You are on page 1of 44

เทคโนโลยี 3G

สมาชิกในกลุ่ม
• นางสาวสุ จิตรา โนมะยา รหัสนักศึกษา 49223530114
• นางสาวxxxxx xxxxxxx รหัสนักศึกษา 4922xxxxxxx
• นางสาวxxxxx xxxxxxx รหัสนักศึกษา 4922xxxxxxx
• นางสาวxxxxx xxxxxxx รหัสนักศึกษา 4922xxxxxxx
จุดเริ่มต้นของ
เทคโนโลยี 3G
• มาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นทีย่ ุคที่ 3 (Third Generation Mobile Network หรือ
3G) เป็ นเทคโนโลยียุคถัดมาจากการเปิ ดให้ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีย่ ุคที่ 2 หรือ
2G ซึ่งประสบความสำเร็จในการสร้ างมูลค่ าทางธุรกิจสื่ อสารไร้ สายอย่ าง
มหาศาลนับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็ นต้ นมา
• ในยุคของโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ 2G มีมาตรฐานทีสำ
่ คัญทีม่ ีการนิยมใช้ งานทัว่ โลกอยู่
2 มาตรฐาน กล่ าวคือมาตรฐาน
– GSM (Global System for Mobile Communication) อันเป็ นมาตรฐาน
ของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัจจุบันมีส่วนแบ่ งทางการตลาดทัว่ โลกสู งทีส่ ุ ด
– CDMA (Code Division Multiple Access) อันเป็ นมาตรฐานจาก
สหรัฐอเมริกา มีส่วนแบ่ งการตลาดเป็ นอันดับทีส่ อง
จุดเริ่มต้นของ
เทคโนโลยี 3G
• จุดมุ่งหมายของการพัฒนามาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ 2G ขึน้ ก็เพือ่ ตอบสนอง
ความต้ องการใช้ งานระบบสื่ อสารไร้ สายส่ วนบุคคล (Personal Communication)
ในลักษณะไร้ พรมแดน (Global Communication) โดยเปิ ดโอกาสให้ ผู้ใช้ บริการ
สามารถนำเครื่องลูกข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นทีไ่ ปใช้ งานในทีใ่ ด ๆ ก็ได้ ทวั่ โลกทีม่ ีการ
ให้ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีด่ งั กล่ าว และยังเป็ นยุคของการนำมาตรฐานสื่ อสาร
แบบดิจิตอลสมบูรณ์ แบบมาใช้ รักษาความ ปลอดภัย และเสริมประสิ ทธิภาพใน
การสื่ อสารหลากหลายรู ปแบบ ไม่ ว่าจะเป็ นบริการส่ งข้ อความแบบสั้ น (Short
Message Service หรือ SMS)
• และการเริ่มต้ นของยุคสื่ อสารข้ อมูลผ่ านเครื่องลูกข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ เป็ นครั้ง
แรก โดยมาตรฐาน GSM และ CDMA ตอบสนองความต้ องการสื่ อสารข้ อมูล
ด้ วยอัตราเร็วสู งสุ ด 9,600 บิตต่ อวินาที ซึ่งถือว่ าเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับ
อัตราเร็วของการสื่ อสารผ่ านโมเด็มใน เครือข่ ายโทรศัพท์ พนื้ ฐานเมื่อกว่ าสิ บปี
ก่ อน
จุดเริ่มต้นของ
เทคโนโลยี 3G
• การตอบรับของกลุ่มผู้บริโภคบริการสื่ อสารไร้ สายทัว่ โลก ทำให้ มาตรฐาน
โทรศัพท์ เคลือ่ นที่ 2G สร้ างรายได้ ให้ กบั ผู้ประกอบการณ์ ทวั่ โลกอย่ างมหาศาล
ก่ อให้ เกิดการเปิ ดสั มปทานและนำมาซึ่งการแข่ งขันอย่ างรุนแรงในแทบทุก
ประเทศ ซึ่งปัจจัยดังกล่ าวนอกจากจะมีผลทำให้ เกิดการเพิม่ จำนวนของผู้ใช้
บริการอย่ าง ก้ าวกระโดดแล้ ว ในขณะเดียวกันยังสร้ างผลกระทบต่ อรายได้ โดย
เฉลีย่ ต่ อเลขหมาย (Average Revenue per User หรือ ARPU) ของผู้ให้ บริการ
เครือข่ าย อันเนื่องมาจากการกลยุทธ์ การแข่ งขันด้ านราคา ยิง่ เมื่อมีการเปิ ดตัว
บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ บบพร้ อมใช้ (Prepaid Subscriber) ตั้งแต่ พ.ศ. 2540
เป็ นต้ นมา ก็ทำให้ เกิดการลดถอยของ ARPU ลงอย่ างต่ อเนื่อง พร้ อม กับปัญหาผู้
ใช้ บริการย้ ายค่ าย (Brand Switching) ทีร่ ุนแรงขึน้
จุดเริ่มต้นของ
เทคโนโลยี 3G
• เพือ่ เป็ นการใช้ ประโยชน์ จากเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ 2G ทีไ่ ด้ มีการลงทุนไว้
แล้ วให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด มาตรฐานเทคโนโลยีการสื่ อสารข้ อมูลในรู ปแบบใหม่
ๆ จึงถูกกำหนดขึน้ ภายใต้ แนวคิดในการพัฒนาเครือข่ ายเดิม ไม่ ว่าจะเป็ น
เทคโนโลยี HSCSD (High Speed Circuit Switching Data), GPRS (General
Packet Radio Service) หรือ EDGE (Enhanced Data Rate for GPRS
Evolution) ของค่ าย GSM และเทคโนโลยี cdma20001xEV-DV หรือ
cdma20001xEV-DO ของค่ าย CDMA เรียกมาตรฐานต่ อยอดดังกล่ าวโดยรวม
ว่ า เทคโนโลยียุค 2.5G/2.75G ซึ่งในช่ วงเวลานีเ้ องทีป่ รากฏมีมาตรฐานโทรศัพท์
เคลือ่ นที่ PDC (Packet Digital Cellular) เปิ ดให้ บริการสื่ อสารข้ อมูลในลักษณะ
ของเทคโนโลยี 2.5G ภายใต้ ชื่อเครื่องหมายการค้ า i-mode ซึ่งประสบความสำเร็จ
อย่ างมากในการเปิ ดศักราชของการให้ บริการสื่ อสารข้ อมูล แบบมัลติมีเดียไร้ สาย
ในประเทศญี่ปุ่น และได้ กลายเป็ นต้ นแบบของการจัดทำธุรกิจ Non-Voice ให้ กบั
ผู้ประกอบการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีท่ วั่ โลกในเวลาต่ อมา
การเติบโตของธุรกิจ Non-Voice
• ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็ นต้ นมาอันเป็ นยุคเริ่มต้ นของเทคโนโลยี 2.5G ผู้ให้ บริการ
เครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นทีท่ วั่ โลกรวมทั้งในประเทศไทย มีการผลักดันบริการ
สื่ อสารข้ อมูลรู ปแบบใหม่ ๆ ในรู ปแบบ Non-Voice เพือ่ สร้ างกระแสนิยมในกลุ่ม
