You are on page 1of 105

การปฏิรปู วิทยาศาสตรศกึ ษา : กรณีศกึ ษาเวียดนาม

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ
สํานักนายกรัฐมนตรี
คํานํา

ในชวงทศวรรษที่ผานมาไดมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางรวดเร็วทาง
ดานเศรษฐกิจ อันเปนผลสืบเนื่องมาจากความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี
ประกอบกับมีการกํ าหนดกติกาในดานการคาเสรี ทํ าใหมีการแขงขันในระดับ
นานาชาติทสี่ งู ขึน้ ดังนัน้ ในปจจุบนั ประเทศตาง ๆ จึงพยายามสรางขีดความสามารถ
ในการแขงขัน ทัง้ ในดานการผลิตและการจัดการ โดยตระหนักดีวา คุณภาพของคน
นับเปนตัวแปรที่สําคัญที่สุดที่จะตัดสินความไดเปรียบในการแขงขัน โดยจะตองมุง
พัฒนาประชากรใหมีความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางเต็มที่
เปนทีน่ า เสียดายวา ในชวงทีผ่ า นมาประเทศไทยมิไดทมุ เทการดําเนินงาน
ใหกับการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางจริงจังเทาที่ควร จึงเกิดความ
ตกตําในด
่ านความสามารถในการแขงขันทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึง่ สวนหนึง่
มีรากฐานมาจากความออนแอในการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร และรวมไปถึงการ
สงเสริมผูม คี วามสามารถพิเศษทางดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ทําใหประเทศไทย
ขาดแคลนนักวิทยาศาสตรและนักวิจัย ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่จะเปนกําลัง
สํ าคัญในการสรางองคความรูและนวัตกรรมที่เปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ
ดังนั้น ในการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษาของไทย จึงไดมีการศึกษาวิจัยกรณีของ
ประเทศตาง ๆ ที่ประสบผลสํ าเร็จในดานนี้ ทั้งประเทศที่พัฒนาแลวและประเทศที่
กําลังพัฒนา เพื่อสรุปบทเรียนที่อาจเปนประโยชนตอระบบการศึกษาไทย
เอกสารการวิจัยฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของความพยายามที่จะนํ ากรณี
ตัวอยางของประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซึง่ มีขอ จํากัดทางดานงบประมาณ
แตสามารถอยูในระดับแนวหนาของโลกในดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางดาน
วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ จึงหวังวา
รายงานวิจัยฉบับนี้จะชวยเปนแรงผลักดันใหการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษามีความเปน
รูปธรรม
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ขอขอบคุณคณะผูวิจัย
ภายใตการนําของ ศาสตราจารย ดร.สิปปนนท เกตุทัต ทีไ่ ดใชความพยายามในการ
ศึกษาขอมูลจากแหลงตางๆ และการสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นกับนักการศึกษา
ของเวียดนาม ตลอดจนไดทําการวิเคราะหและจัดทําขอเสนอแนะที่เปนประโยชน
แกหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติการ รวมทั้งสื่อมวลชนที่มี
บทบาทสําคัญในการสรางความเขาใจใหกบั ประชาชนอยางทัว่ ถึง เพือ่ ใหทกุ ฝายให
ความรวมมือและสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาใหสําเร็จตอไป

(นายรุง แกวแดง)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ
คํานําของคณะผูวิจัย

นับตั้งแตประเทศไทยมีการจัดการศึกษาแบบสมัยใหมมากวา 100 ป
โดยการนําแนวคิดการจัดการศึกษาแบบตะวันตกมาใช มีการสงบุคลากรไปศึกษาใน
ตางประเทศ และสามารถผลิตนักวิชาการจํ านวนไมนอยที่มีสวนชวยในการพัฒนา
ประเทศ ระบบการศึกษาไดมีการพัฒนามาโดยลําดับ ในจังหวัดตาง ๆ มักจะมี
โรงเรียนประจําจังหวัดทีด่ ี นักเรียนมีคุณภาพสูง การเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนก็อยูในระดับที่เทียบเคียงกับประเทศตาง ๆ ไดดีพอสมควร
อยางไรก็ตาม ในระยะตอมาเมื่อประเทศไทยมีการขยายการศึกษา
อยางเรงรีบเพือ่ กระจายโอกาสทางการศึกษาใหไดอยางทัว่ ถึงและใหเกิดความเสมอภาค
แตไมไดเนนการสงเสริมทางดานคุณภาพเทาที่ควร ทําใหประเด็นทางดานคุณภาพ
การศึกษาเปนปญหาทีส่ าคั ํ ญของระบบการศึกษาในปจจุบนั เครือ่ งบงชีใ้ นเรือ่ งนีไ้ ดแก
การเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย นในระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษาของระดับนานาชาติ ซึง่ ประเทศไทยมีคะแนนเฉลีย่ อยูใ นกลุม ตํา่ นอกจากนี้
ในการแขงขันโอลิมปกวิชาการ นักเรียนไทยก็ยังประสบความสําเร็จในระดับที่ยังไม
นาพอใจ โดยเฉพาะในวิชาคณิตศาสตรและฟสิกส ซึ่งเปนการสะทอนถึงระบบที่ขาด
การสงเสริมผูท มี่ คี วามสามารถพิเศษอยางจริงจัง ในขณะทีบ่ างประเทศ เชน เวียดนาม
ถึงแมจะมีทรัพยากรคอนขางจํากัด และฐานะทางเศรษฐกิจดอยกวาประเทศไทย
แต ก ลับใหความสํ าคัญกับการสงเสริมผูที่มีความสามารถพิเศษและประสบความ
สําเร็จอยางงดงามในระดับนานาชาติ
คณะผูว จิ ยั จึงขอเสนอแนวความคิดวา ประเทศไทยไมมที รัพยากรมาก
เพียงพอที่จะลงทุนเพื่อสรางความเปนเลิศใหกับผูเรียนไดทั้งหมดทุกคน แตภายใต
ทรัพยากรทีม่ อี ยูน นั้ เราสามารถใหโอกาสแกคนทุกคนในการรับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ไดอยางทัว่ ถึง และจําเปนจะตองจัดสรรทรัพยากรอีกสวนหนึ่งเพื่อเปดโอกาสใหผูที่มี
ความสามารถพิเศษไดรับการพัฒนาอยางเต็มตามศักยภาพ โดยถือเปนหนาทีข่ อง
รัฐที่จะวางระบบการสรรหา การสงเสริมผูที่มีความสามารถพิเศษใหครบวงจรและให
เปนผูนําในการสรางองคความรูเพื่อการพัฒนาประเทศ ทีส่ ามารถพึง่ พาตนเองไดใน
ระยะยาวและยัง่ ยืนตอไป

คณะผูวิจัย
i

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ระหวางวันที่ 10-16 กันยายน 2543 ศาสตราจารย ดร.สิปปนนท เกตุทตั กรรมการ


ผูท รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และประธานกรรมการสถาบันสงเสริม
การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หัวหนาคณะนักวิจัยโครงการปฏิรปู วิทยาศาสตร
ศึกษา : กรณีศกึ ษาเวียดนาม ไดเดินทางไปเก็บรวบรวมขอมูล ณ ประเทศสาธารณรัฐ
สังคมนิยมเวียดนาม พรอมดวยคณะนักวิจยั อีก 5 ทาน อันประกอบดวย ดร.ธงชัย ชิวปรีชา
ผูอ านวยการสถาบั
ํ นสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน
ผูอ านวยการสํ
ํ านักพัฒนานโยบายและวางแผนการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ (สกศ.) รศ. สุชาตา ชินะจิตร ผูอ านวยการฝ ํ าย 3 สํานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย ผศ.ดร. อุษณีย โพธิสุข ผูอํานวยการศูนยแหงชาติเพื่อการพัฒนา
ผูมีความสามารถพิเศษ สกศ. และอาจารยสมพงษ รุจิรวรรธน ผูอ ํานวยการโรงเรียน
สวนกุหลาบวิทยาลัย เพือ่ ศึกษาวิจยั ดานการจัดการศึกษาสําหรับผูม คี วามสามารถพิเศษ
ทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีของประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยม
เวียดนาม โดยมีอาจารยเหงียน จิ ธง อาจารยพเิ ศษจากสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยเปนผูป ระสานงานการวิจยั และทําหนาทีล่ า ม การเดินทางไปศึกษาวิจยั ครั้งนี้
คณะนักวิจัยไดไปศึกษาขอมูลจากสถานศึกษา มหาวิทยาลัยและสถาบันวิชาการตาง ๆ
ทัง้ สิน้ 10 แหง ตามรายละเอียดในภาคผนวก
สรุปสาระสําคัญที่ไดจากการศึกษาวิจัยมีดังตอไปนี้
1. สังคมเวียดนามเปนสังคมทีส่ ง เสริมคนเกงหรือผูม คี วามสามารถพิเศษมาแตโบราณ
จนกลายเปนวัฒนธรรมอยางหนึง่ ของเวียดนาม การแขงขันสอบเปนจอหงวนของเวียดนาม
ในสมัยโบราณ ไดสะทอนถึงวัฒนธรรมนี้ จนมีเรื่องเลาหรือนิทานปรัมปราเกี่ยวกับเรื่อง
การแขงขัน การยกยองชืน่ ชม และความผิดหวังของผูสอบจอหงวนเปนจํานวนมาก
ปจจุบันสังคมและประชาชนเวียดนามทุกคนไมวาจะยากดีมีจน ชาวไรชาวนาหรือ
นักวิชาการก็ยังสงเสริม สนับสนุนและชื่นชมกับคนเกงหรือคนที่มีความสามารถพิเศษ
โดยเฉพาะทางดานคณิตศาสตร จึงทําใหประเทศเวียดนามประสบความสําเร็จในการ
แขงขันทางวิชาการระดับนานาชาติทางดานนีเ้ ปนประจํา
2. ทั้ง ๆ ที่เวียดนามมีปญหาเศรษฐกิจและปญหาการศึกษาทั่วไปสํ าหรับมวลชน
แตเวียดนามไดใหความสําคัญตอการสรรหาและสงเสริมผูท ม่ี คี วามสามารถพิเศษ เพือ่ สราง
ผูน าทางวิ
ํ ชาการในระยะยาว โดยเฉพาะทางดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรมาเปน
ii

เวลานาน แมประเทศจะตกอยูในภาวะสงคราม ทําใหมีปญหาทางเศรษฐกิจ แตเมื่อ


สงครามยุติ เวียดนามก็ไมไดลดความสําคัญของการจัดการศึกษาสํ าหรับผูที่มีความ
สามารถพิเศษดังกลาว พอแม ชุมชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย ชาวบาน ตลอดจนครู
อาจารย มีความเชื่อและเห็นวาเรื่องนี้เปนเรื่องที่มีความสํ าคัญ จึงไดชวยและสงเสริม
ซึ่ งกันและกัน ทํางานดวยใจ ดวยความรูสึกเองวาเปนเรื่องที่มีความสําคัญ เปนเรื่องที่
ตองทํา ไมทําไมได จึงทําใหเวียดนามประสบความสําเร็จในการจัดการศึกษาสําหรับผูมี
ความสามารถพิเศษนีเ้ ปนอยางสูง มีนกั วิชาการระดับโลกโดยเฉพาะทางดานคณิตศาสตร
มีชาวเวียดนามทํางานคนควาวิจยั อยูท ง้ั ในเวียดนาม ในมหาวิทยาลัยและในศูนยวิชาการ
ชั้นนําของโลกหลายแหง
3. ระบบการศึกษาของเวียดนามไดมีการสรรหาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษ
อยางเปนระบบ ตัง้ แตระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย
โดยมีการจัดชัน้ เรียนพิเศษ และโรงเรียนพิเศษใหนักเรียนเหลานี้ไดเรียนกับครูที่ดีที่สุด
มาตั้งแตป พ.ศ. 2508 ทุกตําบล ทุกอําเภอ ทุกจังหวัด จะมีโรงเรียนสําหรับผูมีความ
สามารถพิเศษ แมรัฐจะไมไดสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรใหมากนัก ชุมชน โรงเรียนและ
ครูกส็ มัครใจที่จะสรรหาและจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษขึ้นเอง ครูตง้ั ใจ
และเต็มใจสอนเพราะมีความรักในวิชานั้น อยากสอนและถายทอดใหกับคนเกง พอแม
ผูปกครอง และชุมชนสนับสนุนเพราะเปนวัฒนธรรมของเวียดนามที่ชอบสงเสริมและ
ชื่ นชมคนเกง การแขงขันทางวิชาการโดยเฉพาะในวิชาคณิตศาสตร และวรรณคดี ไดจัด
ใหมานานแลวในทุกระดับการศึกษา ตั้งแตประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย
และในทุกระดับพื้นที่ไดแก ระดับตําบล อําเภอ จังหวัด ประเทศ และนานาชาติ ใน
ปจจุบันไดเพิ่มวิชาเหลานี้ในการแขงขันดวยคือ ฟสิกส เคมี ชีววิทยา สารสนเทศ
(คอมพิวเตอร) และภาษาตางประเทศ
4. นับแตป พ.ศ. 2540 เปนตนมา รัฐมีนโยบายพิเศษสงเสริมและสนับสนุนการจัด-
การศึกษาสํ าหรับผูมีความสามารถพิเศษเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเทานั้น
อยางไรก็ตามในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน แมรัฐจะไมมีนโยบายพิเศษ
ในการสงเสริมและสนับสนุน โรงเรียน ตําบล อําเภอ และจังหวัดก็ยังมีความสนใจจัด
สงเสริมกันเอง
5. ในทุกจังหวัด (61 จังหวัด) จะมีโรงเรียนที่จัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถ
พิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดละ 1 โรงเรียน และจะมีโรงเรียนอีก 3 โรงเรียน
ที่จัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษในเขตภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต ซึ่ง
ตั้งอยูท ก่ี รุงฮานอย เว และโฮจิมินหซิตี้ ตามลําดับ โรงเรียนเหลานี้จะมีนักเรียนทั้งสอง
iii

กลุม คือ นักเรียนปกติและนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ นักเรียนผูมีความสามารถ


พิเศษจะถูกคัดเลือกแยกเปนรายวิชาเปนผูม คี วามสามารถพิเศษทางดานใด โดยทัว่ ๆ ไป
จะแยกเปน 8 วิชา คือ คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ชีววิทยา สารสนเทศ (คอมพิวเตอร)
ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษารัสเซีย นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษดานใดก็
จะเรียนเพิ่มในวิชานั้น ๆ เชน คณิตศาสตร ก็จะเรียนเพิ่มและลึกในวิชาคณิตศาสตร
ตลอดระยะเวลา 3 ป (grade 10-12) สวนวิชาอื่นๆ จะเรียนตามหลักสูตรปกติ ซึ่ง
สวนใหญนกั เรียนเหลานีม้ กั จะเรียนวิชาอืน่ ๆ ทุกวิชาไดเร็วกวาปกติ จึงทําใหมเี วลาเหลือ
ในการเรียนวิชาเฉพาะของตนเองมากขึ้น นักเรียนผูมีความสามารถพิเศษที่มีภูมิลําเนา
หางไกล โรงเรียนจะมีหอพักใหอยู และนักเรียนจะไดรับทุนการศึกษาดวย รัฐจะลงทุนให
กับนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษมากกวานักเรียนปกติทั่วไป และคัดเลือกครูดีครูเกง
ไปสอนนักเรียนเหลานี้เปนพิเศษ จํานวนนักเรียนตอหองจะประมาณ 30 คน ในขณะที่
โรงเรียนปกติจะมีนักเรียนมากกวา คือ 45 คนตอหอง ครูที่สอนนักเรียนที่มีความสามารถ
พิเศษเหลานีจ้ ะมีชวั่ โมงสอนนอยกวาครูปกติทวั่ ไป (สอนนักเรียนปกติ 1.5 ชัว่ โมง เทากับ
สอนนักเรียนผูม คี วามสามารถพิเศษ 1 ชัว่ โมง) ครูปกติสอนมากกวา 18 ชัว่ โมงตอสัปดาห
ครูสอนผูมีความสามารถพิเศษจะสอนนอยกวา 12 ชั่วโมงตอสัปดาห และโรงเรียนยัง
จะจัดหาสวัสดิการพิเศษใหกับครูเหลานี้ดวย โรงเรียนเหลานี้นอกจากไดรับการสนับสนุน
เปนพิเศษจากรัฐแลว จะไดรับการสนับสนุนจากชุมชนและพอแมผูปกครองอีกดวย
6. นอกจากโรงเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษดังกลาวในขอ 4 แลวรัฐยังอนุญาต
ใหมหาวิทยาลัย จัดการศึกษาสําหรับผูม คี วามสามารถพิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
อีกดวย คณะไดไปศึกษาวิจัยที่ Hanoi University of Science1 และ Hanoi University of
Pedagogy ทั้งสองมหาวิทยาลัยนี้มีโรงเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ ระดับมัธยม
ศึกษาตอนปลาย ทางดานคณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ชีววิทยา และสารสนเทศ
(คอมพิวเตอร) ของตนเอง โรงเรียนเหลานี้จะเปนภาควิชา (Department) หนึ่งในคณะ
วิชา (Faculty) นั้น ๆ เชน ในคณะวิชาคณิตศาสตร กลศาสตร และสาร-สนเทศ (Faculty
of Mathematics Mechanics-Informatics) ของ Hanoi University of Science
ประกอบดวย ภาควิชา (Department) ตาง ๆ ดังนี้
1. Algebra
2. Topology and Geometry
3. Informatics

1
มหาวิทยาลัยนีเ้ ปนสวนหนึง่ ของ Vietnam National University
iv

4. Analysis
5. Computational and Applied Mathematics
6. Probability and Statistics
7. Mechanics
8. Bio-mathematics
9. High School for Gifted Students in Mathematics and Informatics (ขณะนี้มี
นักเรียน 560 คน)
คณะวิชาฟสิกส ก็จะมี High School for Gifted Students in Physics เปนภาค
หนึง่ เชนเดียวกันกับคณะวิชาเคมีและคณะวิชาชีววิทยา และ University of Pedagogy
ก็จะมีโรงเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ เชนเดียวกัน
โรงเรียนสังกัดมหาวิทยาลัยเหลานี้จะรับเฉพาะนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ
เทานั้น ไมรับนักเรียนปกติ ซึ่งจะรับนักเรียนจากทั่วประเทศ และใหเปนนักเรียนประจํา
ไดรับทุนการศึกษาทุกคน สอนโดยอาจารยมหาวิทยาลัยเกือบทั้งหมด และนับชั่วโมง
การสอนในโรงเรียนนี้เปนชั่วโมงสอนปกติของอาจารยมหาวิทยาลัยดวย อาจารยใน
มหาวิทยาลัยจะสอนเด็กเหลานีด้ ว ยความเต็มใจและรักทีจ่ ะสอน มหาวิทยาลัยจะสนับสนุน
คาใชจา ยในการจัดการศึกษาสําหรับผูม คี วามสามารถพิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
นี้ เทากับนิสิต/นักศึกษาคนหนึ่งของมหาวิทยาลัย
7. มูลเหตุจูงใจอยางหนึ่งที่มีการตั้งโรงเรียนสํ าหรับผูมีความสามารถพิเศษในคณะ
วิชาของตนเอง ก็เพื่อจูงใจใหนักเรียนเกง ๆ มาเรียนในคณะวิชาของตนเองใหมากขึน้
นักเรียนเหลานี้จะเขาเรียนตอในคณะวิชานั้น ๆ โดยไมตองสอบแตถาไปเรียนตอวิชาอื่น
จะตองสอบเขาเชนเดียวกับนักเรียนปกติทั่วไป ครูอาจารยในคณะวิชานั้น ๆ จึงรับสอน
นักเรียนเหลานี้อยางเต็มใจ ในอดีตแมไมไดมีโรงเรียนในคณะวิชาของตนเอง ก็ตอ งไป
สอนใหกบั นักเรียนในโรงเรียนตาง ๆ เพื่อเตรียมตัวเขาแขงขันในระดับประเทศและระดับ
นานาชาติอยูแลว นอกจากนั้นความสําเร็จของลูกศิษยของตนเองในการแขงขันระดับ
ตาง ๆ ทั้งระดับประเทศและนานาชาติ ก็เปนแรงจูงใจสําคัญใหศาสตราจารยในคณะวิชา
เหลานั้นทุมเทใหกับนักเรียนเหลานี้อยางเต็มที่ ชัยชนะของลูกศิษยกถ็ อื เปนความภูมใิ จ
ของศาสตราจารยนั้น ๆ
8. หลักสูตรการศึกษาสําหรับผูม คี วามสามารถพิเศษทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร
ของเวียดนาม สวนใหญโรงเรียนจะจัดทําเองในรายละเอียด กระทรวงศึกษาธิการจะ
กํ าหนดกรอบกวาง ๆ เทานั้น อาจารยผูสอนนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ ถาเปน
โรงเรียนสังกัดมหาวิทยาลัย จะสอนโดยอาจารยคณะวิชานั้น ๆ ถาเปนโรงเรียนสังกัด
v

จังหวัด ผูส อนจะตองจบปริญญาตรี (สวนใหญจบโปรแกรมเกียรตินยิ ม) ในสาขาวิชานัน้ ๆ


เปนอยางนอย จะไมจบทางการศึกษาแบบประเทศไทย ครูเหลานีถ้ า จะเรียนตอปริญญา
โทหรือเอกก็จะเรียนตอสาขาวิชานั้น ๆ ไมเรียนตอทางการศึกษา โรงเรียนเหลานี้มีผูจบ
ปริญญาเอกและโทสอนอยูด ว ยจํานวนไมนอ ย (เทาทีไ่ ปศึกษาขอมูลจาก 3 โรงเรียนมี
ประมาณมากกวา 15%)
9. การดําเนินงานในดานการสงเสริมผูท มี่ คี วามสามารถพิเศษของเวียดนาม มีอาจารย
บางทานทีใ่ หการตอนรับคณะผูว จิ ยั แสดงความเห็นวา ยังมีจดุ ออนคือ การขาดนโยบายที่
ชัดเจนและเปนการจัดการศึกษาที่ขาดความตอเนื่อง ไมมีการรับชวงตอระหวางระดับ
การศึกษาตาง ๆ จนถึงระดับหลังปริญญาตรีและการประกอบอาชีพ อยางไรก็ตามอาจารย
ในคณะวิชาตาง ๆ ทีร่ ว มอยูใ นโครงการนีก้ ท็ าด
ํ วยความเต็มใจตามกําลังความสามารถ โดย
ทั่ว ๆ ไปแลวคณบดีจะเปนอาจารยใหญของโรงเรียนอีกตําแหนงหนึ่งดวย ขณะนี้ใน
มหาวิทยาลัยหลายแหง เชน Hanoi University of Science ไดจัดใหมีปริญญาตรี
โปรแกรมพิเศษ (Honour Program) สํ าหรับนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษเหลานี้
ดวย (ดูแผนภาพประกอบดานลาง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแหงเมืองโฮจิมินห ก็กํ าลัง
จะทําใหมปี ริญญาตรีโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนผูม คี วามสามารถพิเศษเหลานี้เชนกัน
EDUCATIONAL PROGRAMMES AND
ACADEMIC DEGREES
G A OFS AHANOI SCIENCE UNIVERSITY
Doctoral Courses Dr. Courses (2 years)
4 years M.Sc. Courses (2 years)

Training Prog. Honour Training Prog.


Training Prog.
for B.Sc. Programme for for B.E. Training Prog.
for Assoc. B.Sc.
2.5 Special- Talented B.Sc. Special- 2.5 for Assoc. B.E.
Vocational 2 years ized 4 years ized years 2 Vocational
Training years Courses Courses years Training
Basic 1 1.5 Basic Educational Basic 1.5 1 Basic
Science year years Science Programme for Science years year Science
Gifted High
School Students

ทีม่ า : Asian Higher Education : an International Handbook and Reference


Guide,1997, p.364.
vi

10. การคัดเลือกและสรรหานักเรียนผูม คี วามสามารถพิเศษในดานใด เชน คณิตศาสตร


ก็ จ ะดู ผ ลการเรี ย นและผลการแข ง ขั น ความสามารถด า นคณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย น
ผูนั้นในอดีตเปนหลัก แลวจึงทํ าการสอบดวยขอสอบ ซึ่งจะเปนขอสอบแบบอั ตนัย
เปนหลัก การสอบทุกประเภท ทุกระดับ ทุกวิชา จะเปนขอสอบแบบใหนักเรียนเขียนตอบ
หรือแสดงวิธที าํ ไมมขี อ สอบแบบเลือกตอบหรือใหกาถูกกาผิดเหมือนประเทศไทย ขอสอบ
เขามหาวิทยาลัยก็เชนเดียวกัน ซึ่งจะตองใชผูตรวจจํานวนมากและใชเวลาตรวจนาน
(มากกวาหนึ่งเดือน) กลาวไดวาเวียดนามคัดเลือกนักเรียนโดยใชขอสอบแบบอัตนัย
เปนหลัก ยังไมไดใชกระบวนการสอบวัดดวยเครื่องมือและวิธีการอื่น ๆ
11. วัฒนธรรมของเวียดนามชอบการแขงขันทางวิชาการ ยกยองคนเกง ทุกคนใฝรู
ใฝเรียน ไมวาจะเปนคนยากดีมีจน ชาวไร ชาวนา หรือกรรมกร ลวนสนใจในการเรียน
ทัง้ สิ้น มีนิสัยชอบเอาชนะปญหาที่ทาทาย ประกอบกับมีการสรรหาและสงเสริมผูมีความ
สามารถพิเศษ มาตั้งแตชั้นตน ๆ และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจะมีชั้นเรียนพิเศษ
หรือโรงเรียนพิเศษเฉพาะทาง นักเรียนจึงมีโอกาสฝกฝน เรียนรูวิชาเฉพาะทาง ไมวาจะ
เปน คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ชีววิทยา และสารสนเทศ (คอมพิวเตอร) อยางนอยไมต่ํา
กวา 3 ป ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เวียดนามจึงประสบความสําเร็จในการแขงขัน
โอลิมปกวิชาการมากกวาประเทศไทย เพราะประเทศไทยยังไมมีโครงการสงเสริมผูมี
ความสามารถพิเศษอยางเปนรูปธรรม นักเรียนไทยไดรับโอกาสฝกฝนกอนจะไปแขงขัน
โอลิมปกเพียง 6 – 7 สัปดาห และมีโอกาสชนะการแขงขันไดบาง ก็คงจะตองชื่นชม
นักเรียนไทยของเรา ไมใชไปสรางกระแสวาเด็กไทยสูเด็กเวียดนามไมได ทั้ง ๆ ที่
ขอเท็จจริงไมไดเปนเชนนั้น ที่เราไมไดเหรียญในการแขงขันมาก ๆ ควรจะตองตําหนิที่
ประเทศไทยไมมีนโยบายสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษที่เปนรูปธรรมมากกวา
12. การจะไดประกาศนียบัตรจบชั้นประถมศึกษา หรือจบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน
นักเรียนทุกคนตองสอบขอสอบของจังหวัด และตองสอบขอสอบของประเทศ สําหรับการ
จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทํานองเดียวกันกับประเทศไทยในอดีต
และเปนขอสอบแบบอัตนัย การสอบขอสอบในระดับรัฐ จังหวัด หรือประเทศ เพื่อจบ
การศึกษาระดับตาง ๆ นี้ ยังทํากันอยูใ นหลายประเทศ ทัง้ อังกฤษ ออสเตรเลีย เยอรมัน
มีประเทศไทยเทานั้นที่ยกเลิกไป เพราะไปตามแนวความคิดจากอเมริกา จึงนาจะไดมี
การทบทวนในเรือ่ งนีอ้ ยางจริงจัง
13. เวียดนามสามารถจัดการศึกษาในระดับหลังปริญญาตรีไดมากกวาไทยมาก ใน
แตละป เวียดนามจะมีนักศึกษาเขาศึกษาในระดับปริญญาเอกประมาณ 1,000 คน
เฉพาะในคณะวิชา คณิตศาสตร ฟสิกส และ เคมี ของ Hanoi University of Science
vii

ปจจุบันมีนักศึกษาปริญญาเอกประมาณ 15, 36 และ 42 คน ตามลําดับเมื่อเทียบกันแลว


ประเทศเวียดนามผลิตกําลังคนระดับปริญญาเอก ทางวิทยาศาสตรไดมากกวาประเทศไทย
จํ านวนมาก กําลังคนระดับสูงทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเวียดนาม จึงมี
จํานวนมากกวาไทย ขณะนี้เวียดนามมีแผนจะพัฒนาซอฟตแวรสงออกใหได โดยตั้ง
เปาหมายวาภายในป พ.ศ.2548 จะขายใหไดในมูลคาไมตํ่ากวา US $ 500 ลาน ซึ่งก็มี
ความเปนไปไดสูงเพราะเวียดนามมีกําลังคนดานนีพ้ รอมมาก

จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีแนวคิดและขอเสนอแนะสําหรับประเทศไทย ดังตอไปนี้
1. การจัดการศึกษาสํ าหรับผูมีความสามารถพิเศษมิใชเปนการจัดการศึกษา
สํ าหรับชนชั้น แตเปนการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลให
ไดรับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพที่ไดกํ าหนดไวในรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ
2. การจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ เปนการสรางผูนําและขุม
กําลังทางวิชาการใหกับประเทศ โดยเฉพาะตองปลูกฝงความรับผิดชอบตอสังคมดวย
สังคมตองลงทุนใหกับบุคคลเหลานี้มากเปนพิเศษในระยะตน แตผลงานที่บุคคลเหลานี้
จะสรางสรรคใหกับประเทศชาติตอไปในอนาคตจะมีมูลคามหาศาล
3. ในโลกแหงการแขงขันอยางเสรีในปจจุบัน ทางรอดของประเทศไทยคือ การ
สรางผูน าและขุ
ํ มกําลังทางวิชาการดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ในปริมาณเพียงพอที่จะทํ าการคนควาวิจัยองคความรูและเทคโนโลยีตางๆ
เพื่อการพัฒนา ลดการพึ่งพาจากตางประเทศ ทํ าใหประเทศสามารถพัฒนาอยาง
ยั่งยืนอยูในสังคมโลกอยางมีศักดิ์ศรีและทัดเทียมกัน
4. การพัฒนาผูน าและขุ
ํ มกําลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตองพัฒนาอยาง
สมดุล โดยอยูบ นฐานของความสามารถดานภาษา วรรณคดีและประวัตศิ าสตร เพียงพอ
ที่จะสงผลตอการพัฒนาทักษะทางความคิด วิเคราะห ทําใหผเู รียนคิดไดอยางลุม ลึก และ
เปนเครือ่ งมือในการสือ่ สารตลอดจนแสวงหาความรู
5. ในการจัดการศึกษาสํ าหรับผูมีความสามารถพิเศษจํ าเปนตองใชทรัพยากร
หลักสูตร สื่อ ครู ฯลฯ ที่แตกตางไปจากการศึกษาทั่วไป โดยใหความรูแกผูปกครอง และ
ตองเริ่มตั้งแตกอนปฏิสนธิ ปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ติดตอตอเนือ่ งไปจน
ถึงระดับอุดมศึกษา
viii

6. การจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ ตองเริ่มตนจากการทําให
สังคมและบุคคลทุกฝาย ทั้งฝายการเมือง ขาราชการประจํา พอแม ผูปกครอง เขาใจ
เปาหมาย ความสํ าคัญและเห็นความจํ าเปนที่จะตองจัดการศึกษาสําหรับผูมีความ
สามารถพิเศษ คูขนานไปกับการจัดการศึกษาปกติทั่วไป
7. ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การจัดกิจกรรมเพื่อกระตุนใหความสามารถ
พิเศษเบงบาน มีความจําเปนนอยลง การสงเสริมพัฒนาผูที่มีความสามารถพิเศษในระดับ
นี้ นอกจากการจัดโปรแกรมเสริมและการจัดหองเรียนพิเศษแลว ยังคงตองมีโรงเรียน
เฉพาะทางสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษที่เกินกําลังของทองถิ่นหรือจังหวัดจะ
รับมือได โรงเรียนเฉพาะทางจะเปนโรงเรียนที่รวมเด็กที่มีความสามารถพิเศษระดับ
ประเทศ เพือ่ สงเสริมใหเขาไดรบั การพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ ทัง้ นีจ้ ะตองมีการอบรมเพือ่
สรางจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม มีความภูมใิ จในความเปนไทยควบคูก นั ไปดวย
8. ขณะนี้ประเทศไทยยังขาดองคความรูและบุคลากรที่จะดําเนินการจัดการศึกษา
สําหรับผูมีความสามารถพิเศษอยางมาก จึงมีความจําเปนอยางเรงดวนที่จะตองทุมเท
ทรัพยากร เพื่อพัฒนาบุคลากรและวิจัยและพัฒนาองคความรู ทั้งในดานของการจัด
กิจกรรมกระตุนใหความสามารถพิเศษเบงบาน การพัฒนาเครื่องมือสรรหา การจัด
โปรแกรมเสริม การจัดหลักสูตร สื่อ และกระบวนการเรียนการสอนสําหรับผูมีความ
สามารถพิเศษในทุกระดับ
9. การดําเนินงานควรกําหนดเปนนโยบายใหทุกกลุมโรงเรียน ทุกอําเภอหรือเขต
พืน้ ทีก่ ารศึกษาและจังหวัดไดมีการสรรหาผูมีความสามารถพิเศษ แลวจัดโปรแกรมเสริม
เพือ่ พัฒนาผูท มี่ คี วามสามารถพิเศษเหลานัน้ แลวสงตอเชือ่ มโยงกับโรงเรียนวิทยาศาสตร
ตลอดไปจนถึงมหาวิทยาลัยถึงระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา และระดับหลัง
ปริญญาเอก เพื่อใหเปนนักวิจัยที่สามารถฝกนักวิจัย อาจารยมหาวิทยาลัย และครู
โรงเรียนวิทยาศาสตรรนุ ตอ ๆ ไปได ควรมีการสรรหาและใหรางวัลผูม คี วามสามารถพิเศษ
ทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ระดับอําเภอหรือเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัด และ
ระดับประเทศ
10. ควรจัดใหมีหองเรียนพิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนตนในโรงเรียนที่มีความ
พรอม อยางนอยอําเภอหรือเขตพื้นที่การศึกษาละ 1 หองเรียน โดยรัฐใหการสนับสนุน
ทรัพยากรและบุคลากร ตลอดจนหลักสูตรและสื่อสําหรับหองเรียนพิเศษเหลานี้ ในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายควรมีหองเรียนพิเศษอยางเพียงพอในทุกจังหวัด เพื่อรองรับ
นักเรียนที่มีความสมารถพิเศษจากระดับมัธยมศึกษาตอนตนใหไดเรียนอยูในหองเรียน
พิเศษเหลานี้ และเชือ่ มตอตลอดไปดังขอ 9
ix

