนรองแปรง
ถานออก
ดึงขอเกี่ยวขึ้นดานบนดวยนิ้วมือเพื่อถอดแ
ผงยึดแปรงถานออก
ขอควรระวัง:
คอยๆ ถอดแผนรองแปรงถานออก
ระวังสปริงยึดแปรงถานอาจจะหลุด
กระเด็น

1 แผนรอง
2 ขอเกี่ยว

(1/2)

(3)ถอดแปรงถานออกขณะไขควงปาก
แบนกดสปริง
ขอควรระวัง:
• การปฏิบัติงานควรจะมีกระดาษหรือ
เทปพันสายไฟไวพันไขควง
• การปฏิบัติงานควรจะมีผารองไวดาน
บนของชุดซองแปรงถานเพื่อปองกัน
สปริงยึดแปรงถานหลุดออก

1 แปรงถาน
2 สปริงแปรงถาน

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอดแยกชิน้ สวน

(4)ถอดสปริงแปรงถานออกจากฉนวนหุม
แปรงถาน

1 สปริงแปรงถาน
2 ฉนวนหุมแปรงถาน

(5)ถอดฉนวนหุมแปรงถาน

1 ฉนวนหุมแปลงถาน

(2/2)

ถอดคลัตชสตารท
1. ถอดคลัตชมอเตอรสตารท
(1)ถอดชุดอาเมเจอรของมอเตอรสตารท
ออกจากเสื้อสนามแมเหล็กและยึด
อารเมเจอรกับปากกาจับชิ้นงานโดย
มีผาหรือแผนอลูมิเนียมรองไว

1 ปากกาจับชิ้นงาน
2 ผา

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การถอดแยกชิน้ สวน

(2)ใชไขควงตอกบาของแหวนกั้นลงไป
ทางดานชุดคลัตช

1 แหวนล็อค
2 ปลอกกั้น

(3)ถอดแหวนล็อค
<1>ใชไขควงทําการงัดแหวนล็อคออก
<2>ถอดแหวนล็อค

1 แหวนล็อค

(4)ถอดแหวนกั้นและชุดคลัตชสตารท
ออกจากเพลาอารเมเจอร

1 ปลอกกั้น
2 คลัตชสตารท
3 เพลาอารเมเจอร

(1/1)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

การตรวจสอบ สวนประกอบ
1. การตรวจสอบชุดทุนอาเมเจอร
2. ตรวจสอบขดลวดสนามแมเหล็ก
3. การตรวจสอบแปรงถาน
4. ตรวจสอบชุดประกอบคลัตชมอเตอร
สตารท
5. ตรวจสอบชุดสวิตชแมเหล็ก

(1/1)

การตรวจสอบชุดทุนอารมาเจอร
การปฏิบัติการตรวจสอบของอารเมเจอร
เปนดังนี้
• การตรวจสอบดวยตาเปลา
• การทําความสะอาด
• การตรวจสอบฉนวนอารเมเจอรของ
มอเตอรสตารท/ตรวจสอบการตอเนื่อง
• การตรวจสอบความบิดเบี้ยวของ
คอมมิวเตเตอร
• การตรวจสอบเสนผาศูนยกลางดาน
นอกของคอมมิวเตเตอร
• การตรวจสอบความลึกของรอง
คอมพิวเตอร
ขอแนะนํา:
ถาคาความโตนอยกวาคามาตรฐาน
ใหเปลี่ยนทุนอารเมเจอรใหม

(1/6)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

1. การตรวจสอบดวยตาเปลา
ตรวจสอบสิ่งสกปรกหรือรอยไหมของ
ขดลวดอารเมเจอรและคอมพิวเตอร
ขอแนะนําการบริการ:
การเช็คดวยสายตา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
91)
ขอแนะนํา:
ขณะขดลวดอารเมเจอรและ
คอมมิวเตเตอรหมุนจะมีแปรงถาน
สัมผัสอยู จะทําใหเกิดการไหลของ
กระแสไฟฟา ผลก็คือ คอมมิวเตเตอร
และมอเตอรสตารทสกปรกมีฝุนหรือ
เกิดรอยไหมที่คอมมิวเตเตอร
2. การทําความสะอาด
อารเมเจอรและแปรงถานควรจะมีการทํา
ความสะอาดโดยใชผาและแปรง
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
86-90)

(2/6)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

3. การตรวจเช็คความตอเนื่องและ
ความเปนฉนวนของทุนอารมาเจอร
ใชมัลติมิเตอรตรวจสอบดังตอไปนี้
• ความเปนฉนวนหวางคอมมิวเตเตอร
กับแกนอารมาเจอร
ขอแนะนํา:
ระหวางแกนของอารเมเจอรและขดลวด
อารเมเจอรจะมีฉนวนกั้นกลางอยู
และคอมมิวเตเตอรจะตอเนื่องกับขด
ลวดอารเมเจอรถาระหวางคอมมิวเตอร
และแกนอารเมเจอรมีสภาพเปนฉนวน
ถือเปนสภาพปกติ

1 คอมมิวเตเตอร
2 แกนอารเมเจอร
3 ขดลวดอารเมเจอร
4 เพลาอารเมเจอร
5 ไมตอเนื่อง

• ตรวจสอบการตอเนื่องระหวางซี่ของ
คอมมิวเตเตอร
ขอแนะนํา:
ซี่แตละซี่ของคอมมิวเตเตอรจะตอเนื่อง
โดยผานขดลวดอารเมเจอร โดยปกติ
แลวระหวางซี่ของคอมมิวเตเตอรจะมี
การตอเนื่องตลอด

1 คอมมิวเตเตอร
2 แกนอารเมเจอร
3 ขดลวดอารเมเจอร
4 เพลาอารเมเจอร
5 ความตอเนื่อง

(3/6)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

4. การตรวจสอบความบิดเบี้ยวของ
คอมมิวเตเตอร
ใชไดอัลเกจตรวจสอบความบิดเบี้ยวของ
คอมมิวเตเตอร
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความบิดเบี้ยวของเพลา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
75)
ขอแนะนํา:
ความบิดเบี้ยวที่มากไปของ
คอมมิวเตเตอรจะทําใหการสัมผัสของ
แปรงถานที่กดลงมาที่ซี่คอมมิวเตเตอร
ลดลงและทําใหประสิทธิภาพในการใช
งานของมอเตอรสตารทลดลง

(4/6)

5. ตรวจสอบเสนผาศูนยกลางดาน
นอกของคอมมิวเตเตอร
ใชเวอรเนียรคาลิปเปอรวัดความโตของ
คอมมิวเตเตอร
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
คอมมิวเตเตอรจะเกิดการสึกหรอเนื่อง
จากการสัมผัสของแปรงถานที่สัมผัส
โดยตรง
ถาคาที่วัดไดมากกวาคาความสึกหรอ
ที่กาํ หนด ทําใหหนาสัมผัสของแปรง
ถานลดลง ทําใหการไหลของกระแส
ไฟฟาไหลไดไมดี และทําใหประสิทธิ
ภาพของมอเตอรสตารทลดลง

(5/6)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

6. ตรวจสอบความลึกรอง
คอมพิวเตเตอร
ใชเวอรเนียรคาลิปเปอรตรวจสอบความลึก
ของรองคอมมิวเตเตอรระหวางซี่
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)

(6/6)

การตรวจสอบขดลวดสนามแมเหล็ก
1. ตรวจสอบขดลวดสนามแมเหล็ก
ใชมัลติมิเตอร ตรวจสอบและปฏิบัติ
ดังตอไปนี้
• การตอเนื่องระหวางปลายแปรงถาน
(กลุม A) และปลายยึดขั้วสนามแม
เหล็ก
ขอแนะนํา:
• ปลายแปรงถานมีอยู 2 ชนิด
ชนิดที่หนึ่งจะตออยูกับทีย่ ึดขั้วสนาม
แมเหล็ก (กลุม A) และอีกชนิดหนึ่ง
1 สายไฟแปรงถาน (ชุด A) 2 ปลายยึดขั้วสนามแมเหล็ก จะตออยูกับตัวเรือนมอเตอรสตารท
3 อารเมเจอร 4 ขดลวดสนามแมเหล็ก (กลุม B)
5 ความตอเนื่อง 6 สายไฟแปรงถาน (ชุด B) • ตรวจสอบการตอเนื่องของขั้วยึด
7 ตัวเรือนมอเตอรสตารท สนามแมเหล็กและปลายแปรงถาน
แปรงถาน 2 ตัวจะมีการตอเนื่อง
ยังอยูในกลุม A และแปรง 2 ตัว
จะไมมีการตอเนื่องยังอยูในกลุม B
• ตรวจสอบการตอเนื่องระหวางปลาย
แปรงถานและขั้วยึดสนามแมเหล็ก
สามารถวิเคราะหไดวามีการขาด
วงจรในขดลวดสนามแมเหล็ก
• ตรวจสอบความเปนฉนวนไฟฟา
ระหวางปลายแปรงถานและเสื้อสนาม
แมเหล็กสามารถวิเคราะหไดวามีการ
ลัดวงจรในขดลวดสนามแมเหล็ก

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

• การตอเนื่องระหวางปลายแปรงถาน
(กลุม A) และปลายยึดขั้วตัวเรือน
มอเตอรสตารท
ขอแนะนํา:
• ปลายแปรงถานมีอยู 2 ชนิด
ชนิดที่หนึ่งจะตออยูกับทีย่ ึดขั้วสนาม
แมเหล็ก (กลุม A) และอีกชนิดหนึ่ง
จะตออยูกับตัวเรือนมอเตอรสตารท
(กลุม B)
• ตรวจสอบการตอเนื่องของขั้วยึด
สนามแมเหล็กและปลายแปรงถาน
1 สายไฟแปรงถาน (ชุด A) 2 ปลายยึดขั้วสนามแมเหล็ก แปรงถาน 2 ตัวจะมีการตอเนื่อง
3 อารเมเจอร 4 ขดลวดสนามแมเหล็ก ยังอยูในกลุม A และแปรง 2 ตัว
5 ไมตอเนื่อง 6 สายไฟแปรงถาน (ชุด B) จะไมมีการตอเนื่องยังอยูในกลุม B
7 • ตรวจสอบการตอเนื่องระหวางปลาย
ตัวเรือนมอเตอรสตารท
แปรงถานและขั้วยึดสนามแมเหล็ก
สามารถวิเคราะหไดวามีการขาด
วงจรในขดลวดสนามแมเหล็ก
• ตรวจสอบความเปนฉนวนไฟฟา
ระหวางปลายแปรงถานและเสื้อสนาม
แมเหล็กสามารถวิเคราะหไดวามีการ
ลัดวงจรในขดลวดสนามแมเหล็ก

(1/1)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

การตรวจสอบแปรงถาน
แปรงถานจะกดอยูติดกับคอมมิวเตเตอร
โดยมีสปริงเปนตัวดันแปรงถานไว
ถาแปรงถานมีความสึกหรอเกินกวาคา
มาตรฐาน สปริงที่กดแปรงถานจะมีแรงกด
ลดลงและหนาสัมผัสของแปรงถานทีส่ ัมผัส
คอมมิวเตเตอรจะสัมผัสไมเต็มหนา ทําให
การไหลของกระแสไฟฟาในวงจรไหลไดไม
ดี และการหมุนของมอเตอรสตารทไมมี
ประสิทธิภาพ
1. ตรวจสอบแปรงถาน
ทําความสะอาดแปรงถานและวัดขนาดของ
แปรงถานโดยใชเวอรเนียรคาลิปเปอร
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
• การวัดระยะของแปรงถานใหวัดใน
ระยะจุดกึ่งกลางของแปรงถาน
เนื่องจากการสึกหรอในตําแหนงนี้
สึกหรอมากที่สุด
• การวัดแปรงถานโดยใชปลาย
เวอรเนียรคาลิปเปอร เนื่องจาก
ความสึกหรอจะเปนลักษณะโคง
• ทําการเปลีย ่ นแปรงถานใหมแมื่อคา
ที่วัดไดตา่ํ กวาคาที่กาํ หนด

(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

ขอมูลอางอิง:
การเปลี่ยนแปรงถาน
1. การเปลี่ยนแปรงถาน
(1)ตัดสายแปรงถานตรงรอยตอปลาย
สายของตัวเรือนมอเตอรสตารท

1 รอยตอปลายสาย
2 สายแปรงถาน
3 ดาน ตัวเรือนมอเตอรสตารท

(2)ใชกระดาษทรายหรือตะไบขัดรอบ
บัดกรีของตัวเรือนมอเตอรสตารท

1 รอยบัดกรี
2 ดานตัวเรือนมอเตอรสตารท
3 ตะไบ

(3)ประกอบแปรงถานใหมพรอมแผนรอง
ที่ตัวเรือนมอเตอรสตารทและกดมัน
เพื่อทําการประกอบ

1 แปรงถาน
2 แผนรอง

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

(4)บัดกรีแปรงถานตัวใหม
ขอแนะนํา:
ใชหัวแรงบัดกรีระมัดระวังอยาใหตะกั่ว
บัดกรีไหลเขาภายในสายไฟแปรงถาน
และเขาไปในขดลวดสนามแมเหล็ก

ขอแนะนําการบริการ:
การบัดกรี

(1/1)

การตรวจสอบชุดประกอบคลัตช
มอเตอรสตารท
1. ตรวจสอบการทํางานของคลัตช
มอเตอรสตารท
หมุนเฟองขับตามเข็มนาฬิกาและตรวจ
สอบวามีการหมุนโดยอิสระกับลองหมุน
เฟองขับทวนเข็มนาฬิกาและตรวจสอบดูวา
เฟองขับจะตองล็อคอยูกับที่
ขอแนะนํา:
• คลัตชสตารทจะเปนคลัตชทางเดียว
จะถายทอดแรงบิดโดยหมุนรอบในทิศ
ทางเดียวเทานั้น สวนอีกทิศทางหนึ่ง
ของชุดคลัตชจะหมุนโดยอิสระและจะ
ไมมีการถายทอดแรงบิด
• หลังจากทีมกี ารสตารทเครืองยนตแลว
มอเตอรสตารทจะรับแรงขับจาก
เครื่องยนตซึ่งจะมีความเร็วรอบสูง
กวาความเร็วรอบของมอเตอรสตารท
เนื่องจากคลัตชสตารทจะเปนคลัตช
ทางเดียวที่ถูกออกแบบมาสําหรับปอง
กันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับตัว
มอเตอรสตารท

1 อิสระ
2 ล็อค

(1/1)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

การตรวจสอบชุดสวิตชสตารทแมเหล็ก
1. ตรวจสอบการทํางานของสวิตช
สตารทแมเหล็ก
กดลูกสูบดวยนิ้วมือ
ตรวจสอบการคืนกลับของลูกสูบจะตองคืน
กลับตําแหนงเดิมอยางราบรื่น
ขอแนะนํา:
• ภายในของลูกสูบจะมีสวิตชอยูดานใน
ถาลูกสูบไมคืนกลับดวยตัวของมันเอง
อยางราบเรียบ สวิทซหนาสัมผัสจะ
ไมมีประสิทธิภาพ และจะทําให
มอเตอรสตารทสวิตชทหี่ นาคอนแท็ค
มีการสกปรกไมสามารถ เปด/ปด ได
• ถาการทํางานของลูกสูบผิดปกติให
ทําการเปลีย่ นชุดสวิตชสตารทแม
เหล็กใหม

(1/2)

2. ตรวจสอบการตอเนื่องของชุดสวิตช
สตารทแมเหล็ก
การใชมเิ ตอรตรวจสอบชุดสวิตชสตารท
แมเหล็ก
(1)ตรวจสอบการตอเนื่องระหวาง
ขั้ว 50 และขั้ว C
(ตรวจสอบการตอเนื่องในขดลวดดึง)
ขอแนะนํา:
• ขั้วของขดลวดดึงขั้ว 50 และขั้ว C
สภาวะปกติจะมีการตอเนื่อง
ระหวางขั้ว
• เมื่อขดลวดดึงเปดวงจร,
ลูกสูบจะไมมกี ารดึง

1 ขั้ว 50
2 จุดตอขั้ว C
3 ขดลวดดึง
4 ขดลวดยึด
5 ตัวเรือนสวิตช
6 ขั้ว 30
7 ความตอเนื่อง

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การตรวจสอบ

(2)ตรวจสอบการตอเนื่องระหวางขั้ว 50
และจุดลงกราวดของตัวเรือน
(ตรวจสอบการตอเนื่องภายในขดลวด
ยึด)
ขอแนะนํา:
• ขั้วของขดลวดยึดขั้ว 50 และจุดลง
กราวดของตัวเรือน สภาวะปกติจะมี
การตอเนื่องระหวางขั้ว 50 และจุด
ลงกราวดของตัวเรือน
• เมื่อขดลวดยึดเปดวงจร ลูกสูบซึ่งอยู
ภายในจะไมมีการยึด ดังนั้นเฟองขับ
ของชุดคลัตชสตารทจะทํางานเขาและ
ออกหลายครั้ง

1 ขั้ว 50
2 จุดตอขั้ว C
3 ขดลวดดึง
4 ขดลวดยึด
5 ตัวเรือนสวิตช
6 ขั้ว 30
7 ความตอเนื่อง

(2/2)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การประกอบชิน้ สวน

การประกอบชิ้นสวน สวนประกอบ
1. ติดตั้งคลัตชสตารท
(1)คลัตชสตารท
(2)ปลอกกั้น
(3)แหวนล็อค

2. ติดตั้งชุดอาเมเจอร
(1)ชุดอาเมเจอรมอเตอรสตารท

3. ติดตั้งสปริงแปรงถาน
(1)ซองแปรงถาน
(2)สปริง
(3)แผนรอง

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การประกอบชิน้ สวน

4. ติดตั้งชุดมอเตอร
(1)ฝาครอบหนา
(2)ฝาครอบทาย
(3)ตัวเรือนมอเตอรสตารท

5. ติดตั้งชุดสวิตชแมเหล็ก
(1)สวิตชแมเหล็ก
(2)แขนเลื่อน

(1/1)

ติดตั้งคลัตชสตารท
1. ประกอบชุดคลัตชสตารท
(1)ทาจาระบีบริเวณเฟองเพลา
อารเมเจอรของชุดคลัตชสตารท

1 จาระบี

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การประกอบชิน้ สวน

(2)ประกอบชุดคลัตชสตารทเขาไปใน
เพลาอารเมเจอร

1 คลัตชสตารท

(3)ประกอบปลอกกั้นเขาไปในเพลา
อารเมเจอรใหเสนผาศูนยกลางใน
ที่เล็กกวาอยูดานลาง

1 ปลอกกั้น

(4)นําเอาแหวนล็อคใสเขาไปในเพลา
อารเมเจอรและใชปากกาบีบแหวนล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู “ทักษะพื้นฐาน” ของ
“พื้นฐานการซอมใหญ” ใน PDF หนา
31-34)
ขอควรระวัง:
การขันแนนเกินไปดวยปากกาจับงาน
จะทําใหแหวนล็อคเสียหาย

1 แหวนล็อค
2 ปลอกกั้น

(1/2)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การประกอบชิน้ สวน

(5)ยกชุดคลัตชสตารทขึ้นและใชคอนตอก
เขาที่เพลาอารเมเจอร ใหปลอกกั้น
แหวนล็อคเขาไปล็อคแหวนล็อค
เพื่อปองกันแหวนล็อคหลุด

1 คลัตชสตารท
2 ปลอกกั้น
3 แหวนล็อค

(2/2)

ติดตั้งสปริงแปรงถาน
1. ประกอบชุดอารเมเจอรเขากับเสื้อ
สนามแมเหล็ก
2. ประกอบสปริงแปรงถาน
(1)ยึดปลายเพลาอารเมเจอรโดยใช
ปากกาบีบใหแนนโดยใชอลูมเิ นียมหรือ
ผารองไว

1 ปากกาจับชิ้นงาน
2 แผนอลูมิเนียม

(2)ประกอบฉนวนหุมแปรงถาน

1 ฉนวนหุมแปรงถาน

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การประกอบชิน้ สวน

(3)ประกอบสปริงเขาในฉนวนหุมแปรง
ถาน

1 ฉนวนหุมแปรงถาน
2 สปริงแปรงถาน

(4)กดสปริงคางไวและนําแปรงถานงัดขึ้น
ใสเขาไปในฉนวนหุมแปรงถาน
ขอควรระวัง:
• ขณะที่ดันสปริงแปรงถานใหยุบตัว
ระมัดระวังสปริงจะหลุดออก
• การใชไขควงเพื่อดันสปริงใหยุบตัว
ควรใชผาพันสายไฟพันไวที่ปลาย
ไขควง

1 แปรงถาน
2 สปริงแปรงถาน
3 ฉนวนหุมแปรงถาน

(5)ประกอบแผนรอง
ประกอบแผนรองโดยใชนิ้วกดแผนรองโดย
มีขอเกี่ยวๆ แผนรองไว

1 แผนรอง
2 ขอเกี่ยว

(1/1)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การประกอบชิน้ สวน

ติดตั้งชุดมอเตอรสตารท
1. ประกอบตัวเรือนมอเตอรสตารท
(1)ทาจาระบีในตําแหนงที่ขาเลื่อนชุด
คลัตชและชุดคลัตชสตารทสัมผัสกัน
(2)ประกอบขาเลื่อนชุดคลัตชเขากับชุด
คลัตชสตารท
(3)ประกอบฝาครอบทายและเสื้อสนาม
แมเหล็กเขากับฝาหนาโดยยึดโบลท 2
ตัว

1 จาระบี
2 แขนเลื่อน
3 ตัวเรือนมอเตอรสตารท
4 ฝาครอบทาย
5 ฝาครอบหนา

(1/1)

ติดตั้งชุดสวิตชแมเหล็ก
1. ประกอบชุดสวิตชแมเหล็ก
ประกอบฝาครอบลูกสูบ (พลั้นเยอร) โดย
ใหสวนปลายสุดของลูกสูบเกี่ยวกับขาเลื่อน
ชุดคลัตชและทําการยึดชุดสวิตชแมเหล็ก
ดวยนัต 2 ตัว
2. ประกอบสายยึดขั้วสนามแมเหล็ก
ประกอบสายยึดขั้วสนามแมเหล็กและใช
นัตล็อค

1 แขนเลื่อน
2 ขอเกี่ยวของลูกสูบสวิตชแมเหล็ก
3 สวิตชแมเหล็ก
4 ฝาครอบหนา
5 สายยึดขั้วสนามแมเหล็ก

(1/1)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การทดสอบ

การทดสอบ สวนประกอบ
ในการทดสอบการทํางานของมอเตอร
สตารทนั้น จะทําการจายแรงดันแบตเตอรี่
เขาไปที่มอเตอรใหมันทํางานโดยตรง
1. ทดสอบขดลวดดึง
2. ทดสอบขดลวดยึด
3. ตรวจเช็คระยะหางเฟองขับ
4. การทดสอบการคืนกลับของเฟองขับ
5. ทดสอบแบบไมมีภาระ
ขอควรระวัง:
• การทดสอบการทํางานโดยการจายไฟ
เขาไปเปนระยะเวลานาน อาจทําให
ขดลวดของมอเตอรไหม ดังนั้นควร
ทดสอบโดยใชเวลาประมาณ 3-5
วินาที
• การตรวจสอบแบบนี้จะทําใหรูวา
มอเตอรสตารททํางานเปนปกติ
หรือไม
• ควรทําความเขาใจถึงขั้นตอนการ
ตรวจสอบกอนที่จะตรวจสอบ

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การทดสอบ

1. ทดสอบขดลวดดึง
2. ทดสอบขดลวดยึด
3. ตรวจเช็คระยะหางเฟองขับ
4. การทดสอบการคืนกลับของเฟองขับ
5. ทดสอบแบบไมมีภาระ
ขอควรระวัง:
• การทดสอบการทํางานโดยการจายไฟ
เขาไปเปนระยะเวลานาน อาจทําให
ขดลวดของมอเตอรไหม ดังนั้นควร
ทดสอบโดยใชเวลาประมาณ 3-5
วินาที
• การตรวจสอบแบบนี้จะทําใหรูวา
มอเตอรสตารททํางานเปนปกติ
หรือไม
• ควรทําความเขาใจถึงขั้นตอนการ
ตรวจสอบกอนที่จะตรวจสอบ

1. ทดสอบขดลวดดึง
2. ทดสอบขดลวดยึด
3. ตรวจเช็คระยะหางเฟองขับ
4. การทดสอบการคืนกลับของเฟองขับ
5. ทดสอบแบบไมมีภาระ
ขอควรระวัง:
• การทดสอบการทํางานโดยการจายไฟ
เขาไปเปนระยะเวลานาน อาจทําให
ขดลวดของมอเตอรไหม ดังนั้นควร
ทดสอบโดยใชเวลาประมาณ 3-5
วินาที
• การตรวจสอบแบบนี้จะทําใหรูวา
มอเตอรสตารททํางานเปนปกติ
หรือไม
• ควรทําความเขาใจถึงขั้นตอนการ
ตรวจสอบกอนที่จะตรวจสอบ

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การทดสอบ
1. ทดสอบขดลวดดึง
2. ทดสอบขดลวดยึด
3. ตรวจเช็คระยะหางเฟองขับ
4. การทดสอบการคืนกลับของเฟองขับ
5. ทดสอบแบบไมมีภาระ
ขอควรระวัง:
• การทดสอบการทํางานโดยการจายไฟ
เขาไปเปนระยะเวลานาน อาจทําให
ขดลวดของมอเตอรไหม ดังนั้นควร
ทดสอบโดยใชเวลาประมาณ 3-5
วินาที
• การตรวจสอบแบบนี้จะทําใหรูวา
มอเตอรสตารททํางานเปนปกติ
หรือไม
• ควรทําความเขาใจถึงขั้นตอนการ
ตรวจสอบกอนที่จะตรวจสอบ

1. ทดสอบขดลวดดึง
2. ทดสอบขดลวดยึด
3. ตรวจเช็คระยะหางเฟองขับ
4. การทดสอบการคืนกลับของเฟองขับ
5. ทดสอบแบบไมมีภาระ
ขอควรระวัง:
• การทดสอบการทํางานโดยการจายไฟ
เขาไปเปนระยะเวลานาน อาจทําให
ขดลวดของมอเตอรไหม ดังนั้นควร
ทดสอบโดยใชเวลาประมาณ 3-5
วินาที
• การตรวจสอบแบบนี้จะทําใหรูวา
มอเตอรสตารททํางานเปนปกติ
หรือไม
• ควรทําความเขาใจถึงขั้นตอนการ
ตรวจสอบกอนที่จะตรวจสอบ

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การทดสอบ

ทดสอบขดลวดดึง
ตรวจสอบการทํางานปกติของสวิตช
แมเหล็ก
1. ตรวจสอบขดลวดดึง
(1)ปลดสายยึดขั้วสนามแมเหล็กออกจาก
ขั้ว C
(2)ตอแบตเตอรี่ขั้วบวก (+) ไปยังขั้ว 50
(3)ตอแบตเตอรี่ขั้วลบ (-) ไปยังตัวเรือน
และไปยังขั้ว C (สายทดสอบ A) และ
ตรวจสอบวาเฟองเลื่อนออกมา
1 ตัวเรือนมอเตอรสตารท 2 ขั้ว 50 3 จุดตอขั้ว C
4 5 6
ขอแนะนํา:
สายยึดขั้วสนามแมเหล็ก ขั้ว 30 สายทดสอบ A
7 ขดลวดยึด 8 ขดลวดดึง 9 เฟองขับ • การทํางานของสวิตชจุดระเบิดจะอยู
ในตําแหนง START กระแสไฟจะไหล
เขาสูขดลวดดึงและขดลวดยึดและทํา
การตรวจสอบวาเฟองเลื่อนออกมา
• ถาเฟองขับไมเคลื่อนที่ออกมาให
เปลี่ยนสวิตชแมเหล็กใหม

(1/1)

ทดสอบขดลวดยึด
ตรวจสอบการทํางานของขดลวดยึดปกติ
1. การทดสอบขดลวดยึด
(1)ถอดขั้วตรวจสอบ A ออกจากขั้ว C
หลังจากที่ทดสอบขดลวดดึง
(2)ตรวจสอบเฟองขับยังคงเลื่อนออกมา
คางอยู
ขอแนะนํา:
• ทําการถอดขั้วตรวจสอบ A ซึ่งตออยู
กับขั้วลบ (-) ของแบตเตอรีแ่ ละขั้ว C
1 ตัวเรือนมอเตอรสตารท 2 ขั้ว 50 3 จุดตอขั้ว C ทําใหกระแสไฟฟาไมไหลเขาในขด
4 สายยึดขั้วสนามแมเหล็ก 5 ขั้ว 30 6 สายทดสอบ A ลวดดึง แตกระแสไฟฟาจะไหลเขาสู
7 ขดลวดยึด 8 ขดลวดดึง 9 เฟองขับ ขดลวดยึด
• ถาเฟองขับถอยกลับเขาไป ใหทา
ํ การ
เปลี่ยนสวิตชแมเหล็กใหม

(1/1)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การทดสอบ

ตรวจเช็คระยะหางเฟองขับ
ตรวจสอบวาเฟองขับเลือ่ นออกมากนอย
แคไหน
1. ตรวจเช็คระยะหางเฟองขับ
ขณะทดสอบขดลวดยึดวัดระยะชองวาง
ระหวางเฟองขับและปลอกกั้นแหวนล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
ถาระยะชองวางของเฟองขับเกินคา
ที่กาํ หนด ใหทาํ การเปลี่ยนสวิตช
แมเหล็กใหม

(1/1)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การทดสอบ

ทดสอบการคืนกลับของเฟองขับ
ตรวจสอบวาเฟองขับเลือ่ นคืนกลับตําแหนง
เดิมหรือไม
1. การทดสอบการคืนกลับของเฟองขับ
(1)หลังจากทําการตรวจสอบการยึดของ
เฟองขับที่เลือ่ นออกมา ใหทาํ การถอด
สายกราวดออกจากตัวเรือนมอเตอร
สตารท
(2)เฟองขับจะเลื่อนกลับเขาที่สิ้นสุดการ
ทํางานของมอเตอรสตารท
1 ตัวเรือนมอเตอรสตารท 2 ขั้ว 50 3 จุดตอขั้ว C ขอแนะนํา:
4 สายยึดขั้วสนามแมเหล็ก 5 ขั้ว 30 6 สายทดสอบ A • หมุนสวิตชจุดระเบิดจากตําแหนง
7 ขดลวดยึด 8 ขดลวดดึง 9 เฟองขับ START กลับมายังตําแหนง ON
ทําใหกระแสไฟฟาไมสามารถจายไป
ที่ขดลวดยึดได เพราะฉะนั้นขดลวด
ยึดจะไมทาํ งาน
• ใหทาํ การเปลี่ยนสวิตชแมเหล็ก
ถาเฟองขับไมมีการเลื่อนกลับเขา
ตําแหนงเดิม

(1/1)

ทดสอบแบบไมมีภาระ
ตรวจสอบวาสภาพของตําแหนงการสัมผัส
ของสวิตชแมเหล็กและการสัมผัสระหวาง
คอมมิวเตเตอรกับแปรงถาน
1. ทดสอบแบบไมมีภาระ
(1)ยึดมอเตอรสตารทไวกับปากกาจับชิ้น
งานโดยใชอลูมิเนียมหรือผารองไว
(2)ตอสายยึดขั้วสนามแมเหล็กเขากับขั้ว C
(3)ตอขั้วบวก (+) เขาแบตเตอรี่ไปยัง
ขั้ว 30 และขั้ว 50

1 ตัวเรือนมอเตอรสตารท 2 ขั้ว 50 (4)ตอสายมัลติมเิ ตอรระหวางขั้วบวก (+)


3 4
ของแบตเตอรีแ่ ละขั้ว 30
จุดตอขั้ว C ขั้ว 30
(5)ตอสายไฟทดสอบของขั้วลบ (-)
ของแบตเตอรีม่ ายังตัวเรือนมอเตอร
สตารทจากนั้นมอเตอรจะหมุน

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การทดสอบ
(1/2)

(6)ตรวจสอบการไหลของกระแสไฟฟา
คากําหนดของกระแส:
ที่ 11 โวลทนอยกวา 50 A
ในกรณี COROLLA NZE รุน 12#
ขอควรระวัง:
• การทดสอบการทํางานโดยการจายไฟ
เขาไปเปนระยะเวลานาน อาจทําให
ขดลวดของมอเตอรไหม ดังนั้นควร
ทดสอบโดยใชเวลาประมาณ 3-5
วินาที
• การทดสอบแบบไมมีภาระการไหล
ของกระแสไฟฟาในมอเตอรสตารทขึ้น
อยูกับชนิดของมอเตอรสตารท บาง
ชนิดของมอเตอรสตารทกินกระแสไฟ
200 ถึง 300 A คาที่ใชในการกิน
กระแสใหดูจากคูมือการซอม และตอง
เลือกขนาดของแอมปมิเตอรใหเหมาะ
สมกับการวัด

1 ตัวเรือนมอเตอรสตารท 2 ขั้ว 50
3 จุดตอขั้ว C 4 ขั้ว 30

(2/2)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การติดตั้ง

การติดตั้ง สวนประกอบ
1. ติดตั้งมอเตอรสตารท

2. การตอสายขั้วลบเขากับแบตเตอรี่

(1/1)

ติดตั้งมอเตอรสตารท
1. ติดตั้งมอเตอรสตารท
ติดตัง้ มอเตอรสตารทและใชโบลทขันยึด
มอเตอรสตารทใหแนน

1 ปรับตั้ง

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การติดตั้ง

2. ประกอบขั้วตอของมอเตอรสตารท
(1)ประกอบขั้วตอของสวิตชเขากับขั้วตอ
ของชุดสายไฟ
(2)ตองตรวจสอบขั้วตอใหล็อคแนนสนิท
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

1 ปลั๊กตอ

3. ประกอบสายไฟมอเตอรสตารท
(1)ประกอบสายไฟเขาขั้ว 30 ของมอเตอร
สตารท
(2)ขันยึดสายไฟดวยนัตใหแนน
ขอแนะนํา:
ติดตั้งสายไฟของมอเตอรสตารทให
เรียบรอย ไมเชนนั้นมอเตอรสตารท
จะเสียหาย

1 สายไฟมอเตอรสตารท
2 นัตปรับตั้ง

4. ประกอบฝาครอบปองกันการลัด
วงจรที่ขั้ว 30

1 ฝาครอบชุดปองกันการลัดวงจร

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท การติดตั้ง

ตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


1. ตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
(1)ประกอบสายไฟแบตเตอรี่ขั้วลบ (-)
ติดตั้งของสายไฟแบตเตอรี่ใหเรียบรอย
มิฉะนั้นอาจทําใหขั้วของแบตเตอรีเ่ สีย
หาย
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(2)คืนขอมูลที่จดบันทึกไวใหกับรถ
หลังจากที่ตรวจสอบขั้นตอนเรียบรอย
แลว ใหปอนขอมูลของรถยนตกลับเพื่อ
ใหอุปกรณตางๆ ทํางานตามปกติ
• สถานีวิทยุ

• การตั้งนาฬิกา

• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
• ปรับตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ

1 ขั้วลบ (-)

(1/1)

การตรวจสอบขั้นสุดทาย
หมุนสวิตชจุดระเบิดในตําแหนงสตารท
และตรวจสอบการทํางานของมอเตอร
สตารทวาถูกตองหรือไม

1 สวิตชจุดระเบิด
2 มอเตอรสตารท

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอรจงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท แบบทดสอบ

คําถาม-1 จงเลือกประโยคที่ถูกตองเกี่ยวกับการปองกันการลัดวงจรของสายไฟที่ตอตรงมาจากแบตเตอรี่

ก. ฟวสที่ปองกันการลัดวงจรจะถูกตอที่ปลายของสายไฟ
ข. เทปกาวฉนวนจะตองพันบริเวณปลายของสายไฟ
ค. รีเลยที่ปองกันการลัดวงจรจะถูกตอที่ปลายของสายไฟ
ง. ฝาครอบที่ปองกันการลัดวงจรจะถูกตอกับสาย

คําถาม-2 จากรูปจงเลือกขอที่แสดงการวัดแปลงถานในตําแหนงที่ถูกตอง

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-3 จากภาพดานลางที่แสดงใหเห็นขดลวดชุดดึงและขดลวดชุดยึดในชุดสวิตชแมเหล็ก จงเลือกหัวขอทีถ่ ูกตอง


ในตารางทีก่ ลาวถึงอาการของมอเตอร ในกรณีเกิดการขาดวงจรในขดลวดแตละอัน เมือ่ ทําการบิดสวิตช
ไปทีต่ าํ แหนงสตารท

ขดลวดดึง ขดลวดยึด
ก. เฟองขับจะเลื่อนขบกับเฟองตาม ลูกสูบจะไมถูกดึง
และคืนกลับซ้าํ กันไปมา
ข. เฟองขับจะถูกยึดคางติดกับเฟองตาม ลูกสูบจะไมถูกดึง
ค. ลูกสูบจะไมถูกดึง เฟองขับจะถูกยึดคางติดกับเฟองตาม
ง. ลูกสูบจะไมถูกดึง เฟองขับจะเลือ่ นขบกับเฟองตาม
และคืนกลับซ้าํ กันไปมา

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมใหญมอเตอรสตารท แบบทดสอบ

คําถาม-4 วัตถุประสงคของการทดสอบการทํางานของชุดมอเตอรสตารทขณะไมมีภาระ (NO-LOAD TEST) คืออะไร?

ก. ตรวจสอบวาชุดสวิตชแมเหล็กทํางานปกติหรือไม
ข. ตรวจสอบวาเฟองขับเลื่อนออกมากนอยแคไหน
ค. ตรวจสอบวาเฟองขับเลื่อนคืนกลับตําแหนงเดิมหรือไม
ง. ตรวจสอบวาสภาพของตําแหนงการสัมผัสของสวิตชแมเหล็กและการสัมผัสระหวางคอมมิวเตเตอรกับแปรงถาน

คําถาม-5 ในการตรวจสอบชุดมอเตอรสตารทจะตองทําการทดสอบขดลวดดึง, ทดสอบขดลวดยึด, ตรวจเช็คระยะ


หางของเฟองขับและการคืนกลับของเฟองขับ จากขอความดานลางขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับขอควร
ระมัดระวังในการตรวจสอบชุดมอเตอรสตารท?

ก. การจายแรงดันไฟฟาหลายวินาทีจะทําใหขดลวดเสียหาย ควรศึกษาขั้นตอนการทดสอบลวงหนา
กอนทําการทดสอบและตองแนใจวาสามารถทําการตรวจสอบในแตละหัวขอของการทดสอบเสร็จ
ภายใน 3-5 วินาที
ข. การจายแรงดันไฟฟาหลายวินาทีจะทําใหขดลวดเสียหาย ควรศึกษาขั้นตอนการทดสอบลวงหนา
กอนทําการทดสอบ และตองแนใจวาสามารถทําการทดสอบทั้ง 4 หัวขอ คือ
ตั้งแตทดสอบขดลวดดึงจนถึงการคืนกลับของเฟองขับเสร็จภายใน 3-5 วินาที
ค. การจายแรงดันไฟฟาหลายวินาทีจะทําใหขดลวดเสียหาย ตองแนใจวาทําการทดสอบขดลวดดึง
และทดสอบขดลวดยึดเสร็จภายใน 3-5 วินาที
ง. การจายแรงดันไฟฟาหลายวินาทีจะทําใหการวินิจฉัยถูกตอง เพราะฉะนั้นการทดสอบแตละหัวขอ
จะเสร็จเรียบรอยตองใชเวลาอยางนอย 3 ถึง 5 นาที

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร รายละเอียดทั่วไป

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
วัตถุประสงคของตําราเลมนี้ จะทําใหคุณ
มีความรูความชํานาญในดานขั้นตอนการ
ตรวจสอบและการซอมอุปกรณไฟฟา
ระหวางที่ทาํ การศึกษาหนาที่ของระบบไฟ
ชารจในรถยนต
โดยทําตามขั้นตอนการปฏิบัติงานดังนี้
1. การถอด
ถอดสายพานและโบลท
นําอัลเทอรเนเตอรออกจากเครือ่ งยนต
2. การถอดแยกชิ้นสวน
ถอดพูลเลยออกจากอัลเทอรเนเตอร
จากนั้นถอดแยกโรเตอร, เรกติไฟเออร
และขดลวดสนามแมเหล็ก
3. การตรวจสอบ
ตรวจสอบความตอเนื่องของโรเตอร,
เรกติไฟเออร ฯลฯ
4. การประกอบกลับ
ประกอบชิ้นสวนทีถ่ อดแยก เชน โรเตอร,
เรกติไฟรเออร และขดลวดสนามแมเหล็ก
5. การติดตั้ง
ติดตัง้ อัลเทอรเนเตอรบนรถยนต
และทําการปรับตั้งสายพานใหตึง
(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอด

การถอด สวนประกอบ
1. การถอดขั้วลบแบตเตอรี่

2. ปลดสายไฟและขั้วตอของอัลเทอรเน-
เตอร

3. ถอดอัลเทอรเนเตอร
(1)สายพานขับ
(2)อัลเทอรเนเตอร
(3)แผนยึด

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอด

ถอดสายไฟขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
1. ถอดสายไฟขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
กอนทําการถอดสายไฟขั้วลบออกจากแบต
-เตอรี่ ควรทําการจดบันทึกขอมูลซึ่งบรรจุ
อยูภายในของกลอง ECU และอื่นๆ เชน
• DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)

• สถานีวิทยุ

• ตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
51-53)

1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

(1/1)

ปลดสายไฟและขั้วตอของอัลเทอรเน-
เตอร
1. ถอดสายไฟของขั้วอัลเทอรเนเตอร
(1)คลายนัตยึดขั้วอัลเทอรเนเตอร
(2)ถอดสายไฟของขั้วอัลเทอรเนเตอร
ขอแนะนํา:
สายไฟของอัลเทอรเนเตอรจะตอสาย
โดยตรงมาจากแบตเตอรี่ และจะมี
ฝาครอบขั้วอัลเทอรเนเตอร
เพื่อปองกันไฟฟาลัดวงจร

1 นัตยึดขั้วอัลเทอรเนเตอร
2 ฝาครอบขั้วอัลเทอรเนเตอร

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอด

2. ถอดขั้วตอของอัลเทอรเนเตอร
ปลดขั้วตอของอัลเทอรเนเตอรโดยใชมือกด
ออก และดึงขั้วตอของอัลเทอรเนเตอร
ออกจากตัวเรือน
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

1 ปลั๊กตอ

(1/1)

ถอดอัลเทอรเนเตอร
1. การถอดอัลเทอรเนเตอร
(1)คลายโบลทที่ยึดอัลเทอรเนเตอรถอด
สายพานขับออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานขับอัลเทอรเนเตอรเพื่อ
ถอดอัลเทอรเนเตอรอาจทําใหสายพาน
เกิดความเสียหายได
(2)ถอดโบลทยึดอัลเทอรเนเตอรทั้งหมด
และถอดอัลเทอรเนเตอร
ขอแนะนํา:
การติดตั้งและยึดอัลเทอรเนเตอรใน
ตําแหนงที่เหมาะสมจะตองทําการขัน
ยึดใหแนน ดวยเหตุนี้ เวลาถอด
อัลเทอรเนเตอรจะตองทําการโยกอัล-
เทอรเนเตอรขึ้น-ลงเพื่อถอดออก

1 ปลอกรอย
2 อัลเทอรเนเตอร
3 แผนรอง (ดานเครื่องยนต)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอด

การเปลี่ยนสายพานขับ
แบบไมมีลูกรอก
(ไมมีโบลทปรับตั้ง)
สําหรับแบบไมมีลูกรอก
(ไมมีโบลทปรับตั้ง)
วิธีการปรับตั้งความตึงสายพานจะทําได
โดยการปรับโบลทปรับตั้งเพื่อใหอุปกรณที่
ยึดอยูเลื่อนใหสายพานตึง
”สําหรับเครื่องยนต 1NZ-FE
1. ถอดสายพานขับ
(1)คลายโบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ของอัล-
เทอรเพื่อปรับแตงความตึงของสายพาน
(2)ดันอัลเทอรเนเตอรเขาหาเครื่องยนต
แลวถอดเอาสายพานออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานเพื่อทําใหอัลเทอรเน-
เตอรเลื่อนอาจทําใหสายพานเสียหาย

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด

(1/1)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอดแยกชิน้ สวน

การถอดแยกชิ้นสวน สวนประกอบ
1.ถอดพูลเลยอัลเทอรเนเตอร

2. ถอดซอมแปรงถานของอัลเทอรเนเตอร
(1)ฉนวนหุมขั้ว
(2)ซอมแปรงถาน
(3)ฝาครอบทาย

3. ถอดชุด IC
เร็กกูเลเตอรของอัลเทอรเนเตอร

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอดแยกชิน้ สวน

4. ถอดแผนยึดเรกติไฟรเออร (ไดโอด)
ของอัลเทอรเนเตอร

5. ถอดชุดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร
(1)เสื้อยึดสเตเตอร
(2)โรเตอร
(3)ฝาครอบทาย

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอดแยกชิน้ สวน

ถอดพูลเลยอ ัลเทอรเนเตอร
เมื่อทําการคลายนัตล็อคพูลเลย
ใหใชเครื่องมือพิเศษ (SST)
โดยการนํามายึดที่นัตพูลเลย
และทําการหมุนใหเขากับนัตยึดพูลเลยและ
ถอดนัตยึดพูลเลยออก
1. ถอดพูลเลยอัลเทอรเนเตอร
(1)สวมเครื่องมือพิเศษ 1-A และ 1-B
เขาที่ปลายแกนพูลเลย
และขันเครือ งมือพิเศษ1-A และ 1-B
ตามคาแรงขันกําหนดและยึดเครื่องมือ
พิเศษ1-A กับแกนพูลเลย
คาแรงขัน:
39.2 N-m (400kgf-cm)

1 เครื่องมือพิเศษ1-A (ประแจปากตาย
ยึด โรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -A)
2 เครื่องมือพิเศษ1-B (ประแจปากตาย
ยึด โรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -B)

(2)จับยึดเครื่องมือพิเศษ2
เขากับปากกาจับงาน
และสอดเขาไปในสวนหกเหลี่ยมของ
เครื่องมือพิเศษ ดวยเครื่องมือพิเศษ
1-A และ1-B

1 เครื่องมือพิเศษ 1 (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ 2 (ประแจยึดนัต
พูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 นัตล็อคพูลเลยอลั เทอรเนเตอร

(1/2)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอดแยกชิน้ สวน

(3)หมุนเครื่องมือพิเศษ 1-A ไปในทิศทาง


ดังในรูป เพื่อคลายนัตพูลเลยออก
ขอแนะนํา:
การยึดเครื่องมือพิเศษ2
(นัตล็อคพูลเลย)
,และขันเครือ่ งมือพิเศษ1-A เพื่อคลาย
นัตพูลเลยออกมากกวาครึ่งรอบ

1 เครื่องมือพิเศษ 1 (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ 2 (ประแจยึดนัต-
พูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 เครื่องมือพิเศษ1-A (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -A)
4 เครื่องมือพิเศษ1-B (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -B)

(4)ถอดอัลเทอรเนเตอรออกจากเครื่องมือ
พิเศษ2 และยึดเครื่องมือพิเศษ1-B
หมุนเครือ่ งมือพิเศษ 1-A เพื่อคลายตัว
มันเองจากนั้นถอดเครื่องมือพิเศษ 1-A
และ1-B จากอัลเทอรเนเตอร
ถอดนัตพูลเลยและพูลเลยอัลเทอรเน-
เตอร

1 เครื่องมือพิเศษ 1 (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ1-A (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -A)
3 เครื่องมือพิเศษ1-B (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -B)

(2/2)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอดแยกชิน้ สวน

ขอมูลอางอิง:
พูลเลยแบบชนิดมีคลัตชทางเดียว
สําหรับพูลเลยชนิดมีคลัตชทางเดียว
ยึดเพลาแกนของโรเตอรและหมุนพูลเลย
เพื่อถอดพูลเลยออก
1. ถอดพูลเลยอัลเทอรเนเตอร
(1)เตรียมเครื่องมือพิเศษ (A)
และเครื่องมือพิเศษ (B).

