You are on page 1of 14

ของ อัลเบิร์ต แบนดูรา

Albert Bandura
ประวัตขิ องอัลเบิร์ต แบนดูรา
เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1925 ณ ประเทศ แคนนาดา
ศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มหาวิทยาลัย British Columbia
สาขาจิตวิทยา
ค.ศ. 1952 จบปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัย Iowa สาขาจิตวิทยาคลินิก
และ ได้ ทางานที่ Wichita Guidance Center
แต่ งงานกับ Verginia Verne อาจารย์ สอนพยาบาล และมีบุตรสาว 2
คน ชื่อ Carol และ Mary
ค.ศ. 1953 ได้ รับตาแหน่ งเป็ นอาจารย์ สอนที่มหาวิทยาลัย Stanford เรื่อยมา
จนถึงปัจจุบัน
ค.ศ. 1974 ได้ รับเลือกให้ เป็ นนายกสมาคมจิตวิทยาแห่ งอเมริกนั
(American Psychological Association หรือ APA)
ผลงานทางวิชาการ
Bandura มีผลงานทางวิชาการมากมายไม่ ว่าจะเป็ นงานวิจัย เขียน
บทความทางวิชาการและตารา ส่ วนใหญ่กจ็ ะเป็ นการเขียนเพื่อเสนอ
แนวคิดของเขาและรวบรวมงานวิจยั ที่เขาได้ทามา เช่ น Principle of
Behavior Modification , Social Learning Theory และ Social
Foundations of Thought and Action
แนวคิดพืน้ ฐานของทฤษฎี
1. การเรียนรู้ เป็ นผลของปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและสิ่ งแวดล้ อม
โดยบุคคลและสิ่ งแวดล้ อมมีอทิ ธิพลซึ่งกันและกัน
P
B= พฤติกรรมของบุคคล
P= บุคคล
E= สิ่ งแวดล้อม
B E
2. การเรียนรู้ (Learning) แตกต่ างกับการกระทา (Performance)
เพราะบุคคลอาจเรียนรู้ ได้ หลายอย่ างแต่ ไม่ กระทา
3. พฤติกรรมของมนุษย์ ส่วนใหญ่ เกิดจากการสั งเกตตัวแบบ
(Modeling) และลอกเลียนแบบจากพฤติกรรมตัวแบบ (Model)
สาหรับตัวแบบไม่ จาเป็ นต้ องเป็ นตัวแบบที่มีชีวติ เท่ านั้น แต่ อาจเป็ นตัว
แบบสั ญลักษณ์ เช่ น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เกม
คอมพิวเตอร์ หรืออาจจะเป็ นรูปภาพ การ์ ตูน หนังสื อ นอกจากนี้ คา
บอกเล่าด้ วยคาพูดหรือข้ อมูลทีเ่ ขียนเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรก็เป็ นตัวแบบ
ได้
ขั้นของการเรียนรู้โดยการสั งเกตหรือเลียนแบบ
การเรียนรู้ ทางสั งคมด้ วยการรู้ คดิ จากการเลียนแบบมี 2 ขั้น คือ
ขั้นแรก ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้ (Acquisition)
1. ใส่ ใจ (Attention) ที่จะสั งเกตตัวแบบ
2. เข้ ารหัสหรือบันทึกสิ่ งที่สังเกต+รับรู้ ไว้ ในความจาระยะยาว
3. แสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ+ทาซ้าเพือ่ จะให้ จาได้
ขั้นที่ 2 ขั้นการกระทา (Performance)
ขึน้ อยู่กบั ตัวบุคคล เช่ น ความสามารถด้ านร่ างกาย ทักษะต่ างๆ
ความคาดหวัง เป็ นต้ น
กระบวนการในการเรียนรู้โดยการสั งเกต

