You are on page 1of 25

ผลกระทบของเทคโนโลยี

เทคโนโลยี หรือ ประยุกต์วิทยา โดยทัว่ ไปหมายถึง สิ่งที่


มนุ ษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำางานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น
อุปกรณ์, เครื่องมือ , เครื่องจักร, วัสดุ หรือ แม้กระทัง่ ที่ไม่ได้เป็ น
สิ่งของที่จับต้องได้ เช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ กล่าวได้ว่า
เทคโนโลยี คือ การประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์

ผลกระทบของเทคโนโลยี
การขยายตัวของเทคโนโลยีเป็ นไปอย่างรวดเร็ว ขีดความ
สามารถในการใช้งาน เพิ่มขึ้นขณะเดียวกันก็มีราคาถูกลง มีการ
ประยุกต์ใช้งานอย่างกว้างขวาง จนกล่าวได้ว่า เทคโนโลยีเข้ามามี
ส่วนเกี่ยวข้องกับมนุ ษย์ทุกคนไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ยกตัวอย่าง
ประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด โดยใน
อดีต สหรัฐฯ เป็ นประเทศเกษตรกรรม มีผลผลิตทางด้าน
การเกษตรเป็ นสินค้าหลัก ต่อมา เปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิต
เป็ นประเทศอุตสาหกรรม ปริมาณสัดส่วนของสินค้า ด้าน
อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และในปั จจุบันโครงสร้างการ
ผลิตของสหรัฐฯ เน้นไปที่ธุรกิจการให้บริการ และการใช้
สารสนเทศกันมาก ทำาให้สัดส่วนการผลิตสินค้า เกษตรลดลงไม่ถึง
5% ของสินค้าทั้งหมด ส่วนสินค้าอุตสาหกรรมก็มีมูลค่าน้อยกว่า
อุตสาหกรรมบริการ ซึ่งใช้ขอ
้ มูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
2

เป็ นหลัก หากมองภาพการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารทัว่ ไป


ของโลก ปั จจุบันมูลค่า ของสินค้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้
ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งประเทศที่พัฒนา แล้ว 10 ประเทศมี
สัดส่วนการใช้คอมพิวเตอร์มากถึงกว่า 90% ของปริมาณการใช้
คอมพิวเตอร์ทัว่ โลก ประเทศที่พัฒนาแล้ว 10 อันดับ ได้แก่
สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น เยอรมัน ฝรัง่ เศส อังกฤษ
เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก และแอฟริกาใต้ ถ้า
พิจารณาบริษัทผู้ผลิตสินค้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศพบว่า
ประเทศผู้ผลิต เพื่อส่งออกขายมีเพียงไม่ก่ีประเทศ ประเทศเหล่านี้
ส่วนมากมีเทคโนโลยีของตนเองมี การค้นคิด วิจัยและพัฒนาสินค้า
ให้ก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา จากความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์และ
เครื่องมือสื่อสาร ทำาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มี ขนาดเล็กลง แต่มีความ
สามารถเพิ่มขึ้น และมีราคาถูกลงจนผู้ท่ีสนใจสามารถหาซื้ อมา
ใช้ได้ จนแทบกล่าวได้ว่าบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศจะเข้า
มามีส่วนในทุกบ้าน เพราะเครื่องใช้อำานวยความสะดวกต่าง ๆ ล้วน
แล้วแต่มีส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารอยู่ด้วย
เสมอ
ปั จจุบันคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารได้สร้างประโยชน์
อย่างใหญ่หลวงต่อวงการทางธุรกิจ ทำาให้ทุกธุรกิจมีการลงทุน
ขยายขอบเขตการให้บริการ โดยใช้ระบบสารสนเทศกันมากขึ้น
กลไกเหล่านี้ ทำาให้โอกาสการขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ
กว้างขวางเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทำาให้สงั คมโลกเป็ นสังคม แบบไร้พรมแดน การใช้งานเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ตมีอัตราการขยายตัว สูงมาก จน
3

กล่าวได้ว่าเป็ นอัตราการขยายตัวแบบทวีคูณ จนเชื่อแน่ว่าภายใน


ระยะเวลาอีก ไม่นาน ผู้คนบนโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันผ่านทาง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้หมด ผลกระทบเหล่านี้ แบ่งเป็ นข้อๆได้
ดังนี้
1.การเปลี่ยนแปลงเรื่องความรู้สึกตลอดเวลา มีคนจำานวนไม่
น้อยเกิดความรู้สึกว่าสรรพสิ่งเคลื่อนไหวเร็วขึ้น เนื่ องจาก
เทคโนโลยีสารสนเทศทีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
2.ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าด้าน
โทรคมนาคม ทำาให้ระบบเศรษฐกิจเป็ นจริงขึ้นมา พรมแดนของ
ประเทศกลายเป็ นสิ่งไร้ความหมายการบริการด้านการเงินได้รบ
ั แรง
เสริมทางด้านอิเล็กทรอนิ กส์อย่างไม่หยุดยั้ง รวมทั้งผลกระทบจาก
การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารโดยเฉพาะในสำานั กงานทำาให้วิธีคิดและ
วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการทำางานเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง การ
ทำางานไม่จำาเป็ นต้องอยู่ในสำานั กงานตลอดเวลาอีกแล้ว
3.ผลกระทบด้านการเมืองและการตัดสินใจ เนื่ องจากการ
พัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ท่ีละเอียดและประณี ตมากขึ้น ทำาให้
การตัดสินใจไม่เป็ นไปตามค่านิ ยมแต่จะเป็ นการตัดสินใจบนข้อมูล
และข้อเท็จจริงพร้อมทั้งความคิดเห็นที่มีการเก็บรวบรวมและมีวิธี
การวิเคราะห์ประกอบด้วย ส่วนรูปแบบการเมือง จะได้รบ
ั ผลกระ
ทบคือ ระบบเผด็จการจะลดน้อยลง เนื่ องจากไม่สามารถควบคุม
ข่าวสารได้ ระบบการสื่อสารที่กระจายอำานาจทำาให้ประชาชนมี
อำานาจมากขึ้นสามารถติดตามการทำางานของรัฐบาลได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
4