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)

(2)ถอดฝาครอบออก ใชเครื่องมือพิเศษ
(A) ประกอบเขากับแกนโรเตอร
ของอัลเทอรเนเตอร และเครื่องมือ
พิเศษ (B) เพื่อไปล็อคติดกับพูลเลย
อัลเทอรเนเตอร
ขอแนะนํา:
• พูลเลยแบบชนิดมีคลัตชทางเดียวจะมี
ฝาครอบอยู
• ฝาครอบจะไมสามารถนํามาใชใหมได
เวลาติดตั้งอัลเทอรเนเตอรจะตอง
เปลี่ยนฝาครอบ

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 สลักยึดพูลเลย
4 รูสลักยึดพูลเลย
5 พูลเลย
6 ฝาครอบ

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอดแยกชิน้ สวน

(3)ใชปากกาจับเครื่องมือพิเศษ (A) เอาไว

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 พูลเลย

(4)คลายพูลเลยออกโดยหมุนเครื่องมือ
พิเศษ (B) ตามเข็มนาฬิกา
และถอดพูลเลยออก
ขอควรระวัง:
เพราะการใชไขควงตอกพูลเลยเกิด
ความเสียหาย ดังนั้นควรใชเครื่องมือ
พิเศษ

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 พูลเลย

(1/1)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การถอดแยกชิน้ สวน

ถอดชุดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร
เสือ หลังของอัลเทอรเนเตอรจะมีลกู ปนยึดโร
เตอร จะตองถอดออกดวยเครือ งมือพิเศษ
1. ถอดเสื้อหลังของอัลเทอรเนเตอร
ใชขอเกี่ยวของเครื่องมือพิเศษ
เพื่อถอดตัวเรือนดานหลัง
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
21-28)

1 เครื่องมือพิเศษ
(ตัวดึงเรือนอัลเทอรเนเตอร)
2 ขอเกี่ยวของ SST
3 ปลายเสื้ออัลเทอรเนเตอร
4 ฝาประกับโรเตอร

2. ถอดชุดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร”
ถอดชุดโรเตอรโดยใชคอนเคาะออกจากอัล
เทอรเนเตอร
ขอควรระวัง:
เมือ่ ทําการใชคอนในการเคาะโรเตอร
โรเตอรจะตกลง ดังนั้น ควรจะมีผารอง
โรเตอรไวดานลางเสียกอน

1 โรเตอร
2 เสื้อยึดสเตเตอร
3 ผา
4 คอน

(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การตรวจสอบ

การซอมอัลเทอรเนเตอร สวนประกอบ
1. การตรวจสอบชุดโรเตอรอลั เทอรเนเตอร
2. ตรวจสอบชุดเรกติไฟเออร
3. ตรวจสอบชุดซองแปรงถาน

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การตรวจสอบ

การตรวจสอบชุดโรเตอรอลั เทอรเนเตอร
1. การตรวจสอบดวยตาเปลา
ตรวจสอบรอยขีดและคราบสกปรกทีส ลิปริง
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบดวยสายตา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
91)
ขอแนะนํา:
• สลิปริงจะมีแปรงถานสัมผัสกันอยู
ขณะหมุนเพื่อผลิตกระแสไฟฟา
• การเกิดประกายไฟของกระแสไฟฟา
ทําใหเกิดคราบสกปรกและการเปน
รอยของสลิปริง
• คราบสกปรกและรอยไหมทา ํ ใหกระ-
แสไฟฟาที่ไหลไมสะดวกและประสิทธิ
ภาพการทํางานของอัลเทอรเนเตอร
ลดลง
2. การทําความสะอาด
ใชผาและแปรงทําความสะอาดสลิปริงและ
โรเตอร ถาทําความสะอาดแลว
สังเกตยังมีรอยซึงเกิดจากความสกปรกและ
รอยไหมทเี ดนชัด ใหทาํ การเปลียนโรเตอร
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
86-89)
(1/4)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การตรวจสอบ

3. ตรวจสอบความตอเนื่องระหวาง
สลิปริง
ใชมลั ติมเิ ตอรตรวจสอบการตอเนือง
ระหวางสลิปริ
ขอแนะนํา:
• โรเตอรเวลาหมุนจะเปนแมเหล็กไฟฟา
และภายในมีขดลวดซึง ตอมายังสลิปริง
• การตรวจสอบการตอเนื่องระหวาง
สลิปริง ใชเพื่อตรวจสอบการขาดวงจร
ของขดลวดซึ่งอยูภายในชุดโรเตอร
• ถาพบขอบกพรองของฉนวนหรือ
สภาพตอเนื่องใหเปลี่ยนโรเตอร

1 ความตอเนื่อง
(2/4)

4. ตรวจสอบการลงกราวดระหวาง
สลิปริงและโรเตอร
การใชมลั ติมเิ ตอรตรวจเช็ควาไมมกี ารตอ
เนืองระหวางสลิปริงและโรเตอร
ขอแนะนํา:
• ‘ระหวางสลิปริงและโรเตอรจะมีตัว
ปองกันกระแสไฟฟาลัดวงจร (ฉนวน)
อยูภายใน
• ถาขดลวดคอยลในโรเตอรลัดวงจร
กระแสไฟฟาจะไหลระหวางคอยลและ
โรเตอร
• การตรวจสอบฉนวนระหวางสลิปริง
และโรเตอรสามารถตรวจสอบการลัด
วงจรภายในขดลวด
• ถาพบขอบกพรองของฉนวนหรือ
สภาพตอเนื่องใหเปลี่ยนโรเตอร

1 ไมตอเนื่อง
(3/4)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การตรวจสอบ

5. วัดขนาดลสิปริง
ใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดเสนผานศูนย
กลางนอกของสลิปริง
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
• ถาคาที่วัดไดไมไดตามคากําหนด
ใหทาํ การเปลี่ยนโรเตอร
• สลิปริงจะมีแปรงถานสัมผัสกันอยู
ขณะหมุนเพื่อผลิตกระแสไฟฟา
ดังนั้น เมื่อขนาดความโตของสลิปริง
ต่าํ กวาคามาตรฐานที่กาํ หนดไว
เปนผลทําใหหนาสัมผัสระหวาง
สลิปริงและแปรงถานจะเกิดการหาง
เปนผลทําใหการไหลของกระแสไฟฟา
ไมคงที่
ดังนั้นจะทําใหการผลิตไฟของอัลเทอร
เนเตอรจะลดประสิทธิภาพลง
(4/4)

ตรวจสอบเร็กติไฟเออร
1. ตรวจสอบไดโอดในเร็กติไฟเออร
(1)ตรวจสอบไดโอดโดยใชโหมดทดสอบ
ไดโอดในมัลติมเิ ตอร
(2)ใชมัลติมิเตอรทดสอบระหวางขั้ว B
ของชุดเร็กติไฟเออร และกับขั้ว P1 ถึง
P4 โดยตรวจสอบวามีการตอเนื่อง
เพียงดานเดียวและอีกดานหนึ่งไมมีการ
ตอเนื่อง
(3)เปลี่ยนการตรวจสอบการตอเนื่องจาก
ขั้ว B เปนขั้ว E
และตรวจสอบเหมือนกับขอ 2

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การตรวจสอบ

ขอแนะนํา:
• วงจรของระบบไฟชารจ
• อัลเทอรเนเตอรสรางไฟฟากระแสสลับ
แตในรถยนตจาํ เปนตองใชไฟฟา
กระแสตรง ดังนัน จําเปนตองแปลง
กระแสสลับใหเปนกระแสตรงดวยเร็ก
ติไฟเออร
เร็กติไฟเออรจะแปลงกระแสสลับให
เปนกระแสตรงโดยผานไดโอด
• ไดโอดจะใหกระแสไหลผานไดทางเดียว
ดังนัน เมือ มีการตรวจสอบโดยใช
อุปกรณทดสอบวงจรไฟฟา
หรือใชมเิ ตอรตรวจสอบ ซึง ใชกระแสไฟ
จากแบตเตอรีภ ายในของมิเตอร
ตรวจสอบไดโอดโดยใหกระแสไฟไหล
ผานไดโอดเพือ ทดสอบวาดีหรือเสีย
(1/1)

ตรวจสอบชุดซองแปรงถาน
1. ตรวจสอบชุดซองแปรงถาน
ใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดสวนยืนของแปรง
ถาน
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
71-74)
ขอแนะนํา:
• ‘การวัดแปรงถานจะตองวัดกึ่งกลาง
ของแปรงถาน
เนื่องจากมีการสึกหรอมากที่สุด
• สลิปริงจะสัมผัสอยูกับแปรงถาน
และกระแสไฟจะไหลเมือ่ เกิดการหมุน
ของสลิปริง ดวยเหตุนี้ ถาแปรงถาน
สั้นกวาดามมาตรฐาน จะทําให
การไหลของกระแสไฟฟาไมสม่าํ เสมอ
เพราะฉะนั้น การผลิตไฟแรงเคลื่อนที่
ออกจากอัลเทอรเนเตอรจะต่าํ
• การวัดแปรงถาน ถาต่า ํ กวามาตรฐาน
ใหเปลีย่ นชุดแปรงถานใหม
(1/1)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร การตรวจสอบ

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบชิน้ สวน

การประกอบชิ้นสวน สวนประกอบ
1. ติดตั้งโรเตอร
(1)เสื้อยึดขดลวดสเตเตอร
(2)โรเตอร
(3)ฝาครอบทาย

2. ติดตั้งแผนยึดติดเรกติไฟรเออร
(ไดโอด)ของอัลเทอรเนเตอร

3. ติดตั้งชุด IC
เร็กกูเลเตอรของอัลเทอรเนเตอร

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบชิน้ สวน

4. ประกอบชุดซองแปรงถานของอัลเทอร-
เนเตอร
(1)ฝาครอบทาย
(2)ซองแปรงถาน
(3)ฉนวนหุมขั้ว

5. ประกอบพูลเลยอัลเทอรเนเตอร

(1/1)

ติดตั้งโรเตอร
1. ประกอบชุดโรเตอรอัลเทอรเนเตอร
ประกอบโรเตอรบนชุดเสื้อยึดสเตเตอร

1 โรเตอร
2 เสื้อยึดสเตเตอร
3 คอน

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบชิน้ สวน

2. การประกอบโรเตอรเขากับเสื้อหลัง
ใชเครื่องอัด อัดเครื่องยึดสเตเตอร
และประกอบเสื้อหลัง
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
21-28)
ขอควรระวัง:
• ใชประแจบล็อกขนาด 29 มม.
กับเครื่องอัด คอยๆ อัดเสื้อหลังเขาที่
อยาใชอปุ กรณอื่น เชน
เหล็กตอกที่ตวั โรเตอร
• กําหนดขนาดของประแจบล็อคที่จะใช
กดบนอัลเทอรเนเตอรขึ้นอยูกับชนิด
ของอัลเทอรเนเตอร

1 ประแจบล็อก
(1/1)

ประกอบชุดซองแปรงถานของอัลเทอร-
เนเตอร
1. ประกอบชุดซองแปรงถานของอัล-
เทอรเนเตอร
ประกอบฝาครอบซองแปรงถาน และใช
ไขควงตัวเล็กขันสกรูเพื่อยึดซองแปรงถาน
เขาดานบนของเสื้ออัลเทอรเนเตอร
2. การตรวจสอบดวยตาเปลา
เมื่อทําการขันสกรูดวยไขควงเสร็จเรียบ-
รอยแลว ใหทาํ การตรวจสอบดูการสัมผัส
ระหวางแปรงถานกับสลิปริงวาสัมผัสกัน
หรือไม
ขอควรระวัง:
แปรงถานเปนอุปกรณที่ออนกวาไขควง
เพื่อปองกันแปรงถานชํารุดเสียหาย
ควรเอาผาหรือเทปพันสายไฟพันรอบๆ
ไขควง เมื่อใชกดแปรงถาน

1 ซองแปรงถาน
(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบชิน้ สวน

ืประกอบพูลเลยอ ัลเทอรเนเตอร
เมื่อทําการประกอบพูลเลยและล็อคนัตเขา
ดวยกันใหแนนดวยมือ จากนั้นใหยึดนัต-
ล็อคพูลเลยดว ยเครื่องมือพิเศษ
และขันใหแนน
1. ประกอบพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร
(1)ประกอบพูลเลยเขากับอัลเทอรเนเตอร
และยึดนัตล็อคพูลเลยไวชั่วคราว และ
ติดตั้งเครื่องมือพิเศษ 1-A
และเครื่องมือพิเศษ1-B
ที่ดานบนของแกนพูลเลย
จากนั้นขันเครือ่ งมือพิเศษ1-A และ1-
B ดวยประแจปอนด ใหไดคาแรงขัน
ที่กาํ หนดและยึดเครื่องมือพิเศษ 1-A
กับแกนพูลเลย
คาแรงขัน:
39.2 นิวตัน-เมตร (400 กก.-ซม.)

1 เครื่องมือพิเศษ1-A (ประแจปากตาย
ยึด โรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -A)
2 เครื่องมือพิเศษ1-B (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร -B)

(2)จับยึดเครื่องมือพิเศษ2 ดวยปากกา
และขณะเครื่องมือพิเศษ1-A และ 1-B
ติดตั้งอยูที่อัลเทอรเนเตอร สอดนัตล็อค
พูลเลยเขาไปในสวนหกเลี่ยมของเครื่อง
มือพิเศษ

1 เครื่องมือพิเศษ 1 (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ 2 (ประแจยึดนัต
พูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 นัตล็อคพูลเลยอลั เทอรเนเตอร
(1/2)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบชิน้ สวน

(3)หมุนเครื่องมือพิเศษ1-A ไปตาม
ทิศทางแสดงในรูป เพื่อขันนัตล็อค
พูลเลยใหแนน และทําการถอด อัล-
เทอรเนเตอรออกจากเครื่องมือพิเศษ2

1 เครื่องมือพิเศษ 1 (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ 2 (ประแจยึดนัตพูล-
เลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 เครื่องมือพิเศษ1-A (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร-A)
4 เครื่องมือพิเศษ1-B (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร-B)

(4)ขณะยึดเครื่องมือพิเศษ1-B
จงหมุนเครื่องมือพิเศษ1-A
ตามเข็มนาฬิกา เพื่อคลายมันออก
จากนั้นจึงถอดเครื่องมือพิเศษ1-A
และ1-B ออกจากอัลเทอรเนเตอร
และตรวจสอบพูลเลยหมุนอยางคลอง
หรือไม

1 เครื่องมือพิเศษ 1 (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ1-A (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร-A)
3 เครื่องมือพิเศษ1-B (ประแจปากตาย
ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร-B)
(2/2)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบชิน้ สวน

ขอมูลอางอิง:
พูลเลยแบบชนิดมีคลัตชทางเดียว
สําหรับพูลเลยชนิดมีคลัตชทางเดียวยึด
เพลาแกนของโรเตอรและหมุนพูลเลย
เพื่อถอดพูลเลยออก
1. ประกอบพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร
(1)เตรียมเครื่องมือพิเศษ (A)
และเครื่องมือพิเศษ (B).

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)

(2)ใชเครืองมือพิเศษ (A) ประกอบเขา


ล็อคกับแกนโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร
และเครือ งมือพิเศษ (B) เพือ ไปล็อคติด
กับพูลเลยอลั เทอรเนเตอร
ขอแนะนํา:
พูลเลยแบบชนิดมีคลัตชทางเดียวจะมี
ฝาครอบอยู

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 สลักยึดพูลเลย
4 รูสลักยึดพูลเลย
5 พูลเลย
6 ฝาครอบ

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบชิน้ สวน

(3)ใชปากกาจับปลายของเครื่องมือพิเศษ
(A) เอาไว

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)ฉ
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 พูลเลย

(4)ขันพูลเลยดวยเครื่องมือพิเศษ (B)
และติดตั้งฝาครอบและถอดพูลเลยออก
ขอควรระวัง:
เพราะการใชไขควงตอกอาจจะทําใหพูล
เลยเกิดความเสียหาย
ดังนั้นควรใชเครื่องมือพิเศษ

1 เครื่องมือพิเศษ (A) (ประแจปากตาย


ยึดโรเตอรของอัลเทอรเนเตอร)
2 เครื่องมือพิเศษ (B) (ประแจปากตาย
ยึดพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร)
3 พูลเลย
(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบ
การติดตั้ง สวนประกอบ
1. ติดตั้งอัลเทอรเนเตอร
(1)แขนยึดอัลเทอรเนเตอร
(2)อัลเทอรเนเตอร
(3)สายพาน

2. ตอสายไฟของอัลเทอรเนเตอรและขัว ตอ

3. การตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบ
ติดตั้งอัลเทอรเนเตอร
1. ติดตั้งอัลเทอรเนเตอร
(1)เลื่อนตัวปลอกรอยนัตใหหนาสัมผัส
ดานในเสมอกับแขนยึดของ
อัลเทอรเนเตอร
ขอแนะนํา:
ใชคอนและแทงทองเหลืองตอกปลอกรู
รอยนัตใหเลื่อนออกกอนทําการติดตั้ง
อัลเทอรเนเตอร
(2)ติดตั้งอัลเทอรเนเตอรชั่วคราวเขากับ
1 ปลอกรอน 2 อัลเทอรเนเตอร แขนยึดของเครือ่ งยนตโดยใชโบลทยึด
3 แผนรอง (ดานเครื่องยนต) 4 โบลทยึด (A) ไวชั่วคราว (A)
5 โบลทยึด (B) (3)ติดตั้งโบลท B ยึดอัลเทอรเนเตอร
(4)ติดตั้งสายพาน
(5)ปรับตั้งความตึงของสายพานโดยใช
คอนหรือเครื่องมืออืน่ ๆ ดันอัลเทอร-
เนเตอรออกจากตัวเครื่องยนต
(6)ทําการติดตั้งอัลเทอรเนเตอรและขัน
โบลท (A) และโบลท (B)
ของอัลเทอรเนเตอรใหแนน

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบ
2. ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขาไปที่พูลเลยในขณะที่
โบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ยังคลายอยู
(2)ใชดามคอนหรือดามขันของเครื่องมือ
อื่นๆ ดันเลื่อนอัลเทอรเนเตอรเพื่อ
ปรับความตึงของสายพาน
แลวขันโบลทยึดตัวที่ 3 ใหแนน
ขอควรระวัง:
• วางปลายดามคอนไวทต ี าํ แหนงทีจะไม
ทําใหชนิ้ สวนเสียหาย เชน
ฝาสูบหรือเสื้อสูบ
• จะตองใชดามคอนหรือดามขันอื่นๆ
งัดเขากับสวนทีแ่ ข็งและกึ่งกลางของ
อัลเทอรเนเตอร
(3)ตรวจเช็คคาความตึงของสายพานขับ
ทุกครั้งและขันโบลท 2 ใหไดตามคากํา
หนด
1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด
(1/1)

ตอสายไฟของอัลเทอรเนเตอรและขั้วตอ
1. ตอสายไฟขั้วอัลเทอรเนเตอร
(1)ขอตอสายไฟของอัลเทอรเนเตอรตอ ง
จัดใหตรงและเรียบรอย มิฉะนั้นจะทํา
ใหขั้วของอัลเทอรเนเตอรเกิดความเสีย
หาย
(2)ติดตั้งนัตยึดอัลเทอรเนเตอร
(3)ติดตั้งฝาครอบอัลเทอรเนเตอร
ขอแนะนํา:
สายไฟของอัลเทอรเนเตอรจะตอสาย
โดยตรงมาจากแบตเตอรี่ และจะมีฝา
ครอบขั้วอัลเทอรเนเตอร
เพื่อปองกันไฟฟาลัดวงจร
1 นัตยึดขั้วอัลเทอรเนเตอร
2 ฝาครอบขั้วอัลเทอรเนเตอร

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอเนเตอร การประกอบ
2. ขั้วตอของอัลเทอรเนเตอร
(1)ประกอบขั้วตอของสวิตชเขากับขั้วตอ
ของชุดสายไฟ
(2)ตองแนใจวาขั้วตอไดตอ กันอยางแนน
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)
1 ขั้วตอ
(1/1)

ตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


1. ตอขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
(1)สายไฟขอตอของขั้วลบของแบตเตอรี่
ตองจัดเรียงใหเรียบรอย มิฉะนั้นจะทํา
ใหขั้วของแบตเตอรี่เกิดความเสียหาย
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
51-53)
(2)บันทึกขอมูลที่จดบันทึกไวใหกับรถ
หลังจากทีต รวจสอบขัน ตอนเรียบรอยแลว
ใหปอ นขอมูลของรถยนตกลับเพือ ใหอปุ กรณ
ตางๆ ทํางานตามปกติ
• สถานีวิทยุ

• การตั้งนาฬิกา

• ปรับตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
• ปรับตําแหนงเบาะนั่ง
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ
1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
(1/1)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอร จงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร แบบทดสอบ

คําถาม-1 อุปกรณปองกันกรณีสายไฟฟาที่ตอระหวางอัลเทอรเนเตอรกับแบตเตอรี่เกิดการลัดวงจรคือขอใด ?

ก. เทปที่พันปลายสายไฟฟา 。
ข. รีเลยที่ติดตั้งอยูที่ปลายสายไฟฟา 。
ค. ฝาครอบที่ครอบอยูกับชุดสายไฟ 。
ง. ฟวสที่ตดิ ตั้งที่ปลายสายไฟฟา 。

คําถาม-2 จงเลือกขอความทีถ่ ูกตองเกี่ยวกับการคลายนัตล็อคในของพูลเลยของอัลเทอรเนเตอร。

ก. หมุนนัตโดยทําการยึดพูลเลยดว ยปากกา เพื่อปองกันนัตและเพลาหมุนตามกัน。


ข. หมุนนัตโดยทําการยึดพูลเลยดว ยคีมปากแหลม เพื่อปองกันนัตและเพลาหมุนตามกัน และถอดนัตล็อคออก。
ค. หมุนเพลาโดยทําการยึดนัตล็อคพูลเลยดวยเครื่องมือพิเศษ เพื่อปองกันนัตและเพลาหมุนตามกัน。
ง. หมุนนัตโดยทําการยึดนัตล็อคพูลเลยดวยเครื่องมือพิเศษ เพื่อปองกันนัตและเพลาหมุนตามกัน
และถอดนัตล็อคออก。

คําถาม-3 จากผลการตรวจสอบสลิปริงของโรเตอรโดยการวัดความตอเนื่องและวัดสภาพฉนวน。
ขอความใดตอไปนี้ที่กลาวถูกตอง?

Continuity check Insulation check

ก. ตรวจสอบการขาดวงจรของเร็กติไฟเออรในโรเตอร 。 ตรวจสอบการลัดวงจรของเร็กติไฟเออรในโรเตอร 。
ข. ตรวจสอบการลัดวงจรของเร็กติไฟเออรในโรเตอร 。 ตรวจสอบความเปนฉนวนของเร็กติไฟเออรในโรเตอร 。
ค. ตรวจสอบการขาดวงจรของขดลวดในโรเตอร 。 ตรวจสอบการลัดวงจรของขดลวดในโรเตอร 。
ง. ตรวจสอบการลัดวงจรของขดลวดในโรเตอร 。 ตรวจสอบการขาดวงจรของขดลวดในโรเตอร 。

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - การซอมอัลเทอรเนเตอร แบบทดสอบ

คําถาม-4 รูปใดที่แสดงการวัดเสนผาศูนยกลางของสลิปริงไดอยางถูกตอง ?。

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-5 จากรูป ชิ้นสวน ‘a’ คืออะไร ?

ก. โรเตอร
ข. เสื้อหลัง
ค. เร็กติไฟเออร
ง. เสื้อหนา

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ รายละเอียดทั่วไป

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ถาแอรไมเย็นหรือเย็นไมเต็มที่ กอนอื่นให
ทําการตรวจเช็คปริมาณสารทําความเย็น
ในระบบ ถาสารทําความเย็นนอยเกินไป
ใหตรวจเช็คการรัว่ และทําการซอมแซม
กอนเติมสารทําความเย็นใหม
ในสวนนีจ ะอธิบายถึงวิธกี ารถอด ประกอบ
และการเติมสารทําความเย็นเขาไปในระบบ
1. ตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น
ตรวจสอบปริมาณของสารทําความเย็นและ
การรั่วของกาซ
2. การฟนฟูสารทําความเย็น
ฟนฟูสารทําความเย็นไวเพื่อนํากลับมาใช
อีกครั้ง
ขอแนะนํา:
การฟนฟูสารทําความเย็นของเครื่อง-
ปรับอากาศจะมีเครือ่ งสําหรับฟนฟูสาร
ทําความเย็นโดยเฉพาะ
3. การถอดและประกอบคอมเพรสเซอร
ของชุดเครือ งปรับอากาศ
ทําการถอดสายพานขับ ถอดและติดตั้ง
คอมเพรสเซอรของเครื่องปรับอากาศ
4. การเติมสารทําความเย็นเขาในระบบ
เติมสารทําความเย็นเขาในระบบเครื่อง-
ปรับอากาศ

1 ตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น
2 ชุดฟนฟูสารทําความเย็น
3 การทําสุญญากาศ
4 การเติมสารทําความเย็น
5 A/C คอมเพรสเซอร
(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

ตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น การตรวจสอบปริมาณของสารทําความ
เย็น มีดวยกัน 2 วิธี
การตรวจสอบปริมาณของสารทําความเย็น
มีดวยกัน 2 วิธี
1. เงื่อนไขในการตรวจเช็ค
ตรวจสอบแรงดันของสารทําความเย็นภาย
ใตเงื่อนไขดังขางลางตอไปนี้
• ติดเครื่องยนตเรงความเร็วรอบ 1,500
รอบ/นาที
• เปดสวิตชพัดลมไปที่ความเร็ว "HI"
• เปดสวิตช A/C
• เลือกปรับตัวควบคุมอุณหภูมิไปที่
"MAX COOL" (เย็นสุด)
• เปดประตูรถทั้งหมด
(1/5)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

2. ตรวจดูสารทําความเย็นที่กระจกมอง
น้ํายา
ตรวจเช็คสารทําความเย็นโดยสังเกตการ
ไหลของสารทําความเย็นที่กระจกมอง
น้าํ ยา
A สารทําความเย็นเหมาะสม

มีฟองอากาศเล็กนอย นั่นหมายความวา
ปริมาณสารทําความเย็นในระบบพอดี
B สารทําความเย็นไมเพียงพอ

มีฟองอากาศอยางตอเนื่อง นั่นหมายความ
วาปริมาณสารทําความเย็นในระบบมีนอย
เกินไป
C ไมมีสารทําความเย็น

หรือมีมากเกินไป
ไมมีฟองอากาศ นั่นหมายความวา
ไมมีสารทําความเย็นในระบบหรือเติมสาร
ทําความเย็นมากเกินไป
ขอแนะนํา:
• โดยทั่วไป จํานวนของฟองอากาศ
ที่มากจะยังมองวามีสารทําความเย็น
ไมเพียงพอ แตถาสังเกตุไมพบฟอง
มากไป แสดงวามีสารทําความเย็น
พอดี แตถามองจากกระจกมองน้าํ ยา
แลวไมมีฟอง แสดงวาปริมาณของสาร
ทําความเย็นไมมีหรือมีสารทําความ
เย็นมากเกินไป
• สําหรับคอนเดนเซอร ชนิด sub-
cooling ตองเติมสารทําความเย็นสัก
เล็กนอยหลังจากถึงจุดที่ฟองหายไป
ดวยเหตุนี้อาจทําใหตัดสินไปวาเปน
ปกติได ทั้งๆที่ปริมาณสารทําความ
เย็นนอยกวาคากําหนด
• ฟองอากาศอาจเกิดขึ้นได แมวา
จะมีปริมาณสารทําความเย็นที่เหมาะ
สมแลว ซึ่งนี่เปนผลจากการหมุนและ
สภาพความดันของสารทําความเย็น

1 กระจกมองน้าํ ยา
(2/5)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

3. ”ตรวจสอบโดยใชชุดแมนิโฟลดเกจ
ใชชุดแมนิโฟลดเกจ
เพื่อตรวจสอบปริมาณของน้าํ ยาและแรงดัน
(1)ติดตั้งแมนิโฟลดเกจ
ขอแนะนํา:
ไมควรตอขั้วตอตรงกลางของ
แมนนิโฟลดเกจ

(3/5)

ติดตั้งชุดแมนนิโฟลดเกจ
1. คุณลักษณะของชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)เกจมี 2 ตัว คือ เกจวัดแรงดันต่าํ
และเกจวัดแรงดันสูง
(2)สับชองทางเติมสารทําความเย็นโดย
เปดและปดวาลว
ขอแนะนํา:
แมนิโฟลดเกจทีอ่ อกแบบมาสําหรับ
HFC-134a (R134a)
ไมสามารถที่จะนําไปใชกับระบบที่เปน
CFC-12 (R12) ได

1 ปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
2 เปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
3 ปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi
4 เปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi
(1/2)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

2. ติดตั้งชุดแมนนิโฟลดเกจ
(1)หมุนปดวาลวดานแรงดันต่าํ (Lo)
และวาลวดานแรงดันสูง (Hi)
ของชุดแมนนิโฟลดเกจใหสนิท
คําเตือน:
• การตอขอตอของสารทําความเย็นจะ
ตองขันขอตอดวยมือใหแนน และหาม
ใชอุปกรณหรือเครื่องมือในการขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นเกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย่ นใหม
• ขนาดของขอตอจะแตกตางกันทั้งดาน
แรงดันสูงและดานแรงดันต่าํ
ซึ่งขอตอจะไมสามารถใสสลับกันได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียง
ดัง “คลิก”
• เมื่อทําการตอชุดแมนิโฟลดเกจ
อยาทําใหทอคดงอ

1 ปด

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

(2)ตอปลายสายของทอเติมสารทําความ
เย็นเขาที่ชุดแมนนิโฟลดเกจ และอีก
ขางหนึ่งของปลายทอเขากับวาลว
บริการบนรถยนต
• ทอสีนา้ํ เงิน –> ดานแรงดันต่าํ
• ทอสีแดง –> ดานแรงดันสูง

คําเตือน:
• การตอขอตอของสารทําความเย็นจะ
ตองขันขอตอดวยมือใหแนน และหาม
ใชอุปกรณหรือเครื่องมือในการขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นเกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย่ นใหม
• ขนาดของขอตอจะแตกตางกันทั้งดาน
แรงดันสูงและดานแรงดันต่าํ
ซึ่งขอตอจะไมสามารถใสสลับกันได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียงดัง
“คลิก”
• เมื่อทําการตอชุดแมนิโฟลดเกจ
อยาทําใหทอคดงอ

1 วาลวบริการ (ดานรถยนต)
2 แมนิโฟลดเกจ
3 ขอตอสวมเร็ว
4 ทอยางชารจสารทําความเย็น
(2/2)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

(2)ทําการสตารทเครื่องยนตและตรวจ
สอบแรงดันจากเข็มชีข องชุดแมนนิ
โฟลดเกจ
ขณะระบบปรับอากาศทํางานอยู
คาแรงดันที่กาํ หนด:
• ดานแรงดันต่า ํ
0.15-0.25MPa
(1.5-2.5 กก/ซม², 21-36 ปอนด/
นิ้ว²)
• ดานแรงดันสูง
1.37-1.57MPa
(14-16 กก/ซม², 199-228 ปอนด/
นิ้ว²)
ขอแนะนํา:
คาแรงดันทีแสดงทีเกจอาจมีการเปลียน
แปลงเล็กนอยขึนอยูกับอุณหภูมขิ อง
อากาศภายนอก
(4/5)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

ขอมูลอางอิง:
สาเหตุของอาการผิดปกติของความดัน
เกินคากําหนด
ตรวจสอบระบบทําความเย็นโดยใช
ชุดแมนนิโฟลดเกจ
1. แรงดันทางดาน LO ต่ํา
• มีความชื้นเขาไปในระบบปรับอากาศ

2. แรงดันที่เกจวัดทั้งสองดานอานคาได
ต่ํา
• ปริมาณสารทําความเย็นในระบบ
ไมเพียงพอ
• ปริมาณสารทําความเย็นในระบบรั่ว

3. แรงดันที่เกจวัดทั้งสองดานจะอานคา
ไดสูง
• มีปริมาณของสารทําความเย็นในระบบ
มากเกินไป
• การระบายความรอนของคอนเดนเซอร
ไมเพียงพอ
4. แรงดันที่เกจวัดดานความดันต่ําจะ
อานคาไดสูง และแรงดันที่เกจ
วัดดานความดันสูงจะอานคาไดต่ํา
• เกิดการรั่วในคอมเพรสเซอรของ
ระบบ ปรับอากาศ
(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

4. ตรวจสอบการรัว ของสารทําความเย็น
(1)ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
โดยใชเครื่องมือทดสอบการรั่ว
(2)จุดตางๆ ที่จะตองทําการเช็คการรั่ว
มีดังนี้

1 ตัวตานทานโบลวเวอร
2 A/C คอมเพรสเซอร
3 คอนเดนเซอร
4 อีวาปอเรเตอร
5 รีซีฟเวอร หรือ โมดูเลเตอร
6 ทอระบาย
7 ตําแหนงการตอทอ
8 EPR (พรอมตัวควบคุม
แรงดันในอีวาปอเรเตอร)
9 เครื่องมือทดสอบรั่ว
(5/5)

ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
ใชเครื่องมือตรวจสอบการรั่วของสารทํา
ความเย็น
1. ลักษณะการทํางาน
• ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
โดยสังเกตจากหลอดไฟจะกะพริบ
และมีเสียงดัง
• เมือ
่ ขยับเครื่องตรวจสอบเขาใกลจุดตํา-
แหนงที่รั่วโดยมีระยะหางพอประมาณ
หลอดไฟจะกะพริบและมีเสียงดังถี่ขึ้น
• การพัฒนาความไวของเครื่องทดสอบ
ทําใหความสามารถตรวจสอบรอยรัว่
เพียงเล็กนอยได
(1/2)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

2. ขั้นตอนการปฏิบัติ
ตรวจสอบรอยรั่วที่จุดเชื่อมตอของทอ
จุดทอระบายน้าํ ของระบบปรับอากาศ
และตรวจสอบการทํางานของพัดลม อื่นๆ
ขอแนะนํา:
• เครื่องยนตจะตองไมทา
ํ งานขณะตรวจ
สอบ
• สารทําความเย็นจะมีนา ้ํ หนักมากกวา
อากาศจึงเคลื่อนที่ลงดานลาง ดังนั้น
การตรวจสอบการรัว่ จะตองใชเครื่อง
มือตรวจสอบเริ่มจากดานลางและ
เลื่อนไปตามเสนรอบวงทออยางชาๆ
• ทําการตรวจเช็ค
ขณะสั่นทอดวยแรงเบาๆ
(2/2)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

การถอด สวนประกอบ
1. การฟนฟูสารทําความเย็น

2. ถอดคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

การเปลี่ยนถายสารทําความเย็น
1. ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังนี้
• สวิตชเครื่องปรับอากาศอยูในตําแหนง
"OFF"
• สวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง "LOCK"
(เครื่องยนตไมทาํ งาน)
2. ใชเครื่องฟนฟูสารทําความเย็น
ขอแนะนํา:
เครื่องฟนฟูสารทําความเย็นจะมีความ
แตกตางกันตามแตละรุน ดังนั้น
ควรศึกษาจากคูมือการใชงาน

1 แมนิโฟลดเกจ
2 เครื่องฟนฟูสารทําความเย็น
3 ทอยางสีเขียว
4 สวิตชจุดระเบิด
5 สวิตชชุดเครื่องปรับอากาศ

(1/1)

ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
1. คุณลักษณะของชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)เกจมี 2 ตัว คือ
เกจวัดแรงดันต่าํ และเกจวัดแรงดันสูง
(2)สับชองทางเติมสารทําความเย็น
โดยเปดและปดวาลว
ขอแนะนํา:
แมนิโฟลดเกจทีอ่ อกแบบมาสําหรับ
HFC-134a (R134a)
ไมสามารถที่จะนําไปใชกับระบบที่เปน
CFC-12 (R12) ได

1 ปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
2 เปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
3 ปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi
4 เปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi

(1/2)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

2. ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)หมุนปดวาลวดานแรงดันต่าํ (Lo)
และวาลวดานแรงดันสูง (Hi)
ของชุดแมนิโฟลดเกจใหสนิท
คําเตือน:
• การตอทอสารทําความเย็นเขากับเกจ
ควรใชมือขันใหแนน หามใชประแจขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นซึง เกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย นใหม
• ขนาดของขอตอและทอดานแรงดันต่า ํ
และแรงดันสูงจะแตกตางกัน ดังนั้น
จะไมสามารถตอทอสลับดานได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียง
ดัง “คลิก”
• เมื่อทําการตอแมนิโฟลดเกจ
หามทําใหทอตอของเกจคดงอ

1 ปด

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

(2)ตอปลายสายของทอเติมสารทําความ
เย็นเขาที่ชุดแมนิโฟลดเกจ และอีกขาง
หนึ่งของปลายทอเขากับวาลวบริการ
บนรถยนต
• ทอสีนา้ํ เงิน —> ดานแรงดันต่าํ
• ทอสีแดง —> ดานแรงดันสูง

คําเตือน:
• การตอทอสารทําความเย็นเขากับเกจ
ควรใชมือขันใหแนน หามใชประแจขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นซึง เกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย นใหม
• ขนาดของขอตอและทอดานแรงดันต่า ํ
และแรงดันสูงจะแตกตางกัน ดังนั้น
จะไมสามารถตอทอสลับดานได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียง
ดัง “คลิก”
• เมื่อทําการตอแมนิโฟลดเกจ
หามทําใหทอตอของเกจคดงอ

1 วาลวบริการ (ดานรถยนต)
2 แมนิโฟลดเกจ
3 ขอตอสวมเร็ว
4 ทอยางชารจสารทําความเย็น

(2/2)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

ถอดคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ
1. ถอดสายพานขับ
(1)คลายโบลทยึดที่ปรับตั้งความตึงสาย
พาน (A) และ (B) ของอัลเทอรเนเตอร
(2)ใชมอื โยกอัลเทอรเนเตอรเขาหาเครือง-
ยนตและ ทําการถอดสายพานออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานขับอัลเทอรเนเตอรเพื่อ
ถอดอัลเทอรเนเตอรอาจทําใหสายพาน
เกิดความเสียหายได

1 สายพาน

การเปลี่ยนสายพานขับ
แบบไมมีลูกรอก (ไมมีโบลทปรับตั้ง)
สําหรับแบบไมมีลูกรอก
(ไมมีโบลทปรับตั้ง) วิธีการปรับตั้งความตึง
สายพานจะทําไดโดยการปรับโบลทปรับตั้ง
เพื่อใหอุปกรณที่ยึดอยูเลือ่ นใหสายพานตึง
”สําหรับเครื่องยนต 1NZ-FE
ถอดสายพานขับ
(1)คลายโบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ของอัล-
เทอรเพื่อปรับแตงความตึงของสายพาน
(2)ดันอัลเทอรเนเตอรเขาหาเครื่องยนต
แลวถอดเอาสายพานออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานเพื่อทําใหอัลเทอรเน-
เตอรเลื่อนอาจทําใหสายพานเสียหาย

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การถอด

2. ถอดทอสารทําความเย็นออกจาก
คอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ”
ดังนั้น ในการถอดทอสารทําความเย็น จะมี
น้าํ มันภายในทอไหลออกมา ควรจะมีถุง
พลาสติกหอหุมทอไวเพื่อปองกันน้าํ มันรั่ว
ออกมา หรือความชื้นและสิ่งสกปรกจะเขา
สูคอมเพรสเซอรของชุดเครื่องปรับอากาศ

(1/2)

3. ถอดคอมเพรสเซอรเครือ งปรับอากาศ
(1)คลายโบลทยึดคอมเพรสเซอรชุด
เครื่องปรับอากาศ และดึงโบลทออก
จากคอมเพรสเซอรชุดเครือ่ งปรับ-
อากาศขณะประคองคอมเพรสเซอรไว
(2)ควรมีถุงพลาสติกหุม คอมเพรสเซอรไว
เพื่อปองกันน้าํ มันคอมเพรสเซอรรั่ว
ออกมา และเพื่อปองกันความชื้นหรือ
สิ่งสกปรกเขาสูคอมเพรสเซอรของชุด
ปรับอากาศ
ขอควรระวัง:
เมือ่ ทําการถอดชุดคอมเพรสเซอรของ
เครื่องปรับอากาศ ระวังอยาใหไป
กระแทกกับชุดกรองน้าํ มันเครื่อง
หมอน้าํ หรืออื่นๆเกิดความเสียหายได

(2/2)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

การติดตั้ง สวนประกอบ
1. ตรวจสอบน้าํ มันคอมเพรสเซอร
2. ติดตั้งคอมเพรสเซอรเครือ่ งปรับอากาศ
3. การทําสุญญากาศ
4. การเติมสารทําความเย็น
5. การตรวจสอบขั้นสุดทาย

(1/1)

ตรวจสอบน้ํามันคอมเพรสเซอร
ในระหวางที่คอมเพรสเซอรระบบปรับ
อากาศทํางาน น้าํ มันซึ่งอยูภายในคอม-
เพรสเซอรจะเกิดการไหลหมุนเวียนใน
ระบบ หลังจากคอมเพรสเซอรระบบปรับ
อากาศหยุดทํางาน น้าํ มันบางสวนยังคงอยู
ในระบบเครื่องปรับอากาศ

จากเหตุผลนี้ ควรจะพิจารณาจํานวนของ
น้าํ มันในคอมเพรสเซอรวามีนา้ํ มันคอม-
เพรสเซอรคางอยูในระบบเทาไร หลังจากมี
การถอดแยกหรือเปลี่ยนคอมเพรสเซอร

เมื่อปลี่ยนคอมเพรสเซอรใหมหลังจากถาย
สารทําความเย็นออกคอมเพรสเซอรใหมจะ
บรรจน้าํ มันไวอยูแลว ดวยเหตุนี้ จึงตอง
ถายน้าํ มันในคอมเพรสเซอรใหมออกใน
ปริมาณที่เทากับปริมาณน้าํ มันทีค่ างอยูใน
ระบบ

1 คอมเพรสเซอร
2 น้าํ มันคอมเพรสเซอร
3 คอนเดนเซอรพรอมโมดูลเลเตอร
4 กระจกมองน้าํ ยา
5 วาลวลดแรงดัน 6 อีวาปอเรเตอร
7 คอมเพรสเซอรใหม
(1/2)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

1. เมื่อทําการถอดแยกคอมเพรสเซอร
ชุดเครื่องปรับอากาศ
(1)ตรวจวัดจํานวนน้าํ มันของคอมเพรส
เซอร (จํานวนน้าํ มันของ A)
(2)เติมน้าํ มันคอมเพรสเซอรปรับอากาศ
ปริมาณของน้าํ มันที่เทเขา =
ปริมาณของ A + 20 มม.³
ขอแนะนํา:
น้าํ มันคอมเพรสเซอรจะคางอยูในคอม
-เพรสเซอร ในขณะวัดปริมาณน้าํ มัน
1
(จํานวนน้าํ มันของ A) แตเมื่อมี
ถอดคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ
2
การถอดแยกชิ้นสวนของคอมเพรส-
การเปลี่ยนคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ
3
เซอรมาทําความสะอาด ดังนั้น น้าํ มัน
ปริมาณ A
จะไมคางอยูในคอมเพรสเซอรทั้งหมด
4 คอมเพรสเซอรใหม
จะตองมีการเติมน้าํ มันเขาในคอมเพรส
5 ปริมาณที่ถายออก =
เซอร เพื่อทดแทนสวนนั้น
จํานวนของน้าํ มันใน A/C คอมเพรสเซอรอันใหม - ปริมาณ A
2. น้ํามันคอมเพรสเซอรจะคางอยูใน
คอมเพรสเซอร ในขณะวัด
ปริมาณน้ํามัน (จํานวนน้ํามันของ A)
แตเมื่อมีการถอดแยกชิ้นสวนของ
คอมเพรสเซอรมาทําความสะอาด
ดังนั้น น้ํามันจะไมคางอยูในคอม-
เพรสเซอรทั้งหมด จะตองมีการเติม
น้ํามันเขาในคอมเพรสเซอร
เพื่อทดแทนสวนนั้น
(1)ถอดคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ
และตรวจวัดจํานวนน้าํ มันที่อยูในคอม-
เพรสเซอร (จํานวนน้าํ มันของ A)
(2)ตรวจสอบคอมเพรสเซอรตวั ใหมและปริ
มาณน้าํ มันโดยศึกษาจากคูม อื การซอม
(3)การถายเทน้าํ มันคอมเพรสเซอร
ปริมาณทีถ่ ายออก =
จํานวนของน้าํ มันใน A/C
คอมเพรสเซอรอนั ใหม - ปริมาณ A
ขอแนะนํา:
ปริมาณของน้าํ มันที่ถายออก =
ปริมาณน้าํ มันในคอมเพรสเซอร -
ปริมาณของ A

(2/2)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

ติดตั้งคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ
1. ติดตั้งคอมเพรสเซอร
ขณะติดตั้งคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากา
ศ ควรใชมอื พยุงคอมเพรสเซอรและใชโบลท
ยึดและทําการขันโบลทใหแนน

2. ติดตั้งทอสารทําความเย็น
ขอแนะนํา:
ทาน้าํ มันคอมเพรสเซอรที่โอริงใหมทั้ง
สองตัวและติดตั้งเขากับทอสารทําความ
เย็น
ขอควรระวัง:
เมือ่ ทําการติดตั้งคอมเพรสเซอรของ
เครื่องปรับอากาศ ระวังอยาใหไป
กระแทกกับชุดกรองน้าํ มันเครื่อง
หมอน้าํ หรืออื่นๆ
อาจเกิดความเสียหายได

3. ติดตั้งสายพานขับ
(1)ทําการใสสายพานเขาที่พูลเลยในขณะ
ที่โบลทของอัลเทอรเนเตอรทั้ง (A) และ
(B) คลายหลวมอยู
(2)ทําการโยก (ใชดามคอนงัดหรือขันนัต
ปรับตั้งสายพาน) ใหอัลเทอรเนเตอร
เกิดการเคลื่อนที่เพื่อทําใหสานพานตึง
และทําการขันนัต (B)
(3)ตรวจเช็คความตึงของสายพานและทํา
การขันโบลท (A).