1. กระบวนการความใส่ ใจ (Attention)สิ่ งที่มอี ทิ ธิพลต่ อ


กระบวนการนีไ้ ด้ แก่
>>>ลักษณะของตัวแบบ เช่ น โดดเด่ น น่ าสนใจ มีอานาจ ฯลฯ
>>>ความสามารถของผู้สังเกต คือมีความสามารถในการรับรู้ การ
กระทาของตัวแบบ
2. กระบวนการจดจา(Retention Process )เป็ นการรวบรวมแบบแผน
พฤติกรรมของตัวแบบ แล้ วเก็บกระทาในรู ปของระบบการลงรหัส
2ลักษณะ คือ มโนภาพและสั ญลักษณ์ ทางภาษา
3. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบ (Reproduction
Process) คือการที่ผู้สังเกตเปลีย่ นสั ญลักษณ์ ที่เก็บจามาเป็ นการ
กระทาที่เหมาะสม
4. กระบวนการจูงใจ (Motivation Process)เป็ นความคาดหวังที่จะ
ได้ รับ เช่ น แรงเสริมหรือรางวัล ประโยชน์ บางอย่ าง หลีกเลีย่ งปัญหา
เป็ นต้ น
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การส่ งเสริมและพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์ ต้ องอาศัย
กระบวนการเรียนรู้ ทางสั งคมในแง่ ของการเลียนแบบ(Modeling)
นั่นคือ สั งคมต้ องพยายามสร้ างตัวแบบที่มปี ระสิ ทธิภาพ เพือ่
ส่ งเสริมและสนับสนุนให้ เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมที่ดงี าม อีกทั้ง
สถาบันทางสั งคม เช่ น ครอบครัว โรงเรียน ต้ องช่ วยกันพัฒนา
ตัวแบบ และ ให้ แรงเสริมทางบวกต่ อพฤติกรรม และ
บุคลิกภาพที่ดงี าม
บุคลิกภาพด้ านต่ างๆ ทีเ่ กิดจากการเลียนแบบในสั งคม
• ความก้าวร้ าว
Bandura ได้ ศึกษาวิจัยเรื่องพฤติกรรมความก้ าวร้ าวทีเ่ กิดจากการเลียนแบบ
ผลการทดลอง พบว่ า เด็กทีด่ ูตัวแบบทีก่ ้ าวร้ าวจะเกิดการเลียนแบบและแสดง
พฤติกรรมทีก่ ้ าวร้ าวสู งกว่ ากลุ่มเด็กทีด่ ูตวั แบบทีอ่ ่ อนโยน
จะเห็นว่ า บุคลิกภาพทีอ่ ่ อนโยนและเมตตาเกิดจากการสั งเกตและ
เลียนแบบตัวแบบทีด่ ี พร้ อมกันนั้นบุคลิกภาพทีก่ ้ าวร้ าวรุนแรงก็เกิดจาก
การศึกษาสั งเกตตัวแบบทีร่ ุนแรง ดังนั้น สั งคมควรหลีกเลีย่ งการเสนอตัวแบบ
ทีร่ ุนแรงทุกรู ปแบบโดยเฉพาะตัวแบบทีเ่ สนอผ่ านสื่ อมวลชน ได้ แก่ โทรทัศน์
วิทยุ หนังสื อพิมพ์
• ความกลัว
Bandura เชื่อว่ า เกิดจากการเลียนแบบตัวแบบที่อยู่แวดล้ อม
ใกล้ ตวั เช่ น พ่ อแม่ ผู้ปกครอง ครู ตลอดจนตัวแบบที่อยู่ในความ
สนใจของคนทั่วไป พฤติกรรมการควบคุมอารมณ์ ไม่ ให้ แสดงออก
อย่ างรุนแรง หรือแสดงออกมากเกินพอดี เป็ นสิ่ งที่พ่อแม่ และครู
ต้ องพยายามแสดงออกเพือ่ เป็ นตัวแบบที่ดีแก่ เด็ก เพือ่ เสริมสร้ าง
บุคลิกภาพที่มนั่ คงทางอารมณ์ ให้ เกิดขึน้
• จริยธรรม
ถ้ าอบรมจริยธรรมด้ วยการแสดงตัวอย่ างให้ ดู ด้ วยการชี้แนะ
ให้ ดูตวั อย่ างจริง และตัวอย่ างสมมุตใิ นนิทาน หรือเล่ าเรื่องต่ างๆ
เด็กก็จะเรียนรู้ และส่ งผลให้ เด็กสามารถควบคุมตัวเองได้ อย่ างดีงาม
Bandura ได้ วจิ ัยเกีย่ วกับผลของตัวแบบที่มตี ่ อพฤติกรรมการ
บังคับตนเอง (Self Regulation) ต่ อพฤติกรรมที่ดงี าม พบว่ า ตัว
แบบที่ไม่ เข้ มงวดกับตนเองไม่ อาจสอนให้ คนอืน่ มีความเข้ มงวด ตัว
แบบที่สอนผู้อนื่ แต่ ตนเองไม่ ทาหรือทาในสิ่ งตรงกันข้ ามก็ไม่ ทาให้
ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมตามที่ตนสอนได้

You might also like