You are on page 1of 21

บทที่ ๒

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการทําโครงการวิจยั ครั้งนี้ คณะผูว ิจยั ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การสืบคนขอมูล


จากสถานที่ทอ งถิ่นตามขอบเขตของการวิจัย สามารถนําเสนอไดเปนขอ ๆ ดังนี้
๑ ประเทศไทยและภูมิภาคในประเทศไทย (Kingdom of Thailand & Region of
Thailand)
๒ ความหมายคําจํากัดความของเครื่องเรือน(Furniture Difinetion)
๓ หลักการออกแบบเฟอรนิเจอร (Furniture Design)
๔ การวิเคราะหการออกแบบ (Design Analysis)
๕ วัสดุพื้นถิ่นภาคกลาง (Vernacular of Middle Region of Thailand)

ประเทศไทยและภูมิภาคในประเทศไทย (Kingdom of Thailand & Region of Thailand)


ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย ตั้งอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีพรมแดนทางทิศตะวันออก
ติดลาวและกัมพูชา ทิศใตติดอาวไทยและมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและพมา และทิศเหนือติด
พมาและลาว โดยมีแมน้ําโขงกั้นเปนบางชวง

ภาพที่ ๒.๑ แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต (Google Earth EMI file. www.wikipedia)


ประเทศไทยเปนสมาชิกของสหประชาชาติ เอเปก และ อาเซียน มีศูนยรวมการปกครองอยูที่


กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนเมืองหลวงของประเทศ

ภาพที่ ๒.๒ แสดงที่ตั้งของประเทศไทย ที่มา(Google Earth EMI file. www.satsig.net)

ประวัติศาสตร
ประเทศไทยมีประวัติศาสตรยาวนานมากนับเริ่มแตการลมสลายของราชอาณาจักรขอมจักรวรรดิ
นครวัต นครธม เมื่อตนๆ คริสตศตวรรษที่ 13 โดยมีความสืบเนื่องและคาบเกี่ยวระหวางอาณาจักรโบราณ
หลายแหง เชน อาณาจักรทวารวดี ศรีวิชัย ละโว เขมร ฯลฯ โดยเริ่มมีความชัดเจนในอาณาจักรสุโขทัยตั้งแต
ป พ.ศ. 1781 อาณาจักรลานนาทางภาคเหนือ กระทั่งเสือ่ มอํานาจลงในชวงตนพุทธศตวรรษที่ 19 แลวความ
รุงเรืองไดปรากฏขึ้นในอาณาจักรทางใต ณ กรุงศรีอยุธยา โดยยังมีอาณาเขตที่ไมแนชดั ครั้นเมื่อเสียกรุงศรี
อยุธยาเปนครัง้ ที่สองในป พ.ศ. 2310 พระเจาตากสินจึงไดยายราชธานีมาอยูทกี่ รุงธนบุรี

ภาพที่ ๒.๓ แผนที่อาณาจักรขอม คริสตศตวรรษที่ 13 ทีม่ าหนังสือทองเที่ยวนครวัตนครธม


๑๐

ภาพที่ ๒.๔ อาณาจักรสุโขทัยตั้งแตป พ.ศ. 1781 อาณาจักรลานนาทางภาคเหนือ อาณาจักร


อยุธยา ที่มาหนังสือทองเที่ยวนครวัตนครธม
ภายหลังสิ้นสุดอํานาจและมีการสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเมื่อ พ.ศ. 2325 อาณาจักรสยามเริ่มมี
ความเปนปกแผน มีการผนวกดินแดนบางสวนของอาณาจักรลานชาง ครั้นในรัชกาลที่ 5 ไดผนวกดินแดน
ของเมืองเชียงใหม หรืออาณาจักรลานนาสวนลาง (สวนบนอยูบริเวณเชียงตุง) เปนการรวบรวมดินแดนครั้ง
ใหญครั้งสุดทาย วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ไดเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย

ภาพที่ ๒.๕ สถาปนากรุงธนบุรี และ กรุงรัตนโกสินทรเมื่อ พ.ศ. 2310-2325 อาณาจักรสยาม

ชื่อประเทศไทย
คําวา ไทย มีความหมายในภาษาไทยวา อิสรภาพ เสรีภาพ หรืออีกความหมายคือ ใหญ ยิ่งใหญ
เพราะการจะเปนอิสระไดจะตองมีกําลังทีม่ ากกวา แข็งแกรงกวา เพื่อปองกันการรุกรานจากขาศึก เดิม
ประเทศไทยใชชื่อ สยาม (Siam) แตไดเปลี่ยนมาเปนชื่อปจจุบัน เมื่อป พ.ศ. 2482 ตามประกาศรัฐนิยม
๑๑