1 คอน
2 สายพาน

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

การเปลี่ยนสายพานขับ
ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขาไปที่พูลเลยในขณะที่
โบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ยังคลายอยู
(2)ใชดามคอนหรือดามขันของเครื่องมือ
อื่นๆ ดันเลื่อนอัลเทอรเนเตอรเพื่อ
ปรับความตึงของสายพาน
แลวขันโบลทยึดตัวที่ 3 ใหแนน
ขอควรระวัง:
• วางปลายดามคอนไวทต ี าํ แหนงทีจะไม
ทําใหชนิ้ สวนเสียหาย เชน
ฝาสูบหรือเสื้อสูบ
• จะตองใชดามคอนหรือดามขันอื่นๆ
งัดเขากับสวนทีแ่ ข็งและกึ่งกลางของ
อัลเทอรเนเตอร
(3)ตรวจเช็คคาความตึงของสายพานขับ
ทุกครั้งและขันโบลท 2 ใหไดตามคา
กําหนด

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด

(1/1)

การทําสุญญากาศ
การทําสุญญากาศก็เพือ เปนการไลความชืน
ออกจากระบบแอร และยังเปนการตรวจ-
เช็คการรัว ของระบบตามขอตอตางๆ ทีขัน
1. การทําสุญญากาศ
(1)ติดตั้งแมนิโฟลดเกจ
ขอแนะนํา:
ตอทอสีเขียวตรงขั้วกลางของชุดแมนิ-
โฟลดเกจ และตอปลายทออีกดาน
เขากับปมสุญญากาศ

1 แมนิโฟลดเกจ
2 ปมสุญญากาศ

(1/3)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
1. คุณลักษณะของชุดแมนิโฟลดเกจ
• แมนิโฟลดเกจจะมีดานความดันต่า ํ และ
ดานความดันสูง และจะมีสวิตชควบคุม
ใหสารทําความเย็นไหลผาน
หรือวาลวปดและเปด
• เกจมี 2 ตัว คือ เกจวัดแรงดันต่า

และเกจวัดแรงดันสูง
• ควบคุมการเติมสารทําความเย็นเขากับ
ทอสารทําความเย็นโดยเปดและปดวาลว
ขอแนะนํา:
แมนิโฟลดเกจทีอ่ อกแบบมาสําหรับ
HFC-134a (R134a)
ไมสามารถที่จะนําไปใชกับระบบที่เปน
CFC-12 (R12) ได

1 ปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
2 เปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
3 ปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi
4 เปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi

(1/2)

2. ติดตั้งชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)หมุนปดวาลวดานแรงดันต่าํ (Lo)
และวาลวดานแรงดันสูง (Hi)
ของชุดแมนิโฟลดเกจใหสนิท

1 ปด

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

(2)ตอปลายสายของทอเติมสารทําความ
เย็นเขาที่ชุดแมนิโฟลดเกจ และอีกขาง
หนึ่งของปลายทอเขากับวาลวบริการ
บนรถยนต
• ทอสีนา้ํ เงิน ดานแรงดันต่าํ
• ทอสีแดง ดานแรงดันสูง

คําเตือน:
• การตอขอตอของสารทําความเย็นจะ
ตองขันขอตอดวยมือใหแนน และหาม
ใชอุปกรณหรือเครื่องมือในการขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นซึง เกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย นใหม
• ขนาดของขอตอจะแตกตางกันทั้งดาน
แรงดันสูงและดานแรงดันต่าํ
ซึ่งขอตอจะไมสามารถใสสลับกันได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอ
แบบสวมล็อคติดอยูกับทอของสารทํา
ความเย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยิน
เสียงดัง “คลิก”
• เมื่อทําการตอชุดแมนิโฟลดเกจ
อยาทําใหทอคดงอ

1 วาลวบริการ (ดานรถยนต)
2 แมนิโฟลดเกจ
3 ขอตอสวมเร็ว
4 ทอยางชารจสารทําความเย็น

(2/2)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

(2)เปดวาลวทางดานความดันสูงและ
ความดันต่าํ ของชุดแมนิโฟลดเกจ
และทําการเปดเครือ่ งทําสุญญากาศ
(3)ทําสุญญากาศกระทั่งแมนิโฟลดเกจ
ทางความดันต่าํ จะแสดงคา 750
mmHgหรือมากกวา
(4)ขณะที่แรงดันทางดานความดันต่าํ เปน
750 mmHgหรือมากกวา
จงทําสุญญากาศตอไปอีก 10 นาที
ขอควรระวัง:
ถาปดปมสุญญากาศวาลวขณะวาลวทั้ง
สองดานไมเปด
(ดานแรงดันสูงและดานแรงดันต่าํ )
จะมีอากาศเขามาในระบบปรับอากาศ

1 ไลฟองอากาศออก
2 ปมสุญญากาศ
3 เปด

(5)หมุนปดวาลวทางดานแรงดันต่าํ และ
แรงดันสูงของชุดแมนิโฟลดเกจใหสนิท
แลวจึงปดปมสุญญากาศ
ขอควรระวัง:
ถาปดปมสุญญากาศวาลวขณะวาลวทั้ง
สองดานไมเปด
(ดานแรงดันสูงและดานแรงดันต่าํ )
จะมีอากาศเขามาในระบบปรับอากาศ

1 ปด

(2/3)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

2. ตรวจสอบการรั่วของอากาศ
ปดวาลวทัง้ ดานความดันต่าํ และความดัน
สูง แลวปดเครื่องทําสุญญากาศทิ้งไว
ประมาณ 5 นาทีหรือมากกวา แลวให
ตรวจเช็คความเปลี่ยนแปลงของเกจวัด
ขอแนะนํา:
เมือ่ ตรวจสอบแลว
ปรากฏวาเข็มเกจวัดมีแรงดันสูงขึ้น
แสดงวามีอากาศเขามาในระบบ
ดังนั้นตองทําการตรวจเช็คโอริงและ
ขอตอตางๆ ของระบบปรับอากาศ
ขอควรระวัง:
ในการทําสุญญากาศหรือไลอากาศไมหมด
จะเกิดความชื้นภายในทอของระบบปรับ
อากาศ และเกิดการจับตัวแข็งภายในทอ
และทําใหสารทําความเย็นเกิดการไหลไม
สะดวก เปนผลทําใหภายในของระบบปรับ
อากาศเกิดความเสียหาย

(3/3)

การเติมสารทําความเย็น
เนื่องจากสารทําความเย็นจะบรรจุไวโดย
การอัดดวยแรงดันสูง ดังนั้นการเติมจะตอง
ปฏิบัติตามคําแนะนําอยางเครงครัด
1. ติดตั้งถังสารทําความเย็น

1 ถังสารทําความเย็น

(1/7)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

ขอควรระวังในการเติมสารทําความเย็น
คําเตือน:
• อยาใหสารทําความเย็นกระเด็นเขา
หนา และเขาตาหรือโดนผิวหนังใน
ขณะที่ถอดหรือประกอบสารทําความ
เย็นจึงควรสวมแวนตาปองกันเสมอ
• อยาชี้ดานทายของภาชนะสารทํา
ความเย็นไปทางผูคน
เพราะมันมีโครงสรางที่สามารถปลอย
แกสออกมาในกรณีฉุกเฉินได
• หามนํากระปองสารทําความเย็นไป
เผา หรือตมในน้าํ รอน
เนื่องจากอาจทําใหมนั ระเบิด

(1/1)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

ติตตั้งถังสารทําความเย็น
1. ตอวาลวหัวถังเก็บสารทําความเย็น
(1)วาลวนี้จะถูกใชเมื่อเติมสารทําความ
เย็นเขาในระบบกอนที่จะติดตั้งวาลว
หัวถังเก็บสารทําความเย็น หมุนวาลว
ปดเปดทวนเข็มนาฬิกาจนกระทั่ง
เข็มวาลวยกขึ้นสูงสุดและหมุนแผนรอง
ทวนเข็มนาฬิกาจนกระทั่งอยูใน
ตําแหนงสูงสุด
ขอควรระวัง:
การติดตั้งถังสารทําความเย็นกอนเข็ม
เดงขึ้นจะทําใหเข็มติดอยูที่ถังสารทํา
ความเย็นซึ่งทําใหสารทําความเย็นเกิด
การรั่วได
(2)หมุนวาลวเขาไปในถังสารทําความเย็น
กระทั่งสัมผัสแนนกับปะเก็น จากนั้นจึง
ขันยึดแนนล็อคเพื่อยึดวาลวไว
ขอควรระวัง:
อยาทําการหมุนวาลวตามเข็มนาฬิกา
เพราะจะทําใหเข็มซึ่งอยูภายในถังเก็บ
สารทําความเย็นติดที่ถังเก็บสารทํา
ความเย็น และอาจทําใหสารทําความ
เย็นเกิดการรั่วได

1 ปะเก็น
2 ดามจับ
3 เข็ม
4 แผนล็อค
5 วาลว

(1/2)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

2. การติดตั้งถังสารทําความเย็นเขากับ
ชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)ใหทาํ การปดวาลวดานแรงดันตำและ
วาลวดานแรงดันสูงของชุดแมนิโฟลดเกจ
(2)ติดตัง ทอนำยาปรับอากาศสีเขียวเขากับ
ถังสารทําความเย็นและขัว ตรงกลางของ
ชุดแมนิโฟลดเกจ
(3)หมุนวาลวตามเข็มนาฬิกาจนกระทั่ง
เข็มไปแทงที่ถังสารทําความเย็นแลว
คอยหยุด
(4)เสร็จแลวหมุนทวนเข็มนาฬิกาเพื่อคืน
กลับเข็มสูตาํ แหนงเดิม
(5)ทําการกดวาลวไลอากาศออกจากชุด
แมนิโฟลดเกจ และกดวาลวไลอากาศ
จนกระทั่งมีนา้ํ ยาสารทําความเย็นออก
มา
คําเตือน:
การกดวาลวเพื่อไลอากาศโดยใชมือกด
อาจทําใหสารทําความเย็นโดนผิวหนัง
ได ควรใชไขควงกดวาลวเพื่อไลสาร
ทําความเย็นออก

(2/2)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

ขอมูลอางอิง:
ในระบบของ Sub Cooling
ในระบบของ non sub cooling
"จุดที่ฟองอากาศหายไป" จะเริ่มตนในขณะ
ที่สถานะของสารทําความเย็นคงที่
อยางไรก็ตาม ในระบบ Sub cooling
จะเกิดกอนสถานะของสารทําความเย็นคง
ที่ ดังนั้น เพื่อใหปริมาณของสารทํา
ความเย็นเหมาะสม ใหทาํ การเติมปริมาณ
ของสารทําความเย็น 100 กรัม (3.53
ออนซ) จากจุดที่ฟองของน้าํ ยาสาร
ทําความเย็นหมด
(ปริมาณทีเ ติมของสารทําความเย็นในระบบ
ทีร ะบุในคูม อื การซอมคือ 100 กรัม)
การเติมสารทําความเย็นมากเกินไป
อาจจะทําใหเปนสาเหตุของการสิ้นเปลืองนำ
มันและไมมปี ระสิทธิภาพการทําความเย็น
เพือ เปนการปองกัน ใหเติมปริมาณของสาร
ทําความเย็นใหเหมาะสม

1 วัฏจักรของระบบ Sub-Cool
2 ปริมาณของสารทําความเย็น
3 แรงดันสูง
4 ปริมาณที่เติม (ในรถ COROLLA
รุนNZE 12# : 530 กรัม (18.70
ออนซ))
5 จุดทีฟ่ องอากาศหายไป
6 คาเฉลี่ยในชวงทีเ่ หมาะสม ( ± 30
กรัม (1.06 ออนซ))
7 เติมสารทําความเย็นมากเกินไป

(1/1)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

2. เติมสารทําความเย็นดานแรงดันสูง
(1)ขณะเครือ่ งยนตไมทาํ งาน เปดวาลว
ดานแรงดันสูงและเติมสารทําความเย็น
เขาในระบบกระทั่งเกจทางดานแรงดัน
ต่าํ แสดงคา 0.98 MPa (1 kg/cm2,
14psi)
(2)หลังจากเติมสารทําความเย็น
ใหปดวาลวทางดานแรงดันสูง
ขอควรระวัง:
• หามคอมเพรสเซอรทา ํ งานขณะเติม
สารทําความเย็น ขณะคอมเพรส-
เซอรทาํ งานเมื่อไมมกี ารเติมสารทํา
ความเย็นเขาทางดานแรงดันต่าํ
มีผลทําใหภายในของคอมเพรสเซอร
ของเครื่องปรับอากาศรอน
• หามเปดวาลวทางดานแรงดันต่า ํ
โดยปกติแลวสารทําความเย็นซึ่งอยู
ภายในคอมเพรสเซอรจะมีสถานะเปน
กาซ อยางไรก็ตาม เมื่อวาลวทาง
ดานแรงดันต่าํ เปดขณะมีการเติมสาร
ทําความเย็นในทอดานแรงดันสูง
ทําใหสารทําความเย็นจะมีสภาพเปน
ของเหลว และคอมเพรสเซอรของ
เครื่องปรับอากาศจะเกิดความเสีย-
หายได เมื่อคอมเพรสเซอรเครื่อง
ปรับอากาศเริม่ ทํางาน

1 ถังสารทําความเย็น

(2/7)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

3. ตรวจสอบกาซรั่ว
(1)ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
โดยใชเครื่องมือทดสอบการรั่ว
(2)ตรวจสอบตําแหนงหลักๆ ของขอตอ
ของระบบปรับอากาศโดยใชเครือ่ ง
ตรวจสอบรั่วชนิดไฟฟา
ถาเกิดการรั่วโดยจะมีเสียงดัง

1 ตัวตานทานโบลวเวอร
2 คอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศ
3 คอนเดนเซอร
4 อีวาปอเรเตอร
5 รีซีฟเวอร หรือ โมดูเลเตอร
6 ทอระบาย
7 ตําแหนงการตอทอ
8 EPR (พรอมตัวควบคุมแรงดัน
ในอีวาปอเรเตอร)
ขอแนะนํา:
ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
ของระบบปรับอากาศทั้งหมด

9 เครื่องมือทดสอบการรั่ว

(3/7)

ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
ใชเครื่องมือตรวจสอบการรั่วของสารทํา
ความเย็น
1. ลักษณะการทํางาน
• ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
โดยสังเกตจากหลอดไฟจะกะพริบ
และเกิดการรั่ว มีเสียงดัง
• เมือ
่ ขยับเครื่องตรวจสอบเขาใกลจุดตํา-
แหนงที่รั่วโดยมีระยะหางพอประมาณ
หลอดไฟจะกะพริบและมีเสียงดังถี่ขึ้น
• การพัฒนาความไวของเครือ  งทดสอบทํา
ใหสามารถตรวจสอบรอยรั่วเพียงเล็ก
นอยได

(1/2)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

2. ขั้นตอนการปฏิบัติ
ตรวจสอบรอยรั่วที่จุดเชื่อมตอของทอ
จุดทอระบายน้าํ ของระบบปรับอากาศ
และตรวจสอบการทํางานของพัดลมอื่นๆ

ขอแนะนํา:
• เครื่องยนตจะตองไมทา
ํ งานขณะ
ตรวจสอบ
• สารทําความเย็นจะมีนา ้ํ หนักมากกวา
อากาศจึงเคลื่อนที่ลงดานลาง ดังนั้น
การตรวจสอบการรัว่ จะตองใชเครื่อง
มือตรวจสอบเริ่มจากดานลางและ
เลื่อนไปตามเสนรอบวงทออยางชาๆ
• ทําการตรวจเช็คขณะสั่นทอดวยแรง
เบาๆ

(2/2)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

4. เติมสารทําความเย็นดานแรงดันต่ํา
(1) ใหทาํ การปดวาลวทางดานแรงดันสูง
และทําการติดเครื่องยนตพรอมกับเปด
สวิตชเครื่องปรับอากาศ
สภาวะขณะเติมสารทําความเย็น
• เครื่องยนตทาํ งานที่ 1500 รอบ
ตอนาที
• เปดสวิตชพัดลมในตําแหนงสูงสุด "HI"
• เปดสวิตช A/C
• ปรับอุณหภูมใิ นตําแหนงเย็นสุด
"MAX COOL"
• เปดประตูรถออกทุกบาน

ขอแนะนํา:
ปริมาณสารทําความเย็นทีเ่ ติม
530 ± 30g (18.69 ± 1.06 ออนซ.)
ในรุน COROLLS NZE 12#
ปริมาณสารทําความเย็นทีเ่ ติมในแต
ละรุนอาจไมเทากันขึ้นอยูกับแตละรุน
ดังนั้นใหอางอิงจากคูมือซอม

1 ปด
2 ถังเก็บสารทําความเย็น
3 สวิตช A/C
4 ปุมควบคุมความแรงพัดลม
5 ตัวปรับอุณหภูมิ

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

(2) เปดวาลวทางดานแรงดันต่าํ ของ


แมนิโฟลดเกจเพื่อเติมสารทําความเย็น
สภาวะขณะเติมสารทําความเย็น
• เครื่องยนตทาํ งานที่ 1500 รอบ
ตอนาที
• เปดสวิตชพัดลมในตําแหนงสูงสุด "HI"
• เปดสวิตช A/C
• ปรับอุณหภูมใิ นตําแหนงเย็นสุด
"MAX COOL"
• เปดประตูรถออกทุกบาน

ขอแนะนํา:
ปริมาณสารทําความเย็นทีเ่ ติม
530 ± 30g (18.69 ± 1.06 ออนซ.)
ในรุน COROLLS NZE 12#
ปริมาณสารทําความเย็นทีเ่ ติมในแต
ละรุนอาจไมเทากันขึ้นอยูกับแตละรุน
ดังนั้นใหอางอิงจากคูมือซอม

1 เปด
2 ถังเก็บสารทําความเย็น
3 สวิตช A/C
4 ปุมควบคุมความแรงพัดลม
5 ตัวปรับอุณหภูมิ

(4/7)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

ขอควรระวัง:
• ถาคว่าํ ถังบรรจุสารทําความเย็นจะ
เปนการเติมในสถานะที่เปนของเหลว
เขาไปในคอมเพรสเซอรสารทําความ
เย็นที่เปนของเหลวจะทําใหคอมเพรส
เซอรเสียหายได ดังนั้นจึงควรเติม
สารทําความเย็นในสถานะเปนแกส
เทานั้น
• ระมัดระวังอยาเติมสารทําความเย็น
มากเกินไป เพราะจะเปนสาเหตุให
การทําความเย็นไมมปี ระสิทธิภาพ
ทําใหสิ้นเปลืองน้าํ มันและเครือ่ งยนต
รอนจัด
• เมื่อทําการเปลี่ยนสารทําความเย็น
ใหปดวาลวทั้งทางดานความดันต่าํ
และความดันสูง และถอดเอาวาลว
หัวถังออกจากถังบรรจุสารทําความ
เย็น และทอตรงกลางของชุด
แมนิโฟลดเกจ (ทอสีเขียว)

1 ถังเก็บสารทําความเย็น
2 สารทําความเย็นที่เปนของเหลว
3 สวิตช A/C
4 ปุมควบคุมความแรงพัดลม
5 ตัวปรับอุณหภูมิ

คําเตือน:
หามไมใหเครื่องยนตทาํ งานในขณะที่
เปดวาลวดานแรงดันสูง ซึ่งจะเปน
สาเหตุทาํ ใหถังบรรจุสารทําความเย็น
เกิดการระเบิดอาจเปนอันตรายได

(5/7)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

(3)ตรวจสอบปริมาณของสารทําความ
เย็นจากคาแรงดันที่แสดงบนชุด
แมนิโฟลดเกจ
คาแรงดันที่กาํ หนด:
• ดานแรงดันต่า ํ
0.15-0.25 MPa
(1.5-2.5 กก/ซม2,
21-36 ปอนด/นิ้ว2)
• ดานแรงดันสูง
1.37-1.57 MPa
(14-16 กก/ซม2,
199-228 ปอนด/นิ้ว2)
ขอแนะนํา:
คาแรงดันที่แสดงที่เกจอาจมีการ
เปลีย่ นแปลงเล็กนอยขึ้นอยู

(6/7)

(4) ปดวาลวทางดานแรงดันต่าํ และดับ


เครื่องยนต

1 ปด

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การประกอบ

(5)ถอดสายทําความเย็นออกจากรถยนต
และจากถังบรรจุสารทําความเย็น

1 กระปองสารทําความเย็น

ขอแนะนํา:
• คาแรงดันที่เกจแสดงอาจมีการเปลี่ยน
แปลงเล็กนอยตามการเปลีย่ นแปลง
อุณหภูมิภายนอก
• ถาอุณหภูมิภายนอกสูง การเติมสาร
ทําความเย็นก็จะทําไดยาก จะตองเอา
น้าํ ราดที่คอนเดนเซอรเพื่อที่จะลด
อุณหภูมิใหตา่ํ ลง
• ใหทา ํ การแชกระปองสารทําความเย็น
ในน้าํ อุน (ต่าํ กวา 40°C) เมือ่
อุณหภูมิภายนอกต่าํ เพื่อทําให
สามารถเติมสารทําความเย็นไดงาย

(7/7)

การตรวจสอบขั้นสุดทาย
ตรวจสอบปริมาณของสารทําความเย็น
และการทํางานของระบบปรับอากาศให
ถูกตอง
• ตรวจสอบปริมาณของสารทําความเย็น
โดยสังเกตจากกระจกมองน้าํ ยา
• ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
• ตรวจสอบการทํางานของระบบปรับ
อากาศ

1 กระจกมองน้าํ ยา

(1/1)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอร จงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ แบบทดสอบ

คําถาม-1 รูปภาพตอไปนี้แสดงถึงการตรวจสอบปริมาณของสารทําความเย็นในระบบเครื่องปรับอากาศ
โดยใชแมนิโฟลดเกจ
จากคาที่แสดงในแมนิโฟลดเกจถูกวินิจฉัยวาผิดปกติ เมื่อพบวาแรงดันดาน (HI) มีคาปกติ
และคาแรงดันดาน (LO) ต่าํ มาก จงหาสาเหตุทที่ าํ ใหเกิดความปกติ?

ก. สารทําความเย็นเกิดการรั่วจากระบบ
ข. เติมสารทําความเย็นเขาระบบมากเกินไป
ค. เกิดความชื้นในระบบเครื่องปรับอากาศ
ง. เกิดความผิดปกติในคอมเพรสเซอร

คําถาม-2 ในการถอดและประกอบชิ้นสวนในระบบเครื่องปรับอากาศ จะตองทําการถายเทและเติมสารทําความเย็น


รวมทั้งการทําสุญญากาศ
ในขณะที่ทาํ การถายสารทําความเย็นนั้น ปลายดานหนึ่งของทอสําหรับเติมสารทําความเย็นสีเขียว
จะตออยูกับจุดกลางของชุดแมนิโฟลดเกจ และปลายอีกดานหนึ่งของทอสําหรับเติมสารทําความเย็น
จะตองตอกับอุปกรณใด จงเลือกหัวขอที่ถูกตอง?

ก. เครื่องฟนฟูสภาพน้าํ ยา
ข. ถังสารทําความเย็น
ค. ปมสุญญากาศ
ง. อุปกรณตรวจสอบการรัว่

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ แบบทดสอบ

คําถาม-3 รถยนตควรอยูในสภาวะใดขณะทําการเติมสารทําความเย็นใหกับระบบเครื่องปรับอากาศ?

รอบเครื่องยนต rpm สวิตซพัดลม สวิตซ A/C สวิตซอุณหภูมิ ประตู


ก. 1500 LO ON MAX HOT ALL closed
ข. 3000 LO ON MAX COOL ALL closed
ค. 1500 HI ON MAX COOL ALL open
ง. 3000 HI ON MAX HOT ALL open

คําถาม-4 ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวของกับขอควรระวังในการเติมสารทําความเย็นใหกับ
ระบบเครื่องปรับอากาศ

ก. หามไมใหคอมเพรสเซอรของเครือ่ งปรับอากาศทํางานเมือ่ เติมสารทําความเย็นทางดานแรงดันสูง


ข. ใหเติมสารทําความเย็นทางดานแรงดันต่าํ
ค. แนใจวาไดเปดวาลวดานแรงดันสูงของแมนิโฟลดเกจ และคอมเพรสเซอรทาํ งานเมือ่ ทําการเติมสาร
ทําความเย็นดานแรงดันสูง
ง. สําหรับการเติมสารทําความเย็นดานแรงดันต่าํ สามารถทําการคว่าํ ถังน้าํ ยาสารทําความเย็นได

คําถาม-5 ขอความใดตอไปนีท เี ปนความจริงเกีย วกับวิธกี ารตรวจสอบการรัว ของสารทําความเย็น


ในระบบเครื่องปรับอากาศ

ก. สตารทเครื่องยนตและตรวจสอบที่ความเร็วรอบเครื่องยนต 1,500 รอบ/นาที


ข. นําอุปกรณทดสอบวางไวดานบนบริเวณที่ทาํ การตรวจสอบ เพราะวาสารทําความเย็นจะเบากวาอากาศ
ค. ในการทําการตรวจสอบควรตรวจสอบในสถานที่มีอากาศถายเทไดดี เพราะวาการวินิจฉัยอาจจะผิดพลาด
เนื่องจากกาซไอเสีย
ง. ทําการตรวจสอบจุดตอของทอน้าํ ยา ทอสําหรับถายเทและเติมน้าํ ยาของระบบเครื่องปรับอากาศ
ไมมีความจําเปนเพราะผานการตรวจสอบในตอนติดตั้งมาแลว

-3-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทเรียนจะอธิบายขั้นตอนการถอด
ประกอบชิ้นสวนทีม่ ีโบลทจาํ นวนมาก
การตรวจวัด และการตรวจเช็คความโกง
ในขณะถอดแยก ตรวจเช็ค และประกอบ
ฝาสูบ
1. การถอดแยกชิ้นสวน
ถอดเพลาลูกเบี้ยว และฝาสูบออกจาก
เสื้อสูบ
ถอดลูกถวยกดวาลว และวาลวออกจาก
ฝาสูบ
2. การตรวจสอบ
ใชเครื่องมือวัด ตรวจวัดการความโกง และ
การสึกหรอของชิ้นสวนตางๆ
3. ประกอบกลับ
ติดตัง้ วาลว และลูกถวยกดวาลวเขากับ
ฝาสูบ
ติดตัง้ ฝาสูบ และเพลาลูกเบี้ยวเขากับ
เสื้อสูบ

1 ประกับแบริ่ง
2 เพลาลูกเบี้ยว
3 ลูกถวยกดวาลว
4 ประกับวาลว
5 บารองสปริงวาลว
6 สปริงวาลว
7 วาลว
8 ฝาสูบ
9 ปะเก็นฝาสูบ
10 เสื้อสูบ

(1/1)

-1-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

ถอดแยกชิ้นสวน ถอดเพลาลูกเบี้ยว
1 ประกับแบริ่ง
2 เพลาลูกเบี้ยว

-2-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

1. จัดตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
(1)จัดตําแหนงของเพลาลูกเบี้ยวเพื่อให
หลบแรงตานจากสปริงวาลว
ขอแนะนํา:
การจัดตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวของ
เครื่องยนตแตละรุนไมเหมือนกัน
รายละเอียดการถอดใหอา งอิงที่คูมือ
ซอมของรุนนั้นๆ
2. ถอดเพลาลูกเบี้ยว
(1)ทําการคลาย และถอดโบลทยึดประกับ
1 ถึง 9 เปนการถอดประกับแบริ่งตามลําดับ แบริง่ ตามลําดับ ดังภาพ
1 มารคไทมิ่ง (2)ถอดประกับแบริ่งและเพลาลูกเบี้ยว
ออก
ขอแนะนําการบริการ:
• โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
• เพลาลูกเบี้ยว
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา19-21 )
ขอแนะนํา:
ลําดับการคลายและการถอดโบลท
ประกับแบริง่ จะแตกตางกันไปตามชนิด
ของเครื่องยนต รายละเอียดการถอด
ใหอา งอิงที่คูมือซอมของรุนนั้นๆ
(3)จัดเรียงประกับแบริ่งตามลําดับหลัง
จากถอดออกมาแลว
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา41-45 )

(1/1)

-3-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

ถอดฝาสูบ
1 ฝาสูบ

1. ถอดโบลทฝาสูบ
(1)คลายและถอดโบลทยึดฝาสูบจาก
ดานนอกเขาดานในตามลําดับ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
2. การถอดฝาสูบ
ใชคอนพลาสติกเคาะบริเวณที่เปนโครง
1 ถึง 10 เปนการถอดโบลทยึดฝาสูบตามลําดับ เพื่อถอดฝาสูบออก
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
14-18)
ขอแนะนํา:
เมือ่ ถอดฝาสูบออกมาแลวจะมีนา้ํ หลอ
เย็นและน้าํ มันหลอลื่นรัว่ ออกจากรูนา้ํ
และรูนา้ํ มันหลอลื่น กอนวางฝาสูบลง
บนโตะทํางานหรือในถาดใหใชผาปูรอง
ไวกอนเพื่อดูดซับน้าํ และน้าํ มันหลอลื่น
เพื่อความสะอาดของบริเวณปฏิบัตงิ าน

(1/1)

-4-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

ถอดลูกถวยกดวาลว
1. ถอดลูกถวยกดวาลว
(1)ถอดลูกถวยกดวาลวออกดวยมือ
ขอควรระวัง:
อยาใชคีมจับเพราะวาจะทําใหลูกถวย
กดวาลวเสียหายได
(2)ถอดลูกถวยกดวาลว และจัดเรียงบน
กระดาษตามลําดับหมายเลขเพื่อการ
ประกอบไดรวดเร็ว
ขอแนะนํา:
ขณะทําการประกอบจะตองประกอบ
ลูกถวยกดวาลวกลับตําแหนงเดิม
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
41-45)

(1/1)

ถอดวาลว
1. จัดเครือ่ งมือพิเศษใหตรงกันระหวาง
ดานลางของวาลวและบารองสปริงวาลว
2. ขันเครือ่ งมือพิเศษเพื่ออัดสปริงวาลว
และถอดประกับวาลวทั้ง 2 อันออก
3. คลายเครื่องมือพิเศษออกแลวถอดบา
รองสปริง และสปริงออก หลังจากนั้น
ดันวาลวออกทางดานหองเผาไหมออก
ดวยมือ

1 เครื่องกดสปริงวาลว
2 ประกับวาลว
3 วาลว
4 สปริงวาลว
5 บารองสปริงวาลว

(1/2)

-5-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

4. วางวาลวและชิ้นสวนอื่นๆ ลงบน
กระดาษที่ทาํ หมายเลขไวเพื่อการ
ประกอบที่ถูกตองและรวดเร็ว
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
41-45)

(2/2)

การทําความสะอาด ทําความสะอาดฝาสูบ
1. ขูดปะเก็นที่ติดอยูบนฝาสูบออกดวย
มีดขูดปะเก็น
2.
ถาไมสามารถขูดปะเก็นออกไดดวยมีด
ขูดปะเก็น ใหขัดดวยหินขัดน้าํ มันที่
ชโลมน้าํ มันเครือ่ ง
ขอควรระวัง:
การสึกหรอของผิวหนาฝาสูบจะเปน
สาเหตุใหเกิดปญหาดังตอไปนี้
• น้า
ํ /น้าํ มันเครื่องรั่ว
• กําลังอัดรั่ว

ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
86-89)

1 มีดขูดปะเก็น
2 หินขัดน้าํ มัน
3 น้าํ มันเครื่อง

(1/1)

-6-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

การตรวจสอบ การตรวจสอบความโกงของฝาสูบ
ใชบรรทัดเหล็กและฟลเลอรเกจตรวจสอบ
ความโกงของฝาสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจความโกงงอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
76)
ขอแนะนํา:
เครื่องยนตที่มีการโอเวอรฮีทมา
อาจทําใหฝาสูบโกงได

1 บรรทัดเหล็ก
2 ฟลเลอรเกจ
A ดานเสื้อสูบ
B ดานทอรวมไอดี
C ดานทอรวมไอเสีย

(1/1)

ตรวจสอบรอยแตกราวของฝาสูบ
ใชนา้ํ ยาตรวจหารอยแตกราวเพื่อหารอย
แตกราวและตรวจสอบความเสียหายของ
ฝาสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความเสียหาย/แตกราว
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
85)
ขอแนะนํา:
• เครื่องยนตที่มก ี ารโอเวอรฮีทหรือ
เครื่องยนตที่มกี ารน็อคอยางรุนแรง
อาจทําใหฝาสูบแตกราวได
• เปลี่ยนฝาสูบถามีรอยแตกราวหรือ
เสียหาย

1 การแตกราว
2 ฝาสูบ

(1/1)

-7-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว
ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยวดังตอไปนี้
ขอแนะนํา:
• ลูกเบี้ยวที่สึกหรอจะทําใหเกิดเสียงดัง
และเปนเหตุใหวาลวไอดีและไอเสีย
เปดไมตรงกับจังหวะการทํางาน
• ถาคาที่วัดไดไมอยูในคากําหนดให
เปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยว

1. ตรวจเช็คความคดงอของเพลา
วางเพลาลูกเบี้ยวบนแทนรูปตัววีและใช
ไดอัลเกจวัดความคดงอของเพลาลูกเบี้ยว
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความคดงอของเพลา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
75)

1 ไดอัลเกจ
2 แทนรูปตัววี

2. ตรวจเช็คความสูงยอดแคม
ใชไมโครมิเตอรวัดความสูงของยอดแคม
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
71-74)

1 ไมโครมิเตอร

-8-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

3. ตรวจเช็คขอเพลาลูกเบี้ยว
ใชไมโครมิเตอรวัดขนาดของขอหลักและ
ขอกาน
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
71-74)

1 ไมโครมิเตอร

(1/1)

ตรวจสอบระยะหาง
มีหลายตําแหนงบนฝาสูบที่จะตองวัดระยะ
หางชองวางน้าํ มัน

1 ลูกถวยกดวาลว
2 เพลาลูกเบี้ยว
3 พลาสติกเกจ

-9-
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

1. ระยะหางชองวางน้ํามันลูกถวยกด
วาลว
ใชคาลิปเปอรเกจวัดเสนผาศูนยกลางภาย
ในของเบาลูกถวยกดวาลว และใชไมโคร
มิเตอรวัดเสนผาศูนยกลางภายนอกของ
ลูกถวยกดวาลว และหลังจากนั้นคํานวณ
หาระยะหางชองวางน้าํ มัน
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
67-70)

1 คาลิปเปอรเกจ
2 ไมโครมิเตอร
3 ลูกถวยกดวาลว

2. ระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว
ใชไดอัลเกจและไขควงปากแบนวัดระยะ
รุนเพลาลูกเบี้ยว
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
67-70)

1 ไดอัลเกจ
2 เพลาลูกเบี้ยว

- 10 -
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

3. ระยะหางชองวางน้ํามันเพลาลูกเบี้ยว
ใชพลาสติกเกจวัดระยะหางชองวางน้าํ มัน
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
67-70)

1 เพลาลูกเบี้ยว
2 พลาสติกเกจ
3 ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว

(1/1)

3
ตรวจสอบโบลทยึดฝาสูบ
ฝาสูบถูกยึดดวยโบลทแบบพลาสติกรีเจน
ทุกครั้งที่ขันโบลทยึดฝาสูบแบบพลาสติก
รีเจนจะทําใหโบลทยืดยาวออกการวัด
ความยาวและเสนผาศูนยกลางของโบลท
แตละตัวจะเปนการตัดสินวาจะนําโบลท
กลับมาใชอีกไดหรือไม
ขอแนะนําการบริการ:
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
10-13)

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร
2 โบลทยึดฝาสูบ

(1/1)

- 11 -
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

การประกอบชิ้นสวน ติดตั้งวาลว
ติดตัง้ วาลวกลับตําแหนงเดิมตามลําดับ
ดังนี้
1. ทาน้าํ มันเครื่องบนกานวาลวแลัวสอด
เขาไปในรูของปลอกนําวาลวจากทาง
ดานหองเผาไหม
2. ตรวจสอบความคลองตัวของวาลว
3. ติดตั้งสปริงวาลว และบารองสปริง
4. จัดเครือ่ งมือพิเศษใหอยูตาํ แหนงตรง
กับวาลว
5. ขันเครือ่ งมือพิเศษอัดสปริงวาลวลงไป
จนกระทั่งสามารถติดตั้งประกับวาลวได
6. เพื่อปองกันไมใหประกับวาลวหลน
ออกมาใหทาจาระบีที่ประกับวาลว
กอนประกอบ
7. ถอดเครื่องมือพิเศษ

1 เครื่องมือพิเศษ(เครื่องกดสปริงวาลว)
2 ประกับวาลว
ทาจาระบีเอนกประสงค

(1/2)

8. หลังจากถอดเครื่องมือพิเศษแลว ใช
วาลวเกาวางบนวาลวที่ติดตั้งแลว เคาะ
ดวยคอนพลาสติกเพื่อใหวาลวเขาที่
ขอควรระวัง:
กอนทําการเคาะใหใชผาคลุมกอนเพื่อ
ปองกันประกับวาลวกระเด็นออกมา
ถาหากติดตั้งไมดี

1 วาลวเกา
2 เทป
3 ผา

(2/2)

- 12 -
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

ติดตั้งฝาสูบ
1. จัดตั้งเรียงฝาสูบใหตรงกับสลักตรงที่
อยูบนเสื้อสูบ และทําการตั้งฝาสูบบน
เสื้อสูบ
ขอควรระวัง:
เมือ่ ทําการจัดวางฝาสูบซึง่ อยูบนเสื้อสูบ
ใหระมัดระวังอยาใหฝาสูบเคลื่อนที่
เพราะดานลางของฝาสูบอาจเกิดความ
เสียหายจากสลักได
2. ขันยึดฝาสูบดวยโบลทใหแนน
1 ฝาสูบ 2 ปะเก็นฝาสูบ ขอแนะนําการบริการ:
3 เสื้อสูบ 4 สลัก 5 โบลทยึดฝาสูบ • โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
• โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
10-13)

(1/1)

ติดตั้งเพลาลูกเบี้ยว
1 ประกับแบริ่ง
2 เพลาลูกเบี้ยว

- 13 -
ชางเทคนิค - ทักษะทั่วไป ฝาสูบ

1. ติดตั้งเพลาลูกเบี้ยว
(1)ทําใหลูกสูบเลื่อนลงดวยการหมุน
เพลาขอเหวี่ยงทวนเข็มนาฬิกา 40
องศา โดยใหกระบอกสูบที่ 1 อยูใน
ตําแหนง TDC (ศูนยตายบน)
ขอแนะนํา:
ตําแหนงของมารคไทมมิ่งจะขึ้นอยูกับ
ชนิดของรถยนต ดังนั้นใหศึกษาจาก
คูมอื การซอม
(2)วางเพลาลูกเบี้ยวบนฝาสูบ ทําใหเพลา
1
ลูกเบี้ยวอยูในแนวระดับมากที่สุด
ถึง 5 เปนการติดตั้งประกับแบริ่งตามลําดับ
1 มารคไทมิ่ง (3)ใสประกับยึดเพลาลูกเบี้ยวและทําการ
ขันโบลทยึดประกับแบริง่ ตามลําดับที
ละนอยอยางสม่าํ เสมอทุกตัวแลวขันให
แนนตามคากําหนดอีกครั้ง ลําดับใน
การขันโบลทยึดแนนอยูกับชนิดของ
เครื่องยนต ดังนั้น ควรศึกษาจากคูมือ
การซอม
ขอแนะนําการบริการ:
• โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
• เพลาลูกเบี้ยว
(19-21)

(1/1)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการถอดแยก
ตรวจสอบ และการประกอบกลับเสื้อสูบ
1. การถอดแยกชิ้นสวน
ถอดลูกสูบและเพลาขอเหวี่ยงหลังจากทํา
การวัดระยะหางชองวางน้าํ มัน
2. การตรวจสอบ
ใชเครื่องมือวัดทําการวัดความบิดเบี้ยว
และการสึกหรอของชิ้นสวน
3. การประกอบกลับ
การประกอบลูกสูบและเพลาขอเหวี่ยง
พรอมทั้งตรวจสอบตําแหนงและทิศทาง
การประกอบใหถูกตอง

1 ลูกสูบ
2 เสื้อสูบ
3 ประกับแบริ่งกานสูบ
4 แบริ่งกานสูบ
5 เพลาขอเหวี่ยง
6 ประกับเพลาขอเหวี่ยง
7 แบริ่งเพลาขอเหวี่ยง
8 แบริ่งกันรุนเพลาขอเหวี่ยง
9 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
10 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2
11 กรองหยาบ
12 ปะเก็น
13 ปลั๊กถาย

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ถอดแยกชิ้นสวน ถอดอางน้ํามันเครื่อง
1 ปลั๊กถาย
2 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2
3 กรองหยาบ
4 ปะเก็น
5 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

1. ถอดอางน้ํามันเครื่องตัวที่ 2
อางน้าํ มันเครื่องถูกทากันรั่วดวยปะเก็น
เหลว ดังนั้น ใหใชเครื่องมือพิเศษตัด
ปะเก็นเหลวเพื่อถอดอางน้าํ มันเครือ่ ง
ขอควรระวัง:
หามพลิกเครือ่ งยนตกอนทําการถอด
อางน้าํ มันเครือ่ งตัวที่ 2 คราบตะกอน
และเศษโลหะขนาดเล็กอาจเขาไปในลูก
สูบและกระบอกสูบ ซึ่งอาจทําใหผนัง
กระบอกสูบสึกหรอได
2. ถอดอางน้ํามันเครื่องตัวที่ 1
พลิกเครื่องยนตขึ้น ใชไขควงปากแบน
ถอดอางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1 โดยการงัด
สวนที่อยูระหวางเสื้อสูบกับอางน้าํ มัน
เครื่องตัวที่ 1
ขอแนะนําการบริการ:
• โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
• ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
14-18)

1 เครื่องมือพิเศษ
(มีดตัดปะเก็นน้าํ มันเครือ่ ง)
2 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2
3 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ถอดลูกสูบ
1 ลูกสูบพรอมกานสูบ
2 แบริ่ง
3 ประกับแบริ่ง

1. ขจัดคราบเขมาออกจากผนังดานใน
ของกระบอกสูบ
ขอแนะนํา:
ถามีเขมาสะสมอยู แหวนลูกสูบจะติดที่
เขมาและทําใหแหวนลูกสูบเสียหายเมื่อ
ถอดออก
2. ถอดประกับแบริ่งกานสูบ
ขอแนะนํา:
ถาประกับกานสูบถอดยากใหใชโบลท
2 ตัวสอดเขาไปภายในรูยึดประกับ
กานสูบแลวทําการโยกไปมาจนกระทั่ง
ประกับกานสูบหลุดออก
1 เครื่องควานกระบอกสูบ

2 คราบเขมา

3 แหวนลูกสูบ

4 ลูกสูบ

5 ประกับแบริ่ง

(1/2)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

3. ถอดแบริ่งกานสูบ
สอดไขควงปากแบนลงไปในรองบากของ
ประกับกานสูบอยางระมัดระวัง และงัด
แบริ่งออกมาจากประกับกานสูบ
4. ถอดลูกสูบ
กระแทกกานสูบเบาๆ ดวยดามคอน และ
ถอดลูกสูบ และกานสูบออกมา
ขอควรระวัง:
• ระวังอยาใหกานสูบกระแทกกับผนัง
กระบอกสูบ อาจทําใหกระบอกสูบ
เสียหายได
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
41-45)
1 แบริ่ง

2 ประกับแบริ่ง

3 ลูกสูบ

• ถากานสูบมีโบลทใหครอบโบลทไว
ดวยทอพลาสติกเพื่อปองกันการเกิด
ความเสียหายกับผนังกระบอกสูบ

1 ทอพลาสติก
2 กานสูบ

(2/2)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ตรวจสอบระยะชองวาง
ตรวจสอบตามหัวขอดังตอไปนี้ กอนทําการ
ถอดชิ้นสวนออกจากเสื้อสูบ

1. ระยะรุนเพลาขอเหวี่ยง
ใชไดอัลเกจและไขควงปากแบนวัดระยะรุน
ขอแนะนํา:
ตรวจสอบระยะรุนของเพลาขอเหวี่ยง
หลังจากถอดลูกสูบกับกานสูบออกแลว
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
67-70)

