You are on page 1of 3

เทคโนโลยี

จากวิกพ
ิ เี ดีย สารานุกรมเสรี

ไปที:่ ป้ ายบอกทาง, ค ้นหา

นาโนเทคโนโลยีเป็ นทีส่ นใจในศตวรรษปั จจุบน


เทคโนโลยี หรือ อาซฺ โม่ประยุกตวิทยา หรือ เทคนิควิทยา มีความหมาย


ค่อนข ้างกว ้าง โดยทั่วไปหมายถึง การนำความรู ้ทางธรรมชาติวท ิ ยาและต่อเนือ
่ งมาถึง
วิทยาศาสตร์ มาเป็ นวิธกี ารปฏิบต ั แ
ิ ละประยุกต์ใชเพื ้ อ ่ ชว่ ยในการทำงานหรือแก ้ปั ญหา
ต่าง ๆ อันก่อให ้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครือ ่ งจักร แม ้กระทั่งองค์ความรูนามธรรม
่ งมือ เครือ ้
เชน่ ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพือ ่ ให ้การดำรงชวี ต ิ ของมนุษย์งา่ ยและสะดวกยิง่ ขึน

่ เกิดผลกระทบต่อสง
เทคโนโลยีกอ ั คมและในพืน้ ทีท ่ ม
ี่ เี ทคโนโลยีเข ้าไป
่ วข ้องในหลายรูปแบบ เทคโนโลยีได ้ชว่ ยให ้สงั คมหลาย ๆ แห่งเกิดการพัฒนาทาง
เกีย
เศรษฐกิจมากขึน้ ซงึ่ รวมทัง้ เศรษฐกิจโลกในปั จจุบน ั ในหลาย ๆ ขัน ้ ตอนของการผลิต

โดยใชเทคโนโลยี ได ้ก่อให ้ผลผลิตทีไ่ ม่ต ้องการ หรือเรียกว่ามลภาวะ เกิดการสูญเสย ี
ทรัพยากรธรรมชาติและเป็ นการทำลายสงิ่ แวดล ้อม เทคโนโลยีหลาย ๆ อย่างทีถ่ กู
นำมาใชมี้ ผลต่อค่านิยมและวัฒนธรรมของสงั คม เมือ ่ มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึน ้ ก็มัก
จะถูกตัง้ คำถามทางจริยธรรม

ความหมาย
่ กล่าวถึงเทคโนโลยี ผู ้คนสว่ นใหญ่อาจนึกถึงเครือ
เมือ ่ งมือเครือ่ งจักรเชงิ กลหรือ
อิเล็กทรอนิกสทท ์ ี่ ันสมัย แต่ความเป็ นจริงคือ เทคโนโลยีมค ั
ี วามสมพันธ์กบ ั การดำรงชวี ติ
ของมนุษย์มาเป็ นเวลานานตัง้ แต่ยค ิ าสตร์ เทคโนโลยีเป็ นส งิ่ ทีม
ุ ประวัตศ ่ นุษย์นำความรู ้
จากธรรมชาติวท ิ ยามาคิดค ้นและดัดแปลงธรรมชาติเพือ ่ แก ้ปั ญหาพืน ้ ฐานในการดำรง
ชวี ต
ิ ในระยะแรกเทคโนโลยีทนำ ้ นระดับพืน
ี่ มาใชเป็ ้ ฐานอาทิ การเพาะปลูก การ
ชลประทาน การก่อสร ้าง การทำเครือ่ งมือเครือ่ งใช ้ การทำเครือ ่ งปั น้ ดินเผา การ
ทอผ ้า เป็ นต ้น ปั จจัยการเพิม่ จำนวนของประชากร ข ้อจำกัดด ้านทรัพยากรธรรมชาติ
รวมทัง้ การพัฒนาความสม ั พันธ์กบ
ั ต่างประเทศ เป็ นปั จจัยสำคัญในการนำและการพัฒนา
เทคโนโลยีมาใชมากขึ ้ น้
เทคโนโลยีกบ ั วิทยาศาสตร์มค ี วามสมั พันธ์กน ั มาก เทคโนโลยีเกิดจากพืน ้ ฐาน
ทางวิทยาศาสตร์ทถ ี่ า่ ยทอดมาจากประเทศตะวันตก ซงึ่ ศก ึ ษาค ้นคว ้าทฤษฎีทาง
วิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนือ ่ งตัง้ แต่ยคุ ปฏิวัตวิ ทิ ยาศาสตร์ (คริสต์ศตวรรษที่ 16-17)
ทำให ้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก ้าวหน ้าควบคูไ่ ปกับวิทยาศาสตร์ ความรู ้ทาง
วิทยาศาสตร์เป็ นความรู ้ทีเ่ กิดจากการสงั เกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือการพยายาม
ทีอ
่ ธิบายว่าทำไมจึงเกิดอย่างนั น ่ นักฟิ สก
้ เชน ิ ส ์ อธิบายว่า เมือ
่ ขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก
จะได ้กระแสไฟฟ้ า และน้ำเกิดจากไฮโดรเจนผสมกับออกซเิ จน เป็ นต ้น ตัง้ เป็ นกฎเกณฑ์
และทฤษฎีเพือ ่ ถ่ายทอดและสอนให ้ผู ้อืน ่ ได ้ศกึ ษาและพัฒนา