ผู้บริโภคมากขึน้ ไม่ ว่าจะเป็ นการใช้ ประโยชน์ จากเครือข่ าย 2.5G อย่ างเต็มรู ป
แบบ หรือเป็ นการผลักดันให้ เกิดการยอมรับในบริการทีม่ ีอยู่แล้ ว อันได้ แก่ บริการ
SMS ซึ่งในปัจจุบันจะเห็นว่ าบริการเหล่ านีไ้ ด้ กลายเป็ นช่ องทางสำคัญทีเ่ พิม่
มูลค่ าให้ บริการ ARPU ของบรรดาผู้ให้ บริการเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ ซึ่งใน
ท้ ายทีส่ ุ ดบริการแบบ Non-Voice จะมีสัดส่ วนทีเ่ ป็ นนัยสำคัญต่ อรายได้ รวม
ทั้งหมด
การเติบโตของธุรกิจ Non-Voice
• สำหรับธุรกิจโทรศัพท์ เคลือ่ นทีใ่ นประเทศไทยเอง นับตั้งแต่ การเปิ ดให้ บริการ
ประเภท Non-Voice อย่ างจริงจังเมื่อต้ นปี พ.ศ. 2545 เป็ นต้ นมา บรรดาผู้ให้
บริการเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นทีก่ ส็ ามารถสร้ างรายได้ เพือ่ เสริมทดแทนการลด
ทอนของค่ า ARPU ภายในเครือข่ ายของตน โดยเฉพาะอย่ างยิง่ เมื่อมีการเปิ ดตัว
บริการสื่ อสารไร้ สายมัลติมีเดียของ บริษทั ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์ เลส มัลติมีเดีย
จำกัด (HUTCH) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2546 เป็ นต้ นมา สภาพการแข่ งขันใน
ธุรกิจสื่ อสารไร้ สายในประเทศไทยก็เริ่มมุ่งความสำคัญในการ สร้ างบริการ Non-
Voice ใหม่ ๆ ไม่ ว่าจะเป็ นการเปิ ดให้ บริการ MMS อย่ างเป็ นทางการ การคิดโปร
โมชั่นกระตุ้นการท่ องอินเทอร์ เน็ตผ่ านโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ หรือแม้ กระทัง่ การ
ทดลองเปิ ดให้ บริการชมภาพยนตร์ ผ่านทางโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ (TV on Mobile)
ซึ่งความพยายามของผู้ให้ บริการเครือข่ ายแต่ ละราย ทำให้ เกิดกระแสความสนใจ
ใช้ บริการ Non-Voice เพิม่ มากขึน้
การเติบโตของธุรกิจ Non-Voice
• มีแนวโน้ มสู งขึน้ พร้ อม ๆ กับการเพิม่ จำนวนผู้ใช้ บริการภายในเครือข่ ายของตน
ซึ่งแตกต่ างจากสภาพการณ์ ในช่ วงก่ อนหน้ านีท้ รี่ ายได้ เฉลีย่ ของตนตกลงเรื่อย ๆ
สวนทางกับการเพิม่ จำนวนของกลุ่มผู้ใช้ บริการ โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงกลุ่มผู้
ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีพ่ ร้ อมใช้ ซึ่งถือเป็ นกลุ่มผู้ใช้ บริการส่ วนใหญ่ ของ
ประเทศ มีการเพิม่ ค่ า ARPU ขึน้ อย่ างต่ อเนื่อง แม้ ส่วนหนึ่งจะมาจากนโยบาย
การตลาดของผู้ให้ บริการทีม่ ีการจำกัดเวลาในการโทร ให้ สัมพันธ์ กบั วงเงินก็ตาม
แต่ กป็ ฏิเสธไม่ ได้ เช่ นกันว่ า ความนิยมในบริการ Non-Voice ประเภท SMS และ
EMS โดยเฉพาะทีอ่ ยู่ในรู ปแบบของบริการดาวน์ โหลดรู ปภาพ
(Logo/Animation) และเสี ยงเรียกเข้ า (Ringtone) ในกลุ่มวัยรุ่นและนักศึกษา
ข้ อจำกัดของเครือข่ าย 2.5G และ 2.75G
• มาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ 2.5G หรือ 2.75G แม้ จะสามารถรองรับการสื่ อสาร
ประเภท Non-Voice ได้ แต่ กไ็ ม่ อาจสร้ างบริการประเภท Killer Application ที่
ผลิกผันรู ปแบบการให้ บริการได้ อย่ างชัดเจน ดังจะเห็นได้ จากสถาการณ์ การให้
บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีใ่ นประเทศไทย ทีแ่ ม้ จะมีการเติบโตอย่ างชัดเจนในตลาด
ประเภท Non-Voice แต่ เมื่อศึกษาอย่ างละเอียดก็จะพบว่ าบริการทีป่ ระสบความ
สำเร็จเกือบทั้งหมด ล้ วนเป็ นบริการประเภท SMS และ EMS ทั้งสิ้น ไม่ ว่าจะ
เป็ นการดาวน์ โหลดรู ปภาพหรือเสี ยงเรียกเข้ า รวมถึงการเล่ นเกมส์ ตอบปัญหา
หรือส่ งผลโหวตทีป่ รากฏอยู่ตามสื่ อชนิดต่ าง ๆ ซึ่งบริการเหล่ านีล้ ้ วนเป็ นบริการ
พืน้ ฐานในเครือข่ าย 2G
ข้ อจำกัดของเครือข่ าย 2.5G และ 2.75G
• ข้ อจำกัดของเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ น 2.5G และ 2.75G เกิดขึน้ มาจากความ
พยายามพัฒนาเครือข่ าย 2G เดิม ไม่ ว่าจะเป็ นมาตรฐาน GSM หรือ CDMA ให้
เกิดประโยชน์ สูงสุ ด คุ้มค่ าการลงทุน ทำให้ ผู้ให้ บริการเครือข่ ายไม่ อาจบริหาร
จัดการทรัพยากรเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นทีไ่ ด้ อย่ างคล่ องตัว โดยเฉพาะอย่ างยิง่
ในกรณีของเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ GSM ไม่ ว่าจะเป็ นย่ านความถี่ 900 เมกะ
เฮิตรซ์ , 1800 เมกะเฮิตรซ์ หรือ 1900 เมกะเฮิตรซ์ เนื่องจากอุปกรณ์ ทมี่ ีการติด
ตั้งใช้ งานมาตั้งแต่ การเปิ ดให้ บริการในยุค 2G ล้ วนเป็ นเทคโนโลยีเก่ า มีการ
ทำงานแบบ Time Division Multiple Access (TDMA) ซึ่งเป็ นเทคโนโลยีเก่ า
ต้ องจัดสรรวงจรให้ กบั ผู้ใช้ งานตายตัว ไม่ สามารถนำทรัพยากรเครือข่ ายมาใช้
งานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ เทคโนโลยีดงั กล่ าวเหมาะสำหรับการสื่ อสารข้ อมูล
แบบ Voice ซึ่งต้ องการคุณภาพและความคมชัดในการสนทนา
ข้ อจำกัดของเครือข่ าย 2.5G และ 2.75G
• แม้ เมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยี GPRS และ EDGE ซึ่งถือเป็ นการเสริมเทคโนโลยี
สื่ อสารข้ อมูลแบบแพ็กเกตสวิตชิ่ง (Packet Switching) ทีม่ ีความยืดหยุ่นในการ
สื่ อสารข้ อมูลแบบ Non-Voice ในลักษณะเดียวกับทีพ่ บในเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