4.การเกิดขึ้นของชุมชนอิเล็กทรอนิ กส์ ในอนาคตจะเกิด


ชุมชนใหม่ท่ีเรียกว่า “ชุมชนอิเล็กทรอนิ กส์” ที่ปรากฏขึ้นเมื่อทุก
บ้านมีคอมพิวเตอร์ และกลุ่มที่มีความสนใจเหมือนกันจะติดต่อ
โดยผ่านบริการของสหกรณ์โทรคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถจัดการให้
ทุกคนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรู้ซ่ึงกันและกันได้ และ
ข้อมูลที่นำามาแลกเปลี่ยนกันนี้ จะถูกบันทึกไว้และจะเรียกกลับมา
ใช้อีกเมื่อไหร่ก็ได้
5.ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม แม้ว่าเทคโนโลยีจะไม่ได้เป็ น
ตัวการทำาให้เกิดปั ญหาสิ่งแวดล้อมโดยตรง แต่เทคโนโลยีเป็ น
ปั จจัยที่ทำาให้เกิดความก้าวหน้าในเทคโนโลยีต่างๆ และเทคโนโลยี
เหล่านั้ นเองที่ทำาให้เกิดปั ญหาสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศจะ
ช่วยในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ดีข้ ึนได้ โดยการใช้
คอมพิวเตอร์ในการคำานวณหรือจำาลองแบบมวลอากาศเพื่อ
พยากรณ์ทางด้านอุตุนิยมวิทยา การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์
ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อตรวจสอบการบุกรุกทำาลายป่ า หรือการใช้
คอมพิวเตอร์ตรวจสอบการแพร่มลพิษในนำ้าหรือในอากาศ
6.ผลกระทบด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระ
ทบในด้านการศึกษามาก การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่
สำาคัญ คือ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted
Instruction-CAI) หรือ เรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียน
(Computer Assisted Learning-CAL) ซึ่งหมายถึงการใช้
คอมพิวเตอร์เป็ นสื่อในการสอนและการเรียนรู้ โดยมีผลทำาให้
นั กเรียน นั กศึกษา หรือประชาชนที่อยู่ในที่ห่างไกลสามารถเรียนรู้
ได้เช่นเดียวกับคนเมือง นอกจากนี้ ยังมีส่วนทำาให้อาจารย์มีเวลา
5

มากขึ้นที่จะทำาการศึกษาวิจัย นำาเสนอผลงานใหม่อันจะก่อให้เกิด
ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ
7.ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อปั จเจกบุคคล เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีผลกระทบต่อชีวิตประจำาวันของมนุ ษย์มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็ นการ
ทำางาน การเลือกซื้ อของ การพักผ่อน การฝาก-ถอนเงิน การรักษา
พยาบาล เป็ นต้น ซึ่งผลกระทบต่อบุคคลที่สำาคัญดังนี้
- ผลกระทบที่มีผลต่อสภาวะจิตใจ การที่สภาพแวดล้อมที
การกระตุ้นมากเกินไป ข่าวสารข้อมูลมีมากเกินไป ทางเลือกต่างๆ
มีมาก ทำาให้เกิดการตัดสินใจของมนุ ษย์ด้อยประสิทธิภาพลงเมื่อ
อยู่ในภาวะที่ถูกกระตุ้นมากไป
- การย้อนกลับไปสู่ศาสตร์ล้ ีลับ เนื่ องมาจากการสูญเสีย
อำานาจควบคุมพลังและศาสตร์ต่างๆ ก้าวไปไกลเกินกว่าที่มนุ ษย์จะ
ควบคุม มนุ ษย์จึงเลิกสนใจวิทยาศาสตร์แต่หันมาสนใจศาสตร์ล้ ีลับ
ต่างๆ เพื่อเป็ นเครื่องยึดเหนี่ ยวจิตใจ
- ความเป็ นส่วนตัวลดลง ทั้งนี้ เนื่ องจากประสิทธิภาพของ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็ นส่วนตัวทุกอย่าง
ของมนุ ษย์ได้
- ผลกระทบต่อวิธีคิดมนุ ษย์ มนุ ษย์จะสามารถเก็บข้อมูลมาก
ที่สุดในเวลาอันสั้นแล้วทิ้งไป แต่จะนำาเอาข้อมูลเพียงเล็กน้อยมาส
รุปรวมกันเป็ นทัศนะใหม่ จะไม่รบ
ั แนวคิดที่ส่งผ่านมาทั้งกระบวน
อีกต่อไป
6

ผลกระทบในทางบวก
ผลกระทบในทางบวกหากย้อนยุคไปในอดีตตั้งแต่การ
ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ข้ ึน เมื่อปลายสงครามโลกครั้งที่สอง
คอมพิวเตอร์ในยุคแรกเน้น การออกแบบเพื่อเป็ นเครื่องจักรช่วย
คำานวณเพื่อให้การคำานวณทางคณิ ตศาสตร์ท่ีมี ความยุ่งยากซับซ้อน
ทำาได้ง่ายและรวดเร็วขึ้นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ๆ ของโลกส่วน
ใหญ่สร้างในมหาวิทยาลัย มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็ นเครื่องคำานวณ
อิเล็กทรอนิ กส์ การ นำาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็ นเครื่องคำานวณทำาให้
เกิดการค้นคว้าทางวิชาการ เช่น การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การแก้
สมการหลาย ๆ ชั้นที่มีตัวแปรจำานวนมาก การนำา คอมพิวเตอร์ไป
ใช้ในการคำานวณทางสถิติ ช่วยทำาให้การสำารวจสำามะโนประชากรทำา
ได้รวดเร็ว การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการคำานวณทำาให้เกิด การพัฒนา
ซอฟต์แวร์ตัวแปล ภาษาที่เน้นการคำานวณเป็ นหลัก เช่น ภาษาฟ
อร์แทรน ภาษาเบสิก การใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการคำานวณยังคง
7

