You are on page 1of 7

ภาคผนวก

บัญญัติใหมแหงความรักและแนวปฏิบัติ

1. การพัฒนาตามลําดับของบัญญัติแหงความรัก
1.1 “ทานอยากใหเขาทํากับทานอยางไร ก็จงทํากับเขาอยางนั้นเถิด” (มธ7:12;ทบต4:15)
1.2 “ทานจงรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง” (มธ22:39;ลนต19:18)
1.3 “นี่คือบทบัญญัติของเรา ใหทานทั้งหลายรักกัน เหมือนที่เรารักทาน ” (ยน15:12)
“เราใหบทบัญญัติใหมแกทานทั้งหลาย ใหทานรักกัน เรารักทานทั้งหลายอยางไร ทานก็
จงรัก อยางนั้นเถิด ” (ยน13:34)

2. ลักษณะของคุณธรรมความรัก
2.1 คุ ณธรรม “ ความรัก มาจากพระเจา และทุก คนที่มีค วามรั กก็บังเกิ ดจากพระเจ า
เพราะพระเจาเปนความรัก” (1ยน4:7) “พระจิตเจาซึ่งพระเจาไดประทานใหเรา ไดหลั่งความ
รักของพระเจาลงในดวงใจของเรา” (รม5:5)
2.2 คุณธรรมความรักมีเปาหมายสองประการคือ รักพระเจาและรักเพื่อนมนุษย (มธ
22:37-39)
2.3 รักตอพี่นองในภาคปฏิบัติ
2.3.1 กิจเมตตาฝายกาย
ก. ใหอาหารแกผูหิวโหย
ข. ใหน้ําแกผูกระหาย
ค. ใหสื้อผาแกผูขัดสน
ง. ใหที่พักแกผูพลัดถิ่น
จ. เยี่ยมผูปวย
ฉ. เยี่ยมผูถูกจองจํา
ช. ชวยงานศพ
2.3.2 กิจเมตตาฝายจิต
ก. สอนผูไมรู
ข. แนะนําผูสงสัย
ค. ตักเตือนคนบาป
ง. อดทนตอผูทําผิดตอเรา
ค. เต็มใจใหอภัย
ง. บรรเทาผูตกทุกข
ฉ. ภาวนาใหผูเปนและผูตาย
ปฏิบัติตามแนวทางจากคําสอนดานสังคมของพระศาสนจักร ปฏิบัติดวยจิตตารมณแหง
ความรัก ดวยใจยินดี จริงใจ และโดยไมหวังผลตอบแทน (มธ10:8;1คร13:4-7;2คร9:7)