ฉบับที่ 1 ของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ใหใชชื่อ ประเทศ ประชาชน และสัญชาติวา "ไทย" โดย


ในชวงตอมาไดเปลี่ยนกลับเปนสยามเมื่อป พ.ศ. 2488 ในชวงเปลี่ยนนายกรัฐมนตรี แตในที่สุดได
เปลี่ยนกลับมาชื่อไทยอีกครั้งในป พ.ศ. 2491 ซึ่งเปนชวงที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี
ในสมัยตอมา ชวงแรกเปลี่ยนเฉพาะชื่อภาษาไทยเทานั้น ชื่อภาษาฝรั่งเศส และอังกฤษคงยังเปน "Siam"
อยูจนกระทั่งเดือนเมษายน พ.ศ. 2491 จึงไดเปลี่ยนชื่อภาษาฝรั่งเศสเปน "Thaïlande" และภาษาอังกฤษ
เปน "Thailand" อยางในปจจุบัน อยางไรก็ตาม ชื่อ สยาม ยังเปนที่รูจกั แพรหลายทั้งในและ
ตางประเทศ.

ภาพที่ ๒.๖ ธงอาณาจักรสยาม รัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๓๙๘ และธงราชอาณาจักรไทย


รัชกาล ที่ ๖พ.ศ.๒๔๖๐

ภาพที่ ๒.๗ แสดงสวนที่เคยเปนอาณาจักรสยาม รัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๓๙๘ ภาพจาก bloggang.com


๑๒

การเมืองการปกครอง
เดิมประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย จนกระทั่งวันที่ 24 มิถุนายน
พ.ศ. 2475 คณะราษฎรไดทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ โดย
แบงอํานาจเปนสามฝาย ไดแก ฝายบริหาร ฝายนิติบัญญัติและฝายตุลาการ โดยฝายบริหารจะมี
นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนารัฐบาลซึ่งมากจากการแตงตั้ง ฝายนิติบัญญัติ ไดแก สภานิติบัญญัติแหงชาติ
และฝายตุลาการ คือ ศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครอง

คณะราษฎรฝายทหารบก

คณะราษฎรฝายทหารเรือ

ภาพที่ ๒.๘ คณะราษฎร พ.ศ.๒๔๗๕


ภาพประกอบ : สุพจน ดานตระกูล. พระปกเกลากับคณะราษฎร. กรุงเทพฯ : สถาบัน
วิทยาศาสตรสงั คม, 2544
๑๓

ปจจุบัน ประเทศไทยอยูภ ายใตการปกครองระบอบระบอบประชาธิปไตร ผสมผสานกับ


ระบอบเผด็จการทหาร แลวแตสถานการณของบานเมืองสุดทาย ๒๕๕๐ ประเทศไทยไดมีรัฐธรรมนูญ
ที่ผานการลงประชามติจากประชาชน พรอมที่จะมีการเลือกตั้งในปเดียวกัน

เขตการปกครอง

ประเทศไทยแบงเขตการบริหารออกเปน การบริหารราชการสวนภูมภิ าค ไดแกจังหวัด 75 จังหวัด


นอกจากนั้นยังมีการปกครองสวนทองถิ่น ไดแก กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด
เทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล สวน'สุขาภิบาล'นั้นถูกยกฐานะไปเปนเทศบาลทั้งหมดในป พ.ศ.
2542
นอกจากกรุงเทพมหานครแลว มีหลายเมืองที่มีประชากรอยูเปนจํานวนมาก (ขอมูลเดือนตุลาคม
พ.ศ. 2549 ของ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ) โดยเรียงลําดับตามตารางดานลาง โดยดูจากจํานวน
ประชากรในเขตเทศบาลและกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะแสดงประชากรในเขตเมืองไดอยางแทจริงนอกจากนีย้ ัง
มีการเรียงลําดับประชากรตามจังหวัดไดดังตอไปนี้

อันดับ จังหวัด จํานวนประชากร ภาค


1 กรุงเทพมหานคร 6,121,672 ภาคกลาง
2 นครราชสีมา 2,546,763 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3 อุบลราชธานี 1,774,808 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4 ขอนแกน 1,747,542 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
5 เชียงใหม 1,650,009 ภาคเหนือ
6 บุรีรัมย 1,531,430 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
7 อุดรธานี 1,523,802 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
8 นครศรีธรรมราช 1,504,420 ภาคใต
9 ศรีสะเกษ 1,443,975 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
10 สุรินทร 1,374,700 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
๑๔