11. โรงเรียนวิทยาศาสตรที่ไดมีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งแลว จําเปนจะตองไดรับ


การสนับสนุนเปนพิเศษ ทัง้ ดานวิชาการและดานการเงิน จากภาครัฐ ภาคเอกชน และ
พอแม ผูป กครอง เพือ่ จะไดพฒ ั นาเด็กใหเต็มความสามารถและตองพัฒนาใหตอ เนือ่ ง
ตลอดไป โรงเรียนนีจ้ ะสามารถบรรลุจดุ มุง หมายหรือไมขนึ้ อยูก บั ปจจัยหลายประการ ที่
สําคัญไดแก กระบวนการคัดเลือกนักเรียนที่ชัดเจน การจัดหลักสูตรที่ถูกตองเหมาะสม
เชื่อมโยงกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา การจัดสรรทรัพยากรทัง้ ในดานงบประมาณ
สถานที่ ตลอดจนการสรรหาครู อาจารย เพือ่ ใหการสนับสนุนอยางเพียงพอ โดยจะตอง
ปลอดจากแรงกดดันในดานตาง ๆ เพื่อใหโรงเรียนวิทยาศาสตรมีอิสระในการดําเนินงาน
และประการสําคัญคือ คณะกรรมการบริหารและผูบริหารโรงเรียนจะตองไดรับการสรรหา
เปนพิเศษ อีกทัง้ ตองเชือ่ มตอกับมหาวิทยาลัย ตลอดไปตามขอ 9 และ 10
กิตติกรรมประกาศ

คณะผูวิจัยขอขอบคุณ อาจารยเหงียน จิ ธง อาจารยพิเศษ สถาบันเอเชีย


ศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ไดชวยใหการวิจัยครั้งนี้ประสบผลสําเร็จตาม
วัตถุประสงคทตี่ งั้ ไวทกุ ประการ นับตัง้ แตการประสานงานและการเตรียมการลวงหนา
ทํ าให ค ณะผู  วิ จั ย ได ไ ปเยี่ ย มชมหน ว ยงานทางการศึ ก ษาที่ สํ าคั ญ ของประเทศ
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามตามความประสงค นอกจากนีย้ งั ไดทําหนาทีล่ า มได
อยางดีเยีย่ ม ซึง่ ชวยใหการสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นเปนไปอยางราบรื่น ทัง้ นี้
เนือ่ งจากอาจารยเหงียน จิ ธง เปนผูม คี วามรูใ นดานรัฐศาสตรของเวียดนามอยางลึกซึง้
จึงสามารถวิเคราะหบริบททางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของเวียดนามที่มี
ผลกระทบตอระบบการศึกษา ทํ าใหคณะผูวิจัยมีความเขาใจถึงแนวนโยบาย และ
สภาพการจัดการศึกษาของเวียดนามไดอยางครบถวน
ในการนี้ คณะผูว จิ ยั ขอขอบคุณสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ที่ไดใหความอนุเคราะห โดยการอนุญาตใหอาจารยเหงียน จิ ธง ไดรว มเดินทางไป
กับคณะผูวิจัย ทั้ง ๆ ทีภ่ าระงานของอาจารยเหงียน จิ ธง ทีจ่ ะตองดําเนินการใหกับ
สถาบันเอเชียศึกษายังมีอยูอีกคอนขางมากและมีเวลาจํากัด
ขอขอบคุณ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ทีไ่ ดใหการสนับสนุน
การวิจยั ในครัง้ นี้
ทายทีส่ ดุ คณะผูว จิ ยั ขอขอบคุณผูบ ริหารและนักวิชาการของสถาบันการศึกษา
ตาง ๆ ของประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม อันประกอบดวย Office of the
National Education Council, Hanoi University of Science, Hanoi University of
Education, Educational Publishing House, Hanoi-Amsterdam High School,
Marie-Curie High School, Quoc Hoc Hue High School, University of Natural
Sciences, Le Hong Phong High School, University of Technology (Ho Chi
Minh City) ทีไ่ ดใหการตอนรับและใหความรวมมือในการสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็น
เปนอยางดียง่ิ

คณะผูวิจัย
สารบัญ

หนา
คํานํา
คํานําของคณะผูว จิ ยั
บทสรุปสําหรับผูบริหาร i-ix
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บริบททางเศรษฐกิจและสังคมของเวียดนาม 1
บทที่ 2 นโยบายการศึกษา 11
บทที่ 3 การจัดการศึกษาสําหรับผูที่มีความสามารถพิเศษ
ดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี 24
บทที่ 4 การวิเคราะหจุดออนจุดแข็งของเวียดนาม 31
บทที่ 5 ขอเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับประเทศไทย 37
บรรณานุกรม 44
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. 1
ภาคผนวก ข. 23
ภาคผนวก ค. 32
ประวัติผูวิจัย
บทที่ 1
บริบททางเศรษฐกิจและสังคมของเวียดนาม

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร
เวียดนาม มีประวัตศิ าสตรทยี่ าวนาน แตมคี วามไมสงบมาโดยตลอด เนือ่ งจาก
การรบเพือ่ แสวงหาอิสระ การแยงชิงอํานาจหรือดินแดน และการตกเปนอาณานิคมของ
ประเทศตางๆ ทัง้ เอเชีย ยุโรปและอเมริกา ดวยเหตุนเ้ี วียดนามจึงไดรบั อิทธิพลในดาน
ตางๆจากประเทศเหลานี้ อาทิ การปกครอง กฎหมาย การศึกษา ปรัชญา ศิลปวัฒนธรรม
และภาษา แตขณะเดียวกันเวียดนามก็ยังสามารถรักษาวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเองไวได
เปนอยางดี ทัง้ ในเรือ่ งของภาษา การบูชาบรรพบุรุษ และการเกษตร
การที่เวียดนามถูกรุกรานกลับกลายเปนสวนสําคัญในการหลอหลอมจิตใจ
ชาวเวียดนาม ดังเชนความพยายามปกปองประเทศจากจีนมาเปนเวลาหลายศตวรรษทําให
ชาวเวี ย ดนามเป น นั ก ปฏิ บั ติ ที่ มี ค วามอดทนและมี สํ านึ ก ในเอกลั ก ษณ ข องชาติ อ ย า ง
เหนียวแนนและมีความรูสึกอยางลึกซึ้งในการสรางชาติอยางมากเปนพิเศษ
เวียดนามกวาจะเปนปกแผนดังเชนทุกวันนี้ ในอดีตเปนเพียงรัฐเล็กๆ รัฐหนึ่ง
ภายใตอาณาจักรจีน แตเนือ่ งจากประชาชนไมตอ งการตกเปนเมืองขึน้ ของใครทําใหเกิด
การกบฏลุกฮือเพื่อแยกตนเองเปนอิสระและพบความสําเร็จเมือ่ ศตวรรษที่ 10 พรอมกับได
แผขยายอํานาจลงมาทางใต โดยยึดพืน้ ทีส่ ามเหลีย่ มแมน้ําโขงทั้งหมดจากจักรวรรดิขอมที่
คอยๆ ลดอํานาจอิทธิพลลง
อยางไรก็ตามดวยปญหาอุปสรรคในการบริหารประเทศเนื่องจากพื้นที่ที่
แคบและยาวประกอบกับความแตกตางดานวัฒนธรรมทําใหเกิดสงครามกลางเมืองขึ้นใน
ศตวรรษที่ 17 เกิดการแยงอํานาจกันระหวางสองราชวงศคอื ตรินหและเหงียน ความออนแอ
ภายในเปดชองใหกับชาติจักรวรรดินิยมจากยุโรปเขามาแทรกแซงทางการเมืองอยางเชน
เมื่อป พ.ศ.2390 จักรพรรดินโปเลียนที่ 3 สั่งใหโจมตีเวียดนามในสมัยราชวงศเหงียนที่ไม
ยอมออนขอใหและในที่สุดเวียดนามตกเปนของฝรั่งเศส ในอีก 20 ปตอมาเปนรัฐใน
อารักขาของฝรั่งเศสโดยถูกรวมกับลาวและกัมพูชาในชื่อของ “สหภาพอินโดจีน”
ชาวเวียดนามผูรักชาติไดรวมตัวกันเพื่อประทวงหรือกอการปฏิวัติเพื่อไม
ยอมตกเปนเมืองขึ้นของฝรั่งเศสเนืองๆ โดยชวงปลายป พ.ศ.2473 พรรคคอมมิวนิสตได
กลายเปนแกนนําสําคัญในขบวนการชาตินยิ ม แตครั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ปรากฏวา
2

เวียดนามตองตกเปนของญีป่ นุ โดยรัฐบาลฝรัง่ เศสยังคงบริหารเวียดนาม ในเดือนพฤษภาคม


พ.ศ.2488 ญี่ปุนจัดตั้งใหเปนรัฐปกครองตนเองภายใตจักรพรรดิเบาดาย เมือ่ กองทัพญีป่ นุ
แพสงครามในเดือนสิงหาคม พวกเวียดมินหภายใตการนําของ “โฮจิมินห”* ทีก่ อ ตัง้ ขึน้
เพื่อตอตานญี่ปุนและฝรั่งเศสเมื่อป พ.ศ.2484 ไดกอการปฏิวัติและยึดอํานาจไดเมื่อวันที่
2 กันยายน พ.ศ.2488 จึงถือวันสําคัญนี้เปนวันชาติของเวียดนามจนถึงปจจุบัน
ชาวเวียดนามไดยกยอง “โฮจิมนิ ห” ในฐานะเปน “บิดาของประเทศ” และ
ยกยองดุจเทพเจา เนื่องจากการไดอุทิศตนตอสูใหไดมาซึ่งเอกราช และพยายามตอสูเรื่อง
สิทธิพลเมืองในที่ประชุมสันติภาพกรุงปารีสแตไมสัมฤทธิ์ผลเมื่อป พ.ศ.2462 ทําใหตอ ง
เขารวมเปนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสตฝรั่งเศสและไดไปศึกษาที่สหภาพโซเวียต จากนั้น
กอตั้งพรรคคอมมิวนิสตอินโดจีนเมื่อป พ.ศ.2473
ถึงแมวาเวียดนามจะประกาศเอกราชก็ตาม แตในป พ.ศ.2489 ฝรัง่ เศสกลับ
เขามามีอทิ ธิพลอีกครัง้ โดยใหเวียดนามเปนรัฐอิสระอยูใ นสหภาพอินโดจีน แตการเจรจาไม
เปนผลทําใหสงครามอินโดจีนครั้งแรกระเบิดขึ้น เวียดนามชนะฝรั่งเศสที่คายเดียนเบียนฟู
จากนั้นไดมีการประชุมที่นครเจนีวาไดขอสรุปใหยึดเสนละติจูดที่ 17 องศาเหนือแบง
ประเทศเปนเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต แตเปน 2 ประเทศไดแค 20 ปเทานั้น
เมือ่ ครัง้ สหรัฐอเมริกาเขามารุกรานและตองถอนทัพออกจากเวียดนาม ตอมา
เวียดนามใตถูกรวมกับเวียดนามเหนือในป พ.ศ.2519 โดยมีนายฟาม วัน ดง เปนนายก-
รัฐมนตรีภายใตชื่อประเทศวา “สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม” รัฐบาลฮานอยไดเปลีย่ น
ระบบเศรษฐกิจของเวียดนามใตใหเปนแบบโซเวียต ผลจากการนั้นเกือบทําใหประเทศ
เหลือเพียงซาก ชวงกลางทศวรรษ พ.ศ.2523 เศรษฐกิจของประเทศเขาขัน้ ลมละลาย อัตรา
เงินเฟอเพิม่ สูงขึน้ ถึง 80 % ประชากรสวนใหญในเขตชนบทตกอยูใ นภาวะอดอยาก ประเทศ
เพือ่ นบานทางเหนือคือจีนไดรกุ รานจังหวัดทางเหนือของเวียดนาม และเวียดนามเองก็ไดไป

------------------
* “โฮจิมินห” เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ.2433 ถึงแกอสัญกรรมเมื่อ 2 กันยายน
พ.ศ.2512 ดํารงตําแหนงประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามหรือเวียดนาม
เหนือในชวงป พ.ศ.2488 - 2512
3

รุกรานกัมพูชาจนถูกควํ่าบาตรจากนานาชาติ แตดวยความไมเหมือนประเทศใดใน
เอเชีย เมื่อยอมรับวาการเปลี่ยนแปลงดินแดนฝายใตเปนเรื่องผิดพลาด รัฐบาลก็
ไดกลับลําไปสูเ ศรษฐกิจแบบเสรี โดยใช “โดย เหมย” (Doi Moi) หรือนโยบายปฏิรูป
ใหม การเคลื่อนไหวนี้เปนสิ่งจําเปนและไดผลยิ่ง
หลังจากการตอสูกับกองทัพของตางชาติและอํานาจของพวกจักรวรรดินยิ ม
มาเปนเวลานับศตวรรษ เวียดนามในขณะนีก้ ลับตองรับมือกับเงินทุน เทคโนโลยี รวมทั้ง
ความคิดจากตางประเทศที่เขามาตามคําเชิญชวน หลายศตวรรษมาแลวที่เวียดนามตอง
เผชิญกับความซบเซาทางเศรษฐกิจอันเปนผลมาจากระบบสังคมนิยม แตทกุ วันนี้เวียดนาม
เบนความสนใจออกสูโลกภายนอก ไมวาจะเปนการแสวงหาคําแนะนําหรือเงินตราที่จะใช
ในการสรางสังคมสมัยใหม
ชาวเวียดนามสวนใหญมีการศึกษาอยูในระดับดี (อัตราการรูหนังสือสูงกวา
90 %) และพวกเขายังตองการทีจ่ ะเรียนรูจ ากคนอืน่ และยอมรับขอผิดพลาดตางๆ หาก
พวกเขาสามารถนิยามอนาคตของตนไดเชนเดียวกับที่ตอสูในสงคราม จะเห็นไดจาก
สภาพบนทองถนนของฮานอยและโฮจิมินหซิตี้จะไมเห็นสภาพของความเศราหมองหรือ
รองรอยของความยากจน ทุกหนทุกแหงจะมีแตการดําเนินกิจการของประชาชนทีร่ กั การ
ทํางานหนักและกระตือรือรนในการสรางชาติ มีอนาคตที่จะตองสรางและชาวเวียดนามก็
ตั้งใจที่จะทําใหได
ถึงแมวาเวียดนามจะมีประวัติศาสตรที่เต็มไปดวยความขัดแยงมาเปนเวลา
นาน ทําใหผูคนมีแนวโนมในการระมัดระวังคนตางชาติอยูมาก ตลอดจนใหคุณคาตอการ
พึ่งพาตนเองสูง รวมทั้งทําสิง่ ตางๆตามวิถที างของตน ประสบการณจากการสูรบทําใหคน
เวียดนามมีทิฐิมานะโดยกําเนิด และตระหนักรวมกันในชาติวาดินแดนแหงนี้สามารถเอา
ชนะมหาอํานาจที่ยิ่งใหญและมีเทคโนโลยีที่เหนือกวาได และยังเชื่อวาตลอดประวัติศาสตร
ของเวียดนามเปนเรื่องราวของการตกเปนเหยื่อ และชาวตางชาตินั่นเองที่เปนผูสราง
ปญหาทั้งหมดแกเวียดนาม อยางไรก็ดี ดวยสายเลือดของการเปนนักปฏิบัตินิยมจาก
จักรพรรดิ เล เลย (Le Loi) เมือ่ เกือบ 500 ปมาแลว ชาวเวียดนามจึงพรอมที่จะสราง
อนาคตของพวกเขาขึน้ มาใหมดว ยวิธกี ารอันนาทึง่ และกลยุทธทน่ี า จับตามอง
4

การเมืองและการปกครอง
พรรคคอมมิวนิสตเวียดนาม ไดกอ ตัง้ ขึน้ ในวันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ.2473
โดย โฮ จิ มินห การประกาศตั้งพรรคนี้เกิดขึ้นในระหวางการประชุมสมัชชาเพื่อการกอตั้ง
พรรค ทีเ่ มืองเกาลูน ฮองกง ระหวางวันที่ 2-7 กุมภาพันธ พ.ศ.2473 ที่มีจุดประสงคเพื่อทํา
การปลดปลอยประเทศจากอาณานิคมฝรั่งเศส ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนพรรคคอมมิวนิสต
อินโดจีนและพรรคคนงานเวียดนาม แตก็กลับมาเปนพรรคคอมมิวนิสตเวียดนามอีกครั้ง
หนึ่งในการประชุมสมัชชา ครัง้ ที่ 4 ป พ.ศ.2519
จากการประชุมสมัชชาพรรค ครัง้ ที่ 1 ถึงครัง้ ที่ 8 ที่ประชุมไดเนนแนวทาง
นับตั้งแตการรวมมวลชน การสรางและพัฒนาพรรค การตอตานสงครามกับฝรั่งเศส และ
จักรวรรดินิยมอเมริกัน การสรางระบอบสังคมนิยมและเศรษฐกิจและแบบสังคมนิยม อัน
เปนหลักการสําคัญยิง่ จนกระทั่งการปรับเปลี่ยนมาสูการปฏิรูปทางเศรษฐกิจ อันนําไปสู
ระบบเศรษฐกิจการตลาดเสรีมาใชในที่สุด
ผูนําคอมมิวนิสตเวียดนามใหความสําคัญกับวัฒนธรรมเวียดนาม ซึง่ นับ
เปนปจจัยในดานยุทธศาสตรและการปฏิวัติสังคม ดวยการใชวฒ ั นธรรมเปนเครื่องมือเพื่อ
ใหบรรลุเปาหมายในการปฏิวัติ และเปนขุมทรัพยแหงชาติที่จะตองทําการปกปองรักษา
ในการปฏิวัติเพื่อปลดแอกแหงชาติ (จากฝรัง่ เศส) และรวมประเทศ (จาก
การแทรกแซงของสหรัฐอเมริกา) นัน้ สิง่ ทีผ่ นู าคอมมิ
ํ วนิสตเนนคือการปลุกเราใหประชาชน
สํานึกถึงความรุง โรจนของชาวเวียดนามในอดีต ซึ่งเหนือกวาวัฒนธรรมจีนและฝรั่งเศส
ยอนกลับไปกอนจีนยึดครองเวียดนามเมื่อสองศตวรรษกอนคริสตกาล ปฏิเสธกระแส
ความเชื่อที่วา วัฒนธรรมเวียดนามโดยรากฐานแลวเปนอันเดียวกับวัฒนธรรมจีน
การปฏิรูปสังคมหลังคอมมิวนิสตยึดอํานาจไดสําเร็จแลว ผูน ําคอมมิวนิสต
เวียดนามไดพดู ถึงความจําเปนที่จะตองสรางวัฒนธรรมประจําชาติเวียดนาม ซึง่ ตัง้ อยูบ น
รากฐานของลัทธิมารกซ-เลนิน เชน พรรคยืนยันที่จะใหเสรีภาพในการแสดงออกทาง
ศิลปกรรม หากไมเปนปฏิปกษตอความสําเร็จ ในการปฏิวัติเมื่อป พ.ศ.2539 รัฐบาล
เวียดนามไดมมี าตรการสงเสริมรักษา หรือชําระลางวัฒนธรรมเวียดนามใหเปนไปตามความ
ปรารถนาของพรรคคอมมิวนิสตเวียดนาม ดังเชน สื่อมวลชนในเวียดนามจําตองรายงาน
สิ่งทีร่ ฐั บาลตองการ โดยใหรายงานขาวทีด่ แี ละลงพิมพภาพทีเ่ สริมสังคมนิยม สื่อมวลชน
จะตองทําหนาทีเ่ ปนเครือ่ งมือทางอุดมการณของรัฐ เพื่อชวยใหการศึกษาแกประชาชน
รวมทั้งสงเสริมประชาชนใหปฏิบัติตามนโยบายของพรรคและรัฐบาล เปนตน
5

สังคมและวัฒนธรรม
ประชากรประมาณรอยละ 85 เปนคนเชือ้ ชาติญวน หรือเวียดนาม นอกจากนี้
ยังมีชนกลุม นอย ไดแก ชาวจีน (หัว) ชาวไทย (ไต) เขมร มง และชาวเขาเผาตางๆ
ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษาเวียดนามหรือญวน และใชภาษาฝรั่งเศส
กันอยางแพรหลาย นอกจากนีก้ ม็ ภี าษาถิน่ ทีใ่ ชพดู กันในแตละชนชาติ
ศาสนาพุทธ นิกายมหายานตามแบบจีนและญี่ปุน เปนศาสนาที่มีผูนิยม
นับถือมากที่สุด รองลงมาไดแก ลัทธิเตา ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากจีน นอกจากนี้ยังมี
ผูนับถือศาสนาคริสต อิสลาม และนับถือความเชื่อดั้งเดิมอยูบาง
ชาวเวียดนามมีความเชื่อในลัทธิและศาสนาหลากหลาย มีประเพณีการ
ดํารงชีพแตกตางจากชาวจีนเปนสวนใหญ ความเชื่อถือในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ลัทธิศาสนา
คานิยม ทัศนคติ และโลกทัศนของชาวเวียดนามมิไดเปน เอกภาพ ขึน้ อยูก บั ถิน่ ทีอ่ ยูท าง
ภูมศิ าสตร ฐานะและอาชีพวาในประวัติศาสตรอันยาวนานของเวียดนาม คนกลุม ใดได
สัมผัสหรือสัมพันธกบั วัฒนธรรมภายนอกซึง่ แขงอิทธิพลกับวัฒนธรรมทองถิน่ อยางไรก็ตาม
ศาสนามีบทบาทสําคัญในชีวติ ประจําวันของชาวเวียดนาม และเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม
ประจําชาติเวียดนาม ศาสนาพุทธไดรับความนิยมมากที่สุด
ในสวนของวัฒนธรรมครอบครัว สายสัมพันธทางครอบครัวตามประเพณีมี
ความหลากหลาย ครอบครัวขยายแบบจีนตามประเพณีมีนอย สวนใหญเปนครอบครัวเล็ก
แตความเกี่ยวดองกันทางสายโลหิตยังมีความหมายสํ าคัญในการใหความชวยเหลือและ
สงเสริมฐานะและความเปนอยูของวงศาคณาญาติ คนในเมืองมีความสํานึกในพันธะที่จะ
ตองเกือ้ กูลกันนอยกวาคนในชนบทและโดยทัว่ ไป ครอบครัวตางคนตางอยูต ามแบบตะวันตก
ซึ่งกลายเปนวิถีชีวิตครอบครัวของคนรุนใหม
นโยบายตางประเทศ
ภายหลังจากการรวมประเทศแลว ผูน ําเวียดนามหลายคนไดเดินทางเยือน
ประเทศตางๆ ทั่วโลก ไมวาจะเปนประเทศที่อยูในคายคอมมิวนิสต คายทุนนิยม หรือกลุม
โลกที่สาม โดยมีจุดประสงคคือ การขอความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการลงทุน เชน
ฝรั่งเศสไดไปลงทุนผลิตปูนซีเมนตที่ฮาเตียน และญีป่ นุ ซึง่ ไปลงทุนในเวียดนามมากกวา
ประเทศอื่นๆ ดวยการไปตั้งบริษัทไมตํ่ากวา 150 บริษัท นอกจากนีย้ งั มีบริษทั ของ
นอรเวยทกี่ าลั
ํ งมุง สํารวจหานํามั
้ นนอกฝง เวียดนามและยังมีชาติตะวันตกอืน่ ๆ เชน สวีเดน
เนเธอรแลนด เดนมารก เบลเยียม ฟนแลนด รวมทั้งกลุมประเทศโลกที่สาม 18 ประเทศ
6

โดยรวมกลุมกันเพื่อหาเงินชวยเหลือเวียดนามและลาวในการบูรณะประเทศหลังสงคราม
ดวย
นโยบายตางประเทศที่สําคัญคือ ความเปนกลางดวยการรวมเปนสมาชิก
ของกลุม ประเทศไมฝก ใฝฝา ยใด และคบคากับทุกชาติไมวาจะปกครองดวยระบอบใด
แมวา เวียดนามจะเปนประเทศหนึง่ ทีป่ กครองดวยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต แตเวียดนาม
ก็ดําเนินนโยบายตางประเทศอิสระไมตกอยูใตอิทธิพลของมหาอํานาจใด
สภาพเศรษฐกิจ
เวียดนามเปนประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีจํานวนประชากรมาก
แตมีเนื้อที่เพาะปลูกนอย ระบบการผลิตทางเกษตรยังขาดประสิทธิภาพ และเกิดภัย-
ธรรมชาติอยูเสมอ คือ การเกิดพายุไตฝนุ ทําใหนํ้าทวมไรนาพืชผลเสียหาย ผลผลิตทาง
การเกษตรในแตละปจึงไมแนนอน รัฐไดพยายามแกปญหาเศรษฐกิจโดยกําหนดไวใน
แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึง่ มีจดุ มุง หมาย คือ
1.! สงเสริมการผลิตอาหารเพื่อบริโภคภายในประเทศ และสงออกไป
จําหนายตางประเทศ
2.! สงเสริมอุตสาหกรรมและการคมนาคมขนสง รวมทัง้ การปรับปรุงเทคนิค
วิธกี ารผลิต
3.! ปรับปรุงกฎเกณฑเกีย่ วกับการลงทุน เพือ่ ใหชาวตางชาติเขามาลงทุน
ในเวียดนามมากขึน้ สามารถมีหุนสวนไดถึงรอยละ 20 ถึง 30 ลดการเก็บภาษีรายไดจาก
บริษัทตางชาติจากรอยละ 40 ถึง 45 มาเปนรอยละ 20 ถึง 25 เปนตน
นโยบายเศรษฐกิจของเวียดนามในปจจุบัน มีลกั ษณะของการผอนคลาย
อุดมการณทางการเมืองจากการมุงเปาหมายสูสังคมนิยมคอมมิวนิสตไปเปนเสรีนิยม เนน
นโยบายเศรษฐกิจเปนหลัก โดยพิจารณาสถานการณภายในประเทศและภูมิภาคเปน
สวนประกอบ
การปฏิรูปทางเศรษฐกิจที่กํ าลังดํ าเนินอยูในปจจุบันมีจุดมุงหมายที่จะดึง
ศักยภาพทีเ่ วียดนามมีอยูอ อกมาใชเพือ่ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจในภาคตางๆ ทัง้ นีส้ ว นหนึง่
มาจากความรวมมือจากตางประเทศ ศักยภาพดังกลาวมีอยูท ง้ั ในทรัพยากรธรรมชาติ และ
ในทรัพยากรมนุษย การที่เวียดนามมีความสมบูรณทางทรัพยากรธรรมชาติ เปนตลาด-
แรงงานทีก่ วางใหญ มีจานวนแรงงานประมาณร
ํ อยละ 50 ของประชากรทัง้ หมด 77 ลานคน
โดยสูงกวารอยละ 90 อานออกเขียนได อีกทั้งแรงงานชาวเวียดนามนี้มีความสามารถใน
7

การเรียนรู ฝกฝน อดทน และอัตราคาแรงงานขั้นตํ่าอยูในระดับที่ไมสูงจนเกินไป ทําให


เวียดนามอยูในความสนใจของประเทศตางๆในโลก ทัง้ ในดานการคา การลงทุน การให
ความชวยเหลือเพื่อการพัฒนา และในเรือ่ งบทบาทของเวียดนามในการเมืองในภูมภิ าค
การเจริญเติบโตและการพัฒนาทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จะเปนปจจัยสําคัญทีน่ ําไปสู
ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
เวียดนามมีแมนาใหญ
ํ้ สองสายทีช่ ว ยในการเกษตรกรรมได คือ แมนาแดงทาง
ํ้
ตอนเหนือ และแมนํ้าโขงทางตอนใต โดยสภาพทั่วไปแลวชาวเวียดนามทั้งเหนือและใต
เปนเกษตรกร แตมีการประกอบอุตสาหกรรมบางในเมืองใหญ การพัฒนาประเทศกําลัง
กอใหเกิดความกดดันชนิดใหมตอสิ่งแวดลอมใหเสื่อมสลายลง ประชากรที่กํ าลังเพิ่ม
จํานวนมากขึ้น ประมาณกันวาอาจเพิ่มประมาณ 80 ลานคน จึงหมายถึงวาความตองการ
ที่ดินยอมสูงขึ้นตามไปดวย รัฐบาลตองจัดการกับปญหาเรือ่ งพืน้ ทีเ่ พาะปลูกขาวจํานวน
มากที่จะเปลี่ยนไปใชเพื่อการอุตสาหกรรม พื้นที่ปาไมถูกคุกคามจากการถูกตัดโคนลง
เปนจํานวนมหาศาล เพื่อสงเปนสินคาออก ซึง่ ทําใหเกิดปญหาการกัดเซาะหนาดินและ
นํ้าทวมมากขึ้น อยางไรก็ตาม การที่ปาไมถูกทําลายทัง้ จากคนและภัยธรรมชาติ ทําให
ประเทศตองสูญเสียมากยิ่งกวาประโยชนที่จะไดรับ แมรัฐบาลจะมีความพยายามที่จะหา
หนทางแกไขปญหาทีน่ า ตกใจดังกลาวดวยโครงการปลูกปาทดแทน ซึง่ ทําการปลูกตนไม
ทดแทนเปนพืน้ ที่ 1,600 ตารางกิโลเมตร (620 ไมล) เปนประจําทุกป แตกย็ งั ไมเพียงพอ
ที่จะทดแทนความสูญเสียปาไมในปริมาณ 2,000 ตารางกิโลเมตร (770 ไมล) ในทุกปได
นอกจากนี้ นับตัง้ แตป พ.ศ.2488 เปนตนมา สงครามการใชสารเคมีพน ทําลาย
ปาไมเพื่อไมใหศัตรูมีที่ซอนตัว เชน ฝนเหลือง ในชวงที่อเมริกาเขาไปเกี่ยวของกับ
สงครามเวียดนาม ทําใหเกิดผลของมลภาวะตอหวงโซอาหารนี้คือความหายนะ แมในชวง
20 ปหลังจากสิน้ สุดสงครามลงแลว มลภาวะดังกลาวยังดําเนินอยูต อ ไป เนือ่ งจากชาวนา
ใสสารเคมี เชน ปุย ยาฆาแมลง ยากําจัดศัตรูพชื สิง่ เหลานีล้ ว นสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม
ทั้งสิ้น นอกจากนีต้ ามเมืองตางๆ มีประชากรอยูหนาแนนเกินไป และโรงงานอุตสาหกรรม
ปลอยสารเคมีทําความสกปรกแกอากาศและนํ้าเพิ่มขึ้นเชนกัน
เวียดนามป 2000 (พ.ศ.2543)
จากการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสตเวียดนามครั้งที่ 7 ป พ.ศ.2534
ที่ประชุมไดวางทิศทาง จุดประสงค และงานหลักสําหรับป พ.ศ.2534-2538 และจนถึงป
พ.ศ.2543 ไดกําหนด “ยุทธศาสตรเพื่อความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมและ
8

การพัฒนาภายในป พ.ศ.2543” ซึ่งมีจุดประสงคที่จะนําประเทศออกจากวิกฤตการณทาง


เศรษฐกิจ สราง เสถียรภาพใหกับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ขจัดความยากจนและ
สภาพดอยพัฒนา ปรับปรุงมาตรฐานการครองชีพ เสริมสรางความมั่นคงและการปองกัน
ประเทศ และสรางเงือ่ นไขทีจ่ าเป
ํ นสําหรับประเทศเพือ่ การพัฒนาทีร่ วดเร็วยิง่ ขึน้ ในชวงตน
ศตวรรษที่ 21 โดยหวังวาผลผลิตมวลรวมภายในประเทศในป พ.ศ.2543 จะเพิ่มขึ้นเปน
2 เทาของผลผลิตมวลรวมภายในปประเทศในป พ.ศ.2533 และเพื่อที่จะบรรลุวัตถุประสงค
ดังกลาว เวียดนามไดเลือกแนวทางการนําประเทศไปสูอตุ สาหกรรมและความทันสมัย
แนวคิด “การนําประเทศไปสูอตุ สาหกรรมและความทันสมัย” เปน
สวนหนึ่งของยุทธศาสตรวาดวยการพัฒนาและความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
ภายในป พ.ศ.2543 ซึง่ ไดถกู กลาวไวอยางเปนทางการอีกครัง้ ในการประชุมสมัชชาพรรค
คอมมิวนิสตเวียดนาม ครัง้ ที่ 8 และไดปรากฏอยางเดนชัดในรายงานการเมืองของการ
ประชุมสมัชชาดังกลาว และในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ป (พ.ศ.2539-2543) อยางไรก็ตาม
จากสภาวการณเศรษฐกิจที่ขาดความพรอมในปจจุบันทั่วภูมิภาคเอเซีย และในชวง 4-5 ป
ที่จะมาถึงนี้ จึงเปนสิ่งที่ทาทายวาการนําประเทศไปสูอุตสาหกรรมภายในป พ.ศ.2543 จะ
มีความเปนไปไดมากนอยเพียงไร
ป พ.ศ.2543 เปนปที่มีความหมายและความสําคัญตอเวียดนามอยางยิง่
เนื่องจากเปนปแหงการครบรอบ 70 ปแหงการกอตั้งพรรคคอมมิวนิสตแหงเวียดนาม ซึ่ง
ไดกอตั้งขึ้นที่เกาะฮองกงในป พ.ศ.2473 เปนการครบรอบ 25 ปแหงการรวมประเทศ เปน
การครบรอบ 55 แหงการปฏิวตั ใิ นป พ.ศ.2488 อันถือวาเปนจุดสิน้ สุดของการครอบงําของ
เจาอาณานิคมฝรัง่ เศส และเปนจุดจบของระบบกษัตริยข องเวียดนามโดยกษัตริยบ า วดาย
กษัตริยองคสุดทายไดสละราชสมบัติในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2488
เชนเดียวกันเปนการครบรอบ 55 ปแหงการประกาศเอกราชของเวียดนาม
จากฝรั่งเศสโดยโฮจิมินห พรอมกับการกําเนิดของ “สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม”
ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2488 ซึง่ ตอมาในป พ.ศ.2519 ไดทาการรวมกั
ํ บ “สาธารณรัฐ
เวียดนาม” หรือเวียดนามใต ภายใตชอ่ื วา “สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม” นับแตนั้นมา
นอกจากนี้ ป พ.ศ.2543 ยังเปนปที่ครบรอบ 110 ปแหงการสถาปนากรุงฮานอยซึ่งเปน
เมืองหลวงของเวียดนามอีกดวย
ปจจุบันเวียดนามไดพัฒนาหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการ
เมืองในชวง 14 ปแหงการปฏิรปู ทางเศรษฐกิจทีผ่ า นมานัน้ อยางไรในภาพรวม
9