3. ศิลปะแหงการปฏิบัติคุณธรรมความรัก
3.1 รักทุกคน “ พระเจาทรงเปนบิดาของมนุษยทุกคน มนุษยทุกคนจึงเปนพี่นองกัน” (มธ
5:45;6:9)
3.2 รักเปนคนแรก “จงมีความรักเถิด เพราะพระองคทรงรักเรากอน” (1ยน4:19)
3.3 รักเสมอ ความรักยอมอดทน ความรักใหอภัยทุกอยาง เชื่อ หวัง อดทนทุกอยาง ความ
รักไมมีสิ้นสุด (1คร13:4-8)
3.4 รักผูอื่นเหมือนรักตนเอง (มธ22:39)
3.5 รักซึ่งกันและกัน “จงรักกันฉันพี่นอง จงคิดวาผูอื่นดีกวาตน”(รม12:10) “จงรักกันจาก
ใจจริงยิ่งๆขึ้นเถิด”(1ปต1:22)
3.6 ทําตัวเปนหนึ่งเดียวกับผูอื่นเอาใจเขามาใสใจเรา “จงรวมยินดีกับผูที่ยินดี จงรองไห
กับผูรองไห”(รม12:15)จิตวางเพื่อผูอื่น
3.7 รับใชดวยความรัก “แตละคนจงใชพระพรที่ไดรับมาเพื่อรับใชกัน ผูใดมีหนาที่รับใช จง
รับใชตามกําลังที่พระเจาประทานให” (1ปต4:10-11) บุตรแหงมนุษยมิไดมาเพื่อใหผูอื่น
รับใช แตมาเพื่อรับใชผูอื่นและมอบชีวิตเปนสินไถเพื่อมวลมนุษย(มธ20:28)
3.8 แบงปนทรัพยแกกัน “ในกลุมของพวกเขาไมมีใครขัดสน แจกจายตามตองการ”(กจ
4:34-35) ไมเอาเปรียบ แตชวยกันและกัน(2คร8:13-15) แบงปนเวลา กําลังกายและใจ
พระพร พระคุณ ประสบการณชีวิตฝายจิต
3.9 ตอนรับแขก “จงตอนรับดวยอัธยาศัยไมตรี”(รม12:13)“เมื่อใดขาพเจาเห็นพระองคทรง
เปนแขกแปลกหนา แลวตอนรับ(มธ25:40) “จงตอนรับกันโดยไมปริปากบน” (1ปต4:9)
3.10 การแนะนําตักเตือน “จงสอนและตักเตือนกันดวยปรีชาญาณ” (คส3:16)
3.11 สามัคคีในความคิดเห็น “ จงมีจิตใจและความเห็นตรงกัน” (1คร1:10)
3.12 พยายามเติบโตในคุณธรรมความรัก “สิ่งสําคัญคือความรัก ซึ่งรวมเราไวเปนหนึ่ง
เดียวกันอยางสมบูรณ”(คส3:14) “จงเปนผูเมตตากรุณาดังที่พระบิดาของทานทรง
เมตตากรุณาเถิด”(ลก6:36; มธ5:48)

4. ผลการปฏิบัติตามบัญญัติความรัก
3.1 ”พระเจาทรงเปนความรัก ผูใดดํารงอยูในความรัก ยอมดํารงอยูในพระเจา และพระเจา
ยอมทรงดํารงอยูในเขา”(1ยน4:16)
3.2 ”ที่ใดมีสองหรือสามคนชุมนุมในนามของเรา เราอยูที่นั้นทามกลางเขา”(มธ18:20)
3.3 ”ถาทานมีความรักตอกัน ทุกคนจะรูวา ทานเปนศิษยของเรา”(ยน13:35) “เพื่อใหทุกคน
เปนหนึ่งเดียวกัน โลกจะไดเชื่อวาพระองคทรงขาพเจามา” (ยน17:21)
3.4 ”เรารูวา เราผานพนความตายมาสูชีวิตแลว เพราะเรารักพี่นอง” (1ยน3:14)
3.5 ”ผูที่รักเรา พระบิดาของเราจะทรงรักเขา และเราเองก็จะรักเขา และจะแสดงตนแกเขา”
“ผูใดรักเรา ผูนั้นจะปฏิบัติตามวาจาของเรา พระบิดาของเราจะทรงรักเขา พระบิดาจะ
เสด็จพรอมกับเรามาหาเขา จะพํานักอยูกับเขา” (ยน1421,23)

5. ลักษณะความรักแท จากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ ฉบับที่ 1 บทที่ 13


ขอ 4-7
“ความรักยอมอดทน มีใจเอือ้ เฟอ ไมอิจฉา ไมโออวดตนเอง ไมจองหอง ไมหยาบคาย ไมเห็น
แกตวั
ความรักไมฉนุ เฉียว ไมจดจําความผิดทีไ่ ดรับ ไมยินดีในความชัว่ แตยินดีในความถูกตอง
ความรักใหอภัยทุกอยาง เชื่อทุกอยาง หวังทุกอยาง อดทนทุกอยาง” (1 คร 13: 4-7)
การอานรําพึงภาวนาพระวาจาของพระเจา (Lectio Divina)
ชวงเวลาพระเจาตรัสกับเรา

ขั้นตอนที่สําคัญของ Lectio Divina


มีอยู 5 ขั้นตอน คือ
1. Lectio = ขั้นอานพระวาจา
2. Meditatio = ขั้นรําพึงไตรตรอง
3. Oratio = ขั้นภาวนา
4. Contemplatio = ขั้นเพงพินิจภาวนาพระวาจา
5. Communicatio (Missio / Actio) = ขั้นแบงปนและนําไปปฏิบัติ