ภูมิอากาศและภูมิประเทศ
ภูมิประเทศ

ภาพที่ ๒.๙ แสดงสภาพทางภูมิศาสตร ภาพจาก www.Google Earth.com and www.wikimedia.com

สภาพทางภูมิศาสตร

ประเทศไทยมีสภาพทางภูมศิ าสตรที่หลากหลาย ภาคเหนือประกอบดวยเทือกเขาจํานวนมาก จุดที่


สูงที่สุด คือ ดอยอินทนนท (2,576 เมตร) ในจังหวัดเชียงใหม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนที่ราบสูงโคราช
ติดกับแมน้ําโขงทางดานตะวันออก ภาคกลางเปนที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยา ซึ่งสายน้ําไหลลงสูอ าวไทย
ภาคใตมีจดุ ที่แคบลง ณ คอคอดกระแลวขยายใหญเปนคาบสมุทรมลายู
๑๕

ภาพที่ ๒.๑๐ แสดงสภาพทางภูมิศาสตร ภาคเหนือประกอบดวยเทือกเขาจํานวนมาก จุดที่สูงที่สุด


คือ ดอยอินทนนท (2, 576 เมตร) ในจังหวัดเชียงใหม ภาพจาก www.wikimedia.com

ภาพที่ ๒.๑๑ แสดงสภาพทางภูมิศาสตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนที่ราบสูงโคราชติดกับแมนา้ํ


โขงทางดานตะวันออก ภาพจาก www.wikimedia.com
๑๖

ภาพที่ ๒.๑๒ แสดงสภาพทางภูมิศาสตร ภาคกลางเปนที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยา ซึ่งสายน้ําไหลลงสู


อาวไทย ภาพจาก www.wikimedia.com

ภาพที่ ๒.๑๓ แสดงสภาพทางภูมิศาสตร ภาคใตมีจดุ ที่แคบลง ณ คอคอดกระแลวขยายใหญเปน


คาบสมุทรมลายู ภาพจาก www.wikimedia.com
๑๗

ภูมิอากาศ

ภูมิอากาศของไทยเปนแบบเขตรอน อากาศรอนที่สุดในเดือนเมษายน-พฤษภาคม โดยจะมีฝนตก


และเมฆมากจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตในชวงกลางเดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม สวนในเดือน
พฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคม อากาศแหง และหนาวเย็นจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ยกเวนภาคใต
ที่มีอากาศรอนชื้นตลอดทั้งป

ภาพที่ ๒.๑๔ แสดงสภาพทางภูมิอากาศ ภูมิอากาศของไทยเปนแบบเขตรอน ภาพจาก


www.wikimedia.com and www.google earth.com

ภาพที่ ๒.๑๕ แสดงสภาพทางภูมิอากาศ ประเทศไทยมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและหนาวเย็นจาก


ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือยกเวนภาคใตที่มีอากาศรอนชื้นตลอดทัง้ ป ภาพจากวิทยานิพนธออกแบบ
สถาปตยกรรมภายใน รศ.สด ๒๕๔๗
๑๘

เศรษฐกิจหลักของประเทศ

เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทองเที่ยว การบริการ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ถือเปนเศรษฐกิจ


หลักที่ทํารายไดใหกับคนในประเทศ โดยภาพรวมทางเศรษฐกิจอางอิงเมื่อ พ.ศ. 2546 มี GDP 5,930.4
พันลานบาท สงออกมูลคา 78.1 พันลานเหรียญสหรัฐ ในขณะทีน่ ําเขา 74.3 พันลานเหรียญสหรัฐ

ภาพที่ ๒.๑๖ เศรษฐกิจหลักของประเทศไทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทองเที่ยว

ภาพที่ ๒.๑๗ เศรษฐกิจหลักของประเทศไทย การบริการ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ภาพจากโรงแรม


แมนดาริน เชียงใหม และเกาะนางยวน

ในดานเกษตรกรรม ขาว ถือเปนผลผลิตที่สําคัญที่สุด เปนผูผลิตและสงออกขาว เปนอันดับหนึ่ง