เมื่ อ พรรคคอมมิ ว นิ ส ต เ วี ย ดนามประกาศนโยบายว า ด ว ยการปฏิ รู ป


เศรษฐกิจในปลายป พ.ศ.2529 จนปจจุบันเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศกระเตื้องขึ้น
ระบบสาธารณูปโภคไดรับการพัฒนา และความเปนอยูของชาวเวียดนามในประเทศทั่วไป
ก็ดขี นึ้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในครึง่ แรกของทศวรรษที่ 90 แมวา จะลดลงเนือ่ งจากวิกฤตการณ
ทางเศรษฐกิจเอเชียที่เกิดขึ้นในป พ.ศ.2540 ก็ตาม อยางไรก็ตามปญหาทางเศรษฐกิจก็
ยังคงมีอยูเชนกัน ดังเชน อัตราการวางงานทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงอยางไมหยุดหยอน ชองวาง
ระหวางคนจนและคนรวยที่เพิ่มมากขึ้นทุกที สภาพความเปนจริงที่เกิดขึ้นในขณะนี้ก็คือ
การปฏิรปู ระบบเศรษฐกิจของเวียดนามเปนไปอยางชาๆ วิกฤตการณทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
ที่เกิดขึ้นในป พ.ศ.2540 อาจนํามาเปนขออางของการลดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของเวียดนามในปจจุบนั ไดเปนอยางดี แตขณะเดียวกันก็จะเปนอันตรายตอระบบเศรษฐกิจ
ของเวียดนามเปนอยางมาก
สาเหตุ บ างประการของความล า ช า ในการปฏิ รู ป ทางเศรษฐกิ จ ของ
เวียดนาม นาจะมีความเปนไปได ดังนี้
ประการแรก เปนเรื่องทางเทคนิค การปฏิรูปทางเศรษฐกิจที่อยูในสภาพ
สงครามมาตลอดเวลาและเพิ่งจะออกจากสภาพสงครามไดเพียง 25 ป เทานัน้ ดังเชน
เวียดนาม ไมใชเรือ่ งงาย เวียดนามมีความจําเปนตองใชเวลายาวนานทัง้ ในการสราง พัฒนา
คน และการในการปรับแกไขระบบตางๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ หากจะเปลีย่ นแปลงแนวทาง
ในการปฏิรูปทางเศรษฐกิจจากแนวทางเศรษฐกิจสังคมนิยมไปสูเศรษฐกิจการตลาด
ประการที่สอง เปนเจตนารมณของพรรคคอมมิวนิสตแหงเวียดนาม ดังที่
เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตแหงเวียดนาม นาย เล ขา เพียว ยืนยันอยางแนชดั ในหลาย
โอกาสถึงจุดยืนและเจตนารมณของพรรคทีจ่ ะดําเนินการปฏิรปู ใหเปนไปอยางชาๆ ไมเรงรีบ
ดวยเหตุผลบางประการ อันรวมถึงความไมพรอมของกลไกทางเศรษฐกิจ ความลอแหลมตอ
ความไรเสถียรภาพทางสังคมจะมาพรอมกับความเสรีทางเศรษฐกิจ แตผูสังเกตการณ
ทัง้ หลายตางก็มคี วามเห็นวา ความเกรงกลัวในการสัน่ คลอนของอํานาจพรรคและความ
อยูรอดของลัทธิสังคมนิยมก็เปนเหตุผลอีกเหตุผลหนึ่ง กลาวคือ
เวียดนามตองการเก็บและรักษารูปแบบการปฏิรูปทางเศรษฐกิจ “ตาม
แนวทางสังคมนิยมภายใตการนําของพรรคคอมมิวนิสต” เพราะเปาหมายหลักและ
สูงสุดของพรรคคอมมิวนิสตเวียดนามตั้งแตอดีตเปนตนมา คือ “การปลดปลอยประเทศ
จากอาณานิคม” ซึง่ ก็ไดดําเนินบรรลุเปาหมายไปแลว และ “การเดินทางไปใหถงึ ความ
10

เปนสังคมนิยม” เต็มรูปแบบ การแสดงออกซึง่ การยึดมัน่ ในอุดมการณสงั คมนิยมและ


ความอยูรอดของพรรคถูกประกาศออกมาอยูเปนประจํ าวันทั้งทางวิทยุและหนังสือพิมพ
เวียดนามในภาษาเวียดนาม อังกฤษและฝรั่งเศส และยังเห็นไดจากการรณรงคในการ
สรางพรรคที่กําหนดใหมีขึ้นระหวางเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2542 – พฤษภาคม พ.ศ.2544
ไมวาการแสดงความยึดมั่นดังกลาวจะเปนเพียงรูปแบบหรือเปนเนื้อแทก็ตาม ตางก็เปน
การสะทอนถึงความพยายามในการคงไวซง่ึ (รูปแบบ) สังคมนิยมและการคงอยูข องพรรค
อนึ่ง การรณรงคในการสรางพรรคนี้อาจสะทอนใหเห็นถึงสัญญาณหรือการ
สัน่ คลอนอํานาจของพรรคทีเ่ กิดขึน้ ได ดวยเหตุนนั้ พรรคจึงจําเปนตองเสริมสรางใหตนเอง
แข็งแกรงขึ้น อยางไรก็ตามพรรคมีความหมายและความสําคัญยิง่ ตรงทีค่ นเวียดนามถือวา
พรรคคือ นักสูและเปนผูนําทีน่ ําประเทศไปสูการหลุดพนจากการกดขี่ของเจาอาณานิคม
ฝรั่งเศส นําไปสูความเปนเอกราชและนําไปสูก ารหลุดพนจากการรุกรานของอเมริกาใน
สงคราม เวียดนาม และทีส่ าคัํ ญยังนําไปสูก ารรวมประเทศไดสาเร็
ํ จในป พ.ศ.2518 หลังจาก
ที่ถูกแบงออกเปนสองสวนนับตั้งแตป พ.ศ.2497
ดังนัน้ ป พ.ศ.2543 นอกจากจะเปนปสญ
ั ลักษณและครบรอบหลายๆ วาระแลว
ยังเปนปเตรียมการสําคัญของการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสตแหงเวียดนามครั้งที่ 9
ซึ่งคาดวาจะมีขึ้นในเดือนมีนาคมของป พ.ศ.2544
บทที่ 2
นโยบายการศึกษา

2.1 นโยบายการศึกษาทัว่ ไป
การจัดการศึกษาในประเทศเวียดนามไดรับความสําคัญเปนอันดับสูงจาก
รัฐบาลมาเปนเวลานาน นับตัง้ แตชว งทีไ่ ดรบั อิสรภาพจากฝรัง่ เศส ประธานาธิบดี โฮจิมนิ ห
ไดประกาศนโบายที่จะขจัดปญหาของชาติ 3 ประการคือ
1. โจรแหงความหิวโหย (มุงเนนดานเศรษฐกิจ)
2. โจรแหงการรุกราน (มุงเนนดานความเปนเอกราชของประเทศ)
3. โจรแหงความโงเขลา (มุง เนนคุณภาพของประชากร)
โดยใหเหตุผลวาชนชาติใดไมรูหนังสือยอมออนแอ การศึกษาจึงมีความ
สําคัญเปนพิเศษ เพราะขึน้ อยูใ นนโยบายหลักของประเทศ และรัฐบาลเวียดนามไดลงทุน
เพื่อพัฒนาการศึกษาเปนอยางมากและตอเนื่อง
ในป พ.ศ.2518 เมือ่ เวียดนามมีอสิ ระในการปกครองและไดมีการรวมประเทศ
เพื่อสรางประเทศใหเกิดความมั่นคง จึงไดมีการประเมินรูปแบบและระบบการศึกษา
พบวา คุณภาพในการพัฒนาคนของระบบการศึกษายังมีคณ ุ ภาพตํ่า การศึกษายังไม
สามารถสรางคนใหมีความสามารถ ทัง้ ทางดานเทคนิคและดานวิทยาศาสตร ที่สามารถ
จะพัฒนาสังคมและฟนฟูประเทศหลังสงคราม อันเปนความจําเปนของประเทศ รวมทั้ง
สอดคลองกับความเปลีย่ นแปลงของนานาชาติ (สกศ.,2540)
นอกจากนั้น ยังประสบปญหาที่สําคัญ กลาวคือ
1.! ปริมาณและคุณภาพลดตํ่าลงในทุกระดับของการศึกษาทัว่ ไป
2.! ปญหาความสัมพันธกันระหวางการอาชีวศึกษากับตลาดแรงงาน
3.! การอุดมศึกษาไมสัมพันธกับการวิจัย ผลผลิต และสภาพแรงงาน
4.! ผูส อนขาดทัง้ ปริมาณและคุณภาพ
5.! ขาดงบประมาณสนับสนุน รวมทัง้ การใชงบประมาณก็ยงั เปนไปอยาง
ไมมีประสิทธิภาพ
6.! ระบบบริหารและการจัดการไมเหมาะสม
12

7.! ขาดการจั ด การศึ ก ษาและฝ ก อบรมที่ จํ าเป น ต อ สภาพสั ง คมที่กํ าลัง


เปลี่ยนแปลง
ดวยเหตุนี้เวียดนามจึงไดประกาศนโยบายปฏิรปู การศึกษา ในป พ.ศ.2522
และเริม่ ใชครัง้ แรกในปการศึกษา พ.ศ.2523-2524 โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สรางองคความรู
ใหม และทรัพยากรบุคคลแนวใหม เพื่อใหการศึกษาเปนสวนประกอบที่สําคัญของการ
ปฏิรูปวัฒนธรรมและระบบความคิดในการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร เทคนิควิธีการ
วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของประเทศ
การพั ฒ นาการศึ ก ษาตามแนวทางปฏิ รู ป การศึ ก ษาดั ง กล า วไม ป ระสบ
ผลสําเร็จเทาทีค่ วร รวมทัง้ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจทีไ่ ดวางแผนไว เนือ่ งจากประชาชน
ไมมีแรงจูงใจที่จะพัฒนาใหเต็มที่ ดังนัน้ ในป พ.ศ.2529 ภายใตนโยบาย โดย เหมย
(Doi Moi) หรือระบบเศรษฐกิจและสังคมใหม (Renovation) ที่เนนหนักในการจัดชุมชน
ใหเปนแบบตลาดนําไมใชรฐั นําอยางทีเ่ ปนมา ประชาชนจะมีบทบาทในทางเศรษฐกิจเขาสู
ระบบตลาดเสรี ยกเวนในทางการเมืองที่ยังคงสภาพสังคมนิยมที่มีพรรคคอมมิวนิสตเปน
ผูม อี านาจพรรคเดี
ํ ยว เวียดนามจึงไดมีการปฏิรปู การศึกษาอยางจริงจัง และเริม่ ดําเนินการ
อยางเต็มที่ในป พ.ศ.2534 อันเปนการพัฒนาพรอมกันทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และการ
ศึกษา (สกศ.,2540)
เปาหมายของการปฏิรูปการศึกษา ประกอบดวย
1.! ยกระดับสติปญ
 ญาของประชาชน เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมและ
ตามทันกับการพัฒนาประเทศ
2.! ยกระดับคุณภาพทรัพยากรมนุษย โดยคาดหมายวาเมื่อประเทศ
กาวเขาสูยุคตลาดนิยม ประชากรทีเ่ ปนแรงงานจะมีคณ
ุ ภาพสูงพอ
3.! สรรหา สงเสริม และใชประโยชนจากกลุม อัจฉริยะ เพื่อสงเสริมความ
กาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศิลปวัฒนธรรม สังคมและเศรษฐกิจ และการ
ผลิตและการจัดการทางธุรกิจ
เครือ่ งมือของการปฏิรูปการศึกษา คือ
1.! การพัฒนาทางดานการศึกษาและฝกอบรม รัฐบาลไดใหงบประมาณ
ในการดําเนินงานในเรือ่ งนีอ้ ยางเต็มที่ โดยหวังวาจะเปนเครื่องมือที่สําคัญและดําเนินการ
ปฏิรปู ในทุกดาน
13

2.! การพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รัฐบาลเวียดนามถือ


ว า เป น ฐานสํ าคั ญ ที่ ช  ว ยสนั บ สนุ น ความเจริญทางอุตสาหกรรมและความทันสมัยของ
ประเทศ ซึ่งจะสงผลใหประชากรมีความกินดีอยูดี ประเทศมีพลังเขมแข็ง และสังคมมี
ความเจริญเทาเทียมและเสมอภาคกับประเทศอื่นๆ รัฐและพรรคการเมืองจึงเนนการ
ปฏิรูปในเรื่องนี้มากเปนพิเศษ
สํ าหรับการปฏิรูปการศึกษาในแตละระดับไดใหความสํ าคัญในดานการ
เรียนการสอนคณิตศาสตรมากเปนพิเศษ เนื่องจากถือวาเปนวิชาพื้นฐานที่สําคัญที่สุด
ขององคความรูใ นวิชาอืน่ ๆ โดยเฉพาะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดังนั้นกระทรวงศึกษาและการฝกอบรม (The Ministry of Education and
Training : MOET) จึงไดวางนโยบายเรื่องการเรียนการสอนวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
ใหมมี าตรฐานสูง และใหเด็กทุกคนไดเรียนวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรเปนวิชาพื้นฐาน
สําคัญ ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สวนกลุมเด็กผูมีความสามารถพิเศษ
จะมีหลักสูตรในดานนี้เขมขนมากกวาเด็กทั่วไป
สํ าหรับรายละเอียดของหลักสูตร/การจัดการเรียนการสอนในแตละระดับ
การศึกษา มีดงั นี้ (สกศ.,2540)
การศึกษาปฐมวัย
เปนการศึกษาที่เวียดนามใหความสําคัญเปนอันดับแรก ประกอบดวย
สถานรับเลี้ยงเด็กเล็ก ซึ่งจัดใหแกเด็กที่มีอายุระหวาง 0-3 ป และโรงเรียนอนุบาล
สําหรับเด็กอายุตั้งแต 4-6 ป โดยเนนระบบการโภชนาการที่ดี สงเสริมและพัฒนาอาชีพ
ครูอนุบาล มีโปรแกรมพัฒนาการศึกษาของพอแม และเพิ่มงบประมาณสนับสนุนการจัด-
การศึกษาใหแกภาคเอกชนและชุมชน
วัตถุประสงค คือ เพื่อใหไดเด็กที่เปนคนที่สมบูรณ ทัง้ ทางรางกาย จิตใจ
และมีความเฉลียวฉลาด เปนคนที่มีความซื่อสัตย สุภาพ กลาหาญ กระตือรือรน มีความ
ฉลาด มีทักษะในการสังเกต มีความรัก รูจักสงวนรักษาและสรางสรรคสิ่งที่สวยงาม
เนื้อหาที่สอน เปนการบูรณาการเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย ประกอบ
ดวย วิชาสุขภาพ พลศึกษา การเคลือ่ นไหว พัฒนาการทางภาษา การสังเกตสิง่ แวดลอม
ดนตรี สัญลักษณทางคณิตศาสตร และ จริยศึกษา เปนหลัก
14

การศึกษาสามัญ
การศึกษาสามัญ มี 3 ระดับ คือ 1) ประถมศึกษา 2) มัธยมศึกษาตอนตน
และ 3) มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือระบบ 5 : 4 : 3
ประถมศึกษา มี 5 ระดับ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาเด็กทางดานสติ
ปญญา อารมณ และรางกาย เมื่อจบชั้นประถมศึกษา เด็กจะมีทักษะในการฟง การพูด
การอาน การเขียน ทั้งภาษาและการคํานวณ มีความรูเบื้องตนเกี่ยวกับธรรมชาติและ
สังคมมนุษย พัฒนาความคิดและการดูแลรักษาความสะอาด รวมทั้งใหมีความรักและ
ซาบซึง้ ในสิง่ สวยงาม รูจักประดิษฐคิดคนงานฝมือ ศิลปะ การกีฬา
หลักสูตร แบงเปน 3 กลุม ไดแก 1) กลุม เด็กทัว่ ไป เวลาเรียน 165 สัปดาห
2) กลุมเด็กโต เด็กเรียนชา และเด็กดอยโอกาส เวลาเรียน 100 สัปดาห 3) เด็กจากชน-
กลุมนอยในดินแดนที่หางไกลความเจริญและเด็กบนดอย เวลาเรียน 120 สัปดาห และ
เมื่อจบชั้นปที่ 5 นักเรียนทุกคนจะตองสอบผาน Primary Graduation Examination จึง
จะไดรับวุฒิบัตร เนื้อหา เนนภาษาเวียดนามและคณิตศาสตร
มัธยมศึกษาตอนตน มี 4 ระดับ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อเนนการเรียนรู
และทักษะการสื่อสาร เพื่อความเขาใจอันดีซึ่งกันและกัน เด็กจะตองมีความรูเกี่ยวกับ
ธรรมชาติ สังคม และเทคโนโลยีทั่วไป ทั้งจากการฝกปฏิบัติและการเรียนรูที่ทันสมัยและ
เกีย่ วของกัน นอกจากนัน้ ยังเนนความเปนพลเมืองดี การงาน/การเตรียมงานเพือ่
อาชีพ และพรอมที่จะเขาสูสังคมในฐานะที่เปนบุคคลที่สมบูรณ ทั้งความรู ทักษะที่จําเปน
สุขภาพรางกาย และจิตใจ
หลักสูตร มีการจัดใหเรียนวิชาการ ฝกงาน และใหทากิ
ํ จกรรมทีห่ ลากหลาย
ซึ่งสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน โดยในดานวิชาการจะเนนคณิตศาสตรเปนหลัก
และเมื่อจบระดับ 9 นักเรียนทุกคนจะตองสอบ การจบการศึกษาพื้นฐาน (Basic
General Education Examination) ถาผานจึงจะไดรับวุฒิบัตร
มัธยมศึกษาตอนปลาย มี 3 สาย โดยเนนที่ความสามารถ ความสนใจ
และความแตกตางของผูเรียน ประกอบดวย สาย A เปนโปรแกรมดานวิทยาศาสตร
ธรรมชาติ สาย B เปนโปรแกรมดานวิทยาศาสตรธรรมชาติและเทคโนโลยี สาย C เปน
โปรแกรมทางดานศิลปศาสตรและสังคมศาสตร
15

วัตถุประสงคหลักของการศึกษาในระดับนี้ คือ เพื่อใหความรูทั่วไปที่


สมบูรณ และพัฒนาบุคลิกภาพใหบุคคลมีความคิดสรางสรรค มีความกระตือรือรน
เตรียมคนสูสังคม อาชีพ การเปนพลเมืองดี มุงสูสถาบันอุดมศึกษาที่สูงขึ้น และ
ตอบสนองความตองการทีห่ ลากหลายของผูจ บการศึกษาในระดับนี้
รูปแบบของโรงเรียน มีหลายรูปแบบ เชน โรงเรียนสําหรับนักเรียนภาค
ปกติ โรงเรียนเฉพาะทาง โรงเรียนสําหรับผูที่มีความสามารถพิเศษ โรงเรียนเทคนิค
และโรงเรียนสําหรับผูที่ทํางานและเรียนควบคูกัน โดยมีโรงเรียนมัธยมศึกษาทุกตําบล
บางตําบลมีถึง 3-4 แหง
หลักสูตร/เนื้อหาวิชา เนื้อหาวิชาหลักของทุกโรงเรียนจะเหมือนกัน เพื่อ
รักษามาตรฐาน แตหลักสูตรพิเศษจะแยกจากกัน
นอกจากการจัดการศึกษาในระดับตางๆแลว ประเทศเวียดนามยังจัดใหมี
โปรแกรมพัฒนาการศึกษาของพอแม เพือ่ เปนการยกระดับความรูข องพอแมและผูป กครอง
ในดานวิทยาศาสตร และสุขภาพเบือ้ งตนของเด็ก
16

ระบบการศึกษาของเวียดนาม

Duration
(Year)

Doctor
4 Degree Postgraduate Level

4 Master Higher Education


Degree

6
Universities
2 nd phase Colleges
4 1 st phase 3

General Education Voc/Tech Education


Secondary Secondary Vocational
3 Upper Secondary Tech.Educ. Vocational Training

4 Lower Secondary Postprimary Vocational Training

5 Primary

Preschool Education

3 Kindergarten

3 Creche
17

การอาชีวะและเทคนิคศึกษา
การอาชีวะและเทคนิคศึกษาของเวียดนาม เปนการศึกษาระดับเฉพาะอีก
สายหนึ่งแยกมาจากมัธยมศึกษา ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงเปนอยางมาก ตั้งแตป พ.ศ.2528
เปนตนมา โดยมุงตอบสนองความตองการของตลาดแรงงานทางเศรษฐกิจสมัยใหม
(Market Economy) ใหมากขึ้น
การศึกษาในระดับนี้ ปจจุบันแบงเปน 2 ประเภทหลัก คือ
1.! โรงเรียนและศูนยทางอาชีพ เพื่อฝกอบรมใหเปนแรงงานที่มีทักษะ
2.! โรงเรียนเทคนิคระดับมัธยม เพือ่ ฝกอบรมนักเทคนิคระดับกลางในดานตางๆ
หลักสูตร มีรายละเอียดดังนี้
1.! โรงเรียนฝกอาชีพ
1.1! ผูที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระยะเวลาฝกอบรม
2 ป สําหรับวิชาการคาทั่วไป และหลักสูตร 3 ป สําหรับวิชาการคาที่มีรายละเอียดมาก
1.2!ผูที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ฝกอบรม 1 ป
สําหรับวิชาการคาทั่วไป และหลักสูตร 2 ปสาหรั
ํ บวิชาการคาที่มีรายละเอียดมากขึ้น
1.3!ผู  ที่ ต  อ งการศึ ก ษาเฉพาะในสาขาที่สอดคลองกับตลาดและการ
ธุรกิจ
เนื้อหาสาระของการฝกอบรม จําแนกเปน 4 หมวด คือ 1) หมวดการ
ศึกษาทัว่ ไปทางดานคณิตศาสตร ธรรมชาติศกึ ษา และสังคมศาสตร (เวลาเรียน รอยละ
5-10 ของระยะเวลาฝกอบรมทั้งหมด) 2) หมวดวิชาเทคนิคพื้นฐานดานการคา (เวลาเรียน
รอยละ 15-20) 3) หมวดวิชาเทคนิคการคาประกอบกิจการของตนเอง (เวลาเรียน รอยละ
5-15) และ 4) หมวดทักษะปฏิบัติ ซึ่งถือเปนหมวดวิชาหลัก มีเวลาเรียนรอยละ 55-70
ของระยะเวลาฝกอบรมทั้งหมด
2.!โรงเรียนมัธยมอาชีวศึกษา เปนการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน-
ปลาย โดยหลักสูตรจะเปนการบูรณาการการศึกษาสายสามัญ เขากับการฝกทักษะอาชีพ
มีเวลาเรียน 3 ป สําหรับหลักสูตรอาชีพทั่วไป และ 4 ป สําหรับหลักสูตรอาชีพชั้นสูง
18

ดานเนื้อหาวิชา จะเนนการเรียนการสอนในวิชาคณิตศาสตรและ
วิทยาศาสตร มากกวาวิชาอืน่ ๆ โดยมีเวลาเรียนถึงรอยละ 58.5 ของเวลาเรียนทัง้ หมด
ในดานการศึกษาทั่วไป และรอยละ 39.1 ของเวลาเรียนทัง้ หมดในภาคทฤษฎี
3.! โรงเรียนเทคนิคระดับกลาง เปนหลักสูตรเพื่อผลิตผูปฏิบัติงานระดับ
กลางทางดานเทคนิค เศรษฐศาสตร การศึกษา วัฒนธรรม และเภสัชกร ประกอบดวย
3.1 ผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ระยะเวลาเรียน 3-3.5
ป เมื่อสํ าเร็จการศึกษาจะไดรับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นกลาง มีวุฒิเทียบเทากับ
ผูสําเร็จมัธยมศึกษาตอนปลาย/อาชีวศึกษาระดับกลาง
3.2 ผูส าเร็
ํ จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะเวลาเรียน 2-3
ป เมื่อสําเร็จการศึกษาจะไดประกาศนียบัตรวิชาชีพระดับกลาง
เนื้อหาสาระของการศึกษาในระดับนี้ แบงออกเปน 4 หมวดเชนเดียวกับ
โรงเรียนอาชีวศึกษา แตกตางกันที่อัตราสวนของการเรียนภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
นอกจากนี้ ยังมีหลักสูตรอบรมระยะ 1 ป ใหแกคนงาน และผูสําเร็จการ
ศึกษาจากโรงเรียนอาชีวศึกษา
การปฏิ รู ป การศึ กษาระดับอาชีวะและเทคนิคศึกษาตามแผนพัฒนาการ
ศึกษาแหงชาติ ในป พ.ศ.2535 เปนการพลิกโฉมของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาของ
เวียดนามทั้งหมด ประเด็นสําคัญในการปฏิรูปคือ การขยายการศึกษาในระดับนี้มีรูปแบบ
ที่หลากหลายเพื่อรองรับกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยการปรับปรุงในดาน
หลักสูตรการอาชีวะและเทคนิคศึกษาใหม ในระบบโรงเรียนเนนทางดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ทักษะความรูทางดานคอมพิวเตอร และภาษาตางประเทศมากขึ้น และเนน
ทางดานคุณภาพของหลักสูตรมากขึน้ ในขณะเดียวกันก็สงเสริมหลักสูตรระยะสั้นหลังจบ
การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ เพื่ อ ให ป ระชาชนที่ สํ าเร็ จ การศึ ก ษาจากระบบโรงเรี ย นทุ ก ระดั บ
สามารถกาวเขาสูตลาดแรงงานเพื่อเปนกําลังในการพัฒนาประเทศ และยังสงเสริมและ
สนับสนุนใหเอกชนเขารวมรับผิดชอบและจัดการศึกษาในระดับอาชีวะและเทคนิคศึกษา
เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในสาขาวิชาทีเ่ ปนความตองการของตลาดแรงงานอยางเรงดวน เชน
ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
19

การอุดมศึกษาและครุศึกษา
โครงสรางของการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ประกอบดวย
1. สถาบันสหสาขาวิชา จัดการศึกษาในดานวิทยาศาสตรพื้นฐาน สังคม-
ศาสตร และมนุษยศาสตร โดยมีการสอนตั้งแตในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก เฉพาะ
อยางยิง่ ปริญญาเอกสาขาวิทยาศาสตร ซึ่งการศึกษาตามหลักสูตรนี้ เปนการศึกษา
สําหรับผูที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาดานวิทยาศาสตรสูง และตองการที่จะเสนอผลงาน
วิจัยตอคณะกรรมการทางวิทยาศาสตรของรัฐเพื่อการประเมินผล หากผลงานวิจยั นีผ้ า น
การพิจารณาจะถือวาประสบผลสําเร็จ ไดรับปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
2. สถาบันเฉพาะทางดานเทคโนโลยี
! 3. วิทยาลัยศิลปะและวัฒนธรรม
! 4. มหาวิทยาลัยสหสาขาวิชาทองถิ่น
5. วิทยาลัยครุศึกษาแหงชาติ
6. วิทยาลัยครุศึกษาระดับตน
! 7. วิทยาลัยครุศึกษาระดับตนจังหวัด
ระบบการสอบคัดเลือก กระทรวงศึกษาและการฝกอบรมใหอํานาจกับ
มหาวิทยาลัยดําเนินการสอบและคัดเลือกนักศึกษาเขาสูร ะบบดวยตนเอง เริม่ ตัง้ แตป พ.ศ.2541
โดยกระทรวงเพียงกํ าหนดเกณฑทั่วไปในดานคุณสมบัติของผูมีสิทธิ์เขาศึกษาเทานั้น
ทั้งนี้การสอบเขามหาวิทยาลัยมีความจํากัดและเขมงวดมาก โดยแบงนักศึกษาออกเปน
4 กลุม ขึ้นกับสาขาวิชาหรือประเภทของสถาบันที่ตองการเขาศึกษา กลาวคือ
กลุม A วิชาคณิตศาสตร ฟสิกส เคมี
กลุม B วิชาคณิตศาสตร เคมี ชีววิทยา
กลุม C วิชาวรรณคดี ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร
กลุม D วิชาวรรณคดี คณิตศาสตร ภาษาตางประเทศ
แตละสถาบันมีการสอบภาษาเวียดนามรวมอยูด ว ย แตการสอบเขามหาวิทยาลัย
เปนเพียงเกณฑเดียวในการคัดเลือกนักศึกษาเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษา และยังไมมี
การนําผลการศึกษาในระดับมัธยมศึกษามาใช
20

นอกจากนั้น ในแตละสาขาการศึกษาจะมีเกณฑการคัดเลือกอื่นๆ ที่จะตอง


นํามาพิจารณา เชน ความสามารถในการพูดภาษาตางประเทศ ความสามารถในการ
วาดภาพในสาขาสถาปนิก เปนตน
การประเมินผลการเรียน การประเมินผลการเรียนเพื่อเลือกชั้นใน
ประเทศเวียดนามมีความเขมงวดและมีการแขงขันสูงมาก กลาวคือ เมื่อผูสอบระบุกลุม
เขาศึกษา และผานการสอบแลว หากระหวางการเรียนในชั้นปที่ 1-2 นักเรียน/นักศึกษา
ตองผานการสอบทั้ง 2 ชัน้ อยางตําร
่ อยละ 70 จึงจะมีสิทธิ์เรียนตามกลุมที่เลือก แตถา
สอบไมผา น จะสามารถสอบใหมไดแตจะตองไมเกิน 5 ครั้ง ภายใน 5 ป หากยังไมผา นจะ
ตองออกจากมหาวิทยาลัย ไปเลือกเรียนสายอาชีพ
สถาบันการศึกษาหลังระดับปริญญาตรี แบงออกเปน 6 กลุม วิชา คือ
สายวิชาการดานวิทยาศาสตร ดานเทคนิค ดานการแพทยและยา ดานการเกษตร
ดานสังคมศาสตร และดานการทหาร โดยมีรูปแบบการจัดการศึกษาทั้งระบบปดและ
ระบบเปด
การปฏิรูปอุดมศึกษาของเวียดนามเปนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการ
ดําเนินงานในรูปแบบราชการของรัฐที่มีการคุมเขมโดยฝายการเมืองมาเปนการเปดโอกาส
ใหันักวิชาการไดบริหารอยางมีอิสระมากขึ้น ความเปนอิสระจึงเปนหัวใจสําคัญของการ
ปฏิรปู การศึกษาของเวียดนาม ซึ่งเปนที่นาสังเกตวาเปนความอิสระในเชิงผอนคลายเชิง
ผสมผสาน และเชิงยืดหยุนมากกวาความเปนอิสระอยางเต็มรูปในรูปแบบของตะวันตก
การเริ่มตนปฏิรูปที่สํ าคัญคือการใหอิสระในการบริหารแกสถาบันอุดม-
ศึกษาในการกําหนดทิศทาง เปาหมาย และกิจกรรมของตนเองได มหาวิทยาลัยสามารถ
ดูแลการเงินไดมากขึน้ โดยเฉพาะรัฐจํากัดเงินงบประมาณไวในระดับหนึ่งเพื่อเปนการ
จัดการศึกษาใหกับนักเรียนแลวใหมหาวิทยาลัยจัดหาเงินมาบริหารมหาวิทยาลัยไดอีก
สวนหนึง่ ซึง่ ทําใหมหาวิทยาลัยมีอสิ ระในการติดตอกับหนวยงานภาคเอกชน มูลนิธิ องคกร
ระหวางประเทศ เพื่อขอความสนับสนุนได ในขณะเดียวกันก็เริ่มเก็บคาเลาเรียนจาก
นักเรียนอีกสวนหนึ่งได
ในภาพรวมของการอุดมศึกษา รัฐบาลเวียดนามไดใหความสําคัญเชนกัน
แตปจ จุบนั ยังจัดไดในปริมาณไมเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในระดับบัณฑิตศึกษา ซึง่ มี
อัตราสวนผูสําเร็จบัณฑิตศึกษาตอประชากรเทากับ 117 คนตอประชากร 10,000 คน ใน
21

