You are on page 1of 8

ทฤษฎีบุคลิกภาพ

ทฤษฎีอนิ ทรีย์ของ Kurt Goldstein


ชีวประวัติของ Kurt Goldstein
• Kurt Goldstein เกิดใน Silesia ตอนบนซึ่งขณะนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของประเทศ
เยอรมัน แต่ ขณะนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของประเทศโปแลนด์ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน
ค.ศ.1878
• ค.ศ.1903 ได้ รับปริญญาแพทย์ศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย Breslau
• ค.ศ.1914 ศาสตราจารย์ ทางโรคจิตและโรคประสาทเมือ่ อายุ 36 ปี และเป็ น
ผู้อานวยการสถาบันประสาทวิทยาของมหาวิทยาลัย Frankfurt
• ระหว่ างสงครามโลกครั้งที่1 เขาได้ เป็ นผู้อานวยการโรงพยาบาลทหาร รักษาทหาร
ผู้ได้ รับบาดเจ็บทางสมอง
• สร้ างสถาบันวิจัยผลที่ได้ รับภายหลังจากการทีไ่ ด้ รับบาดเจ็บทางสมอง
• ค.ศ.1930 เขาได้ ไปเป็ นศาสตราจารย์ ทางโรคจิตและโรคประสาททีม่ หาวิทยาลัย
Berlin และเป็ นหัวหน้ าแผนกโรคจิตและโรคประสาทของโรงพยาบาล Moabit
ชีวประวัติของ Kurt Goldstein
• เมือ่ Hitler บุกประเทศเยอรมัน Goldstein ได้ ถูกจาคุกและได้ รับการปลดปล่ อยโดย
มีข้อแม้ ว่าเขาต้ องออกนอกประเทศ เขาจึงไปที่ Amsterdam
• ค.ศ.1935 ย้ ายมาอยู่ทสี่ หรัฐอเมริกาและทางานที่สถาบันโรคจิตนิวยอร์ กเป็ นเวลา 1
ปี (New York Psychiatric Institute)
• เป็ นหัวหน้ าห้ องปฏิบัติการทางประสาทและสรีรศาสตร์ (Neurophysiology) ที่
โรงพยาบาล Montefiore และเป็ นศาสตราจารย์ สอนแพทย์ ทางประสาทวิทยาที่
มหาวิทยาลัย Columbia
• ค.ศ.1945 เขาได้ กลับไป New York เพือ่ ฝึ กปฏิบัติเกีย่ วกับจิตประสาทและจิตบาบัด
(neuropsychiatry and psychotherapy) และต่ อมาก็ได้ ทาการวิจัยทางสั งคม
• ถึงแก่กรรมที่ New York เมือ่ วันที่ 19 กันยายน ค.ศ.1965 อายุได้ 86 ปี
แนวคิดที่สาคัญของ Goldstein

• แนวคิดในเรื่อง อินทรีย์ ได้ รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดเรื่องส่ วนรวม


ของกลุ่ม gestalt เน้ นการรับรู้อยู่ในลักษณะส่ วนรวม แต่ ไม่ ได้ พูดถึง
บุคลิกภาพทีเ่ ป็ นส่ วนรวม
• Goldstein ศึกษาทหารที่ได้ รับบาดเจ็บเกีย่ วกับสมองระหว่ าง
สงครามโลกครั้งที่ 1 และผู้ป่วยทีม่ คี วามบกพร่ องในการพูด และพบว่ า
จะทาความเข้ าใจอินทรีย์ได้ ต้องศึกษาอินทรีย์ท้งั หมด จิตใจแยกออกจาก
ร่ างกายไม่ ได้
โครงสร้ างของบุคลิกภาพ
(The Structure of the Organismic)
• บุคลิกภาพก็คอื อินทรีย์ อินทรีย์ประกอบด้ วย member (หน่ วย) ที่
รวมเข้ าด้ วยกันเป็ นสิ่ งเดียวแยกจากกันไม่ ได้ นอกจากเกิดอาการผิดปกติ
หรือตกอยู่ในภาวะบางอย่ าง เช่ น วิตกกังวลมาก การทางานของ
organism อยู่บนพืน้ ฐานของ figure and ground (ภาพและพืน้ )
• ภาพคือสิ่ งทีป่ รากฏเด่ นชัดตัดกับพืน้
• ภาพจะเปลีย่ นไปเมื่องานของอินทรีย์เปลีย่ นไป การกระทาที่เป็ นภาพ
แบ่ งออกเป็ น
natural figure การกระทาในสิ่งที่ยดื หยุ่นได้เหมาะสมกับสภาพการณ์
unnatural figure การกระทาที่แยกจากส่ วนมีลักษณะที่ตายตัว
ไม่ เหมาะสมกับสภาพการณ์
โครงสร้ างของบุคลิกภาพ
(The Structure of the Organismic)
พฤติกรรมแบ่ งออกเป็ น
concrete behavior หมายถึง พฤติกรรมทีเ่ ป็ นรูปธรรมปรากฏออกมาให้
เห็นและเกิดขึน้ ทันทีที่ได้ รับสิ่ งเร้ า
abstract behavior หมายถึง พฤติกรรมที่เป็ นนามธรรม ไม่ ปรากฏ
ออกมาให้ เห็นอย่ างชัดเจน
กลไกบุคลิกภาพ (The Dynamic of The Organism)

1. Equalization บุคลิกภาพ คือ ระบบของพลังงานทีน่ ามาใช้ สร้ างภาวะ


สมดุลย์ หมายความว่ า ทาให้ ความเครียด (tension) แผ่ ออกไปยัง
ระบบต่ างๆ
2. Self-actualization คือ จุดมุ่งหมายของทุกคน เป็ นแรงจูงใจให้ เกิดการ
แสดงพฤติกรรมนานาประการ เป็ นแนวทางขั้นพืน้ ฐานของการบรรลุ
ความสามารถสู งสุ ดของอินทรีย์
3. ‘coming to team’ with environment คือ การที่อนิ ทรีย์ต้องสั มพันธ์
กับสิ่ งแวดล้อมทั้งนีเ้ พือ่ เลือกสิ่ งแวดล้อมที่สามารถลด tension ที่
เกิดขึน้ และพัฒนา self-actualization ของตนเอง
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
(The Development of Organism)

• Goldstein เชื่อว่ าพัฒนาการจะเป็ นไปเพือ่ self-actualization ถ้ าอยู่ใน


สิ่ งแวดล้อมทีเ่ หมาะสมก็จะพัฒนาได้ ดีตามวุฒิภาวะ
• การถูกขัดขวางมีผลให้ เกิดความผิดปกติขนึ้ ได้ และมีลกั ษณะก้าวร้ าว
หรือเงียบยอมตาม ซึ่งไม่ ใช่ ลกั ษณะตามธรรมชาติของอินทรีย์ และมีการ
แสดงพฤติกรรมซ้าๆ ในทางทีไ่ ม่ เหมาะสม

You might also like