1 ไดอัลเกจ

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

2. ระยะหางชองวางน้ํามันเพลา
ขอเหวี่ยง
ใชพลาสติกเกจวัดระยะหางชองวางน้าํ มัน
ขอแนะนําการบริการ:
• ระยะหางชองวางน้า
ํ มัน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
67-70)
• โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
10-13)

1 พลาสติกเกจ
2 ประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง
3 เพลาขอเหวี่ยง
4 เสื้อสูบ

การเลือกขนาดแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง
เมื่อทําการเปลี่ยนแบริ่ง จงเปลี่ยนแบริง่
โดยดูจากขนาดกําหนดของแบริ่ง ทําเชนนี้
กันทุกแบริ่ง นอกจากนี้ประกับแบริ่งเพลา
ขอเหวี่ยง และเสื้อสูบมีมารคกําหนดขนาด
อยูที่ตัวมันเอง

1 เพลาขอเหวี่ยง
2 แบริ่ง
3 เสื้อสูบ
4 มารคกําหนดขนาด
(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ถอดเพลาขอเหวี่ยง
1 เพลาขอเหวี่ยง
2 แบริ่งกันรุน
3 แบริ่ง
4 ประกับแบริ่ง

1. ถอดประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง
ถอดโบลทยึดประกับเพลาขอเหวี่ยงจาก
ดานนอกเขาดานในตามลําดับ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
ขอแนะนํา:
ถาประกับเพลาขอเหวี่ยงถอดยากให
1
ใชโบลท 2 ตัวสอดเขาไปในรูประกับ
ถึง 10 เปนลําดับการถอดประกับแบริง่
เพลาขอเหวี่ยงแลวทําการโยกไปมาจน
1 โบลทยึดประกับเพลาขอเหวี่ยง
กระทั่งประกับเพลาขอเหวี่ยงหลุดออก
2 ประกับแบริ่ง
3 แบริ่ง 2. ถอดเพลาขอเหวี่ยง
ถอดเพลาขอเหวี่ยงออกโดยยกขึ้นดานบน
ในแนวตรง
3. ถอดแบริ่ง
สอดไขควงปากแบนลงไปในรองบากของ
ประกับกานสูบอยางระมัดระวังและงัด
แบริ่งออกมาโดยใชไขควงสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
41-45)

(1/1)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

การตรวจสอบ ตรวจสอบระยะหางลูกสูบ
ใชไมโครมิเตอรวัดเสนผาศูนยกลางภาย
นอกของลูกสูบและใชไซลินเดอรเกจวัด
ขนาดของกระบอกสูบแลวนําคามาคํานวณ
หาระยะหางลูกสูบ
ขอแนะนํา:
สําหรับตําแหนงการวัดจุด "a" และ จุด
"d" ดังแสดงในภาพใหอางอิงจากคูมอื
การซอม
ขอแนะนําการบริการ:
ระยะหางชองวางน้าํ มัน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
67-70)

1 ลูกสูบ
2 ไมโครมิเตอร
3 ไซลินเดอรเกจ
4 ระยะหางลูกสูบ
5 ทิศทางรุน
6 ทิศทางตามแนวแกน

(1/1)

ตรวจสอบเพลาขอเหวี่ยง
ตรวจสอบเพลาขอเหวี่ยง ตามหัวขอทั้ง 2
ขอดังนี้

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

1. ความคดงอของเพลา
วางเพลาขอเหวี่ยงลงบนแทนรูปตัววีและใช
ไดอัลเกจวัดความคดงอของเพลาขอเหวี่ยง
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความคดงอของเพลา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
75)

1 ไดอัลเกจ
2 แทนรูปตัววี

2. ตรวจวัดขนาดความโตของขอหลัก
เพลาหัวเหวี่ยงและขอกานของเพลา
ขอเหวี่ยง
ใชไมโครมิเตอรวัดขนาดของขอหลัก และ
ขอกาน
ขอแนะนําการบริการ:
การวัดคา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
71-74)

1 ไมโครมิเตอร
2 ขอกาน
3 ขอหลัก
(1/1)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ตรวจสอบความโกงของเสื้อสูบ
ใชบรรทัดเหล็กและฟลเลอรเกจ ตรวจสอบ
ความโกงของเสื้อสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
การตรวจสอบความโกงงอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
76)
ขอแนะนํา:
เครื่องยนตที่รอนจัดอาจทําใหเสื้อสูบ
โกงได

1 บรรทัดเหล็ก
2 ฟลเลอรเกจ

(1/1)

ตรวจสอบโบลทยึดประกับแบริ่ง
ถาโบลทแบบพลาสติกรีเจนถูกใชขัน
ประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยงแลว
ทุกครั้งที่ขันโบลทยึดฝาสูบแบบพลาสติก
รีเจน จะทําใหโบลทยืดยาวออกการวัด
ความยาวและเสนผาศูนยกลางของโบลท
แตละตัวจะเปนการตัดสินวาจะนําโบลท
กลับมาใชอีกไดหรือไม

ตรวจเช็คโบลทดังตอไปนี้
(1)โบลทยึดประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง
(2)โบลทยึดประกับแบริ่งกานสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
10-13)

1 เวอรเนียรคาลิปเปอร

(1/1)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

การประกอบชิ้นสวน ติดตั้งเพลาขอเหวี่ยง
1 เพลาขอเหวี่ยง
2 แบริ่งกันรุน
3 แบริ่ง
4 ประกับแบริ่ง

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ติดตั้งเพลาขอเหวี่ยง
(1)ประกอบแบริ่งและแหวนกันรุนเขากับ
เสื้อสูบและประกับแบริ่ง
(2)ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวหนาสัมผัสของ
แบริง่
ขอควรระวัง:
หามทาน้าํ มันที่ดานหลังของแบริ่ง
ความรอนที่เกิดขึ้นที่แบริ่งจะถูกระบาย
ออกไปยังเสื้อสูบโดยผานทางดานหลัง
ของแบริ่ง ถามีนา้ํ มันเครื่องอยูบริเวณ
1
ดานหลังของแบริง่ จะทําใหการระบาย
ถึง 10 เปนลําดับการติดตั้งประกับแบริง่
1
ความผานไปยังเสื้อสูบไมดี
แบริ่ง
2 แบริ่งกันรุน (3)จัดวางเพลาขอเหวี่ยงลงบนเสื้อสูบ
3 ประกับเพลาขอเหวี่ยง (4)ขันโบลทยึดประกับเพลาขอเหวี่ยง
4 เสื้อสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
• โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
• โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
10-13)
(5)หลังจากประกอบเพลาขอเหวี่ยงเสร็จ
แลวทดลองหมุนเพลาขอเหวี่ยงดวยมือ

(1/1)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ติดตั้งลูกสูบ
1 ลูกสูบพรอมกานสูบ
2 แบริ่ง
3 ประกับแบริ่ง

ติดตั้งลูกสูบ
1. จัดเสื้อสูบใหอยูตําแหนงตั้งตรง
ขอควรระวัง:
• ถาเสื้อสูบเอียงหรือตะแคง ขณะ
ประกอบลูกสูบอาจทําใหกานสูบไป
ขูดกับผนังกระบอกสูบทําใหกระบอก
สูบสึกหรอได

• ถากานสูบมีโบลทใหสวมโบลทไวดวย
ทอพลาสติกเพื่อปองกันความเสียหาย
กับผนังกระบอกสุบ

1 ทอพลาสติก
2 กานสูบ

(1/3)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

2. ติดตั้งลูกสูบ
(1)ประกอบแบริ่งกานสูบเขากับกานสูบ
และประกับกานสูบ
(2)ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวหนาสัมผัสของ
แบริง่
ขอควรระวัง:
หามทาน้าํ มันที่ดานหลังของแบริ่ง
ความรอนที่เกิดขึ้นที่แบริ่งจะถูกระบาย
ออกไปยังกานสูบโดยผานทางดานหลัง
ของแบริ่ง ถามีนา้ํ มันเครื่องอยูบริเวณ
ดานหลังของแบริง่ จะทําใหการระบาย
ความผานไปยังกานสูบไมดี

1 แบริ่ง
2 กานสูบ
(2/3)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

(3)รัดแหวนเขากับรองแหวนลูกสูบดวย
ปลอกรัดแหวน
ขอควรระวัง:
ถาลูกสุบหมุนหรือขยับขณะอยูในปลอก
รัดแหวนตําแหนงของแหวนอาจเลื่อน
เปลีย่ นตําแหนงได และ/หรือ ลูกสูบ
อาจเสียหายได
ขอแนะนํา:
• ถาปลอกรัดแหวนกดลงไปถึงชายลูก
สูบการติดตัง้ ตําแหนงของลูกสูบจะ
ยาก
• ทาน้าํ มันเครื่องที่ปลอกรัดแหวนเพื่อ
หลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับ
ลูกสูบและแหวนลูกสูบ
(4)หันมารคดานหนาของลูกสูบไปดาน
หนาเครือ่ งยนตและใชดา มคอนเคาะ
ลูกสูบลงไปในกระบอกสูบอยางเบาๆ
(5)ประกอบประกับแบริ่งกานสูบและขัน
โบลทยึดกานสูบ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลทพลาสติกรีเจน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
10-13)
(6)ทุกครั้งที่ประกอบลูกสูบใหหมุนเพลา
ขอเหวี่ยง และตรวจสอบความราบลื่น
ของการหมุน กอนทําการประกอบลูก
สูบ
1 ปลอกรัดแหวน

(3/3)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ

ติดตั้งอางน้ํามันเครื่อง
เมื่อติดตั้งอางน้าํ มัน ใหใชปะเก็นเหลวทา
สําหรับการทาปะเก็นเหลวใหทาํ ตามคํา
แนะนําดังตอไปนี้
ตําแหนงหรือบริเวณที่จะตองทําการทา
ปะเก็นเหลวใหอางอิงจากคูมือการซอม
ในรุนนั้น

1 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
2 ปะเก็น
3 กรองหยาบ
4 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2
5 ปลั๊กถาย

1. เช็ดทําความสะอาดหนาสัมผัสอาง
น้ํามันเครื่อง
ขอแนะนําการบริการ:
การทําความสะอาด/การลาง
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
86-89)
2. การทาปะเก็นเหลว
ขอแนะนําการบริการ:
ปะเก็นเหลว/ปะเก็นแผน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
14-18)
3. ติดตั้งอางน้ํามันเครื่อง
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)

1 ผา
2 ปะเก็นเหลว
3 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 1
4 อางน้าํ มันเครื่องตัวที่ 2

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป เสื้อสูบ
(1/1)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

การปรับตั้ง ปรับตั้งระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด
ทําการตรวจสอบ และปรับตั้งระยะแบ็ค
แล็ชพรีโหลด โดยใชเฟองทายของรถยนต
ขับหลัง
• การวัด
วัดระยะแบ็คแล็ชโดยใชไดอัลเกจ
วัดคาพรีโหลดโดยใชประแจปอนด
• การถอดแยก และการประกอบ
ชิ้นสวน
ถอดเสื้อเฟองทาย และวัดคาพรีโหลด
ของเฟองขับ (เฟองเดือยหมู)
• การปรับตั้ง
ปรับตั้งคาแบ็คแล็ชพรีโหลดโดยปรับ
หรือขันนัตปรับตั้ง

1 นัตปรับตั้ง
2 แผนประกับลูกปนดานนอก
3 เฟองบายศรีพรอมเสื้อ
4 ประกับแบริ่ง
5 แผนล็อคนัตปรับตั้ง
6 เสื้อเฟองทาย

(1/1)

ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด การวัดคา

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

1. วัดระยะแบ็คแล็ชของเฟอ งบายศรี
ใชไดอัลเกจวัดระยะแบ็คแล็ชของเฟอง
บายศรี
ขอแนะนําการบริการ:
แบ็คแล็ช
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
76-79)

1 ไดอัลเกจ
2 ฐานแมเหล็ก
3 เฟองเดือยหมู
4 เฟองบายศรี
5 เสื้อเฟองทาย

2. วัดพรีโหลด
ดวยเฟองขับ (เฟองเดือยหมู) ซึ่งสัมผัสกับ
ฟนเฟองบายศรี จงเริ่มหมุนเพื่อวัดคาแรง
บิดเริ่มตน
ขอแนะนํา:
คาพรีโหลดเฟองขับ (เฟองเดือยหมู)
สามารถตรวจสอบไดโดยตรง แตคา
พรีโหลดของแบริ่งขางของเสื้อเฟองบาย
ศรีจะถูกตรวจสอบเปนคาพรีโหลดรวม
กับคาพรีโหลดเฟองขับ
(เฟองเดือยหมู)
1 ประแจปอนด 2 หนาแปลนเพลากลาง ขอแนะนําการบริการ:
3 ชองวางใหยุบตัว 4 นัต
พรีโหลด
5 แบริ่ง 6 เฟองบายศรี
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
7 เฟองขับ (เฟองเดือยหมู) "พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
79-84)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

3. วัดระยะแบ็คแล็ชของเฟองขาง
วัดคาแบ็คแล็ชเฟองขางโดยใชไดอัลเกจ
ขอแนะนําการบริการ:
แบ็คแล็ช
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
76-79)

1 ไดอัลเกจ
2 เฟองขางของชุดเฟองทาย
3 เฟองพิเนียน
(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

การถอดแยกและการประกอบชิ้นสวน
1. การถอดตัวเรือนเฟองทาย
(1)ทําเครื่องหมายแสดงตําแหนงที่
ประกับแบริง่ และเสื้อเฟองทาย
(2)ถอดแผนล็อคนัตปรับตั้ง
(3)คลายโบลทชุดประกับแบริ่งเพื่อถอด
ออก
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
1 แผนล็อคนัตปรับตั้ง 2 นัตปรับตั้ง "พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
3 ประกับแบริ่ง 4 แผนประกับลูกปนดานนอก
4-5)
5 เรือนเฟองทาย 6 เสื้อเฟองทาย

7 เครื่องหมายแสดงตําแหนง (4)ถอดนัตปรับตั้ง แผนประกับลูกปนดาน


นอกและเรือนเฟองทาย
ขอควรระวัง:
ประกับแบริง่ และเสื้อเฟองทาย
ประกอบเปนหนวยเดียวกัน การบงชี้
ตําแหนงการติดตั้งของดานขวา และ
ดานซายของแหวนลูกปนและนัตปรับ
ตั้ง ทําไดโดยติดปายไว
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
41-45)

(1/4)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

2. วัดพรีโหลดเฟอยเดือยหมู
หมุนเฟองเดือยหมูและวัดแรงบิดเริ่มตน
ขอแนะนําการบริการ:
พรีโหลด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
79-84)

1 ประแจวัดปอนด
2 หนาแปลนเพลากลาง
3 ชองวางใหยุบตัว
4 นัต
5 แบริ่ง
(2/4)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

3. การประกอบชิ้นสวนตัวเรือนเฟอง
ทาย
(1)ประกอบแผนประกับลูกปนดานนอก
บนเรือนเฟองทายศรี และติดตั้งกับ
เสื้อเฟองทาย
ขอควรระวัง:
ติดตั้งแผนประกับลูกปนดานนอกเขาที่
ตําแหนงดั้งเดิม
(2)จัดใหเกลียวของนัตปรับตั้ง และเกลียว
ของเสื้อเฟองใหอยูในแนวเดียวกันกอน
1 2
ประกอบ
แผนประกับลูกปนดานนอก เรือนเฟองทาย
3 นัตปรับตั้ง 4 ประกับแบริง่ (3)จัดใหเครื่องหมายแสดงตําแหนงของ
5 โบลทยึดประกับแบริ่ง 6 เสื้อเฟองทาย ประกับแบริง่ และเครื่องหมายแสดง
7 เครื่องหมายแสดงตําแหนง ตําแหนงของเสื้อเฟองทายอยูใน
ตําแหนงตรงกันกอนประกอบ
ขอแนะนําการบริการ:
โบลท
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4-5)
ขอควรระวัง:
• ถาประกับแบริ่งไมลงรองพอดีกับเสื้อ
เฟองทาย นั่นคือเกลียวของนัตปรับตั้ง
อยูผิดตําแหนง ในกรณีนี้ ถอดประกับ
แบริ่ง และนัตปรับตั้งออกเพื่อปฏิบัติ
ขั้นตอนนี้ใหม
• อยาใหคาแบ็คแล็ชเฟองบายศรีเปน
ศูนย
• วางใหนัตปรับตั้งทั้งทางดานซาย และ
ขวาอยูในตําแหนงเดียวกัน

(3/4)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

ขอแนะนํา:
แบริ่งขาง
ที่แบริง่ ขางเราใชแบริ่งชนิดเทเปอรโรล
เลอร การอัดโหลดเขาโรลเลอร กดแผน
ประกับลูกปนดานนอกดวยนัตปรับตั้ง
การขันแนนที่นัตปรับตั้งนั้นเพื่อทําให
คาพรีโหลดมากขึ้น และการคลายนัต
ปรับตั้งนั้นทําใหคาพรีโหลดลดลง

1 นัตปรับตั้ง
2 แผนประกับลูกปนดานนอก
3 ประกับแบริ่ง
4 แบริ่ง
5 เรือนเฟองทาย

(4/4)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

การปรับตั้ง
1. การปรับตั้งพรีโหลดแบริ่งขาง
(1)ขันโบลทประกับแบริ่งอยางเสมอกัน
ทีละนอย
(2)คลายโบลทชุดประกับแบริ่งสักทีหนึ่ง
แลวจึงขันดวยมือ
(3)วางไดอัลเกจบนนัตปรับตั้งที่ดานหลัง
ของเฟองบายศรีในแนวมุมฉาก
(4)ขันนัตปรับตั้งดานฟนเฟองบายศรีจน
กระทั่งเข็มไดอัลเกจเริ่มกระดิก
1 ไดอัลเกจ (ตําแหนงพรีโหลดเปนศูนย)
2 นัตปรับตั้ง
3
(5)จากตําแหนงคาพรีโหลดศูนย ขันนัต
เครื่องมือพิเศษ (ประแจปรับตั้งแบริ่งขาง)
ปรับตั้งที่ดานฟนเฟองของเฟองบายศรี
1 ถึง 1.5 นอทและเพิ่มคาพรีโหลดขาง
ขอแนะนําการบริการ:
• ‘พรีโหลด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
79-84)
• การวัดคา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
71-74)

(1/3)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

2. การปรับตั้งแบ็คแล็ชเฟองบายศรี
เลื่อนเสื้อเฟองบายศรีโดยหมุนนัตปรับตั้ง
เพื่อปรับตัง้ แบ็คแล็ช
(1)เพื่อปรับตัง้ แบ็คแล็ช ปริมาณการขัน
ดานหนึ่งของนัตปรับตั้ง ควรเปนคา
เดียวกันกับปริมาณการคลายของอีก
ดานหนึ่งของนัตปรับตั้ง
ขอแนะนํา:
หมุนนัตปรับตัง้ ไปทางซาย และขวาให
เทาๆ กัน
การหมุนเพียงดานเดียวของนัตปรับตั้ง
จะทําใหเกิดคาฟรีโหลดผิด
ขอแนะนําการบริการ:
แบ็คแล็ช
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
76-79)

1 นัตปรับตั้ง
2 เรือนเฟองทาย
3 เครื่องมือพิเศษ
(ประแจปรับตั้งแบริ่งขาง)
4 ไดอัลเกจ

(2/3)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ระยะแบ็คแล็ช/พรีโหลด

3. ตรวจเช็คพรีโหลดรวม
หมุนเฟองเดือยหมูและวัดแรงบิดเริ่มตน
• เมื่อคาที่วัดไดนอยกวาคากําหนด:
ขันนัตปรับตั้งดานฟนเฟองบายศรีเพื่อปรับ
ตั้ง
• เมื่อคาที่วัดไดมากกวาคากําหนด:

(1)คลายนัตปรับตั้งดานฟนเฟองบายศรี
(2)ปรับตั้งโดยขันนัตปรับตั้งดานฟน
เฟองบายศรีอีกครั้ง
ขอแนะนําการบริการ:
พรีโหลด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
79-84)

1 นัตปรับตั้ง
2 เรือนเฟองทาย
3 แบริ่งขาง
4 เฟองบายศรี
5 เฟองขับ (เฟองเดือยหมู)
6 แบริ่งเฟองขับ (เฟองเดือยหมู)
7 เครื่องมือพิเศษ
(ประแจปรับตั้งแบริ่งขาง)

(3/3)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ขั้นตอนการถอดและติดตั้งอุปกรณภายในรถยนต-1

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
บทนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนการถอดคลิป
และขายึด และการถอดขั้วตอออกขณะที่
กําลังถอดและกําลังติดตัง้ มาตรวัดรวม
1. การถอด
เรียนรูขั้นตอนการถอดมาตรวัดรวม
2. การติดตั้ง
เรียนรูขั้นตอนการติดตั้งมาตรวัดรวม

(1/1)

การถอด การถอดมาตรวัดรวม
1. ถอดแผงครอบมาตรวัดรวม
(1)ถอดคลิป
(2)ปลดขายึด และถอดแผงครอบ
มาตรวัดรวม
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
58-60)

1 คลิป
2 ตําแหนงการติดตั้งขายืด (แบบ A)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายืด (แบบ B)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ขั้นตอนการถอดและติดตั้งอุปกรณภายในรถยนต-1

2. ถอดมาตรวัดรวม
(1)ขณะที่กดที่ปลายของคลิปทั้ง 2 ตัว
(2)ดึงมาตรวัดรวมขึ้นเพื่อถอดออก

1 ดานมาตรวัดรวม
2 ดานแผงคอนโซลหนาปด
3 ปลายขาคลิป

(3)ถอดขั้วตอ และถอดมาตรวัดรวม
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

(1/1)

การติดตั้ง การติดตั้งมาตรวัดรวม
1. ติดตั้งมาตรวัดรวม
(1)ตอขั้วตอดานหลังของมาตรวัดรวม
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ขั้นตอนการถอดและติดตั้งอุปกรณภายในรถยนต-1

(2)เกี่ยวคลิป 2 ตัวของมาตรวัดรวม
และทําการขันสกรู

1 ดานมาตรวัดรวม
2 ดานแผงคอนโซลหนาปด
3 ปลายขาคลิป

2. ติดตั้งแผงครอบมาตรวัดรวม
(1)นําแผงครอบมาตรวัดรวมมาไวที่
ตําแหนงติดตัง้ และใชมือกดเพื่อทํา
การติดตั้ง
(2)ติดตั้งคลิป
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
58-60)

1 คลิป
2 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ A)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ B)

(1/1)

การตรวจสอบขั้นสุดทาย
ตรวจเช็คขอผิดพลาดในการติดตั้งอุปกรณ
อิเล็คทรอนิคส และเช็คการทํางานของ
มาตรวัด และเครื่องรับวิทยุวาทํางานอยาง
ถูกตองหรือไม
1. การตรวจสอบขั้นสุดทาย
(1)ไฟทุกตําแหนงของมาตรวัดติดสวาง
ขึ้นหรือไม เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่
ตําแหนง ON

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ขั้นตอนการถอดและติดตั้งอุปกรณภายในรถยนต-1

(2)มาตรวัดทํางานอยางถูกตองหรือไม

(1/1)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ขั้นตอนการถอดและติดตั้งอุปกรณภายในรถยนต-2
รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
บทนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนการถอดคลิป
และขายึดและการถอดขั้วตอออกขณะที่
กําลังถอดและกําลังติดตัง้ ชุดเครื่องรับวิทยุ
1. การถอด
เรียนรูขั้นตอนการถอดชุดเครื่องรับวิทยุ
2. การติดตั้ง
เรียนรูขั้นตอนการติดตั้งชุดเครื่องรับวิทยุ

(1/1)

การถอด การถอดชุดเครื่องรับวิทยุ
1. ถอดแผงกรอบชองแอรกลาง
(1)ปลดขายึด
(2)ถอดแผงกรอบชองแอรกลาง โดยดึง
เขาหาตัว
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
58-60)

1 ขายึด (แบบ A)
2 ขายึด (แบบ B)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ A)
4 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ B)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ขั้นตอนการถอดและติดตั้งอุปกรณภายในรถยนต-2
2. ถอดชุดเครื่องรับวิทยุ
(1)ถอดสกรู และปลดขั้วตอ
(2)ถอดชุดเครื่องรับวิทยุ
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

1 สกรูยึด
2 ปลั๊กตอ
(1/1)

การติดตั้ง การติดตั้งชุดเครื่องรับวิทยุ
1. ติดตั้งเครื่องรับวิทยุ
เสียบขั้วตอชุดเครื่องรับวิทยุ และหลังจาก
นั้นติดตั้งสกรู และชุดเครื่องรับวิทยุ

1 สกรูยึด
2 ขั้วตอ

2. ติดตั้งแผงกรอบชองแอรกลาง
ใสขายึดใหตรงแนวตําแหนงการติดตั้ง
และหลังจากนั้นใสแผงกรอบชองแอรกลาง
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
58-60)

1 ขายึด (แบบ A)
2 ขายึด (แบบ B)
3 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ A)
4 ตําแหนงการติดตั้งขายึด (แบบ B)
(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป ขั้นตอนการถอดและติดตั้งอุปกรณภายในรถยนต-2
การตรวจสอบขั้นสุดทาย
ตรวจสอบขอผิดพลาดของอุปกรณ
อิเล็คทรอนิคสที่ทาํ การติดตั้ง และเช็ค
การทํางานของมาตรวัดรวม และชุดเครื่อง
รับวิทยุวาทํางานอยางถูกตองหรือไม
1. เสียงวิทยุดังขึ้นหรือไมเมือ่ เปดสวิตช
เปด-ปดวิทยุ

1 สวิตชเปด-ปดวิทยุ

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

ลักษณะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา
บทนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนการถอด และการ
ติดตัง้ ไฟหนา การใชมัลติเตอร และEWD*
เรียนรูขั้นตอนการตรวจสอบอุปกรณไฟฟา
1. การถอด
ถอดหลอดไฟหนาออก
2. การตรวจสอบ
เช็คแบตเตอรี่ และแรงดันไฟฟาของไฟหนา
3. การติดตั้ง
ติดตัง้ หลอดไฟหนา

*EWD: คูมอื วงจรไฟฟา

(1/1)

การถอด การปลดขั้วตอไฟหนา
1. ถอดขั้วตอของไฟหนาออก
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

การถอดหลอดไฟหนา
1. ถอดยางครอบโดยการดึงที่แถบยาง

1 ยางครอบขั้ว

2. ถอดสปริงยึดหลอดไฟหนาออกจาก
นั้นถอดหลอดไฟออก
ขอควรระวัง:
• คราบไขมันบนหลอดแกวจะทําใหอายุ
การใชงานของหลอดไฟลดลง ดังนั้น
อยาสัมผัสสวนที่เปนแกวของหลอดไฟ
• การถอดหลอดไฟออกจากขั้วหลอด
เปนระยะเวลานานๆ อาจทําใหฝนุ
ละอองหรือความชื้นเขาไปเกาะตาม
เลนส ควรปดชองใสหลอดดวยถุง
พลาสติกหรือวัสดุหอหุมอื่นๆ

1 สปริง
2 หลอดไฟหนา

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

การตรวจสอบ ตรวจสอบหลอดไฟหนา
1. ตัง้ มัลติมิเตอรใหอยูในยานทําการวัด
ความตานทาน
2. ตอสายของมิเตอรเขากับหลอดไฟ และ
เช็คความตอเนื่อง
(1)ดานไฟต่าํ
วัดทีข่ ั้ว 1 และ ขั้ว 3 ของหลอด
(2)ดานไฟสูง
วัดทีข่ ั้ว 2 และ ขั้ว 3 ของหลอด

1 ขั้ว 1
2 ขั้ว 2
3 ขั้ว 3

(1/1)

ตรวจสอบแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
1. ตัง้ มัลติมิเตอรใหอยูในยานทําการวัด
แรงดันไฟฟากระแสตรง (DC)
2. ตอสายวัดขั้วลบของมัลติมิเตอรเขากับ
ขั้วลบของแบตเตอรี่ และตอสายวัดขั้ว
บวกของมัลติมิเตอรเขากับขั้วบวกของ
แบตเตอรี่
3. ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
ขอแนะนํา:
ปกติแรงดันไฟฟาของแบตเตอรีจ่ ะอยู
ประมาณ 12.6 V แตแรงดันไฟฟาที่วัด
ไดจริงอาจจะอยูในระหวาง 10 - 14 V

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

ตรวจสอบวงจรไฟหนา
ตรวจเช็คขั้วตอของไฟหนา
(ขั้วตอ เบอร H1/H2)
(1)ดู "เสนทางการเดินสายไฟฟา" ใน
EWD เพื่อยืนยันตําแหนงของขั้วตอ
ไฟหนา
ขอแนะนํา:
• EWD: คูมือวงจรไฟฟา
• ตรวจเช็คขั้วตอชุดสายไฟบนรถ
(ขั้วตัวเมีย)
• การใช EWD ใหดใู นวิธีการใชคูมือ

1 ขั้วตอเบอร H1
2 ขั้วตอเบอร H2

(2)ดู "รายการขั้วตอ" ในEWD เพื่อยืนยัน


รูปรางลักษณะ และหมายเลขขั้วภายใน
ของขั้วตอไฟหนา
ขอแนะนํา:
• EWD: คูมือวงจรไฟฟา
• ตรวจเช็คขั้วตอชุดสายไฟบนรถ
(ขั้วตัวเมีย)
• การใช EWD ใหดใู นวิธีการใชคูมือ

1 ขั้วตอหลอดไฟหนาดานซาย H1 GRAY
2 ขั้วตอหลอดไฟหนาดานขวา H2 GRAY

(3)ดู "วงจรของระบบ" ใน EWD เพื่อยืนยัน


สีของสายไฟในชุดสายไฟ
ขอแนะนํา:
• EWD: คูมือวงจรไฟฟา
• ตรวจเช็คขั้วตอชุดสายไฟบนรถ
(ขั้วตัวเมีย)
• การใช EWD ใหดใู นวิธีการใชคูมือ

1 ขั้วตอไฟหนาดานซาย H1
2 ขั้วตอไฟหนาดานขวา H2

(1/1)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

การตรวจสอบแรงดันไฟฟาของขั้วตอไฟ
หนา
1. ตอสายวัดของมัลติมเตอรเขากับขั้ว
ดังแสดงในรูปภาพ
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาโดยทําการตอ
สายวัดเขากับขั้วตอดานที่ติดตั้งอยูบน
รถยนต
ขอควรระวัง:
อยากดขั้วตอการใชแรงเพิ่มากไปอาจ
ทําใหขั้วตอเสียหาย
2. ตรวจเช็คคาแรงดันไฟฟาของขั้วที่วัด
อยูมกี ารเปลี่ยนแปลงหรือไมเมื่อปรับ
สวิตชไฟหนาระหวางไฟต่าํ และไฟสูง
(1)ไฟต่าํ

1 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่

(2)ไฟสูง

1 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่

(1/1)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

การติดตั้ง ติดตั้งหลอดไฟหนา
1. จัดแนวหลอดไฟใหตรงกับรอยบาก
ของขั้วหลอด จากนั้นใหดันหลอดไฟ
เขาไป
ขอแนะนํา:
เมือ่ เปลี่ยนหลอดไฟใหม จะตองใช
หลอดที่มีกาํ ลังวัตตเทาเดิม

2. ทําการล็อคหลอดไฟดวยสปริงล็อค

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

3. ติดตั้งยางครอบขั้วหลอดโดยให
สัญลักษณสามเหลี่ยมหันปลายขึ้น
ดานบน
ขอแนะนําการบริการ:
ตําแหนงที่ติดตั้ง/ทิศทางการติดตัง้
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
41-45)
ขอควรระวัง:
• ถาสัญลักษณสามเหลีย ่ มบนยางครอบ
ขั้วหลอด ไมอยูดานบนอาจทําใหนา้ํ
รั่วเขาสูภายในได
• หามสัมผัสสวนที่เปนหลอดแกวเพราะ
น้าํ มันจากผิวจะทําใหอายุการใชงาน
สั้นลง

1 ยางครอบขั้วหลอด

(1/1)

การตอขัว้ ตอไฟหนา
1. ตอขอตอของไฟหนา
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป การตรวจสอบอุปกรณไฟฟา

การตรวจสอบขั้นสุดทาย
ตรวจเช็คขอผิดพลาดของขั้นตอนการติดตั้ง
อุปกรณไฟฟา และตรวจสอบวาไฟหนา
ทํางานอยางถูกตองหรือไม
• ทดสอบการทํางานสวิตชควบคุมไฟ
สองสวาง และตรวจสอบวาไฟติด
สอดคลองกับแตละตําแหนงกับ
สวิตชหรือไม
(1)ไฟต่าํ

(2)ไฟสูง

(1/1)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม "เริ่มทําแบบทดสอบ"

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ "ผลการทดสอบ" ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอร จงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป แบบทดสอบ

คําถาม-1 ขอความใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับระยะแบ็คแล็ชของเฟองขางเฟองทายไดถูกตอง?

ก. เฟองสามารถหมุนไดแมวาจะไมมรี ะยะแบ็คแล็ช
ข. ระยะแบ็คแล็ชมีไวเพื่อปองกันเฟองติดขัดหรือมีเสียงดังขณะทํางาน
ค. สําหรับการวัดระยะแบ็คแล็ช วัดเพี่ยงตําแหนงเดียวโดยใชไดอัลเกจ
ง. เมื่อเฟองขางมีระยะแบ็คแล็ชมาก ใหเปลี่ยนชิมหนาขึ้นเพื่อทําการปรับตั้ง

คําถาม-2 สาเหตุจากขอใดที่ทาํ ใหฝาสูบเกิดการโกงงอได ?

ก. น้าํ หลอเย็นมากเกินไป
ข. มีนา้ํ มันเครื่องรั่วผานแหวนลูกสูบ
ค. แบริง่ กานสูบละลาย
ง. เครือ่ งยนตรอ นจัด (โอเวอรฮีท)

คําถาม-3 การประกอบซีลน้าํ มันกานวาลวขอใดกลาวถูกตอง?

ก. ซีลน้าํ มันกานวาลวของลิน้ ไอดี เทานั้นที่สามารถนํากลับมาใชใหมได


ข. ซีลน้าํ มันกานวาลวของลิ้นไอดี และลิ้นไอเสียมีลักษณะ เหมือนกัน
ค. เมื่อประกอบซีลน้าํ มันกานวาลว ขจัดจาระบีออกเพื่อปองกันไมใหนา้ํ มันเครื่องรั่วผานปลอกนําวาลวได
ง. ใชซีลน้าํ มันหมวกวาลวอันใหม และเครื่องมือพิเศษเทานั้น ในการประกอบ

คําถาม-4 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงโบลทพลาสติกรีเจนไดถูกตอง?

ก. ถาหากนําโบลทพลาสติกรีเจนมาใชอีกใหวัดความยาว และเสนผาศูนยกลางของโบลท
ถาคาใดคาหนึ่งเพียงคาเดียวไมอยูในคากําหนดแสดงวาโบลทสามารถนํากลับมาใชไดอีก
ข. ถาหากนําโบลทพลาสติกรีเจนมาใชอีกใหเช็ดจาระบีออกกอนทําการขันเพื่อปองกันการคลายตัวของโบลท
ค. การขันโบลทพลาสติกรีเจนแตละรุนไมเหมือนกันเพื่อใหเกิดความแนนอนใหอางอิงจากคูมือการซอม
ง. การขันโบลทพลาสติกรีเจนใหขันตามคาแรงขัน และจากนั้นใหคลายออกเล็กนอยเพื่อใหโบลทยึดแนนยิ่งขึ้น

คําถาม-5 ขอความตอไปนี้ขอใดกลาวถึงเพลาขอเหวี่ยงไดอยางถูกตอง?

ก. โดยทั่วไปแลว จะมีมารคแสดงตําแหนงการประกอบอยูบนแบริง่ เพลาขอเหวี่ยง


ข. หลังจากประกอบเพลาขอเหวี่ยงใหวัดระยะรุนของเพลาขอเหวี่ยงและพิจารณาวาอยูในระยะที่ใชไดหรือไม
ถาวัดคาไดมากกวาคามาตรฐานปรับตั้งโดยเลื่อนประกับแบริ่งตามแนวรุน
ค. ถาเพลาขอเหวี่ยงเกิดการโกงงอ ใหใชคอนพลาสติกเคาะใหคืนรูปเดิม
ง. การประกอบประกับแบริ่งเพลาขอเหวี่ยงจะตองประกอบกลับในตําแหนงและทิศทางเดิม

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป แบบทดสอบ

คําถาม-6 ขอความตอไปนี้ขอใดกลาวถึงวิธีการประกอบเพลาขอเหวี่ยงไดอยางถูกตอง?

ก. ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวดานหนาของแบริ่งเพลาขอเหวี่ยงเทานั้น และประกอบ


ข. ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวดานหนา และทาน้าํ มันซิลิโคนบนผิวดานหลังของแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง และประกอบ
ค. ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวดานหนาและดานหลังของแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง และประกอบ
ง. ทาน้าํ มันเครื่องบนผิวดานหนาและดานหลังของแบริ่งเพลาขอเหวี่ยง และประกอบ

คําถาม-7 ในการวัดระยะหางกระบอกสูบกับลูกสูบใชเครื่องมือวัดชนิดใด?

ก. ฟลเลอรเกจ และบรรทัดเหล็ก
ข. ไซลินเดอรเกจ และไมโครมิเตอร
ค. ไซลินเดอรเกจ และไดอัลเกจ
ง. ไดอัลเกจ และเวอรเนียคาลิปเปอร

คําถาม-8 ขอใดตอไปนี้ในแผนผังวงจรไฟฟาที่ระบุเกี่ยวกับการตรวจสอบรูปรางของปลั๊กตอ

ก. ข.

ค. ง.

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - ทักษะทั่วไป แบบทดสอบ

คําถาม-9 ขอใดตอไปนี้ในแผนผังวงจรไฟฟาที่แสดงเกี่ยวกับการตรวจสอบสีของสายไฟ?

ก. ข.

ค. ง.

คําถาม-10 ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยววิธีการใชงานหลอดไฟหนา?

ก. ทําความสะอาดโคมไฟหนาดวยปนลมกอนเพราะอาจมีสิ่งแปลกปลอมเขาไปในโคมไฟหนาหลังจากถอด
หลอดไฟหนาออก
ข. เมือ่ ทําการติดตัง้ ปลอกกันน้าํ เขาหลอดไฟ ใหติดตัง้ โดยหมุนสัญลักษณ 'TOP' ใหอยูดานลาง
ค. ทําความสะอาดหลอดไฟดวยน้าํ มันเครื่องเพื่อลางสิ่งสกปรก
ง. หามสัมผัสบริเวณกระจกหลอดไฟดวยมือเพราะน้าํ มันจากผิวหนังจะทําใหอายุของหลอดสั้นลง

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การเปลี่ยนสายพานขับ รายละเอียดทั่วไป
สายพานขับจะขับสวนประกอบตางๆ ของ
เครื่องยนต
การปรับตั้งสายพานจะมีขั้นตอนในการ
ปฎิบัติงาน ขึ้นอยูกับความตึงสายพาน
และวิธีการปรับตั้ง
ประโยชนของการปรับตัง้ ความตึงของสาย
พานขับ เมือ่ สายพานหยอนจะตองทําการ
ถอดสายพานออกมาเพื่อปรับตั้งสายพาน
ใหตึง และทําการติดตั้งสายพานขับและ
ปรับตั้งความตึงใหเรียบรอยสายพานเกา
จะตองมีการตรวจและมีการปรับตั้งความ
ตึงตามระยะเสมอ
ดังนั้นหากไมมีการบํารุงรักษาและปรับตั้ง
ความตึงสายพานอาจจะหลุดหรือมีเสียงดัง
ผิดปกติ

1 สายพาน
2 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
3 คอมเพรสเซอร
4 พูลเลยปมน้าํ
5 พูลเลยอัลเทอรเนเตอร
6 พูลเลยปมพวงมาลัยเพาเวอร
7 เกจวัดความตึงสายพาน

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การถอดขั้วลบแบตเตอรี่
ถอดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่
เมื่อทําการถอดสายพานขับอัลเทอรเน-
เตอร ใหถอดขั้วลบแบตเตอรี่ออกกอน
เพราะสายไฟของอัลเทอรเนเตอรจะตอมา
จากแบตเตอรีโ่ ดยตรง ถาไมถอดขั้วลบ (-)
แบตเตอรี่ออก อาจเปนสาเหตุทาํ ใหเกิด
การลัดวงจร
กอนที่จะทําการถอดขั้วลบแบตเตอรี่ออก
ใหทาํ การบันทึกขอมูลตางๆ ที่ถูกบันทึก
ในกลอง ECU ตางๆ กอน
• DTC (รหัสวิเคราะหปญหา)

• สถานีวิทยุ

• ตําแหนงเบาะ
(มีระบบหนวยความจํา)
• ตําแหนงพวงมาลัย
(มีระบบหนวยความจํา)
อื่นๆ
ขอแนะนําการบริการ:
แบตเตอรี่
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
51-53)

1 ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


2 แผนยึดแบตเตอรี่
3 แบตเตอรี่

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การเปลี่ยนสายพานขับ
ขั้นตอนในการเปลีย่ นสายพานขับขึ้นอยูกับ
ความแตกตางของความตึงสายพานและวิธี
การปรับตั้ง
1. แบบพูลเลยหมุน
(ไมมีโบลทปรับสายพาน)
2. แบบพูลเลยหมุน
(มีโบลทปรับสายพาน)
3. แบบสายพานคดเคี้ยว
4. แบบพูลเลยหมุนเปลา

(1/9)

แบบไมมีลูกรอก (ไมมีโบลทปรับตั้ง)
สําหรับแบบไมมีลูกรอก (ไมมีโบลทปรับ
ตั้ง) วิธีการปรับตั้งความตึงสายพานจะทํา
ไดโดยการปรับโบลทปรับตั้งเพื่อใหอุปกรณ
ที่ยึดอยูเลื่อนใหสายพานตึง
สําหรับเครื่องยนต 1NZ-FE
1. ถอดสายพานขับ
(1)คลายโบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ของ
อัลเทอร เพื่อปรับแตงความตึงของ
สายพาน
(2)ดันอัลเทอรเนเตอรเขาหาเครื่องยนต
แลวถอดเอาสายพานออก
ขอควรระวัง:
การดึงสายพานเพื่อทําใหอัลเทอรเน-
เตอรเลื่อนอาจทําใหสายพานเสียหาย

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด

(2/9)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

2. ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขาไปที่พูลเลยในขณะที่
โบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ยังคลายอยู
(2)ใชดามคอนหรือดามขันของเครื่องมือ
อื่นๆ ดันเลื่อนอัลเทอรเนเตอรเพื่อปรับ
ความตึงของสายพาน แลวขันโบลทยึด
ตัวที่ 3 ใหแนน
ขอควรระวัง:
• วางปลายดามคอนไวที่ตา ํ แหนงที่จะ
ไมทาํ ใหชิ้นสวนเสียหาย เชน ฝาสูบ
หรือเสื้อสูบ
• จะตองใชดามคอนหรือดามขันอื่นๆ
งัดเขากับสวนทีแ่ ข็งและกึ่งกลางของ
อัลเทอรเนเตอร
(3)ตรวจเช็คคาความตึงของสายพานขับ
ทุกครั้งและขันโบลท 2 ใหไดตามคา
กําหนด

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทยึด

(3/9)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

แบบไมมีลูกรอก (มีโบลทปรับตั้ง)
สําหรับแบบไมมีลูกรอก (มีโบลทปรับตั้ง)
วิธีการปรับตั้งความตึงสายพานจะทําได
โดยการปรับโบลทปรับตั้งเพื่อใหอุปกรณที่
ยึดอยูเลื่อนใหสายพานตึง
สําหรับเครื่องยนต 1MZ-FE
1. ถอดสายพานขับ
(1)คลายโบลทยึดตัวที่ 2 และ 3 ของ
อัลเทอรเนเตอรใหหลวม
(2)คลายโบลทปรับตัง้ 4 ใหเลื่อน
อัลเทอรเนเตอรตามทิศทางเพื่อทําให
สายพานหยอนแลวดึงเอาสายพานออก
มา
ขอควรระวัง:
ถาคลายโบลทปรับตั้ง 4 กอนที่จะ
คลายโบลทยึด 3 อาจทําใหโบลท
ปรับตั้ง 4 เกิดความเสียหาย

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทขันแนน
4 โบลทปรับตั้ง

(4/9)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

2. ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขาไปที่พูลเลยในขณะ
ที่โบลทยึด 2 และ 3 รวมทั้งโบลท
ปรับตั้ง 4 ยังหลวมอยู
(2)เลื่อนอัลเทอรเนเตอรตามทิศทางของ
ลูกศรชี้และยึดเอาไว
(3)ใชมือขันโบลทปรับตั้ง 4 ใหแนนพอ
ประมาณ
(4)ใชประแจขันโบลทปรับตั้ง 4 และ
ตรวจเช็คความตึงของสายพาน จากนั้น
ขันโบลทยึด 3 และ 2 ใหแนน
• การขันโบลทปรับตั้ง 4 : ความตึงเพิ่ม
ขึ้น
• การขันโบลทปรับตั้ง 4 : ความตึงลดลง

1 สายพาน
2 โบลทยึด
3 โบลทขันแนน
4 โบลทปรับตั้ง

(5/9)

แบบสายพานคดเคี้ยว
สําหรับสายพานแบบขับเสนเดียวนั้นไม
จําเปนตองปรับตัง้ ความตึงของสายพาน
เนื่องจากจะใชตวั ปรับตั้งความตึงแบบ
อัตโนมัติ
สําหรับเครื่องยนต 1JZ-GE
1. ถอดสายพานขับ
(1)ปรับพูลเลยของตัวปรับตั้งความตึง
แบบเครื่องมือพิเศษอัตโนมัติโดยใช
ลูกบล็อคหรือ SST หมุนพูลเลยของตัว
ปรับตั้งตามเข็มนาฬิกาและคลายสาย
พานออก
(2)ถอดเอาสายพานออก

1 พูลเลยตัวปรับตั้งความตึง
2 สายพาน
3 SST หรือลูกบล็อค
(6/9)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

2. ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขากับพูลเลยทุกตัว
ยกเวนพูลเลยของปมพวงมาลัย
เพาเวอร
ขอแนะนํา:
ลักษณะการติดตั้งสายพานเขากับ
พูลเลยจะแตกตางกันไปตามแบบของ
เครื่องยนต
(2)ใชลูกบล็อคหรือเครื่องมือพิเศษจับที่
พูลเลยตัวปรับตั้งความตึงแลวดันตาม
เข็มนาฬิกา จากนั้นคลองสายพานเขา
กับพูลเลยปมพวงมาลัยเพาเวอร
(3)ตรวจเช็คความตึงสายพาน โดยดูจาก
เครื่องหมายที่แสดงความตึงที่ตัวปรับ
ตั้ง

คากําหนด:
สายพานเกา: อยูในชวง A

สายพานเกา: อยูในชวง B

1 พูลเลยปมพวงมาลัยเพาเวอร
2 อุปกรณบงชี้ความตึง
3 SST หรือลูกบล็อค

(7/9)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

แบบพูลเลยหมุนเปลา
สําหรับแบบมีลูกรอก สามารถปรับความ
ตึงสายพานที่พูลเลยลูกรอกได
สําหรับเครื่องยนต 2L
1. ถอดสายพานขับ
(1)คลายนัตล็อคใหหลวม
(2)คลายโบลทปรับตัง้ และถอดเอาสาย
พานขับออกจากพูลเลย

1 สายพาน
2 พูลเลยปรับตั้ง
3 นัตล็อค
4 โบลทปรับตั้ง

(8/9)

2. ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขากับพูลเลยทุกตัว
(2)ขันโบลทปรับตั้งเพื่อปรับความตึงของ
สายพาน
• ขันโบลทปรับตั้ง: ความตึงเพิ่มขึ้น
• คลายโบลทปรับตั้ง: ความตึงลดลง

ขอแนะนํา:
การขันนัตล็อคตามคากําหนดแรงขัน
จะทําใหความตึงของสายพานเพิ่มขึ้น
ดังนั้น ปรับความตึงของสายพานให
ต่าํ กวาคาที่กาํ หนดเล็กนอย
(3)ขันนัตล็อคใหไดคาแรงขันที่กาํ หนด
(4)ตรวจเช็คความตึงสายพาน

1 สายพาน
2 พูลเลยปรับตั้ง
3 นัตล็อค
4 โบลทปรับตั้ง

(9/9)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การตรวจสอบความตึงสายพาน
การตรวจสอบความตึงของสายพานจะมี
การตรวจเช็ค 2 แบบดังตอไปนี้
1. การตรวจสอบสายพานขับโดยการ
ใชนิ้วมือกดความตึง
2. การตรวจสอบสายพานขับโดยใช
เกจวัดความตึงสายพาน
ภายหลังจากการติดตั้งสายพานใหม,
สายพานจะมีความตึงสูงแตความตึงจะ
ลดลง เนื่องจากการใชงาน ดวยเหตุนี้
คาของการปรับตั้งจะแตกตางกันไป
โดยขึ้นอยูกับวาเปนสายพานใหมหรือ
สายพานที่ผานการใชงานมาแลว

1 ไมบรรทัด
2 บรรทัดเหล็ก
3 เกจวัดความตึงสายพาน

(1/3)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

1. การตรวจสอบสายพานขับโดยการ
ใชนิ้วมือกดความตึง
(1)วางบรรทัดเหล็กทาบลงไประหวาง
พูลเลยอัลเทอรเนเตอรและพูลเลย
เพลาขอเหวี่ยง
(2)กดที่ตาํ แหนงกึ่งกลางของสายพาน
ดวยแรง 98 N (10 kgf)
(3)ใชไมบรรทัดวัดระยะการยืดตัวของ
สายพาน
ตัวอยาง:
1 บรรทัดเหล็ก คากําหนดการยืดตัว (สําหรับโคโรลลา
2 ไมบรรทัด 1NZ-FE เดือนสิงหาคมป 2000)ฉ
สายพานใหม:
7 - 8.5 มม. (0.28 - 0.33 นิ้ว)
สายพานเกา:
11 - 13 มม. (0.43 - 0.51 นิ้ว)
ขอแนะนํา:
• ตําแหนงสําหรับการวัดจะแตกตางกัน
ไปตามรุนของเครื่องยนต ใหอา งอิง
จากคูมือซอม
• คาที่ใชสา
ํ หรับปรับตั้งจะแตกตางกัน
ไปตามรุนของเครื่องยนต ใหอา งอิง
จากคูมือซอม

(2/3)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

2. การตรวจสอบสายพานขับโดยใช
เกจวัดความตึงสายพาน
(1)ปรับปุมรีเซ็ตที่เกจ
(2)นําเกจไปคลองเขากับสายพาน
ตัวอยาง:
คากําหนดการยืดตัว (สําหรับโคโรลลา
1NZ-FE เดือนสิงหาคมป 2000)
สายพานใหม:
539 - 637 N (54 - 64 kgf)
สายพานเกา:
1 คันเริ่มวัดใหม 245 - 392 N (25 - 40 kgf)
2 ที่จับยึด
3
ขอแนะนํา:
ดามจับ
4 • ตองคลองเครื่องมือใหแนบสนิทกับ
ขอเกี่ยว
5 สายพาน สายพาน
• เครื่องมือจะตองตั้งฉากกับสายพาน

(3)เมื่อคลองเครื่องมือเขาที่สายพานแลว
ขอเกี่ยวจะดึงสายพานดวยแรงของ
สปริง ซึ่งจะทําใหเข็มชี้ของเกจแสดง
ความตึงของสายพาน
ขอแนะนํา:
• การวัดสามารถที่จะวัดในตําแหนงใด
ก็ได
• คามาตรฐานจะแตกตางกันไปตาม
รุนของเครื่องยนต ใหอางอิงจาก
คูมือซอม

(3/3)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การเปลี่ยนสายพานไทมมิ่ง รายละเอียดทั่วไป
ในบทนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนสาย
พานไทมมิ่งเครื่องยนต 2L (Hilux)
เมื่อทําการถอดสายพานไทมมงิ่ ใหลด
ความตึงของสายพานโดยทําใหสายพาน
หยอนเมื่อทําการติดตัง้ สายพานจะตอง
ปรับตั้งใหสายพานมีความตึง นอกจากนี้
ยังมีอุปกรณในการติดตั้งเพิ่มเติม เชน
เฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยง,เฟองไทมมิ่ง
เพลาลูกเบี้ยวและเฟองขับปมการฉีด
สายพานไทมมิ่งจะถูกขับโดยการหมุนของ
เพลาขอเหวี่ยง และลูกเบี้ยวจะควบคุม
จังหวะการปด-เปดของลิ้น ดังนั้นจะตองมี
1 หมอน้าํ 2 ฝาครอบหมอน้า ํ การบํารุงรักษาเพื่อใหสายพานตึง และ
3 พัดลม 4 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
เที่ยงตรง เพื่อใหองศาการเปด-ปดของลิ้น
5 ฝาครอบสายพานไทมมิ่ง 6 สายพานไทมมงิ่ ถูกตอง
7 SST (เครื่องมือยึดหนาแปลนเฟองทาย) สายพานไทมมิ่งทํามาจากยาง ดังนั้นสาย
(เครื่องมือยึดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง) พานไทมมิ่งจะมีการยืดและสึกหรอได
8 เครื่องมือพิเศษ (ชุดประแจล็อคพูลเลย) ดวยเหตุนี้ สายพานไทมมิ่งจะมีการเปลี่ยน
ตามระยะที่เหมาะสม
(ประมาณ 100,000 กม.)
ขอแนะนํา:
สําหรับเครื่องยนตบางรุน เชน เครื่องยนต
1CD-FTV สายพานไทมมงิ่ จะเปลี่ยนทุกๆ
150,000 กม.

(1/1)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การถอดพัดลมพรอมดวยชุดฟลูอิดคับ
ปลิ้ง
1. ถอดหมอน้ํา
(1)คลายปลัก๊ ถายน้าํ และถายน้าํ ออกจาก
หมอน้าํ
(2)ถอดทอยางน้าํ ตัวบนและตัวลางออก
จากหมอน้าํ
ขอแนะนําการบริการ:
ทอยาง/แคลมปรัด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
46-50)
(3)ถอดหมอน้าํ
2. การถอดพัดลมแบบฟูลอิดคับปลิ้ง

1 ปลั๊กถายน้าํ หมอน้าํ
2 ทอยางหมอน้าํ
3 หมอน้าํ
4 พัดลมมีฟูลอิดคับปลิ้ง
5 สายพาน

3. ถอดสายพานขับ
แบบพูลเลยหมุนเปลา
สําหรับแบบมีลูกรอก สามารถปรับความ
ตึงสายพานที่พูลเลยลูกรอกได
สําหรับเครื่องยนต 2L
1. ถอดสายพานขับ
(1)คลายนัตล็อคใหหลวม
(2)คลายโบลทปรับตัง้ และถอดเอาสาย
พานขับออกจากพูลเลย

1 สายพาน
2 พูลเลยปรับตั้ง
3 นัตล็อค
4 โบลทปรับตั้ง

(1/1)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การถอดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
1. ถอดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
(1)ใช SST 2 ยึดเขากับพูลเลยและถอด
โบลทยึดพูลเลยออก
ขอแนะนําการบริการ:
พูลเลย
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
8-10)
(2)ถอดพูลเลยและ SST 3 ออก
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
21-28)
2. ถอดฝาครอบสายพาน

1 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
2 SST
(เครื่องมือยึดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง)
3 SST
(เครื่องมือถอดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง)
4 ฝาครอบสายพานไทมมิ่ง

(1/1)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

1. ถอดสายพานไทมมิ่ง
(1)ขันโบลทยึดพูลเลยเขาที่ตาํ แหนงเดิม
(2)หมุนเพลาขอเหวี่ยงตามเข็มนาฬิกา
เพื่อจัดใหสูบที่ 1 อยูในตําแหนงศูนย
ตายบน/จังหวะอัด
(3)หมุนเพลาขอเหวี่ยงทวนเข็มนาฬิกา
90 องศาจากตําแหนงศูนยตายบน
ขอควรระวัง:
การหมุนเพลาขอเหวี่ยงขณะที่ถอดสาย
พานไทมมงิ่ ออก อาจทําใหลกู สูบ
กระแทกเขากับวาลว
(4)คลายโบลท A และ B ใหหลวม
(5)ดันใหสายพานหยอน และขันโบลท A

ไวชั่วคราวฃ

1 โบลทยึดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
2 มารกไทมมิ่ง (ตําแหนงศูนยตายบน /
จังหวะอัด)

(1/2)

(6)ถอดแผนรองสายพานออกจากเพลา
ขอเหวี่ยง
(7)ถอดสายพานไทมมิ่งออกจากเฟอง
ไทมมงิ่ เพลาขอเหวี่ยง

1 แผนรองสายพาน
2 เฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยง
3 สายพานไทมมิ่ง

(2/2)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

ขอมูลอางอิง:
เมื่อใชสายพานไทมมิ่งเสนเดิม
เมื่อใชสายพานไทมมิ่งเสนเดิม ใหทาํ
เครื่องหมายลูกศรแสดงทิศทางการหมุน
และเครื่องหมายตําแหนงในการติดตั้งที่
สายพาน และเวลาประกอบกลับให
ประกอบในตําแหนงและทิศทางเดิม
เมื่อใชสายพานเสนเดิม ใหประกอบกลับ
ตามตําแหนงและทิศทางที่ทาํ เครื่องหมาย
ไว

1 สายพานไทมมิ่ง
2 เฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยง
3 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
4 เฟองขับปมการฉีด

A เครื่องหมายแสดงทิศทาง
B มารคแสดง

(1/1)

ขอมูลอางอิง:
การตรวจสอบสายพานไทมมิ่ง
ตรวจเช็คโดยดูจากสภาพของสายพานและ
ตรวจเช็คดูความเสียหายและแตกราว
บริเวณรอบๆ ของสายพาน

1 การแตกหรือเสียหายของฟนสายพาน
2 การสึกหรอหรือเสียหายบริเวณขอบ
ของสายพาน
3 การแตกราวของสายพาน
4 การสึกหรอของฟนสายพาน

(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การติดตั้งสายพานไทมมิ่ง
(1)จัดเครื่องหมายที่พูลเลยเพลาลูกเบีย้ ว
และฝาสูบใหตรงกัน
(2)หมุนเพลาขอเหวี่ยงตามเข็มนาฬิกา
90 องศา ใหสูบ 1 อยูในตําแหนง
ศูนยตายบน
ขอควรระวัง:
การหมุนเพลาขอเหวี่ยงทวนเข็มนาฬิกา
อาจทําใหลูกสูบกระแทกเขากับวาลว
(3)เช็ดทําความสะอาดชุดเฟองตางๆ

1 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
2 เฟองขับปมการฉีด
3 เฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยง
4 มารคไทมิ่ง

(1/5)

(4)คลองสายพานเขากับเฟองไทมมิ่ง
เพลาขอเหวี่ยงและพูลเลยตัวปรับตั้ง
(5)ใชเครือ่ งมือพิเศษจัดใหเครื่องหมาย
ไทมมงิ่ ของปมฉีดเชื้อเพลิงใหตรงกัน
และติดตั้งสายพาน
ขอแนะนํา:
เฟองขับปมฉีดเชื้อเพลิงจะมีแรงดันของ
สปริงและลูกเบี้ยว ดังนั้นมันจะไมลอ็ ค
ที่ตาํ แหนงของเครื่องหมายไทมมิ่ง
(6)ในขณะที่อยูในขั้นตอนที่ (5) ให
1 2 เฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยง
คลองสายพานเขากับเฟองไทมมิ่ง
พูลเลยตัวปรับตั้งความตึง
3 4 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
เพลาลูกเบี้ยว
เฟองปมฉีดเชื้อเพลิง
5 เครื่องมือพิเศษ (ชุดประแจล็อคพูลเลย) ขอแนะนํา:
6 เครื่องหมายไทมมิ่ง ยึดสายพานในขณะที่คลองสายพาน
เขากับเพลาขอเหวี่ยง, ปมฉีดเชื้อเพลิง
และเพลาลูกเบี้ยว
(7)ยึดสายพานบนเฟอง

(2/5)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

(8)คลายโบลทยึดลูกรอกตั้งสายพานและ
เพิ่มความตึงสายพานโดยใชพูเลยตัว
ปรับตั้งความตึง

1 โบลทยึดลูกรอก
2 พูลเลยตัวปรับตั้งความตึง

(3/5)

2. ตรวจเช็ควาลวไทมมิ่ง
(1)หมุนเพลาขอเหวี่ยงตามเข็มนาฬิกา 2
รอบและตรวจดูเครื่องหมายไทมมงิ่ ที่
เฟองทุกตัวใหตรงกับตําแหนงเดิม
ขอควรระวัง:
สําหรับเครือ่ งยนตดเี ซลนั้น ถาหากวา
เครื่องหมายไทมมิ่งไมตรง อาจทําให
ลูกสูบกระแทกเขากับวาลวในขณะที่
หมุนเพลาขอเหวี่ยง ดังนั้น หามออก
แรงหมุนเพลาขอเหวี่ยงแรงเกินไป
ขอแนะนํา:
ถาเครื่องหมายไทมมิ่งไมตรงเมื่อหมุน
เพลาขอเหวี่ยงครบ 2 รอบ แสดงวาใส
สายพานไมถูกตอง ใหทาํ การใสใหม
(2)ขันโบลทยึดลูกรอกตั้งสายพานใหแนน

1 เฟองไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
2 เฟองขับปมการฉีด
3 เฟองไทมมิ่งเพลาขอเหวี่ยง
4 มารคไทมิ่ง

(4/5)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

3. ติดตั้งแผนรองสายพาน
ตรวจเช็คทิศทางใหถูกตองและประกอบเขา
เพลาขอเหวี่ยง
ขอควรระวัง:
ถาประกอบแผนรองสายพานกลับทิศ
ทาง จะทําใหแผนรองเสียดสีกับสาย
พานและจะทําใหสายพานแตก

1 แผนรองสายพาน

(5/5)

การติดตั้งพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
ใช SST เครื่องมือพิเศษยึดพูลเลยเพลา
ขอเหวี่ยงและขันโบลทยึดพูลเลยใหแนน

1 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
2 SST
(เครื่องมือยึดพูลเลยเพลาขอเหวี่ยง)
3 ประแจตั้งคาแรงขัน

(1/1)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การติดตั้งพัดลมพรอมดวยชุดฟลูอิด
คัพปง
1. ติดตั้งพัดลมพรอมดวยชุดฟูลอิด
คัปปลิ้ง
ติดตัง้ ชุดพัดลม และฟูลอิดคัปปลิ้งไวที่
พูลเลยปมน้าํ ชั่วคราว
ขอแนะนํา:
ใหขันนัตยึดหลังจากทําการติดตั้งสาย
พาน เนื่องจากพูลเลยปมน้าํ จะหมุน
และไมสามารถขันโบลทไดถาไมทาํ การ
ติดตั้งสายพานเขาไปกอน

1 สายพาน
2 พัดลมมีฟูลอิดคับปลิ้ง

(1/2)

2.ติดตั้งสายพาน
(1)คลองสายพานเขากับพูลเลยทุกตัว
(2)ขันโบลทปรับตั้งเพื่อปรับความตึงของ
สายพาน
• ขันโบลทปรับตั้ง: ความตึงเพิ่มขึ้น
• คลายโบลทปรับตั้ง: ความตึงลดลง

ขอแนะนํา:
การขันนัตล็อคตามคากําหนดแรงขัน
จะทําใหความตึงของสายพานเพิ่มขึ้น
ดังนั้น ปรับความตึงของสายพานให
ต่าํ กวาคาที่กาํ หนดเล็กนอย
(3)ขันนัตล็อคใหไดคาแรงขันที่กาํ หนด
(4)ตรวจเช็คความตึงสายพาน
3. ขันแนนพัดลมพรอมดวยชุดฟลูอิด
คัพลิงเปนครั้งสุดทาย
ขันโบลทยึดใหแนนตามคาแรงที่กาํ หนด

1 สายพาน
2 พูลเลยปรับตั้ง
3 นัตล็อค
4 โบลทปรับตั้ง

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต
(9/9)

4. การติดตั้งหมอน้ํา
(1)ติดตั้งหมอน้าํ บนรถยนต
(2)ติดตั้งทอยางหมอน้าํ ตัวบนและตัวลาง
เขากับหมอน้าํ
ขอแนะนําการบริการ:
ทอยาง/แคลมปรัด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
46-50)
(3)ประกอบปลัก๊ ถายน้าํ และเติมน้าํ ยา
หมอน้าํ

1 หมอน้าํ
2 ปลั๊กถายน้าํ
3 ทอยางหมอน้าํ

(4)ไลลมออกจากระบบ
<1>เปดสวิตชควบคุมอุณหภูมใิ นตําแหนง
รอนสุด
<2>สตารทเครื่องและอุนเครือ่ งใหรอน
<3>ดับเครื่องและรอจนกระทั่งเครื่องเย็น
<4>เติมน้าํ ยาเติมหมอน้าํ เขาที่หมอน้าํ
สํารองจนกระทั่งถึงขีด "FULL"
ขอแนะนํา:
การไลลมออกจากระบบจะแตกตางกัน
ไปตามรุนของเครื่องยนต ใหอางอิงจาก
คูมอื ซอม

1 สวิตชควบคุมอุณหภูมิ
2 หมอน้าํ สํารอง
3 น้าํ ยาเติมหมอน้าํ
4 เสนบอก "FULL"

(2/2)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การถายน้ําออกจากกรองดักน้ําและการเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง รายละเอียดทั่วไป
1. ถายน้ําออกจากกรองดักน้ํา
ตัวดักน้าํ จะมีนา้ํ สะสมอยู จะตองทําการ
ถายน้าํ จากปลั๊กถายน้าํ
ขอแนะนํา:
น้าํ ซึ่งหนักกวาน้าํ มันดีเซลจะสะสมอยู
ดานลางน้าํ จะสะสมอยูในตัวดักน้าํ จะมี
สวิตชเตือนและเสียงหลอดไฟเตือนเมื่อ
ทําการถายน้าํ ออกเมื่อหลอดไฟเตือน
ติดขึ้นใหทาํ การถายน้าํ ออกจากกรอง
น้าํ มันเชื้อเพลิง
2. เปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
1 ปมมือ 2 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง
3 สวิตชเตือนระดับน้าํ 4 กรองดักน้าํ ถอดแยกกรองน้าํ มันเชื้อเพลิง ถามีการ
5 โอ-ริง 6 ปลั๊กถายน้าํ มัน สะสมของตะกอนหรือสิ่งสกปรก ใหทาํ การ
เปลี่ยนกรองน้าํ มันทันที
วิธีปฎิบัตกิ ารเปลี่ยนกรองจากรถ Hilux
เครื่องยนต 2L ที่ผลิตในเดือนสิงหาคม
1997

(1/1)

การถายน้ํา
1. จัดถาดรองไวดา นลางของตัวดักน้าํ
2. คลายปลั๊กถายน้าํ ประมาณ 2 รอบ
และถายน้าํ ออก
3. กดปมมือจนกระทั่งมีนา้ํ มันไหลออก
มาจากรูปลั๊กถาย
4. ขันปลั๊กถายกลับเขาที่

1 ปลั๊กถายน้าํ
2 ปมมือ
3 ถาดรอง

(1/1)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

การเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ถอดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
(1)ถอดขอตอของสวิตชไฟเตือนและทอ
น้าํ มันเชื้อเพลิงออก และถอดเอากรอง
เชื้อเพลิงออกจากรถยนต
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)
1 ขอตอสวิตชเตือนระดับน้าํ 2 ทอน้า ํ มันเชื้อเพลิง (2)คลายปลัก๊ ถายน้าํ และถายน้าํ ออกจาก
3 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง 4 ปลั๊กถายน้า ํ กรองเชื้อเพลิง
5 แผนอลูมิเนียม 6 ประแจถอดสวิตชเตือนระดับน้า
ํ (3)ยึดกรองเชื้อเพลิงเขากับปากกาจับชิ้น
7 สวิตชเตือนระดับน้าํ งาน
8 เครื่องมือพิเศษ (ถอดกรองน้าํ มันเชื้อเพลิง)
9 ปมมือ (4)ใชคีมถอดปมน้าํ ถอดเอาสวิตชไฟ
เตือนออกจากกรองเชื้อเพลิง
ขอควรระวัง:
ติดตั้งคีมเขากับสวิตชใหแนน เพราะถา
ไมแนนอาจทําใหสวิตชเสียหาย
(5)ใชเคื่องมือพิเศษถอดเอากรองเชื้อ
เพลิงออกจากปมมือ

(1/3)

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

2. ประกอบกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
(1)ขันกรองเขาไปจนกระทัง่ ปะเก็นสัมผัส
กับปมมือ
ขอแนะนํา:
ทาน้าํ มันเชื้อเพลิงเขาที่ปะเก็นเพื่อปอง
กันความเสียหายในขณะขันกรองเชื้อ
เพลิงเขาไป
(2)ใชมอื ขันกรองเขาไปประมาณ 3/4 รอบ
ขอควรระวัง:
การใชเคื่องมือพิเศษอาจทําใหปะเก็น
เสียหาย

1 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง
2 ปมมือ

(2/3)

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

(3)ใชโอ-ริงตัวใหมสาํ หรับสวิตชไฟเตือน
ขอแนะนํา:
ทาน้าํ มันเชื้อเพลิงที่โอ-ริง เพื่อปองกัน
ความเสียหายขณะประกอบสวิตชไฟเตื
อน
(4)ติดตั้งสวิตชเขากับกรองโดยใชมือขัน
ขอควรระวัง:
การใชคีมขันอาจทําใหโอ-ริงเสียหาย
(5)จัดใหปลัก๊ ถายอยูในตําแหนงตามรูปที่
แสดง
(6)ติดตั้งกรองเชือ้ เพลิงเขากับรถยนต
(7)เสียบขอตอของสวิตชไฟเตือน
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

1 สวิตชเตือนระดับน้าํ
2 ปลั๊กถายน้าํ
3 โอ-ริง

(3/3)

การตรวจสอบการรั่วซึมของน้าํ มันเชื้อเพลิง
1. กดที่ปมมือจนกระทั่งมีนา้ํ มันสงไปที่
ปมฉีดเชื้อเพลิง
2. สตารทเครื่องยนตและตรวจเช็คการ
รั่วของน้าํ มันเชื้อเพลิงจากหนาแปลน
ของรอยตอตางๆ

1 ปมมือ

(1/1)

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
เมือ่ ทําการเปลีย่ นสายพานอัลเทอรเนเตอร ใหถอดขั้วลบแบตเตอรี่
1 ถูก ผิด
เพื่อปองกันการลัดวงจร
เมือ่ ทําการเปลีย่ นสายพานแบบตัว V ใหตรวจความตึงของสายพานเกา
2 ถูก ผิด
กอนทําการถอดและประกอบกลับดวยความตึงเดิม
เมือ่ ทําการตรวจเช็คความตึงสายพานโดยการกด ไมตอ งวัดตําแหนง
3 ถูก ผิด
ตามคากําหนด
เมือ่ ทําการตรวจเช็คความตึงสายพานโดยใชเกจวัดความตึง ใหวัดใน
4 ถูก ผิด
ตําแหนงของพูลเลยตัวใดก็ได
5 คาความตึงสําหรับปรับตั้งสายพานเกาและสายพานใหมจะมีคาเทากัน ถูก ผิด

คําถาม-2
จงทําการจับคูระหวางขอความที่อธิบายดานลางใหตรงกับรูปที่แสดง

1. 2.

3. 4.

ก) ปรับตั้งความตึงของสายพานโดยการปรับเลื่อนอุปกรณดวยดามคอนหรืออืน่ ๆ
(แบบไมมีลูกรอกปรับตั้ง, ไมมีโบลทปรับตั้ง)
ข) ปรับตั้งความตึงของสายพานโดยการขันโบลทปรับตั้งใหอุปกรณเลื่อน เพื่อใหสายพานตึง
(แบบไมมีลูกรอกปรับตั้ง, มีโบลทปรับตั้ง)
ค) ปรับตัง้ ความตึงของสายพานโดยการขันโบลทปรับตั้งใหอุปกรณเลื่อน เพื่อใหสายพานตึง (มีลูกรอกปรับตั้ง)
ง) ใชตัวปรับตั้งความตึงแบบอัตโนมัติเพื่อปรับความตึงสายพาน (แบบขับเสนเดียว)
คําตอบ: 1. 2. 3. 4.

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต
คําถาม-3
จงเลือกขอความที่อธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบการรั่วของน้าํ มันเชื้อเพลิงหลังจากเปลี่ยนกรองเชื้อเพลิงและกรองดักน้าํ
ของเครือ่ งยนตดีเซลที่ถูกตอง
1. บิดสวิตชจุดระเบิด ON และจะตองไมมีนา้ํ มันรัว่ ตามรอยตอตางๆ ของกรองและสวิตชไฟเตือน
2. กดปมมือจนกระทั่งตึงมือและจะตองไมมนี า้ํ มันรั่วตามรอยตอตางๆ ของกรองและสวิตชไฟเตือน
3. สตารทเครื่องยนตและจะตองไมมีนา้ํ มันรั่วตามรอยตอตางๆ ของกรองและสวิตชไฟเตือน
4. สตารทเครื่องยนตใหทาํ งานแลวดับเครื่องหลังจากดับเครื่องซักระยะเวลาหนึ่ง จะตองไมมีการรั่วของน้าํ มัน
เชื้อเพลิงตามรอยตอตางๆ ของกรองและสวิตชไฟเตือน

คําถาม-4
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
ถาหมุนเพลาขอเหวี่ยงในขณะที่ถอดสายพานไทมมงิ่ ออก อาจทําให
1 ถูก ผิด
ลูกสูบกระแทกขากับวาลว
เมือ่ ทําการประกอบสายพานไทมมิ่งของเครื่องยนตดีเซล จําเปนที่จะ
2 ตองจัดเครือ่ งหมายที่พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง ปมฉีดเชื้อเพลิง และเพลา ถูก ผิด
ลูกเบี้ยวใหอยูในตําแหนงที่ถูกตอง
สายพานไทมมิ่งจะผลิตมาจากยางชนิดพิเศษ ดังนั้นมันจึงไมยืดตัว
3 ถูก ผิด
หรือเสียหาย
เมือ่ ใชสายพานเกา ใหทาํ เครือ่ งหมายแสดงทิศทางการหมุน และ
เครื่องหมายตําแหนงที่พูลเลยตางๆ ในขณะที่ถอดออก และจัดเครื่อง
4 ถูก ผิด
หมายใหตรงตามตําแหนงเดิมและทิศทางการหมุนเมื่อทําการประกอบ
กลับ
การตรวจสอบสายพานไทมมิ่งนั้น ใหตรวจเช็คการแตกราว
5 ถูก ผิด
และความเสียหายเฉพาะของสายพาน

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา เครื่องยนต
คําถาม-5
จงเลือกคําหรือประโยคที่ถูกตอง เติมลงแทนตั้งแต ก ถึง ง ในขอความที่อธิบายอยูดา นลาง
เกี่ยวกับการตรวจเช็คสายพานไทมมิ่งขณะประกอบกลับเขาไป

หมุน (A) (B) และทําการตรวจ (C) และ (D) วากลับมาอยูในตําแหนงเดิม และในขณะนั้นหามหมุน (A) ไปในทิศทาง
ตรงขาม

ก) เพลาลูกเบี้ยว
ข) หมุนเพลาลูกเบี้ยว 2 รอบ
ค) เพลาขอเหวี่ยง
ง) วาลวแตละตัว
จ) หมุนตามเข็มนาฬิกา 1 รอบ
ฉ) เครื่องหมายตรง
ช) เฟองแตละตัว
ช) เครื่องหมายไทมมิ่ง
คําตอบ: A. B. C. D.

- 29 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การเปลี่ยนยางหุมเพลาขับ รายละเอียดทั่วไป
การเปลี่ยนยางหุมเพลาขับ
ถอดเพลาขับออกจากรถยนต ถอดแยก
ชิ้นสวนออกและเปลี่ยนยางหุมเพลาขับ
ยางหุมเพลาขับทีน่ าํ มาเปลี่ยยนจะถูกจัดให
อยูในชุดยางหุมเพลาขับในชุดยางหุมเพลา
ขับจะมีจาระบีที่จัดไวอยางดี2ชุด
:สําหรับยางหุมเพลาขับตัวนอกและตัวใน
เมื่อยางหุมเพลาขับแตกหรือฉีกขาด
ทําใหจาระบีไหลออกมาดานนอก และน้าํ
หรือเศษผงตางๆ จะเขาไปในเพลาขับ
ทําใหเกิดเสียงดังผิดปกติและเกิดการ
สั่นสะเทือนได

1 ปกนกตัวลาง
2 ลูกหมากปลายคันสง
3 เพลาขับ
4 ยางหุมเพลาขับ
5 ขอตอเพลาขับตัวใน
(1/1)

การถอดเพลาขับ
1. ยกรถขึ้น
2. ถอดลอหนาออก
3. ถายน้ํามันเกียรออก
คลายปลัก๊ เติมน้าํ มันออกกอนจะถอดปลั๊ก
ถายน้าํ มัน แลวจึงถายน้าํ มันเกียรลงสูอาง
ขอแนะนํา:
ใชแมแรงยกเกียรและวางถาดรอง
น้าํ มันในตําแหนงที่ไมทาํ ใหนา้ํ มันหก
ขณะคลายปลั๊กถาย

1 ปลั๊กเติม
2 ปลั๊กถาย
3 ปะเก็น
4 ซัฟเฟรม
(1/4)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

4. ถอดแยกลูกหมากปลายคันสง
(1)ถอดสลักและนัตหัวผาออก
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF
หนา39-40 )
(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษถอดแยกลูกหมาก
ปลายคันสงออกจากแกนพวงมาลัย
ขอแนะนําการบริการ:
1 เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือดูดลูกหมาก) ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
2 ยางกันฝุน (ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
3 ลูกหมากปลายคันสง "พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
4 ขอบังคับเลี้ยว 21-28)
ขอควรระวัง:
การกระแทกเครื่องมือพิเศษเขากับตัว
กันฝุนอาจทําใหเกิดความเสียหาย

(2/4)

5. ถอดเพลาขับ
(1)จัดใหรอ งบากของเพลาขับขึ้นดานบน
(2)ใช SST และคอนตอกที่นัตล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
35-39)

1 เครื่องมือพิเศษ
(เหล็กตอกนัตยึดเพลาขับ)
2 นัตล็อค

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง
(3)คลายนัตล็อคใหหลวม
ขอแนะนํา:
จะตองใช 2 คนในการคลายนัตล็อค
ออกคนหนึ่งไวสาํ หรับเหยียบเบรกและ
อีกคนไวสาํ หรับคลายนัตล็อคออก
(4)ถอดปกนกตัวลางออกจากดุมลอ
(5)ถอดเซ็นเซอรของระบบ ABS
ขอควรระวัง:
• ลงมือทําหลังจากที่ถอดเซ็นเซอรของ
ระบบ ABS ออก
• ระมัดระวังอยาใหโรเตอรและบูชเพลา
ขับเสียหาย
• หามทําใหเกลียวของเพลาขับเสียหาย

3 ดุมลอ

(6)ใชคอนพลาสติกเคาะเบาๆ ที่แกนเพลา
เพื่อดึงเอาดุมลอออกมาจากรถยนต
3 ดุมลอ

ขอควรระวัง:
• ลงมือทําหลังจากที่ถอดเซ็นเซอรของ
ระบบ ABS ออก
• ระมัดระวังอยาใหโรเตอรและบูชเพลา
ขับเสียหาย
• หามทําใหเกลียวของเพลาขับเสียหาย

4 ปกนกตัวลาง
5 เซ็นเซอรของระบบ ABS
6 โรเตอร

(3/4)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

(7)ใช SST ดึงเอาเพลาขับออก


ขอควรระวัง:
ใชขอเกี่ยวของ SST เกี่ยวเขากับรองบน
เพลาขับอยางระมัดระวัง ถาเกี่ยวไมดี
อาจทําใหเพลาขับเสียหาย
ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
21-28)
ขอแนะนํา:
• คนหนึ่งจับเพลาขับเอาไวในขณะที่อีก
คนดึงเอาเพลาขับออกจะทําใหการทํา
งานงายขึ้น

1 SST
(คอนกระตุกสําหรับถอดเพลาขับ)
2 เพลาขับ
3 SST (ตัวดูดเฟองเพลาขาง)
4 รองเพลาขับ
5 ขอเกี่ยวของ SST
(4/4)

การถอดแยกเพลาขับ
1. ถอดแคลมปล็อค
แคลมปลอ็ คมีอยูดวยกัน 3 แบบ ใหใชวิธี
การที่เหมาะสมสําหรับแตละแบบ
• แบบมีปลอกล็อค

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค

• แบบโอเมกา

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• แบบมีปลอกล็อค
ใชไขควงแบนงัดแคลมปล็อคออกและ
ถอดแยก

1 แคลมปบีบล็อค

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค
(1)ใชคีมปากแหลม บีบบริเวณปลาย
ของแคลมป
(2)ถอดล็อคออกและถอดเอาแคลมปออก

1 แคลมปบีบล็อค

• แบบโอเมกา
ใชคีมปากแหลม บิดที่แคลมปแลว
คลีอ่ อกเพื่อถอดแยก

(1/3)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

2. ถอดยางกันฝุนเพลาขับออก
(1)ใชปากกาจับชิน้ งานยึดเพลาขับโดย
ใชแผนอลูมิเนียมรองเพลาขับ
(2)ดันยางหุมเพลาขับตัวในไปทาง
ดานขอตอเพลาขับตัวนอก
(3)จัดขอตอตัวใน, ขอตอไทรพอด
และเพลาขอตอตัวนอก ใหอยูในแนว
ตรงและทํามารคแสดงไวบนชิ้นสวนทั้ง
3 ตัว เมือ่ ประกอบชิ้นสวนตางๆ
จะไดถูกติดตั้งกลับไวในตําแหนงเดิม
1 ขอตอเพลาขับตัวใน 2 แหวนล็อค ขอควรระวัง:
3 ขอตอไทรพอด 4 คีมถางแหวน อยาใชปากกาจับยึดเพลาขับแนนจน
5 เพลาขอตอตัวนอก 6 แผนอลูมเิ นียม เกินไป
7 ยางหุมเพลาขับตัวใน 8 ปากกาจับชิ้นงาน (4)ใชคีมถางแหวน ถอดแหวนล็อคออก
9 มารคแสดง
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
31-34)

(2/3)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

(5)ใชแทงทองเหลืองวางบนขอตอไทร
พอด แตอยาวางบนลูกปนแบบสไลด
แลวเคาะดวยคอน เพื่อถอดขอตอ
ไทรพอดออกมา
ขอควรระวัง:
ถาโรลเลอรเสียหายหรือผิดรูปรางไป
จากเดิมจะเปนเหตุใหเกิดเสียงดัง
ผิดปกติ
(6)ถอดยางหุมเพลาขับตัวนอกและ
ตัวในออก

1 ลูกปนแบบไทรปอ ด
2 ขอตอดานนอก
3 ยางหุมตัวนอก
4 ยางหุมเพลาขับตัวใน
5 ขอตอเพลาขับตัวใน
(3/3)

การประกอบเพลาขับ
1. ติดตั้งยางหุมเพลาขับ
(ขอตอดานนอก)
(1)นําจาระบีเกาจากขอตอดานนอก
ออกใหหมด
(2)ใชเทปพันสายไฟพันเกลียวปลาย
เพลาเพื่อปองกันความเสียหาย
(3)ใสยางหุมตัวใหมและแคลมล็อคเขา
ไปที่เพลา
(4)ใสจาระบีขอตอดานนอกเขาที่ขอตอ
1 ยางหุมตัวนอก 2 เทป ดานนอกโดยใหใกลกับขอตอมากที่สุด
3 ขอตอดานนอก 4 จาระบีขอตอดานนอก และทําการหุมดวยชุดยางหุมเพลาขับ
ขอควรระวัง:
เช็คเอาคราบจาระบีออกจากบริเวณที่
จะใชแคลมปลอ็ ค
(5)ใสยางหุมเขาไป
ขอควรระวัง:
ถาจาระบีถูกที่บริเวณแคลมปล็อคของ
ยางหุม อาจทําใหล็อคไมสนิท

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง
(1/4)

2. ติดตั้งยางหุมเพลาขับ
(ขอตอดานใน)
(1)จัดเครื่องหมายที่เคยทําไวในระหวาง
การถอดใหตรงกันและทําการติดตั้ง
ขอตอแบบไทรปอดใหลงรอง
ขอแนะนํา:
จัดใหดานที่ไมมีรอ งสไปนของลูกหมาก
เขาดานใน
(2)ใชแทงทองเหลืองวางในตําแหนง
ที่ไมโดนลูกปน แลวตอกเขาไป
1 ลูกปนแบบไทรปอด 2 แหวนล็อค ขอควรระวัง:
3 คีมถางแหวน 4 มารคแสดง ถาโรลเลอรเสียหายหรือผิดรูปรางไป
จากเดิมจะเปนเหตุใหเกิดเสียงดังผิด
ปกติ
(3)ใชคีมถางประกอบแหวนล็อคเขาไป
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
31-34)

(2/4)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

(4)นําจาระบีออกจากขอตอดานใน
ออกใหหมด
(5)ใสจาระบีขอตอดานในเขาที่ขอตอ
ดานในโดยใหใกลกับขอตอมากที่สุด
และทําการหุมดวยชุดยางหุมเพลาขับ
(6)ประกอบลูกปนเขากับเสื้อลูกหมาก
ใหเครื่องหมายที่ทาํ ไวขณะถอดออกตรง
กัน
ขอควรระวัง:
เช็คเอาคราบจาระบีออกจากบริเวณที่
จะใชแคลมปลอ็ ค
(7)ใสยางหุมเขาไป
ขอควรระวัง:
ถาติดตั้งยางกันฝุน โดยไมมจี าระบีเลย
ยางกันฝุนจะไมยึดอยูกับที่แมจะติด
แคลมปแลว

1 ขอตอเพลาขับตัวใน
2 จาระบี
3 มารคแสดง
4 ยางหุมเพลาขับตัวใน
(3/4)

3. ติดตั้งแคลมปยางกันฝุน
แคลมปลอ็ คมีอยูดวยกัน 3 แบบ ใหใชวิธี
การที่เหมาะสมสําหรับแตละแบบหามใช
แคลมปลอ็ คเกา ใหเปลี่ยนใหมทุกครั้ง
• แบบมีปลอกล็อค

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค

• แบบโอเมกา

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• แบบมีปลอกล็อค
(1)บิดแคลมปกลับไปในตําแหนงที่จะล็อค
(2)ใชคีมบีบปลอกล็อคใหแนน
(3)ใชคอนตอกที่ไขควงเพื่อใหตวั ล็อคๆ
แนน
(4)หลังจากติดตั้งแลว ยางหุมเพลาขับ
จะตองขยับไมได ถาขยับไดใหเปลี่ยน
แคลมปล็อคใหม

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค
(1)ใชคีมปากแหลมบีบตรงปลายแคลมป
ใหลอ็ ค
(2)หลังจากติดตั้งแลว ยางหุมจะตอง
ขยับไมได ถาขยับได ใหเปลี่ยน
แคลมปล็อคใหม

• แบบโอเมกา
(1)ใชเครือ่ งมือพิเศษบีบแคลมป แลวจัด
ใหเขาที่
(2)หลังจากติดตั้งแลว
ใชเครื่งมือพิเศษวัดระยะชองวางของ
ปากล็อคและยางหุม ตองขยับไมได
(3)ถาระยะชองวางมากกวาคากําหนด
หรือยางหุมขยับได ใหใชเครื่องมือ
พิเศษบีบใหแนนตอ

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือบีบแคลมปลอ็ ค)
2 เครื่องมือพิเศษ (เกจเสนลวด)
(4/4)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การติดตั้งเพลาขับ
1. ติดตั้งเพลาขับ
(1)ทาน้าํ มันเกียร (เกียรธรรมดา) หรือ
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติ (เกียรอัตโนมัติ)
ที่บริเวณสไปนของขอตอดานในแลว
สวมเพลาขับเขาที่เฟองทาย
ขอแนะนํา:
ใหปากของแหวนล็อคอยูดา นลาง
(2)ใชแทงทองเหลืองและคอนตอกให
เพลาขับเลื่อนเขาไป
1 เพลาขับ 2 จุดสัมผัสกับรอง ขอแนะนําการบริการ:
3 เฟองขางของชุดเฟองทาย 4 สลักตอดานใน
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
5 แหวนล็อค
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
21-28)
ขอแนะนํา:
การที่จะดูวาเพลาขับสวมเขาไปสนิทดี
หรือไมนั้น ใหดูจากแรงกระแทกของ
แทงทองเหลืองหรือเสียงที่เกิดขึ้นขณะ
ตอกเขาไป
(1/4)

(3)จัดใหรอ งสไปนของเพลาขับและ
ดุมลอตรงกันแลวประกอบดุมลอเขาไป
ที่เพลาขับ
ขอควรระวัง:
• หามดึงดุมลอออกมามากเกินไปขณะ
ประกอบ
• หามทําใหโรเตอรและยางหุมเพลาขับ
เสียหาย
ขอแนะนํา:
เลือ่ นรองสลักของเพลาขับและจัดใหอยู
ในตําแหนงที่ประกอบนัตล็อคไดงาย
(4)ประกอบปกนกตัวลางเขากับดุมลอ
(5)ติดตั้งเซ็นเซอรของระบบ ABS
(2/4)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

(6)ควรใช 2 คนในการขันนัตล็อคใหแนน
ขอควรระวัง:
หามใชนัตล็อคตัวเกา ใหเปลี่ยนใหม
ทุกครั้ง
ขอแนะนํา:
ใหคนหนึ่งเหยียบเบรกในขณะที่อีกคน
ขันนัตล็อค
(7)จัดใหรอ งทีเ่ พลาขับขึ้นดานบน
(8)ใชสกัดและคอนตอกใหนัตล็อคยุบ
ตัวลงไปในรอง
ขอแนะนําการบริการ:
นัตล็อค/แผนล็อคนัต
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
35-39)

1 สกัด
2 นัตล็อคตัวใหม
(3/4)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

2. ติดตั้งลูกหมากปลายคันสง
(1)สวมลูกหมากปลายคันสงเขาไปที่ขอ
บังคับเลี้ยว
(2)ขันนัตหัวผาดวยแรงขันที่กาํ หนด
และใสสลักล็อค
ขอควรระวัง:
หามใชสลักล็อคตัวเกา ใหเปลี่ยนใหม
ทุกครั้ง
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
39-40)
3. เติมน้าํ มันเกียร
4. ติดตั้งยาง

1 ลูกหมากปลายคันสง
2 ขอบังคับเลี้ยว
3 สลักล็อค
4 นัตหัวผา
(4/4)

3. เติมน้ํามันเกียร
(1)วางถาดรองน้าํ มันทีใ่ ตปลั๊กเติม
ขอแนะนํา:
ถาเปนไปไดใหยกถาดรองน้าํ มันใน
ตําแหนงที่ใกลปลั๊กเติมที่สุดโดยใช
แมแรงยก
(2)เติมน้าํ มันเกียรจนกระทั่งมีนา้ํ มัน
ไหลออกมาจากรูเติมเล็กนอย
หลังจากนั้นเช็คระดับน้าํ มันตามคา
กําหนด, ประกอบปะเก็นใหมและ
ปลั๊กอุด
1 ปลั๊กเติม

2 ปะเก็นใหม

3 ถาดรอง

(8/8)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การเปลี่ยนน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) รายละเอียดทั่วไป


การเปลี่ยน ATF (น้ํามันเกียรอัตโนมัติ)
ถายน้าํ มันเกียรอัตโนมัติออกทางปลั๊กถาย
น้าํ มัน และเติมทางดานทอไมวัดระดับ
น้าํ มัน
• หากไมเปลีย ่ นน้าํ มันเกียรอัตโนมัติเมื่อ
ใชงานเปนเวลานาน จะทําใหนา้ํ มัน
เสื่อมสภาพ ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิด
อาการเกียรกระตุกไดขณะเขาเกียร
• มันอาจจะทําใหเกิดอาการรถเรงไมขึ้น
ซึ่งสาเหตุมาจากคลัตชลื่นพรอมกับทํา
ใหสิ้นเปลืองน้าํ มันเชื้อเพลิง
ขอแนะนํา:
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติจาํ เปนตองเปลี่ยน
ตามระยะการบํารุงรักษาที่กาํ หนด