ก็ตาม แต่ เทคโนโลยีท้งั 2 ประเภทนีก้ ถ็ อื ว่ าเป็ นการ ต่ อยอด บนเครือข่ ายแบบเดิม
ทีม่ ีการทำงานแบบ TDMA ทำให้ ผู้ให้ บริการเครือข่ ายต้ องพะวงกับการจัดสรร
ทรัพยากรช่ องสื่ อสาร โดยเฉพาะอย่ างยิง่ กับการจัดสรรวงจรสื่ อสารผ่ านคลืน่
ความถีว่ ทิ ยุจากสถานีฐาน ไปยังเครื่องลูกข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ ทำให้ ไม่ สามารถ
เปิ ดให้ บริการแบบ Non-Voice ได้ อย่ างเต็มรู ปแบบ เนื่องจากจะทำให้ เกิดผล
รบกวนต่ อจำนวนวงจรสื่ อสารแบบ Voice มากจนเกินไป
ข้ อจำกัดของเครือข่ าย 2.5G และ 2.75G
• ด้ วยเหตุดงั กล่ าว จึงพบว่ าไม่ มีผู้ให้ บริการเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ 2.5G หรือ
2.75G รายใดในโลก สามารถเปิ ดให้ บริการเทคโนโลยี GPRS ด้ วยอัตราเร็วสู งสุ ด
171 กิโลบิตต่ อวินาที หรือ EDGE ด้ วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่ อวินาทีได้
เนื่องจากการทำเช่ นนั้นจะทำให้ สถานีฐาน (Base Station) ทีทำ ่ หน้ าทีร่ ับส่ ง
สั ญญาณกับเครื่องลูกข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ ไม่ มีวงจรสื่ อสารเหลือสำหรับให้
บริการแบบ Voice อีกต่ อไป ผลทีเ่ กิดขึน้ ในมุมมองของผู้ใช้ บริการก็คอื ความ
เชื่องช้ าในการสื่ อสารข้ อมูล ผ่ านเครือข่ าย 2.5G และ 2.75G ทำให้ หมดความ
สนใจทีจ่ ะใช้ บริการต่ อไป
• โดยในขณะเดียวกันก็มีบริการสื่ อสารอัตราเร็วสู งแบบบรอดแบนด์ ผ่านคู่สาย เช่ น
DSL (Digital Subscriber Line) เป็ นทางเลือกสำหรับใช้ บริการ ความสนใจทีจ่ ะ
ใช้ เครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นทีเ่ พือ่ รับส่ งข้ อมูลจึงมีอยู่ เฉพาะการเล่ นเกมส์ และส่ ง
SMS, MMS ซึ่งทำได้ ง่าย และมีการประชาสั มพันธ์ ดงึ ดูดใจมากมาย
พัฒนาการของเทคโนโลยีสื่อสาร
พัฒนาการของเทคโนโลยีสื่อสาร
ความแต่ ต่างของ 3G กับ 1G, 2G, 2.5G
• ยุค 1G และ 2G จะเป็ นเทคโนโลยีสื่อสารทีเ่ น้ นตอบสนองการสื่ อสารทีใ่ ช้ เสี ยง
(Voice) มากทีส่ ุ ด ใช้ คลืน่ วิทยุในการติดต่ อสื่ อสาร ไม่ มีการเข้ ารหัสแบบดิจิตอล
ดังนั้น โทรศัพท์ เคลือ่ นทีใ่ นยุค 1G จึงเปรียบเสมือนการเอาโทรศัพท์ บ้านออกมา
โทร โดยไม่ ต้องเสี ยบสาย ไม่ มีความสามารถในการรับส่ งข้ อมูลอืน่ ๆ เลย
• ยุค 2G ได้ มีการเพิม่ ระบบเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภัยเข้ าไปมากกว่ า 1G
ก้ าวเข้ าสู่ การส่ งข้ อมูลแบบดิจิตอลผ่ านสั ญญาณไมโครเวฟ ทำให้ โทรศัพท์ ส่ ง
ผ่ านข้ อมูลได้ มากขึน้ เช่ นการส่ ง SMS จีบกัน หรือข้ อมูลต่ างๆ ทีน่ อกเหนือจาก
เสี ยง
ความแต่ ต่างของ 3G กับ 1G, 2G, 2.5G
• ยุค 2.5G ประเทศไทยเรากำลังใช้ สื่อสารกันอยู่ทุกวันนี้ เป็ นยุคทีม่ ีการเพิม่ ความ
สำคัญของการสื่ อสารด้ าน Data เข้ าไปเพือ่ ให้ บริการเนือ้ หา (Content) สาระ
ความบันเทิงมากขึน้ เนือ้ หา หรือ Content ทีม่ ีให้ บริการในยุค 2.5G ในปัจจุบันก็
จะมีอย่ างเช่ น บริการรับข่ าวสารผ่ าน SMS หรือบริการอินเทอร์ เน็ตผ่ าน
GPRS/EDGE ซึ่งความเร็วในการรับส่ งข้ อมูลยังอยู่ในระดับต่ำ อยู่ระหว่ าง
40Kbps - 300Kbps
• ยุค 3G เทคโนโลยีเริ่มเปลีย่ นมาให้ ความสำคัญต่ อการสื่ อสารด้ านข้ อมูลขึน้ โดย
ให้ ความสำคัญในด้ านความรวดเร็วในการรับส่ งข้ อมูล และการรักษาความ
ปลอดภัยของข้ อมูลทีร่ ับส่ งมากขึน้ กว่ ายุค 2.5G เป็ นอย่ างมากทำให้ การสื่ อสาร
ยุค 3G ก่ อให้ เกิดบริการด้ านข้ อมูลข่ าวสารเพิม่ ขึน้ อีกมากมาย เช่ น Video Call,
TV On demand, Download File ขนาดใหญ่ ๆ, ประชุมทางไกล และอืน่ อีก
มากมาย ซึ่งทำให้ โลกของการสื่ อสารเป็ นไปอย่ างสะดวกสบายมากยิง่ ขึน้ 3G ยัง
มีความน่ าสนใจอีกประการก็คอื เครื่องมือทีใ่ ช้ น้ัน จะมีการเชื่อมต่ อกับระบบ
ตลอดเวลา ไม่ ต้องรอการเชื่อมต่ อแบบระบบ GPRS
3G น่ าสนใจอย่ างไร
• จากการที่ 3G สามารถรับส่ งข้ อมูลในความเร็วสู ง ทำให้ การติดต่ อสื่ อสารเป็ นไป
ได้ อย่ างรวดเร็ว และ มีรูปแบบใหม่ ๆ มากขึน้ ประกอบกับอุปกรณ์ สื่อสารไร้ สาย
ในระบบ 3G สามารถให้ บริการระบบเสี ยง และ แอพพลิเคชั่นรู ปแบบใหม่
• เช่ น จอแสดงภาพสี , เครื่องเล่ น mp3, เครื่องเล่ นวีดโี อ การดาวน์ โหลดเกม, แสดง
กราฟฟิ ก และ การแสดงแผนทีต่ ้งั ต่ างๆ ทำให้ การสื่ อสารเป็ นแบบอินเตอร์ แอค
ทีฟ ทีส่ ร้ างความสนุกสนาน และ สมจริงมากขึน้
• 3G ช่ วยให้ ชีวติ ประจำวันสะดวกสบายและคล่ องตัวขึน้ โดย โทรศัพท์ เคลือ่ นที่
เปรียบเสมือน คอมพิวเตอร์ แบบพกพา, วิทยุส่วนตัว และแม้ แต่ กล้ องถ่ ายรู ป ผู้ใช้
สามารถเช็คข้ อมูลใน account ส่ วนตัว เพือ่ ใช้ บริการต่ างๆ ผ่ านโทรศัพท์ เคลือ่ นที่
เช่ น self-care (ตรวจสอบค่ าใช้ บริการ), แก้ ไขข้ อมูลส่ วนตัว และ ใช้ บริการข้ อมูล
ต่ างๆ เช่ น ข่ าวเกาะติดสถานการณ์ , ข่ าวบันเทิง, ข้ อมูลด้ านการเงิน, ข้ อมูลการ
ท่ องเทีย่ ว และ ตารางนัดหมายส่ วนตัว “Always On”
3G น่ าสนใจอย่ างไร
นิยาม
• 3G คือ โทรศัพท์ เคลือ่ นทีย่ ุคทีส่ าม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้ นๆ เพือ่
ให้ เข้ าใจตรงกันว่ า