ดำาเนิ นต่อมาจนถึงปั จจุบัน โดยเฉพาะงานคำานวณในปั จจุบันมี


ความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น การคำานวณมวล ของอากาศที่
เคลื่อนไหวบนผิวโลก ทำาให้เกิดการ พยากรณ์อากาศล่วงหน้าได้ ใน
ช่วงหลังจากปี พ.ศ. 2500 การดำาเนิ นงานในวงการธุรกิจต้องการ
ใช้เครื่องจักร ช่วยมากขึ้น คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ มาเน้นในเรื่องการ
ประมวลผลข้อมูล (data processing) การประมวลผลข้อมูล
หมายถึง การนำาข้อมูลมาทำาให้เป็ นสารสนเทศ มีการพัฒนาตัว
แปลภาษาที่เหมาะสมกับงานประมวลผลข้อมูล ได้แก่ ภาษาโคบอล
เป็ นภาษาที่เหมาะ กับการประยุกต์ใช้งานการประมวลผลข้อมูล
และยังคงนิ ยมต่อมา
งานทางด้านธุรกิจส่วนใหญ่มุ่งที่จะให้คอมพิวเตอร์ช่วย
ประมวลผลข้อมูลที่มี จำานวนมาก เช่น ช่วยคำานวณสถิติข้อมูลของ
บริษัท ช่วยจัดการเรื่องข้อมูลบัญชี ข้อมูลสินค้าคงคลัง และ
วัตถุดิบ การติดตามและการเรียกเก็บหนี้ สินต่างๆ คอมพิวเตอร์ ยัง
มีประโยชน์อย่างใหญ่หลวงในวงการธุรกิจ หลังจากที่บริษัทอินเทล
ได้สร้างไมโครโพรเซสเซอร์สำาเร็จในปี พ.ศ. 2518 การใช้งาน
คอมพิวเตอร์ก็เข้ามามีบทบาทในธุรกิจขนาดเล็ก และในที่สุดก็มี
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ยุคของการ ประมวลผล ก็ก้าวมาสู่ยุคงาน
สารสนเทศมีการมอง ระบบข้อมูลในรูปแบบการใช้งานที่กว้างขวาง
กว่าเดิม มีระบบการประมวลผลแบบเชื่อมตรงเรียกค้นข้อมูลที่
ตอบโต้ได้ทันที ผู้ใช้คอมพิวเตอร์พบว่าสารสนเทศที่ได้จากการใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อ คำานวณ แยกแยะ จัดการกับข้อมูลมีประโยชน์
อย่างยิ่งในเรื่องการวางแผน การจัดการ การควบคุมงานในหน่วย
งานของตน ทำาให้ผู้บริหารได้ประโยชน์จากการใช้ข้อมูลในการ
8

วางแผนแข่งขันกับหน่วยงานอื่นได้ การพัฒนาระบบสารสนเทศจึง
แพร่กระจายไปใน องค์การเพื่อให้องค์การมีระบบการจัดการที่ใช้
ข้อมูลอย่างเต็มที่

ต่อมาในระยะหลังปี พ.ศ. 2530 พบว่าระบบสารสนเทศ มี


ประโยชน์มาก แต่มีจุดอ่อนบางประการ เช่น สารสนเทศ ทั้งหลาย
ที่ได้มาจากข้อมูลนั้ น ยังไม่สามารถช่วยผู้บริหารตัดสิน ใจได้
โดยตรง จึงเกิดความต้องการให้ได้ระบบที่ช่วยเสริมการ ทำางาน
ของผู้บริหาร ช่วยสนั บสนุ นการตัดสินใจของผู้บริหาร มีลักษณะ
การรวบความรอบรู้ เกิดการประมวลผลความรอบรู้ อย่างไรก็ดี แม้
จะมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ช่วยงานต่าง ๆ ได้มากแล้วก็ตาม
แต่ก็ยังต้องพัฒนาให้ใช้งานได้ดีย่ิงขึ้นอีก พัฒนาการของ
คอมพิวเตอร์ช่วยให้การทำางานของมนุ ษย์ดีข้ ึน ทำาให้มนุ ษย์
สามารถนำาความรู้และ ประสบการณ์ต่าง ๆ มารวมไว้เป็ นหมวดหมู่
วิวัฒนาการ เหล่านี้ ย่อมทำาให้เกิดผลกระทบต่อสังคมอย่างมากมาย
ซึ่งมีผู้กล่าวว่า สังคมโลกกำาลังอยู่ในยุคของการปฏิวัติ ครั้งที่ 3 ครั้ง
แรกเกิดเมื่อมนุ ษย์คิดค้นวิธีการทางการ เกษตรสามารถปลูกพืช
เลี้ยงสัตว์ ซึ่งเปลี่ยนการเร่ร่อน ของมนุ ษย์ให้มาตั้งถิ่นฐานเพื่อ
ทำาการเกษตร ต่อมาเกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมทำาให้ เกิด
ระบบการผลิตและเกิดโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นมากมาย มีการรวม
กลุ่มเป็ นสังคมเมือง และปั จจุบันกำาลังก้าวเข้าสู่ยุคสารสนเทศ ซึ่ง
เห็นได้ชัดจากการสื่อสารที่ให้ข่าวสาร อย่างรวดเร็ว จนทำาให้โลกมี
ลักษณะไร้พรมแดน ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อสังคม
ในทางบวกหรือทางที่ดีมีดังนี้
9