1 ทอไมวัดระดับน้าํ มัน
2 กรวย
3 ATF (น้าํ มันเกียรอตั โนมัติ)
4 ปะเก็น
5 ปลั๊กถาย
(1/1)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
1. การถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
(1)ถอดปลัก๊ ถายออกจากอางน้าํ มันและ
ถายน้าํ มันลงในถาดรอง
(2)เปลี่ยนปะเก็นปลั๊กถายใหมทุกครั้ง
ขอแนะนํา:
จะตองไมมปี ะเก็นเกาอยูที่รูปลั๊กถาย
หรือปลัก๊ ถาย
(3)ขันปลั๊กถายเขาที่อางน้าํ มันใหแนน
ขอแนะนํา:
น้าํ มันเกียรที่อยูในทอรคคอนเวอรเตอร
ไมสามารถถายออกมาไดทางดานปลัก๊
ถาย

1 ปลั๊กถายน้าํ
2 ปะเก็น
3 ถาดรอง
(1/1)

ขอมูลอางอิง:
การวิเคราะหคุณภาพน้ํามันที่ถายออก
ถาหากวามีเศษโลหะหรือสิ่งแปลกปลอม
ปนออกมาดวยขณะที่ถายน้าํ มันเกียรออก
มานั่นแสดงวา จะตองทําการถายน้าํ มัน
ออกจากระบบทั้งหมด รวมทั้งใน
ทอรคคอนเวอรเตอร ใหเปลี่ยนน้าํ มันใน
ทอรคคอนเวอรเตอร ถาหากวามีปริมาณ
ของเศษโลหะปนออกมากับน้าํ มันใน
ปริมาณตามตัวอยางที่แสดงอยูในรูป

(1/1)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

ขอมูลอางอิง:
เปลี่ยนน้ํามันในทอรคคอนเวอรเตอร
ในการเปลี่ยนน้าํ มันในทอรคอนเวอรเตอร
ใหทาํ การเปลีย่ นน้าํ มันเกียรอัตโนมัติหลาย
ๆ ครั้ง ทําซ้าํ ขั้นตอนการเปลี่ยนนี้โดย
ผสมน้าํ มันใหมเขากับน้าํ มันเกาแลวทําการ
ถายน้าํ มันเกาออก
1. เปลีย่ นน้าํ มันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
2. สตารทเครื่องยนตและทําใหนา้ํ มัน
เกียรอตั โนมัติไหลเวียนใน
ทอรคคอนเวอรเตอร
3. เปลีย่ นน้าํ มันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
อีกครั้ง
ขอแนะนํา:
ใหทาํ ซ้าํ ๆ กันหลายครั้ง จนกระทั่ง
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติทไี่ หลออกมา
สะอาด
1 ทอไมวัดระดับน้า ํ มัน
2 กรวย

3 ATF (น้า ํ มันเกียรอัตโนมัติ)


4 ถาดรอง

(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การเติมน้ํามันเกียรอัตโนมัติ
เติมน้าํ มันในรูปเสียบเกจวัด
ขอควรระวัง:
• รูที่ใชสา
ํ หรับเติมน้าํ มันจะมีขนาดเล็ก
มาก และอาจทําใหนา้ํ มันทะลักออก
มาขณะเติม ดังนั้นใหใชผารอง
บริเวณที่เติมน้าํ มันทุกครัง้
• น้าํ มันเกียรอตั โนมัติจะมีอยูดวยกัน
หลายเกรด ควรเลือกใชเกรดตาม
ที่กาํ หนดไว เพราะถาใชไมถูกตอง
อาจทําใหเกียรกระตุก และยังทําให
เกิดการสิ้นเปลืองน้าํ มันเชื้อเพลิง
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คปริมาณของน้าํ มันเกียร
อัตโนมัติที่จะเติมในคูมอื ซอมหรือคูมือ
การใชรถกอนเติม
1 ทอไมวัดระดับน้าํ มัน
2 กรวย

3 ATF (น้าํ มันเกียรอัตโนมัติ)

ขอควรระวัง:
เกรดน้าํ มันที่จะใชเติมนั้นจะติดอยูที่
บริเวณดานบนของปลั๊กถายหรือที่
บริเวณเกจวัด

(1/1)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
น้าํ มันเกียรอัตโนมัติจะมีอยูดวยกัน 5 ชนิด
• D-II
แบบนี้จะใชสาํ หรับรถยนตทั่วๆ ไปที่ไมมี
ระบบ flex lock-up
• T
ใชสาํ หรับรถขับเคลือ่ น 4 ลอ
• T-II

• T-III

• T-IV
ใชสาํ หรับรถยนตที่มีระบบ flex lock-up
ขอแนะนํา:
หลังจากที่ไดแนะนําน้าํ มันเกียร
อัตโนมัติชนิด T-IV นั้น ชนิด T-II และ
T-III ไดถูกยกเลิกการใชไป
(1/1)

การตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติ
1. ตรวจเช็คระดับน้าํ มันเกียรกอน
สตารทเครื่องยนต
2. ขับรถยนตเปนเวลา 15 นาที
เพื่ออุนน้าํ มันเกียรอัตโนมัติ
ขอแนะนํา:
เนื่องจากน้าํ มันเกียรอัตโนมัติจะขยาย
ตัวเมื่อมันรอน ดังนั้นใหตรวจเช็คระดับ
น้าํ มันเกียรหลังจากที่ไดทาํ การอุนให
รอนแลว เนื่องจากโครงสรางของ
เกียรอตั โนมัติจะทําใหปริมาณของ
น้าํ มันเกียรมีการเปลีย่ นแปลงอยาง
มากตามอุณหภูมทิ ี่เปลี่ยนแปลง
สําหรับโคโรลลา ใหตรวจเช็คระดับ
น้าํ มันเกียรเมือ่ อุณหภูมิสูงถึง
70 - 80°C (158 - 176°F)
3. จอดรถในพื้นระดับและดึงเบรกมือ
(1/2)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

4. ใหเครื่องยนตเดินเบา, เหยียบเบรก,
ดึงคันเบรกมือและเลือ่ นคันเกียรอยาง
ชาๆ จากตําแหนง Pไปยังตําแหนงอื่นๆ
จนถึงตําแหนงเกียร L และเลื่อนกลับ
ไปยังตําแหนงเกียร P อีกครั้งหนึ่ง
5. ดึงไมวัดระดับน้าํ มันออกมาขณะที่
เครื่องยนตเดินเบา, เช็ดคราบน้าํ มัน
ดวยผาใหสะอาด เสียบไมวัดระดับ
น้าํ มันเขาไปอีกครัง้ และตรวจสอบระดับ
น้าํ มันตองอยูชวง "HOT"
ขอแนะนํา:
• เมื่อขีดของน้า ํ มันดานหลังของเกจวัดแ
ตกตางจากดานหนา ใหอา นคาต่าํ สุด
• เมื่อระดับน้า ํ มันมากกวาคากําหนด
น้าํ มันเกียรอตั โนมัติอาจรั่วออกจากรู
ระบาย เปนสาเหตุทาํ ใหเกียรกระตุก
• ถาระดับน้า ํ มันเกียรตา่ํ เกินไป อาจทํา
ใหการหลอลื่นไมเพียงพอจะทําใหเกิด
การเสียดสีของกลไกภายในเกียรมาก
(2/2)

การปรับตั้งและตรวจสอบแรงดันลมยาง รายละเอียดทั่วไป
ปรับแตงแรงดันลมยางทั้ง 4 ลอและปรับ
แตงแรงดันลมยางของลออะไหลใหสูงกวา
เล็กนอย
• เมือ่ แรงดันลมยาง เปลี่ยนแปลงตาม
อุณหภูมิของยาง ใหวัดแรงดันลมยาง
ขณะทีย่ างยังเย็นอยู
• เพราะวาอากาศรั่วออกจากยางไดเล็ก
นอยตองตรวจสอบและปรับแตงแรงดัน
ตามระยะที่กาํ หนด
• แรงดันลมยางควรจะเพิ่มขึ้นประมาณ
20% จากคามาตรฐานขณะที่ขับ
รถบนทางดวน
• แรงดันลมยางจะมีผลตอการขับรถ,
ความนุมนวล, ยางสึกหรอและการสิ้น
เปลืองน้าํ มันเชื้อเพลิง
(1/1)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การเติมลมยาง
1. ถอดเอาฝาปดหัวเติมลมยางออก
2. กดที่เติมลมไปที่หัวเติมลมใหแนน
เพื่อปองกันลมรั่วออก แลวเติมลมเขา
ไป
3. หลังจากเติมลมแลว ใหตรวจเช็ค
คาแรงดันลมยาง
ขอแนะนํา:
• คาแรงดันลมยางมาตรฐานจะติดไวที่
ฉลากบริเวณประตูดานคนขับหรือ
บริเวณเสากลาง
• คาแรงดันลมยางมาตรฐานอาจจะอยู
ในคูมือการใชรถหรือคูมือการซอม
• ตรวจเช็คและเติมลมยางขณะที่เย็น
1 หัวเติมลมยาง

2 เกจวัดลมยาง

3 ฉลากบอกคากําหนด
(1/1)

การตรวจสอบยางรั่ว
1. ตรวจเช็คการรั่วของลมยางโดยใชนา้ํ
สบูชะโลมบริเวณหัวเติมลม จะตองไมมี
ฟองอากาศ
2. ฝาปดหัวเติมลมยาง
ขอแนะนํา:
ถามีฟองอากาศเกิดขึ้น ใหตรวจดูวา
หัวเติมลมหลวมหรือไม ถาไมหลวมให
เปลีย่ นหัวเติมลม

1 น้าํ สบู
2 ไขควงขันหัวเติมลม

(1/1)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การสลับยาง รายละเอียดทั่วไป
การสลับยาง
สลับยางจากลอหนาไปหลังและจากซายไป
ขวา โดยปกติแลวยางของลอหนาจะสึก
หรอเร็วกวายางลอหลังการสลับยางทําให
ยางสึกหรอเทากันและเปนการยืดอายุการ
ใชงานของยาง สําหรับ โคโรลลา
ที่ผลิตเมือ่ เดือนสิงหาคม, 2000
จะสลับยางทุกๆ 10,000 กม.

A หมุนพวงมาลัยอยูกับที่
B การเบรก
C ขณะเลี้ยว

(1/1)

การสลับยาง
1. ถอดยางออก
2. สลับยางจากลอหนาไปหลังและลอ
ซายไปขวา
การสลับยางจะสลับตามลักษณะของการ
ขับรถยนต, การสลับ 5 ลอและการสลับ 4
ลอ
• รถยนตขับเคลื่อนลอหนา
• รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง
• ยางหมุนทิศทางเดียว

ขอแนะนํา:
ไมควรสลับยางระหวางลอหนากับ
ลอหลัง เมื่อขนาดของยางลอหนา
กับลอหลังมีขนาดแตกตางกัน
3. ติดตั้งยาง

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• รถยนตขับเคลื่อนลอหนา

• รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง

• ยางหมุนทิศทางเดียว

(1/1)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

ยางหมุนทิศทางเดียว
การสลับยาง
ยางชนิดนี้จะจัดใหดอกยางเปนรอง และมี
มุมเฉียงออกดานขางตามทิศทางการหมุน
ของลอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรีดน้าํ
ออกจากดอกยางใหดียิ่งขึ้นดวยเหตุนี้,
ถายางหมุนในทิศทางตรงกันขามกับ
ทิศทางการหมุนของยาง จะทําให
ประสิทธิภาพการรีดน้าํ ออกจากดอกยาง
ลดลง ดังนั้นจะตองประกอบในทิศทาง
ที่ถูกตองเทานั้น

1 ลูกศรแสดงทิศทางการหมุน
2 การสลับยาง

(1/1)

การตรวจเช็คสภาพยาง รายละเอียดทั่วไป
การถวงลอรถยนต
การถวงลอรถยนต ถาถวงลอไมสมดุลยกัน
เปนสาเหตุทาํ ใหพวงมาลัยลื่นและตัวถัง
ของรถยนตจะเกิดการสั่น ดังนั้นเมื่อมีการ
เปลี่ยนยางใหมทุกครัง้ จะตองมีการถวงลอ

วิธีการถวงลอจะมีดวยกัน 2 แบบ:
1. แบบถวงลอนอกรถ
2. แบบชนิดถวงบนรถ

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

1. แบบถวงลอนอกรถ

1 เครื่องถวงลอดานนอก

2. แบบชนิดถวงบนรถ

1 แบบชนิดถวงบนรถ

(1/1)

การตรวจเช็คสภาพยาง
1. ตรวจสอบดวยสายตา
(1)ตรวจเช็คดูวามีเศษโลหะ, หินหรือ
สิ่งแปลกปลอมอื่นๆ ติดอยูตามรองยาง
หรือไม ถามีใหแกะออก
(2)ตรวจเช็คดูวามีโคลนหรือทรายติด
อยูภายในลอหรือไม ถามีใหทาํ
ความสะอาดออก
(3)ตรวจเช็คความเสียหาย, การเสียรูป
หรือการบิดของลอ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
บริเวณรูกลางของลอซึ่งจะมีผลตอการ
วัดคาตางๆ ของลอ

1 รูกลาง

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

2. ปรับแรงดันลมยาง
การเติมลมยาง
1. ถอดเอาฝาปดหัวเติมลมยางออก
2. กดที่เติมลมไปที่หัวเติมลมใหแนน
เพื่อปองกันลมรั่วออก แลวเติมลมเขา
ไป
3. หลังจากเติมลมแลว ใหตรวจเช็คคาแรง
ดันลมยาง
ขอแนะนํา:
• คาแรงดันลมยางมาตรฐานจะติดไวที่
ฉลากบริเวณประตูดานคนขับหรือ
บริเวณเสากลาง
• คาแรงดันลมยางมาตรฐานอาจจะอยู
ในคูมือการใชรถหรือคูมือการซอม
• ตรวจเช็คและเติมลมยางขณะที่เย็น
1 หัวเติมลมยาง

2 เกจวัดลมยาง

3 ฉลากบอกคากําหนด
(1/1)

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การตรวจสอบและการถวงลอ
เครื่องถวงลอดานนอกสามารถปรับความ
สมดุลของลอและยาง
1. ตั้งลอ
(1)เอาตะกั่วเกาหรือสิ่งแปลกปลอมที่ติด
อยูทลี่ อออกใหหมด
(2)ในขณะที่ตดิ ตั้งลอเขากับเพลาของ
เครื่องถวงลอจะตองติดตั้งใหไดศูนย
กลางและเลือกลักษณะของอะแดปเตอร
ใหเหมาะสมและตองขันใหแนน
2. ใสขอมูลของลอ
(1)อานคาความกวางและเสนผาศูนย
กลางของลอและปอนขอมูลเขาไปใน
เครื่องถวงลอ
(2)วัดคาและปอนระยะทางที่หนาจอ
ของเครื่องถวงลอ

1 ศูนยกลางลอ
2 ความกวางรอบนอกของลอ
3 เสนผาศูนยกลางของขอบลอ
4 ระยะหางของขอบลอ
5 จอแสดงผลการถวงลอ
6 ขอบลอที่จะถวง
7 ที่ล็อคลอ
(1/2)

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

3. วัดความสมดุล
ครอบดวยฝาครอบยางและวัดความสมดุล
คําเตือน:
เศษโลหะหรือหินอาจกระเด็นขณะทํา
การวัดได ดังนั้น ใหฝาครอบยาง
อยูตา่ํ ที่สุด
4. ปรับสมดุล
(1)ติดน้าํ หนักถวงที่ตาํ แหนงในและนอก
ที่แสดงบนเครือ่ งถวงลอ
ขอควรระวัง:
1 ฝาครอบยาง เลือกน้าํ หนักถวงใหเหมาะกับชนิดของ
2 ตะกั่วถวงลอ ลอ
(2)ตรวจเช็คความสมดุลยอีกครั้งและ
ปรับคาจนกระทั่งความไมสมดุลย
เทากับ 0 กรัม

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของน้ําหนักถวง
น้าํ หนักถวงจะมีอยูดวยกัน 4 ชนิด ซึ่งให
เลือกใชตามความเหมาะสมของลอแตละ
แบบ

1 แบบลอกระทะเหล็ก
2 แบบลออลูมิเนียม
3 แบบลออลูมิเนียม
4 แบบติดที่ลอ

(1/1)

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

ขอแนะนํา:
ปรับความสมดุลยโดยการเปลีย่ น
ตําแหนงและจํานวนของน้าํ หนักถวง
(1)

1 ตําแหนงถวงเมื่อวัดครั้งแรก
2 ตําแหนงถวงเมือ่ ตรวจเช็คอีกครั้ง
3 ตําแหนงการถวงที่ถูกตอง

(2/2)

ขอมูลอางอิง:
การตรวจสอบเครื่องถวงลอแบบดาน
นอกอยางงาย
1. เลือกจํานวนและตําแหนงของจุดที่ไม
สมดุลยและเลือกอะแดปเตอรให
เหมาะสม
(1)ติดตั้งลอเขาไปที่เครื่องถวงลอและ
ปรับคาจนกระทั่งหนาจอแสดงคา
0 กรัม
(2)ติดน้าํ หนักถวงทดสอบขนาด 60 กรัม
(2.0 ออนซ) เขาที่ตาํ แหนงใด
คาเปาหมาย:
ตําแหนงหนึ่งบริเวณดานนอกของลอ
ดาน ดานตรงขาม ดานที่ถวงน้าํ หนัก
และตรวจเช็คความสมดุลย
ความไม นอยกวาหรือเทากับ 60 กรัม ± 3 กรัม
สมดุลย 6 กรัม (0.2 ออนซ) (2.0 ออนซ ± 0.1 ออนซ) (3)ทําการตรวจสอบที่ดานตรงกันขาม
ตําแหนง - 180° ± 9° จากน้าํ หนักทดสอบ ดวยวิธีการเดียวกัน

1 น้าํ หนักถวงทดสอบ (60 กรัม)


2 น้าํ หนักปรับคา

(1/2)

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

(4)ถอดเอาน้าํ หนักถวงทดสอบออก
และเปลี่ยนตําแหนงการติดและ
อะแดปเตอรไป 180 องศา
และตรวจเช็คความสมดุลยอีกรอบ
คาเปาหมาย:
จํานวนของความไมสมดุลย = 5 กรัม
(0.18 ออนซ) หรือนอยกวา
(ทั้งดานในและนอก)
ขอแนะนํา:
ถาจํานวนของความไมสมดุลยสูงกวา
คาเปาหมาย ใหปรับความสมดุลย
ของเครื่องถวงลอ

1 น้าํ หนักถวงทดสอบ
2 น้าํ หนักปรับคา
(2/2)

การตรวจสอบและถวงลอแบบติดตั้งบน
รถ
เครื่องถวงลอแบบติดตั้งบนรถจะปรับความ
ไมสมดุลยของลอในขณะที่ติดตั้งบนรถยนต
ซึ่งเกิดจากการไมตรงศูนยของลอและเพลา
และ/หรือไมสมดุลยของเพลาและดุมลอ
กอนที่ถวงลอ จะตองทําการปรับความ
สมดุลยของลอกอน โดยใชเครื่องถวงลอ
1. การเตรียมการ
(1)ยกรถขึ้นและปรับคาของขาตั้ง
ขอแนะนํา:
เมือ่ ทําการปรับคาของลอทีข่ ับเคลื่อน
ใหยกลอขึ้นทั้งดานซายและขวา
(2)ตอเครื่องถวงลอเขากับขาตั้งแบบวัดคา
(เซ็นเซอร)
(3)ติดเทปสะทอนแสงเขาที่ยาง

1 แบบชนิดถวงบนรถ
2 ที่ยกรถขึ้นเพื่อถวง
3 ลูกหมาก 4 ขอตอ

5 ปกนกตัวลาง 6 แถบสะทอนแสง
(1/3)

- 29 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

2. วัดและปรับตั้งสมดุล
ขอแนะนํา:
กอนที่จะทําการปรับคา ใหทาํ การ
คาริเบรตโดยปฏิบัติตามวิธีการของ
เครื่องถวงลอ
(1)เปดสวิตช Power ON
คําเตือน:
• หามจับลอและตัวหมุนลอในขณะที่
หมุน
• ถามีเศษโลหะหรือหินติดอยูในรอง
ยาง อาจทําใหมันกระเด็นออกมา
ขณะที่ลอหมุนใหแกะออกใหหมดกอน
ที่จะทํางาน

1 ตัวหมุนลอ
2 แบบชนิดถวงบนรถ
3 ที่ยกรถขึ้นเพื่อถวง
4 ปกนกตัวลาง

(2) หมุนลอ
• เมือ
่ หมุนลอที่ไมไดขับเคลือ่ น
<1>เปดสวิตทควบคุมมอเตอร ON
เพื่อใหตัวหมุนลอหมุนไปดานหนา
<2>เมือ่ ตัวหมุนลอหมุนคงที่ ใหนาํ ไป
สัมผัสกับแกมยางเพื่อทําใหลอหมุน
<3>เอาตัวหมุนลอออกเมื่อหมุนคงทีแ่ ลว

• เมือ่ หมุนลอที่ขับเคลื่อน

1 สวิตชมอเตอร
2 ตัวหมุนลอ
3 แบบชนิดถวงบนรถ
4 ที่ยกรถขึ้นเพื่อถวง
5 แถบสะทอนแสง

- 30 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• เมือ่ หมุนลอที่ขับเคลื่อน
หมุนลอดวยความเร็ว 110 กม./ชม.
โดยการติดเครื่อง

1 ที่ยกรถขึ้นเพื่อถวง
2 แบบชนิดถวงบนรถ

(2/3)

(3)กดสวิตชสาํ หรับวัดคา
เมือ่ ไฟแสดงสถานะการวัดติดขึ้นมา
(4)หยุดลอโดยการเหยียบเบรกเพื่อ
ปองกันยางเสียหาย
(5)ติดน้าํ หนักถวงเขาลอในตําแหนงที่
แสดงบนเครือ่ งถวงลอ
ขอแนะนํา:
หามจับน้าํ หนักถวงที่ติดแลวในระหวาง
ปรับความสมดุลยนอกรถ
(6)วัดคาความสมดุลยอีกครั้งและ
ปรับใหมจนกระทั่งเปน 0

1 สวิตชการวัด
2 ไฟแสดงความพรอม
3 น้าํ หนักตะกั่วถวง
4 ตําแหนง
5 น้าํ หนักถวงสําหรับการถวง
สมดุลยที่รถ
6 น้าํ หนักถวงสําหรับการถวง
สมดุลยนอกรถ
7 แถบสะทอนแสง
(3/3)

- 31 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การเปลี่ยนยางกันฝุนพวงมาลัยแร็ค รายละเอียดทั่วไป
การเปลีย่ นยางกันฝุนแร็คพวงมาลัย
การถอดลูกหมากคันชักคันสงออก
เพื่อที่จะเปลี่ยนยางกันฝุนแร็คพวงมาลัย
ถาเกิดการฉีกขาดของยางกันฝุนแร็คพวง
มาลัยจะเปนสาเหตุทาํ ใหนา้ํ และฝุนเขาไป
ในชุดกลไก ซึ่งเปนสาเหตุทาํ ใหซีลน้าํ มัน
ของเสื้อแร็คพวงมาลัยเสียหาย เปนเหตุ
ใหนา้ํ มันรั่ว

1 ลูกหมากปลายคันสง
2 ยางกันฝุนแร็คพวงมาลัย
3 สลักล็อค
4 นัตหัวผา
5 นัตล็อค
6 ปลายเฟองสะพาน
(1/1)

- 32 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การถอดลูกหมากปลายคันสง
1. ยกรถขึ้น
2. ถอดยางคูหนาออก
3. ถอดแยกลูกหมากปลายคันสง
(1)ถอดสลักและนัตหัวผาออก
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
39-40)
1 เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือดูดลูกหมาก)
2 ยางกันฝุน (2)ใชเครือ่ งมือพิเศษถอดแยกลูกหมาก
3 ลูกหมากปลายคันสง ปลายคันสงออกจากแกนพวงมาลัย
4 ขอบังคับเลี้ยว ขอแนะนําการบริการ:
ชิ้นสวนที่มีการอัดประกอบ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
21-28)
ขอควรระวัง:
การกระแทกเครื่องมือพิเศษ
เขากับตัวกันฝุนอาจทําใหเกิดความ
เสียหาย

(1/2)

- 33 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

4. ถอดลูกหมากปลายคันสงออก
(1)วัดความยาวของคันสง
ขอแนะนํา:
คาที่จะใชสาํ หรับอางอิงถึงคาโท-อิน
เมือ่ ทําการประกอบกลับ
(2)ใหใชประแจปากตายล็อคที่ลูกหมาก
ปลายคันสงและคลายนัตล็อคออกตาม
รูป
ขอควรระวัง:
การยึดคันสงไมดีในขณะที่คลายนัต
1 ลูกหมากปลายคันสง ล็อค อาจทําใหคันสงโกงงอได
2 ตําแหนงยึดดวยประแจ
(3)ถอดลูกหมากปลายคันสงและนัตล็อค
3 นัตล็อค
ออกจากคันสง
4 ลูกหมากปลายคันสง
5 มารกตําแหนงติดตั้ง ขอแนะนํา:
ใหทาํ เครื่องหมายที่คันสงกอนที่จะทํา
การถอดแยก

(2/2)

การถอดยางกันฝุนพวงมาลัยแร็ค
1. ถอดแคลมปยึด”
แคลมปยึดมีอยูดว ยกัน 5 แบบ
ใหใชวิธีการที่เหมาะสมสําหรับแตละแบบ
• แบบมีปลอกล็อค

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค

• แบบโอเมกา

• แบบสกรูขัน

• แบบลวดยึด

2. ถอดยางหุมเพลาขับ

- 34 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• แบบมีปลอกล็อค
ใชไขควงแบนงัดแคลมปล็อคออก
และถอดแยก

1 แคลมปบีบล็อค

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค
(1)ใชคีมปากแหลม บีบบริเวณปลาย
ของแคลมป
(2)ซุบถอดล็อคออกและถอดเอา
แคลมปออก

1 แคลมปบีบล็อค

• แบบโอเมกา
ใชคีมปากแหลม บิดที่แคลมปแลว
คลีอ่ อกเพื่อถอดแยก

- 35 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• แบบสกรูขัน

• แบบลวดยึด

(1/1)

- 36 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

การติดตั้งยางกันฝุนพวงมาลัยแร็ค
1. ติดตั้งยางหุมเฟองสะพาน
(1)ใชเทปพันบริเวณเกลียวของปลายคัน
สงเพื่อปองกันความเสียหายระหวาง
การติดตั้ง
(2)ติดตั้งยางหุมเพลาขับตัวใหม
(3)ตรวจเช็คดูวายางหุมจะตองไมบิด
ตัวหรือเสียหาย
ขอแนะนํา:
ตองมั่นใจวาจุดตอของยางหุมจะตอง
เปนเสนตรง

1 ยางกันฝุนแร็คพวงมาลัย
2 ลุกหมากปลายคันสง
3 เทป
4 จุดตอ
A เปนเสนตรง

(1/2)

2. ติดตั้งแคลมปยึด”
แคลมปยึดมีอยูดว ยกัน 5 แบบ ใหใชวิธี
การที่เหมาะสมสําหรับแตละแบบหามใช
แคลมปลอ็ คเกา ใหเปลี่ยนใหมทุกครั้ง
• แบบมีปลอกล็อค

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค

• แบบโอเมกา

• แบบสกรูขัน

• แบบลวดยึด

- 37 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• แบบมีปลอกล็อค
(1)บิดแคลมปกลับไปในตําแหนงที่จะล็อค
(2)ใชคีมบีบปลอกล็อคใหแนน
(3)ใชคอนตอกที่ไขควงเพื่อใหตวั ล็อคๆ
แนน
(4)หลังจากติดตั้งแลว
ยางหุมเพลาขับจะตองขยับไมได
ถาขยับไดใหเปลี่ยนแคลมปล็อคใหม

1 ปลอกล็อค

• แบบปลายขอเกี่ยวล็อค
(1)ใชคีมปากแหลมบีบตรงปลายแคลมป
ใหลอ็ ค
(2)หลังจากติดตั้งแลว ยางหุมจะตอง
ขยับไมได ถาขยับได ใหบีบแคลมป
ล็อคใหแนน

• แบบโอเมกา
(1)ใชเครือ่ งมือพิเศษบีบแคลมปใหเสียรูป
(2)หลังจากติดตั้งแลวใชเครื่องมือพิเศษ
วัดระยะชองวางของปากล็อคและยาง
หุมตองขยับไมได
(3)ถาระยะชองวางมากกวาคากําหนด
หรือยางหุมขยับได ใหใชเครื่องมือ
พิเศษบีบใหแนนตอ

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือบีบแคลมปลอ็ ค)

- 38 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

• แบบสกรูขัน

• แบบลวดยึด

(2/2)

การติดตั้งลูกหมากปลายคันสง
1. ประกอบชิ้นสวนลูกหมากปลาย
คันสง
ประกอบนัตล็อคและลูกหมากปลายคันสง
ไวชั่วคราว
ขอแนะนํา:
• ติดตั้งลูกหมากปลายคันสงใหไดระยะ
เทากับตอนที่ถอดออก
• ขันนัตล็อคใหแนนหลังจากปรับมุม
โท-อินเสร็จแลว

1 นัตล็อค
2 ลูกหมากปลายคันสง
(1/3)

- 39 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

2. ติดตั้งลูกหมากปลายคันสง
(1)สวมลูกหมากปลายคันสงเขาไปที่ขอ
บังคับเลี้ยว
(2)ขันนัตหัวผาดวยแรงทีก่ าํ หนด
และใสสลักล็อค
ขอแนะนําการบริการ:
นัตหัวผา
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
39-40)
ขอควรระวัง:
หามใชสลักล็อคตัวเกา ใหเปลี่ยนใหม
ทุกครั้ง
3. ติดตั้งยาง

1 ลูกหมากปลายคันสง
2 นัตหัวผา
3 สลักล็อค
4 ขอบังคับเลีย้ ว

4. ปรับตั้งโท-อิน
วิธีการปรับใหอางอิงจากคูมือซอม

1 ลูกหมากปลายคันสง
2 ปลายเฟองสะพาน

A ระยะหางดานหนาลอ
B ระยะหางดานหลังลอ

A < B โท-อิน

(2/3)

- 40 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

5. การติดตั้งลูกหมากปลายคันสง
(1)ใชประแจปากตายจับและขันนัตล็อค
ใหแนนตามคาแรงขันที่กาํ หนด
ขอควรระวัง:
ถาจับคันสงไมแนนขณะที่ขันนัตล็อค
อาจเปนสาเหตุทาํ ใหแร็คโกงงอได
(2)ตรวจเช็คมุมโท-อินอีกครั้ง

1 ปลายเฟองสะพาน
2 นัตล็อค
3 ลูกหมากปลายคันสง
4 ประแจตั้งคาแรงขัน
5 SST (ประแจเลื่อน)
(3/3)

- 41 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
เนื่องจากแรงดันลมยางจะเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ ดังนั้นให
1 ถูก ผิด
ตรวจเช็คและปรับลมยางขณะรอน
เมือ่ ขับขี่รถยนตดวยความเร็วสูง แรงดันลมยางจะเพิ่มสูงกวา
2 ถูก ผิด
การขับขี่แบบปกติ 20%
แรงดันลมยางจะมีผลตอการขับขี่, ความนุมนวล, การสึกหรอของ
3 ถูก ผิด
ยางและการประหยัดน้าํ มันเชื้อเพลิง
เมือ่ ยางอะไหลอยูในสภาพปกติ ใหทาํ การตรวจสอบและ
4 ถูก ผิด
ปรับคาแรงดันลมยางต่าํ กวาปกติ
คากําหนดของแรงดันลมยางสามารถที่จะตรวจเช็คไดจากคูมือซอมหรือ
5 ถูก ผิด
คูมือประจํารถนอกเหนือฉลากที่ตดิ ไว

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการถวงลอที่ถูกตอง?
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
การถวงลอแบบถอดลอออกมาถวงดานนอกนั้น จะเปนการปรับ
1 ความสมดุลยเนื่องมาจากสาเหตุของการเยื้องศูนยของลอกับดุมลอและ ถูก ผิด
ระหวางลอกับเพลาในขณะติดตั้งบนรถ
การถวงลอจะมีการถวงแบบสแตติกและไดนามิกส
2 ถูก ผิด
เมือ่ ทําการถวงแบบไดนามิกสแลวไมไดคา ใหเลื่อนยางขึ้นและลง
เมือ่ มีสิ่งแปลกปลอม เชน กรวดหรือโลหะติดตามรองยาง
3 หรือมีโคลนอยูในรองยาง อาจเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดการสั่นสะเทือน ถูก ผิด
ของลอและตัวถัง
เมือ่ มีการสั่นสะเทือนเกิดขึ้นกับยาง ถาสามารถปรับความสมดุลยได
4 ถูก ผิด
ก็ไมมีปญหาอะไร

- 42 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา สงกําลังและชวงลาง

คําถาม-3
ขอความใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับ ATF (น้าํ มันเกียรอตั โนมัติ) ไดอยางถูกตอง?

ก: แคลมปรัดยางหุม เพลาขับสามารถที่จะนํากลับมาใชใหมไดถามันยังเสียหายไมมาก
ข: ถา ATF ไมพอ จะทําใหการหลอลื่นชิ้นสวนภายในไมดี อาจทําใหเกิดการเสียดสีของชิ้นสวน
1. ขอ ก ถูก
2. ขอ ข ถูก
3. ถูกทั้ง 2 ขอ
4. ผิดทั้ง 2 ขอ

คําถาม-4
ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับเพลาขับที่ถูกตอง?

1. แคลมปรัดยางหุมเพลาขับสามารถที่จะนํากลับมาใชใหมไดถามันยังเสียหายไมมาก
2. ในวิธีการเปลี่ยนเพลาขับ จะไมมีการวัดปริมาณจาระบีที่มากับชุดซอม ใหทาํ การวัดกอนที่จะใสเขาไป
3. โดยทั่วไป ขอตอเพลาขางดานนอกเปนชิ้นสวนที่ถอดแยกไมได
4. สําหรับยางหุมเพลาขับ โดยทั่วไปแลว ยางดานในจะเสียหายงายกวาดานนอก

คําถาม-5
จงเลือกขอความดานลางใหตรงกับรูปทีแ่ สดงอยู

ก) ใชไขควงในการแกะและถอดแยกแคลมปรัดออก
ข) ใชคีมบีบในตําแหนงที่ล็อคและคลี่ออกเพื่อถอดแคลมป
ค) บีบในตําแหนงขอเกี่ยวเพื่อใหปลดล็อคและถอดแคลมป
คําตอบ:1. 2. 3.

- 43 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การเปลี่ยนแมปมเบรก รายละเอียดทั่วไป
การเปลี่ยนแมปมเบรก
ถอดแมปมเบรกออกจากรถ,
ถอดแยกชิ้นสวนแมปมเบรกและเปลีย่ นลูก
สูบเบรกพรอมยางเบรก ถาหากลูกยาง
เบรกซึ่งอยูภายในกระบอกแมปมเบรก
เสื่อม ก็จะทําใหนา้ํ มันเบรกเกิดการรั่วได
และน้าํ มันเบรกซึ่งอยูในกระปุกจะลดลง
ซึ่งเปนสาเหตุทาํ ใหการทํางานของเบรกมี
ประสิทธิภาพต่าํ
ขอแนะนํา:
หากมีการถอดเปลีย่ นชิ้นสวนของลูก
สูบภายในแมปมเบรกจะตองมีการ
เปลีย่ นอุปกรณชิ้นสวนใหม เชน
โบลทกั้นลูกสูบ, ปะเก็น, และแหวน
ล็อค เพราะอุปกรณเหลานี้ไมสามารถ
นํากลับมาใชใหมได

1 ลูกสูบเบรก
2 แหวนล็อค
3 โบลทกั้นลูกสูบ
4 ปะเก็น
5 ฝาปดกระปุกน้าํ มันเบรก
6 กระบอกแมปมเบรก
7 โอ-ริง

(1/1)

การถอดแมปมเบรก
1. ถายน้ํามันเบรก
(1)นําผามารองบริเวณดานลางของแมปม
เบรกเพื่อปองกันไมใหนา้ํ มันเบรก
กระเด็นใสชิ้นสวนอื่นรวมทั้งสีรถ
(2)ใชตัวดูด ดูดน้าํ มันออกจากกระปุก
น้าํ มันเบรก

1 ตัวดูด
2 ผา

(1/2)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. ถอดกระบอกแมปมเบรกออกจาก
เครื่องยนต
(1)ใชเครือ่ งมือพิเศษปลดแยกทอทาง
เบรก 2 ตัวออกจากแมปมเบรก
คําเตือน:
ถาใชประแจปากตายในการคลายทอ
เบรก อาจทําใหเกิดความเสียหายขึ้น
กับนัตยึดทอน้าํ มันเบรก
(2)ถอดแมปมเบรกและปะเก็นออก

1 เครื่องมือพิเศษ
(ประแจถอดนัตยึดทอเบรก)
2 นัตยึดทอน้าํ มันเบรก
3 ผา

(2/2)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การเปลี่ยนชุดซอมแมปมเบรก
1. ถอดแยกชิ้นสวนออกจากกระบอก
แมปมเบรก
(1)ยึดกระบอกแมปมเบรกเขากับปากกา
จับชิ้นงาน
คําเตือน:
การยึดที่กระบอกแมปมเบรกอาจทําให
แตก
(2)ดันลูกสูบเขาไปและถอดโบลทกั้น
ลูกสูบพรอมทั้งแหวนล็อค
1 ปากกาจับชิ้นงาน 2 แผนอลูมเิ นียม ขอแนะนําการบริการ:
3 ลูกสูบ 4 โบลทกั้นลูกสูบ
แหวนล็อค
5 แหวนล็อค 6 คีมหุบแหวน
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
7 ผา
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
31-34)
ขอควรระวัง:
• ใชผาปดเอาไวขณะที่ดันลูกสูบเขาไป
เพื่อปองกันน้าํ มันเบรกกระจายออก
มา
• ถาถอดแหวนล็อคและโบลทกั้นโดยที่
ไมดันลูกสูบเขาไป อาจทําใหลูกสูบ
เกิดความเสียหาย

(1/5)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

(3)ดึงเอาลูกสูบตัวที่ 1ออกจากกระบอก
แมปมเบรก
(4)เคาะหนาแปลนของกระบอกแมปม
เบรกเขากับฝามือหรือทอนไมจน
กระทั่งลูกสูบตัวที่ 2 โผลออกมา
(5)เมื่อลูกสูบตัวที่ 2 โผลออกมาแลว
ใหใชมือดึงออก
คําเตือน:
ถาดึงลูกสูบออกมาในขณะที่เอียง
อาจทําใหผนังกระบอกสูบดานในเกิด
ความเสียหาย แตถาลูกสูบเอียง ใหดัน
ลูกสูบเขาไปและดึงออกมาอีกครัง้
อแนะนํา:
ตรวจเช็คลูกสูบและทิศทางของสปริงใน
ระหวางที่ถอดออก

1 ลูกสูบตัวที่ 1
2 ลูกสูบตัวที่ 2
3 ผา

(2/5)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. ทําความสะอาดแมปมเบรก
(1)ลางกระบอกแมปมเบรกดวยน้าํ มัน
เบรกที่สะอาด
คําเตือน:
การทําความสะอาดโดยใชของเหลว
อยางอื่นที่ไมใชนา้ํ มันเบรก อาจทํา
ความเสียหายกับลูกยางเบรก และเปน
สาเหตุทาํ ใหนา้ํ มันเบรกรั่ว
(2)ใชไฟสองดูภายในหรือใชนิ้วสัมผัสกับ
ผนังกระบอกแมปมเบรกดานใน
เพื่อดูความเสียหายหรือการสึกหรอ
ขอแนะนํา:
ถามีการสึกหรอหรือเสียหาย
ใหเปลี่ยนแมปมเบรก

1 น้าํ มันเบรก
2 กระบอกแมปมเบรก

(3/5)

3. การติดตั้งแมปมเบรก
(1)ทาจาระบีบางๆบริเวณลูกยางเบรก
ตัวใหม
(2)ยึดกระบอกแมปมเบรกเขากับปากกา
จับชิ้นงาน
คําเตือน:
การยึดที่กระบอกแมปมเบรกอาจทําให
แตก
(3)ประกอบลูกสูบตัวที่ 1 และ 2 เขาไปที่
กระบอกแมปมเบรก
คําเตือน:
หามเอียงลูกสูบขณะประกอบ

1 ลูกสูบตัวที่ 1
2 ลูกสูบตัวที่ 2
3 ลูกยางเบรก
4 แผนอลูมิเนียม
ทาจาระบี

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก
(4/5)

(4)ดันลูกสูบเขาไปและประกอบโบลทกั้น
ลูกสูบตัวใหมและแหวนล็อค
คําเตือน:
ถาประกอบโบลทกั้นลูกสูบและแหวน
ล็อคเขาไปโดยที่ไมดันลูกสูบเขาไป
อาจทําใหลูกสูบเกิดความเสียหาย
ขอแนะนํา:
โบลทกั้นลูกสูบและแหวนล็อคจะรวม
อยูในชุดซอม
(5)ตรวจเช็คดูวาประกอบแหวนล็อคถูก
1 โบลทกั้นลูกสูบ 2 คีมหุบแหวน 3 แหวนล็อค ตอง
ขอแนะนําการบริการ:
แหวนล็อค
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
31-34)
ขอแนะนํา:
ถาลูกสูบถูกดันเขาไป แหวนล็อคจะไม
สามารถเลื่อนออกจากรองได
เมือ่ ใชคีมหุบบีบแหวนล็อคเบาๆ
หลังจากที่ประกอบแหวนล็อค
(5/5)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การติดตั้งแมปมเบรก
1. ตรวจเช็คและปรับชองวางระหวาง
กานดันหมอลมเบรกและลูกสูบแม
ปมเบรก
(1)วางฟลเลอรเกจขนาด 0.7 มม.
ลงไปที่หนาแปลนของกระบอกแมปม
เบรกและวาง เครือ่ งมือพิเศษ
ทับลงไปที่แมปมเบรก
(2)ดันกานตรงกลางของ เครื่องมือพิเศษ
จนกระทั่งสัมผัสกับลูกสูบเล็กนอย
และยึดกานตรงกลางไวไมใหเลื่อน
1 ฟลเลอรเกจ
2 เครื่องมือพิเศษ (เกจวัดระยะสากเบรก) (3)ใชชอลกแตมที่ เครื่องมือพิเศษ
3 ชอลก (4)ในขณะที่ยึดกานตรงกลางไว ใหหมุน
4 กานดันหมอลมเบรก เครื่องมือพิเศษ ครอบลงไปที่หมอลม
5 นัตปรับตั้ง เบรก
(5)ตรวจเช็คดูวามีชอลกติดที่ปลายของ
กานดันหมอลมเบรก และไมมีชองวาง
ระหวางหมอลมและ เครื่องมือพิเศษ
ขอแนะนํา:
• ถามีชองวางจะทําใหระยะเหยียบเบรก
สูง
• ถาไมมีชองวาง ลูกสูบอาจจะถูกดัน
โดยกานดัน ซึง่ จะทําใหเบรกทํางาน
ตลอด
(6)ปรับระยะชองวางโดยปรับที่นัตปรับตั้ง
(1/5)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

ขอมูลอางอิง:
เมื่อใชเครื่องมืออื่นๆ เพิ่มเติม
(สําหรับรถเซลิกา เดือนสิงหาคม ป
1999)
(1)ใหแตมชอลกลงไปที่เครื่องมือ
(2)วางเครือ่ งมือทับลงไปที่หมอลมเบรก
(3)ตรวจเช็คดูวามีชอลกติดที่ปลายของ
กานดันหมอลมเบรก และไมมีชองวาง
ระหวางหมอลมเบรกกับเครื่องมือ
คําเตือน:
เมือ่ ใชเครื่องมือเพิ่มเติม
ไมตองทําการวัดดานแมปมเบรก

1 เครื่องมือเพิ่มเติม
2 ชอลก
3 กานดันหมอลมเบรก

(1/1)

2. ไลลมออกจากแมปมเบรก
(1)ยึดกระบอกแมปมเบรกเขากับปากกา
จับชิ้นงาน
ขอควรระวัง:
การยึดที่กระบอกแมปมเบรกอาจทําให
แตก
(2)เติมน้าํ มันเบรกจนกระทั่งถึงเสนบอก
ระดับ MAX

1 เสนบอกระดับ MAX
2 แผนอลูมิเนียม
3 น้าํ มันเบรก
(2/5)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

(3)ดันลูกสูบเขาไปแลวคางเอาไว
(4)เอาผามาครอบที่กระบอกแมปมเบรก
แลวจับลูกเลือ่ นเขา-ออก
(5)ทําในขั้นตอนที่ (3) และ (4)
จนกระทั่งมีนา้ํ มันเบรกไหลออกมา
คําเตือน:
• ใชผาคลุมเอาไวเพื่อปองกันน้า ํ มันเบร
กกระจายออกมา
• ถาแมปมเบรกไมมีนา ้ํ มันอยูดานใน
จะมีอากาศเขาไปแทนที่
ดังนั้นหามใหนา้ํ มันเบรกหมด
• ถาไมไลลมจากแมปมกอน
จะทําใหการไลลมระบบเบรกใชเวลา
มากขึ้น
(6)เช็ดคราบน้าํ มันเบรกออก

1 ผา
2 ลูกยางเบรก
3 ฟองอากาศ

(3/5)

3. ติดตั้งแมปมเบรก
(1)หาผารองที่ดานลางบริเวณที่จะติดตั้ง
แมปมเบรก
(2)ประกอบโอ-ริงของหมอลมเบรก
ตัวใหม
ขอแนะนํา:
• ใหทาํ งานอยางรวดเร็วเพื่อไมใหนา้ํ มัน
เบรกไหลออกมามากเกินไป
• ครั้งแรกที่ติดตั้งนัตจะยากตอการ
ติดตั้ง