– 1. มี แพลทฟอร์ ม (Platform)
สำหรับการหลอมรวมของบริการต่ างๆ อาทิ กิจการประจำที่ (Fixed
Service) กิจการเคลือ่ นที่ (Mobile Service) บริการสื่ อสารเสี ยง ข้ อมูล
อินเทอร์ เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ
สามารถถ่ ายเท ส่ งต่ อข้ อมูล ดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์ โทรคมนาคมประเภท
ต่ างๆ ให้ สามารถรับส่ งข้ อมูลได้
– 2. ความสามารถในการใช้ โครงข่ ายทัว่ โลก (Global Roaming)
ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์ โทรศัพท์ เคลือ่ นทีไ่ ปใช้ ได้ ทวั่ โลก โดยไม่ ต้อง
เปลีย่ นเครื่อง
นิยาม
– 3. บริการทีไ่ ม่ ขาดตอน (Seamless Delivery Service)
การใช้ งานโทรศัพท์ เคลือ่ นทีโ่ ดยไม่ รู้ สึกถึงการเปลีย่ น เซลล์ ไซต์
(Cell Site)อัตราความเร็วในการส่ งข้ อมูล (Transmission Rate) ใน
มาตรฐาน
IMT-2000 นั้นกำหนดไว้ ว่าต้ องมีอตั ราความเร็วดังนี้
• ในสภาวะอยู่กบั ทีห่ รือขณะเดิน มีความเร็วอย่ างน้ อยทีส่ ุ ด 2
เมกะบิต/วินาที
• ในสภาวะเคลือ่ นทีโ่ ดยยานพาหนะ มีความเร็วอย่ างน้ อยทีส่ ุ ด 384 กิโล
บิต/วินาที
• ทุกสภาวะ มีความเร็วอย่ างมากทีส่ ุ ด 14.4 เมกะบิต/วินาที
การพัฒนาเทคโนโลยี
• การพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นทีจ่ ากยุค 2G ไปสู่ 3G และต่ อ
เนื่องไปสู่ มาตรฐานหลังยุค 3G
มาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ 3G
• 3G เป็ นมาตรฐานโทรศัพท์ มือถือในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาและกำลังมาแทนที่ ระบบ
โทรศัพท์ 2G ซึ่ง 3G นั้นพัฒนาบนพืน้ ฐานของมาตรฐาน International Mobile
Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้ กลุ่มของ International
Telecommunication Union (ITU)
• ระบบ 3G (UMTS) นั้นคือการนำเอาข้ อดีของ ระบบ CDMA มาปรับใช้ กบั GSM
เรียกว่ า W-CDMA ซึ่งถูกพัฒนาโดยบริษทั NTT DoCoMo ของญี่ปุ่น
• สำหรับเมืองไทยนั้น ระบบ 3G จะเป็ น เทคโนโลยีแบบ HSPA ซึ่งแยกย่ อยได้ เป็ น
HSDPA, HSUPA และ HSPA+
UMTS
• (Universal Mobile Telecommunications System)
• เป็ นหนึ่งในเทคโนโลยีของโทรศัพท์ มือถือในยุค 3G ซึ่งอยู่ในขั้นตอนพัฒนาต่ อ
ไปยัง 4G ในปัจจุบันรู ปแบบพืน้ ฐานของยูทเี อ็มเอสใช้ งาน W-CDMA โดยตาม
มาตรฐานของหน่ วยงาน 3GPP (3G Partnership Project) และเป็ นการตอบรับ
กับ ITU IMT-2000 สำหรับระบบการสื่ อสาร ในบางครั้งจะเรียกยูทเี อ็มเอสว่ า
3GSM เพือ่ บ่ งบอกถึงเทคโนโลยีของ 3G และมาตรฐาน GSM
มาตรฐานของ UMTS
• ในปัจจุบันนั้นมีการเผยแพร่ ออกมาแล้ ว 4 มาตรฐานด้ วยกัน โดยหน่ วยงาน
3GPP (3G Partnership Project) รับหน้ าทีใ่ นการออกแบบมาตรฐานต่ าง ๆ ซึ่ง
ประกอบไปด้ วย
– Release 99 เป็ นมาตรฐานใช้ งานทีเ่ พิม่ เติมจากเครือข่ าย GPRS และ EDGE
โดยจะมีการเพิม่ เติมอุปกรณ์ ในส่ วนของ BSS (Base Station Subsystem)
ซึ่งเป็ นส่ วนทีด่ ูแลการติดต่ อสื่ อสารระหว่ างเครื่องโทรศัพท์ เคลือ่ นทีข่ อง ผู้
ใช้ บริการกับเครือข่ ายของผู้ให้ บริการ โดยกลุ่มของอุปกรณ์ ทเี่ พิม่ เติมขึน้ มา
นั้นมีชื่อเรียกว่ า UTRAN (UMTS Terrestrial Radio Access Network)
– Release 4 เป็ นมาตรฐานทีเ่ พิม่ เติมในส่ วนของ Core-Network โดยจะมี
การนำเครือข่ ายแบบ ATM (Asynchronous Transfer Mode) และ IP ซึ่ง
เป็ นการรับ-ส่ งข้ อมูลแบบเป็ น Packet เข้ ามาใช้ งานแทนเครือข่ ายแบบ
Circuit Switched ทีใ่ ช้ งานอยู่ในเครือข่ าย GSM ในปัจจุบัน
มาตรฐานของ UMTS
– Release 5 เป็ นมาตรฐานทีเ่ พิม่ เติมในส่ วนของ IMS (IP Multimedia
Service) โดยการทำงานของ IMS จะช่ วยให้ การใช้ งานแบบ Multimedia ใน
ลักษณะของ Person to Person มีประสิ ทธิภาพทีส่ ู งขึน้
– Release 6 เป็ นมาตรฐานทีไ่ ม่ ได้ มีการเปลีย่ นแปลงระบบมากนัก เพียงแต่
เพิม่ ความสามารถในการทำงานของการจดจำคำพูด (Speech Recognition),
Wi-Fi / UMTS inter-working (การสื่ อสารระหว่ างเครือข่ าย Wireless
LAN กับเครือข่ ายโทรศัพท์ เคลือ่ นที่)
มาตรฐานของ UMTS