1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ เทคโนโลยี
สารสนเทศช่วยให้ความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์ดีข้ ึน ช่วยส่งเสริมให้มี
ประสิทธิภาพในการทำางาน ทำาให้มนุ ษย์มีเวลาว่างเพื่อใช้ ในทางที่
เกิดประโยชน์มากขึ้น มีเครื่องมือสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหม่ให้
ติดต่อกันได้สะดวก มีระบบคมนาคมขนส่งที่ รวดเร็วสามารถใช้
โทรศัพท์ในขณะเดินทางไปมายังที่ต่าง ๆ มีอุปกรณ์ช่วยอำานวย
ความ สะดวกที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ เช่น ลิฟต์ เครื่องซักผ้า
เครื่องปรับอากาศ เครื่องช่วย ให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น
วิทยุ โทรทัศน์ มีรายการให้เลือกชมได้มากมาย มีการ แพร่กระจาย
สัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ทำาให้ผู้ชมสามารถรับรู้ข่าวสารต่าง
ๆ จาก ทัว่ ทุกมุมโลกได้อย่างรวดเร็วเหมือนอยู่ในเหตุการณ์
2. ช่วยทำาให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีข้ ึน การผลิตสินค้าใน
ปั จจุบันต้องการผลิตสินค้าจำานวนมาก มีคุณภาพมีมาตรฐาน ซึ่ง
ในปั จจุบันใช้เครื่องจักรทำางานอย่างอัตโนมัติ สามารถทำางานได้
ตลอด 24 ชัว่ โมง สินค้าที่ได้มีคุณภาพและปริมาณพอเพียงกับ
ความต้องการของผู้บริโภค ปั จจุบันมีความ พยายามที่จะสร้างหุ่น
ยนต์ให้เข้ามาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิต เช่น การผลิตรถยนต์
3. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้าวิจัยสิ่งใหม่ เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสาร เช่น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้
งานค้น คว้าวิจัยในห้องปฏิบัติการวิจัยต่าง ๆ มีความก้าวหน้ายิ่ง
ขึ้น คอมพิวเตอร์ช่วยงานคำานวณ ที่ซับซ้อน ซึ่งแต่ก่อนยากที่จะ
ทำาได้ เช่น งานสำารวจทางด้านอวกาศ งานพัฒนาคิดค้ผลิตภัณฑ์
และสารเคมีต่างๆ ทำาให้ได้สูตรยา รักษาโรคใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย
ปั จจุบันงาน ค้นคว้าวิจัยทุกแขนงจำาเป็ นต้องใช้คอมพิวเตอร์ ช่วย
10

ในการคำานวณต่างๆ นั กวิจัย นั กวิทยาศาสตร์ ใช้ประโยชน์จาก


คอมพิวเตอร์ในการจำาลองรูป แบบของสิ่งที่มองไม่เห็นตัว ใช้ใน
การค้นหา ข้อมูลที่มีจำานวนมากและแพร่กระจายอยู่ทัว่ โลก
สามารถค้นหารายงานวิจัยที่มีผู้เคยทำา ไว้แล้วและที่เก็บไว้ในห้อง
สมุดต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว งานวิจัยต่าง ๆ มีความก้าวหน้า ยิ่งขึ้น
เพราะเทคโนโลยีเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องอย่อ
ู ย่างมาก
4. ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็ นอย่่ให้ดีข้ ึน
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำาให้
กิจการด้านการ แพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นมาก เครื่องมือเครื่องใช้
ทางการแพทย์ล้วนแล้ว แต่ใช้คอมพิวเตอร์
ช่วยในการดำาเนิ นการ ช่วยในการแปลผล มีเครื่อง ตรวจหัวใจที่ทัน
สมัย เครื่องเอกซเรย์ภาคตัดขวางที่ สามารถตรวจดูอวัยวะต่าง ๆ
ของร่างกายได้อย่าง ละเอียด มีเครื่องมือตรวจค้นหาโรคที่ทันสมัย
หรือแม้แต่การผ่าตัดก็มีเครื่องมือช่วย ในการผ่าตัดที่ทำาให้คนไข้
ปลอดภัยยิ่งขึ้น มีเครื่องคอยวัดและตรวจสอบสภาพการเปลี่ยน
แปลงของร่างกายอย่างละเอียด ระบบการรักษาพยาบาลจากที่ห่าง
ไกล เช่น คนไข้ อยู่ท่ีจังหวัดชายแดนและขาดแคลนแพทย์เฉพาะ
ทาง แพทย์ผู้ทำาการรักษาสามารถส่ง คำาถามปรึกษากับแพทย์ผู้
ชำานาญการเฉพาะได้ มีการรวบรวมความรู้ของแพทย์ผู้ชำานาญ การ
จัดสร้างเป็ นฐานความรอบรู้ เพื่อใช้ประโยชน์ได้กว้างขึ้น นอกจาก
นี้ ยังมีการพัฒนา เครื่องมือช่วยคนพิการต่าง ๆ เช่น การสร้างแขน
เทียม ขาเทียม การสร้างเครื่องกระตุ้น หัวใจ สร้างเครื่องช่วยฟั ง
เสียง หรือมีการพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกถ่ายอวัยวะสำาคัญต่าง ๆ
รวมทั้งการผลิตยา และวัคซีนสมัยใหม่ด้วย
11