1 โอ-ริง
2 กระบอกแมปมเบรก
3 หมอลมเบรก

(4/5)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

(3)ยึดทอน้าํ มันเบรกเขากับแมปมเบรก
(4)ใชประแจปากตายขันนัตยึดทอน้าํ มัน
เบรก จากนั้น ใชเครื่องมือพิเศษขัน
ดวยคาแรงที่กาํ หนด
คําเตือน:
ขอควรระวังเบื้องตนเมือ่ ทําการขันนัตยึ
ดทอน้าํ มันเบรก
• สังเกตดูคาแรงขันใหดี ถาขันเกินคา
แรงที่กาํ หนดอาจจะเปนสาเหตุทาํ ให
ทอและหนาแปลนแบนมากเกินไป
ทําใหไมสามารถถอดไดในครั้งตอไป
• การขันครัง้ สุดทายใหใช เครื่องมือ
พิเศษ ถาใชประแจปากตายอาจทํา
ใหหัวนัตเสียรูป

1 เครื่องมือพิเศษ
(ประแจขันนัตทอน้าํ มัน)
2 นัตยึดทอน้าํ มันเบรก

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

(5)ไลลมออกจากทอน้าํ มันเบรกและ
ตรวจเช็คการทํางาน
การไลลมออกจากทอน้ํามันเบรก
เมื่อทํางานคนเดียว
1. เตรียมการไลลม
(1)หาผารองบริเวณดานลางแมปมเบรก
เพื่อปองกันน้าํ มันเบรกกระเด็นใสชิ้น
สวนอื่นๆ รวมทั้งสีรถ
(2)เมื่อทําการติดตั้งตัวไลลมน้าํ มันเบรก
ที่ดานบนของกระปุกน้าํ มันเบรก
ใหเอาน้าํ มันเบรกออกบางสวนเพื่อไม
ใหลน ออกมา
(3)ปรับตัวไลลมน้าํ มันเบรกที่ดานบน
ของกระปุกน้าํ มันเบรก

1 ตัวดูดน้าํ มันเบรก
2 กระปุกน้าํ มันเบรก
3 ผา
4 ตัวไลลมน้าํ มันเบรก

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. การไลลม
(1)ตอทอของตัวไลลมน้าํ มันเบรกเขากับ
ปมลม
(2)ถอดฝาครอบปลัก๊ ไลลมเบรกออก
(3)สวมทอของตัวไลลมน้าํ มันเบรกเขา
กับปลั๊กไลลมเบรก
(4)ไลลมโดยการคลายปลั๊กไลลมเบรก
ออกประมาณ 1/4 รอบ
(5)ขันปลั๊กไลลมเบรกใหแนนหลังจาก
ฟองอากาศในระบบเบรกหมดแลว
1 ตัวไลลมน้าํ มันเบรก 2 ทอของตัวไลลมน้าํ มันเบรก
3 4
ขอแนะนํา:
ปลั๊กไลลมเบรก คอมเพรสเซอรแอร
5 ฟองอากาศ • อางอิงจากคูมือการซอมสําหรับรายละ
เอียดบางอยางของระบบเบรก เชน
แมปมเบรกชนิดพิเศษหรือระบบเบรก
ABS
• จะตองระวังไมใหนา
้ํ มันเบรกใน
กระปุกน้าํ มันเบรกหมด
(6)ตรวจสอบการขันแนนของปลัก๊ ไล
ลมเบรกและปดฝาครอบปลัก๊
(7)เช็ดทําความสะอาดน้าํ มันเบรกที่รั่ว
ออกมาบริเวณปลั๊กไลลมเบรก

(5/5)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การไลลมเบรก รายละเอียดทั่วไป
การไลลมเบรก
เมื่อเติมน้าํ มันเบรกใหมลงไปในถวยเก็บน้าํ
มันเบรกแลว ถายน้าํ มันเบรกเกาที่มีฟอง
อากาศผสมอยูออกทางดานกระบอกเบรก
ดวยปลั๊กไลลมเบรก
ไลลมเมือ่ มีการเปลี่ยนชิ้นสวนของระบบ
เบรกหรือมีฟองอากาศอยูในระบบเบรก
ขอแนะนํา:
• หลังจากไลลมเบรกทั้ง 4 ลอแลว
ใหทาํ การไลลมเบรกซ้าํ อีกครั้งหนึ่ง
เพื่อใหมั่นใจวาการไลลมไดเสร็จ
สมบูรณ
• ภาพประกอบที่แสดงดานซายมือ
สําหรับการไลลมเบรกเพียงคนเดียว
(ตัวไลลม)

1 ตัวไลลมน้าํ มันเบรก
2 น้าํ มันเบรกใหม
3 กระปุกน้าํ มันเบรก
4 ฟองอากาศ
5 ปลั๊กไลลมเบรก
6 น้าํ มันเบรกเกา
7 คอมเพรสเซอรแอร
(1/1)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การไลลมออกจากทอน้ํามันเบรก
เมื่อทํางานคนเดียว
1. เตรียมการไลลม
(1)หาผารองบริเวณดานลางแมปมเบรก
เพื่อปองกันน้าํ มันเบรกกระเด็นใสชิ้น
สวนอื่นๆ รวมทั้งสีรถ
(2)เมื่อทําการติดตั้งตัวไลลมน้าํ มันเบรก
ที่ดานบนของกระปุกน้าํ มันเบรก
ใหเอาน้าํ มันเบรกออกบางสวนเพื่อไม
ใหลน ออกมา
(3)ปรับตัวไลลมน้าํ มันเบรกที่ดานบน
ของกระปุกน้าํ มันเบรก

1 ตัวดูดน้าํ มันเบรก
2 กระปุกน้าํ มันเบรก
3 ผา
4 ตัวไลลมน้าํ มันเบรก

(1/3)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. การไลลม
(1)ตอทอของตัวไลลมน้าํ มันเบรกเขากับ
ปมลม
(2)ถอดฝาครอบปลัก๊ ไลลมเบรกออก
(3)สวมทอของตัวไลลมน้าํ มันเบรกเขา
กับปลั๊กไลลมเบรก
(4)ไลลมโดยการคลายปลั๊กไลลมเบรก
ออกประมาณ 1/4 รอบ
(5)ขันปลั๊กไลลมเบรกใหแนนหลังจาก
ฟองอากาศในระบบเบรกหมดแลว
1 ตัวไลลมน้าํ มันเบรก 2 ทอของตัวไลลมน้าํ มันเบรก
3 4
ขอแนะนํา:
ปลั๊กไลลมเบรก คอมเพรสเซอรแอร
5 ฟองอากาศ • อางอิงจากคูมือการซอมสําหรับรายละ
เอียดบางอยางของระบบเบรก เชน
แมปมเบรกชนิดพิเศษหรือระบบเบรก
ABS
• จะตองระวังไมใหนา
้ํ มันเบรกใน
กระปุกน้าํ มันเบรกหมด
(6)ตรวจสอบการขันแนนของปลัก๊ ไล}
ลมเบรกและปดฝาครอบปลัก๊
(7)เช็ดทําความสะอาดน้าํ มันเบรกที่รั่ว
ออกมาบริเวณปลั๊กไลลมเบรก
(2/3)

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก
ขอมูลอางอิง:
การไลลมเบรกออกจากระบบเบรกดวย
2 คน
(1)ใหผูชวยนั่งบนรถในตําแหนงดาน
คนขับและทําการยกลิฟทเพื่อยกรถขึ้น
(2)ตอทอยางสวมเขาที่หวั ไลลมเพื่อทํา
การไลอากาศออกจากระบบเบรก
(3)ใหผูชวยทําการเหยียบแปนเบรก
หลายๆ ครั้ง
(4)เสร็จแลวทําการเหยียบแปนเบรกให
1 ปลั๊กไลลมเบรก ตําแหนงของแปนเบรกต่าํ สุด
2 ทอยาง (5)ทําการถอดยางปดหัวไลลมเบรก
และคลายหัวไลลมออกประมาณ
1/4 รอบเพื่อระบายอากาศออกจาก
ทอน้าํ มันเบรก
(6)เมื่อมีการระบายอากาศออก
ใหทาํ การขันปดหัวไลลมอยางรวดเร็ว
(7)ทําขั้นตอน 3-6 ซ้าํ จนกวาอากาศใน
ทอน้าํ มันเบรกหมด
คําเตือน:
• ปฎิบต ั ิขั้นตอน 5-6 อยางรวดเร็ว
มิฉะนั้น อากาศก็จะไหลเขาสูในระบบ
เบรกอีก
• ขณะที่ทา ํ การไลลมเบรก ตองตรวจดู
ระดับน้าํ มันเบรกในกระปุกเก็บน้าํ มัน
เบรก เพื่อไมใหนา้ํ มันเบรกหมดขณะ
ที่ถูกจายออกถาน้าํ มันเบรกใน
กระปุกเก็บน้าํ มันเบรกหมด ขณะที่
ทําการไลลมเบรก อากาศจะเขาไปยัง
ระบบเบรกทางดานแมปมเบรก ทํา
ใหตองทําการไลลมเบรกใหมอีกครั้ง
(8)ตรวจสอบการขันแนนของหัวไลลม
เบรกและปดฝาครอบไลลมเบรกให
เรียบรอย
ขอแนะนํา:
จะตองปฏิบัติงานใหสัมพันธกันทั้ง 2
คน
(1/1)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

3. ตรวจเช็คหลังเสร็จขั้นตอน
(1)ตรวจเช็คระดับความสูงของแปน
เหยียบเบรกกับพื้นขณะเหยียบเบรก
เต็มที่ และระยะจะตองไมเปลี่ยนแปลง
ถึงแมจะมีการเหยียบเบรกหลายๆ ครั้ง
ขอแนะนํา:
เมือ่ ทําการเหยียบเบรกแลวรูสึกวา
แปนเหยียบเบรกยุบลงไปไมเต็มที่
อาจหมายถึงมีอากาศหลงเหลืออยูใน
ทอเบรก ใหทาํ การไลลมอีกครั้ง
(2)เติมน้าํ มันเบรกใหมเขาไปในกระปุก
น้าํ มันเบรกจนกระทั่งถึงระดับ MAX
(3)ในขณะเครื่องยนตเดินเบา
ใหเหยียบเบรกและตรวจเช็คดูการรั่ว
บริเวณปลั๊กไลลม

1 แปนเบรก
2 น้าํ มันเบรก

(3/3)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การเปลี่ยนผาเบรก รายละเอียดทั่วไป
การเปลี่ยนผาเบรก
ถอดคาลิปเปอรเบรกและเปลี่ยนผาเบรก
และแผนเก็บเสียง
ผาเบรกจะมีตัวเตือนผาเบรกหมด และ
เมื่อผาเบรกหมดจะมีเสียงดัง เนื่องจาก
สัมผัสกับจานเบรก และดวยเหตุนี้ทาํ ให
ผูขับขี่ไดยินเสียงเตือนผาเบรกหมด
เมื่อผาเบรกหมดจะทําใหจานเบรกสึกหรอ
และเบรกไมอยูผาเบรกจะตองทําการตรวจ
สอบตามระยะเวลาการบํารุงรักษา
คําเตือน:
เมือ่ ทําการเปลี่ยนผาดิสกเบรก
ใหทาํ การเปลี่ยนผาดิสกเบรกขางใดขาง
หนึ่งกอนถาทําการถอดแยกสองขางใน
เวลาเดียวกัน จะทําใหลกู สูบเบรกดาน
ตรงขามถูกดันออกมาในขณะที่ใสคาลิป
เปอรเบรกดานทีป่ ฎิบัตงิ านอยู

1 ผาเบรก
2 แผนเก็บเสียง
3 แผนยึดผาเบรก

(1/1)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

“ถอดคาลิปเปอรเบรก
1. ยกรถขึ้น
2. ถอดยางออก
3. ถอดคาลิปเปอรเบรกออก
(1)ใชประแจแหวนถอดขายึดคาลิปเปอร
เบรก แลวคลายโบลทออก
(2)ถอดคาลิปเปอรดิสกเบรกออก
และใชขอเกี่ยวๆ
แขวนไวกับคอยลสปริง
คําเตือน:
หามดึงหรืองอทอยางน้าํ มันเบรก
ขอแนะนํา:
ถาไมจาํ เปนไมตองถอดทอยางน้าํ มัน
เบรกออก
1 คาลิปเปอรดิสกเบรก

2 ขายึดคาลิปเปอรเบรก

3 ทอยางน้า ํ มันเบรก
4 ขอเกี่ยว
(1/1)

ขอมูลอางอิง:
แบบชนิดไมตองถอดคาลิปเปอรเบรก
ออกมา
(1)ถอดโบลทตัวลางสุดของคาลิปเปอร
เบรกออก
(2)ทําการยกคาลิปเปอรเบรกขึ้น
(3)ใชผาหรืออื่นๆที่เกี่ยวคาลิปเปอร
เบรกไวเพื่อไมใหคาลิปเปอรเบรกตก

1 คาลิปเปอรดิสกเบรก
2 ผาหรือเชือก

(1/1)

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

ขอมูลอางอิง:
แบบชนิดมีสลักยึดในผาดิสกเบรก
การถอดชิ้นสวนอุปกรณของผาดิสกเบรก
มีดังตอไปนี้
1 คลิปล็อค

2 สปริงล็อคการขยับตัวของผาเบรก

3 สลักยึดผาดิสกเบรก

4 ผาเบรก

5 แผนเก็บเสียงผาเบรก

ขอแนะนํา:
การถอดสลักยึดผาดิสกเบรกจะถอด
คอนขางยาก ดังนั้นจะตองมีคีมชวยใน
การดึงสลักยึดผาดิสกเบรกออก

(1/1)

“การถอดผาเบรก
1. “การถอดผาเบรก
การถอดแยกชิ้นสวนอุปกรณจากผาดิสก
เบรก มีดังตอไปนี้
1 ผาเบรก

2 แผนเก็บเสียงผาเบรก

3 แผนยึดผาเบรก

ขอแนะนํา:
ตําแหนงการติดตั้งชิ้นสวนดานซาย,
ขวา และดานบน, ลางรวมทั้งทิศทาง
การติดตั้งจะแตกตางกัน ดังนั้น
4 คาลิปเปอรเบรก ใหทาํ การจัดวางชิ้นสวนที่ถอดออกมา
ในถาดใหตรงตามตําแหนงเพื่อใหงาย
ตอการประกอบและปองกันขอ
ผิดพลาด
2. การตรวจสอบและทําความสะอาด
(1)ตรวจสอบแผนเก็บเสียงผาเบรกและ
แผนยึดผาเบรกวาชํารุดหรือไมและ
ตรวจสอบความเสียหายของผาเบรก
(2)ตรวจสอบผาดิสกเบรกและ
คาลิปเปอรเบรก
(1/1)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การติดตั้งผาเบรก
1. ประกอบชิ้นสวนผาเบรก
(1)ติดตั้งแผนยึดผาเบรกที่ตัวยึด
คาลิปเปอรเบรก
(2)ติดตั้งแผนเก็บเสียงที่ผาเบรกใหม
ทาจาระบีที่หนาสัมผัสทั้ง 2ของแผน
เก็บเสียง
ขอแนะนํา:
หามทําใหมนี า้ํ มันเครื่อง, จาระบีหรือ
สิ่งแปลกปลอมอื่นๆ ติดที่ผาเบรก,
จานดิสก ถามี
ใหทาํ ความสะอาดออกใหหมด จากนั้น
ใชผาทรายขัดรวมทั้งสเปรยทาํ ความ
สะอาด

1 ผาเบรก
2 แผนเก็บเสียง
3 แผนยึดผาเบรก
4 ตัวเตือนผาเบรกหมด
ทาจาระบี
(1/3)

ขอมูลอางอิง:
ตัวเตือนผาเบรกหมด
ผาเบรกจะมีตัวเตือนผาเบรกหมด และ
เมื่อผาเบรกหมดจะมีเสียงดัง เนื่องจาก
สัมผัสกับจานเบรก และดวยเหตุนี้ทาํ ใหผู
ขับขี่ไดยินเสียงเตือนผาเบรกหมด
ระมัดระวังในการใสตะขอล็อคของตัวเตือน
ผาเบรกหมดในขณะที่กดลงไปที่ผาเบรก
ขอแนะนํา:
• ตรวจเช็คดูวาตัวเตือนผาเบรกหมด
A อยูในตําแหนงเสมอกับผาเบรก

• ถาประกอบยากใหอางอิงวิธีการถอด
• ติดตั้งตัวเตือนผาเบรกหมดบนผา
เบรกดานใน

1 ตัวเตือนผาเบรกหมด

(1/1)

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. ดันลูกสูบเบรก
(1)ใชตัวดูด ดูดเอาน้าํ มันเบรกออกจาก
แมปมเบรกเล็กนอย
(2)ใชดามคอน, เครื่องมือพิเศษ, อื่นๆ
กดลูกสูบเบรกเขาไป
ขอแนะนํา:
ถาทําการกดลูกสูบเบรกยาก ใหคลาย
ปลั๊กไลลมและระบายน้าํ มันเบรกออก
ขณะกดลูกสูบเบรกเขาไป และเมื่อทํา
การขันปลั๊กไลลม ใหขันในขณะที่กด
ลูกสูบเขาไปเพื่อปองกันอากาศเขาไป
ในทอเบรก
1 ตัวดูด

2 ดามคอน

3 เครื่องมือพิเศษ

4 ผา

(2/3)

3. ติดตั้งผาเบรก
ติดตัง้ ผาเบรกเขากับตัวยึดคาลิปเปอรเบรก
ขอแนะนํา:
ติดตั้งผาเบรกในขณะที่กด A ของ
ผาเบรกลงบน B ของแผนยึด
ผาเบรก

1 ผาเบรก
2 แผนยึดผาเบรก

(3/3)

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

ขอมูลอางอิง:
เบรกแบบชนิดมีสลักยึดในผาดิสก
เบรก
(1)ประกอบแผนรองผาเบรกเขาที่ผาเบรก
(2)ประกอบผาเบรกเขากับคาลิปเปอร
เบรก
(3)เสียบสลักล็อคเขาไปผาเบรกและ
คาลิปเปอรเบรก
(4)ประกอบสปริงล็อคการขยับตัวของผา
เบรกและคลิปล็อค

1 คลิปล็อค
2 สปริงล็อคการขยับตัวของผาเบรก
3 สลักยึดผาดิสกเบรก
4 ผาเบรก
5 แผนเก็บเสียงผาเบรก
ทาจาระบี

(1/1)

การติดตั้งคาลิปเปอรเบรก
1. ติดตั้งคาลิปเปอรดิสกเบรก
หลังจากที่แนใจแลววายางลูกสูบเบรกไม
อัดเขากับผาเบรก ใหทาํ การประกอบ
ผาเบรก
คําเตือน:
หามบิดทอยางขณะทําการประกอบ
ขอแนะนํา:
ดันใหปลอกเลื่อนไปดานนอกและติด
ตั้งคาลิปเปอรเบรก จะทําใหการทํางาน
งายขึ้น

1 ขายึดคาลิปเปอรเบรก
2 ผาเบรก
3 ยางลูกสูบเบรก
4 คาลิปเปอรดิสกเบรก

(1/2)

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. ตรวจเช็ความีแรงเบรก
(1)เติมน้าํ มันเบรกใหมเขาไปในกระปุก
น้าํ มันเบรกจนกระทั่งถึงระดับ MAX
(2)เหยียบเบรกหลายๆครัง้ เพื่อตรวจเช็ค
ดูการเคลื่อนที่ของแปนเบรก
ขอแนะนํา:
เมือ่ ทําการกดลูกสูบเบรก ใหระมัด
ระวังถาคลายปลั๊กไลลมอยู และถาแปน
เบรกรูสึกนิ่ม ใหทาํ การไลลมออกจาก
ทอเบรก
3. ติดตั้งยาง

1 น้าํ มันเบรก
2 แปนเบรก

(2/2)

- 24 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การเปลี่ยนฝกเบรก รายละเอียดทั่วไป
การเปลี่ยนฝกเบรก
ถอดแยกดรัมเบรกและเปลี่ยนฝกเบรก
ปรับตั้งเบรกมือกระทําตอเมื่อมีการ
ประกอบเบรกกลับใหม
การสึกหรอของผาเบรกอาจจะเปนสาเหตุ
ทําใหดรัมเบรกเกิดความเสียหายและ
ทําใหประสิทธิภาพในการเบรกลดลง
ดังนั้นการตรวจเช็คเบรกจําเปนตองตรวจ
เช็คตามระยะทางที่กาํ หนด

1 ฝกเบรกหนา
2 สปริงกดฝกเบรก
3 ประกับกดสปริง
4 สลักกดฝกเบรก
5 ขาปรับตัง้ อัตโนมัติ
6 สปริงเกี่ยวตัวปรับตั้ง
7 สปริงดึงกลับ
8 ตัวปรับตัง้
9 สปริงเกี่ยว
10 ฝกเบรกหลัง
11 แหวนล็อครูปตัว C
12 กานเบรกมือ
13 สายเบรกมือ
14 ดรัมเบรก

(1/1)

- 25 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การถอดดรัมเบรก
1. ปลดเบรกมือ
2. ยกรถขึ้น
3. ถอดยางออก
4. ถอดดรัมเบรกออก
(1)ทําเครื่องหมายที่ดรัมเบรกและหนา
แปลนดุมลอหลังและดึงดรัมเบรกออก
(2)ทําความสะอาดโดยใชสเปรย
ขอแนะนํา:
ใหใชนา้ํ ยาทําความสะอาดเบรก
เพราะถาใชลมเปาจะทําใหฝุนฟุง
กระจาย

1 มารคแสดง
2 สเปรยทาํ ความสะอาดเบรก

(1/1)

ขอมูลอางอิง:
ถาดรัมเบรกติดแนน
เมื่อระยะหางระหวางดรัมเบรกและ
ผาเบรกมีนอย
(1)ถอดปลัก๊ อุดที่ดา นหลังของแผนยึด
เบรก
(2)ใชไขควงยกตัวปรับตั้งขึ้น
(3)ใชไขควงอีกอัน หมุนและคลายโบลท
ปรับตั้งเพื่อถอดดรัมเบรก

1 แขนปรับตั้ง
2 โบลทปรับตั้ง
(1/2)

- 26 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

เมื่อดรัมเบรกติด
(1)ใชโบลทขนาด 8 มม.
ขันเขาไปในรูบริการทัง้ สองรู แลวคอยๆ
ขันเขาไปเพื่อใหดรัมเบรกหลุดออก
คําเตือน :
การขันโบลทดว ยแรงมากเกินไปอาจทํา
ใหดรัมเบรกเสียหาย
(2)ถาใชโบลทในการถอดดรัมเบรก
ใหทาจาระบีที่เกลียวแลวขันเขาและ
คลายออกหลายๆ ครั้งจนกระทั่ง
ดรัมเบรกหลุดออก
คําเตือน :
หามใชคอนเคาะที่ดรัมเบรก
เพราะอาจทําใหดรัมเบรกบิดงอ

(2/2)

ถอดฝกเบรก
1 ฝกเบรกหนา
2 สปริงดึงกลับ
3 สลักกดฝกเบรก
4 ประกับกดสปริง
5 สปริงเกี่ยว
6 ตัวปรับตัง้
7 ฝกเบรกหลัง
8 กานเบรกมือ

- 27 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

1. ถอดฝกเบรกหนา 1

(1)ใชเครือ่ งมือพิเศษถอดสปริงดึงกลับ 2

1 ฝกเบรกหนา
2 สปริงดึงกลับ
9 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือถอดสปริงดึงกลับ)

(2)ใชเครือ่ งมือพิเศษ ถอดสลักกดฝกเบรก


3 และประกับกดสปริง

(หนาและหลัง) 4

3 สลักกดฝกเบรก
4 ประกับกดสปริง
10 เครื่องมือพิเศษ
(ไขควงถอดสปริงกดฝกเบรก)

(3)ตรวจสอบสปริงเกี่ยวฝกเบรก 5 และ
ถอดสปริงและฝกเบรกหนาออก 1
2. ถอดตัวปรับตั้ง 6

5 สปริงเกี่ยว

- 28 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

3. ถอดฝกเบรกหลัง 7

(1)ถอดสายเบรกมือออกจากตําแหนง
A ของกานเบรคมือ 8

7 ฝกเบรกหลัง
8 กานเบรกมือ

(1/2)

4. ถอดแยกชิ้นสวนฝกเบรกหนา
(1)ตรวจเช็คทิศทางของสปริงปรับตั้ง
และใชคีมปากแหลมดึงเอาสปริงออก
จากฝกเบรกหนา
(2)ถอดแขนปรับตั้งอัตโนมัติ
5. ถอดแยกชิ้นสวนฝกเบรกหลัง
ใชไขควงแบนถอดเอาแหวนรองออก และ
ถอดกานเบรกมือออก

1 ฝกเบรกหนา
2 สปริงเกี่ยวตัวปรับตั้ง
3 ขาปรับตัง้ อัตโนมัติ
4 ฝกเบรกหลัง
5 แหวนรองรูปตัว C
6 กานเบรกมือ

(2/2)

- 29 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การตรวจสอบดรัมเบรกและฝกเบรก
การตรวจเช็คหนาสัมผัสระหวางฝกเบรก
กับดรัมเบรก
(1)ใหทาชอลกบริเวณหนาสัมผัสดานใน
ของดรัมเบรก
(2)ใสฝก เบรกเขาไปตามรูปและหมุน
รอบๆ เพื่อตรวจเช็คหนาสัมผัส
ขอแนะนํา:
• ถาหนาสัมผัสระหวางผาเบรกและดรัม
เบรกไมดี ใหทาํ การเจียรดรัมเบรก
หรือเปลีย่ นฝกเบรกใหม
• ตรวจเช็คหนาสัมผัสระหวางฝกเบรก
หนากับดรัมเบรก และฝกเบรกหลัง
กับดรัมเบรก

1 ฝกเบรก
2 ชอลก

(3)ตรวจเช็คดูรอยชอลกที่สัมผัสกับผา
เบรก
ขอแนะนํา:
• ถาหนาสัมผัสระหวางผาเบรกและดรัม
เบรกไมดี ใหทาํ การเจียรดรัมเบรก
หรือเปลีย่ นฝกเบรกใหม
• ตรวจเช็คหนาสัมผัสระหวางฝกเบรก
หนากับดรัมเบรก และฝกเบรกหลัง
กับดรัมเบรก

(1/1)

- 30 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การติดตั้งฝกเบรก
1. ประกอบชิ้นสวนฝกเบรกหลัง
(1)ติดตั้งคันเบรกมือและแหวนรองรูปตัว
C เขากับฝกเบรกหลัง
(2)ใชคีมปากแหลม บีบแหวนล็อค
(3)ตรวจเช็คดูวากานเบรกมือ จะตอง
เคลื่อนทีโ่ ดยไมมีแรงเสียดทาน
2. ประกอบชิ้นสวนฝกเบรกหนา
(1)ประกอบแขนปรับตั้งอัตโนมัติเขากับ
ฝกเบรกหนา
(2)ใชคีมปากแหลม ประกอบสปริงปรับตั้ง
เขากับแขนปรับตั้งอัตโนมัติและฝก
เบรกหนา

1 แหวนรองรูปตัว C
2 กานเบรกมือ
3 ฝกเบรกหลัง
4 ขาปรับตัง้ อัตโนมัติ
5 สปริงเกี่ยวตัวปรับตั้ง
6 ฝกเบรกหนา

(1/5)

- 31 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

3. ทําความสะอาดและอัดจาระบีตัว
ปรับตั้ง
(1)ถอดตัวปรับตั้งและทําความสะอาดโดย
ใชสเปรยฉีด
(2)ทาจาระบีทนความรอนและประกอบ
ตัวปรับตั้ง
4. ทําความสะอาดและทาจาระบีแผน
ยึดเบรก
(1)ใชผาเช็ดเอาสิ่งสกปรกออกจากแผน
ยึดเบรก
(2)ทาจาระบีทนความรอนสูงที่จุดสัมผัส
ที่มีการเคลื่อนที่
ขอแนะนํา:
ใชกระดาษทราย ขัดเอาสิ่งแปลก
ปลอมออกจากจุดสัมผัส

1 ตัวปรับตัง้
2 แผนยึดเบรก
ทาจาระบีทนความรอน

(2/5)

5. ติดตั้งฝกเบรกหลัง
(1)ใชคีมจับสายเบรกมือและทําการดัน
สปริงสายเบรกมือขึ้นดานบน และใช
คีมยึดสายเบรกมือเกี่ยวเขากับขาเบรก
มือ
(2)ภายใตเงื่อนไขขอ (1)สายเบรกมือ
จะตองเกี่ยวอยูกับคันเบรกมือให
เรียบรอย

1 ฝกเบรกหลัง
2 สายเบรกมือ
3 กานเบรกมือ

- 32 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

(3)ใชเครือ่ งมือพิเศษติดตั้งสลักยึดฝก
เบรกและประกับสปริง

4 สลักยึดฝกเบรก
5 ประกับกดสปริง
6 เครื่องมือพิเศษ
(ถอดสปริงเกี่ยวออกจากฝกเบรก)

6. ติดตั้งตัวปรับตั้ง
(1)ตรวจสอบสภาพของตัวปรับตั้งฝก
เบรกและทําการติดตัง้ กับฝกเบรกหลัง
(2)ติดตั้งสปริงดึงกลับโดยเกี่ยวกับฝก
เบรกหลัง

1 ฝกเบรกหลัง
7 ตัวปรับตัง้
8 สปริงดึงกลับ

(3/5)

- 33 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

7. ติดตั้งฝกเบรกหนา
(1)ทําการติดตั้งดึงสปริงมาดานหนาและ
เกี่ยวกับฝกเบรกหนา
(2)จัดตัวปรับตั้งเขากับรองของฝกเบรค
หนา
คําเตือน :
ใชมอื ดันฝกเบรกเอาไวเพื่อปองกันมัน
แยกออกจากลูกสูบเบรกที่ลอ
(3)ใชเครือ่ งมือพิเศษติดตั้งสปริงดึงกลับ
(4)ใชเครือ่ งมือพิเศษกดลงไปที่สปริงดัน
ฝกเบรค, สลักและฝาครอบ

1 เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องมือดึงสปริงฝกเบรก)
2 สปริงดึงกลับ
3 สปริงเกี่ยว

(4/5)

8. ตรวจเช็คสภาพการติดตั้ง
คําเตือน :
ใชกระดาษทรายขัดเอาน้าํ มันเครื่อง
หรือจาระบีที่อาจติดอยูที่หนาสัมผัสของ
ผาเบรก

1 ตัวปรับตั้ง
2 สปริงดึงกลับ
3 สปริงยึดฝกเบรก
4 สปริงเกี่ยว
5 ฝกเบรกหนา
6 ฝกเบรกหลัง

- 34 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

8. ตรวจเช็คสภาพการติดตั้ง
(1)ตรวจเช็คดูวาตัวปรับตั้งประกอบใน
ตําแหนงที่เหมาะสมหรือไม

1 ตัวปรับตัง้
2 สปริงดึงกลับ
5 ฝกเบรกหนา
6 ฝกเบรกหลัง
7 แผนยึดเบรก

8. ตรวจเช็คสภาพการติดตั้ง
(2)ตรวจเช็คดูวาสปริงดึงกลับและสปริง
กดฝกเบรก และสปริงยึดประกอบ
อยางถูกตอง
(3)ใชผา เช็ดเอาน้าํ มัน, ของเหลวอื่นๆ
หรือจาระบีออกจากบริเวณรอบๆ
กระบอกเบรกที่ลอ

2 สปริงดึงกลับ
5 ฝกเบรกหนา
6 ฝกเบรกหลัง

3 สปริงยึดฝกเบรก
8 ประกับกดสปริง
9 สลักยึดฝกเบรก

- 35 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

4 สปริงเกี่ยว

(5/5)

การติดตั้งดรัมเบรก
1. ติดตั้งดรัมเบรก
(1)ใชเกจวัดดรัมเบรก
วัดเสนผาศูนยกลางภายในดรัม
(2)หมุนปรับตัวปรับตั้งใหเสนผาศูนย
กลางสูงสุดของฝกเบรกนอยกวาดรัม
1.0 มม.
(3)จัดเครื่องหมายที่ทาํ ไวขณะถอดใหตรง
กันเพื่อประกอบเขาไป

1 เกจวัดดรัมเบรก
2 เวอรเนียรคาลิปเปอร
3 ตัวปรับตัง้
4 เครื่องหมาย

(1/2)

- 36 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. ปรับตั้งระยะหางฝกเบรก
(แบบปรับตั้งเบรกอัตโนมัติในขณะ
เหยียบแปนเบรก)
(1)ถอดปลัก๊ อุดที่ดา นหลังของแผนยึด
เบรก
(2)ใชไขควงแบนหมุนตัวปรับตั้งให
ฝกเบรกขยายออกจนกระทั่งมันสัมผัส
กับดรัมเบรก
ขอแนะนํา:
ปรับตัวปรับตั้งในขณะที่หมุนดรัมเบรก
1
จนกระทั่งมันหยุดหมุน และใหเลิกปรับ
ปลั๊กอุด
2
ตรงจุดที่ดรัมเบรกหยุดหมุน
ตัวปรับตั้ง
3 ขาปรับตั้งอัตโนมัติ (3)ใชไขควงแบนงัดที่แขนปรับตัง้
4 แปนเบรก (4) ใชไขควงแบนอีกอันปรับที่ตัวปรับตั้ง
ใหขยับไป 8 ฟน
(5)ตองแนใจวาดรัมเบรกสามารถทีจ่ ะ
หมุนไดโดยใชมอื
(6)ใสปลั๊กอุดเขาที่
(7)เหยียบเบรกหลายๆ
ครัง้ เพื่อปรับระยะชองวางฝกเบรก
(8)จะตองไมมีเสียงดังที่ดรัมเบรกขณะ
เหยียบเบรก ฝกเบรกจะถูกปรับระยะ
ชองวางโดยอัตโนมัติ
(2/2)

ขอมูลอางอิง:
แบบตัวปรับตั้งเบรกมืออัตโนมัติ
ปรับตั้งระยะหางฝกเบรก
(1)ดึงเบรกมือหลายๆ
ครัง้ เพื่อปรับระยะชองวางฝกเบรก
(2)จะตองไมมีเสียงดังเกิดขึ้นขณะที่ดงึ
เบรกมือ ฝกเบรกจะถูกปรับระยะชอง
วางโดยอัตโนมัติ

1 คันเบรกมือ

(1/1)

- 37 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

ขอมูลอางอิง:
แบบปรับตั้งดวยมือ
ปรับตั้งระยะหางฝกเบรก
(1)ถอดปลัก๊ อุดที่ดา นหลังของแผนยึด
เบรก
(2)ใชไขควงแบนปรับเฟองของตัวปรับ
ตั้งจนกระทั่งผาเบรกสัมผัสกับดรัม
ขอแนะนํา:
ปรับที่ตัวปรับตั้งในขณะที่หมุนดรัม
เบรกดวยมือจนกระทั่งดรัมเบรกหยุด
หมุน
(3)ใชไขควงแบนทําการปรับเฟองตาม
จํานวนที่ระบุในคูมือซอม
(4)ใสปลั๊กอุดเขาที่
(5)หมุนดรัมเบรกดูวาจะตองไมมกี าร
เสียดสีของผาเบรกกับดรัมเบรก

1 ปลั๊กอุด
2 ถางออก
3 ยืดขึ้น
(1/1)

การปรับตั้งเบรกมือ รายละเอียดทั่วไป
การปรับตั้งเบรกมือ
เมื่อทําการปรับเบรกมือ ใหปรับระยะชอง
วางเบรกกอนที่จะปรับที่ตัวดึงเบรกมือ
การปรับตั้งระยะหางของเบรกมาก ยอม
จะทําใหระยะเลื่อนของคันเบรกมือมีมาก
ขึ้น ดวยเหตุนี้การทํางานของเบรกจะมี
ประสิทธิภาพลดลง

1 คันเบรกมือ
2 สายเบรกมือ
3 ฝกเบรก
4 นัตล็อค
5 นัตปรับตั้ง

(1/1)

- 38 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

การปรับตั้งระยะหางของเบรกมือ
ชนิดของเบรกมือ
1. ชนิดใชเทาเหยียบ
(1)ดรัมเบรก
(2)แบบดิสกเบรก
2. แบบอยูในดิสกเบรกหลัง
3. แบบเบรกที่เพลา

1 ฝกเบรก
2 ขาเบรกมือ
3 ลูกสูบ
4 ผาเบรก
5 จานเบรก
6 สายเบรกมือ

(1/4)

ชนิดใชเทาเหยียบ
(1)ดรัมเบรก
ปรับระยะชองวางของดรัมเบรก
ขอแนะนํา:
อางอิงสําหรับวิธีการปรับจาก
การเปลี่ยนฝกเบรก
(2)แบบดิสกเบรก
<1>เหยียบเบรกแรงๆ หลายๆ ครั้ง
<2>ดึงเบรกมือแรงๆ 1 ครั้ง
<3>ปลอยเบรกมือใหอยูในตําแหนงเดิม
<4>จะตองมั่นใจวาเมือ่ ดึงเบรกมือแลวจะ
ตองหมุนลอไมได

1 แปนเบรก
2 คันเบรกมือ

(2/4)

- 39 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

ขอแนะนํา:
ติดตั้งดรัมเบรก
1. ติดตั้งดรัมเบรก
(1)ใชเกจวัดดรัมเบรก
วัดเสนผาศูนยกลางภายในดรัม
(2)หมุนปรับตัวปรับตั้งใหเสนผาศูนย
กลางสูงสุดของฝกเบรกนอยกวาดรัม
1.0 มม.
(3)จัดเครื่องหมายที่ทาํ ไวขณะถอดให
ตรงกันเพื่อประกอบเขาไป

1 เกจวัดดรัมเบรก
2 เวอรเนียรคาลิปเปอร
3 ตัวปรับตัง้
4 เครื่องหมาย

(1/2)

- 40 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. ปรับตั้งระยะหางฝกเบรก
(แบบปรับตั้งเบรกอัตโนมัติในขณะ
เหยียบแปนเบรก)
(1)ถอดปลัก๊ อุดที่ดา นหลังของแผนยึด
เบรก
(2)ใชไขควงแบนหมุนตัวปรับ
ตั้งใหฝก เบรกขยายออกจนกระทั่งมัน
สัมผัสกับดรัมเบรก
ขอแนะนํา:
ปรับตัวปรับตั้งในขณะที่หมุนดรัมเบรก
1
จนกระทั่งมันหยุดหมุน และใหเลิก
ปลั๊กอุด
2
ปรับตรงจุดที่ดรัมเบรกหยุดหมุน
ตัวปรับตั้ง
3 ขาปรับตั้งอัตโนมัติ (3)ปรับตัวปรับตั้งในขณะที่หมุนดรัมเบรก
4 แปนเบรก จนกระทั่งมันหยุดหมุน
และใหเลิกปรับตรงจุดที่ดรัมเบรกหยุด
หมุน
(4)ใชไขควงแบนอีกอันปรับทีต่ ัวปรับตั้ง
ใหขยับไป 8 ฟน
(5)ตองแนใจวาดรัมเบรกสามารถทีจ่ ะ
หมุนไดโดยใชมอื
(6)ใสปลั๊กอุดเขาที่
(7)เหยียบเบรกหลายๆ
ครัง้ เพื่อปรับระยะชองวางฝกเบรก
(8)จะตองไมมีเสียงดังที่ดรัมเบรกขณะ
เหยียบเบรก ฝกเบรกจะถูกปรับระยะ
ชองวางโดยอัตโนมัติ
(2/2)

- 41 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. แบบที่เบรกมืออยูใ นดิสกเบรกหลัง
(1)ถอดปลัก๊ อุดหมุนตัวปรับตั้งจนกระทั่ง
ฝกเบรกยึดติดกับจานเบรก
(2)คลายตัวปรับ 8 ฟน
(3)ตรวจเช็คดูวาฝกเบรกจะตองสัมผัสกับ
เบรก
(4)ใสปลั๊กอุดเขาที่

1 ปลั๊กอุด
2 ตัวปรับตัง้
3 SST (เครื่องมือปรับตั้งเบรก)

(3/4)

3. แบบเบรกที่เพลา
(1)หมุนตัวปรับตั้งเบรกทวนเข็มนาฬิกา
จนกระทั่งฝกเบรกขยายตัวเต็มที่
(2)หมุนตัวปรับตั้งเบรกตามเข็มนาฬิกา
1 ฟน
(3)ในขณะที่ดงึ เบรกมือจนสุด
ตรวจเช็คดูวาดรัมเบรกจะตองล็อค
(4)ปลดคันเบรกมือและตรวจเช็คดูวา
เบรกจะตองไมเสียดสี

1 ตัวปรับตัง้

(4/4)

การปรับตั้งเบรกมือ
ตําแหนงของนัตปรับตัง้ ที่ใชสาํ หรับปรับตั้ง
คันเบรกมือจะขึ้นอยูกับชนิดของเบรกมือที่
จะปรับตัง้

A แบบคันเบรกมืออยูตรงกลาง
B แบบดึงคันเบรกมือ
C แบบแปนเหยียบ

- 42 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

1. การปรับระยะการดึงเบรกมือ
(1)ถอดคอนโซลกลางออกและอื่นๆ
(2)ใชประแจปากตายจับที่นัตปรับตั้งและ
คลายนัตล็อคออก
คากําหนดระยะการตั้งเบรกมือ:6-9
คลิก (สําหรับ Corolla สิงหาคม, 2000)
(3)ทําการเหยียบแปนเบรกหลายๆ ครั้ง
(4)ขันนัตปรับล็อคเมื่อทําการปรับนัต
ปรับตั้งจนไดระดับ

A แบบคันเบรกมืออยูตรงกลาง (5)ดึงคันเบรกมือ 3-4 ครั้งและตรวจสอบ


B
จํานวนคลิก เมือ่ ดึงคันเบรกมือดวยแรง
แบบดึงคันเบรกมือ
C
20 kg
แบบแปนเหยียบเบรก
1 นัตล็อค ขอแนะนํา:
2 นัตปรับตั้ง สําหรับเบรกมือชนิดใชเทาเหยียบให
3 สายเบรกมือ เหยียบแปนเหยียบดวยแรง 30 kg
(6)เมื่อทําการตัง้ เบรกมือเรียบรอยแลว
ใหดงึ เบรกมือ และลองหมุนยางของ
รถยนตเพื่อตรวจสอบการทํางานของ
เบรกมือและผาเบรกตองไมเสียดสีกับ
ฐานเบรก
ขอแนะนํา:
ถาหากลอรถยนตมีการเสียดสี
ใหทาํ การปฎิบัติตามขอ (2)
อีกครั้งหนึ่ง
(7)ใชประแจปากตายยึดนัตปรับตั้งและ
ขันนัตล็อคใหแนน
(8)ติดตั้งคอนโซลกลาง

- 43 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

2. ตรวจเช็คไฟเตือน
ไฟเตือนเบรกมือจะตองติดขึ้นมาเมื่อดึง
เบรกมือขึ้นมา 1 ฟนและจะตองดับเมื่อ
ปลอยกลับตําแหนงเดิม

(1/1)

- 44 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก

คําถาม-1
ãËé·Óà¤Ã×èͧËÁÒÂŧ㹪èͧ¶Ù¡¶éÒ¢éͤÇÒÁ¹Ñé¹Í¸ÔºÒ¶١µéͧ ËÃ×ͪèͧ¼Ô´¶éÒ¢éͤÇÒÁ¹Ñé¹Í¸ÔºÒ¼Դ:
¢éÍ ¤Ó¶ÒÁ ¶Ù¡ËÃ×ͼԴ ¤ÓµÍº·Õè¶Ù¡µéͧ
ระยะในการปรับเบรกมือสําหรับแบบทใชเทาเหยียบ
1 ขณะปรับจะตองทําการปรับใหเสร็จกอนทีจ่ ะตรวจสอบระยะชองวางฝก ถูก ผิด
เบรกของดรัมเบรกหลังและตัวปรับแบบอัตโนมัติ
เมือ่ ระยะชองวางฝกเบรกของดรัมเบรกหลังในเบรกมือแบบที่ใชเทา
2 ถูก ผิด
เหยียบมีคามาก จะทําใหระยะในการดึงของเบรกมือมากตามไปดวย
สําหรับระยะในการดึงของกานเบรกมือแบบดึง
3 ถูก ผิด
ใหนับจํานวนของฟนในขณะดึงดวยแรง 20 กก.
หลังจากที่ทาํ การปรับระยะดึงเบรกมือของเบรกมือรุนที่ใชเทาเหยียบ
4 ถาลอหลังไมสามารถหมุนไดขณะที่ปลอยเบรกมือแลว ถูก ผิด
ใหทาํ การปรับระยะชองวางฝกเบรกอีกครั้ง
เมือ่ ทําการดึงเบรกมือขึ้น 2 ฟน
5 ถูก ผิด
ใหทาํ การปรับจนกระทั่งหลอดไฟเตือนเบรกมือที่หนาปดติดขึ้น

คําถาม-2
¢éͤÇÒÁã´µèÍ仹Õé·Õè͸ԺÒÂà¡ÕèÂǡѺÇÔ¸ÕäÅèÅÁàºÃ¡ä´é¶Ù¡µéͧ?
1. ‘เมือ่ ทําการไลลมเบรก ใหสังเกตดูระดับน้าํ มันเบรกในแมปมเบรกตลอดเวลา และใหเติมใหเต็มเมือ่ ใกลหมด
2. ‘เมือ่ ทําการไลลม ใหเติมน้าํ มันเบรกตลอด เพราะเมื่อมีอากาศเขาไปในแมปม เบรกจะทําใหนา้ํ มันเบรกหมด
3. ‘เมือ่ ไลลมเบรก ใหขันปลั๊กไลลมในขณะที่กาํ ลังเหยียบเบรกอยู เพราะเมื่อทําการเหยียบเบรก
อากาศอาจจะเขาไปในทอเบรก
4. ‘สําหรับวิธีการไลลมนั้น หลังจากทําการไลลมจนครบทุกลอแลว
ใหเติมน้าํ มันเบรกเขาไปที่กระปุกน้าํ มันเบรกใหไดระดับ