จํานวนนี้มีสัดสวนผูที่เรียนในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสูงพอประมาณ รัฐบาล
เวียดนามไดตงั้ เปาหมายทีจ่ ะเพิม่ สัดสวนผูส าเร็
ํ จระดับบัณฑิตศึกษาตอประชากรใหสงู ขึน้ อีก
การครุศึกษา
ครุศกึ ษาของเวียดนาม มีลักษณะพิเศษคือ มีสถาบันฝกหัดครูเฉพาะทาง
แบงเปน มหาวิทยาลัยทางการศึกษา ผลิตครูสอนมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหลักสูตร
4-5 ป (มี 9 แหง) คณะศึกษาศาสตรในมหาวิทยาลัยผลิตครูสอนมัธยมศึกษาตอนปลาย
(มี 3 แหง) วิทยาลัยครูผลิตครูสอนมัธยมศึกษาตอนตน (มี 37 แหง) เปนหลักสูตร 3 ป
โรงเรียนมัธยมฝกหัดครูอนุบาลเปนหลักสูตร 1-2 ป หลังมัธยมตนและมีหนวยฝกอบรม
ตางหาก โดยรวมแลวระบบการครุศึกษาคอนขางกระจัดกระจาย
โดยที่สถาบันครุศึกษา มีความหลากหลายมาก รัฐบาลเวียดนามจึงไดปรับ
ระบบการครุศึกษาใหม โดยรวมมหาวิทยาลัยทางการศึกษาและคณะศึกษาศาสตรเขากับ
สถาบันอื่นเปนมหาวิทยาลัยแหงชาติ (National University) รวมวิทยาลัยครูและโรงเรียน
ฝกหัดครูเขาดวยกันแลวผลิตครูหลายระดับ และปรับบทบาทของคณะศึกษาศาสตรของ
มหาวิทยาลัยแหงชาติใหทําหนาที่ฝกอบรมพรอมกันไป
การพัฒนาวิชาชีพครู
รัฐบาลเวียดนามไดกําหนดเปนนโยบาย 2 ประการหลัก คือ ประการแรก
สรางระบบจูงใจใหมีคนเกง คนดีเขามาเปนครู โดยหาทางเพิม่ รายไดและแรงจูงใจตางๆ
รวมถึงการปฏิรูประบบการคัดครู การเลือ่ นขัน้ ตางๆ ดวยการจัดฝกอบรมและเพิ่มทักษะ
ใหมๆ ใหกบั ครูอยางกวางขวาง สรางมาตรฐานของครู สวนนโยบายประการที่สองคือการ
ประกันคุณภาพในดานตางๆ ขึน้
โดยสรุป การพัฒนาการศึกษาของเวียดนามไดกา วหนามาอยางรวดเร็ว
นับตัง้ แตครัง้ ทีอ่ ยูภ ายใตการปกครองของฝรัง่ เศส มีประชากรไมรูหนังสือประมาณรอยละ
95 ใน พ.ศ.2543 สภาพการณไดเปลีย่ นแปลงไปมาก คือ อัตราการรูห นังสือของประชากร
เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 94 เปนเหตุใหการจัดอันดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของเวียดนาม
อยูในอันดับปานกลาง กลาวคือ ในรายงานของ UNDP เกีย่ วกับดัชนีการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย (Human Development Index – HDI) เวียดนามอยูใ นอันดับที่ 108 จาก 175
ประเทศ ทั้งๆที่เวียดนามเริ่มเปดประเทศและใชระบบการตลาดเสรีไดไมนาน
22

ปจจุบันการศึกษาภาคบังคับของเวียดนามอยูที่ระดับประถมศึกษา ซึง่ จัด


ไดครบถวนแลว และจะขยายการศึกษาภาคบังคับถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนภายใน 10
ป หรือภายในป พ.ศ.2553 และในปเดียวกันจะขจัดการไมรูหนังสือใหหมดไป
การพั ฒ นาการศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ไ ด ใ ห ค วามสํ าคัญมา
โดยตลอดตัง้ แตสมัยประธานาธิบดีโฮจิมนิ ห ไดวางรากฐานของนโยบายเพือ่ พัฒนาการศึกษา
และการฝกอบรมทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไวอยางมั่นคง มีการประกาศใหการ
พัฒนาการศึกษาและฝกอบรมทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนนโยบายแหงชาติที่
สําคัญ เปนการแสดงวิสัยทัศนของผูนําประเทศที่เห็นวาระดับสติปญญาของคนในประเทศ
ในเชิงวิทยาศาสตรเปนปจจัยสําคัญที่ตัดสินความสามารถในการแขงขันของประเทศ และ
เปนหนทางที่เวียดนามจะไดพัฒนาเศรษฐกิจอยางมั่นคง
2.2 นโยบายการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร
และเทคโนโลยี หรือ SMT
การสงเสริมผูที่มีความสามารถพิเศษไดดําเนินการมากวา 30 ป คือตั้งแตป
พ.ศ.2508 เริม่ มีการการสงเสริมการสอนคณิตศาสตร ปรากฏวาประชาชนใหการตอบสนอง
และอยากสงบุตรหลานเขาเรียน ในป พ.ศ.2517 เวียดนามไดสง นักเรียนเขาแขงขันโอลิมปก
วิชาการเปนครั้งแรก และไดรับเหรียญทองในวิชาคณิตศาสตร ซึ่งกอใหเกิดความตื่นตัว
และได มี ก ารขยายจํ านวนโรงเรี ย นที่ เ ป ด สอนเด็กที่มีความสามารถพิเศษไปในหลาย
จังหวัด
วัตถุประสงคของการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ มีดงั นี้
1)! เพื่อใหมีแหลงในการสรางอัจฉริยะบุคคลเพื่อเปนผูนํ าในดานตางๆ
โดยเฉพาะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหกับประเทศ
2)! เพื่อสงเยาวชนไปแขงขันระดับนานาชาติ
3)! เพื่อคัดเลือกผูมีสติปญญาดีและผลการเรียนดีเดนเขาสูระดับอุดมศึกษา
4)! เพื่อเปนตนแบบในการยกระดับคุณภาพการศึกษาใหกับโรงเรียนตางๆ
ทั่วประเทศ
ในระยะเริ่มแรกที่มีการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษ ไดมีการเลือกสรร
ผูม คี วามสามารถพิเศษตั้งแตระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษา
23

ตอนปลาย แตตอมารัฐบาลมีความเห็นวา ควรใหเด็กและเยาวชนไดเรียนหลักสูตรพื้นฐาน


อยางเพียงพอกอนที่จะสงเสริมในหลักสูตรสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ
ในป พ.ศ.2540 เปนตนมา รัฐมีนโยบายพิเศษสงเสริมสนับสนุนการจัดการ
ศึ ก ษาสํ าหรั บ ผู  มี ค วามสามารถพิ เ ศษเฉพาะในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายเท า นั้ น
อยางไรก็ตาม ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน แมรัฐจะไมมีนโยบายพิเศษ
ในการสงเสริมและสนับสนุน แตโรงเรียนในระดับตําบล อําเภอ และจังหวัดตางมีความ
สนใจในการจัดการศึกษาและสงเสริมกันเอง เนื่องจากวัฒนธรรมของเวียดนามที่ชอบสง
เสริมและชื่นชมคนเกง การแขงขันทางวิชาการ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตรและวรรณคดี
ไดมีการจัดการศึกษามานานแลวในทุกระดับการศึกษา ในทุกตํ าบล อําเภอ จังหวัด
ประเทศ และนานาชาติ ในปจจุบนั ไดเพิม่ วิชาในการแขงขันทางวิชาการ คือ ฟสกิ ส เคมี
ชีววิทยา สารสนเทศ (คอมพิวเตอร) และภาษาตางประเทศ
อนึง่ ในการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสตเวียดนาม ครัง้ ที่ 8 พ.ศ.2543
ไดวางเปาหมายทีจ่ ะนําประเทศเวียดนามใหเปนประเทศอุตสาหกรรมโดยพืน้ ฐาน ภายใน
ป พ.ศ.2563 โดยจะใชแหลงทรัพยากรตางๆ โดยเฉพาะทรัพยากรมนุษย ซึง่ ถือวามี
ความสําคัญสูงสุด ไดแก ผูใ ชแรงงาน โดยจะพัฒนาและสงเสริมใหไดรับการศึกษาที่
กาวหนาเพื่อใหมีสติปญญาสูง มีทักษะฝมือแรงงาน และมีคุณสมบัติอันดีงาม ในสวน
ของการพัฒนาการศึกษา ไดมมี ติของคณะกรรมการบริหารศูนยกลางของพรรคคอมมิวนิสต
เวียดนาม ครัง้ ที่ 2 รุน ที่ 8 เนนหนักวาใหมกี ารพัฒนาการศึกษาอบรมในระดับอุดมศึกษา
และอาชีวศึกษา รวมทั้งเรงรัดการผลิตแรงงานที่มีฝมือ โดยมีเปาหมายวา ภายใน
ศตวรรษที่ 21 ประเทศเวียดนามจะตองมีบคุ คลสามารถ* จํานวนมาก

*
บุคคลสามารถ ไดแก ผูที่มีความสามารถพิเศษในสาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา
เชน การเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร-เทคโนโลยี ฯลฯ (ใหนิยามโดย
อาจารยเหงียน จิ ธง)
บทที่ 3
การจัดการศึกษาสําหรับผูที่มีความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร
คณิตศาสตร และเทคโนโลยี
3.1 คํานิยาม
3.1.1 นิยามทั่วไป
คําที่ใชในความหมายของคําวา ผูที่มีความสามารถพิเศษมีอยูหลายคําใน
วงการศึกษาสําหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ เชน อังกฤษใชคําวา Able Children,
Gifted Children, Talented Children แตคําทีใ่ ชกนั ในวงการศึกษาสากลทีพ่ บบอยมี 2 คํา
คือ Gifted Children และ Talented Children ที่มีการอธิบายความหมายของคํา 2 คํานี้
แตกตางกันอยูบาง เชน
1)! The Gifted หมายถึง ผูมีความสามารถโดดเดน เพราะพรสวรรคที่มีอยู
ตั้งแตเกิดหรือจากพันธุกรรม สวน The Talented หมายถึง ผูที่มีความสามารถโดดเดน
กวาคนอื่น เนื่องจากการเรียนรูหรือไดรับการฝกฝน
2)! The Gifted หมายถึง คนทีเ่ กงวิชาการ The Talented หมายถึง คนที่
เกงดานอืน่ เชน ศิลปะ ดนตรี กีฬา
3)! The Gifted หมายถึง คนที่มีความสามารถมากกวา 1 ดาน สวน The
Talented หมายถึง คนที่เกงโดดเดนดานใดดานหนึ่ง ซึ่งในระยะหลังมีการใชความหมายนี้
มากขึน้ กวาความหมายอืน่ ๆ เนือ่ งจากเปนการใหความสําคัญตอความสามารถอันหลากหลาย
ของนักเรียนเสมอกัน หรืออีกดานหนึง่ ในเรือ่ งพรสรรคกบั พรแสวงนัน้ เปนเรือ่ งทีแ่ บงแยกลําบาก
เมื่อนักฎหมายที่ระบุถึงสิทธิของเด็กเหลานี้แลวตองมีการกําหนดคํานิยาม
ใหชัดเจนเพื่อปองกันความขัดแยงในเรื่องใครจะเปนผูมีสิทธิที่จะไดรับการสนับสนุนทาง
กฎหมาย ซึ่งหลายประเทศใชคํานิยามทีม่ าจากนิยามของ U.S. Office of Education
(พ.ศ.2536) ใหความหมายวาเด็กทีม่ คี วามสามารถพิเศษหมายถึงเด็กทีม่ คี วามสามารถอัน
โดดเดน หรือแสดงศักยภาพที่จะพัฒนาใหโดดเดนเปนที่ประจักษได เมื่อเปรียบเทียบกับ
เด็กทีม่ สี ภาพแวดลอม หรือประสบการณคลายคลึงกัน หรืออายุพอ ๆ กัน ความสามารถ
พิเศษเหนือคนอื่นอาจมีเพียงดานเดียวหรือหลายดานดังตอไปนี้ คือ
1.! ดานความสามารถทางสติปญญาทั่วไป (Intellectual Ability)
2.! ทางวิชาการสาขาใดสาขาหนึง่ (Specific Academic Ability)
25

3.! ความสามารถทางความคิดสรางสรรค (Creative Thinking Ability)


4.! ดานความเปนผูนํา (Leadership Ability)
5.! ทางศิลปะหรือดนตรี (Visual/Performing Arts & Music)
และเด็กดังกลาวมีลกั ษณะทีต่ อ งการการศึกษาทีแ่ ตกตางจากระบบการศึกษาปกติ
3.1.2 นิยามของเวียดนาม
ความหมายของผูที่มีความสามารถพิเศษในเวียดนาม มีคํ าใชอยู 2 คํา
คือ Gifted ในความหมายของเวียดนาม หมายถึง เด็กกลุมที่มีผลการเรียนดีมากกวา
เด็กทัว่ ไป หรือหมายถึงผูที่มีความสามารถ มีทักษะมากกวาเด็กในวัยเดียวกันในเรื่อง
ตางๆ ในภาษาเวียดนามจะเรียกเด็กกลุมนี้วา “เด็กกลุมทักษะสูง” ซึ่งเปนเด็กที่ไดรับ
คัดเลือกใหเขาในโรงเรียนทีม่ โี ครงการสําหรับเด็กทีม่ คี วามสามารถพิเศษ สวนอีกคําหนึ่ง
คือ Talented หมายถึง ผูที่มีความสามารถโดดเดนระดับยอดเยี่ยมมากกวาเด็ก Gifted
(Highly Gifted, Potentially Genius) ซึ่งเปนเด็กที่ไดรับคัดเลือกจากกลุมเด็กที่มีความ
สามารถพิเศษอยูแลวอีกทีหนึ่ง เชน กลุมตัวแทนที่แขงขันโอลิมปกวิชาการ หรือกลุมที่
มีความสามารถโดดเดนมาก โดยสนับสนุนใหศึกษาตอระดับอุดมศึกษาในสาขาตาง ๆ
3.2!กระบวนการคัดเลือกและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษ
นับตัง้ แตมกี ารสงเสริมผูม คี วามสามารถพิเศษในป พ.ศ.2508 ก็ไดมกี ารสรรหา
และสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษอยางเปนระบบในทุกระดับการศึกษาตั้งแตประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีการคัดเลือกในระดับตําบล อําเภอ
และจังหวัด ปจจุบันในทุกจังหวัด (61 จังหวัด) มีโรงเรียนที่จัดการศึกษาสําหรับผูมีความ
สามารถพิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดละ 1 โรงเรียน และมีโรงเรียนอีก 3
โรงเรียนที่จัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษในเขตภาคเหนือ ภาคกลาง และภาค
ใต ซึง่ ทัง้ 3 แหงตัง้ อยูท ก่ี รุงฮานอย เมืองเว และเมืองโฮจิมินห ตามลําดับ โรงเรียนเหลานี้
จะมีนกั เรียนทัง้ สองกลุม คือ นักเรียนปกติและนักเรียนผูม คี วามสามารถพิเศษ นักเรียนผูมี
ความสามารถพิเศษจะถูกคัดเลือกแยกเปนรายวิชาวาเปนผูม คี วามสามารถพิเศษทางดานใด
โดยทั่วๆ ไปจะแยกเปน 8 วิชา คือ คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ชีววิทยา สารสนเทศ
(คอมพิวเตอร) ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษารัสเซีย นักเรียนที่มีความสามารถ
พิเศษดานใดก็จะเรียนเพิม่ ในวิชานัน้ ๆ เชน คณิตศาสตร ก็จะเรียนเพิ่มและลึกในวิชา
คณิตศาสตร ตลอดระยะเวลา 3 ป (grade 10-12) สวนวิชาอื่น ๆ จะเรียนตามหลักสูตร
ปกติ ซึ่งสวนใหญนักเรียนเหลานี้มักจะเรียนวิชาอื่น ๆ ทุกวิชาไดเร็วกวาปกติ จึงทําใหมี
26

เวลาเหลือในการเรียนวิชาเฉพาะของตนเองมากขึน้ นักเรียนผูมีความสามารถพิเศษที่มีภูมิ-
ลําเนาหางไกล โรงเรียนจะมีหอพักใหอยู และนักเรียนจะไดรับทุนการศึกษาดวย รัฐจะลง
ทุนใหกับนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษมากกวานักเรียนปกติทั่วไป และคัดเลือกครูดีครู
เกงไปสอนนักเรียนเหลานี้เปนพิเศษ จํานวนนักเรียนตอหองจะประมาณ 30 คน ในขณะที่
โรงเรียนปกติจะมีนักเรียนมากกวา คือ 45 คนตอหอง ครูที่สอนนักเรียนที่มีความสามารถ
พิเศษเหลานี้จะมีชั่วโมงสอนนอยกวาครูปกติทั่วไป (สอนนักเรียนปกติ 1.5 ชั่วโมง เทากับ
สอนนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ 1 ชั่วโมง) ครูปกติสอนมากกวา 18 ชั่วโมงตอสัปดาห
ครูสอนผูมีความสามารถพิเศษจะสอนนอยกวา 12 ชั่วโมงตอสัปดาห และโรงเรียนยังจะจัด
หาสวัสดิการพิเศษใหกับครูเหลานี้ดวย โรงเรียนเหลานี้นอกจากไดรับการสนับสนุนเปน
พิเศษจากรัฐแลว ยังจะไดรับการสนับสนุนจากชุมชนและพอแมผูปกครองอีกดวย
ในการคัดเลือกจะพิจารณาจากผลการเรียนในโรงเรียนเปนเกณฑขั้นตน
แลวมีการสอบขอเขียน (paper-pencil test) เปนลําดับชั้นจากโรงเรียนระดับทองถิ่นแลวไป
แขงขันระดับสูงขึน้ ในระดับอําเภอ จังหวัด ภาค และระดับประเทศ แลวจึงคัดเลือกเปน
ตัวแทนประเทศไปแขงขันระดับนานาชาติ เชน การแขงขันโอลิมปกวิชาการ หรือดาน
ดนตรี
การคัดเลือกเด็กโครงการโอลิมปกวิชาการ เปดโอกาสใหเด็กทุกคนมีสิทธิ
เขาสอบได แตในทางปฏิบัติเด็กเหลานั้นมักเรียนอยูในโรงเรียนที่มีโครงการพิเศษ ซึ่ง
กระจายอยูใ นจังหวัดตางๆ เปนโรงเรียนทีม่ ชี อื่ เสียงระดับภาคและระดับชาติ โดยแบงขัน้ ตอน
การคัดเลือกเปน 4 ขัน้ ตอน ดังนี้

จากทัว่ ประเทศ เลือกเขามา


ขั้นที่ 1 30- 40 คน
คัดเลือกครัง้ ที่ 2
เหลือ 15 คน
ขั้นที่ 2
คัดเลือก
ขั้นที่ 3 เหลือ 8 คน
สุดทาย
ขั้นที่ 4 เหลือ
6คน
27

นักเรียนที่ไดเขาแขงขันโอลิมปกวิชาการจะมีสิทธิพิเศษในการเขาเรียนใน
มหาวิทยาลัยชัน้ นําของประเทศ เชน Hanoi University of Science, Hanoi University
of Education, University of Natural Sciences, และ University of Technology ดวย
เหตุนี้จึงทําใหเด็กและเยาวชนมีแรงจูงใจที่จะสรางผลการเรียนที่ดีและเขาสอบแขงขันใน
ระดับตางๆ เพื่อเปดโอกาสใหกับตนและในการรับการศึกษาที่สูงขึ้นอยางมีคุณภาพ
3.3 การจัดการเรียนการสอน
โรงเรียนที่มีหลักสูตรพิเศษเฉพาะทางมี 2 แบบ แบบที่หนึ่งเปนสวนหนึ่ง
ของมหาวิทยาลัย เชน โรงเรียนพิเศษของ Hanoi University of Science เปนเสมือนภาค
วิชาหนึง่ ของมหาวิทยาลัยดวย แบบที่สองคือเปนโรงเรียนทั่วไป เชน โรงเรียน Quoc Hoc
Hué High School และ Le Hong Phong แตละโรงเรียนจะมีหลักสูตร 2 ระบบ คือ หลักสูตร
สามัญสําหรับมัธยมปลายและหลักสูตรพิเศษเพือ่ เสริมความเขมเฉพาะทาง ทัง้ สองหลักสูตร
มีกรอบกํากับโดยกระทรวงศึกษาและฝกอบรม หลักสูตรพิเศษจะแตกตางจากหลักสูตร
สามัญประมาณรอยละ 30 เทานั้น
วิธีการจัดการเรียนการสอน นักเรียนทุกคนตองเรียนครบตามหลักสูตร
สามัญระดับประโยคมัธยมปลายเพื่อสอบจบหลักสูตร สวนนักเรียนที่สอบคัดเลือกเขาไป
ในโปรแกรมของหลักสูตรพิเศษนั้น จะมีวิธีการจัดการเรียน 2 แบบ ทีโ่ รงเรียนของ Hanoi
University of Science นักเรียนชัน้ หลักสูตรพิเศษ จะเรียนจบประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย
สายสามัญระหวางอยูชั้นระดับ 10-11 เมื่อขึ้นระดับ 12 ก็จะเรียนเฉพาะวิชาที่ตนเอง
สามารถพิเศษเทานั้น อีกวิธหี นึง่ ทีโ่ รงเรียนของ University of Natural Sciences กําลัง
ทดลองอยู คือ เริ่มสอนพิเศษ 2 วิชา ตั้งแตระดับ 10 เพื่อเนนเรื่องทักษะการแกปญหา ที่
เหลือเรียนตามหลักสูตรปกติ พอขึน้ ปท่ี 2 คือในระดับ 11 จะคัดนักเรียนอีกใหเหลือนอย
ลง เพื่อเขาโปรแกรมพิเศษที่มีโครงการวิจัยไดเลย
นักเรียนจากโปรแกรมพิเศษเหลานี้ เปนแหลงปอนเขาเวทีการแขงขัน
โอลิมปกวิชาการระดับชาติ และตอมาเปนทีมชาติเพื่อไปแขงขัน นักเรียนกลุมนี้จะไดรับ
การติวเปนพิเศษโดยเนนทักษะการแกโจทยของขอสอบโอลิมปก บางแหงใชครู 10 คน
ในการสอนนักเรียน 15 คน และในบางสาขาวิชาเดิมเคยมีปญหาวานักเรียนเวียดนามไม
สามารถแขงขันได เชน ฟสิกส เพราะขาดภาคปฏิบัติ ก็มีการเสริมภาคปฏิบัติเฉพาะเพื่อ
การแขงขันโอลิมปกวิชาการ ซึง่ ก็ทาให
ํ นกั เรียนเวียดนามสามารถชิงรางวัลได
28

สําหรับการจัดครูผูสอนนั้น โรงเรียนทีอ่ ยูใ นมหาวิทยาลัยจะไดอาจารยจาก


มหาวิทยาลัยมาสอนวิชาเฉพาะ เพราะถือวาเปนผูมีความสามารถที่จะเจาะลึกและมอง
กวางได เนื่องจากเปนผูวิจัยในสาขานั้น และไดติดตามการสอนวิชานั้นทั่วโลก เพื่อให
สามารถตั้งโจทยใหมๆ และหาวิธีแกโจทยใหมๆ ที่จะนํามาสอนได นักเรียนจึงไดสัมผัส
กับคณิตศาสตรที่ทันสมัย บางโรงเรียนที่ไมอยูในมหาวิทยาลัยก็อาศัยอาจารยจาก
มหาวิทยาลัยมาชวยติวใหกับนักเรียนที่จะเขาแขงขัน แรงจูงใจที่ครูไดรับมักไมใช
คาตอบแทนโดยตรง แตจะเปนความภาคภูมใิ จทีไ่ ดมผี ลงานโดยเฉพาะเมือ่ นักเรียนของ
ตนประสบผลสําเร็จชิงรางวัลได อีกสวนหนึ่งคือ การไดเพิ่มพูนความรูโดยนําการวิจัยเพื่อ
พัฒนาวิธีสอน นอกจากนั้นครูเหลานี้ยังมีโอกาสไดสิทธิพิเศษในการไปฝกอบรม ไป
ศึกษาตอ และการพิจารณาความดีความชอบ แมวาเปนการอาสาสมัครของอาจารย
มหาวิทยาลัยมาสอน แตก็ตองเปนผูมีความสามารถเปนที่ยอมรับดวย หลายแหงให
หัวหนาภาควิชานั้นมาเปนผูสอน
นอกจากนั้น ในมหาวิทยาลัยที่มีโรงเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เชน Hanoi University of Education, Hanoi University of
Science จะถือวาโรงเรียนเหลานั้นเปนภาควิชาหนึ่งของมหาวิทยาลัย และจะใหอาจารย
มหาวิทยาลัยสอนเด็กในชั้นเรียนโปรแกรมพิเศษนั้นดวย โดยใหถือวาภาระการสอน
ดังกลาวเทียบเทาการสอนนักศึกษาในมหาวิทยาลัย
สําหรับโรงเรียนวิทยาศาสตร สังกัดกระทรวงการศึกษาและฝกอบรม จะมี
การจัดการศึกษา 2 ระบบ คือ ชั้นเรียนปกติ และชั้นเรียนเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
เชน โรงเรียน Quoc Hoc Hué High School Hanoi – Amsterdam High School และ
Le Hong Phong การคิดภาระงานสอนของครู จะคิดภาระงานสอนในชั้นโปรแกรม
พิเศษเปน 1.5 เทาของชัน้ เรียนปกติ เชน ครูที่สอนในชั้นโปรแกรมปกติจะสอนสัปดาห
ละ 18 ชั่วโมง ในขณะที่ครูในชั้นโปรแกรมพิเศษจะสอนเพียงสัปดาหละ 12 ชั่วโมง ทัง้ นี้
เพื่อใหครูมีเวลาคนควาเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากนั้นยังมีเงินเพิ่มพิเศษจากรัฐบาลใหอีก
เดือนละ 180,000 ดองส
3.4 การบริหารและจัดการ
ผูอํานวยการโรงเรียนพิเศษ ถาเปนโรงเรียนในมหาวิทยาลัย อธิการบดี
เปนผูแตงตั้ง ซึ่งมักเปนผูบริหารของมหาวิทยาลัยดวย เชน ที่ University of Natural
Sciences อธิการบดีเปนผูอํานวยการโรงเรียนดวยและมีคณบดีคณะสังคมศาสตรเปนรอง
29

ผูอํานวยการโรงเรียน สวนโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาและฝกอบรม การไดมาซึ่ง


ผูอ านวยการโรงเรี
ํ ยนจะขึน้ อยูก บั ศึกษาธิการจังหวัด มีวาระครัง้ ละ 5 ป ตอเนือ่ งได 2 วาระ
หลังจากนั้นอาจยายไปทํางานที่โรงเรียนอื่นหรือกลับไปเปนครูสอนหนังสือก็มี คณะหรือ
ภาควิชาเปนผูรับผิดชอบหลักสูตรและการสอนวิชาในสาขาของตน เชน หัวหนาภาควิชา
คณิตศาสตรจะดูแลสาขาคณิตศาสตรในโปรแกรมพิเศษ
สําหรับการงบประมาณและการเงิน โรงเรียนพิเศษจะไดรับการสนับสนุน
งบประมาณจากรัฐโดยผานมาทางมหาวิทยาลัย หรือใหโดยตรงสําหรับโรงเรียนที่ไมอยูใน
มหาวิทยาลัย โรงเรียนทีอ่ ยูใ นมหาวิทยาลัยมีขอ ไดเปรียบตรงที่ สามารถใชอุปกรณ
และบุคลากรรวมกับมหาวิทยาลัยได
โรงเรียนมีรายไดจากคาเลาเรียน โรงเรียนของรัฐเชน Le Hong Phong จะ
ไดรับงบประมาณอีกครึ่งหนึ่งสมทบจากรัฐ สวนโรงเรียน Amsterdam High School รัฐ
สนับสนุนให 1,002,400 ดองส (US$ 70) ตอคนตอป ในขณะที่โรงเรียนทั่วไปอื่นๆ รัฐ
สนับสนุน 429,600 ดองส (US$ 30) ตอคนตอป สําหรับโรงเรียน Quoc Hoc Hué High
School ไดงบประมาณตามจํ านวนหัวของนักเรียน คือ 5-6 แสนดองสตอคนตอป ซึ่ง
คอนขางมากกวาที่อื่น นอกจากนัน้ โรงเรียนยังมีรายรับจากแหลงอืน่ เชน ผูป กครอง
ศิษยเกาอีกดวย
3.5! ปจจัยสนับสนุนการศึกษา
มีการดําเนินการในหลายรูปแบบ นับตั้งแตการจัดการศึกษานอกระบบ
โรงเรียน ซึ่งเปนหนาที่ของกระทรวงศึกษาและฝกอบรม โดยมีศูนยการศึกษาตอเนื่อง
ของแตละจังหวัดรวมมือกับมหาวิทยาลัยเพื่อถายทอดความรูสูสังคม เชน การอบรม
ชีววิทยา และการจัดการใหแกเกษตรกร มีหองสมุดกระจายทั่วไปประมาณ 5,000 แหง
และมีหนวยกระจายขาวอีกเกือบ 5,000 แหง สําหรับคนที่มีงานทําอยูแ ลวและตองการ
เพิม่ พูนความรูเ พือ่ ใหไดปริญญา หรือประกาศนียบัตรก็มีระบบการเรียนแบบ Part-time
ในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย สวนความสัมพันธระหวางสถาบันการศึกษากับภาคเอกชน
นั้น อยูใ นรูปของการใหทนุ การศึกษา การสนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ การฝกงาน และ
การใหคําปรึกษาทางเทคนิคแกโรงงาน ดังเชนที่ University of Technology นอกจาก
นัน้ ยังมีการสอนทางไกลดวย
เวียดนามมีสมาพันธวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี และสมาพันธวรรณคดี
และศิลปะ ภายใตสมาพันธจะเปนสมาคมตางๆ เชน สมาคมวิทยาศาสตรธรรมชาติ
30

สมาคมคณิตศาสตร สมาคมฟสกิ ส สมาพันธมบี ทบาทในการเปนปรึกษาของรัฐบาล และ


สงเสริมกิจกรรมการแขงขันใหรางวัลสิ่งประดิษฐซึ่งมีผลตอนักศึกษามากกวานักเรียน
นอกจากนั้นยังมีสมาคมสงเสริมการศึกษาซึ่งมีกิจกรรมที่เชื่อมโยงไดถึงชุมชน เชน การ
ออกวารสารสําหรับเรียนรูดวยตนเอง เปนตน ซึ่งมีจานวนตี
ํ พิมพถึง 25,000 เลมตอป
ทางดานสือ่ มวลชน พบวาเนือ่ งจากสังคมใหความสําคัญกับการศึกษา สื่อ-
มวลชนทั้งหลายจึงสนใจและใหความสําคัญกับขาวคราวดานนี้ ดังเชน หนังสือพิมพไดยก
หนาใหกับขาวการศึกษาถึง 4 หนา เปนประจําทุกวัน รายการการศึกษาทางโทรทัศนก็มี
ใหแกผูใฝรูใฝเรียนไดใชประโยชน วารสารคณิตศาสตรเยาวชนของสํานักพิมพการศึกษา
สังกัดกระทรวงศึกษาและฝกอบรม จึงเปนที่นิยมในหมูนักเรียนมาก ควบคูกันนั้นก็มี
วารสารวรรณคดีเยาวชนดวย สื่อสิ่งพิมพทั้งหมดมีจํานวนตีพิมพถึง 150 ลานฉบับแตละป
นอกจากนัน้ ยังมีการจัดพิมพหนังสือเพือ่ ชนกลุม นอยดวย ในสวนของการสรางบรรยากาศ
ทางวิทยาศาสตรในประชาชนทั่วไปในรูปของศูนยหรือพิพิธภัณฑวิทยาศาสตร ยังไมมี
พิพธิ ภัณฑ สวนใหญเปนพิพิธภัณฑดานศิลปะและประวัติศาสตร เชน ทีก่ รุงฮานอยมี
หอศิลปถงึ 10 แหง ทีก่ รุงโฮจิมนิ หมพี พิ ธิ ภัณฑประวัตศิ าสตร พิพธิ ภัณฑสงคราม เปนตน
นอกจากนี้ สํานักพิมพเพือ่ การศึกษา สังกัดกระทรวงการศึกษาและฝกอบรม
มีบทบาทในการศึกษาเปนอยางมาก ไดตง้ั ขึน้ ในป พ.ศ.2500 เปนเวลา 43 ปมาแลว มี
ฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ มีหนาที่ในการผลิตและจําหนายสื่อการเรียนการสอนในทุกระดับ
การศึกษา ทัง้ ในรูปของสือ่ สิง่ พิมพ ตําราเรียน หนังสืออางอิง สื่อแถบบันทึกภาพ สื่อ
ซีดีรอม รูปภาพ และแผนที่ ปจจุบันมีเจาหนาที่ประมาณ 1,200 คน ในจํานวนนี้เปน
นักวิชาการสาขาตาง ๆ ทําหนาทีเ่ ปนคณะบรรณาธิการ 170 คน เปนศาสตราจารย 2 คน
รองศาสตราจารย 2 คน จบปริญญาเอกจํานวน 23 คน
สํานักพิมพนี้ไดออกวารสารคณิตศาสตรสาหรั
ํ บเยาวชน โดยทีม่ อี ายุถงึ 36
ปและเปนที่นิยมกันในหมูเยาวชนและประชาชนชาวเวียดนามมาก ผูท อ่ี ยูใ นชนบทหางไกล
ตองเดินทางรอนแรมมาเพื่อหาซื้อวารสารนี้จนมีคํากลาววา นักเรียนในชนบทคอยวารสารนี้
เหมือนเด็กคอยแมกลับจากตลาด วารสารนี้เดิมทีเดียวจัดทําขึ้นสําหรับนักเรียนที่มีความ
สามารถพิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปจจุบันไดขยายเนื้อหาสาระลงไปถึงระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน เปนวารสารที่ชวยกระตุนและสงเสริมใหเยาวชนสนใจวิชาคณิตศาสตร
มากขึ้น
บทที่ 4
การวิเคราะหจุดออนจุดแข็งของเวียดนาม

จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ในภาพรวมพบวา ประเทศเวียดนามมีประวัติ-


ศาสตรอันยาวนานนับพันป ซึ่งตั้งแตครั้งโบราณไดมีการสงเสริมและยกยองคนที่มี
ความสามารถในทางสติปญ  ญามาโดยตลอด โดยใหความสําคัญตอการศึกษาทาง
ดานภาษา วรรณคดี และประวัติศาสตร ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญทีช่ ว ยใหประชาชนได
พัฒนาทักษะในการคิดที่ลุมลึกและเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู นอกจากนี้
ประเทศเวียดนามยังตองเผชิญปญหาจากผูรุกรานภายนอกประเทศในหลายยุคสมัย
จากประเทศจีน ประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา ซึ่งนับเปนปจจัยที่ทําให
ประชาชนเวียดนามมีจิตสํานึกในความรักชาติ เห็นประโยชนสวนรวม และสามารถ
เสียสละเพื่อสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตัว นอกจากนี้รัฐบาลไดใหความสําคัญ
ตอการพัฒนาคน เพราะคนคือปจจัยสําคัญทีจ่ ะชวยใหประเทศชาติอยูรอด และนําพา
ประเทศไปสูความมีอิสรภาพ ซึ่งแนวนโยบายเหลานี้ไดสะทอนออกมาในดานการ
จัดการศึกษาและการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษ
ในบทนี้จะนําเสนอการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของเวียดนามเกี่ยวกับการ
ปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษา ซึ่งเวียดนามถือเปนยุทธศาสตรสําคัญในการพัฒนาคน
เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตอไป

จุดแข็ง
1. เวียดนามมีวฒั นธรรมในการสงเสริมนักวิชาการหรือคนเกงมาตัง้ แตครัง้ โบราณ
จนกลายเปนวัฒนธรรมอยางหนึง่ ของเวียดนาม หากยอนไปเมื่อประมาณ 1,000 ป
ระหวางที่อยูภายใตการปกครองของราชวงศจีน ไดมีการแขงขันเพื่อชิงตําแหนง
จอหงวน นอกจากนี้ยังมีการสงเสริมการศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิตมาเปนเวลา
ยาวนาน ที่ The Temple of Literature (Van Mieu – Suoc Tu Giam) ไดมี
การจารึกชือ่ ดุษฎีบณั ฑิตถึง 1,306 คน ที่จบการศึกษาระหวางป พ.ศ.2027-2323
ซึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตรนี้แสดงใหเห็นถึงวัฒนธรรมในการสงเสริมและยกยอง
ผูมีความสามารถทางสติปญญา
2. ผูนําประเทศมีวิสัยทัศน โดยใหความสําคัญกับการศึกษาและการเสาะหา
ผูมีความสามารถพิเศษมาเปนเวลานาน ตั้งแตสมัยประธานาธิบดีโฮจิมินหไดวาง
รากฐานทางนโยบายการพัฒนาการศึกษาและการศึกษาอบรมทางดานวิทยาศาสตร
32

และเทคโนโลยีไว ซึ่งหมายรวมถึงการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษที่จะเขามา
ศึกษาในดานนี้ แสดงใหเห็นวาผูนําประเทศมีวิสัยทัศนในการเสาะหาและสนับสนุน
ผูมีความสามารถจากอดีตถึงปจจุบัน
3. รัฐมีนโยบายสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษอยางชัดเจน ในป พ.ศ.2540
ไดประกาศนโยบายสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถ
พิเศษ โดยใหจัดในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยไมลงไปถึงระดับประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาตอนตน อยางไรก็ตามในโรงเรียนบางแหงก็ยงั มีความสนใจจัดสงเสริม
กันเอง ซึง่ สวนหนึง่ เปนไปตามความตองการของผูป กครองและชุมชน
4. การที่เวียดนามมีความเชื่อวาคนเปนปจจัยสําคัญ เขาจึงมีนโยบายสงเสริม
ผูมีความสามารถพิเศษโดยทําอยางเปนระบบ หมายความวามีการคัดสรรผูมีความ
สามารถพิเศษตั้งแตระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาขึ้นมา และมีการกระตุนและ
สงเสริมเพื่อใหความสามารถพิเศษเบงบาน เปนการสรุปแนวคิดที่วา แมวาความ
สามารถพิเศษจะมีอยูในตัวเด็ก แตหากขาดการกระตุนใหเบงบานก็จะถูกกลืนอยูใน
คนทัว่ ไป โดยระบบการสรรหาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษเริ่มตั้งแตระดับ
ตํ าบล อําเภอ จังหวัด จนถึงระดับชาติ ทัง้ นีไ้ ดมกี ารดําเนินการมาตั้งแตป พ.ศ.
2508 เริ่มมีการสงเสริมการสอนคณิตศาสตร ซึง่ ประชาชนใหการตอบสนองเปนอยางดี
เนือ่ งจากโรงเรียนเหลานีไ้ ดจดั หาครูทมี่ คี วามสามารถมาทําการสอน ครูผสู อนมีการทํา
วิจยั เพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาโจทยปญ  หาทีม่ คี วามยุง ยากซับซอน เพือ่ กระตุน ความสามารถและ
การคิดใหกับนักเรียน ซึ่งเด็กกลุมนี้จะมีการฝกวิธีการแกปญหาที่ยากกวาเด็กทั่วไป
5. หลักสูตรในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานใหความสําคัญกับวิชาภาษา วรรณคดี
และประวัติศาสตร ซึ่งเด็กทุกคนจะตองเรียน รวมถึงผูที่มีความสามารถพิเศษ
ดาน SMT ทุกคนจะตองเรียนวิชาเหลานี้ดวยเชนกัน การใหความสํ าคัญกับการ
เรียนทางดานภาษา วรรณคดี และประวัตศิ าสตร จะสงผลตอการพัฒนาคนอยางสมดุล
ชวยพัฒนาโครงสรางทางภาษา และชวยสงเสริมพัฒนาการทางความคิด (cognition)
ทําใหผเู รียนมีความสามารถในการคิดทีล่ มุ ลึกและเปนเครือ่ งมือในการแสวงหาความรู
ในประเด็นนีพ้ บวา เปนจุดออนของประเทศไทย ทีห่ ลักสูตรคอนขางจะละเลย
การพัฒนาโครงสรางทางภาษาใหกับผูเรียน การขาดจุดเนนในเรื่องนี้ทําใหครูไม
สามารถวินิจฉัยความบกพรองทางภาษาขงผูเรียนทั้งการอาน การพูด และการ
เขียน กิจกรรมที่ขาดหายไปในปจจุบัน คือ กิจกรรมเรียงความและยอความ ทําให
ผูเรียนไมไดพัฒนาความสามารถในการสื่อสารความคิดของตนเอง ไมไดพฒ ั นาการ
ใชจินตนาการเพื่อการเรียงความ และไมสามารถจับใจความสําคัญเพือ่ การยอความ
33

โดยเฉพาะในปจจุบันที่เนนการออกขอสอบแบบปรนัยมากกวาอัตนัย ผูเ รียนจึงขาด


การพัฒนาทักษะดานการเขียนเปนอยางมาก
6. โรงเรียนที่จัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษมักจะแบงนักเรียน
ออกเปน 2 กลุม คือ นักเรียนปกติ และ นักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ นักเรียนที่มี
ความสามารถพิเศษจะถูกคัดเลือกเปนรายวิชาวาจะเนนทางดานใด โดยทั่วไปจะ
แยกเปน 8 วิชา ไดแก คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ชีววิทยา สารสนเทศ
(คอมพิวเตอร) ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษารัสเซีย กลุมที่มีความ
สามารถพิเศษจะตองเรียนทั้งหลักสูตรปกติและหลักสูตรที่ทางโรงเรียนจัดเพิ่มเติมให
ซึ่งสวนที่เพิ่มเติมนี้โรงเรียนจะเปนผูจัดทําขึ้นเอง มี 3 ลักษณะ ไดแก
1. โปรแกรมเรงระยะเวลาเรียน (Acceleration Program)
2. โปรแกรมเพิ่มพูนประสบการณ (Enrichment Program)
3. โปรแกรมฝกทักษะเพิ่มเติม (Extension Program)
ดังรายละเอียดตอไปนี้
Acceleration Program ใหเด็กเรียนในหลักสูตรไดเร็วกวาแตใหจบตามกําหนด
เวลา ไมอนุญาตใหจบเร็วกวากําหนดเนื่องจากปองกันไมใหเด็กถูกเรงมากเกินไป
จนขาดวุฒภิ าวะทางดานสังคม และมีความรูเฉพาะวิชาสามัญ
Enrichment Program มีการสอนเด็กใหยากและลึกซึ้งกวาเด็กปกติ เนน
การแกโจทยปญ  หา การใชวธิ คี ดิ แบบมีวจิ ารณญาณ รวมถึงการใชความคิดสรางสรรค
โดยเนนการสรางหลักสูตรที่สอดคลองกับแนวการสอบโอลิมปก
Extension Program มีโปรแกรมพิเศษสอดคลองรองรับการแขงขันโอลิมปก
วิชาการ ซึง่ อาจมีการสอบอยางเขมขนนอกเวลาเรียนอยางตอเนือ่ ง ซึ่งเปนสิ่งที่
เวียดนามทํามากกวาหลายๆ ประเทศ คือ การฝกฝนเด็กโดยมีหลักสูตรพิเศษที่ฝก
จากอาจารยมหาวิทยาลัย ที่มีความเชี่ยวชาญในแตละสาขาวิชา และอาจารยเหลานั้น
จะศึกษาแนวทางของการทดสอบ หรือแนวขอสอบอยางตอเนื่อง และกอนแขงมีการ
เขาคายติวเขมอีก 2-3 เดือน
7. มีการสอบในชั้นประโยคของระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน
โดยใชขอ สอบกลางของจังหวัด สําหรับการจบการศึกษาระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
ตองสอบดวยขอสอบกลางของประเทศ ซึ่งนับเปนวิธีการติดตามคุณภาพของระบบ
การศึกษาไดอยางตอเนือ่ ง นอกจากนี้ขอสอบสวนใหญจะเปนขอสอบแบบอัตนัย
ใหนกั เรียนตองอธิบายและใหเหตุผล แมการสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยก็ใชขอ สอบ
34

แบบอัตนัย ซึ่งตองใชเวลาในการตรวจขอสอบประมาณ 1 เดือน แตเปนการวัด


ความสามารถในการเขียนและการแสดงเหตุผลของนักเรียนไดเปนอยางดี
8. โรงเรียนที่จัดหลักสูตรสําหรับผูมีความสามารถพิเศษในระดับชาติ จะเปน
ตนแบบใหกับโรงเรียนในระดับจังหวัด ซึ่งมีสวนในการยกระดับคุณภาพการศึกษาไป
ยังโรงเรียนตางๆ ทัว่ ประเทศ ปจจุบนั มีโรงเรียนทีจ่ ดั การศึกษาสําหรับผูม คี วามสามารถ
พิเศษในเขตภาคเหนือ ภาคกลางและภาคใต ภาคละ 1 โรง ตัง้ อยูท กี่ รุงฮานอย เว
และโฮจิมนิ ห ตามลําดับ ในทุกจังหวัด (61 จังหวัด) มีโรงเรียนทีจ่ ดั การศึกษาสําหรับ
ผูม คี วามสามารถพิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอีกจังหวัดละ 1 โรง
9. ระบบโครงสรางการบริหารทีเ่ ปนระเบียบและมีการกํากับติดตามอยางเขมงวด
โดยพรรคคอมมิวนิสต ทําใหไมเกิดชองวางระหวางนโยบายกับการปฏิบตั ิ การดําเนิน-
การของโรงเรียนที่สงเสริมผูมีความสามารถพิเศษดําเนินการอยางรัดกุมตรงไปตรงมา
และไมผดิ เพืย้ นไปจากวัตถุประสงคทก่ี าหนดไว

10. มีการผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาเอกในจํานวนคอนขางสูง ในแตละปมี
การรับนักศึกษาในระดับปริญญาเอกประมาณ 1,000 คน ในจํานวนนีม้ ผี เู รียนอยูใ น
สาขาวิทยาศาสตรอยูจ านวนค
ํ อนขางมาก ตัวอยางเชนที่ Hanoi University of
Science ปจจุบนั มีนกั ศึกษาปริญญาเอกในสาขาวิชาคณิตศาสตร ฟสกิ ส และเคมี
จํานวน 15 36 และ 42 คน ตามลําดับ
11. ครอบครัว ชุมชน และสังคมใหการสนองตอบนโยบายการสงเสริมผูมี
ความสามารถพิเศษ เนือ่ งจากผูท ไ่ี ดรบั รางวัลในระดับชาติ จะไดรับสิทธิพิเศษใน
การเขามหาวิทยาลัยโดยไมตองสอบคัดเลือก นอกจากนี้ยังพบวาผูปกครองและ
ชุมชนมีความสนใจตอการจัดการศึกษา โดยมักเปนฝายเรียกรองและเขามามีสว นรวม
ในการจัดการศึกษา ซึ่งรัฐก็ไดสนองตอบความตองการดังกลาวโดยเปดโอกาส
ใหเอกชนและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษามากขึ้น ตัวอยางเชน โรงเรียน
Marie Curie เปนโรงเรียนเอกชนทีไ่ ดรบั ความนิยมสูง เนือ่ งจากจัดการเรียนการสอน
ไดอยางมีคณ ุ ภาพ อัตราการสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลายสูงถึง 100 % โรงเรียน
แหงนี้ไดรับการสนับสนุนโดยรัฐใหกูเงินเพื่อการลงทุนในอัตราดอกเบี้ยตํ่ า ซึ่งทาง
โรงเรียนมีแผนทีจ่ ะขยายกิจการและปรับปรุงคุณภาพดานอาคารสถานทีใ่ นอนาคตอันใกล
เพือ่ ยกระดับการใหบริการการศึกษาทีด่ ยี งิ่ ขึน้
12. มีการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน โดยความรวมมือระหวางศูนยการ
ศึกษาตอเนือ่ งของจังหวัดกับมหาวิทยาลัยในการถายทอดความรูส ปู ระชาชน มีสมาพันธ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสมาพันธวรรณคดีและศิลปะ ภายใตสมาพันธ
35

ประกอบดวยสมาคมตางๆ เชน สมาคมวิทยาศาสตรธรรมชาติ สมาคมคณิตศาสตร


สมาคมฟสิกส สมาพันธมีบทบาทในการเปนที่ปรึกษาของรัฐบาล และดําเนินกิจกรรม
สงเสริมการแขงขันสิ่งประดิษฐ และกิจกรรมการศึกษาสูชุมชน นอกจากนี้สื่อมวลชน
ก็ใหความสําคัญกับการศึกษาเชนเดียวกัน ดังเชน หนังสือพิมพนาเสนอขํ าวการศึกษา
ถึง 4 หนา เปนประจําทุกวัน รายการการศึกษาทางโทรทัศนก็มีใหแกผูใฝรูใฝเรียน
ไดรบั ประโยชนอยางกวางขวาง
13. เยาวชนและประชาชนชาวเวียดนามมีความสนใจใฝรู โดยเฉพาะวิชา
คณิตศาสตรมีการออกวารสารคณิตศาสตรสํ าหรับเยาวชนมาเปนเวลาถึง 36 ป
วารสารนี้ไดรับความนิยมมากและตองเพิ่มยอดพิมพจํ าหนายอยูเสมอ เนื่องจาก
จํานวนทีจ่ ดั พิมพไมเพียงพอตอความตองการของเยาวชน
จุดออน
1. การสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษดาน SMT มุงเนนเฉพาะการสงเขา
แขงขันโอลิมปกวิชาการ แตขาดการสนับสนุนเมื่อเยาวชนเสร็จสิ้นจากการแขงขัน
กลาวคือ ยังขาดแผนการพัฒนากําลังคนที่เปนรูปธรรม เกิดปญหาสมองไหล โดย
บุคลากรทีม่ คี วามสามารถพิเศษไปประกอบอาชีพในประเทศสหรัฐอเมริกาและฝรัง่ เศส
เปนจํานวนมาก
2. การจัดการศึกษาเนนที่ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการเปนหลัก ซึ่งอาจทําให
ผูเรียนขาดการเรียนรูแบบองครวม เชน การเรียนการสอนเนนที่การแกโจทยปญหา
แตไมมีการใหนักเรียนสรางโครงงานที่ตองอาศัยการประยุกตความรูตามความคิด
สรางสรรคของผูเ รียน
3. ในการคัดเลือกผูมีความสามารถพิเศษยังขาดเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพใน
การแยกแยะระหวางเด็กที่มีทักษะและเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
4. ขาดการสงเสริมการผลิตและพัฒนาครูที่จะสอนเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
เด็กในตางจังหวัดไมมีโอกาสไดเรียนกับครูที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียง
5. ขาดระบบแรงจูงใจใหกบั อาจารยมหาวิทยาลัยทีต่ อ งมาสอนระดับมัธยมปลาย
กลาวคือ ที่ Hanoi University of Science และ Hanoi University of Education
ตางก็มโี รงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทีส่ ง เสริมผูม คี วามสามารถพิเศษ โดยใหอาจารย
ในคณะวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสารสนเทศ ตองมาสอนนักเรียนผูที่มี
ความสามารถพิเศษในสาขาเหลานี้ ทําใหอาจารยบางคนรูสึกเสียเวลา และตองใช
เวลาในการเตรียมการสอนคอนขางมาก เนื่องจากเด็กกลุมนี้สามารถเรียนรูไดเร็ว
36

6. ประเทศผานภาวะสงครามมาเปนเวลานาน รายไดประชาชาติยงั อยูใ น


เกณฑตาํ่ รัฐไมสามารถจัดสรรงบประมาณดานการศึกษาไดอยางเต็มที่ และโรงเรียน
สวนใหญมีความขาดแคลนในดานอุปกรณสาหรั
ํ บหองปฏิบัติการ
บทที่ 5
ขอเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับประเทศไทย

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนปจจัยสํ าคัญในการพัฒนาประเทศและเพิ่ม
สมรรถนะในการแขงขันในสังคมโลกยุคปจจุบัน แตการพัฒนาดังกลาวจะตองมีการ
วางรากฐานที่ดีจากการพัฒนาวิทยาศาสตรศึกษา และการสงเสริมผูมีความสามารถ
พิเศษดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี
การสงเสริมผูท มี่ คี วามสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี
ไมใชเปนการจัดการศึกษาสําหรับชนชัน้ แตเปนการจัดการศึกษาเพือ่ ตอบสนองความ
แตกตางระหวางบุคคลตามทีไ่ ดกาหนดไว ํ ในรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ ทีถ่ อื วาผูเ รียนมีความสําคัญทีส่ ดุ โดยจะตองสงเสริมผูเ รียนใหไดรบั การ
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีพฒ ั นาการอยางสมดุล มีการเรียนรูเ กีย่ วกับตนเอง ชุมชน
และสังคม มีความรูและทักษะดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี คณิตศาสตร รวมทั้ง
ทางดานภาษา วรรณคดี และประวัติศาสตร เพื่อใหมีจิตสํานึกตอสังคม ซึง่ การ
ดํ าเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว จะตองมีการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษา
ทั้งระบบและครบวงจร ตัง้ แตระดับนโยบายไปจนถึงระดับปฏิบตั กิ าร
จากการศึกษาการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษา และการสงเสริมผูที่มีความ
สามารถพิเศษดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเวียดนามครัง้ นี้ พบวา
ทั้ง ๆ ที่เวียดนามมีฐานะทางเศรษฐกิจดอยกวาประเทศไทย สภาพความพรอมใน
ดานสิง่ อํานวยความสะดวกทางการศึกษายังมีนอยกวาประเทศไทย แตเวียดนามได
ใหความสําคัญตอการสรรหาและสงเสริมผูที่มีความสามารถพิเศษเพื่อสรางผูนําทาง
วิชาการในระยะยาว โดยเฉพาะทางดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
แมประเทศจะตกอยูในภาวะสงครามมาเปนเวลานาน ทําใหมีปญหาทางเศรษฐกิจ
แตเมื่อสงครามยุติ เวียดนามก็ไมไดลดความสําคัญของการจัดการศึกษาสําหรับผูที่มี
ความสามารถพิเศษ จนสามารถพัฒนาผูเ รียนใหอยูใ นแนวหนาระดับนานาชาติ
การดําเนินนโยบายการศึกษาของเวียดนาม แสดงใหเห็นวาการมีทรัพยากรที่
คอนขางจํากัดจะตองไมเปนอุปสรรคตอการสงเสริมและพัฒนาผูท มี่ คี วามสามารถพิเศษ
เนื่องจากการพัฒนากลุมบุคคลเหลานี้เปนเรื่องที่จํ าเปน ประเทศที่มีฐานะยากจน
ยิง่ จําเปนตองทํา ดังนัน้ บทเรียนทีไ่ ดรบั จากการไปศึกษาวิจยั ทีป่ ระเทศเวียดนามครัง้ นี้
38

จึงมีขอ คิดเห็นและขอเสนอแนะทีจ่ ะเปนประโยชนตอ ประเทศไทยหลายประการ ทัง้ ใน


ระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติการ และสื่อมวลชน กลาวคือ
1. ขอเสนอในระดับนโยบาย
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.) เปนหนวยงานหลัก
ทีจ่ ะตองรับผิดชอบ โดยจะครอบคลุมบทบาทหนาที่ดังนี้
1.1 การวิจยั เชิงนโยบาย สกศ.ควรศึกษาวิจยั เพือ่ จับกระแสและแนวโนม
ของการพัฒนาวิทยาศาสตรศึกษาที่ทันสมัยและประสบผลสํ าเร็จในประเทศตาง ๆ
โดยศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการจัดการศึกษาสํ าหรับผูที่มีความสามารถพิเศษในกลุม
ประเทศที่พัฒนาแลว กลุมประเทศอุตสาหกรรมใหม โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย
เชน สิงคโปร เกาหลี มาเลเซีย เพื่อนํ าแนวคิดและนวัตกรรมตาง ๆ ที่คนพบมา
สรางวิสยั ทัศนและกําหนดทิศทางทีเ่ หมาะสมสําหรับระบบการศึกษาของไทย แตท้ังนี้
สกศ.จะตองรวมพลังในลักษณะเครือขายกับสถาบันอุดมศึกษาตาง ๆ โดยสงเสริม
ใหมหาวิทยาลัยไดนาประเด็
ํ นนโยบายทีส่ กศ.ไดจดั ทําขึน้ ไปวิจยั เพือ่ สรางองคความรู
ที่เปนรูปธรรมยิ่งขึ้น ทั้งในดานการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครู การจัดการเรียน
การสอน การพัฒนาสื่อตนแบบ ตลอดจนวิธีการวัดผลประเมินผลทีส่ ามารถวัด
กระบวนการคิดของผูเ รียนมากกวาการวัดความจํา การดําเนินงานเปนเครือขายดังกลาว
จะชวยใหการแปลงนโยบายสูก ารปฏิบตั เิ ปนไปอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
1.2 การจัดทํานโยบายวิทยาศาสตรศึกษาควรสอดคลองกับแผนพัฒนา
กําลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศ จะตองเตรียมความพรอมของ
ผูเรียนตั้งแตระดับอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา เพื่อใหมีสัดสวนผูเรียน
ในสายวิทยาศาสตรเพียงพอที่จะเปนตัวปอนใหกับระดับอุดมศึกษา ในการนี้จะตองมี
การกําหนดนโยบายการสงเสริมผูที่มีความสามารถพิเศษที่ครบวงจร คือมีการสรรหา
ผูที่มีความสามารถพิเศษตั้งแตระดับอนุบาล และสงเสริมอยางตอเนื่องจนถึงระดับ
อุดมศึกษา โดยจะตองมีระบบการคัดเลือกและสงตอตั้งแตระดับอําเภอ และเขตพืน้ ที่
การศึกษา มีการเชือ่ มโยงกับโรงเรียนวิทยาศาสตรตลอดไปจนถึงมหาวิทยาลัยในระดับ
ปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา และระดับหลังปริญญาเอก เพือ่ ใหเปนนักวิจยั ทีส่ ราง
ประโยชนในทางวิชาการใหกบั ประเทศไดอยางแทจริง และบุคลากรเหลานีจ้ ะเปนตนแบบที่
สามารถฝกนักวิจยั อาจารยมหาวิทยาลัย และครูโรงเรียนวิทยาศาสตรรุนตอ ๆ ไปได
1.3 การกําหนดยุทธศาสตร จะตองถือวาการจัดการศึกษาสําหรับผูท มี่ ี
ความสามารถพิเศษจําเปนตองใชทรัพยากร หลักสูตร สือ่ การเรียนการสอน ครู ฯลฯ
39

ทีแ่ ตกตางไปจากการจัดการศึกษาทัว่ ไป จึงมีความจําเปนตองมีการกําหนดมาตรการใน


การระดมทรัพยากรและความรวมมือทางดานวิชาการและการเงินจากทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน พอแม ผูป กครอง ชุมชนและสังคม โดยใหความรูแกผูปกครอง และตอง
เริ่มตั้งแตกอนปฏิสนธิ ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และตอเนื่องไปจนถึง
ระดับอุดมศึกษา
1.4 จะตองมีการจัดทํากฎระเบียบ/กฎหมาย ที่จะเปนเครื่องมือในการ
สงเสริมและสนับสนุนผูที่มีความสามารถพิเศษอยางมีประสิทธิภาพ เชน เงือ่ นไขใน
เรือ่ งสิทธิทางกฎหมาย มาตรการทางภาษี ระเบียบปฏิบัติและสวัสดิการสําหรับครู
อาจารย และสถาบันครอบครัว ทีม่ สี ว นเกีย่ วของกับการสงเสริมผูท มี่ คี วามสามารถพิเศษ
1.5 ใหมีการกําหนดมาตรฐานวิทยาศาสตรศึกษาแหงชาติ เพื่อเปน
เกณฑในการจัดทําหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การผลิตและพัฒนาครู
คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร การจัดสรรทรัพยากร ตลอดจนเกณฑการวัดและ
ประเมินผล ทัง้ นี้ โดยใหมาตรฐานวิทยาศาสตรศกึ ษาแหงชาติครอบคลุมกลุม เปาหมาย
ตาง ๆ ทั้งกลุมผูเรียนปกติ กลุม ดอยโอกาส และกลุมผูที่มีความสามารถพิเศษ
1.6 หนวยงานที่เกี่ยวของควรสนับสนุนใหเกิดเครือขายขององคกรที่
เกีย่ วของกับการพัฒนาผูท ม่ี คี วามสามารถพิเศษ อาทิ โรงเรียน องคกรเอกชน ตลอดจน
สถาบันครอบครัว
2. ขอเสนอในระดับปฏิบัติ
2.1 กระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ เปนหนวยงานหลักทีร่ บั ผิดชอบในการจัดการ
ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ควรมีบทบาทในประเด็นตอไปนี้
2.1.1 การพัฒนาหลักสูตร ควรใหกรมวิชาการและสถาบันสงเสริมการ
สอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร แบบเรียน และคูมือ
การเรียนการสอนอยางตอเนือ่ ง ทัง้ นี้ ควรมีการกําหนดเกณฑมาตรฐานหลักสูตร และ
มาตรฐานการเรียนรูในระดับการศึกษาตางๆ เพื่อสามารถติดตามและประเมินผล
มาตรฐานวิทยาศาสตรศึกษาของชาติไดตลอดเวลา
ในการจัดเนือ้ หาหลักสูตรตองใหความสําคัญกับวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
ควบคูไ ปกับวิชาการทางดานภาษา วรรณคดี และประวัตศิ าสตร โดยจะตองใหความสําคัญ
กับกระบวนการพัฒนาความคิด เชน การเขียนเรียงความและยอความ เพื่อใหผูเรียนได
เกิดความคิดสรางสรรค สุนทรียภาพและจินตนาการ ทั้งยังกอใหเกิดพัฒนาการที่
สมดุล คือ มีความสามารถในการคิดวิเคราะหอยางลุมลึก มีกระบวนการแกปญหา
40

อยางมีหลักการ มีความสามารถในการสือ่ สาร มีความเขาใจในประวัตคิ วามเปนมา


ของชาติไทยและมนุษยชาติ ตลอดจนการแสวงหาความรูอยางมีประสิทธิภาพ
2.1.2 การพัฒนาสื่อ อุปกรณ คูมือ โดยการสงเสริมใหมีการพัฒนาและ
ปรับปรุงสือ่ การเรียนการสอน และสือ่ ทีเ่ ปนนวัตกรรมในรูปแบบตางๆ เชน สือ่ สิง่ พิมพ
สือ่ อิเล็กทรอนิกส และเอกสารคูม อื รวมถึงการจัดใหมกี ารแปลงสือ่ การเรียนรูส าเร็
ํ จรูป
ตาง ๆ จากตางประเทศ เพือ่ กระตุน สงเสริม ชีแ้ นะ และฝกฝน อยางถูกตองเหมาะสม
เพื่ อพัฒนาศักยภาพของผูเ รียนอยางเต็มที่
2.1.3 การพัฒนาครู จะตองถือวาเปนงานหลักในการพัฒนาคุณภาพการ
เรียนการสอน สําหรับการพัฒนาครูในดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จะตองใช
รูปแบบและวิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เชน การใหสมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทยใน
พระบรมราชูปถัมภ เปนผูร บั ผิดชอบในการดําเนินการ
2.1.4 การจัดหาผูเชี่ยวชาญที่เปนนักวิทยาศาสตร นักคณิตศาสตรชั้น
แนวหนาทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อพัฒนาผูท่ีมีความสามารถพิเศษอยาง
เต็มที่ โดยการสือ่ สารทางคอมพิวเตอร การทํางานวิจยั รวมกันและการไปประชุมวิชาการ
กับผูเ ชีย่ วชาญ
2.1.5 การพัฒนาการวัดและประเมินผล กรมวิชาการควรจะมีการพัฒนา
ระบบการวัดและประเมินผลผูเ รียนทีเ่ นนกระบวนการคิดมากกวาเนนคําตอบ เนนความ
สามารถในการสือ่ สาร โดยจะตองลดการวัดผลดวยขอสอบทีม่ คี าตอบตายตั ํ วใหนอ ยลง
และเพิม่ การวัดผลทีส่ ะทอนความคิดของผูเ รียนใหมากขึน้
2.1.6 ควรพิจารณารูปแบบและวิธกี ารนําระบบการสอบและวัดผลในชัน้
ประโยคทีใ่ ชขอ สอบมาตรฐานของประเทศมาใช เพือ่ ติดตามคุณภาพการศึกษาและระดับ
ความสามารถของนักเรียนอยางตอเนือ่ ง
2.1.7 การจัดตั้งโรงเรียนเฉพาะทาง กระทรวงศึกษาธิการควรมีการ
กํ าหนดนโยบายและวางแผนในระยะยาวเกี่ยวกับโรงเรียนเฉพาะทางเพื่อพัฒนาผูที่มี
ความสามารถพิเศษดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร โดยดําเนินการดังนี้
1) วางแผนการจัดตั้งโรงเรียนวิทยาศาสตรที่กระจายตามภาค
ภูมศิ าสตรตา งๆ
2) กําหนดนโยบายใหทุกกลุมโรงเรียน ทุกอําเภอ หรือเขต
พืน้ ทีก่ ารศึกษาไดมีการสรรหาผูที่มีความสามารถพิเศษ แลวจัดโปรแกรม
เสริมเพื่อพัฒนาผูที่มีความสามารถพิเศษเหลานั้น โดยกําหนดใหมีหองเรียน
พิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนตนในโรงเรียนที่มีความพรอม อยางนอย
41

อําเภอหรือเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาละ 1 หองเรียน โดยรัฐใหการสนับสนุนทรัพยากร


และบุคลากร ตลอดจนหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนสําหรับหองเรียน
พิเศษเหลานี้ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ควรมีหองเรียนพิเศษอยาง
เพียงพอในทุกจังหวัดเพื่อรองรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษจากระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน
3) มีระบบการสรรหาผูท มี่ คี วามสามารถพิเศษดวยการดําเนินการ
ทีเ่ ปนขัน้ ตอน ตัง้ แตระดับกลุม โรงเรียน อําเภอ เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา จนกระทัง่
ถึงระดับประเทศ ระบบการสรรหาดังกลาวจะตองมีการสงตอ เพื่อใหผทู ม่ี ี
ความสามารถพิเศษไดรบั การพัฒนาอยางตอเนือ่ งและเต็มตามศักยภาพ แตทงั้
นีต้ อ งมีการวางแผนใหครบวงจร คือ จะตองมีการกําหนดตําแหนงงานเพือ่ ผูท ี่
มีความสามารถพิเศษจะไดทาหน ํ าที่หรือคุณประโยชนตอประเทศชาติภายหลัง
การสําเร็จการศึกษา
4) มีการกําหนดสวัสดิการครูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เพื่ อ ที่ จ ะจู ง ใจให ค นที่ มี ค วามสามารถสู ง เข า มาเป น ครู วิ ท ยาศาสตร แ ละ
คณิตศาสตร โดยเพิม่ คาตอบแทนใหกบั ครูในสาขาวิชาเหลานี้ นอกจากนี้ครู
ที่สอนผูที่มีความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรควรไดรบั
สวัสดิการเพิม่ เติม เชน การคิดคํานวณภาระการสอนทีส่ งู กวาชัน้ เรียนปกติ
โดยใชอัตรา 1.5 ตอ 1 เนื่องจากการสอนชั้นเรียนพิเศษ ครูจะตองมีการ
ศึกษาวิจัยเพิ่มเติมมากกวาครูที่สอนในชั้นเรียนปกติ
2.2. มหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษา ควรมีบทบาทหนาที่ ดังนี้
2.2.1 การผลิตครู มหาวิทยาลัยควรใหความสําคัญกับการผลิตครู
ทีจ่ ะสอนเด็กที่มีความสามารถพิเศษในดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โดยการ
เปดสอนหลักสูตร Gifted Education ในภาควิชาวิทยาศาสตรศึกษา หรือเปดโอกาส
ใหผูที่จบการศึกษาดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรโดยตรงมาศึกษาเพิ่มเติมทางดาน
Gifted Education กอนที่จะออกไปทําการสอน
2.2.2 การวิจัยรูปแบบการสอน มหาวิทยาลัยควรมีการวิจัยเพื่อ
พัฒนารูปแบบการสอนเด็กที่มีความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
เพือ่ สรางนวัตกรรม หรือสือ่ ตนแบบ และเผยแพรไปยังสถานศึกษาตาง ๆ ทัว่ ประเทศ
ทั้ งนี้สถาบันอุดมศึกษาจะตองทําหนาที่เปนแหลงเผยแพรความรูและวิชาการที่ไดจาก
42