5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ คอมพิวเตอร์มีจุดเด่น
ที่สามารถทำางานได้รวดเร็ว มีความแม่นยำา สามารถเก็บข้อมูลต่าง
ๆ ได้มาก การแก้ปัญหาที่ ซับซ้อนบางอย่างกระทำาได้ดี และ
รวดเร็ว งานบางอย่างถ้า ให้มนุ ษย์ทำาอาจต้องเสียเวลา ในการคิด
คำานวณตลอดชีวิต แต่คอมพิวเตอร์สามารถทำางาน เสร็จภายใน
เวลาไม่ก่ี วินาที ดังนั้ นจึงมีการนำาคอมพิวเตอร์ มาจำาลอง
เหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้มนุ ษย์หาทางศึกษาหรือแก้ไขปั ญหาเช่น
การจำาลอง สภาวะของสิ่งแวดล้อม การจำาลองระบบมลภาวะ
จำาลองการไหลของของเหลว การควบ คุมระบบการจราจร หรือ
แม้แต่การนำาเอาคอมพิวเตอร์มาจำาลองในสภาพที่เหมือนจริง เช่น
จำาลองการเดินเรือ จำาลองการขับเครื่องบิน การขับรถยนต์ สิ่งต่าง
ๆ เหล่านี้ ทำาให้ เหมือนจริงได้ หากมีการผิดพลาดก็ไม่ทำาให้เกิด
อันตราย คอมพิวเตอร์จึงเป็ นเครื่องมือ ที่ช่วยในการเรียนรู้ของ
มนุ ษย์ได้ดี ปั จจุบันมีการนำาบทเรียนมาไว้ในคอมพิวเตอร์เรียกว่า
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction :
CAI)และคอมพิวเตอร์ยงั เป็ นเครื่องมือให้นักเรียน นิ สิต นั กศึกษา
สมัยใหม่เชื่อมโยงติดต่อ ทางอินเทอร์เน็ต สามารถเรียก ค้นข้อมูล
ข่าวสารผ่านทางเครือข่าย สามารถเรียนรู้การใช้ คอมพิวเตอร์หรือ
เรียนจากที่ห่างไกลได้ ถือเป็ นหนทางที่ทำาให้เกิดสติปัญญาอย่าง
แท้จริง
6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง
เทคโนโลยีจำาเป็ นต่ออุตสาหกรรม กิจการค้า ธุรกิจต่าง ๆ กิจการ
ทางด้านธนาคาร ช่วยส่งเสริมงานทางด้านเศรษฐกิจ ทำาให้กระแส
เงินหมุนเวียนได้อย่างกว้างขวาง ผ้ผ
ู ลิตในสายอุตสาหกรรม จะ
12

ผลิตสินค้าได้มาก ลดต้นทุน ผ้บ


ู ริโภคก็มีกำาลังในการจับ จ่าย
ใช้สอยมาก ธุรกิจโดยรวมจำาเป็ นต้องอาศัยการแลก เปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างกัน มีการสื่อสารเกี่ยวข้องกัน เกิด ระบบการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิ กส์
7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน การสื่อสาร
โทรคมนาคมสมัยใหม่ช่วยย่นย่อโลกให้เล็กลง โลกมีสภาพไร้
พรมแดน มีการเรียนรู้วัฒนธรรมซึ่งกันและกันมากขึ้น เกิดความ
เข้าใจอันดีระหว่างกัน ทำาให้ลดปั ญหาใน เรื่องความขัดแย้ง สังคม
ไร้พรมแดนทำาให้มี ความเป็ นอยู่แบบรวมกลุ่มประเทศมากขึ้น
8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผ้่
แทนราษฎร มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกระจายข่าวสาร
เพื่อให้ประชาชนได้เห็นความสำาคัญของกระจายระบบ
ประชาธิปไตย แม้แต่การเลือกตั้งก็มีการใช้คอมพิวเตอร์รวมผล
คะแนน ใช้ส่ อ
ื โทรทัศน์วิทยุแจ้งผลการนั บคะแนนที่ทำาให้ทราบ ผล
ได้รวดเร็ว

ผลกระทบในทางลบ
13

ผลกระทบในทางลบ นั บตั้งแต่เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามี
บทบาทในชีวิตประจำาวันมากขึ้น การใช้เทคโนโลยีเป็ นไปอย่าง
กว้างขวาง ซึ่งหมายถึงการใช้เทคโนโลยีไปใน ด้านต่าง ๆ ซึ่ง
แน่นอนย่อมต้องมีท้ ังคุณและโทษ ภาพยนตร์หลายเรื่องได้ สะท้อน
ความคิดของการนำาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในทางลบ ผลก
ระทบ ในทางลบเหล่านี้ บางอย่างเป็ นเพียงการคาดคะเนยังไม่ได้
เกิดขึ้นจริง แต่ อย่างไรก็ตามย่อมมีโอกาสเกิดขึ้นได้ ผลกระทบใน
ทางลบ มีดังนี้
1. ทำาให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนำา
มาใช้ในการก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ โจรผู้ร้ายใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการวางแผนการปล้น วางแผนการ โจรกรรม มีการ
ลักลอบใช้ข้อมูลข่าวสาร มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลข บัญชีด้วย
คอมพิวเตอร์ การลอบเข้าไปแก้ไขข้อมูลอาจทำาให้เกิดปั ญหาหลาย
อย่าง เช่น การแก้ไขระดับคะแนนของนั กเรียน การแก้ไขข้อมูลใน
โรงพยาบาล เพื่อให้การรักษาพยาบาลคนไข้ผิด ซึ่งเป็ นการทำาร้าย
หรือฆาตกรรมดังที่เห็นใน ภาพยนตร์
2. ทำาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย การใช้
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ส่ ือสารทำาให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
โดยไม่ต้องเห็นตัว การใช้งานคอมพิวเตอร์หรือแม้แต่การเล่นเกมที่
มี ลักษณะการใช้งานเพียงคนเดียว ทำาให้ความสัมพันธ์กับผู้อ่ ืนลด
น้อยลง ผลกระทบนี้ ทำาให้มีความเชื่อว่า มนุ ษยสัมพันธ์ของบุคคล
จะน้อยลง สังคมใหม่จะเป็ นสังคมที่ไม่ต้องพึ่งพาอาศัยกันมาก
3. ทำาให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบนี้ เป็ นผลกระทบทาง
ด้านจิตใจของกลุ่มบุคคลบางกลุ่มที่มีความวิตกกังวลว่า
14