DL: ความเร็วในการโหลดข้ อมูลขาลง (Download)


UL: ความเร็วในการอัพโหลดข้ อมูลขาขึน้ (Upload)

สามารถแบ่ งออกเป็ นเทคโนโลยีออกเป็ น 2 แบบหลัก คือ


- WCDMA
- HSPA
เทคโนโลยี WCDMA
• WCDMA (Wideband Code-Division Multiple Access)
• เป็ น เทคโนโลยีซีดเี อ็มเอทีม่ ีมาตรฐานตามข้ อกำหนดของไอทียู และเป็ นทีร่ ู้ จัก
อย่ างเป็ นทางการ ในชื่อว่ าIMT-2000 WCDMA
• WCDMA มีประสิ ทธิภาพในการสื่ อสารรับส่ งสั ญญาณเสี ยงภาพข้ อมูล  และภาพ
วิดโี อด้ วย ความเร็วสู งถึง 2 Mbps แต่ สำหรับการให้ บริการในปัจจุบันความเร็ว
สู งสุ ดอยู่ที่ 384 Kbps ก้ าวต่ อไปของเทคโนโลยี  WCDMA  จะนำไปสู่ ความ
สามารถในการส่ งข้ อมูลทีค่ วามเร็วสู งขึน้  ซึ่งเรียกว่ า  HSDPA
เทคโนโลยี HSPA
• HSDPA (High-Speed Downlink Packet Access)
เป็ นระบบเครือข่ ายมือถือระบบ UMTS พัฒนาความเร็วในการ
ดาวน์ โหลด รองรับความสามารถในการส่ งผ่ านข้ อมูลถึง 1.8 เมกะบิตต่ อวินาที,
3.6 เมกะบิตต่ อวินาที, 7.2 เมกะบิตต่ อวินาที และ 14.4 เมกะบิตต่ อวินาที HSDPA
มีความเร็วของการสื่ อสารสู งกว่ า EDGE ถึง 36 เท่ า หรือเร็วกว่ า GPRS ถึง 100
เท่ า HSDPA ไม่ ได้ พฒ
ั นาในส่ วนของความเร็วการอัปโหลด การปรับปรุง
ความเร็วการอัปโหลดของ UMTS จะอยู่ในระบบ HSUPA
เทคโนโลยี HSPA
• HSUPA
เหมือนกับ HSDPA ทุกอย่ างแต่ การ Upload ข้ อมูลจะวิง่ ทีค่ วามเร็วสู งสุ ด
5.76 Mbps เมื่อรวมความสามารถของ HSDPA และ HSUPA เข้ าด้ วยกัน จะ
เรียกโดยรวมว่ า
• HSPA+
เป็ นเทคโนโลยีบนมาตรฐาน 3GPP Release 7 การ Download ข้ อมูลจะ
อยู่ที่ 42 Mbps / Upload 22 Mbps ในอัพลิงก์ ซึ่งเป็ นการเพิม่ ศักยภาพเครือข่ าย
อย่ างมากมายรวมทั้งลดการล่ าช้ าในการรับส่ งข้ อมูล