การสรางองคความรูไ ปยังสถานศึกษาใหไดอยางทัว่ ถึง โดยถือเปนบทบาทหนาที่ใน


การบริการวิชาการแกสังคม
2.2.3 การสรางความเปนเลิศ มหาวิทยาลัยควรตองมีการวิจัยและ
พัฒนาเพือ่ สรางองคความรูด า น Gifted Education อยางตอเนื่อง
2.2.4 ควรใหโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยตางๆ มีชั้นเรียน
พิเศษ และพิจารณาใหอาจารยจากคณะวิทยาศาสตรมาสอนเด็กทีม่ คี วามสามารถพิเศษ
ดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร และเปดโอกาสใหเด็กไดมโี อกาสใชสอื่ อุปกรณ
และหองปฏิบตั กิ ารของมหาวิทยาลัยดวย
2.3 โรงเรียน ควรมีบทบาทหนาที่ดังนี้
2.3.1 โรงเรียนควรมีระบบการบริหารและจัดการแบบพิเศษทีค่ ลองตัว
ที่สามารถสงเสริมเด็กและเยาวชนผูท่ีมีความสามารถพิเศษ มีโครงสรางกลไกที่
เหมาะสมในการดําเนินงาน สามารถผลักดันนโยบายและแผนตางๆ ใหเกิดผลในทาง
ปฏิบตั อิ ยางเปนรูปธรรม ตลอดจนมีการสรางระบบการติดตามและประเมินผล
2.3.2 โรงเรียนควรมีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยถือวาเปนภารกิจ
ของครูทกุ คนในการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
2.3.3 โรงเรียนจะตองมีการปฏิรูปการเรียนรู โดยยึดผูเรียนเปน
สําคัญ ดวยการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนรูที่หลากหลาย อาทิ
1) จัดกิจกรรมคายวิทยาศาสตร คณิตศาสตร
2) สงเสริมใหเด็กจัดทําโครงงานวิทยาศาสตรในโรงเรียนทีเ่ ปน
การทํ างานเปนกลุมหรือเปนรายบุคคล โดยนํ าความรูทางวิทยาศาสตรมา
ประยุกตใชใหเปนผลงาน
3) จัดสงนักเรียนไปรวมกิจกรรม ฝกงาน กับนักวิจัย
นักวิทยาศาสตร นักคณิตศาสตร ตามหนวยงานตางๆ ในประเทศ
4) ฝกอบรมระยะสัน้ ใหเด็กมีทกั ษะพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร
คณิตศาสตรที่สูงขึ้น และใชเครื่องมือการสื่อสารที่ทันสมัย เชน คอมพิวเตอร
วิดที ศั น ฯลฯ
2.3.4 สรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมในสถานศึกษาเพือ่ พัฒนา
การเรียนรูดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร อาทิ
1) พัฒนาหองสมุดใหเปนแหลงคนควา โดยรวบรวมหนังสือ
และเทคโนโลยีตางๆ ที่ทันสมัย
43

2) จัดหองหรือมุมคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร เพื่อใหเด็ก
ไดฝกปฏิบัติ สรางและทําในสิ่งที่ตนสนใจ
3) จัดตัง้ ชมรมคณิตศาสตร/วิทยาศาสตรเพือ่ ใหเด็กทีม่ คี วาม
สนใจรวมกันไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเปดโอกาสใหสรางสรรคผลงาน
ที่มีประโยชน รวมไปถึงการจัดประกวดผลงานดังกลาว ตั้งแตระดับกลุม
โรงเรียน จังหวัด เขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ และนานาชาติ เพื่อสราง
แรงจูงใจและกระตุนความสนใจ
3. ขอเสนอสําหรับสื่อมวลชน ควรมีบทบาทหนาที่ ดังนี้
3.1 ควรใหความสํ าคัญตอการเผยแพรสาระความรูทางดานวิทยาศาสตร
คณิตศาสตร และเทคโนโลยี และเปนเวทีใหเด็กเยาวชนและประชาชนไดมโี อกาสแลกเปลีย่ น
ความคิดเห็นตามความสนใจ เปรียบเสมือนการใหอาหารสมองทางดานวิทยาศาสตร
คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ตลอดจนเปนแหลงการเรียนรูเ พิม่ เติมอยูต ลอดเวลา
3.2 ใหความรูขาวสารแกพอแม ผูปกครอง ชุมชน และสังคมให
มีจิตสํานึกและความเขาใจตอการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งจะมีผลตอ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตแกประชาชนทุกคน เมื่อประชาชนมีความรูความเขาใจ
วิ ท ยาศาสตรที่ถูกตองก็จะใหการสนับสนุนนโยบายทางดานวิทยาศาสตรอยางเต็มที่
3.3 ใหขอ มูลขาวสารเพือ่ ประชาสัมพันธและใหความรูแ กพอ แม ผูป กครอง
และบุคคลทุกฝายในสังคม ทั้งฝายการเมือง ขาราชการประจํา และประชาชน ให
มีความเขาใจในเปาหมาย และเห็นความจํ าเปนที่จะตองจัดการศึกษาสําหรับผูที่มี
ความสามารถพิเศษคูขนานไปกับการจัดการศึกษาปกติทว่ั ไป
4. ขอเสนอสําหรับสถาบันครอบครัว ควรมีบทบาทหนาที่ ดังนี้
4.1 ครอบครัวมีบทบาทสําคัญในการใหขอมูลเพื่อการเสาะหา การอบรม
เลี้ยงดู และเปนผูสนับสนุนหลักในหลาย ๆ ดาน
4.2 ครอบครัวควรมีบทบาทสําคัญและมีสว นรวมในการจัดการศึกษาใหกับ
ผูที่อยูในความดูแลรวมกับสถาบันการศึกษา
4.3 ครอบครัวมีบทบาทสําคัญในการดูแลรักษาสิทธิอนั พึงมีพงึ ได เพือ่ การ
พัฒนาเด็กกลุมนี้
4.4 พอแม ผูป กครองควรมีสทิ ธิไดรบั ความรูท จี่ ะไปอบรมเลีย้ งดูลกู ใหถกู ทาง
และไดรับการสนับสนุนเพื่อจะดูแลเด็กในปกครองอยางมีประสิทธิภาพ เจริญเติบโต
อยางสมบูรณทกุ ดาน
บรรณานุกรม

กลุมงานพัฒนานโยบายวิทยาศาสตรศึกษา. สรุปผลการประชุม เรื่อง การเสวนา


นักธุรกิจไทยในเวียดนาม ครั้งที่ 6 วันที่ 29 สิงหาคม 2543 ณ กระทรวง
การตางประเทศ.
ขอมูลจําเพาะเวียดนาม จากสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอย มิถุนายน
2543 : เอกสารประกอบการเสวนานักธุรกิจไทยในเวียดนาม ครัง้ ที่ 6 วันที่
29 สิงหาคม 2543 ณ กระทรวงการตางประเทศ.
เขียน ธีรวิทย. เวียดนาม สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง การเมือง และการ
ตางประเทศ. ผลงานวิจยั ชุดเอเชีย โครงการเมธีวจิ ยั อาวุโส สกว., สํานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, 2542.
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สถาบันประชากรศาสตร, ประชากรโลก, 2540.
ชุมพล เทีย่ งธรรม. กรรมการผูท รงคุณวุฒิ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. Mr. Vo Hong
Nam และ Mr. Nguyen Chi Thong (ชาวเวียดนาม). การสนทนาแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นกับผูทรงคุณวุฒิ. 2543.
ธัญญาทิพย ศรีพนา. เมื่อเวียดนามปฏิรูป, สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.), 2541.
. “เวียดนามป 2000”. มติชน 5 กันยายน 2543.
ธันวา วิน. “ขอมูลดานการศึกษา (การสอบเขามหาวิทยาลัย)”. มติชน 17 กรกฎาคม
2543.
พิเชียร คุระทอง. “ขอมูลดานเศรษฐกิจ เวียดนามเทิรน โปร”. มติชน 19-20 กรกฎาคม
2543.
พีระพัฒน สาครพานิช. “ครบรอบ 55 ป ประกาศเอกราชเวียดนาม”. เดลินิวส
2 กันยายน 2543.
วิบูลยลักษณ ทองเชือ้ และวรรณภา เปลี่ยนศรี. รายงานการศึกษาดูงาน เรื่อง
การเรียนการสอนคณิตศาสตร-วิทยาศาสตรในเวียดนาม ระหวางการ
ประชุม ASCOE ระหวางวันที่ 29 กันยายน-1ตุลาคม 2541, เอกสารอัดสําเนา.
45

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. การปฏิรปู การศึกษาประเทศเวียดนาม,


ไพฑูรย สินลารัตน และคณะ, 2540.
. ความสามารถของเยาวชนไทยบนเวทีโลก : ผลจากการ
แขงขันโอลิมปกวิชาการ ป 2538-2542, มีนาคม 2543.
The Ministry of Education and Training of S.R. Vietnam, Workshop on Training
and fostering talented student in preparation for National ASEAN
Regional and International Olympic Competitions in Mathematics,
Physics, Chemistry, Biology and Computer Science, May 1999.
Education Publishing House (Nha Xuat ban GIAO DUC)
Director : NGO TRAN AI
Address : 81 Tran Hung Dao Str. Hanoi
Tel : 84-4-8222130
Hanoi University of Natural Science
Mathematics-Informatics Department for Gifted Students The
Achievemenfs in the International Contests. (Thanh Tich Trong Cac ky
Thi Quoc Te)
Hanoi University of Science (Vietnam National University, Hanoi) September
1999.
Address : 334 Nguyen Trai, Hanoi, Vietnam
Tel : 84-4-8581419; 8584615
Fax : 84-4-8583061
E-mail : dhkhtnhn @ hn.vnn.vn
Mathematics and Youth 8/2000 (Toan hoc va Toui tre) SO 278-NAM THU 37-
TAP CHI RA HANG THANG
Address : 231 Nguyen Van Cu, TP Ho Chi Minh
Tel : 08-8323044
Mathematics and Youth 9/2000 (Toan hoc va Toui tre) SO 279-NAM THU 37-
TAP CHI RA HANG THANG
Address : 231 Nguyen Van Cu, TP Ho Chi Minh
Tel : 08-8323044
46

National Institute for Educational Development (NIED) (Vien Nghien Cuu Phat
Trien Giao Duc)
Address : 106 Tran Hung Dao Hanoi, Vietnam
Tel : 84-4-8253390
Fax : 84-4-8261993
E-mail : Iam-nied @ netnam.org.vn
การสืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, กลุม งานบริการขอมูลอินเทอรเน็ต, 2543
จากการสืบคนขอมูลระบบอินเทอรเน็ต จํานวน 7 เรื่อง คือ
1) The Socialist Republic of Vietnam : 1992 Constitution
www.batin.com.vn/vninfo/vni.htm
2) Vietnam
www.odci.gov/cia/publications/factbook/vn.html
3) Hanoi University of Technology : HUE
www.hut.edu.vn/en
4) Children’s Participation Behaviour in Vietnam : Combined Activities
www.ncdsnet.anu.edu.au
5) Vietnam : Yesterday & Today
www.serverce.oaktom.edu/~wittmam/vietlink.htm
6) Vietnamese Education News
www.vnagency.com.vn/2000-06/30/stories/11.html
7) Vietnam in Renovation 1986-1996
www.batin.com.vn/10 years/10 Index.htm
Office of National Council of Education

01 Bach Thao, Ba Dinh


Hanoi, Vietnam
Tel. 08044955
Fax. 08044130

สภาการศึกษาของเวียดนามไดมกี ารจัดตัง้ มาไดประมาณ 2 ป โดยมี


วัตถุประสงคเพื่อใหเปนองคกรกลางในการกําหนดนโยบายและทิศทางการพัฒนาการ
ศึกษาของประเทศ ซึง่ ปจจุบนั งานดานการศึกษาไดขยายตัวออกไปอยางตอเนือ่ ง
ประเทศเวียดนามมีจานวนนั
ํ กเรียนนักศึกษาทัง้ สิน้ ประมาณ 22.6 ลานคน แตก็ยังนับวา
ประชากรวัยเรียนที่ยังไมไดรับการศึกษามีอีกมาก ซึง่ ตองอาศัยการศึกษานอกระบบ
ชวยเสริม อยางไรก็ตาม ตั้งแตอดีตถึงปจจุบันชาวเวียดนามมีนิสัยใฝเรียนรูม าโดย
ตลอด ปจจุบนั รัฐบาลก็ไดใหความสําคัญตอการใหการศึกษาแกประชาชนเปนอยางยิ่ง
เวียดนามไดพฒ ั นาการศึกษาไปไดมาก เมือ่ ครัง้ ทีย่ งั อยูภ ายใตการ
ปกครองของฝรัง่ เศส มีประชากรไมรูหนังสือประมาณรอยละ 95 แตในปจจุบัน อัตรา
การรูห นังสือของประชากรเพิม่ ขึน้ เปนรอยละ 94 การปฏิรูปการศึกษาเริ่มตั้งแตการ
ไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศส ประธานาธิบดีโฮจิมนิ ห ประกาศนโยบายที่จะขจัดปญหา
ของชาติ 3 ประการ คือ 1) ความยากจน 2) ผูรุกราน 3) ความโง โดยใหเหตุผลวา
ชนชาติใดไมรหู นังสือยอมออนแอ และเมือ่ มีการเปดประเทศตามนโยบาย “โดย เหมjย”
รัฐบาลก็ไดลงทุนอยางมหาศาลตอการพัฒนาการศึกษา
การพัฒนาการศึกษาสงผลตอการพัฒนาประเทศอยางชัดเจนจากรายงาน
ของ UNESCO ในเรือ่ งดัชนีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Development
Index-HDI) เวียดนามอยูใ นอันดับทีน่ า พอใจคือ 108 จาก 175 ประเทศ ทั้ง ๆ ที่
เวียดนามยังมีฐานะยากจน และระดับ GDP per capita ยังไมสูงเทาประเทศอื่น แต
การที่มีระบบการศึกษาที่ดี จึงทําใหภาพรวมของการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยูร ะดับ
กลางของโลก
ระบบการศึกษาของเวียดนามจัดเปนระบบ 5-4-3 คือ ประถมศึกษา 5 ป
มัธยมศึกษาตอนตน 4 ป และมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ป นโยบายการศึกษาที่จะเรง
ดําเนินการภายใน 10 ป คือ จะขจัดการไมรูหนังสือใหไดหมดสิ้นภายในป พ.ศ. 2553
ภาคผนวก ก 2

จะจัดการศึกษาภาคบังคับถึงระดับประถมศึกษา ซึ่งประกาศมาตั้งแตป พ.ศ.2538 ให


ไดสมบูรณโดยเร็ว และจะขยายการศึกษาภาคบังคับเปนมัธยมศึกษาตอนตนในป พ.ศ. 2553
อยางไรก็ตามในระดับอุดมศึกษา ยังนับวาจัดไดไมมากเทาที่ควร โดย
เฉพาะระดับบัณฑิตศึกษา โดยมีอัตราสวนผูสําเร็จระดับบัณฑิตศึกษาตอประชากร
เทากับ 117 ตอ ประชากร 10,000 คน ซึง่ รัฐบาลตัง้ เปาหมายวาจะตองใหไดสงู กวานี้
สําหรับการจัดการศึกษาสําหรับผูที่มีความสามารถพิเศษเวียดนามได
ดําเนินการมาประมาณ 30 ป ในป พ.ศ.2517 ไดสง นักเรียนเขาแขงขันโอลิมปกวิชาการ
เปนครัง้ แรก และก็ไดรับเหรียญทองในวิชาคณิตศาสตร การเลือกสรรผูมีความ
สามารถพิเศษดําเนินการอยางเปนระบบ ตั้งแตประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตั้งแต
ระดับตําบล ระดับจังหวัด ขึ้นมาถึงระดับชาติ มีการสรางโรงเรียนสําหรับผูมีความ
สามารถพิเศษในระดับชาติ 2 แหง โดยเปนโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่อยูใน
มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและมหาวิทยาลัยการศึกษา เปนแหลงเพาะบมผูที่จะไป
สอบแขงขันโอลิมปกวิชาการ
อยางไรก็ตามนโยบายการสงเสริมผูที่มีความสามารถพิเศษก็มีจุดออน
คือ ไมไดมกี ารดําเนินการอยางตอเนือ่ ง คือใหความสนใจเฉพาะชวงไปสอบแขงขัน
แตเมื่อนักเรียนกลับมาแลวไมไดรับการสงเสริมอยางตอเนื่อง เกิดปญหาสมองไหลไป
ยังประเทศสหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส
พัฒนาการของนโยบายการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษไดเริ่มตน
ตั้งแตป พ.ศ.2508 มีการสงเสริมการสอนคณิตศาสตร ซึง่ ปรากฏวาประชาชนใหการ
ตอบสนองเปนอยางดี และไดมกี ารขยายจํานวนโรงเรียนประเภทนีไ้ ปยังจังหวัดตาง ๆ
ทัว่ ประเทศ ในป พ.ศ.2533 มีโรงเรียนสงเสริมผูม คี วามสามารถพิเศษเกือบทุกอําเภอ
บางโรงเรียนมีชั้นเรียนสําหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษตั้งแตระดับประถมศึกษา
แตอยางไรก็ตามไดมขี อ ถกเถียงกันวา การสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษควรจะเริ่ม
ในระดับใด ดังนัน้ ในป พ.ศ.2540 รัฐบาลจึงประกาศหามไมใหเปดชั้นพิเศษในระดับ
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน คงใหเปดสอนไดตั้งแตระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย อยางไรก็ตามยังมีกลุมที่มีความเห็นขัดแยงวา ความสามารถพิเศษ
หลายอยางแสดงออกไดตงั้ แตระดับชัน้ ตนๆ ฉะนัน้ การสรรหาผูม คี วามสามารถพิเศษ
ตัง้ แตวัยเยาวจะชวยใหมีตัวปอนใหกับโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมากขึ้น
ในการนํานโยบายการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษไปปฏิบัติ ยังมี
ปญหาอยูบ างประการ เชน
ภาคผนวก ก 3

- การคัดเลือกผูม คี วามสามารถพิเศษ ยังขาดเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพ


โดยเฉพาะการแยกแยะระหวางเด็กที่มีทักษะกับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ในบาง
สาขาวิชามีปญหาไมมาก เชน ศิลปะ ดนตรี และการกีฬา เนื่องจากเด็กสามารถแสดง
ออกมาไดเปนรูปธรรม สวนวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร การแสดงออกวัดไดยากกวา
- ขาดการสงเสริมการผลิตและพัฒนาครูที่จะสอนเด็กที่มีความสามารถ
พิเศษ ซึ่งนับวามีความขาดแคลนครูประเภทนี้มาก เด็กในตางจังหวัดไมมีโอกาสได
เรียนกับครูเกง ๆ หรือ เรียนกับศาสตราจารยของมหาวิทยาลัย
- การจัดการเรียนการสอน มีปญ  หาในเรือ่ งหองปฏิบตั กิ ารโดยเฉพาะ
วิชาเคมี และชีววิทยา
- ขาดแผนการใชประโยชนจากกลุม ผูม คี วามสามารถพิเศษอยางชัดเจน
วาจะใหมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอยางไร

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
1.! Prof. Dang Ung Van Dircetor, Office of the National
Council of Education
2.! Dr. Dang Ba Lam Director Gernal, National
Institute for Educational
Development
3.! Prof. Dr. Nguyen Van Mau Rector, Hanoi University of
Science
ภาคผนวก ก 4

Hanoi University of Science

334 Nguyen Trai, Hanoi, Vietnam


Tel. (84-4) 8581419, 8584615
Fax. (84-4) 858-3061
E-mail: dhkhtnhn@hn.vnm.vn

เดิมมีชอื่ วา University of Hanoi ตัง้ แตป พ.ศ. 2499 เมือ่ มีการปรับปรุง
โครงสรางการศึกษาไดปรับเปลีย่ นมาเปน Hanoi University of Science ในป พ.ศ.2538
ซึง่ เปนเครือขายของ National University ปจจุบันมี 10 คณะ ดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี และ 2 ภาควิชา คือภาคภาษาตางประเทศและพละศึกษา นอกจากนัน้ ยัง
มีสถาบันวิจัย 9 สถาบัน และศูนยภาษาตางประเทศ จํานวนนักศึกษาทั้งหมดเกือบ
13,000 คน ซึ่งเปนระดับปริญญาตรี 11,000 คน อีก 500 คนอยูในระดับบัณฑิต
ศึกษา และยังมีนักเรียนมัธยมเฉพาะทาง (gifted high school) อีก 1,200 คน จํานวน
บุคลากรรวมทั้งสิ้น 750 คน
มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาเปน 4 ระบบ ดังนี้
1. ระดับตํ่ากวาปริญญาตรี คือ อาชีวศึกษาและ associate bachelor program
สําหรับนักเรียนมัธยมผูส อบผานตามเกณฑของโปรแกรม ซึง่ ตํากว ่ าเกณฑของ bachelor
program แตสามารถเขาสู bachelor program ไดเมื่อสอบผานโดยใชเวลาอีก 2.5 ป
หลังจากหลักสูตร 2 ปของระดับนี้
2. ระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีหลักสูตร 4 ป สําหรับปริญญาตรี 2 ป สําหรับ
ปริญญาโทและ Dr.courses และ ปริญญาเอก 4 ป ผูเขาศึกษาในระดับปริญญาตรีจะ
ตองผานการสอบคัดเลือกซึง่ จัดโดย National University
3. Honour Program for Talented B.Sc หรือ B.E. หลักสูตร 4 ป สําหรับนัก
ศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งคัดเลือกมาจากโปรแกรมปริญญาตรีปกติหลังจาก
เรียนวิชาพืน้ ฐานแลว หรือคัดเลือกจากนักเรียนมัธยมที่มีความสามารถพิเศษที่ชนะ
การแขงขันรางวัลที่ 1 ระดับชาติ และผูไ ดรบั การคัดเลือกอยูใ นทีมชาติในการแขงขัน
โอลิมปกวิชาการ นักเรียนกลุมหลังนี้สามารถเขาโปรแกรมไดโดยไมตองผานการสอบ
คัดเลือก
ภาคผนวก ก 5

4. โปรแกรมสําหรับนักเรียนมัธยมผูม คี วามสามารถพิเศษซึง่ เปนเสมือนอีกหนึ่ง


ภาควิชาของมหาวิทยาลัย โปรแกรมนี้รัฐบาลมอบหมายใหมหาวิทยาลัยจัดขึ้นตั้งแต
ป พ.ศ.2508 ใน 5 สาขา คณิตศาสตร ฟสิกส ชีววิทยา เคมีและสารสนเทศ เพือ่ ผลิต
วัตถุดิบที่มีคุณภาพปอนใหกับคณะตาง ๆ
นอกจากการเรียนแบบเต็มเวลาแลว ยังมีนกั ศึกษา part-time ประมาณ
1,000 คนตอป เขาศึกษาโดยใชเวลา 5 ป สําหรับผูจบมัธยมศึกษาตอนปลายแลว
หรือ 3 ปสาหรั
ํ บผูผาน associate bachelor degree ในสาขาเดียวกัน

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
1.! Prof. Dr. Hab. Nguyen Van Mau Rector
2.! Assoc. Prof. Nguyen Ngoc Long Vice Rector
ภาคผนวก ก 6

Hanoi University of Education

Quan Hoa, Cau Giay


Hanoi, Vietnam
Tel. (84-4) 8342522
Fax. (84-4) 8340721

ประวัติความเปนมาของ Hanoi University of Education เดิมเคยอยู


รวมกับมหาวิทยาลัยแหงชาติ แตภายหลังแยกออกมาเพื่อความเปนอิสระในการ
บริหารและงานวิชาการ สถาบันนีจ้ ะมีอายุครบ 50 ป มีการสอนตัง้ แตระดับปริญญาตรี
ถึงปริญญาเอก
สถาบันนี้มีการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษมาได 34 ป ปจจุบันมี
การสอนกลุมดังกลาวในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิชาคณิตศาสตร และ
สารสนเทศ ซึ่งนักเรียนจากโรงเรียนของสถาบันไดเปนตัวแทนไปแขงขันโอลิมปก
วิชาการทุกป และไดรับเหรียญรางวัลทุกครั้ง ผลผลิตจากโรงเรียนนี้มีจํานวนนับ
พันคน ปจจุบันเปนผูนําในทางวิชาการหลายคน รวมทั้งไดเปนศาสตราจารยใน
มหาวิทยาลัยตาง ๆ ดวย
การจัดการเรียนการสอน ใหอาจารยของมหาวิทยาลัยเปนผูส อนเอง
โดยเฉพาะในวิชาคณิตศาสตรและสารสนเทศ สวนวิชาอื่น ๆ ใหอาจารยระดับมัธยม
ศึกษาทัว่ ไปเปนผูส อน การใหอาจารยของมหาวิทยาลัยสอนในวิชาเฉพาะเนือ่ งจาก
อาจารยเหลานี้มีประสบการณดานการวิจัยซึ่งชวยใหมีความรูกวางขวางและสามารถ
เจาะลึกได
หลักสูตรที่ใชเปนหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของประเทศ
และเพิ่มเติมในลักษณะ Enrichment Program ครูตอ งทํางานหนัก คือตองเตรียมตัว
มากในการหาเนื้อหาเพิ่มเติมมาสอน เพราะเด็กเรียนรูไดเร็ว
วัตถุประสงคของการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
นี้เพื่อเปนโรงเรียนตนแบบ คลายๆ โรงเรียนสาธิต และใหมกี ารขยายผลไปยังจังหวัด
อืน่ ๆ ปจจุบนั มีโรงเรียนในลักษณะนีใ้ นหลายจังหวัด รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 40 กวาแหง
โดยมีการติดตอกับเครือขายอยางสมํ่าเสมอ โดยทางมหาวิทยาลัยอาจสงอาจารยไป
ถายทอดสิง่ ใหม ๆ หรือไปบรรยายใหกับนักเรียนโดยตรง
ภาคผนวก ก 7

ในดานการบริหารอาจมีปญ  หาบาง เชน การใหอาจารยหรือศาสตราจารย


ไปสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ทําใหอาจารยบางคนรูสึกเสียเวลา ระบบจูงใจที่มี
ในขณะนี้คือ การใหคาตอบแทนเพิ่มขึ้น
ปจจัยที่ชวยใหการสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษ ประสบผลสําเร็จ
สวนใหญอยูที่ผูปกครอง เพราะเมื่อรัฐไดประกาศนโยบายเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผูปกครอง
ขานรับทันที โดยไมคิดวาเปนการสรางชนชั้นแตอยางใดเพราะเด็กทุกคนมีโอกาส
หากมีความสามารถสูง และ สมควรไดรบั การพัฒนาใหเต็มศักยภาพ
จุดออนที่ยังมีอยู ไดแก
- การเรียนการสอน เนนที่การแกโจทยปญหา แตยังไมมีการให
นักเรียนสรางโครงงาน จึงอาจขาดการประยุกตความรู
-! การสรางแรงจูงใจใหกับอาจารยมหาวิทยาลัยที่จะมาสอนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย อาจยังไมเพียงพอ
- ไมมีแผนยุทธศาสตร ในการพัฒนาผูที่มีความสามารถพิเศษเพื่อการ
พัฒนาประเทศ

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
1.! Assoc. Prof. Le Quang Trung Vice Rector
2.! Mr. Dinh Quang Thu International Relations
Section
ภาคผนวก ก 8

University of Natural Sciences

227 Nguyen Van Cu St., Dist. 5


Ho Chi Minh City, Vietnam
Tel. (84-8) 8353193, 8353437
Fax. (84-8) 8350096

คณะวิทยาศาสตร เดิมอยูใ น Saigon University ตอมาป พ.ศ.2520


คณะวิทยาศาสตรไดรวมกับคณะอักษรศาสตร (Faculty of Letters) เปน University
of Ho Chi Minh City, ตอมาในป พ.ศ.2539 เมื่อมีการปรับโครงสรางการศึกษา
University of Natural Sciences จึงเปลีย่ นมาเปนมหาวิทยาลัยในเครือของ
Vietnam National University
มหาวิทยาลัยนี้มีนักศึกษาประมาณ 8000 คน อาจารย 565 คน ซึ่ง
เปนระดับศาสตราจารยและรองศาสตราจารย 33 คน อาจารยปริญญาเอก 90 คน
และปริญญาโทอีก 73 คน มีคณะทั้งหมด 7 คณะและศูนยวิจัย 8 ศูนย นอกจากนั้นจะ
มีศูนยที่ทาหน
ํ าที่บริการไดแก ศูนยทางดานภาษาตางประเทศ ศูนยฝกอบรม ศูนย
จัดสอบ และศูนยบริการหางานใหนักศึกษา
มหาวิทยาลัยมีโปรแกรมทั่วไปเพื่อปูพื้นฐานใหแก นักศึกษา เมื่อผาน
ขัน้ พืน้ ฐานนีแ้ ลวจึงมีสทิ ธิศกึ ษาตอในสาขาเฉพาะทีม่ อี ยู 27 สาขา และจะจบปริญญาตรี
เมื่อเรียนครบตามหลักสูตรรวมทั้งผานการสอบวิทยานิพนธ ในระดับบัณฑิตศึกษามี
ปริญญาโทและเอกสําหรับปริญญาเอกจะใชเวลา 3-4 ปหลังปริญญาตรีหรือ 2-3 ป
หลังปริญญาโท
ความรวมมือระหวางประเทศนั้นมีหลายรูปแบบ เชนการฝกอบรมทั้ง
ระยะสั้นและระยะยาว การเชิญอาจารยพเิ ศษมาชวยสอน การจัดประชุมปฏิบัติการ
โครงการวิจัยรวมและการรวมเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธปริญญาเอก ความ
รวมมือกับมหาวิทยาลัยตางประเทศดานวิจัย เชน รวมกับมหาวิทยาลัยในประเทศ
ฝรัง่ เศส สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ เยอรมนี สวิตเซอรแลนด อิตาลี และแคนาดา
โรงเรียมัธยมศึกษาสําหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษไดเปดสอนมา 6
ปแลว เริ่มจากสาขาวิชาคณิตศาสตรตอมาจึงขยายเปดสาขาวิชาเคมี ชีววิทยา ฟสิกส
และยังมีสาขาภาษาอังกฤษและวรรณคดีดว ย โดยมีอธิการบดีเปนผูอ านวยการโรงเรีํ ยน
ภาคผนวก ก 9

วัตถุประสงคของการตั้งโรงเรียนพิเศษนี้ก็เพื่อเปนแหลงผลิตผูมีความสามารถสําหรับ
มหาวิทยาลัยและเพื่อยกระดับการศึกษา โรงเรียนนี้มีสาขาคณิตศาสตรและภาษา
อังกฤษเปนสาขาที่แข็งที่สุด มหาวิทยาลัยไดมีโปรแกรมทดลองเมื่อ 3 ปที่แลว โดย
คัดเลือกนักเรียนประมาณ 40 คน จากนักเรียนในโรงเรียน 500 คน เพื่อเขาโครงการ
พิเศษ จัดการสอนพิเศษ 2 วิชาในปแรก นอกนั้นเรียนเหมือนคนอื่น หลังเทอมที่ 2
คัดเด็กทีม่ ผี ลการเรียนเยีย่ มเขาเรียนวิชาระดับสูงแลว ทําวิจยั ทําใหเด็กไดประสบการณ
วิจัยเร็วขึ้น บางคนสามารถตีพมิ พผลงานไดดว ย นักเรียนที่คัดมานี้จะมีการเรียน
ประมาณ 30% ทีแ่ ตกตางจากคนอื่นเขาจะไดรับการสอนพิเศษที่เนนการแกโจทย
(problem solving) และไดรับการสอนจากอาจารยที่เกง ๆ ของมหาวิทยาลัย ไดใช
อุปกรณปฏิบตั กิ ารของมหาวิทยาลัย โครงการนี้จะขยายตอไปใหเปนชั้นเรียนพิเศษ
จนกระทัง่ ทําไดทง้ั โรงเรียน

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
1. Dr. Pham Dinh Hung Vice Rector
2. Dr. Bui Tho Thanh Dean, Faculty of Chemistry
Chairman of Scientific Committee
3. Prof. Nguyen Huu Anh Chairman, Department of
Mathematics and Computer
Sciences President,
Mathematical Society
4. Dr. Tran Linh Thuoc Dean, Faculty of Biology
ภาคผนวก ก 10

Ho Chi Minh City University of Technology

268 Ly Thuong Kiet St., Dist. 10


Ho Chi Minh City, Vietnam
Tel. (84-8) 8652442
Fax. (84-8) 8653823
E-mail : inter@iro.hcmut.edu.vn