คอมพิวเตอร์อาจทำาให้คนตกงานมากขึ้น มีการใช้งานหุ่นยนต์ มา
ใช้งานมากขึ้น มีระบบการผลิตที่อัตโนมัติมากขึ้น ทำาให้ผู้ใช้
แรงงานอาจว่างงานมากขึ้น ซึ่งความคิด
เหล่านี้ จะเกิดกับบุคคล บางกลุ่มเท่านั้ น แต่ถ้าบุคคลเหล่านั้ น
สามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยี หรือมีการพัฒนา ให้มีความรู้
ความสามารถสูงขึ้นแล้วปั ญหานี้ จะไม่เกิดขึ้น
4. ทำาให้เกิดความเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ ธุรกิจในปั จจุบัน
จำาเป็ นต้องพึ่งพาอาศัย เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น ข้อมูล
ข่าวสาร ทั้งหมดของธุรกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมูล เช่น ข้อมูลลูกหนี้
การค้า ข้อมูลสินค้า และบริการ ต่าง ๆ หากเกิดการสูญหายของ
ข้อมูล อันเนื่ อง มาจากเหตุอุบัติภัย เช่น ไฟไหม้ นำ้าท่วม หรือ ด้วย
สาเหตุใดก็ตามที่ทำาให้ข้อมูลหายย่อมทำา ให้เกิดผลกระทบต่อธุรกิจ
โดยตรง
5. ทำาให้การพัฒนาอาวุธมีอำานาจทำาลายส่งมากขึ้น ประเทศที่
เป็ นต้นตำารับของเทคโนโลยี สามารถนำาเอาเทคโนโลยีไปใช้ ในการ
สร้างอาวุธที่มีอานุ ภาพการทำาลายสูง ทำาให้หมิ่นเหม่ต่อสงครามที่มี
การทำาลายสูงเกิดขึ้น
6. ทำาให้เกิดการแพร่วัฒนธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่
เหมาะสมอย่างรวดเร็ว คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์ท่ีทำางานตามคำาสัง่
อย่างเคร่งครัด การนำามาใช้ ในทางใดจึงขึ้นอยู่กับผู้ใช้ จริยธรรม
การใช้คอมพิวเตอร์ซ่ึงเป็ นเรื่องสำาคัญดังเช่น การใช้งาน
อินเทอร์เน็ตมีผู้สร้างโฮมเพจหรือสร้างข้อมูลข่าว สารในเรื่องภาพ
ที่ไม่เหมาะสม เช่น ภาพอนาจาร หรือภาพที่ทำาให้ ผ้อ
ู ่ ืนเสียหาย
นอกจากนี้ ยังมีการปลอมแปลงระบบจดหมาย เพื่อส่ง จดหมายถึง
15

ผู้อ่ ืนโดยมีเจตนากระจายข่าวที่เป็ นเท็จ ซึ่งจริยธรรมการ ใช้งาน


เครือข่ายเป็ นเรื่องที่ต้องปลูกฝั งกันมาก

ผลกระทบทางลบในด้านต่างๆ
1.ด้านสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบจากการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะที่ผ่านมามีอัตราสูง
มาก ทำาให้มีการระดมทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะ ป่ าไม้ ที่ดิน
แหล่งนำ้า แร่ธาตุและทรัพยากรการประมง มาใช้อย่างสิ้นเปลือง
และไม่มีประสิทธิภาพหรือไม่ประหยัด ส่งผลให้เกิดความร่อยหรอ
และเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ยิ่งไปกว่านั้ น การขาด
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติท่ีผ่านมาก็
เป็ นสาเหตุสำาคัญ ที่ซ้ ำาเติมให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำาลายลง
อย่างรวดเร็ว
นอกจากความร่อยหรอและเสื่อมโทรมของทรัพยากรแล้ว
การขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
อุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ตลอดจนถึงการขยายตัวของ
ประชากรในเขตเมือง ได้ก่อให้เกิดปั ญหามลพิษในด้านต่างๆ เช่น
นำ้าเน่า อากาศเสีย เสียงรบกวน กากของเสีย และสารอันตราย
ตกค้าง เพิ่มปริมาณมากขึ้น โดยเฉพาะคุณภาพนำ้าในแม่น้ ำาสาย
หลัก เช่น แม่น้ ำาเจ้าพระยาและแม่น้ ำาท่าจีน รวมถึงคุณภาพนำ้า
ทะเลชายฝั ่ งในบริเวณแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งเสื่อมโทรมและมี
คุณภาพตำ่ากว่ามาตรฐานที่กำาหนดไว้ โดยมีสาเหตุสำาคัญมาจากนำ้า
ทิ้งจากชุมชนและนำ้าเสียจากอุตสาหกรรม
16

สำาหรับปั ญหามลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครและ
เมืองหลัก เช่น เชียงใหม่ หาดใหญ่ ขอนแก่น ก็ได้ทวีความ
รุนแรงมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยมีสาเหตุสำาคัญ คือ ปริมาณ
รถยนต์ท่ีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ปั ญหาขยะมูลฝอยทั้ง
ในกรุงเทพฯ และเมืองหลักเมืองอื่น ๆ ตลอดจนเทศบาลและ
สุขาภิบาลต่างๆ กลายเป็ นเมืองสกปรกและยังเป็ นแหล่งแพร่เชื้ อ
โรคอีกด้วย นั บเป็ นปั ญหาที่ส่งผลกระทบทั้งสุขภาพกายและ
สุขภาพจิตของประชาชนอย่างมาก