1. จัดหาสถานที่และเวลาที่เหมาะสมเพื่อพบกับพระตรี
เอกภาพ
การอานรําพึงภาวนาพระวาจา (Lectio Divina) คือการ
พบปะกับพระตรีเอกภาพโดยการภาวนา พระเจาตรัสกับเราทางพระ
วาจาและเราตอบสนองตอพระวาจาของพระองค เพื่อจะสามารถพบกับ
พระเจาเราตองการเวลา และสถานที่ทเี่ หมาะสม เพื่อรองหาพระนามของ
พระตรีเอกภาพ พระบิดา พระบุตร และพระจิต

2. อัญเชิญพระจิตเจาเพื่อขอพระองคทรงนําในการอานพระ
วาจา
ในการอานพระวาจานั้น สิ่งสําคัญกอนอื่นใดคือการรองหาองค
พระจิต เพื่อทรงนําเราเขาสนทนากับพระตรีเอกภาพในการอานพระวาจา
พระจิตผูทรงดลใจใหผูเขียนไดเขียนพระคัมภีรจะทรงนําเราใหเขาใจ
โดยเฉพาะพระธรรมล้ําลึกแหงความรอดที่ถูกบันทึกไวในพระคัมภีร ใหสวด
บทเชิญพระจิต เชนเชิญเสด็จมาพระจิตเจาขา…

3. อานและฟงพระวาจาของพระเจา (LECTIO)
อานบทอานที่เลือกแลวดวยความเคารพ ดวยความเอาใจ
ใสอยางยิ่งยวด อานชา ๆ ที่สําคัญอานมากกวาหนึ่งรอบ อานดัง ๆ
ชัดเจนใหทุกคนไดยินชัด พยายามใสใจฟงดวยความตั้งใจอยาง
แทจริง ซึ่งขั้นตอนนี้ตองถือวามีความสําคัญอยางมาก เปนการสอนเราใหรูถึงศิลปะการฟงพระ
วาจาของพระเจา อานพระวาจาพรอมกับมีดินสอหรือปากกาในมือเพื่อจะขีดเสนใตถอยคํา วลี
หรือประโยคที่กินใจถึงแมวาเราจะคุนเคยกับพระวาจาตอนนั้นอยูแลวก็ควรที่จะใสใจฟงและขีด
เสนใต การอานและฟงดวยความตั้งใจจะชวยใหเราคนพบสิ่งใหมเสมอ บางสิ่งที่เราอาจเคย
มองขาม ไปหรือไมเคยสังเกตมากอน

4. รําพึงพระวาจาที่อานแลวนั้น
(MEDITATIO)
เพื่อจะรําพึงไดดี บางทีอาจตองมีหนังสืออรรถาธิบาย หรือ
ใชความพยายามเขาใจตอพระ-วาจานั้น ๆ หรืออาจเรียกรองใหมี
ประสบการณ ความรูในการตีความ ภาษา เครื่องหมายตาง ๆ ใน
การรําพึงนี้มีสองสิ่งที่จําเปน และตองมีในจิตใจคือเรื่องราวเกี่ยวกับบาป และพระหรรษทานแหง
การชวยใหรอดพน ซึ่งทั้งสองเปนพื้นฐานความรูในพระคัมภีร และแมแตในชีวิตของเราทุกคน
ในการรําพึงพระวาจานี้ เราจะพบเสมอวาพระหรรษ-ทานของพระเจานั้นยิ่งใหญกวา และ
เหนือกวาอํานาจของบาปและความตาย และพระเจาเองยังคงประทับอยู ทรงประทานความรัก
และความรอดในโลกปจจุบนั ทรงนําเหตุการณปจจุบันของเรา เขารวมกับแผนการแหงความรัก
และความรอดของพระองคเสมอ พระวาจาของพระเจาที่เรารําพึงอยูเสมอ มีศูนยกลางอยูที่
ธรรมล้ําลึกปส-กาของพระเยซูเจาคือพระทรมาน การสิ้นพระ-ชนม และการกลับคืนชีพอยาง
รุงโรจน ซึ่งในพระองคนี้แหละ คือพระหรรษทานพิเศษสุดของพระเจาตอเรา