มหาวิทยาลัยนี้เปนมหาวิทยาลัยใหญทสี่ ดุ ในภาคใตของประเทศเวียดนาม
จัดวาใหญเปนอันดับ 2 ของประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ.2500 ซึง่ เปลีย่ นจาก National
Technical Center โดยการรวมวิทยาลัยดานวิศวกรรมศาสตร 4 วิทยาลัยเขาดวยกัน
หลังจากนั้นไดเปลี่ยนเปน National Technical Institute ในป พ.ศ.2515, Technical
University ในป พ.ศ.2517 ระยะนั้นเปนสถาบันผลิตวิศวกรสําหรับเวียดนามตอนใต
จนกระทัง่ ป พ.ศ.2519 เมื่อมีการรวมประเทศแลวจึงเปลี่ยนมาเปน Ho Chi Minh
City University of Technology (HUT) ซึ่งเปนหนึ่งในสามมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ของประเทศ อีก 2 แหงอยูท ฮ่ี านอยและดานัง
มหาวิทยาลัยมีนักศึกษาประมาณ 20,000 คน อาจารย 600 คน
บุคลากรอื่นอีก 200 คน ประมาณรอยละ 60 ของอาจารยมวี ฒ ุ ปิ ริญญาเอก แตละปจะ
รับนักศึกษาใหม 2,800 คน และอีก 1,000 คนในระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งหมดมี 10
คณะ และศูนยวิจัยศูนยบริการรวม 12 ศูนย ผูส อบเขาไดรอ ยละ 60 เปนนักเรียน
มัธยมจากโรงเรียนพิเศษ
มหาวิทยาลัยจัดระบบการศึกษาใหทั้งแบบเต็มเวลาและ part-time มี
ความรวมมือกับองคกรและสถาบันตางประเทศหลายแหง เชน ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย
ญีป่ นุ แคนาดา สําหรับประเทศไทยมหาวิทยาลัยมีโครงการรวมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
และระดับสถาบัน AIT มีการแลกเปลี่ยนอาจารยและนักศึกษาและการใหทุน อาจารย
สวนใหญจงึ จบการศึกษามาจากประเทศเหลานี้ มหาวิทยาลัยไดจดั ทําโครงการ Excellent
Engineering Program รวมกับมหาวิทยาลัยในฝรั่งเศส โปรแกรมนี้ทํามาได 2 ป โดย
ใชหลักสูตรของฝรัง่ เศส ปจจุบนั มีนกั ศึกษาในปที่ 2 อยู 72 คน และในปที่ 1 อีก 98 คน
ผูท เี่ ขาเรียนในโปรแกรมนี้จะเปนนักเรียนที่มีคะแนนชั้นมัธยมปลายสูง มีผลงานเดน
เชน ไดรางวัลจากการแขงขันระดับประเทศ สัดสวนอาจารยตอนักศึกษาในโปรแกรม
ภาคผนวก ก 11

นี้คือ 1 ตอ 3 นักศึกษาจะใชเวลา 9 เทอม โดยเรียนวิชาพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตรใน 3


เทอมแรก อีก 6 เทอมจะเปนการเรียนวิชาเฉพาะโดยมีวิทยานิพนธและฝกงานอีก 6
เดือน นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยกําลังริเริม่ Honour Program ซึ่งเนนวิจัยเพื่อคัด
นักเรียนทีเ่ รียนดีหลังเทอมที่ 3 ของโปรแกรมปกติ Honour Program นี้ จะใชเปนกลไก
ในการยกระดับมาตรฐานของโปรแกรมปกติทั้งหมด มหาวิทยาลัยตองการเนนความ
เปนเลิศทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไมมนี โยบายทีจ่ ะเปดสาขาอืน่ จนกลายเปน
comprehensive universtiy และในอนาคตจะคอย ๆ เลิกการสอนในระดับวิทยาลัย
เทคนิค
ดานความสัมพันธกับภาคเอกชน อาจารยมหาวิทยาลัยนี้มีสวนในการ
ใหคําปรึกษาและการบริการทางวิชาการแกภาคเอกชน และมีงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ
ปญหาของประเทศ รวมทัง้ ความตองการของภาคอุตสาหกรรม มีการสงนักศึกษาไป
ฝกงาน และไดรับการสนับสนุนเปนทุนการศึกษาและเครื่องมืออุปกรณเพื่อการวิจัย
และการเรียนการสอน

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
1. Dr. Phan Thi Tuoi Rector
2. Dr. Le Chi Hiep Head, International Relations Office
ภาคผนวก ก 12

โรงเรียน Quoc Hoc Hue High School

10 Le Loi St., Hue


Vietnam
Tel. 054 820611

เปนโรงเรียนที่เปดสอนมาตั้งแตป พ.ศ.2439 คือเมื่อ 105 ปมาแลว


ซึ่งเปนโรงเรียนรุนแรกๆ ที่ฝรั่งเศสตั้งขึ้นมา เปนโรงเรียนที่มีคุณภาพดีที่สุดในภาค
กลางของประเทศ มีศษิ ยเกาออกไปประกอบอาชีพทีด่ แี ละมีชอื่ เสียงมากมาย ระหวางป
พ.ศ.2537-2538 รัฐบาลไดยกยองใหเปนโรงเรียน 1 ใน 3 ทีม่ คี ณ ุ ภาพดีของประเทศ
เปาหมายของโรงเรียน
1.! พยายามที่จะยกระดับการเรียนการสอนใหมีมาตรฐานดีเยี่ยมในบริเวณนี้
(ภาคกลางของเวียดนาม)
2. นักเรียนทีม่ าเรียนโรงเรียนนีต้ อ งเปนนักเรียนทีม่ ผี ลการเรียนดีในระดับม.ตน
จึงจะมีสิทธิสมัครสอบคัดเลือก แลวแบงนักเรียนที่สอบคัดเลือกได เปน 2 กลุม การ
เรียนตามหลักสูตรดังนี้
(1)!หลักสูตรสําหรับนักเรียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ รวม 23 หองเรียน
(2)!หลักสูตรปกติหรือทั่วไป 30 หองเรียน
หลักสูตรผูม คี วามสามารถพิเศษ จัดไวหอ งละไมเกิน 30 คน สวนหลักสูตร
ปกติ หองละไมเกิน 45 คน ทั้งโรงเรียนมีนักเรียน 1,700 คน
การจัดชั้นเรียนในระยะเวลา 1 ปผานไปถานักเรียนที่มีความสามารถ
พิเศษ หากผลการสอบไมดี จะใหไปเรียนในชั้นเรียนปกติ ในทางกลับกันถานักเรียน
ชัน้ เรียนปกติ หากผลการสอบไดคะแนนดีมาจะไดจัดเขาไปเรียนในชั้นเรียนผูมีความ
สามารถพิเศษ
ปจจัยสําคัญที่ชวยใหโรงเรียนมีคุณภาพสูง
1.! การจัดชั้นเรียนไมแออัดเกินไป นักเรียนความสามารถพิเศษหองละไมเกิน
30 คน และหองปกติไมเกินหองละ 45 คน
2.! การคัดเลือกเลือกครูผูสอน ตองเปนครูที่มีความสามารถสูง และมีบานพัก
รับรองใหพกั
3.! ใหทุนแกนักเรียนในชั้นที่มีความสามารถพิเศษทุกคน
ภาคผนวก ก 13

4.! นักเรียนที่เรียนจบจากโรงเรียนนี้สอบเขามหาวิทยาลัยได 100%


5.! โรงเรียนนี้มีหองปฏิบัติการ (Lab) ที่มีความพรอมมากที่สุดในประเทศ
ทัดเทียมกับหองปฏิบตั กิ ารของมหาวิทยาลัย
6.! เปนโรงเรียนเดียวที่มีการสอบคัดเลือกเขาเรียนชั้น ม.ปลายของเมืองเว
7.! มี ก ารแลกเปลี่ ย นครู ผู  ส อนของโรงเรี ย นนนี้ กั บ อาจารย ที่ ส อนใน
มหาวิทยาลัยใหหมุนเวียนมาสอน และครูที่เกงจากโรงเรียนนี้ไดไปสอนโรงเรียน
วิทยาศาสตรของมหาวิทยาลัย รวมทัง้ เชิญอาจารยทเ่ี กง ๆ จากโรงเรียนอื่นมาสอน
ดวย
8.! นักเรียนที่เรียนดีนิยมไปสอบเขาเรียนตอระดับมหาวิทยาลัยที่ฮานอย ใน
สาขาวิชาสถาปตย วิศวกรรมโยธา การตางประเทศ การคาภายใน การคลัง-การ
ธนาคาร การสื่อสารทางไกล ฯลฯ อันเปนสาขาวิชาที่จะชวยพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศเปนสําคัญ
สรุป
1.! โรงเรียนนี้นับไดวาเปนโรงเรียนที่มีความพรอมสูงในประเทศเวียดนาม
และทุมเทความพรอมลงสูการพัฒนาความรูความสามารถของนักเรียนอยางจริงจัง
และสืบทอดกันมาเปนระยะเวลายาวนานตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ผูน ําของประเทศ
หลายคนจบจากโรงเรียนนี้
2.! หลักสูตรสําหรับนักเรียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ นอกจากจะเรียนตามหลักสูตร
ชัน้ ม.ปลาย แลวทุกคนจะไดเรียนเจาะลึกตามความสนใจ ความถนัดและความ
สามารถในวิชาทีป่ ระสงคจะเรียนใหมที กั ษะเปนพิเศษเฉพาะวิชานัน้ ๆ
3.! โรงเรี ย นนี้ มี บ รรยากาศที่ ดี ทั้ ง ทางด า นอาคารสถานที่ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม
บรรยากาศทางวิชาการ และบรรยากาศทางดานบริหารจัดการถือไดวาเปนตัวอยางที่
ดีของเวียดนาม

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
1. Mr. Nguyen Chon Duc Principal
ภาคผนวก ก 14

Le Hong Phong
High School for Gifted Students

235 Nguyen Van Cu St., Dist. 5


Ho Chi Ninh City, Vietnam
Tel. (84-8) 8398506
Fax. (84-8) 8353089
E-mail: lhphcm@hcm.vnn.vn

โรงเรียนนี้เปนโรงเรียนรัฐบาล เปดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (เกรด 10-11-12) เปนโรงเรียนที่ตั้งขึ้นตั้งแตสมัยฝรั่งเศสเขามาปกครอง
เวียดนาม เปนโรงเรียนที่มีคุณภาพสูงที่สุดในโฮจิมนิ หซิตี้ และเปนหนึ่งในสามของ
โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีคุณภาพสูงสุดของประเทศเวียดนาม เมื่อป พ.ศ.
2538 ไดเปลี่ยนมาเปนโรงเรียนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษตามนโยบาย
ของนายกรัฐมนตรี
นโยบายของโรงเรียน ตองจัดการเรียน 2 ระบบดังนี้
1.! จัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนเรียนดีที่ผานการสอบคัดเลือกเขามา
จากพื้นที่เมืองโฮจิมินหซิตี้
2.! จัดการเรียนการสอนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ (Gifted) ที่
ผานการสอบคัดเลือกเขามา และเปนนักเรียนจากพื้นที่เวียดนามตอนใต (จํานวน 16
จังหวัด) ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี มีนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ 15 หอง
เรียน
สิ่งทีไ่ ดพบเห็น
การจัดชั้นเรียน
1.! นักเรียนปกติ หองเรียนละ 50 คน
2.! นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษหองละ 20 คน
วิชาที่จัดใหสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งจัดใหนอกเหนือ
จากหลักสูตรตามปกติ มี 10 วิชา ไดแก คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี ชีววิทยา ประวัติ
ศาสตร ภูมิศาสตร ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส วรรณคดี และเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Informatics)
ภาคผนวก ก 15

การจัดกลุมการเรียนสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษแบงออก
เปนสวน ๆ ดังนี้
สวน A - สําหรับนักเรียนที่เลือกเรียน คณิตศาสตร ฟสิกส เคมี และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
สวน B - สําหรับนักเรียนที่เลือกเรียน คณิตศาสตร เคมี และชีววิทยา
สวน C - สําหรับนักเรียนที่เลือกเรียนประวัติศาสตร ภูมิศาสตร
สวน D - สําหรับนักเรียนที่เลือกเรียนคณิตศาสตร ดานภาษา
และวรรณคดี
ขอสังเกต สําหรับวิชาภาษาตางประเทศ นักเรียนเลือกเรียนภาษา
อังกฤษ 95% และเลือกเรียนภาษาฝรั่งเศส 5%
จุดเดนของโรงเรียน
1.! นักเรียนของโรงเรียนนีจ้ บการศึกษา (ผานขอสอบกลางของกระทรวง
ศึกษาธิการ) รอยละ 100 และสามารถสอบคัดเลือกเขาเรียนในมหาวิทยาลัยได เกิน
กวารอยละ 95
2.! นักเรียนเกรด 10 และเกรด 11 ไดรับการสอนเสริมเปนพิเศษ เพื่อ
เขารวมโครงการโอลิมปกวิชาการ
3.! ประเทศตาง ๆ จํานวน 45 ประเทศ ใหทุนการศึกษาแกนักเรียน
เพื่อไปศึกษาตอในระดับมหาวิทยาลัยในประเทศนั้น ๆ แลวกลับมารับใชประเทศ
4.! มีโครงการแลกเปลี่ยนนักเรียนเพื่อการศึกษาดานภาษา ศิลปะ และ
วัฒนธรรม กับประเทศญี่ปุน แคนาดา มาเลเซีย นิวซีแลนด และออสเตรเลีย เพื่อ
สรางความสัมพันธอันดีระหวางประเทศ
5.! มีการใชหอ ง Lab สําหรับนักเรียนที่ใฝรูใฝเรียน (Active Students)
6.! โรงเรียนจัดใหมกี ารติดตอสือ่ สารทางไกล ระหวางนักเรียนกับนักเรียน
ญีป่ นุ และนักเรียนออสเตรเลีย
7.! มีโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนใหนักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมเพื่อ
สังคม หลายโครงการ
8.! ผูนําจํานวนมากของเมืองโฮจิมินหซิตี้ เรียนจบไปจากโรงเรียนนี้
9.! นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษไดรับทุนการศึกษาทุกคน
แหลงเงินอุดหนุน
1.! จากรัฐบาล ประมาณครึง่ หนึง่ ของรายไดของโรงเรียน
ภาคผนวก ก 16

2.! จากผูปกครองนักเรียน อีกประมาณครึ่งหนึ่ง


บุคลากร
มีครูทั้งหมด 185 คน ประกอบดวย
ครูปริญญาเอก 3 คน
ครูปริญญาโท 43 คน
ครูปริญญาตรี 139 คน
ผูบริหารโรงเรียนปฏิบัติงานเปนวาระ ๆ ละ 5 ป ถามีผลงานดีสามารถ
อยูต อ ไดอกี
สภาพของอาคารสถานทีอ่ ยูใ นระหวางปรับปรุงเปนอยางมาก
สรุป
1.! ประเทศเวี ย ดนามไม มี ก ฎหมายหรื อ นโยบายเกี่ ย วกั บ การจั ด
การเรียนการสอนในลักษณะที่เปนโรงเรียนวิทยาศาสตรโดยเฉพาะ ขึน้ อยูก บั ความ
มุงหวังของโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยเปนสําคัญ
2.! ในระดับมหาวิทยาลัยไมมีการใหโควตาหรือใหโอกาสเขาศึกษาตอ
ในมหาวิทยาลัยอยางตอเนื่องสําหรับนักเรียนที่มีความสามาถพิเศษการสอบคัดเลือก
เขาเรียนตอมหาวิทยาลัยจึงมีความสําคัญสําหรับนักเรียนและผูปกครองมาก
3.! ชาวเวียดนามสวนใหญยากจน แตสนใจสงลูกเขาเรียนมาก และให
ความสําคัญเปนพิเศษกับประชากรวัยเรียนใหมีโอกาสไดรับการศึกษา
4.! ในปจจุบนั นี้ เวียดนามยังมีปญ
 หาทางเศรษฐกิจอยูม าก แมโรงเรียน
ชั้นดีก็ยังขาดแคลนวัสดุอุปกรณที่จะใชในการทดลองหรือในหองปฏิบัติการคอนขาง
มาก
5.! วิชาคณิตศาสตร เปนวิชาที่ทุกโรงเรียนเนนมากและนักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์สูง

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
Mr. Dang Thanh Chau Principal
ภาคผนวก ก 17

สํานักพิมพ Educational Publishing House

81 Tran Hung Dao Stre.


Hanoi, Vietnam
Tel. (84–4) 8222130

สํานักพิมพนสี้ งั กัดกระทรวงศึกษาธิการ ตัง้ ขึน้ ในป พ.ศ.2500 เปนเวลา 43


ปมาแลว มีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ ปจจุบันมีสํานักงานสาขาอยู 2 แหง ที่เมืองโฮจิมินห
และเมืองดานัง มีหนาที่ในการผลิตและจําหนายสื่อการเรียนการสอนในทุกระดับการ
ศึกษา ทัง้ ในรูปของสือ่ สิง่ พิมพ ตําราเรียน หนังสืออางอิง สื่อแถบบันทึกภาพ สื่อ
ซีดีรอม รูปภาพ แผนที่ ปจจุบันมีเจาหนาที่ประมาณ 1,200 คน ในจํานวนนี้เปนนัก
วิชาการสาขาตาง ๆ ที่ทําหนาที่เปนคณะบรรณาธิการ 170 คน เปนศาสตราจารย 2
คน รองศาสตราจารย 2 คน จบ Ph.D.จํานวน 23 คน
จุดมุงหมายสําคัญที่ไปที่สํานักพิมพน้ี คือการไปพบปะแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นกับคณะบรรณาธิการวารสารคณิตศาสตรสาหรั ํ บเยาวชน บรรณาธิการอาวุโส
Prof. Nguyen Khanh Toan ไดบรรยายสรุปเกี่ยวกับวารสารนี้วา เปนวารสารที่มีอายุ
ถึง 36 ปแลว เปนที่นิยมกันในหมูเยาวชนและประชาชนชาวเวียดนามมาก ผูท อ่ี ยูใ น
ชนบทหางไกลตองเดินทางรอนแรมมาเพื่อหาซื้อวารสารนี้จนมีคํากลาววา นักเรียนใน
ชนบทคอยวารสารนี้ เหมือนเด็กคอยแมกลับจากตลาด วารสารนี้เดิมทีเดียวจัดทําขึน้
สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปจจุบันได
ขยายเนื้อหาสาระ ลงไปถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนดวย เปนวารสารที่ชวยกระตุน
และสงเสริมใหเยาวชนสนใจในวิชาคณิตศาสตรมากขึ้น เดิมทีเดียวคณะบรรณาธิการ
สังกัดกรรมาธิการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งก็คือกระทรวงวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีของเวียดนามในปจจุบันนั่นเอง แตตอมาคณะบรรณาธิการไดยายมาสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการและฝกอบรม และยังทํางานสัมพันธกับสมาคมคณิตศาสตรของ
เวียดนามดวย
วารสารนี้เปนผลสืบเนื่องมาจากการมีการกอตั้งสมาคมคณิตศาสตรแหง
เวียดนาม และการกอตั้งโรงเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร เมื่อมี
การกอตั้งองคกรทัง้ สองดังกลาว ทําใหมีการจัดทําวารสารนี้ขึ้น ซึง่ ไดตพี มิ พครัง้ แรกใน
ป พ.ศ.2507 ฉบับแรกพิมพ 6,000 ฉบับ ปรากฏวาไมเพียงพอกับความตองการตอง
ภาคผนวก ก 18

พิมพเพิม่ วารสารนี้เปนวารสารรายเดือน เดิมมีขนาด 16 หนา ปจจุบันเพิ่มเปน 28


หนา คอลัมนในวารสารนี้ประกอบดวย
-! พูดคุยกับเยาวชนเรื่องคณิตศาสตร โดยนักคณิตศาสตรอาวุโส
-! เจาะลึกคณิตศาสตร ม.ปลาย
-! คณิตศาสตรทันสมัย
-! ชี้แนะแนวทางคณิตศาสตรอนาคต
-! คณิตศาสตรประยุกต
-! คณิตศาสตรคลายเครียด
-! ภาษาอังกฤษกับโจทยคณิตศาสตร
วารสารนี้เปดโอกาสและสงเสริมใหครูและนักเรียนเขียนเรื่องหรือคิด
โจทยปญหาคณิตศาสตรมาลงดวย
โดยสรุป คณะผูจัดทําวารสารมีความภูมิใจกับความสําเร็จของวารสารนี้
มาก ที่ชวยกระตุนและสงเสริมความสนใจคณิตศาสตรในหมูเยาวชนเวียดนาม ชาว
เวียดนามชอบที่จะสรรหาโจทยทางคณิตศาสตรมาทาทายและแขงขันกันจนเปนวัฒน-
ธรรมหนึง่ ของสังคมเวียดนาม การไดมีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะ
บรรณาธิการวารสารคณิตศาสตรสําหรับเยาวชนครั้งนี้ ทําใหคณะผูด งู านไดเขาใจถึง
ความสนใจและการเห็นคุณคาของวิชาคณิตศาสตรของสังคมชาวเวียดนาม ชาวบาน
ทุกคนของเวียดนามตางสนับสนุนและเห็นคุณคาและยกยองคนที่เรียนคณิตศาสตรเกง
และนี่ เ องเป น สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ สํ าคั ญ ที่ ทํ าไมเยาวชนเวี ย ดนามจึ ง ชนะในการแข ง ขั น
คณิตศาสตร ในสนามนานาชาติ โดยเฉพาะการแขงขันโอลิมปกคณิตศาสตรอยูเปน
ประจํา

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
1. Prof. Ngo Tran AI Director
2. Prof. Nguyen Khanh Toan
ภาคผนวก ก 19

Hanoi – Amsterdam High School

Nam Cao Street, Ba Dinh


Hanoi, Vietnam
Tel. 8463096, 8463666
Fax. 8463666
E-mail : ham@hn.vnn.vn

โรงเรียนไดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ.2528 ผูบริหารนครฮานอยตองการใหเปน


โรงเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษของนครฮานอย และไดรับความชวยเหลือจาก
นคร Amsterdam จึงตัง้ ชือ่ โรงเรียนวา Hanoi – Amsterdam High School เปดสอน
ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนตน (grade 6-9) จํานวน 17 หองเรียน และมัธยมศึกษาตอน
ปลาย (grade 10-12) จํานวน 45 หองเรียน มีทั้งนักเรียนที่เรียนปรกติและนักเรียนที่มี
ความสามารถพิเศษ ปจจุบนั มีนกั เรียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางดานวิชาคณิตศาสตร
ฟสกิ ส เคมี ชีววิทยา สารสนเทศ (informatics) วรรณคดี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส
และภาษารัสเซีย อยูว ชิ าละ 3 หองเรียน (grade 10 หนึง่ หองเรียน grade 11 หนึ่ง
หองเรียน และ grade 12 หนึง่ หองเรียน)
นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษวิชาใด จะเรียนวิชานั้นมากกวานักเรียน
ปรกติ สัปดาหละ 3 ชั่วโมง สวนวิชาอื่น ๆ ก็จะเรียนตามหลักสูตรปรกติ เชน นักเรียน
ในหองเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร จะเรียนคณิตศาสตร 8 ชั่วโมง
ตอสัปดาห ในขณะที่นักเรียนทั่วไปจะเรียนคณิตศาสตรเพียง 5 ชั่วโมงตอสัปดาห
นอกจากนั้นนักเรียนเหลานี้ก็ยังสามารถเรียนรูวิชาอื่น ๆ ไดอยางรวดเร็วดวย ทําใหมี
เวลาเหลือทีจ่ ะฝกทักษะวิชาเฉพาะของตนเองมากขึน้
นักเรียนที่มีผลการเรียนดีในระดับมัธยมศึกษาตอนตน จากทุกโรงเรียน
ในกรุงฮานอย จึงจะมีสิทธิสมัครเขาสอบคัดเลือกเขาเรียนโปรแกรมสําหรับผูมีความ
สามารถพิเศษ ณ โรงเรียนแหงนี้ซึ่งมีการแขงขันสูงมาก เชน ในวิชาคณิตศาสตรจะ
คัดเลือกเอาเพียง 30 คน จากผูสมัครประมาณ 600 คน นอกจากมีการคัดเลือก
นั กเรียนอยางเขมงวดแลว ครูที่สอนโปรแกรมผูมีความสามารถพิเศษในโรงเรียนนี้ จะ
คัดเลือกจากครูที่ดีที่สุดของโรงเรียนในกรุงฮานอย และตองมาทดลองสอนกอน ถาผาน
การประเมินจึงจะไดรับการคัดเลือกใหสอนในโรงเรียนนี้
ภาคผนวก ก 20

ผลงานในชวง 15 ปทผ่ี า นมาของโรงเรียนนี้ มีคณ


ุ ภาพสูงมาก นักเรียน
จํ านวนมากของโรงเรี ย นนี้ ช นะการแขงขันวิชาการระดับจังหวัดและระดับประเทศ
จํานวนมากมาย ตัง้ แตกอ ตัง้ โรงเรียน (15 ป) มีนักเรียนของโรงเรียนถึง 44 คนที่ไดรับ
การคัดเลือกใหเปนผูแทนประเทศเวียดนามไปแขงขันโอลิมปกวิชาการในสาขาวิชา
ตางๆ ในการสอนนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ โดยเฉพาะผูที่จะเขาแขงขันโอลิมปก
วิชาการ โรงเรียนไดเชิญอาจารยจากมหาวิทยาลัยตางๆ มาชวยสอนดวย รัฐไดใหการ
สนับสนุนการจัดการศึกษาสําหรับผูมีความสามารถพิเศษสูงกวานักเรียนปรกติทั่วไป
นักเรียนปรกติรัฐจะใหคาใชจายประมาณ US $ 30 ตอคนตอป หองเรียนหนึง่ ๆ จะมี
นักเรียนถึง 50 – 55 คน ในขณะที่นักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ รัฐจะสนับสนุน
คาใชจา ยถึง US $ 70 ตอคนตอป และหองเรียนหนึ่งๆ จะมีนักเรียนเพียง 30 คน
เวียดนามใหความสนใจตอการแขงขันทางวิชาการมาก แตละปจะมีการ
แขงขันทางวิชาการ ระดับตําบล อําเภอ จังหวัด ประเทศ และระดับนานาชาติ นักเรียน
ทีช่ นะการแขงขัน ระดับประเทศและระดับนานาชาติ จะเขาเรียนตอในระดับ
มหาวิทยาลัยไดโดยไมตอ งสอบเขา
จากการไดไปดูงานและเยี่ยมชมโรงเรียนนี้ ทํ าใหเห็นไดชัดเจนวา
เวี ย ดนามไดใหความสํ าคัญตอการจัดการศึกษาสํ าหรับผูมีความสามารถพิเศษมาก
พอ แม ผูปกครองและประชาชนทุกคนก็สงเสริมสนับสนุนผูมีความสามารถพิเศษอยาง
เต็มที่ จนกลายเปนวัฒนธรรมที่มีการแขงขันและยกยองผูมีความสามารถพิเศษ แม
สิ่งอํานวยความสะดวก อาคารสถานที่ และสื่อการเรียนการสอน จะยังขาดแคลน แมจะ
เทียบกับโรงเรียนในประเทศไทยก็ยงั ดอยกวา แตเนื่องจากมีการสงเสริมนักเรียนผูมี
ความสามารถพิเศษมาโดยตลอด จึงทําใหเวียดนามสามารถเอาชนะการแขงขันวิชาการ
ไดระดับนานาชาติได โดยเฉพาะการแขงขันโอลิมปกในวิชาคณิตศาสตร สารสนเทศ
และฟสิกส

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
Mr. Do Lenh Dien Principal
ภาคผนวก ก 21

Marie– Curie High School

No.3 Tran Quoc Tran St.


Hanoi, Vietnam
Tel. 8226310

โรงเรียน Marie–Curie เปนโรงเรียนเอกชน ตัง้ ขึน้ เมือ่ 8 ปทแ่ี ลว (รัฐบาล


เวียดนามเพิง่ อนุญาตใหเอกชนตัง้ โรงเรียนได เมือ่ ป พ.ศ.2533 นีเ้ อง) การดําเนินงาน
ของโรงเรียนตองพึ่งตนเองทุกอยาง รัฐไมไดใหความชวยเหลือแตอยางใด ปจจุบัน
เปดสอนทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนตน (grade 6-9) และมัธยมศึกษาตอนปลาย (grade
10-12) มีนักเรียนทั้งสิ้นประมาณ 2,000 คน ตองเสียคาเลาเรียนคนละ US $ 20 ตอ
เดือน เงินจํานวนนี้จะใชจายเปนเงินเดือนครู และการจัดการกิจกรรมการเรียนการสอน
สวนอาคารสถานที่ ซึง่ ขณะนีเ้ ชาอยู ตลอดจนสื่อและอุปกรณอื่น ๆ ใชจากการระดมทุน
จากครู ครูเปนหุนสวนของโรงเรียน
ปจจุบัน มีครู 100 คน อัตราสวนครูตอนักเรียนเปน 1:20 ครูไดเงิน
เดือนตํ่าสุด 4,000 บาท สูงสุด 12,000 บาท ซึง่ สูงกวาครูในโรงเรียนของรัฐถึง 3 เทา
ทําใหสามารถดึงดูดคนดี คนเกงมาเปนครูโรงเรียนนี้ได จึงทําใหการเรียนการสอนของ
โรงเรียนนี้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงมาก พอแมทกุ คนในกรุงฮานอย อยากให
ลูกเขาเรียนในโรงเรียนนี้มาก อัตราการแขงขันคัดเลือกเขาเรียนในโรงเรียนนี้สูง
ประมาณ 3:1 ทั้งนี้เพราะเก็บคาเลาเรียนไมสูงมากนัก อยูในวิสัยที่พอแมจะจายได และ
การเรียนการสอนของโรงเรียนมีคณ ุ ภาพสูงมาก นักเรียนของโรงเรียนสามารถสอบจบ
ชั้น 12 ซึ่งตองสอบขอสอบของกระทรวงเปนขอสอบเดียวกันทั่วประเทศไดถึง 100 %
และสอบเขาเรียนตอในมหาวิทยาลัยไดถึง 90-95%
โรงเรียนนี้สอนตามหลักสูตรสามัญปรกติ ไมไดจัดชั้นเรียนสําหรับผูมี
ความสามารถพิเศษ เพราะไมสามารถลงทุนจัดชั้นเรียนสําหรับผูมีความสามารถพิเศษ
ซึ่งตองลงทุนสูงมากได แตอยางไรก็ตามนักเรียนจํานวนมากที่เขาเรียนในโรงเรียนนี้
เปนผูท เ่ี รียนดี มีความสามารถพิเศษ
โรงเรียนมีแผนที่จะหาที่ดินและกอสรางอาคารเรียนของตนเองในอนาคต
อันใกลนี้ โดยจะกอสรางอาคารที่มีเนื้อที่ประมาณ 15,000 – 20,000 ตารางเมตร ใช
เงินลงทุนประมาณ 1.5 – 2 ลานเหรียญสหรัฐ โรงเรียนจะระดมทุนจากครูและผูป กครอง
ภาคผนวก ก 22

และจะกูจากธนาคารซึ่งจะเสียดอกเบี้ยในอัตราตํ่า คือ 6% สวนที่ดินจะขอเชาระยะ


ยาวจากรัฐ
การไปดูงานโรงเรียนนี้ทํ าใหเห็นไดวาประเทศเวียดนามแมจะมีระบบ
การปกครองแบบสังคมนิยม แตขณะนี้ก็ยอมรับใหเอกชนเขามามีบทบาทในการชวยรัฐ
จัดการศึกษา และเอกชนก็ไดพสิ จู นใหเห็นวาสามารถจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ
แมจะมีขอจํากัดหลายประการ เกี่ยวกับระเบียบและขอปฏิบัติตาง ๆ ที่กาหนดโดยรั
ํ ฐ
ขอสรุปอีกประการหนึ่งที่ไดจากการไปดูโรงเรียนแหงนี้คือ คุณภาพครู เงินเดือนและ
สิง่ ตอบแทนที่ครูไดรับ และคุณภาพการศึกษา มีความสัมพันธกันอยางแนบแนน ครูใน
โรงเรียนของรัฐไดรบั เงินเดือนนอย คุณภาพครูและคุณภาพของการศึกษาก็นอ ยลง
ตามไปดวย

ผูร วมสนทนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น
Mr. Nguyen Xuan Khang
ภาคผนวก ข 23

เวียดนาม *

ชือ่ ทางการ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม


(The Socialist Republic of Vietnam)
ที่ตั้ง ตั้งอยูที่ละติจูด 102 องศา 10 ฟลิปดา – 109 องศา 30 ฟลิปดา
ตะวันออก ลองติจดู ที่ 8 องศา 30 ฟลิปดา – 23 องศา 22
ฟลิปดาเหนือ ทิศเหนือมีพรมแดนติดชายแดนจีน ยาว 728 กม.
ทิศตะวันตกมีพรมแดนติดยาวชายแดนลาวยาว 1,555 กม. ทิศ
ตะวันตกเฉียงใตมีพรมแดนติดกับกัมพูชายาว 982 กม. ทิศ
ตะวันออกมีพรมแดนติดทะเลจีนใต ทิศใตติดอาวไทย
เมืองหลวง กรุงฮานอย
เมืองสําคัญ ภาคเหนือ
กรุงฮานอย เปนศูนยกลางทางการเมือง และการ
ปกครองของประเทศ ตลอดจนเปนศูนยธรุ กิจการคาทางภาคเหนือ
นครไฮฟอง เปนเมืองทาและเขตอุตสาหกรรมทีส่ าคัํ ญ
จังหวัดกวางนินห เปนแหลงถานหินที่ใหญที่สุด
ของประเทศ มีอา วฮาลองซึง่ เปนแหลงทองเทีย่ วทีม่ ที ศั นียภาพ
สวยงาม (คลายคลึงกับทัศนียภาพของจังหวัดพังงา)
ภาคกลาง
นครดานัง เปนศูนยกลางธุรกิจ การคา การทองเทีย่ ว
และเปนเมืองทาสําคัญ
จังหวัดทัวเทียนเว เปนอดีตราชธานีของราชวงศ
เหวียน มีแหลงทองเที่ยวดานโบราณสถานที่นาสนใจ
ภาคใต
นครโฮจิมินห เปนศูนยกลางการคา การลงทุน และ
การนําเขา-สงออก มีทา เรือไซงอ น และทาอากาศยานตัน เซิน
เยิ๊ด ซึ่งมีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ
--------------------
* ขอมูลจําเพาะเวียดนาม จากสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอย ตุลาคม 2543
ภาคผนวก ข 24