• ในประเทศไทยระบบ 3G (HSPA) ที่ Operator AIS หรือ DTAC นำมาใช้ จะเป็ น


HSDPA โดยการ Download จะอยู่ที่ 7.2 Mbps
เปรียบเทียบมาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นที่
• เปรียบเทียบมาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นทีต่ ้งั แต่ ยุค 2.5G ขึน้ ไปทุกระบบ
เทคโนโลยี อัตรา เร็ว ใช้ งาน จุด เด่ น จุด ด้ อย หมาย เหตุ
ตั้งแต่
GPRS 171.2 พ.ศ. มาตรฐานแรกของตระกูล GSM ที่มี อัตราเร็ วในการสื่ อสารต่ำมาก  
kbps 2544 การรับส่ งข้อมูลแบบแพ็กเกต
HSCSD 115 kbps พ.ศ. ใช้ช่องสื่ อสารแบบสวิทช์วงจร หลาย มีตน้ ทุนของช่องสัญญาณสูงมาก เป็ นเทคโนโลยีที่ยตุ ิ
2542 ช่องในการรับส่ งข้อมูล ส่ งได้ดว้ ย แทบไม่มีผเู้ ปิ ดให้บริ การ บทบาทลง ไปแล้ว
อัตราเร็ วสูงพอสมควร
EDGE 384 kbps พ.ศ. เพิ่มอัตราเร็ วในการรับส่ ง ข้อมูลบน มีตน้ ทุนการปรับปรุ งสถานีฐาน ประสิ ทธิและความคุม้
Classic 2546 เครื อข่าย GPRS มากขึ้น ค่อนข้างสูง เครื่ องลูกข่ายมีนอ้ ย ทุนต่ำ มากเมื่อเทียบกับ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ W-
CDMA
EDGE 250 kbps พ.ศ. ออกแบบพิเศษให้ใช้กบั เครื อ ข่าย ผูใ้ ห้บริ การในสหรัฐอเมริ กา ไม่ประสบความสำเร็ จ
Compact 2545 TDMA ในประเทศสหรัฐอเมริ กา เปลี่ยนทิศทางไปลงทุนในเครื อ ปัจจุบนั ยุติโครงการลง
ข่าย 3G แทน แล้ว
CDMA/IS- 115 kbps พ.ศ. เทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูล แบบ มีเฉพาะใช้ประเทศญี่ปุ่นและ  
95B 2538 แพ็กเกตที่ใช้ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากยุค เกาหลีใต้
CDMA สู่ Cdma2000
เปรียบเทียบมาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นที่
• เปรียบเทียบมาตรฐานโทรศัพท์ เคลือ่ นทีต่ ้งั แต่ ยุค 2.5G ขึน้ ไปทุกระบบ
เทคโนโลยี อัตรา เร็ว ใช้ งาน จุด เด่ น จุด ด้ อย หมาย เหตุ
ตั้งแต่
Cdma2000 307 kbps พ.ศ. 2545 อัตราเร็ วในการสื่ อสารข้อมูล สูง มีผเู้ ปิ ดให้บริ การทัว่ โลก น้อยมาก
ไม่ประสบความสำเร็ จ
1xMC สามารถพัฒนาขึ้นจากเครื อข่าย CDMA ปัจจุบนั ยุติโครงการลง
แล้ว
PDC-P 9.6 kbps   ใช้โดยบริ ษทั NTT DoCoMo ประเทศ มีใช้เฉพาะในประเทศญี่ปุ่น เท่านั้น เป็ นเทคโนโลยีการสื่ อสาร
ญี่ปุ่น ภายใต้เครื่ องหมายการค้า i-mode อัตราเร็ วในการรับส่ งต่ำ ข้อ มูลแบบสวิทช์แพ็กเกต
ที่มีฐานผูใ้ ช้งานสูงสุ ดใน
โลก
W-CDMA 2 Mbps พ.ศ. 2544 เป็ นมาตรฐานที่ผลิตขึ้นเพื่อ การใช้งาน มีตน้ ทุนด้านใบอนุญาตประกอบ เป็ นมาตรฐานระดับโลก
ในเชิงพาณิ ชย์ในการเข้าสู่ ยคุ 3G ของ การและการประมูลความถี่สูงมาก สำหรับ เทคโนโลยี 3G
มาตรฐาน GSM
Cdma2000 2 Mbps พ.ศ. 2547 รองรับมาตรฐาน Cdma2000 1xMC และ ไม่มีการพัฒนาต่อ ไม่ประสบความสำเร็ จ
3xMC IS-95A ปัจจุบนั ยุติโครงการลง
แล้ว
CDMA 1x 2.4 Mbps พ.ศ. 2546 เป็ นเทคโนโลยีที่ใช้เข้าสู่ ยุค 3G สำหรับ มีผเู้ ปิ ดให้บริ การทัว่ โลก น้อยมาก ยังคงอยู่ แต่คาดว่าจะไม่
EV-DV มาตรฐาน CDMA โดยมีตน้ ทุนต่ำที่สุด เป็ นมาตรฐานสำคัญในยุค
3G
CDMA 1 5.2 Mbps พ.ศ. 2547 อัตราเร็ วในการสื่ อสารสูงมาก ยังเป็ นมาตรฐานเฉพาะของ บริ ษทั ยังไม่มีทิศทางการพัฒนา
XTREME Nokia และ Motorola ชัดเจน
เปรียบเทียบเทคโนโลยีไร้ สายในแบบต่ างๆ
เทคโนโลยี มาตรฐาน เครือข่ าย อัตราความเร็ว ระยะทาง ความถี่

Wi-Fi IEEE WLAN สูงสุ ด 54Mbps 100 เมตร 5GHz


802.11a
Wi-Fi IEEE WLAN สูงสุ ด 11Mbps 100 เมตร 2.4GHz
802.11b
Wi-Fi IEEE WLAN สูงสุ ด 54Mbps 100 เมตร 2.4GHz
802.11g
WiMax IEEE WMAN สูงสุ ด 75Mbps ปกติ 6.4 – 10 Sub 11GHz
802.16d (20MHz BW) กิโลเมตร
WiMax IEEE Mobile สูงสุ ด 30Mbps ปกติ 1.6 – 5 2 – 6 GHz
802.16e WMAN (10MHz BW) กิโลเมตร
WCDMA/UMTS 3G WWAN สูงสุ ด2Mbps/10M ปกติ 1.6 – 8 1800, 1900, 2100MHz
bps (HSDPA) กิโลเมตร

CDMA2000 1x EV-DO WWAN สูงสุ ด 2.4Mbps ปกติ 1.6 – 8 400, 800, 900, 1700,
3G กิโลเมตร 1800, 1900, 2100MHz