ของโลก ดวยสัดสวนการสงออก รอยละ 36 รองลงมาคือ เวียดนาม รอยละ 20 อินเดีย รอยละ 18
สหรัฐอเมริกา รอยละ14 ปากีสถาน รอยละ 12 ตามลําดับ พืชผลทางการเกษตรอื่นๆ ไดแก ยางพารา ผักและ
ผลไมตางๆ มีการเพาะเลีย้ งปศุสัตวเชน วัว สุกร เปด ไก สัตวน้ําทั้งปลาน้ําจืด ปลาน้ําเค็มในกระชัง นากุง
๑๙

เลี้ยงหอย รวมถึงการประมงทางทะเล ป 2549 ไทยมีการสงออกกุงไปสหรัฐฯ 177, 717.29 ตัน มูลคา


45,434.57 ลานบาท

ภาพที่ ๒.๑๘ พันธุขาวจากกรมวิชาการเกษตร

ภาพที่ ๒.๑๙ ภาพยางพาราจากกรมวิชาการเกษตร

อุตสาหกรรมที่สําคัญ ไดแก อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส รถยนต


สวนทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญเชน ดีบุก กาซธรรมชาติ จากขอมูลป พ.ศ. 2547 มีการผลิตสิ่งทอมูลคา
211.4 พันลานบาท แผงวงจรรวม 196.4 พันลานบาท อาหารทะเลกระปอง 36.5 พันลานบาท สับปะรด
กระปอง 11.1 พันลานบาท รถยนตสวนบุคคล 2.99 แสนคัน รถบรรทุก รถกระบะ และอื่นๆ รวม 6.28 แสน
คัน จักรยานยนต 2.28 ลานคัน ดีบุก 694 ตัน กาซธรรมชาติ 789 พันลานลูกบาศกฟตุ น้ํามันดิบ]] 31.1 ลาน
บารเรล
๒๐

ภาพที่ ๒.๒๐ อุตสาหกรรมที่สําคัญในประเทศไทย อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร สิ่งทอ


อิเล็กทรอนิกส รถยนต ภาพจาก bangkokbiznews.com, gotoknow.org/file/pundalert, autoinfo.co.th

สวนดานการทองเที่ยว การบริการและโรงแรม ในป พ.ศ. 2547 มีนักทองเที่ยวรวม 11.65


ลานคน 56.52% มาจากเอเชียตะวันออกและอาเซียน (โดยเฉพาะมาเลเซียคิดเปน 11.97% ญี่ปุน
10.33%) ยุโรป 24.29% ทวีปอเมริกาเหนือและใตรวมกัน 7.02% สถานที่ทองเที่ยวทีส่ ําคัญไดแก
กรุงเทพมหานคร พัทยา ภาคใตฝงทะเลอันดามัน จังหวัดเชียงใหม

ภาพที่ ๒.๒๑ ดานการทองเที่ยว การบริการและโรงแรม ภาพจากโรงแรมแมนดาริน โอเรียนทอล เชียงใหม


๒๑

การคมนาคม

การคมนาคมในประเทศไทย สวนใหญประกอบดวย การเดินทางโดยรถยนต และ จักรยานยนต


ทางหลวงสายหลักในประเทศไทย ไดแก ถนนพหลโยธิน (ทางหลวงหมายเลข 1) ถนนมิตรภาพ (ทางหลวง
หมายเลข 2) ถนนสุขุมวิท (ทางหลวงหมายเลข 3) และถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) และยังมีทาง
หลวงพิเศษระหวางเมือง (มอเตอรเวย) ใน 2 เสนทางคือ มอเตอรเวยกรุงเทพฯ-ชลบุรี (ทางหลวงหมายเลข 7)
และถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร - ทางหลวงหมายเลข 9) นอกจากนี้ระบบ
ขนสงมวลชนจะมีการบริการตามเมืองใหญตางๆ ไดแกระบบรถเมล และรถไฟ รวมถึงระบบที่เริ่มมีการใช
งาน รถไฟลอยฟา และรถไฟใตดิน และในหลายพืน้ ที่จะมีการบริการรถสองแถว รวมถึงรถรับจางตางๆ
ไดแก แท็กซี่ เมลเครื่อง มอเตอรไซครับจาง และ รถตุกตุก ในบางพืน้ ที่ ที่อยูริมน้ําจะมีเรือรับจาง และแพ
ขามฟาก บริการ

ภาพที่ ๒.๒๒ เสนทางคมนาคมในประเทศไทย portal.rotfaithai.com

สําหรับการคมนาคมทางอากาศนั้น ปจจุบนั ประเทศไทยไดเปดใชทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งเปน