ผลกระทบจากกระบวนการผลิตทางอุตสากรรมต่อสิ่งแวดล้อม
การอุตสาหกรรม หมายถึง การแปรรูปวัตถุดิบให้เป็ น
ผลผลิตที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งกระบวนการแปรรูปของ
วัตถุดิบด้วยเทคโนโลยีระดับต่างๆ ตั้งแต่การผลิต วัตถุดิบ จนถึง
ผลผลิตขั้นสุดท้าย ก่อให้เกิดมลพิษทั้งที่เป็ นสารเคมีท่ีเป็ นพิษ
โลหะหนั ก สารฆ่าแมลง เชื้ อโรคในรูปของนำ้าเสีย อากาศเสีย
หมอก ควัน ฝ่ ุนละออง ความสัน
่ สะเทือน ความร้อน ฯลฯ
มลพิษจากกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมจะเกิดขึ้น
มากหรือน้อยนั้ น ขึ้นอยู่กับชนิ ด ประเภท กำาลังการผลิต ความถี่
ในการผลิต เช่น กระบวนการทำาความเย็น การทำาความร้อน การ
ผลิตพลังงาน การล้างทำาความสะอาด และประสิทธิภาพของ
เทคโนโลยีแต่ละขั้นตอน เป็ นต้น
17

จากลักษณะของกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมที่
กล่าวมา ทำาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมายหลายประการ
โดยเฉพาะปั ญหามลภาวะ ( กล่าวอย่างละเอียดในบทที่ 9 ) ซึ่ง
เป็ นปั ญหาที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้ น การ
พัฒนากระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมจึงมีความจำาเป็ นอย่างยิ่ง
ที่ต้องคำานึ ง ถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป เพื่อไม่ให้การ
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีย้อนกลับมาทำาร้ายตัวมนุ ษย์เอง

ผลกระทบจากกระบวนการผลิตทางเกษตรกรรมต่อสิ่งแวดล้อม
การเกษตร หมายถึง การจัดการภายในของขอบเขต
ที่ดิน เพื่อการผลิตพืชและสัตว์ ให้สามารถตอบสนองต่อความ
ต้องการของมนุ ษย์ในการยังชีพ การแลกเปลี่ยนโดยมีปัจจัยการ
ผลิตที่สำาคัญ คือ ดิน นำ้า อากาศ แสง พืชพันธ์ุและสัตว์ ซึ่งจะเห็น
ได้ว่าระบบการเกษตรมีลักษณะที่สอดคล้องกับระบบนิ เวศ
ธรรมชาติเป็ นอย่างมาก ทั้งนี้ ระบบนิ เวศธรรมชาติเป็ นการแสดง
ถึงความสัมพันธ์ระหว่างกันและกันขององค์ประกอบที่มีชีวิต กับ
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต โดยมีลักษณะความสัมพันธ์ดังกล่าว อย่าง
น้อย 5 ประเด็น คือ
1) การเกษตรต้องพึ่งพาอาศัยสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพอย่างเข้มข้น
2) การเกษตรจำาเป็ นต้องอาศัยคุณลักษณะทางชีววิทยา
ในการผลิต
3) การเกษตรมีการใช้ท่ีดินเป็ นบริเวณกว้าง
4) การเกษตรก่อให้เกิดผลผลิตมากมายและหลากหลาย
18

5) การเกษตรมีหน่วยการผลิตมากทำาให้อัตราส่วนการ
ประกอบอาชีพของประชากรมีมาก
ภายใต้สภาวการณ์โลกที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างต่อ
เนื่ อง โดยมีการพัฒนาการผลิตให้เพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมุ่ง
เน้นประโยชน์ตอบแทนในรูปผลกำาไรเป็ นหลัก มีการนำาเอา
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างเข้มข้น เกินความพอเหมาะพอดี
นอกจากนี้ ปั จจัยการผลิตทางการเกษตรภายนอก ได้แก่ ปุ ุย ยา
ปราบศัตรูพืช เครื่องจักรกล รวมถึงเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม
ผลพวงจากการจัดการระบบไร่นาเชิงธุรกิจเหล่านี้ เป็ นผลให้เกิด
การสูญเสียสมดุลธรรมชาติอย่างมากมาย เช่น การระบาดของศัตรู
พืช ภาวะฝนแล้ง การชะล้างพังทลายของหน้าดิน อากาศร้อนขึ้น
นั บวันปั ญหาต่างๆ จะทวีความรุนแรงมากขึ้นจึงควรเร่งปรับปรุง
แก้ไขอย่างรีบด่วน
ปั ญหาและสาเหตุความไม่ยัง่ ยืนในระบบการเกษตร
ในช่วงของการพัฒนาของประเทศไทย รวมไปถึงทัว่
โลกที่ผ่านมานั้ นมนุ ษย์ได้กระทำาการต่างๆ เพื่อการพัฒนาโดยขาด
การระมัดระวังส่งผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
ในขณะเดียวกันธรรมชาติท่ีได้รบ
ั ผลกระทบของการพัฒนาจนมี
สภาพเสื่อมโทรมผิดปกติน้ ั น ได้ก่อให้เกิดผลต่อมนุ ษย์มากมาย
ดังนี้
1) ปั ญหาความไม่ยัง่ ยืนทางด้านสภาพแวดล้อม
โดยทัว่ ไปมนุ ษย์เคยชินกับการประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม มักมองการเกษตรที่ต้องหักล้างถางพง จากพื้ นที่เดิม
19