คําถาม-3
¢éͤÇÒÁã´µèÍ仹Õé͸ԺÒÂà¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃà»ÅÕè¹¼éÒàºÃ¡ä´é¶Ù¡µéͧ?
1. เมือ่ ทําการเปลีย่ นผาเบรก ใหถอดทอยางออกเพราะมันอาจจะหักหรือบิดได
2. เนื่องจากชิ้นสวนของผาเบรกจะมีทิศทาง, รูปรางและตําแหนงที่แตกตางกัน
3. เพื่อปองกันเบรกมีเสียงดัง ใหทาน้าํ มันเบรกที่แผนรอง
4. เพื่อปองกันเบรกมีเสียงดัง ใหทางจาระบีบางๆ บริเวณหนาสัมผัสระหวางผาเบรกและจานเบรก
5. ‘ในดิสกเบรก ผาเบรกจะสึกหรอแตจานเบรกไมสึกหรอ

- 45 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก
คําถาม-4
¢éͤÇÒÁã´µèÍ仹Õé͸ԺÒÂà¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃà»ÅÕ蹽ѡàºÃ¡ä´é¶Ù¡µéͧ?
ก: จะตองทําการปรับระยะเบรกมือแบบที่ใชเทาเหยียบหลังจากที่เปลี่ยนฝกเบรกทุกครั้ง
ข: ถาผาเบรกหมด ดรัมเบรกอาจเกิดความเสียหาย
1. ขอ ก ถูก
2. ขอ ข ถูก
3. ถูกทั้ง 2 ขอ
4. ผิดทั้ง 2 ขอ

- 46 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบเบรก
คําถาม-5
ขอความใดตอไปนี้อธิบายเกี่ยวกับการถอดและประกอบแมปมเบรกถูกตอง?
1. ถามีระยะหางระหวางกานดันหมอลมเบรกและลูกสูบแมปมเบรก จะทําใหเบรกเสียดสีกัน
2. ใหทาํ การติดตั้งโบลทกั้นลูกสูบ, ลูกสูบและแหวนล็อคในขณะที่กดใหลูกสูบดันเขาไป
3. ในขณะที่ดันลูกสูบเขาไป ใหโบลทกั้นลูกสูบและแหวนล็อคตัวใหม
4. ใหทาน้าํ มันเครื่องที่ลูกยางแมปมเบรกกอนแลวคอยทําการประกอบ

- 47 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

การชารจแบตเตอรี่ รายละเอียดทั่วไป
แบตเตอรี่จะถูกประจุโดยการผานกระแส
ไฟฟาจากเครื่องประจุแบตเตอรี่เขาสู
แบตเตอรี่
เมื่อกระแสไฟฟาไหลเขาไปในแบตเตอรี่
จะเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นและทําใหคาความ
ถวงจําเพาะของแบตเตอรี่เพิ่มขึ้น
และในระหวางที่มีปฏิกิริยาเคมีนั้น
จะมีแกสที่สามารถติดไฟไดเกิดขึ้น
คําเตือน:
• น้าํ ยาอิเลคทรอไลทของแบตเตอรี่จะมี
กรดซัลฟูริคเจือจางอยู ถามันถูก
เสื้อผาหรือผิวหนังใหรีบลางออกดวย
น้าํ ทันที
• ในระหวางการชารจแบตเตอรี่จะเกิด
แกสไฮโดรเจนและออกซิเจนขึ้น
ดังนั้นถามีเปลวไฟเกิดขึ้นอาจทําให
เกิดการระเบิดขึ้น

1 เครื่องประจุแบตเตอรี่

(1/1)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

การปฏิบัติงานกอนการชารจ
1. วัดคาความถวงจําเพาะ
ใชไฮโดรมิเตอร วัดคาความถวงจําเพาะ
ของน้าํ ยาอีเล็คโตรไลทของแบตเตอรีท่ ุก
ชอง
2. เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่
เติมน้าํ กลัน่ ใหอยูในระดับ UPPER
ขอควรระวัง:
• ถาเติมน้า ํ กลั่นมากเกินไป จะทําให
ปริมาณของแกสระหวางการชารจเพิ่ม
ขึ้น ซึ่งจะทําใหนา้ํ ยาอีเล็กโตรไลท
กระเด็นออกจากชองเติมน้าํ กลัน่
• หามเติมน้า ํ ธรรมดา

1 ฝาปดรูนา้ํ ยา
2 ไฮโดรมิเตอร
3 น้าํ กลั่น

(1/1)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

การชารจแบตเตอรี่
1. เปดฝาปดรูน้ํายา
เปดฝาปดรูนา้ํ ยาเพื่อระบายกาซทีเ่ กิดจาก
แบตเตอรี่กอนทําการประจุ
2. ตอสายชารจเขาที่ขั้วของแบตเตอรี่
(1)แนใจวาดานเอาทพุทไมมีฟวสหรือ
เบรคเกอรตออยู, สวิตชตั้งเวลาและ
สวิตชปรับกระแสไฟฟาตองอยูตาํ แหนง
ปด
ขอควรระวัง:
1 เครื่องประจุแบตเตอรี่ 2 สายคีบ ถาคีบสายขณะเครื่องทํางาน จะทํา
3 ไมมีฟว สหรือเบรกเกอร 4 สวิตชตั้งเวลา ใหเกิดการสปารคเกิดขึ้น
5 หลอดไฟที่เครือ่ งประจุ 6 สวิตชปรับกระแสไฟฟา
(2)ตอสายคีบสีแดงของเครือ่ งประจุ
7 ฝาปดรูนา้ํ ยา
แบตเตอรี่เขากับขั้วบวกของแบตเตอรี่
(3)ตอสายคีบสีดาํ ของเครื่องประจุ
แบตเตอรี่เขากับขั้วลบของแบตเตอรี่
ขอควรระวัง:
ถาคีบสายขณะเครื่องทํางาน
จะทําใหเกิดการสปารคเกิดขึ้น
(1/9)

ขอมูลอางอิง:
แบตเตอรี่ที่ไมตองบํารุงรักษา
แบตเตอรี่แบบที่ไมตองบํารุงรักษาจะมีแกส
เกิดขึ้นนอยกวาแบตเตอรี่ทั่ว ๆ ไป
(ทีต่ องมีการบํารุงรักษาเปนระยะ)
และปริมาณของน้าํ ยาอีเล็กโทรไลทที่
ระเหยจะมีนอยกวา ในระหวางการชารจ
จึงไมจาํ เปนที่จะตองถอดปลั๊กอุดออก

1 แบตเตอรี่ทั่วๆ ไป
2 แบตเตอรี่ที่ไมตองบํารุงรักษา

(1/1)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

3. วิธีการประจุแบตเตอรี่
วิธีการประจุแบตเตอรีม่ ี 2 วิธี
• การประจุแบบธรรมดา
เปนการผานกระแสไฟฟาปริมาณนอยๆ
ใหกับแบตเตอรี่แตจะใชเวลาประจุนาน
การประจุแบตเตอรี่ในปริมาณของกระแส
ไฟฟาและเวลาที่พอดีนั้นจะมีผลตอ
ประสิทธภาพในการคายประจุของ
แบตเตอรี่
• การประจุแบบเร็ว
เปนการผานกระแสไฟฟาปริมาณมากๆ
ใหกับแบตเตอรี่ในเวลาไมกี่ชั่วโมง ซึ่งจะ
สงผลตออายุการใชงานของแบตเตอรี่

1 การประจุแบบธรรมดา
2 การประจุแบบเร็ว
3 มาตรวัดกระแสไฟฟา

(2/9)

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

ขอควรระวัง:
• ขอควรระวังในการประจุแบตเตอรีบ
 นรถ
ยนต
(1)ควรหาวัสดุครอบตัวถังที่ใกลบริเวณนั้น
เพื่อปองกันการกระเด็นของน้าํ ยา
อิเลคทรอไลท
(2)ถอดขั้วลบและขั้วบวกของแบตเตอรี่
ออก .

• ปญหาขณะทําการประจุ
(1) ถาสังเกตเห็นอาการเหลานี้เกิดขึ้น
เชน อาจจะมีการลัดวงจร
ใหหยุดการประจุอยางรวดเร็ว .
• ถึงแมวาแบตเตอรี่จะถูกประจุแลว
แตแรงดันและคาความถวงจําเพาะไมเ
พิ่มขึ้น.
• ไมมแ ี กสเกิดขึ้น.
• อุณหภูมิสูงขึ้นมากเกินไป .
(2)ระมัดระวังอยาใหอุณหภูมิของ
แบตเตอรี่สูงเกิน45°C(113°F)
ถาอุณหภูมิสูงเกินไป
ใหทาํ การลดกระแสในการประจุลง
(3/9)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

4. การประจุแบบธรรมดา
(1)ปรับตัวตั้งเวลาไปที่ SLOW
(2)ปรับกระแสในการชารจ
จะตองปรับคากระแสที่จะชารจ
ประมาณ 1/10 ของคาความจุของ
แบตเตอรี่
(3)จะตองตรวจเช็คคาความถวงจําเพาะ
และอุณหภูมิของแบตเตอรีข่ ณะทําการ
ชารจเปนชวงๆ
ขอควรระวัง:
จะตองระวังอยาใหอุณหภูมิของแบตเต
อรี่สูงเกินไป (หามเกิน 45°C
(113°F))

1 สวิตชตั้งเวลา
2 สวิตชปรับกระแสไฟฟา
3 มาตรวัดกระแสไฟฟา

(4/9)

การคํานวณระยะเวลาและกระแสในการ
ชารจแบตเตอรี่
• การคํานวณคากระแสในการชารจ
นําแบตเตอรี่ที่จะทําการชารจไปเทียบคา
ตามตาราง
กระแสในการชารจ (A) =
ความจุแบตเตอรี่ (AH) ÷ 10

24 ÷ 10 = 2.4 (A)

• การคํานวณระยะเวลาในการชารจ
(1) คํานวณปริมาณการจายไฟ (%)
คํานวณปริมาณการจายไฟโดยใชคาความ
ถวงจําเพาะของแบตเตอรี่
ตัวอยาง:
คาความถวงจําเพาะ 1.16 = 50%

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

(2)คํานวณคาความจุของแบตเตอรี่ที่จาย
ออก (ปริมาณที่เหลืออยู AH)
คาความจุแบตเตอรี่ (AH) =
ความจุแบตเตอรี่ (AH) x
ปริมาณการจายไฟ (%)
ตัวอยาง:”
24(AH) x 50(%)=12(AH)
(3) คํานวณชั่วโมงในการชารจ
ชั่วโมงในการชารจ (H) =
คาความจุแบตเตอรี่ (AH) ÷
กระแสที่ชารจ (A) x คาระหวาง 1.2
และ 1.5
ตัวอยาง:”
12(AH) ÷ 2.4(A) x 1.2 = 6 (H)

(5/9)

5. การประจุแบบเร็ว
(1)ปรับตัวตั้งเวลาไปประมาณ 30 นาที
(2)ปรับกระแสในการชารจ จะตอง
ปรับคากระแสที่จะชารจประมาณ
2/3 ของคาความจุของแบตเตอรี่
(3)จะตองตรวจเช็คคาความถวงจําเพาะ
และอุณหภูมิของแบตเตอรีข่ ณะทําการ
ชารจเปนชวงๆ
ขอควรระวัง:
จะตองระวังอยาใหอุณหภูมิของแบตเต
อรี่สูงเกินไป (หามเกิน 45°C
(113°F))

1 สวิตชตั้งเวลา
2 สวิตชปรับกระแสไฟฟา
3 มาตรวัดกระแสไฟฟา

(6/9)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

การคํานวณกระแสในการชารจ
• การคํานวณคากระแสในการชารจ
นําแบตเตอรี่ที่จะทําการชารจไปเทียบคา
ตามตาราง
กระแสในการชารจ (A) =
ความจุแบตเตอรี่ x 2/3
ตัวอยาง:
24 x 2/3 = 16 (A)

(7/9)

6. ชารจแบตเตอรี่เสร็จเรียบรอย
ใหหยุดชารจเมือ่ แบตเตอรี่อยูในสภาวะดัง
ตอไปนี้
• กาซจากการซารจ ถูกผลิตออกมา
มากขึ้น
• คาความถวงจําเพาะของแบตเตอรีอ ่ ยู
ระหวาง 1.25 และ 1.28
• แรงดันไฟฟาขั้วแบตเตอรี่จะอยูระหวาง
15 กับ 17 โวลท

1 เครื่องประจุแบตเตอรี่
2 ไฮโดรมิเตอร
3 มัลติมเิ ตอร

(8/9)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

7. ลางแบตเตอรี่และซับใหแหง
เช็ดคราบของแกสและน้าํ ยาที่กระเด็นออก
จากแบตเตอรีใ่ หหมดเพราะอาจเปนสาเหตุ
ทําใหเกิดการกัดกรอน เพราะฉะนั้น
จะตองใชนา้ํ ทําความสะอาดเมื่อชารจเสร็จ
และเช็ดใหแหง
8. ตรวจเช็คคาความถวงจําเพาะ
ใชไฮโดรมิเตอร วัดคาความถวงจําเพาะ
ของแบตเตอรี่ทุกชอง
9. ตรวจเช็คระดับน้ําแบตเตอรี่
เติมน้าํ กลัน่ ใหอยูในระดับ UPPER

1 น้าํ กลั่น
2 ไฮโดรมิเตอร
3 ผา

(9/9)

การเปลี่ยนยางใบปดน้ําฝน รายละเอียดทั่วไป
เมื่อทําการเปลี่ยนยางปดน้าํ ฝน ใหถอด
ใบปดน้าํ ฝนออกจากกาน แลวจึงทําการ
ถอดยางออกจากใบปด ยางปดน้าํ ฝน
ที่เกาแลว จะทําใหประสิทธภาพใน
การปดไมดีและทําใหเกิดเสียงดังรวมทั้ง
อาจทําใหเกิดรอยเสียหายบนกระจกเพราะ
ฉะนั้น ยางปดน้าํ ฝนควรจะตองทํา
การเปลีย่ นตามระยะเวลาลักษณะและ
ความยาวของยางปดน้าํ ฝนจะแตกตางกัน
ไปในรถแตละรุน
ควรเลือกใชตามเบอรอะไหลที่ถูกตอง

1 กานปดน้าํ ฝน
2 ใบปดน้าํ ฝน
3 ยางปดน้าํ ฝน
4 เหล็กเสริมขอบยาง
A รอยการปดไมสม่าํ เสมอ
B การปดที่ไมดี

(1/1)

-9-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

การถอดใบปดน้ําฝน
1. ถอดใบปดน้ําฝน
(1)ยกกานปดน้าํ ฝนขึ้นจากกระจกเพื่อ
ใหงายในการถอดใบปดน้าํ ฝน
ขอควรระวัง:
การทํางานของเครื่องปดน้าํ ฝนในขณะ
ที่ใบปดน้าํ ฝนถูกถอดออก อาจจะทํา
ใหเกิดรอยเสียหายแกกระจกหรือ
ฝากระโปรงอยางมาก

1 กานปดน้าํ ฝน 2 ใบปดน้าํ ฝน
3 กานล็อค 4 ผา

(2)ทําการกดใบปดน้าํ ฝนลงใหหลุดจาก
เหล็กงัดของกานปด จากนั้นเลื่อนใบ
ปดน้าํ ฝนออกจากกาน
(3)เพื่อปองกันไมใหเกิดรอยที่กระจก
ใหใชผาพันหุมกานของชุดปดน้าํ ฝน
แลวคอยๆ วางลงบนกระจก
ขอควรระวัง:
การทํางานของเครื่องปดน้าํ ฝนในขณะ
ที่ใบปดน้าํ ฝนถูกถอดออก อาจจะทํา
ใหเกิดรอยเสียหายแกกระจกหรือ
ฝากระโปรงอยางมาก

ขอแนะนํา:
ชนิดที่ติดตั้งโดยใชสกรูขัด
ในบางรุนของใบปดน้าํ ฝนจะใชสกรูขัน
เพื่อความแนนหนา
เมือ่ ทําการเปลี่ยนยางปดน้าํ ฝนจะตอง
เปลีย่ นทั้งใบปดและยางปดน้าํ ฝน
พรอมๆ กัน

(1/1)

- 10 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

การเปลี่ยนยางใบปดน้ําฝน
มี 2 วิธีในการยางปดน้าํ ฝนใหเลือกใช
ตามความเหมาะสม
A ชนิดมีเหล็กเสริมขอบยาง

B ชนิดไมมีเหล็กเสริมขอบยาง

1 เหล็กเสริมขอบยาง

(1/5)

ชนิดมีเหล็กเสริมขอบยาง
1. ถอดยางปดน้ําฝน
(1)ทําการดันดานในของรูยึดยางกับใบ
ปดน้าํ ฝนแลวเลื่อนไปตามรองและดึง
ออกจากกามเกาะยางใบปดน้าํ ฝน
(2)ทําการเลื่อนยางใบปดน้าํ ฝนออกจาก
ใบปด
(3)ถอดเหล็กเสริมขอบยางออก
ขอแนะนํา:
ลักษณะและความยาวของยางปดน้าํ ฝน
ดานซายและขวาจะตางกัน

1 ขายึด
2 ยางปดน้าํ ฝน
3 ใบปดน้าํ ฝน
4 เหล็กเสริมขอบยาง
5 รูยึดยางกับใบปดน้าํ ฝน

(2/5)

- 11 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของแผนรองจะมีความแตกตางกัน
ในรถยนตบางรุน รูปรางของแผนรอง
จะแตกตางกัน เนื่องจากทิศทางการ
โคงงอของแผนรองดานคนขับจะแตกตาง
จากดานผูโดยสาร ใหตรวจเช็คทิศทาง
ใหดีกอนทําการถอด

1 ยางปดน้าํ ฝน
2 เหล็กเสริมขอบยาง
A ดานคนขับ
B ดานผูโดยสาร

(1/1)

2. ติดตั้งยางปดน้ําฝน
(1)ประกอบเหล็กเสริมขอบยางเขากับ
ยางปดน้าํ ฝนในทิศทางที่ไดตรวจสอบ
ในระหวางทําการถอด
(2)สอดยางปดน้าํ ฝนเขาในกามยึดยาง
ปดน้าํ ฝน จนกระทั่งตําแหนงรองยึด
บนยางแตละรองถูกยึดทุกตําแหนง
(3)เลื่อนยางใหตาํ แหนงกามยึดยาง
อันแรกเกาะกับรองยึดใหถูกตอง

1 เหล็กเสริมขอบยาง
2 ยางปดน้าํ ฝน
3 ขายึด
4 รูยึดยางกับใบปดน้าํ ฝน
5 ขายึดตัวที่ 1

(3/5)

- 12 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

ชนิดไมมีเหล็กเสริมขอบยาง
1. ถอดยางปดน้ําฝน
(1)กดยางปดน้าํ ฝนลงไปในรองใหพอดี
และยื่นออกมาเล็กนอย และถอดยาง
ออกจากรู
(2)ดึงยางปดน้าํ ฝนออกจากรอง

1 ยางปดน้าํ ฝน
2 ใบปดน้าํ ฝน
3 รองของใบปดน้าํ ฝน
4 สันยางปดน้าํ ฝน

(4/5)

2. ติดตั้งยางปดน้ําฝน
(1)วางยางปดน้าํ ฝนลงในรูของใบปดน้าํ
ฝนในทิศทางที่ถูกตองและหันสันยาง
ปดน้าํ ฝนออกมา และดันเขาไปในรอง
(2)กดและล็อคยางปดน้าํ ฝนลงและติด
ปลายของยางปดน้าํ ฝนเขากับใบปดน้าํ
ฝน
ขอแนะนํา:
ปลายที่ยื่นออกมาจะแสดงถึงทิศทาง
ของยาง

1 รองของยางปดน้าํ ฝน
2 สันยางปดน้าํ ฝน

(5/5)

- 13 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

การประกอบใบปดน้ําฝน
1. ติดตั้งใบปดน้ําฝน
(1)สอดใบปดน้าํ ฝนเขาในกานแลวดันใบ
ปดใหเลื่อนขึ้นขางบน
ขอแนะนํา:
ดันใบปดเขาไปในเหล็กงัดจนกระทั่งได
ยินเสียงดัง "คลิก"
(2)วางใบปดน้าํ ฝนลงบนกระจกแลว
ทําการฉีดน้าํ กระจกและทดสอบการทํา
งานของใบปดเพื่อดูประสิทธิภาพของ
การปด

1 กานปดน้าํ ฝน
2 ใบปดน้าํ ฝน
3 กานล็อค

(1/1)

การเปลี่ยนหลอดไฟ รายละเอียดทั่วไป
ขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดไฟขึ้นอยูกับชนิด
ของหลอดและวิธีการที่ถูกติดตัง้ มา
1. ชนิดที่เปลี่ยนหลอดไฟโดยไมตอง
ถอดโคมไฟ
1 ี หลอดไฟหนา

2. ชนิดที่ตองถอดโคมไฟกอนทําการ
เปลีย่ นหลอดไฟ
2 หลอดไฟเลี้ยว

3. แบบถอดฝาครอบกอนแลวจึงทําการ
เปลีย่ นหลอดไฟ
3 หลอดไฟของแผงไฟดานทาย

4 ไฟเกง

(1/1)

- 14 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

ขอมูลอางอิง:
การเปลี่ยนหลอดไฟ
วิธีการถอดและการติดตั้งจะแตกตาง
กันไปตามชนิดของหลอดไฟ

1 ดึงและถอดออก
2 กดและหมุนออก
3 ถอดออกจากขั้วยึดทั้ง 2 ดาน

(1/1)

การเปลี่ยนหลอดไฟหนา
1. ถอดหลอดไฟหนา
(1)ถอดขอตอของไฟหนาออก
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)
(2)ถอดยางครอบในขณะที่ดึงตัวล็อคของ
ยางครอบ
(3)ปลอยสปริงยึดหลอดไฟออกและถอด
หลอดออก

1 ขอตอ
2 ยางครอบขั้ว
3 แถบดึง
4 สปริง
5 หลอดไฟหนา

- 15 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

ขอควรระวัง:
• ถาวางหลอดไฟเปนระยะเวลานาน
หลังจากถอดออกมาแลว อาจมีสิ่ง
แปลกปลอมหรือความชื้นเขาไปใน
เลนส เพื่อเปนการปองกัน
ใหเปลีย่ นอยางรวดเร็ว
• ถาเหงื่อไปโดนหลอดไฟอาจทําใหอายุ
การใชงานของหลอดไฟสั้น ดังนั้น
หามจับที่ตัวหลอดขณะทําการจับที่
หลอดไฟ
• การจับที่ตัวหลอดอยางรุนแรงอาจทํา
ใหหลอดแตกและไดรับอันตราย

6 ผา

(1/3)

2. ติดตั้งหลอดไฟหนา
(1)จัดใหฐานหลอดตรงกับรองเพื่อทํา
การติดตั้ง
ขอควรระวัง:
เมือ่ เปลี่ยนหลอดไฟใหม
จะตองใชหลอดที่มีวัตตเทาเดิม
(2)ล็อคหลอดไฟโดยการใชสปริงเกี่ยวไว
(3)ติดตั้งฝาครอบใหเครื่องหมาย "TOP"
อยูดา นบน
ขอควรระวัง:
1 ปกหลอดไฟ
ถาเครื่องหมาย "TOP" ไมอยูดานบน
2 สปริง
อาจมีนา้ํ เขาไปในหลอดได
3 ยางครอบขั้ว
4 ขั้วตอ (4)ตอขอตอของไฟหนา
ขอแนะนําการบริการ:
ปลั๊กตอ
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
54-57)

(2/3)

- 16 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

3. ตรวจสอบการทํางาน
ตรวจเช็ควาไฟติดเมื่อเปดสวิตชควบคุมไฟ
ใหญ

1 สวิตชควบคุมไฟใหญ

(3/3)

การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวขาง
1. ถอดตัวเรือนไฟเลี้ยวออก
เลื่อนหลอดไฟที่ตัวถังไปดานหนาของรถแ
ละถอดตะขอล็อค B ในขณะที่คลาย
ขอเกี่ยว A
ขอควรระวัง:
หามใชเครื่องมือ เชน ไขควง
ซึ่งอาจทําใหตัวถังเสียหาย
ขอแนะนํา:
เนื่องจากตําแหนงของขอเกี่ยวจะแตก
1 ไฟเลี้ยวขางตัวถัง 2 ขอตอ ตางกันไปตามรุนของรถยนต
3 หลอดไฟ 4 ขายึด ใหอา งอิงจากคูมือซอม
2. เปลี่ยนหลอดไฟ
(1)หมุนขอตอทวนเข็มนาฬิกาแลวดึงออก
(2)ดึงหลอดออกจากขอตอ
(3)ใสหลอดใหมเขาไปที่ขอตอ
(4)ใสขายึดของขั้วตอกับหลอดเขาดวย
กัน,หมุนตามเข็มนาฬิกาเพื่อทําการ
ล็อคและติดตัวโคมเขาที่ตัวถัง
(1/2)

- 17 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

3. ติดตั้งตัวเรือนไฟเลี้ยว
เกี่ยวขอเกี่ยว A ที่ตัวถังรถและกดขอเกี่ยว
A เขาที่ตัวถังในขณะที่ขอเกี่ยว B

ยึดเขาไป
4. ตรวจสอบการทํางาน
ตรวจเช็คการทํางานของไฟเลี้ยวเมื่อทําการ
เปดสวิตซไฟเลี้ยว

1 ไฟเลีย้ วขางตัวถัง

(2/2)

การเปลี่ยนหลอดไฟทาย
1. ถอดพลาสติกกันน้ําดานใน
ปลดขอเกี่ยวบริเวณฝาครอบหลังในหอง
เก็บของดานหลังและดึงฝาครอบออก
2. เปลี่ยนหลอดไฟ
(1)หมุนขอตอทวนเข็มนาฬิกาแลวดึงออก
(2)ดึงหลอดออกจากขอตอ
(3)เสียบหลอดใหมเขาที่ขอตอ
(4)ประกอบหลอดพรอมขอตอเขาไปที่
ตัวถัง

1 ฝาครอบชองสําหรับบริการ
2 แผนล็อคฝาครอบ
3 ขอตอ
4 หลอดไฟ
5 ขายึด
6 แผนเหล็กโคมไฟดานทาย

(1/2)

- 18 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

3. ติดตั้งฝาครอบชองบริการ
กดขายึดฝาครอบชองบริการบริเวณหอง
สัมภาระเพื่อลงล็อคใหแนน
4. ตรวจสอบการทํางาน
ตรวจเช็คการทํางานของหลอดไฟ
• ไฟหรี่
• ไฟเบรก
• ไฟฉุกเฉิน
• ไฟถอย

1 ฝาครอบชองสําหรับบริการ
2 แผนล็อคฝาครอบ

(2/2)

การเปลี่ยนหลอดไฟสองสวางหอง
โดยสาร
1. ถอดฝาครอบหลอดไฟสองสวาง
หองโดยสาร
ใชผาหรือเทปพันสายไฟพันที่ปลายไขควง
แลวงัดเอาฝาครอบออก
ขอแนะนําการบริการ:
คลิป / ขายึด
(ดู "ทักษะพื้นฐาน" ของ
"พื้นฐานการซอมใหญ" ใน PDF หนา
58-60)
1 ฝาครอบ
2 เทป ขอควรระวัง:
3 หลอดไฟ การพันเทปพันสายไฟที่ปลายไขควงจะ
เปนการปองกันไมใหชิ้นสวนเสียหาย
ขอแนะนํา:
เนื่องจากตําแหนงของขอเกี่ยวจะแตก
ตางกันไปตามรุนของรถยนต
ใหอา งอิงจากคูมือซอม
2. เปลี่ยนหลอดไฟ
(1)กดและเปดอีกดานหนึ่งของขั้ว
แลวถอดหลอดออก
(2)ในขณะประกอบ ใหกดขั้วดานหนึ่งเขา
ไปในรูกอนแลวคอยประกอบอีกดาน

- 19 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา
(1/2)

3. ติดตั้งฝาครอบหลอดไฟสองสวาง
หองโดยสาร
นําฝาครอบไปวางใหตรงตําแหนงของรองข
อเกี่ยวแลวกดลงไป
4. ตรวจสอบการทํางาน
(1)เปดสวิตชและตรวจเช็คการทํางาน
ของหลอดไฟ
(2)ปรับสวิตชไปที่ตาํ แหนง DOOR
และเปดประตูรถออก
หลอดไฟจะตองติด

1 ขายึด
2 ฝาครอบ

(2/2)

- 20 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา

คําถาม-1
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
ของเหลวที่ใชในแบตเตอรี่จะเปนสวนผสมของกรดเจือจาง ถาหากวา
1 ถูก ผิด
กระเด็นโดนเสื้อผาหรือผิวหนังจะตองลางออกดวยน้าํ อยางรวดเร็ว
แกสทีเ่ กิดขึ้นขณะที่ทาํ การชารจแบตเตอรี่จะเปนแกสไฮโดรเจนและออก
2 ถูก ผิด
ซิเจน ดังนั้น ถามีประกายไฟเกิดขึ้นอาจทําใหเกิดการระเบิด
ถาเติมน้าํ กลั่นมากเกินไป จะมีแกสเกิดขึ้นมากขณะที่ทาํ การ
3 ถูก ผิด
ชารจแบตเตอรี่และกระเด็นออกมามาก
ถาปริมาณน้าํ ยาในแบตเตอรีต่ า่ํ เกินไป ใหเติมดวยน้าํ เปลา
4 ถูก ผิด
จนกระทั่งไดระดับ
เมือ่ ทําการชารจแบตเตอรี่ขณะอยูบนรถยนต ใหถอดขั้วแบตเตอรี่
5 ถูก ผิด
ออกทั้งขั้วบวกและขั้วลบ

คําถาม-2
ขอความใดตอไปนี้ที่อธิบายเกี่ยวกับวิธีการชารจแบตเตอรี่ ไมถูกตอง?
1. ความชื้นบริเวณดานนอกแบตเตอรี่อาจเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดการคายประจุ ใหทาํ การเช็ดความชืน้
ออกดวยผาที่แหง
2. เมือ่ ทําการชารจแบตเตอรี่ ถาอุณหภูมิของน้าํ ยาสูงเกิน 45°C ใหทาํ การลดแรงดันที่ใชในการชารจลง
หรือหยุดชั่วคราว
3. ระยะเวลาในการชารจมาตรฐานสามารถคํานวณไดจากสูตรดานลาง
ระยะเวลาชารจ (H) = ความจุแบตเตอรี่ (AH) / กระแสที่ชารจ (A) * 1.2 ถึง 1.5
4. การชารจเร็วจะยืดอายุการใชงานของแบตเตอรี่

คําถาม-3
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด:

- 21 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
ถามีคราบน้าํ มันที่ตวั หลอดฮาโลเจนจะมีอายุการใชงานสั้น
1 ถูก ผิด
ดังนั้นหามจับที่ตัวหลอด
2 เมือ่ เปลี่ยนหลอดไฟใหม ใหใชหลอดที่มีวัตตสูงกวาเดิม ถูก ผิด
3 หลังจากเปลี่ยนหลอดแลว ใหตรวจเช็คการทํางานทุกครั้ง ถูก ผิด
ถาถอดหลอดไฟหนาออกมานานๆ อาจมีสิ่งแปลกปลอมหรือความชื้น
4 ถูก ผิด
เขาไปในหลอดไฟ ดังนั้น ใหเปลีย่ นอยางรวดเร็วหรือหาผามาปดไว
หลังจากเปลี่ยนหลอดไฟในหองโดยสาร ใหตรวจเช็คการทํางาน
5 ถูก ผิด
และดูวาจะตองไมมีปญหาเกิดขึ้น

- 22 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา ระบบไฟฟา
คําถาม-4
ใหทาํ เครื่องหมายลงในชองถูกถาขอความนั้นอธิบายถูกตอง หรือชองผิดถาขอความนั้นอธิบายผิด:
ขอ คําถาม ถูกหรือผิด คําตอบที่ถูกตอง
โดยทั่วไปแลว เมื่อทําการเปลี่ยนยางปดน้าํ ฝน เพื่อปองกันความเสียหาย
1 ถูก ผิด
กับตัวถัง ใหถอดออกมาพรอมๆ กับแขนปดน้าํ ฝนแลวเปลี่ยน
เมือ่ ยางปดน้าํ ฝนมีสภาพเกา ประสิทธิภาพในการปดจะลดลงหรืออาจ
2 ถูก ผิด
เปนสาเหตุทาํ ใหกระจกเสียหาย
3 ในยางปดน้าํ ฝนทีต่ ัวรอง ใหเปลี่ยนตัวรองดวยทุกครัง้ ถูก ผิด
4 ความยาวของยางปดน้าํ ฝนสามารถปรับไดโดยการตัดที่ยางดานที่ไมมรี ู ถูก ผิด
เมือ่ ยางปดน้าํ ฝนยังใหม จะเกิดรอยไดงาย ดังนั้นใหเปดปดน้าํ ฝน
5 ถูก ผิด
ทํางานบนกระจกแหงชั่วขณะ จนกระทัง่ มันทํางานลื่นขึ้น

คําถาม-5
ขอความใดตอไปนี้ที่อธิบายเกี่ยวกับขอควรระวังในการถอดใบปดน้าํ ฝนไดถูกตอง?
ก: เมื่อทําการถอดใบปดน้าํ ฝน เพื่อปองกันไมใหกระจกเกิดความเสียหาย ใหใชผาพันบริเวณปลายกานปดน้าํ ฝน
แลวคอยวางลงบนกระจกหนา
ข: การเปดใหปดน้าํ ฝนทํางานขณะถอดใบปดน้าํ ฝนออก หรือยกกานปดน้าํ ฝนขึ้นอาจเปนสาเหตุทาํ ใหกระจกหนา
หรือฝากระโปรงไดรับความเสียหาย
1. ขอ ก ถูก
2. ขอ ข ถูก
3. ถูกทั้ง 2 ขอ
4. ผิดทั้ง 2 ขอ

- 23 -
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา แบบทดสอบ
แบบทดสอบ
• ทําแบบทดสอบนี้หลังจากศึกษาแตละบทเรียนในหลักสูตรนี้จบแลว

• คลิกปุม “เริ่มทําแบบทดสอบ”

• พิมพคําตอบทั้งหมดของทานในแบบทดสอบบนหนาจอ

• หลังจากตอบคําถามทั้งหมดเสร็จแลว ใหคลิกที่ “ผลการทดสอบ” ที่ดานลางของจอ

• หนาตางใหมจะปรากฎบนจอคอมพิวเตอรจงพิมพใบคําตอบหลังจากกรอกรายละเอียดครบถวนแลว
จากนั้นนําเอกสารที่พิมพออกมานําสงครูฝก

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา แบบทดสอบ

คําถาม-1 จากรูปที่แสดงอยูจะเปนการวัดความตึงของสายพานโดยใชไมบรรทัด
ขอใดตอไปนี้คือแรงกดตามทิศทางหัวลูกศรที่ถูกตอง?

ก. 9.8 นิวตัน (1 กก.แรง) ข. 98 นิวตัน (10 กก.แรง)


ค. 196 นิวตัน (20 กก.แรง) ง. 490 นิวตัน (50 กก.แรง)

คําถาม-2 รูปที่แสดงอยูเปนเครื่องยนต 2Lขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับตําแหนงของ


เพลาขอเหวี่ยงที่ถูกตอง เมื่อทําการถอดสายพานไทมมิ่งที่ถูกตอง?

ก. ตําแหนง TDC ของสูบที่ 1


ข. ตําแหนง BDC ของสูบที่ 1
ค. ตําแหนงที่เพลาขอเหวี่ยงหมุนทวนเข็มนาฬิกา 90? จากตําแหนง TDC ของสูบ 1
ง. ตําแหนงที่เพลาขอเหวี่ยงหมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 จากตําแหนง BDC ของสูบ 1

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา แบบทดสอบ

คําถาม-3 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการขันกรองเชื้อเพลิงและสวิตชไฟเตือนในเครื่องยนตดีเซล
ที่ถูกตอง?

ก. ขันกรองเชื้อเพลิงและสวิตชไฟเตือนโดยใช SST
ข. ขันกรองเชื้อเพลิงและสวิตชไฟเตือนโดยใชมอื
ค. ขันกรองเชื้อเพลิงโดยใช SST และขันสวิตชไฟเตือนโดยใชมือ
ง. ขันกรองเชื้อเพลิงโดยใชมือและขันสวิตชไฟเตือนโดยใชคีมปากเลือ่ น

คําถาม-4 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนยางหุมเพลาขับที่ถูกตอง?
ก. เมือ่ ทําการถอดแยกลูกหมากปลายคันสงออกจากคอมา ใหใชคอนเคาะที่ลูกหมากปลายคันสง
ข. เมือ่ ทําการถอดเพลาขับออกจากชุดเกียร ใหคนหนึ่งจับเพลาขับเอาไวในขณะที่อีกคนถอดเพลาขับออก
โดยใช SST
ค. เมือ่ ทําการถอดลูกปนไทปอด ใหถอดโดยใชคอนเคาะที่ลูกปน
ง. เมือ่ ทาจาระบีที่ขอตอดานนอก ใหทาจาระบีทับจาระบีเกา

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา แบบทดสอบ

คําถาม-5 รูปที่แสดงอยูขอใดคือวิธีการสลับยางในรถวางเครื่องดานหนา, ขับหนา (FF)


โดยที่ใชยางขนาดเดียวกันทัง้ หมด และดอกยางอยูในทิศทางเดียวกันที่ถูกตอง?

ก. ข.

ค. ง.

ก. (ก) และ (ข) ข. (ก) และ (ค)


ค. (ข) และ (ค) ง. (ข) และ (ง)

คําถาม-6 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการถวงลอที่ถูกตอง?
ก. ถึงแมวายางจะมีการเสียรูป แตก็ยังสามารถถวงลอไดโดยไมมีปญหา
ข. เมือ่ ทําการถวงลอแบบที่ติดตั้งบนรถ เมื่อทําการติดน้าํ หนักถวงในจํานวนและในตําแหนงที่เครื่องถวงลอ
บอกแลว หามทําการจับที่นา้ํ หนักถวงในขณะที่ลออยูนอกรถ
ค. ในการถวงลอนั้น ถาตองการที่จะใหถวงเหมือนกับสภาพในการขับขี่
หามทําการลางเอาโคลนหรือสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ ออกจากลอ
ง. เมือ่ ทําการถวงลอแบบนอกรถ ใหตดิ น้าํ หนักถวงในตําแหนงที่แสดงบนเครื่องถวงลอและตรวจสอบ,
ปรับตั้งอีกครั้ง แตใหปรับโดยที่ไมตองเปลี่ยนตําแหนงน้าํ หนักถวงรวมทั้งจํานวนของน้าํ หนักถวงที่ติด
ในครั้งแรก

คําถาม-7 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับยางหุมแร็คพวงมาลัยที่ถูกตอง?
ก. ถอดสลักล็อคออกจากนัตหัวผาของลูกหมากปลายคันสงโดยที่ไมทาํ ใหเสียรูปเพราะมันสามารถนํากลับมา
ใชใหมได
ข. ในการติดตั้งลูกหมากปลายคันสงใหจัดเครื่องหมายที่ทาํ ไวกอนการถอดใหตรงกันและขันนัตล็อคใหได
ตามคาแรงที่กาํ หนดกอนปรับมุมโท-อิน
ค. เมือ่ ทําการขันนัตล็อคลูกหมากปลายคันสง ใหขันดวยคาแรงนอยกวาคากําหนดเล็กนอย เพราะอาจทําใหมันงอ
ง. เมือ่ ทําการติดตั้งยางหุมแร็คพวงมาลัย ใหพันเทปรอบปลายเกลียวเพื่อปองกันความเสียหายกับยางหุม

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา แบบทดสอบ

คําถาม-8 จงเลือกวาจะใชจาระบีชนิดใดทาที่ลูกยางเบรกของแมปมเบรก
ก. จาระบีทาลูกยาง
ข. จาระบีทาสไปน
ค. จาระบีเอนกประสงค
ง. จาระบีชวงลาง

คําถาม-9 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนฝกเบรกที่ถูกตอง?
ก. หลังจากที่ถอดดรัมเบรกออก ใหทาํ ความสะอาดเอาฝุนที่อยูภายในดรัมเบรกโดยใชหัวเปาลม
ข. ในการตรวจสอบสภาวะในการตรวจจับของผาเบรกเมื่อไมมีชอรกที่หนาสัมผัสระหวางผาเบรก
และจานดรัมเบรก ใหปรับผาเบรกและดรัมเบรกโดยใชกระดาษทรายขัด
ค. เมือ่ ตรวจพบวามีการสึกหรอไมเทากันของชิ้นสวนบนแผนยึดเบรก จะตองทําการเปลี่ยน
ง. การติดตั้งดรัมเบรกจะตองวัดเสนผาศูนยกลางภายใน และทําการปรับระยะเสนผาศูนยกลางของฝกเบรก
หลังใหนอยกวาเสนผาศูนยกลางภายในของดรัมเบรก 1 มม. แลวคอยทําการติดตั้ง

คําถาม-10 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการชารจแบตเตอรี่ที่ถูกตอง?
ก. เมือ่ ระดับน้าํ ยาในแบตเตอรีต่ า่ํ ใหเติมดวยน้าํ เปลา
ข. เมือ่ ทําการชารจแบตเตอรี่ ใหถอดเฉพาะขั้วลบของแบตเตอรี่ออก
ค. ในระหวางชารจแบตเตอรี่ จะตองทําการตรวจเช็คอุณหภูมขิ องน้าํ ยาในแบตเตอรี่จะตองไมเกิน 80°C
ง. ใหหยุดชารจแบตเตอรี่ทันทีในกรณีดงั ตอไปนี้:แรงดันไฟฟาหรือความถวงจําเพาะของแบตเตอรีไ่ มสูงขึ้น
มีแกสเกิดขึ้นมากเกินไป อุณหภูมิสูงเกินคากําหนด

คําถาม-11 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการชารจแบตเตอรี่ที่ถูกตอง?
ก. ถาน้าํ ยาอีเล็กโทรไลท (กรดเจือจาง) ในแบตเตอรี่กระเด็นโดนเสื้อผาหรือผิวหนัง ใหลางออกดวยน้าํ เปลาทันที
โดยใชนา้ํ มากๆ
ข. ในการชารจปกติ กระแสที่ใชสาํ หรับชารจจะใชครึ่งหนึ่งของคาความจุของแบตเตอรี่
ค. ในการชารจเร็ว กระแสที่ใชสาํ หรับชารจจะใชมากกวาการชารจปกติเปน 2 เทา
ง. ในการชารจเร็ว กระแสจะไหลในปริมาณที่มากจึงใชเวลาในการชารจสั้นลง
ดังนั้นจึงเปนการยืดอายุของแบตเตอรี่

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา แบบทดสอบ

คําถาม-12 ขอความใดตอไปนี้ที่อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนยางปดน้าํ ฝนที่ถูกตอง?


ก. เมือ่ ทําการถอดยางปดน้าํ ฝน ใหถอดกานปดน้าํ ฝนกอนแลวคอยถอดยางปดน้าํ ฝนออก
ข. ในขณะที่ใบปดน้าํ ฝนหรือยกกานปดน้าํ ฝนขึ้น ถาเปดใหปดน้าํ ฝนทํางานอาจทําใหกระจกหนาไดรับ
ความเสียหายหรือรวมทั้งฝากระโปรงหนา
ค. เมือ่ ทําการถอดยางปดน้าํ ฝนที่มีเหล็กเสริมขอบยาง มันจะถอดออกงายมากถาแผนเสริมขอบยางถูกดึง
ออกจากใบปดน้าํ ฝน
ง. เปนไปไมไดเลยที่จะถอดยางปดน้าํ ฝนออกโดยไมถอดเหล็กเสริมขอบยางตองทําการ เปลี่ยนใบปดน้าํ ฝนทั้งชุด

คําถาม-13 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการติดตั้งยางปดน้าํ ฝนและการตรวจสอบที่ถูกตอง?


ก. ความยาวของยางปดน้าํ ฝนสามารถปรับไดโดยการตัดที่ยางดานที่ไมมรี ู
ข. เมือ่ ทําการติดตั้งยางปดน้าํ ฝนพรอมเหล็กเสริมขอบยาง ใหติดตั้งเหล็กเสริมขอบยางกอนแลวคอย
ติดตั้งใบปดน้าํ ฝน
ค. เมือ่ ทําการติดตั้งยางปดน้าํ ฝนแบบไมมีเหล็กเสริมขอบยาง ใหใสยางเขาไปที่ใบปดน้าํ ฝนและใหปลายยื่น
ออกมาเล็กนอย
ง. เมือ่ เปลี่ยนยางปดน้าํ ฝนเสร็จแลว ใหใชทรายทาลงไปบนกระจก และตรวจเช็คการทํางานของปดน้าํ ฝน

คําถาม-14 ขอความใดตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนหลอดไฟที่ถูกตอง?
ก. การที่มีคราบน้าํ มันบริเวณขั้วหลอด อาจเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดการกัดกรอน ดังนั้นใหจับดานหลอดไฟ
ข. เมือ่ ทําการเปลีย่ นหลอดไฟใหม ใหใชหลอดที่มีวัตตเทากับหลอดเดิม
ค. เมือ่ ทําการเปลีย่ นหลอดไฟใหม ตองตรวจเช็คการทํางานทุกครั้ง
ง. หลังจากที่ถอดหลอดไฟออกมาแลว ทิ้งไวเปนระยะเวลานานๆอาจทําใหมีสิ่งแปลกปลอม
หรือความชื้นเขาไปดานใน ดังนั้นใหทาํ การเปลี่ยนอยางรวดเร็ว

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - งานซอมที่ทาํ ประจํา แบบทดสอบ

คําถาม-15 ประโยคตอไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับการเช็คการทํางานของหลอดไฟ และจากการอธิบายเปนการ


เช็คหลอดไฟอะไร?
“เลือ่ นเกียรไปในตําแหนงเกียรถอยและตรวจเช็คดูหลอดไฟจะตองติด”

ก. ไฟหนา
ข. หลอดไฟเลี้ยว
ค. ไฟเบรก
ง. ไฟถอย

-7-

You might also like