EDGE 2.5G WWAN สูงสุ ด 348Kbps ปกติ 1.6 – 8 1900MHz


กิโลเมตร
UWB IEEE WPAN 110 – 480Mbps 10 เมตร 7.5GHz
802.15.3a
HSPA และ mobile WiMax
เปรียบเทียบการเชื่อมต่ อบรอดแบนด์ ไร้ สาย HSPA และ mobile WiMax
• (ข้ อมูลจากการศึกษาและข้ อสรุปของสมาคม GSM)
• HSPA จะเป็ นเครือข่ ายเครือข่ ายบรอดแบนด์ ไร้ สายทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ดในโลก โดยมี
จำนวนผู้ใช้ มากทีส่ ุ ดในโลกภายในเวลา 5 ปี ข้ างหน้ า
• Mobile WiMax จะเป็ นเทคโนโลยีเฉพาะกลุ่มสำหรับกลุ่มผู้ใช้ ทจำ ี่ กัดในช่ วงเวลา
นี้ จะเป็ นเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมสำหรับผู้ให้ บริการเครือข่ ายทีม่ ีข้อจำกัดของ
สถานการณ์ ทเี่ ฉพาะเจาะจงเท่ านั้น
• ในระยะยาว ระบบบรอดแบนด์ เคลือ่ นทีไ่ ร้ สายจะถูกจำกัดคุณลักษณะตาม
เทคโนโลยีทใี่ ช้ อาทิเช่ น OFDMA และ MIMO ซึ่งอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
กำลังตื่นตัวในการพัฒนาเป็ นอย่ างมาก และเป็ นส่ วนหนึ่งของแผนการพัฒนา
ของทั้ง WiMax และ 3GPP
HSPA และ mobile WiMax
เปรียบเทียบการเชื่อมต่ อบรอดแบนด์ ไร้ สาย HSPA และ mobile WiMax (ต่ อ)
• เพือ่ สร้ างเครือข่ าย Mobile WiMax ให้ มีความสามารถของอัตราการรับส่ งข้ อมูล
ให้ มีประสิ ทธิภาพเหมือนกับเครือข่ าย HSPA เครือข่ าย Mobile WiMax จะมี
ต้ นทุนลงทุนทีส่ ู งกว่ าประมาณ 20-50% สำหรับงบประมาณการลงทุน
• ระบบ mobile WiMax ในยุคแรกๆ มีความจุช่องสั ญญาณของเสี ยงน้ อยกว่ าเครือ
ข่ าย3G/HSPA ทำให้ จำกัดกลุ่มตลาดเป้ าหมายและจำกัดขอบเขตความต้ องการใช้
งานของผู้ใช้ ดงั นั้นจึงจำกัดรายได้ และผลตอบแทนทีผ่ ู้ลงทุนจะสามารถทำได้
ระบบ mobile WiMax ในยุคแรกๆ ยังไม่ สามารถสนับสนุนการเคลือ่ นทีใ่ นระดับ
เดียวกับทีเ่ ครือข่ าย HSPA ทำได้ ซึ่งเป็ นไปในลักษณะเดียวกับบริการโทรศัพท์
เคลือ่ นทีท่ วั่ ไป ทั้งนีเ้ ทคโนโลยีหลักของ HSPA คือ OFDMA ทีม่ ีความสามารถ
มากกว่ าในการสนับสนุนการเคลือ่ นทีข่ องอุปกรณ์ สื่อสารไร้ สายของผู้ใช้
สาเหตุทปี่ ระเทศไทยนำเทคโนโลยี 3G มาใช้ ล่าช้ า

สาเหตุทางด้ านกฎหมาย
• กทช. ยังไม่ อนุมัติคลืน่ ความถีใ่ หม่ ก็คอื 2100 MHz ทีส่ ่ วนใหญ่ Operator ทัว่
โลกใช้ เพือ่ เปิ ด 3G ผู้ให้ บริการในประเทศไทยจึงใช้ คลืน่ 850/ 900/ 1800/ 1900
MHz
• โดยส่ วนหนึ่งของมาตรา 47 ในรัฐธรรมนูญปี 2550 ทีกำ ่ หนดให้ องค์ กรอิสระ
สำหรับการกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคม วิทยุกระจายเสี ยง และวิทยุโทรทัศน์
จะต้ องมีเพียงองค์ กรเดียว ซึ่งจะทำให้ กทช. ถูกควบรวมเข้ ากับคณะกรรมการ
กิจการกระจายเสี ยง และกิจการโทรทัศน์ แห่ งชาติ หรือ กสช. ภายใต้ ชื่อ คณะ
กรรมการกิจการกระจายเสี ยง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ
(กสทช.)
สาเหตุทปี่ ระเทศไทยนำเทคโนโลยี 3G มาใช้ ล่าช้ า

สาเหตุทางด้ านกฎหมาย (ต่ อ)


• จึงทำให้ เกิดประเด็นเรื่องการประมูล 3G หยุดชะงักลงไป เพราะในแง่ ของ
กฎหมาย กทช. ทีเ่ กิดจากรัฐธรรมนูญปี 40 จะยังมีอำนาจในการเปิ ดให้ ประมูล
3G หรือไม่ และถึงเปิ ดการประมูลได้ แล้ วจะมีเรื่องฟ้ องร้ องตามมาอีกหรือไม่ ซึ่ง
ก็มีแนวโน้ มสู งทีจ่ ะมีการฟ้ องร้ องกันอีก เพราะรัฐธรรมนูญปี 50 ได้ ให้ อำนาจกับ
กสทช.
• ประเด็นในแง่ กฎหมายเรื่อง กทช. หรือ กสทช. ทีค่ วรจะเป็ นผู้ดำเนินการเรื่อง
ของการประมูล 3G
สาเหตุทปี่ ระเทศไทยนำเทคโนโลยี 3G มาใช้ ล่าช้ า

สาเหตุทางการเมือง
• ตั้งแต่ มีการรัฐประหารเกิดขึน้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 จวบจนวันนี้ ในระยะ
เวลา 3 ปี ประเทศไทยได้ เปลีย่ นรัฐบาลถึง 4 ชุด ปัญหาโทรคมนาคมจึงยังหยุดนิ่ง
สาเหตุทปี่ ระเทศไทยนำเทคโนโลยี 3G มาใช้ ล่าช้ า