ทาอากาศยานที่มีขนาดตัวอาคารที่ใหญที่สุดในโลก และมีหอบังคับการบินที่สูงที่สุดในโลก ดวยความสูง
132.2 เมตร ซึ่งรองรับผูโดยสารได 45 ลานคนตอป โดยเปดอยางเปนทางการตั้งแตวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.
2549 ทดแทนทาอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ (ดอนเมือง) ที่เปดใชงานมานานถึง 92 ป
๒๒

ภาพที่ ๒.๒๓ การคมนาคมทางอากาศของประเทศไทย ที่มา google.com

สวนการคมนาคมทางน้ํา ประเทศไทยมีทา เรือหลักๆ คือ ทาเรือกรุงเทพ (คลองเตย) และ


ทาเรือแหลมฉบัง

ภาพที่ ๒.๒๔ การคมนาคมทางน้ําของประเทศไทย ที่มา google.com

การสื่อสาร

๑ ระบบโทรศัพทในประเทศไทยมีโทรศัพทพื้นฐาน 7.035 ลานหมายเลข (2548) และ


โทรศัพทมือถือ 27.4 ลานหมายเลข (2548)
๒ สถานีวิทยุ: คลื่นเอฟเอ็ม 334 สถานี , คลื่นเอเอ็ม 204 สถานี และ คลื่นสั้น 6 สถานี (2542)
โดยมีจํานวนผูใ ชวิทยุ 13.96 ลานคน (2540)
๓ สถานีโทรทัศน มี 6 ชองสถานี (โดยทุกชองสถานีแมขายอยูในกรุงเทพ) มีสถานีเครือขาย
ทั้งหมด 111 สถานี และจํานวนผูใชโทรทัศน 15.19 ลานคน (2540)
๔ รหัสโดเมนอินเทอรเน็ตใชรหัส th
๒๓

ภาพที่ ๒.๒๕ การสื่อสารของประเทศไทย ที่มา google.com

ชนชาติ

ในประเทศไทย ถือไดวา มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ มีทั้ง ชาวไทย ชาวไทยเชื้อสายลาว


ชาวไทยเชื้อสายมอญ ชาวไทยเชื้อสายเขมร รวมไปถึงกลุมชาวไทยเชือ้ สายจีน ชาวไทยเชื้อสาย
มลายู ชาวชวา(แขกแพ) ชาวจาม(แขกจาม) ชาวเวียด ไปจนถึงชาวพมา และชาวไทยภูเขาเผาตางๆ
เชน ชาวกะเหรี่ยง ชาวลีซอ ชาวอาขา ชาวอีกอ ชาวมง ชาวเยา รวมไปจนถึงชาวสวย ชาวกูบ ชาว
กวย ชาวจะราย ชาวระแดว ชาวขา ชาวขมุ ซึ่งมีในปจจุบนั ก็มีความสําคัญมาก ตอวิถีชีวิต และ
วัฒนธรรมไทยในปจจุบันประชากรชาวไทย 75% ชาวไทยเชื้อสายจีน 14% และอื่นๆ 11%

ภาพที่ ๒.๒๖ ปจจุบันประชากรชาวไทย 75% ชาวไทยเชือ้ สายจีน 14% และอื่นๆ 11%


๒๔

ศาสนา

ประมาณรอยละ 95 ของประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธซึ่งเปนศาสนาประจําชาติ(โดยพฤตินยั )
นิกายเถรวาท ศาสนาอิสลามประมาณรอยละ 4 (สวนใหญเปนชาวไทยทางภาคใตตอนลาง) ศาสนาคริสต
และศาสนาอืน่ ประมาณรอยละ 1

ภาพที่ ๒.๒๗ ศาสนาพุทธมีประชาชนนับถือมากที่สุดในประเทศไทย

การศึกษา

ในทางกฎหมาย รัฐบาลจะตองจัดการศึกษาใหขั้นพืน้ ฐานสิบสองป แตการศึกษาขั้นบังคับของ


ประเทศไทยในปจจุบันคือเกาป บุคคลทั่วไปจะเริ่มจากระดับชั้นอนุบาล เปนการเตรียมความพรอมกอนการ
เรียนตามหลักสูตรพื้นฐาน ตอเนื่องดวยระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน หลังจากจบการศึกษา
ระดับมัธยมตน สามารถเลือกไดระหวางศึกษาตอสายสามัญ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อศึกษาตอใน
ระดับมหาวิทยาลัย หรือเลือกศึกษาตอสายวิชาชีพ ในวิทยาลัยเทคนิค หรือพาณิชยการ หรือเลือกศึกษาตอใน
สถาบันทางทหารหรือตํารวจ
โรงเรียนและมหาวิทยาลัยในประเทศไทย แบงออกเปน 2 ประเภทหลักไดแก โรงเรียนรัฐบาล และ
โรงเรียนเอกชน และ มหาวิทยาลัยรัฐบาล และมหาวิทยาลัยเอกชน โดยโรงเรียนรัฐบาลและมหาวิทยาลัย
รัฐบาล จะเสียคาเลาเรียนนอยกวา โรงเรียนเอกชนและมหาวิทยาลัยเอกชน
๒๕

