You are on page 1of 8

บทที่ 1

การใชแถบเครื่องมือและคียลัด
เขาสูโปรแกรม Pro/DESKTOP
หลังจากที่ไดทําการติดตั้งโปรแกรม Pro/DESKTOP เรียบรอยแลว สามารถเรียกใชงาน
โปรแกรมไดดว ยวิธีการดังนี้ คือ
1. Click mouse ที่ปุม
2. เลื่อนเมาสเลือกคําสั่ง All programs>Pro/DESKTOP
3. จะปรากฏหนาจอแรกของ Pro/DESKTOP
2

หรือดับเบิ้ลคลิกที่ บน Desktop จะได >

คลิกเมาสเลือกพื้นที่ทํางานขึ้นมาใชงานมีวิธีดังนี้
1. เลือก File > New > Design

2. คลิกเลือก
3. กดปุม Ctrl + N ทั้ง 3 วิธี เมื่อเลือกแลวจะได Design 1*
ดังรูป
3
ทดลองเปด Pro/DESKTOP
เมื่อเปด New Design ขึ้นมาจะมีหนาตางการทํางานดังนี้

หลังการใชงานแลวตองการออกจากการทํางาน ใหเรา Click mouse ปุม เพื่อปดพืน้ ที่


ทํางานใน Design นั้น ๆ แลวกลับไปหนาจอเดิม และถาตองการออกจากโปรแกรมสามารถ
ออกจากโปรแกรมไดดังนี้
เลือกคําสั่ง File > Exit หรือ
Click mouse ปุม
จะเปนการสิ้นสุดการใชงานโปรแกรม
4
เครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) Pro/DESKTOP

แถบเครื่องมือ Command ความหมาย คียลัด


New เรียกพืน้ ที่ทํางานใหม Ctrl + N
Open เปดงานเกา Ctrl + O
Save บันทึกงาน Ctrl + S
Print พิมพงาน Ctrl + P
Base ดานบน
Frontal ดานหนา
Lateral ดานขาง
Work plane พื้นที่ทํางาน Ctrl + L
straight ลากเสนตรง S
Circle สรางวงกลม C
Rectangle สรางรูปสี่เหลี่ยม R
Ellipse สรางรูปวงรี I
Arc สรางสวนโคง T
Spline สรางเสนอิสระ B
Delete Segment ลบเสน D
Extrude Profile กําหนดความหนา
Project Profile ตัดสวนของชิน้ งาน
Revolve Profile หมุนรอบ
Sweep การเคลื่อนเปนเสนโคง
Insert Holes เจาะรู
Round Edges ทําเหลี่ยมใหมน
Chamfer Edges ทําขอบเหลี่ยม
Shell Solids ทําขอบสูง
Draft Faces ตัดเหลี่ยมใหม
5
แถบเครื่องมือ Command ความหมาย คียลัด
Select Lines เลือกเสน L
Select Constraints เลือกโครงสราง N
Select work plane เลือกพื้นที่ทํางาน W
Select Edges เลือกเสนขอบ E
Select Faces เลือกผิวหนาวัตถุ F
Select Features เลือกรูปทรง 3 มิติ A
Select Parts เลือกชิ้นงานเฉพาะสวน P
Sketch Dimension บอกขนาด Z
Isometric มุมมอง 3 มิติ Shift + I, Home
Onto Work plane มุมมองระนาบเดียว Shift + W
Trimetric มุมมอง 3 มิติเปนระเบียบ Shift + T, End
Plan มุมมองลักษณะแบนราบ Shift + P
Front Elevation มุมมองดานหนา Shift + N
Right Elevation มุมมองดานขวา Shift + R
Onto Face มุมมองพื้นผิว Shift + F
Previous มุมมองยอนกลับ Alt + Left
Next มุมมองตอไป Alt + Right
Tumble มุมมองหมุนอิสระ Shift + U
Zoom In มุมมองขยาย Shift + Z
Half Scale มุมมองยอสวน Shift + H
Auto Scale ปรับคาอัตโนมัติ Shift + A
Auto Scale Selection ปรับคางานที่เลือกอัตโนมัติ Shift + S
Wire Frame มุมมองกรอบสวนประกอบ F9
Transparent มุมมองโปรงใส F10
Shaded มุมมองเฉดสี F11
Enhanced มุมมองสูงเปน 3 มิติ F12
Section View มุมมองเฉพาะสวน Shift + X
6
เปด New Design ขึ้นมาทํางาน
1. Ctrl + N ที่แปนคียบอรด
เพื่อเปดพืน้ ทีท่ ํางานใหม

สิ่งสําคัญคือ Work planes


มี 3 Work planes คือ
Base,frontal,lateral ซึ่งทั้ง 3
Work planes มีลักษณะการทํางานที่
แตกตางกันคือ
Base workplane เปนพื้นที่ทาํ งานที่เริ่มจาก
ฐาน ขางลางขึ้นขางบน
Frontal workplane เปนพื้นทีท่ ํางานจาก
ดานหนาไปดานหลัง
Lateral woekplaneเปนพื้นทีท่ ํางานจาก
ดานขาง ซายไปขวา
2.การจะเลือก workplane ใดทํางาน
เราจะตองรูวางานที่เราจะสรางขึ้นมานั้นตอง
ตั้งอยูบนฐานใด

3.กอนการสรางงานบน workplane ใด นั้นจะตองมี Sketch อยู อนุโลมที่ workplane


Base ไมตองสราง Sketch เพิ่ม เพราะมี Initial เปน Sketch อยูแลว สวน workplane Frontal และ
workplane Lateral จะตองสราง New Sketch ทุกครั้ง
7
สราง New Sketch
1. การสรางงานใหม บน workplane Base สามารถสรางไดเลยโดยไมตองสราง
New Sketch ซึ่งโปรแกรมจะกําหนด Initial เปนSketch ไวใหแลว
2. การสรางงานใหม บน workplane Frontal และ workplane
Lateral จะตองสราง New Sketch ดังนี้
8
จะได workplane Frontal เปนพื้นที่สรางชิ้นงานใหม

ในทํานองเดียวกันถาเราตองการทํางานบน workplane Lateral ก็สรางเหมือนกับการสรางบน


workplane Frontal

You might also like