ที่เป็ นป่ าไม้ให้เตียนเสียก่อน โดยไม่ให้มีพืชอื่นที่ไม่ต้องการหลง


เหลืออยู่ แล้วจึงทำาการไถเตรียมดินเพื่อให้ร่วนซุย และเหมาะสม
กับการเจริญเติบโตของพืชที่ต้องการปลูก จากนั้ นทำาการปลูกเป็ น
แถวเป็ นแนว ทั้งนี้ เพราะภายหลังจากพืชงอกมาแล้ว จะได้ทำาการ
ไถพรวนระหว่างร่องเพื่อไม่ให้มีวัชพืชขึ้นแข่งกับพืชที่ต้องการปลูก
เมื่อมีศัตรูพืชระบาดก็ใช้สารเคมีพ่นกำาจัด เมื่อถึงเวลาก็ใส่ปุุย
บำารุงดิน ในระยะเวลาที่เหมาะสม การปฏิบัติเช่นนี้ ทำาให้เกิดปั ญหา
คือ
- การชะล้างพังทลายของดิน โดยเฉพาะบริเวณที่มี
ความลาดเอียง เพราะหน้าดินมีพืชเศรษฐกิจเพียงชนิ ดเดียว
- เกิดมลพิษในอากาศ นำ้า และดิน เนื่ องจากการใช้
สารเคมี
- ศัตรูพืชระบาดมากขึ้น เพราะไปทำาลายแมลงบาง
อย่างที่มีประโยชน์ต่อพืช
- การสูญเสียแหล่งพันธุกรรม เพราะปลูกพืชเพียง
ชนิ ดเดียวและกำาจัดพืชชนิ ดเดิมออกไป
- พื้ นที่ป่าไม้ลดลง
2) ปั ญหาความไม่ยัง่ ยืนทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
การเกษตรไทยในชนบทเดิมมุ่งเน้นการผลิตสิ่ง
จำาเป็ นพื้ นฐานมากกว่าจะมุ่งเพื่อการค้า ระบบการเกษตรไทยจึงมี
ความหลากหลาย ผลผลิตเพียงพอกับการบริโภค เมื่อเหลือจึงแจก
จ่าย แลกเปลี่ยนหรือจำาหน่าย แต่ต่อมานโยบายการผลิต
เปลี่ยนแปลงโดยมุ่งเน้นให้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพื่อ
เศรษฐกิจของประเทศที่เจริญเติบโตและก้าวหน้าให้ทันต่อการ
20

เปลี่ยนแปลงของโลก ทำาให้มีการขยายพื้ นที่เพาะปลูกเพิ่มมากขึ้น


เกษตรกรถูกอิทธิพลของเศรษฐกิจภายนอกเข้ามามี
บทบาททำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิต และมีอิทธิพลที่
เปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับระบบการผลิต คือ
- ความต้องการปั จจัยภายนอกเหนื อการดำารงชีวิตมี
มากขึ้น เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รบ
ั การเสนอขายปั จจัยการดำารงชีพที่
ไม่ใช่ส่ิงจำาเป็ นขั้น พื้ นฐานมากขึ้น การผลิตที่เน้นเพื่อการดำารงชีพ
เปลี่ยนแปลงเป็ นผลิตเพื่อขายให้ได้เงินมาจับ จ่ายใช้สอย โดยเน้น
การผลิตพืชเศรษฐกิจเป็ นสำาคัญ
- การผลิตเพื่อการค้าประสบภาวะขาดทุน สินค้า
การเกษตรส่วนใหญ่มีลักษณะ 5 ประการ คือ เน่าเสียง่าย ผลผลิต
ที่เก็บไว้นานต้องใช้ยุ้งฉางเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม ราคาผันแปรไม่
แน่นอน ผลผลิตไม่แน่นอนมีความเสี่ยงสูง และต้นทุนการผลิตสูง
ทำาให้เกษตรกรมีหนี้ สินต้องรีบขายผลผลิตทำาให้มีรายได้ตำ่า

ผลกระทบจากกระบวนการกระจายผลผลิตต่อสิ่งแวดล้อม
สืบ เนื่ องจากการพัฒนากระบวนการผลิตทาง
อุตสาหกรรมและเกษตรกรรมทำาให้เกิดผลผลิต มากมาย และ
จำาเป็ นที่ต้องมีการกระจายผลผลิตออกสู่พื้นที่ต่างๆ ที่มีความ
ต้องการผลผลิตนั้ นๆ ซึ่งกระบวนการกระจายผลผลิตนี้ อาศัย
ระบบการคมนาคมขนส่งเป็ นปั จจัยหลัก ในอดีต การคมนาคม
ขนส่งยังไม่พัฒนา ทำาให้การกระจายผลผลิตไม่สามารถขยายไปสู่
พื้ นที่ห่างไกลได้ หรืออาจต้องใช้ระยะเวลานาน แต่ในปั จจุบัน จาก
21

การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำาให้การกระจายผลผลิต
ทำาได้อย่างรวดเร็ว ทั้งทางบก ทางนำ้าและทางอากาศ ซึ่งนั บวันยิ่ง
มีวิวัฒนาการก้าวลำ้ามากขึ้น แต่กระบวนการกระจายผลผลิตก็
สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย ทั้งเรื่องของการเพิ่ม
ปริมาณยานพาหนะ ทำาให้เกิดปั ญหามลพิษทางอากาศ มลพิษทาง
เสียง และปั ญหาการใช้ทรัพยากรนำ้ามันเพิ่มมากขึ้น เรื่องของ
อุบัติเหตุระหว่างการขนส่ง ฯลฯ
22

2.ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเด็กไทย

เด็กและเยาวชนใช้เวลาเกือบครึง่ ยามตื่นไปกับสื่อเทคโนโลยี
ชนิ ดต่างๆ และอาจได้รบ
ั ผลกระทบในเวลาเดียวกัน
23
24
25

กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีมีบทบาทที่สำาคัญในทุกวงการ
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลกด้านความเป็ นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ
การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอด
จนการวิจัยและการพัฒนาต่าง ๆ

You might also like