You are on page 1of 19

ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่ างบุคคล

ของแฮร์ ร่ี สแต็ค ซัลลิแวน

Harry Stack Sullivan


Harry Stack Sullivan
ประวัติของแฮรี่ สแต็ค ซัลลิแวน
(Harry Stack Sullivan)
 เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ 21 กุ ม ภาพั น ธ์ ค.ศ. 1892 ที ม่ ลรั ฐ นิ ว ยอร์ ก ประเทศ
สหรัฐอเมริกา
 เสี ยชีวติ เมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1949 ทีก่ รุงปารีส ประเทศฝรั่สเศส
 เขาได้ รับปริญญาแพทยศาสตร์ จากวิทยาลัยทางการแพทย์ ของชิคาโก
 ต่ อมาได้ ทํางานในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมรี่แลนด์ ซึ่งเป็ น
ช่ วงเวลาทีเ่ ขาได้ ศึกษาโรคจิตเภท
ประวัติของแฮรี่ สแต็ค ซัลลิแวน
(Harry Stack Sullivan) (ต่ อ)
 ซัลลิแวนเป็ นทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักกล่าวสุ นทรพจน์ ทางด้ านจิตเวช
 ผู้นําในการฝึ กฝนจิตแพทย์ ในด้ านบุคลิกภาพ
 เขาได้ เริ่มตั้งทฤษฎีความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลตั้งแต่ ปี ค.ศ.1929 และ
สํ าเร็จในกลางปี ค.ศ.1930
 ตลอดชีวติ ของซัลลิแวนได้ มผี ลงานการเขียนเพียงเล่ มเดียว คือ ทฤษฎี
บุคลิกภาพในปี ค.ศ.1947
 วารสาร Conception of Modern Psychiatry และ
The Psychiatric Interview
โครงสร้ างบุคลิกภาพ
(Structure of Personality)
 ซั ล ลิ แ วนเห็ น ว่ า พั น ธุ ก รรรมมี ค วามสํ า คั ญ เป็ นอย่ างยิ ง่ ต่ อการ
วางรากฐานความเจริญเติบโต และต้ องมีความสั มพันธ์ กบั สิ่งแวดล้อม
 มนุษย์ ต้องเรียนรู้ การอยู่ร่วมกัน ทํางานร่ วมกัน และจัดสิ่ งเหล่านีใ้ ห้ เป็ น
ระบบ
 พฤติกรรมของบุ คคลทีแ่ ตกต่ างกันนั้นเกิดจากการทํางานประสานกัน
ของระบบทั้ ง 3 คื อ การแปรผั น (Dynamism) กระบวนการของ
พฤติ ก รรม (Pattern) และการแปรผั น พลั ง จิ ต (Dynamism of
Psychiatry) ซึ่งทําให้ เกิดความเครียด (Tension)
โครงสร้ างบุคลิกภาพ
(Structure of Personality)(ต่ อ)
 นอกจากนีค้ วามเครียดของบุคคลอาจเกิดจากความต้ องการ (Needs) ซึ่ง
ไม่ ได้ รับการตอบสนองทําให้ เสี ยสมดุลของชีวติ
 ความเครี ย ดอาจเกิด จากความวิ ต กกัง วล (Anxiety) ที่ บุ ค คลไม่ รู้ สึ ก
อบอุ่นหรือมัน่ คงในเรื่องของความรัก
 บุ ค ลิ ก ภาพเป็ นศู น ย์ ก ลางที เ่ ปลี ย่ นไปเรื ่อ ยๆ ตามสภาพการณ์ ข อง
ความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลทีเ่ ปลีย่ นไปตลอดเวลา
ขบวนการของความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลที่เกิดขึน้ แบ่ งออกเป็ น
3 ประเภท คือ
1. Dynamisms
การเปลีย่ นแปลงพลังงานมาสู่ การแสดงพฤติกรรมทีส่ ั งเกตได้ เช่ น พูด
ลุกเดิน หรือสั งเกตไม่ ได้ เช่ น การคิด การเพ้อฝัน
 dynamisms จะทําให้ เกิดพฤติกรรมคงเดิมอีกเป็ นประจําคล้ายกับนิสัย
ทุกคนมี dynamisms พืน้ ฐานเหมือนกาน แต่ การแสดงออกอาจแตกต่ าง
กันออกไปตามประสบการณ์ ของแต่ ละคน
Dynamisms เกิดขึน้ เพื่อสนองความต้ องการพืน้ ฐานทางร่ างกายทั้งนั้น
มีเพียง dynamisms เดีย วเท่ านั้ นที่เป็ นไปเพือ่ จุ ด ประสงค์ อืน่ คือ
เพื่อลดความวิตกกังวลที่เกิดขึน้ มีชื่อเรี ยกว่ า dynamisms of self หรื อ
self system