5. การภาวนาสนองตอบพระวาจา (ORATIO)
ขั้นตอนนี้ เปนการตอบสนองตอพระ-วาจาของพระเจา เปนการ
สนทนากับพระองค การภาวนานี้แตละคนสามารถทําโดยภาวนาใน
รูปแบบตาง ๆ เชน 1.แสดงการเสียใจและขอโทษ 2.การสรรเสริญ
ขอบพระคุณ 3.วอนขอพระพรพระจิตเจา ฯลฯ หรืออาจจะซ้ําคํา วลี หรือ
ประโยคจากพระวาจาเพื่อการภาวนาดวยขอความนั้น ๆ เชน “พระเจาขา โปรดใหขาพเจา
มองเห็น” หรือ “พระเจาขาโปรดรักษาขาพเจา” ในขัน้ ตอนนี้เราใกลชิดเปนมิตรกับพระเยซูเจา
พระบุตรสุดทีร่ ัก ในฐานะที่พระองคทรงเรียกเราเปนมิตรของพระองค และโดยพระจิตเราเรียก
พระเจาเปน “พระบิดา” พระบิดาผูทรงรักและเมตตาเราเสมอ

6. เพงพินิจความรักยิ่งใหญของพระเจา
(CONTEMPLATIO)
โดยผานทางพระวาจาหลายตอน และหลายโอกาส เหตุการณหลายๆ อยาง ประชาชน
มากมาย และโดยเฉพาะอยางยิ่งตัวเราเอง เราเห็นพระหัตถ พระพร และความรักของพระเจา
บัดนี้ การเพงพินิจภาวนานี้คือที่รวมของการเผชิญหนากับความจริง การออนนอมลงอยางเต็ม
เปยมตอความรักของพระเจาที่โอบกอดเรา ความรักยิง่ ใหญในการชวยใหรอดของพระองคที่เรา
พบในพระคัมภีร ในโลกปจจุบัน และเปนตนในชีวิตของเราแตละคน เปนชวงเวลาแหงความสุข
และความยินดีในจิตใจที่เราไดพบวาพระเจาทรงประทับและอยูเคียงขางเราเสมอ พระองค
ประทานความสุขและสันติแกเรา ความเงียบคือทาทีที่มีอยูของเราตอความรักของพระเจา

7. คนหาขุมทรัพยแหงชีวิต และนําไปปฏิบัติตาม
(COMMUNICATIO, MISSIO /
ACTIO)
การอานพระวาจานี้ เปนการปฏิรูปเปลีย่ นแปลงชีวติ ของเรา
หลอหลอมเราใหเปนเหมือนพระคริสตเจา ดังนั้นเราตองกลับไปสู
ชีวติ ในภาคปฏิบัติ โดยใหพระวาจาของพระเจาเปนขุมทรัพยแหงชีวติ ชีวิตจริงของเราตอง
สะทอนพระวาจาของพระเจาตลอดเวลา พระวาจาของพระเจาหวานลงในผืนนาแหงจิตใจ
จะตองเติบโตและบังเกิดผลมากมาย ชีวิตเราตองเปนดังตนไมที่ไดรับน้ําหลอเลี้ยงอยางสมบูรณ
และเกิดผลเสมอ และเหนือสิ่งอื่นใด ชีวิตคริสตชนตองตระหนักถึงการประทับอยูของพระเจา ที่
ทรงเผยแสดงพระองคเองแกเราเปนองคความรักนิรันดร ทรงเมตตาปราศจากขอบเขตและ
เงื่อนไขใด ๆ ในความรักของพระองค

พระนางมารีย : Lectio Divina ที่เปนชีวิต


วันทามารีย (ลก1:39-56)
พระเจาสถิตกับทาน
ขาพเจาคือผูรับใชของพระเจา
จงเปนไปแกขา พเจา
ตามวาทะของทาน

You might also like