จังหวัดเกิ่นเธอ เปนแหลงผลิตสินคาเกษตรที่
สําคัญ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
ภูมิประเทศ พื้นที่สองในสามของประเทศเปนภูเขาและที่ราบสูง ซึง่ ทอด
ตัวยาวจากภาคเหนือติดชายแดนจีนลงมาทางใต มีที่ราบ
ลุมแมน้ําแดงทางตอนเหนือ และที่ราบลุมแมนํ้าโขงทาง
ตอนใต นอกจากนี้ยังมีที่ราบชายฝงทะเลยาวจากเหนือ
จรดใต
พืน้ ที่ 331,033 ตารางกิโลเมตร (127,200 ตารางไมล) ความยาว
จากเหนือจรดใต 1,650 กิโลเมตร มีชายฝง ยาวทัง้ สิน้ 3,440
กิโลเมตร
ภูมิอากาศ ภาคเหนือมี 4 ฤดู ไดแก ฤดูใบไมผลิ ฤดูรอ น ฤดูใบไมรวง
และฤดูหนาว ภาคกลางและใตมี 2 ฤดู คือ ฤดูรอนและ
ฤดูฝน
อุณหภูมเิ ฉลีย่ ตลอดป กรุงฮานอย 17.8 – 28.7 องศาเซสเซียส
นครดานัง 21.7 – 29.4 องศาเซสเซียส
นครโฮจิมินห 26.1 – 28.9 องศาเซสเซียส
ความชืน้ สัมพัทธเฉลีย่ กรุงฮานอย 80-86 %
นครดานัง 75-87 %
นครโอจิมินห 68-84 %
ทรัพยากรธรรมชาติ นํ้ามัน กาซธรรมชาติ ปาไม เหล็ก ถานหิน ทองคํา
ฟอสเฟต แมงกานิส ไททาเนียม

การเมืองการปกครอง
ระบอบการปกครอง สังคมนิยม
พรรคการเมือง ระบบพรรคเดียว คือ พรรคคอมมิวนิสต
การแบงเขตการปกครอง แบงเปน 4 นคร ไดแก กรุงฮานอย นครโฮจิมนิ ห นครไฮฟอง
และนครดานัง กับ 57 จังหวัด
ภาคผนวก ข 25

วันชาติ 2 กันยายน (วันที่ไดรับเอกราช 2 กันยายน 2488/1945)


รัฐธรรมนูญ ขณะนี้เปนฉบับที่ 4 ประกาศใชเมื่อ 15 เมษายน 2535
กํ าหนดใหเ วี ย ดนามเป น ประเทศสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย ม
โดยมีพรรคคอมมิวนิสตเปนผูกําหนดแนวนโยบายในการ
บริหารประเทศใหแกรัฐบาล และมีสภาแหงชาติ (National
Assembly) ทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานของรัฐบาล
(ฉบับที่ 1 เมื่อป 2489, ฉบับที่ 2 เมื่อป 2502 และฉบับที่ 3
เมือ่ ป 2523)
อํานาจหนาทีข่ องรัฐบาล รัฐบาลกลางไดรบั การแตงตัง้ โดยสภาแหงชาติ มีวาระดํารง
ตําแหนง 5 ป รับนโยบายจากพรรคคอมมิวนิสตมาบริหาร
ประเทศ แลวรายงานผลตอสภาแหงชาติ ปจจุบันเปด
โอกาสใหสมาชิกสภาฯ สามารถซักถามการบริหารงานของ
รัฐบาลเปนรายบุคคลไดในสมัยประชุม นอกจากนี้ในแตละ
นครและจังหวัด จะมีคณะกรรมการประชาชนทําหนาที่เปน
องคกรบริหารสูงสุด โดยบริหารงานใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ
กฎหมาย และระเบียบตางๆ ของรัฐ
ระบบกฎหมาย ลายลักษณอักษร และเปนระบบประมวลกฎหมายตามหลัก
กฎหมายฝรั่งเศส
ผูนําสําคัญทางการเมือง พลโท เล ขา เฟยว (Le Kha Phieu) เลขาธิการพรรค
คอมมิวนิสต (เปนผูที่มีความสําคัญอันดับหนี่ง)
นายเตริ่น ดึก๊ เลือง (Tran Duc Luong) ประธานาธิบดี
นาย ฟาน วัน ไค (Phan Van Khai) นายกรัฐมนตรี
นาย หนง ดึก๊ หมัน่ (Nong Duc Manh) ประธานสภาแหงชาติ
ความสัมพันธทางการทูต เมื่อ 6 สิงหาคม 2519 (1976) และไดมกี ารเฉลิมฉลอง
กับไทย ครบรอบ 20 ป ของการสถาปนาความสัมพันธทางการทูต
เมื่อ 6 สิงหาคม 2539
สัญลักษณธงชาติ พืน้ แดงมีดาวสีเหลืองตรงกลาง
ภาคผนวก ข 26

เศรษฐกิจ
รายไดเฉลีย่ ตอหัวตอป 374 ดอลลารสหรัฐ
( ป 2542) กรุงฮานอยเฉลีย่ 708 ดอลลารสหรัฐ/คน/ป
นครโฮจิมินหเฉลี่ย 1,100 ดอลลารสหรัฐ/คน/ป
คาแรงขั้นตํ่าตอเดือน 45 ดอลลารสหรัฐ (กรุงฮานอย/นครโฮจิมินห)
ตอคน (ป 2541) 40 ดอลลารสหรัฐ (เมืองอืน่ ๆ)
อัตราการเจริญเติบโต รอยละ 4.8 (ป 2542)
ทางเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟอ รอยละ 2 (ป 2542)
เงินตรา สกุลดองส (Dong)
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลารสหรัฐ เทากับ 14,320 ดองส
(อัตราแลกเปลีย่ นของธนาคาร Standard Chartered
กรุงฮานอย ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2543)
ขาดดุลการคากับ 600 ลานดอลลารสหรัฐ (ป 2542)
ตางประเทศ
สินคาออกที่สาคั
ํ ญ นํ้ามันดิบ ขาว เสื้อผาสิ่งทอ รองเทา ผลิตภัณฑจากสัตวนํ้า
(2542) กาแฟ โดยประเทศที่เวียดนามสงออกสินคามากทีส่ ดุ ไดแก
ญีป่ นุ จีน สิงคโปร ออสเตรเลีย ไตหวัน (ไทยเปนคูคา
ลําดับที่ 4 ในกลุม อาเซียน)
สินคานําเขาที่สําคัญ เครื่องจักรอุตสาหกรรม นํ้ามัน ปุย เหล็ก เม็ดพลาสติก
(2542) โดยประเทศเวียดนามนําเขาสินคามากที่สุด ไดแก สิงคโปร
ไตหวัน ญีป่ นุ เกาหลีใต จีน ฮองกง (ไทยเปนคูคาลําดับที่
2 ในกลุม อาเซียน)
การลงทุนจากตางประเทศ ประมาณ 600 ลานดอลลารสหรัฐในป 2542
ประเทศผูลงทุนที่สําคัญ สิงคโปร ไตหวัน ญีป่ นุ ฮองกง และเกาหลีใต
ความสัมพันธดานการคา การคาทวิภาคี (ป 2542) มีมูลคารวม 800.6 ลานดอลลาร
และการลงทุนไทย-เวียดนาม สหรัฐ (ลดลงจากป 2541 ซึง่ มูลคาการคาไทย-เวียดนาม
ภาคผนวก ข 27

รวม 823.2 ลานดอลลารสหรัฐ) โดยไทยสงสินคาออกไปยัง


เวียดนามมูลคา 572.8 ลานดอลลารสหรัฐ และนําเขาสินคา
จากเวียดนามมูลคา 227.8 ลานดอลลารสหรัฐ การลงทุน
ของไทยในเวียดนาม จัดอยูใ นอันดับที่ 12 มีจานวน
ํ 120
โครงการ มูลคา 1.1 พันลานดอลลารสหรัฐ (2542)
สภาพสังคม
ประชากร 77 ลานคน (ป 2542)
อัตราการเพิม่ ประชากรตอป รอยละ 1.58 (ป 2542)
ความหนาแนนของประชากร 233.3 คนตอตารางกิโลเมตร (ป 2541)
องคประกอบประชากร รอยละ 87 เปนเชื้อสายเวียด (Viet) หรือกิงห (Kinh)
รอยละ 13 เปนชนกลุมนอยจํานวน 54 เผาพันธุ เชน มง
ไต แมว เขมร และจาม
สัดสวนของประชากร ชายรอยละ 49.52 หญิงรอยละ 51.48
การศึกษาของประชากร ภาคบังคับ 13.95 ลานคน
ภาคอาชีวศึกษา 13.57 ลานคน
ภาคอุดมศึกษา 0.76 ลานคน
ภาคการศึกษานอกโรงเรียน 0.10 ลานคน
อัตรารูห นังสือของประชากร รอยละ 94 ( ป 2543)
แรงงาน คิดเปนรอยละ 45 ของจํานวนประชากรทั้งหมด โดย 2 ใน
3 อยูในภาคเกษตรกรรม
อัตราวางงาน รอยละ 7.4 (2542)
ประชากรในเมืองทีส่ าคั
ํ ญ กรุงฮานอย 2.67 ลานคน
(เมษายน 2542) นครโฮจิมินห 5.03 ลานคน
นครไฮฟอง 1.67 ลานคน
นครดานัง 6.84 แสนคน
ภาษา ภาษาราชการและธุรกิจใชภาษาเวียดนาม สวนภาษาตาง
ประเทศที่ใชในทางธุรกิจบาง ไดแก ภาษาอังกฤษ จีน
ฝรั่งเศส
ภาคผนวก ข 28

ศาสนา ศาสนาพุทธ นิกายมหายาน รอยละ 40


ศาสนาคริสต นิกายโรมันคาทอลิก รอยละ 40
ทีเ่ หลือนับถือลัทธิขงจือ๊ เตา โปรเตสแตนส และวิญญาณ
บรรพบุรุษ (ลัทธิความเชือ่ ของคนกลุม นอย)

--------------------------------------------------
ภาคผนวก ข 29

รายชื่อและที่อยูหนวยราชการและภาคเอกชนไทยที่สําคัญในเวียดนาม

กรุงฮานอย

1. Royal Thai Embassy


63-65 Hoang Dieu Street
Hanoi
Tel. (84-4) 823-5092-94
Fax. (84-4) 823-5088
E-mail : thaiemhn@netnam.org.vn
2. Commercial Affairs Office
6 Cao Ba Quat Street
Hanoi
Tel. (84-4) 733-0670-71
Fax. (84-4) 733-0669
3. Thai Airways International
44 B Ly Thuong Kiet Street
Hanoi
Tel. (84-4) 826-6893, 826-7921-2
Fax. (84-4) 826-7394
4. Bangkok Bank Public Company Ltd.
41 B Ly Thai To Street
Hoan Kiem District
Hanoi
Tel. (84-4) 826-0886, 824-9094-5
Fax. (84-4) 826-7397
ภาคผนวก ข 30

นครโฮจิมินห

1. Royal Thai Consulate-General


77 Tran Quoc Thao Street
District 3
Ho Chi Minh City
Tel. (84-8) 822-2637-8
Fax. (84-8) 829-1002
2. Thai Trade Center
262/1 Dien Bien Phu Dist.3
Ho Chi Minh City
Tel. (84-8) 823-1435, 822-2657
Fax. (84-8) 822-2657
3. The Thai Business (Vietnam) Association
2! nd Floor 69 Nguyen Thong Street
District 3
Ho Chi Minh City
Tel. (84-8) 846-8816
Fax. (84-8) 846-8816
ภาคผนวก ข 31

รายชื่อและที่อยูหนวยงานที่สําคัญของเวียดนาม

กรุงฮานอย

1. Ministry of Trade
31 Trang Tien
Hoan Kiem District
Hanoi
Tel. (84-4) 826-4778
Fax. (84-4) 826-4696
2. Ministry of Planning and Investment (MPI)
56 Quoc Tu Giam Street
Hanoi
Tel. (84-4) 825-8142, 823-5606
Fax. (84-4) 845-9271
3. Vietnam Chamber of Commerce and Industry (VCCI)
9 Dao Duy Anh Street
Hanoi
Tel. (84-4) 574-2052-3
Fax. (84-4) 574-2052

นครโฮจิมินห

1. Ministry of Trade
35-37 Ben Choung Doung Street
District 1
Ho Chi Minh City
Tel. (84-8) 829-4565
Fax. (84-4) 829-1011
32
ภาคผนวก ค TIME SCHEDULE
STUDY-VISIT IN SCIENCE, MATHEMATICS AND TECHNOLOGY
EDUCATION IN VIETNAM
Headed by Prof.Dr. Sippanondha Ketudat
From 10 to 16 September 2000
10 September 2000 : Arrive Hanoi International Airport
11 September 2000 :
8.00 – 8.30 Received by Vice-Chairman of Government Office,
General Secretary of NEC Prof. Dr. Tran Quoc Toan
8.30 – 11.30 Discussion with Vietnam experts and educational
executives. Chaired by Prof. Dr. Dang Ung Van
Director, Office of the National Education Council.
14.00 – 16.30 Visit Hanoi University of Science – Vietnam
National University, Hanoi
12 September 2000 :
8.00 – 10.00 Visit Hanoi University of Education
10.15 – 11.30 Visit Educational Publishing House
13.30 – 15.30 Visit Hanoi-Amsterdam High School
15.30 – 16.30 Visit Marie-Curie High School
13 September 2000 :
Morning Fly to Hue City
14.00 – 16.30 Visit Quoc Hoc Hue High School
14 September 2000 :
Morning Hue City Tour
Afternoon Fly to Ho Chi Minh City
15 September 2000 :
8.00 – 10.00 Visit University of Natural Sciences-Vietnam
10.00 – 11.30 Visit Le Hong Phong High School
14.00 – 16.00 Visit University of Technology-Vietnam National
University, Ho Chi Minh City
16 September 2000 : Fly to Thailand
คณะผูวิจัยโครงการปฏิรูปวิทยาศาสตรศึกษา : กรณีศึกษาเวียดนาม

1. ศ. ดร. สิปปนนท เกตุทตั กรรมการผูท รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการการศึกษา


(หัวหนาคณะผูวิจัย) แหงชาติ
ประธานกรรมการคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ประธานกรรมการสถาบันสงเสริมการสอน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
2. ดร. ธงชัย ชิวปรีชา ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
3. ดร. ชินภัทร ภูมริ ตั น ผูอ านวยการสํ
ํ านักพัฒนานโยบายและวางแผน
การจัดการศึกษา และผูอ านวยการกลุ
ํ ม งานพัฒนา
นโยบายวิทยาศาสตรศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ
4. รศ. สุชาตา ชินะจิตร ผูอํ านวยการฝายสวัสดิภาพสาธารณะ (ฝาย 3)
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และอุปนายก
สมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทยในพระบรม-
ราชูปถัมภ
5. ผศ. ดร. อุษณีย โพธิสุข อาจารยประจําภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะ
ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
และผูอ ํานวยการศูนยแหงชาติเพื่อพัฒนา
ผูมีความสามารถพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ
6. นายสมพงษ รุจิรวรรธน ผูอํานวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
(กันยายน 2543)
ประวัติ
ศาสตราจารย ดร. สิปปนนท เกตุทตั

การศึกษา
พ.ศ. 2496 B.S. ฟสิกสประยุกต มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ณ ลอสแองเจลิส
พ.ศ. 2497 A.M. ฟสิกส มหาวิทยาลัยฮารวารด
พ.ศ. 2500 Ph.D. ฟสิกส มหาวิทยาลัยฮารวารด
พ.ศ. 2519 ปริญญาบัตร ว.ป.อ. รุนที่ 18
พ.ศ. 2525 ปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ วิทยาลัยการทัพอากาศ
พ.ศ. 2525 กศ. ด. กิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2525 กศ. ด. กิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
พ.ศ. 2530 กศ. ด. กิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
พ.ศ. 2535 วศ. ด. กิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ
พ.ศ. 2537 วท. ด. กิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
พ.ศ. 2538 วท. ด. กิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
พ.ศ. 2538 กศ. ด. กิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. 2540 พบ. ด. กิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
ศาสตราจารย ดร.สิปปนนท เกตุทตั ดํารงตําแหนงประธานกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประธานคณะศึกษา “การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน” ธนาคาร
กสิกรไทย ประธานกรรมการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประธาน
กรรมการบริษัทเอฟเฟคตีฟ แพลนเนอร นายกสภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย
ศาสตราจารยกิตติคุณจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และกรรมการสภามหาวิทยาลัยใน
ประเทศ 6 แหง (จุฬา, มหิดล, ศิลปากร, ศรีนครินทรวิโรฒ สงขลานครินทร และรังสิต)
รวมทั้งดํารงตําแหนงกรรมการระดับชาติอีกหลายกรรมการ อาทิ กรรมการการศึกษา
แหงชาติ กรรมการคณะกรรรมการขาราชการพลเรือน กรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติ กรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ฯลฯ รวมทั้งเปนกรรมการมูลนิธิ
เพื่อการศึกษาและวิทยาศาสตรหลายแหง
ในอดีตเคยดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกวุฒิสภา ประธานกรรมการบริหารสภาวิจัยแหงชาติ
ประธานกรรมการกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการการปโตรเลียมแหง
ประเทศไทย ประธานกรรมการบริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) เลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ รองผูอ ํานวยการซีเมส กรรมการสภาสถาบัน
เทคโนโลยีแหงเอเซีย และกรรมการสภามหาวิทยาลัยสหประชาชาติ
ศาสตราจารย ดร. สิปปนนท เกตุทัต ไดรับทุนรัฐบาล (คุรุสภา) ไปศึกษาวิชา
ฟสิกสเปนเวลา 9 ป ตั้งแต 29 มีนาคม พ.ศ. 2492 จนถึง 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2501
ตั้งแตระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมทัง้ ปฏิบตั กิ ารวิจยั หลังปริญญาเอก และไดรับ
ทุนวิจยั ไปทํางานวิจัยในสหรัฐอเมริกา 2 ป และเยอรมนีอีก 1 ป
ศาสตราจารย ดร. สิปปนนท เกตุทัต สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา
นิวเคลียรฟสิกส มหาวิทยาลัยฮารวารด มีประสบการณทํางานหลายดาน เคยดํารง
ตําแหนงสําคัญในมหาวิทยาลัย ในสวนราชการหลายแหง และในทางการเมืองกอนที่
จะเขามามีบทบาททางธุรกิจและอุตสาหกรรมของชาติ รวมทั้งการวางแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม
ในชวงเวลาเกือบสิบป นับตัง้ แต พ.ศ. 2517 ศาสตราจารย ดร.สิปปนนท เกตุทตั
มีบทบาทสําคัญในการปฏิรปู การศึกษาของไทย และในชวงเวลาเดียวกันนี้เคยเปนที่
ปรึกษาธนาคารโลก องคการยูเนสโก และมูลนิธิการศึกษาตาง ๆ
นับตั้งแต พ.ศ. 2527 เปนตนมา ศาสตราจารย ดร.สิปปนนท เกตุทัต ไดเปน
ผูบุกเบิกอุตสาหกรรมปโตรเคมีตามแผนพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกและ
ไดมีสวนสําคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติ และอุตสาหกรรมนํ้ามันของ
ประเทศดวย
ศาสตราจารย ดร. สิปปนนท เกตุทัต มีผลงานทีเ่ ปนภาษาไทยรวมกวา 200
เรื่อง ภาษาอังกฤษรวมกวา 90 เรื่อง
ในปจจุบันและอนาคต ศาสตราจารย ดร. สิปปนนท เกตุทัต มีสวนชวยวาง
รากฐานนโยบายสนับสนุนการวิจัยของประเทศดวยการใหทุนสนับสนุนการวิจัยทั้งเพื่อ
การพั ฒ นาและการวิ จั ย พื้ น ฐานแก ส ถาบั น วิ จั ย และนั ก วิ จั ย ทั้ ง ของรั ฐ และเอกชน
ศาสตราจารย ดร. สิปปนนท เกตุทัต มีบทบาทสําคัญในการผลักดันใหเกิดพระราช
บัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 การปฏิรูปการศึกษา และมีสวนชวยวางทิศทาง
ของการพัฒนาประเทศ โดยเนนการพัฒนาการศึกษาคุณภาพชีวติ ของคนชุมชนและ
สังคมไทยโดยสวนรวมควบคูกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม
ประวัติ
ดร. ธงชัย ชิวปรีชา (ผูอํานวยการ สสวท.)

การศึกษา
พ.ศ. 2507 ปริญญาตรี กศ.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
พ.ศ. 2513 ปริญญาโท กศ.ม. (วัดผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร
พ.ศ. 2520 ปริญญาเอก Ph.D. (Science Education-Chemistry) University of
Maryland U.S.A.
ตําแหนง ผูอ านวยการสถาบั
ํ นสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)
การฝกอบรม
พ.ศ. 2532 ผานการอบรมหลักสูตรผูบริหารระดับสูงสําหรับรองอธิบดีหรือเทียบเทา
(นบส. 2) รุน 12 จัดโดยสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน สํานักงาน
พ.ศ. 2532 คณะกรรมการขาราชการพลเรือน
การปฏิบัติงานในประเทศ
พ.ศ. 2507-2515 อาจารยโรงเรียนประจวบวิทยาลัย กรมสามัญศึกษา (8 ป)
พ.ศ. 2515 -2517 ขาราชการครูสงั กัดกรมสามัญศึกษา ชวยปฏิบตั งิ านเต็มเวลาที่ สสวท.
ในตําแหนงผูช ํานาญในสาขาวิชาเคมี (2 ป)
พ.ศ. 2517-2520 ศึกษาตอระดับปริญญาเอกที่ University of Maryland, U.S.A.
โดยทุนของ สสวท. (ทุนภายใตความชวยเหลือของ UNESCO/UNDP)
(3 ป 3 เดือน)
พ.ศ. 2520-2523 ขาราชการครูสงั กัดกรมสามัญศึกษา ชวยปฏิบตั งิ านเต็มเวลาที่ สสวท.
ในตําแหนงหัวหนาสาขาวิชาเคมี (3 ป)
พ.ศ. 2523-2527 ลาออกจากราชการตามมติคณะรัฐมนตรีมาปฏิบัติงานที่ สสวท.
ในตําแหนงดังนี้
พ.ศ. 2523-2524 หัวหนาสาขาวิชาเคมี (1 ป)
พ.ศ. 2524-2525 หัวหนาสาขาวิชาอุตสาหกรรม (1ป)
พ.ศ. 2525-2526 หัวหนาสาขาวิชาออกแบบและสรางอุปกรณและ
รักษาการหัวหนาสาขาวิชาอุตสาหกรรม (1ป)
พ.ศ. 2526-2527 หัวหนาฝายบริการวิชาการและรักษาการหัวหนาสาขา
ออกแบบและสรางอุปกรณ (1 ป)
พ.ศ. 2527-2532 กลับเขารับราชการตามเดิม แต สสวท. ไดขอตัวมาปฏิบตั งิ านที่ สสวท.
เต็มเวลาในตําแหนง รองผูอ ํานวยการ (4 ป)
พ.ศ. 2532-2540 ลาออกจากราชการมาปฏิบตั งิ านที่ สสวท. ในตําแหนงดังนี้
! พ.ศ. 2532-2536 รองผูอ ํานวยการ (4 ป)
! พ.ศ. 2536-2540 ผูเ ชีย่ วชาญพิเศษ (4 ป)
การปฏิบัติงานในตางประเทศ
ค.ศ. 1994-1997 ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ภายใตโครงการความชวย
เหลือของธนาคารโลก
ค.ศ. 1979-1995 ไดรบั เชิญเปนวิทยากร ผูป ระเมินผล และทีป่ รึกษาของโครงการตาง ๆ
ในตางประเทศเปนจํานวนมาก เชน ศูนย RECSAM ประเทศ
มาเลเซีย กระทรวงศึกษาธิการ ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศ
กัมพูชา เปนตน
ความสําเร็จในชีวิตการทํางาน
ไดรับแตงตัง้ ใหดํารงตําแหนงผูอ ํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี (สสวท.) ตั้งแตวันที่ 7 พฤษภาคม 2540
ประวัติ
ดร. ชินภัทร ภูมิรัตน
การศึกษา
ปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน
ปริญญาโท M.A. Curriculum & Instruction, University of
Kansas, U.S.A.
ปริญญาเอก Ph.D. Science Education. University of Kansas, U.S.A.
ตําแหนงปจจุบนั ผูอ านวยการสํ
ํ านักพัฒนานโยบายและวางแผนการจัดการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.)
ตําแหนงหนาทีส่ าคั
ํ ญในอดีต
พ.ศ. 2535-2536 ผูอ านวยการกองวิ
ํ จยั การศึกษา สกศ.
พ.ศ. 2536-2540 ผูอ านวยการศู
ํ นยสารสนเทศทางการศึกษา สกศ.

เกียรติบตั รและผลงาน
•! Who’s Who among American Universities and Colleges
•! ผลงานวิจยั ดีเดน เรือ่ ง ปจจัยทีส่ ง ผลตอคุณภาพโรงเรียนประถมศึกษา ในการประชุม
ทางวิชาการเกีย่ วกับการวิจยั ทางการศึกษาและการวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับการศึกษาครัง้ ที่ 7
•! เอกสารวิจยั ดีเดน สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม เรือ่ ง การพัฒนาเยาวชนไทยเพือ่ ความมัน่ คง
ของชาติ หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุน ที่ 39 ประจําปการศึกษา 2541
•! นักบริหารดีเดน สาขาการจัดองคกรการศึกษา ประจําป 2541 โดยมูลนิธเิ พือ่ สังคมไทย
ประวัติ
รองศาสตราจารยสุชาตา ชินะจิตร
การศึกษา B.Sc.Hons. (Chemistry), London University, 2512
M.Phil (Organic Chemistry), London University 2514
การทํางาน
อาจารยประจําภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ปจจุบันดํารงตําแหนง ผูอ ํานวยการฝายสวัสดิภาพสาธารณะ
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ประสบการณบริหาร
เคยดํารงตําแหนงบริหารในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในฐานะ
รองผูอํานวยการสํานักบริการวิชาการ
รองผูอํานวยการใหญ สถาบันทรัพยสนิ ทางปญญาแหงจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย
ผูชวยอธิการบดีดานกิจการนโยบาย และสุดทายคือตําแหนง
รองอธิการบดีฝา ยวางแผนและพัฒนา
ผลงานทีเ่ ปนหนังสือตีพมิ พเผยแพร
พ.ศ. 2519 คูมือความปลอดภัยในปฏิบัติการเคมี ไทยวัฒนาพานิช 142 หนา
พ.ศ. 2523 อันตรายจากสารเคมี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยีไทย-ญีป่ นุ 120 หนา
(รางวัลหนังสือยอดนิยมจาก สสท. ป 2537)
พ.ศ. 2526 การแยกยอยและการรวมสราง (แปล) กระทรวงศึกษาธิการ 193 หนา
พ.ศ. 2529 บนเสนทางสูมหาวิทยาลัย รวมกับ จรัส สุวรรณเวลา
สุภาพรรณ ณ บางชาง เพชรา ภูรวิ ฒ ั น จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 221 หนา
พ.ศ. 2539 บนเสนทางอุดมศึกษารวมกับ จรัส สุวรรณเวลา และคณะ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 323 หนา
ประวัติ
ผูชวยศาสตราจารย ดร. อุษณีย โพธิสขุ
การศึกษา ศึกษาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยบูรพา
ปริญญาโท (M.S) การศึกษาสําหรับเด็กที่มีปญหาทางอารมณ
ปริญญาเอกทางการศึกษาสําหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
จาก University of Pittsburgh, U.S.A.
การทํางาน อาจารยประจําภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาสาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผลงาน
บทความ
•! มีคอลัมภประจําที่นิตยสารบันทึกคุณแม วารสารปฏิรูปและบทความไมประจํา
ตามนิตยสาร วารสารทางวิชาการตางๆ เกี่ยวกับการแนะแนวผูปกครองเด็ก
พิเศษ การอบรมเลีย้ งดู การสอนเด็กฉลาด ฯลฯ
หนังสือ
•! ชุด “สรางลูกใหเปนอัจฉริยะ”
เลมที่ 1 : สํารวจแววลูกนอย
เลมที่ 2 : สมองมหัศจรรย
เลมที่ 3 : เมื่อลูกรักมีปญหา
เลมที่ 4 : กลยุทธสรางลูกใหปญ ญาเลิศ
เลมที่ 5 : ฝกลูกรักใหเปนนักคิด
เลมที่ 6 : E.Q. ปญญานําของมนุษยชาติ
•! โรงเรียนจะพัฒนาอัจฉริยภาพของเด็กไดอยางไร
•! การสอนเด็กปญญาเลิศ
•! ความคิดและการเรียนรู
ประสบการณการทํางาน :
•! คณะอนุกรรมการจัดการศึกษษสําหรับผูมีความสามารถพิเศษแหงชาติ
•! คณะกรรมการเรงรัดและติดตามผลการแกไขปญหาเกี่ยวกับเยาวชนและสตรี
สํานักนายกรัฐมนตรี
•! ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรการศึกษาพิเศษ ภาควิชาการศึกษาพิเศษ
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
•! เปนวิทยากรพิเศษใหกับมหาวิทยาลัยตาง ๆ ทัง้ ภาครัฐ / เอกชน
•! เปนวิทยากรใหกับรายการโทรทัศน วิทยุ ฯลฯ
•! รองประธานสมาพันธเอเซียแปซิฟคสําหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
ประวัติ
นายสมพงษ รุจิรวรรธน

การศึกษา

ปริญญาตรี กศ.บ. สาขาการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วิชาเอก ฟสิกส ประสานมิตร
วิชาโท คณิตศาสตร
ปริญญาโท กศ.ม. สาขาการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร

การรับราชการ
พ.ศ. 2506 ตําแหนงครูตรี โรงเรียนปากชอง อ.ปากชอง จ. นครราชสีมา
พ.ศ. 2518 ตําแหนงครูใหญ โรงเรียนปากชอง
พ.ศ. 2520 ตําแหนงอาจารยใหญ โรงเรียนปากชอง
พ.ศ. 2524 ตําแหนงผูอ ํานวยการโรงเรียนปากชอง
พ.ศ. 2530 ตําแหนงผูอ ํานวยการโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม จ. สระบุรี
พ.ศ. 2534 ตําแหนงผูอ านวยการโรงเรี
ํ ยนฤทธิยะวรรณาลัย กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2535 ตําแหนงผูอ ํานวยการโรงเรียนโยธินบูรณะ กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2540 ตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนวัดราชบพิธ กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2542 ตําแหนงผูอ ํานวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ จ. นครปฐม
พ.ศ. 2543 ตําแหนงผูอ านวยการโรงเรี
ํ ยนสวนกุหลาบวิทยาลัย
กรุงเทพมหานคร

ผลงานทีส่ ําคัญ
- เปนวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ สํ าหรับการ
ฝกอบรมหลักสูตรเตรียมผูบ ริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ของกรมสามัญศึกษา เปนเวลา 3 ป
- เปนวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ สํ าหรับการ
ฝกอบรมหลักสูตรผูบริหารสถานศึกษาระดับสูง สําหรับขาราชการครูกรมสามัญศึกษา
เปนเวลา 11 ป
- เปนประธานกรรมการสอบสวนทางวินัย สําหรับกรณีผูบริหารโรงเรียน
ถูกกลาวหาวากระทําผิดวินยั อยางรายแรง (หลายครั้ง)
-! เปนประธานกลุมโรงเรียนกรมสามัญศึกษาเปนเวลา 10 ป (5 วาระ)
-! เปนผูอ ํานวยการสามัญศึกษาจังหวัดสระบุรี
-! เปนประธานหรือกรรมการในการศึกษา หรือแกปญหาเฉพาะกิจของ
กรมสามัญศึกษาอยูเนือง ๆ ทุกป

การศึกษาดูงาน

ลําดับที่ ดูงานดาน ประเทศ


1! การศึกษาดูงานดานการจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียน ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี
และประเทศญี่ปุน
2 การศึกษาดูงานดานวินัยจราจร ประเทศญี่ปุน
และสาธารณรัฐเกาหลี
3 การศึกษาดูงานดานการจัดการมัธยมศึกษา ประเทศออสเตรเลีย
และการพัฒนาวิทยากร และประเทศนิวซีแลนด
4 การศึกษาดูงานดานการจัดการเรียนการสอน ประเทศฝรั่งเศส
วิทยาศาสตรในโรงเรียนระดับตาง ๆ
5 การศึกษาดูงานดานมรดกโลก ประเทศศรีลังกา
6 การศึกษาดูงานดานการจัดการเรียนการสอน กรุงปกกิง่ ประเทศสาธารณรัฐ
วิทยาศาสตร ประชาชนจีน
7 การศึกษาดูงานโรงเรียนวิทยาศาสตร ประเทศสหรัฐอเมริกา
เปนเวลา 1 เดือน
ที่ปรึกษา
ดร.รุง แกวแดง เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ

ผูว จิ ยั
ศ.ดร.สิปปนนท เกตุทัต (หัวหนาคณะนักวิจัย)
ดร.ธงชัย ชิวปรีชา
ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน
รศ.สุชาตา ชินะจิตร
ผศ.ดร.อุษณีย โพธิสุข
นายสมพงษ รุจิรวรรธน

ผูป ระสานงานในการเดินทางของคณะวิจัยและดานขอมูล
นางมรกต ศรีสุข
นางสาวปารเมนทร คูรัตน
นางสาวจันทิมา ศุภรพงศ

ผูพ
 มิ พตน ฉบับ
นางสาวปารเมนทร คูรัตน
นางสาวจันทิมา ศุภรพงศ
นางสาวภาณี เปมะศิริ

You might also like