สาเหตุทางด้ านอุปกรณ์
• สาเหตุจากที่ กทช. ยังไม่ อนุมัติคลืน่ ความถีใ่ หม่ ก็คอื 2100 MHz ทำให้ เกิดปัญหา
ความถีท่ ซี่ ้ อนทับกันของเทคโนโลยีทตี่ ่ างกัน แต่ ใช้ ความถีเ่ ดียวกัน เช่ น AIS เปิ ด
3G บนความถี่ 900 MHz จะเป็ น GSM900 กับ WCDMA (UMTS) 900 ซึ่งต้ อง
อาศัยช่ องความถีเ่ ดียวกัน ก่ อให้ เกิดปัญหาในการจัดการ ช่ องสั ญญาณ รวมไปถึง
Capacity และปัญหาการจัดสรรความถีเ่ พือ่ ใช้ บนแต่ ละ Technology ตัวอย่ างคือ
NMT900 และ GSM900 ทีใ่ ช้ ความถีเ่ ดียวกันจึงต้ องเลือกยุติการให้ บริการอย่ าง
หนึ่งอย่ างใดไป โดยเลือกให้ บริการ GSM ต่ อเพราะว่ าเป็ นมาตรฐานทีใ่ หม่ กว่ า
โดยโอนถ่ ายความถีเ่ ดิม มาใช้ กบั Technology ใหม่ สรุปคือความถีเ่ ดิม บน
Technology ต่ างกัน ต้ องใช้ ความถีท่ มี่ ีร่วมกัน
• ซึ่งผู้ให้ บริการต้ องจัดการแบ่ งการให้ บริการออกเป็ น 2 ส่ วนคือ ส่ วนเดิมและส่ วน
ใหม่ ทำให้ ผู้ให้ บริการไม่ สามารถให้ บริการได้ เต็มประสิ ทธิภาพ
เทคโนโลยี 3G กับด้ านสั งคม
3G ความสุ ขในอากาศ
• แน่ นอนว่ าเมื่ออินเทอร์ เน็ตติดตัวไปทุกที่ ไลฟ์ สไตล์ ของผู้คนก็ฟรีสไตล์ มากขึน้
การวางแผนจะน้ อยลง เนื่องจากการใช้ งานต่ างๆ มันทำตาม ‘จิตสั่ งได้ ’ คิดเดีย๋ ว
นั้น ทำได้ เดีย๋ วนั้น ทุกอย่ างจะไวไปหมด จนภาระหน้ าทีก่ ารงานอาจตวัดกลับมา
พันกับตัวเรากันอย่ างอุตลุด อย่ าง BB ทีใ่ ครๆ บอกว่ าดี เช็คเมล์ คุยงานได้ ทุกที่
ซึ่งคำว่ า 'ได้ ทุกที'่ ก็แปลว่ าเราอนุญาตให้ งานตามตัวเราไปได้ ทุกทีเ่ ช่ นกัน ฉะนั้น
ต้ องระวัง เพราะคนที่กำลังต้ องการเรา อาจไม่ เห็นความเป็ นส่ วนตัวของเราด้ วย
• ในยุคก่ อน 3G จะมาถึง เราก็ซาบซึ้งไปแล้ วว่ า ‘มือถือจีน’ ทำได้ ทุกอย่ าง เพียงแค่
ติดเสา ทีวี จูนเนอร์ เข้ าไปก็ดูทวี ไี ด้ ผู้ใช้ มือถือเฮาส์ แบรนด์ ทวั่ โลกเคยชินกับการดู
ทีวผี ่ านมือถืออยู่แล้ ว ส่ วนผู้ใช้ มือถืออินเตอร์ แบรนด์ กเ็ ชื่อได้ เลยว่ า เมื่อเน็ตบน
มือถือแรงขึน้ ได้ ด้วย 3G การดูทวี ผี ่ านมือถือย่ อมเป็ นสิ่ งทีผ่ ู้ใช้ ต้องการ เนื่องจาก
ทุกวันนี้ เราอยู่นอกบ้ านกันนานขึน้ กว่ าอดีตมาก
เทคโนโลยี 3G กับด้ านสั งคม
3G ความสุ ขในอากาศ (ต่ อ)
• เทคโนโลยี 3G จะช่ วยกระตุ้นเศรษฐกิจจากการทำ โมบายล์ คอมเมิร์ซ ขายสิ นค้ า
และบริการ อีกทั้งเป็ นการเชื่อมโยงอินเทอร์ เน็ต ‘ผ่ านอากาศ’ ไปสู่ พนื้ ทีท่ หี่ ่ างไกล
ที่ ‘สาย’ ไปไม่ ถงึ และที่สำคัญ คนทีอ่ ยู่ห่างไกลออกไป จะมีโอกาสได้ ใช้
เทคโนโลยีใหม่ ๆ เหมือนคนในเมืองหลวง
เทคโนโลยี 3G กับด้ านสั งคม
3G เชื่อมโลกหรือแบ่ งชนชั้น
• เทคโนโลยี 3G จะช่ วยให้ การติดต่ อสื่ อสารง่ ายขึน้ เหมือนการย่ อโลกไว้ ในมือเรา
โหลดคลิป โหลดหนัง ได้ ง่ายขึน้ ส่ งต่ อให้ เพือ่ นๆ ดูได้ ง่ายขึน้ ด้ วย เหมือนมีเครื่อง
คอมพิวเตอร์ แบบพกพาอยู่ในมือ โดยทีไ่ ม่ ต้องพกคอมพิวเตอร์ เครื่องใหญ่ ๆ
• ความทันสมัยของเทคโนโลยี 3G อาจจะแบ่ งชนชั้นระหว่ างกลุ่มคนทีส่ ามารถเข้ า
ถึงการใช้ งานของการสื่ อสารแบบ 3G ได้ กับคนทีเ่ ข้ าไม่ ถงึ การสื่ อสารแบบนี้
• ความไฮเทคของเทคโนโลยี 3G ทำให้ การเข้ าถึงข้ อมูลข่ าวสารทำได้ อย่ างสะดวก
สบาย และรวดเร็วมากขึน้ การเข้ าถึงข่ าวสารทีเ่ ป็ นประโยชน์ ถือเป็ นส่ วนสำคัญ
ทีทำ
่ ให้ เกิดการพัฒนาในด้ านต่ างๆ เพราะฉะนั้น คนทีเ่ ขาเข้ าไม่ ถงึ ข้ อมูลเหล่ านี้
หรือไม่ สามารถรับรู้ ข่าวสารได้ อย่ างรวดเร็วเท่ ากับคนทีเ่ ข้ าถึงเทคโนโลยี ก็อาจ
ทำให้ เกิดความแตกต่ างกันมาก ในเรื่องของการนำข้ อมูลต่ างๆ มาใช้ เพือ่ การ
พัฒนา
เทคโนโลยี 3G กับด้ านสั งคม
3G เชื่อมโลกหรือแบ่ งชนชั้น (ต่ อ)
• ความทันสมัยทีม่ ากเกินไป มันก็เป็ นสิ่ งทีเ่ กินความจำเป็ น จริงอยู่ ทีม่ ันทำให้ เกิด
ความเหลือ่ มล้ำเรื่องการเข้ าถึงข้ อมูล แต่ ‘วิธีการ’ เข้ าถึงข้ อมูลมากกว่ าทีสำ
่ คัญ
เพราะถ้ ามีคอมพิวเตอร์ มีอนิ เทอร์ เน็ต และใช้ อนิ เทอร์ เน็ตค้ นคว้ าหาข้ อมูลทีเ่ ป็ น
ประโยชน์ แค่ น้ันก็เพียงพอแล้ ว

• “มาก เกินไปมันก็...ไม่ พอเพียง”


ขอบคุณค่ ะ

You might also like