ภาพที่ ๒.๒๘ คนไทยเริ่มเรียนที่ อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลายและเขาศึกษาตอในระดับ


มหาวิทยาลัย หรือเลือกศึกษาตอสายวิชาชีพ

ภาษา

ภาษาไทย ประเทศไทยมีภาษาไทยเปนภาษาราชการ ภาษาพูดของคนไทยมีมาแตเมือ่ ไรยังไมเปนที่


ทราบแนชัด แตจากการสันนิฐานนาจะมีมากวา 4, 000 ปแลว สวนตัวอักษรนั้นเพิ่งมีการประดิษฐขึ้นอยาง
เปนทางการในสมัยสุโขทัยโดย พอขุนรามคําแหงมหาราช สวนภาษาอื่นที่มีการใชอยูบาง เชน ภาษาอังกฤษ
ภาษาจีน เปนตน

ภาพที่ ๒.๒๙ พอขุนรามคําแหงมหาราช ประดิษฐอกั ษรไทย


๒๖

ศิลปะและวัฒนธรรม

ศิลปะไทยมีลกั ษณะเฉพาะตัวคอนขางสูง โดยมีความกลมกลืนและคลายคลึงกับศิลปวัฒนธรรม


เพื่อนบานอยูบ าง แตดว ยการสืบทอดและการสรางสรรคใหม ทําใหศลิ ปะไทยมีเอกลักษณสูง

ภาพที่ ๒.๓๐ พระที่นั่งไอศวรรยทิพยอาสน พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระพุทธสิหง


และตูพระธรรม

จิตรกรรม งานจิตรกรรมไทยนับวาเปนงานศิลปะชั้นสูง ไดรับการสืบทอดมาชานาน มักปรากฏในงาน


จิตรกรรมฝาผนัง ตามวัดวาอาราม รวมทั้งในสมุดขอยโบราณ งานจิตรกรรมไทยยังเกี่ยวของกับงาน
ศิลปะแขนงอืน่ ๆ เชน งานลงรักปดทอง ภาพวาดพระบฏ เปนตน

ภาพที่ ๒.๓๑ ภาพจิตรกรรม และลวดลายและจิตกรรมฝาผนังที่วัดใหญสุวรรณราม จังหวัดเพชรบุรี


๒๗

ประติมากรรม เดิมนั้นชางไทยทํางานประติมากรรมเฉพาะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชน พระพุทธรูป เทวรูป โดยมี


สกุลชางตางๆ นับตั้งแตกอนสมัยสุโขทัย เรียกวา สกุลชางเชียงแสน สกุลชางสุโขทัย อยุธยา และกระทั่ง
รัตนโกสินทร โดยใชทองสําริดเปนวัสดุหลักในงานประติมากรรม เนื่องจากสามารถแกะแบบดวยขี้ผึ้ง
และตกแตงได แลวจึงนําไปหลอโลหะ เมือ่ เทียบกับประติมากรรมศิลาในยุคกอนนัน้ งานสําริดนับวา
ออนชอยงดงามกวามาก

ภาพที่ ๒.๓๒ พระพุทธรูป พระพิฆเนตร พระธรรม

สถาปตยกรรม สถาปตยกรรมไทยมีปรากฏใหเห็นในชัน้ หลัง เนื่องจากงานสถาปตยกรรมสวนใหญชํารุด


ทรุดโทรมไดงาย โดยเฉพาะงานไม ไมปรากฏรองรอยสมัยโบราณเลย สถาปตยกรรมไทยมีใหเห็นอยูใ น
รูปของบานเรือนไทย โบสถ วัด และปราสาทราชวัง ซึ่งลวนแตสรางขึ้นใหเหมาะสมกับสภาพอากาศและ
การใชสอยจริง

ภาพที่ ๒.๓๓ แสดงงานสถาปตยกรรมของไทย โบสถ วัด และปราสาทราชวัง

You might also like