ล ้อ เทคโนโลยีทมี่ กี ารพัฒนาตัง้ แต่ยค


ุ โบราณ

สว่ นในความหมายของเทคโนโลยีเป็ นการประยุกต์ นำเอาความรู ้ทาง


วิทยาศาสตร์มาใช ้ และก่อให ้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบต ั แิ ก่มวลมนุษย์ กล่าวคือ
เทคโนโลยีเป็ นการนำเอาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์มาใช ้ ในการประดิษฐ์สงิ่ ของต่าง ๆ ให ้
เกิดประโยชน์สงู สุด สว่ นทีเ่ ป็ นข ้อแตกต่างอย่างหนึง่ ของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์
คือเทคโนโลยีจะขึน ้ อยูก ่ บั ปั จจัยทางเศรษฐกิจเป็ นสนิ ค ้ามีการซอื้ ขาย สว่ นความรู ้ทาง
วิทยาศาสตร์เป็ นสมบัตส ่
ิ วนรวมของชาวโลก มีการเผยแพร่โดยไม่มก ี ารซอื้ ขายแต่อย่าง
ใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึน ้ โดยมีความรู ้ทางวิทยาศาสตร์เป็ นฐาน
รองรับ บทบาทของเทคโนโลยีตอ ่ การพัฒนาประเทศไทยได ้เล็งเห็นความสำคัญของ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเป็ นลำดับ เชน ่ การตราพระราชบัญญัต ิ สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล ้าในปี พศ 2514 และจัดตัง้ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
การพลังงานแห่งชาติขน ึ้ ในปี พศ 2522 ให ้ทำหน ้าทีห ่ ลักในการเผยแพร่และพัฒนาผล
งานทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีให ้เกิดประโยชน์สงู สุด ปั จจุบน ั เทคโนโลยีม ี
บทบาทต่อการพัฒนาอย่างมาก กล่าวโดยสรุปดังนี้

1. เทคโนโลยีกบ ั การพัฒนาอุตสาหกรรม การนำเทคโนโลยีมาใชในการผลิ ้ ต ทำให ้


ประสทิ ธิภาพในการผลิตเพิม ่ ขึน
้ ประหยัดแรงงาน ลดต ้นทุนและ รักษาสภาพ
แวดล ้อม เทคโนโลยีทม ี่ บ ี ทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย เช น ่
คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส ์ การสอ ื่ สาร เทคโนโลยีชวี ภาพและพันธุกรรม
่ ื
วิศวกรรม เทคโนโลยีเลเซอร์ การสอสาร การแพทย์ เทคโนโลยีพลังงาน
เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ เชน ่ พลาสติก แก ้ว วัสดุกอ ่ สร ้าง โลหะ
2. เทคโนโลยีกบ ั การพัฒนาด ้านการเกษตร ใชเทคโนโลยี ้ ในการเพิม่ ผลผลิต
ปรับปรุงพันธุ์ เป็ นต ้น เทคโนโลยีมบ ี ทบาทในการพัฒนาอย่างมาก แต่ทงั ้ นี้
การนำเทคโนโลยีมาใชในการพั ้ ฒนาจะต ้องศก ึ ษาปั จจัยแวดล ้อมหลายด ้าน เชน่
ทรัพยากรสงิ่ แวดล ้อม ความเสมอภาคในโอกาสและการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
และสงั คม เพือ
่ ให ้เกิดความ ผสมกลมกลืนต่อการพัฒนาประเทศชาติและส ว่ น
อืน
่ ๆอีกมาก

ในทางเศรษฐศาสตร์ มองเทคโนโลยีวา่ เป็ นความรู ้ของมนุษย์ ณ ปั จจุบน ั ใน


การนำเอาทรัพยากรมาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ทต ี่ ้องการ (รวมถึงความรู ้ว่าเราสามารถผลิต
อะไรได ้บ ้าง) ดังนัน
้ การเปลีย
่ นแปลงทางเทคโนโลยี จะเกิดขึน ้ เมือ
่ ความรู ้ทางเทคนิค
ของเราเพิม ่ ขึน

วิทยาการและความล้ำหน้าทางเทคโนโลยี
ปั จจุบน
ั เทคโนโลยีได ้เป็ นทีส
่ นใจของคนทุกมุมโลกทุกสาขา เทคโนโลยีจงึ เป็ น
ทีแ ้
่ พร่หลายและนำมาใชในการทำงานและช วี ต
ิ ประจำวัน การเรียนการศก ึ ษาในสมัยนีจ ้ งึ
มีหลักสูตรทีเ่ กีย่ วกับเทคโนโลยีเข ้าไปด ้วย เทคโนโลยีทล ี่ ้ำหน ้าทีส
่ ด
ุ ทีค
่ นทั่วโลกให ้
ความสำคัญคือเทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะปั จจุบน ั นีอ ้ ปุ กรณ์หลายชนิดก็ต ้องพึง่ พา
เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่วา่ จะเป็ น คอมพิวเตอร์ โทรศพ ั ท์ มือถือ อินเทอร์เน็ ต
PDA GPS ดาวเทียม และไม่นานมานีม ้ ก
ี ารออกพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการกระทำความ
่ วกับคอมพิวเตอร์ เป็ นการบ่งบอกว่าสงั คมให ้ความสำคัญแก่คอมพิวเตอร์
ผิดเกีย

อาซโี ม หุน
่ ยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด ้า
1. ^ ศัพท์บญ ั ญัต ิ ราชบัณฑิตยสถาน
2. ^ 2.0 2.1 สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. "5.1.2 ความรู ้ทั่วไป
่ วกับเทคโนโลยี". ประมวลสาระชุดวิชาไทยศึกษา หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครัง้ ที่ 15.
เกีย
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552. หน ้า 244. ISBN
974-645-258-4

You might also like