Self System เกิดขึน้ เนื่องจากเราได้ รับความวิตกกังวลอันเป็ นผลมาจาก


การมีความสั มพันธ์ ระหว่ างบุ คคล เช่ น บุคคลเรี ยนร้ ู ว่าสามารถ
หลีกเลีย่ งการถูกทําโทษได้ โดยการยอมทําตามความปรารถนาของพ่ อแม่
ทําให้ เกิดระบบ self system ขึ้น
Self System พ่ อแม่ จะเป็ นผู้ปรุ งแต่ งบุคลิกภาพเบื้องต้ นให้ แก่
ทารก จนกว่ าทารกจะรับรู้ และสามารถสร้ างภาพของตนเองขึน้ มา
ได้ ว่า “ฉันดี (Good Me)” “ฉันเลว (Bad Me)” และ “ไม่ ใช่ ฉัน
(Not Me)”
Self System
ภาพตนเองทีว่ ่ า “ฉันดี(Good Me)”
ภาพตนเองทีว่ ่ า “ฉันเลว (Bad Me)”
ภาพ “ไม่ ใช่ ฉัน (Not Me)”
โครงสร้ างบุคลิกภาพ
(Structure of Personality)(ต่ อ)
2. Personification
ภาพทีป่ ัจเจกชนวาดเป็ นภาพตัวเอง เป็ นภาพคนอืน
่ ที่มีสัมพันธภาพกับ
ตน
ตัวอย่ างเช่ น ทารกวาดมโนภาพแม่ ของตนว่ าเป็ นแม่ ทีด่ ี เพราะทารกนั้ น
ได้ รับการดูแลให้ เป็ นสุ ขสํ าราญ ในด้ านตรงข้ าม มโนภาพแม่ ในด้ านลบก็
มีเพราะทารกได้ ประสบการณ์ ความหวาดกลัวกังวลรู ปแบบต่ างๆจาก
การเลีย้ งดูทแี่ ม่ กระทํา
โครงสร้ างบุคลิกภาพ
(Structure of Personality)(ต่ อ)
3. Cognitive experience

กระบวนการคิดขึน้ อยู่กบั ประสบการณ์


 Prototaxic
 Parataxic

 Syntaxic
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
(The development of personality)

แบ่ งเป็ น 7 ขั้น ดังนี้


วัยทารก (อายุระหว่ าง 18 เดือน)
ลักษณะประจําขั้น

เรียนรู้และฝึ กหัดกิจกรรมการเคลือ่ นไหวกล้ ามเนือ้ และประสาท


สัมผัส กิจกรรมทางปาก ความคิดพัฒนาจากขั้น Prototaxic มา
สู่ Parataxic ความรู้ สึกประทับใจทางบวกและทางลบในด้ าน
สั มพันธภาพกับผู้อื่น เช่ น ความเอาใจใส่ ของพ่ อแม่ หรื อความ
หงุดหงิด ฉุนฉียวของพ่ อแม่ เป็ นต้ น
วัยเด็ก (อายุระหว่ าง18เดือน-5ขวบ)
ลักษณะประจําขั้น

ภาษาพั ฒ นามากขึ้ น ความคิ ด เชิ ง Syntaxic


เริ่มต้ นและพัฒนาไปเรื่อยๆเริ่มมีสัมพันธภาพกับ
เพื อ่ นร่ วมวั ย เริ ่ม เข้ า ใจสิ ่ง แวดล้ อ มรอบตั ว
เข้ าใจลักษณะประจําเพศของตน รู้ จักเล่ นตาม
แบบเด็กชาย เด็กหญิง
วัยก่ อนวัยรุ่น (5-11ปี )
ลักษณะประจําขั้น
เริ่มมีความสัมพันธ์ กบั บุคคลอืน่ ๆ
ซับซ้ อนขึน้
วัยแรกรุ่ น (11-13ปี )
ลักษณะประจําขั้น
รู้จกั สร้ างสั มพันธ์ กบั เพือ่ นเพศเดียวกัน
รู้จกั การสมาคมกับบุคคลอืน่
วัยรุ่นตอนต้ น (13-17ปี )
ลักษณะประจําขั้น
เริ่มสนใจและสั มพันธ์ กบั เพศตรงข้ าม เรื่องเพศเป็ นเรื่องที่อยู่
ในความคิดนึกอย่ างมาก

วัยรุ่นตอนปลาย (17-19ปี )
ลักษณะประจําขั้น
เลือกทํากิจกรรมทีเ่ หมาะสมตามเพศของตน
ความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลเป็ นเรื่องเป็ นราว
ยิ่งขึน้
วัยผู้ใหญ่ (20ปี ขึน้ ไป)
ลักษณะประจําขั้น
ถ้ าการพัฒนาการทั้ง 6 ขั้นตอนที่ผ่านมาเป็ นไป
ด้ วยดี บุคคลจะเป็ นผู้ใหญ่ ที่มีสมรรถภาพแท้ จริง
ลักษณะของบุคลิกภาพที่ไม่ พึงประสงค์
1. ประเภทหมกมุ่นอยู่กบั ตนเอง
2. ประเภทไม่ ส่ ุ งสิ งกับใคร
3. ประเภทต้ องพึง่ พาผู้อน่ื
4. ประเภทไม่ เป็ นมิตรกับใคร
5. ประเภทชอบคัดค้ าน
6. ประเภทรักร่ วมเพศ

You might also like