You are on page 1of 9

บทความทางวิชาการเรื่อง “สิ ทธิมนุษยชน”

ความหมายของคำว่ า “สิ ทธิมนุษยชน”


พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 สิ ทธิ , สิ ทธิ์ [สิ ดทิ, สิ ด] น. อำนาจอัน
ชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ ในที่ดินแปลงนี้. (ป., ส.); (กฎ)
อํานาจที่จะกระทําการใด ๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองจากกฎหมาย. (อ. right). มนุษย-,
มนุษย์ [มะนุดสะยะ-, มะนุด] น. สัตว์ที่รู้จกั ใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสู ง, คน. (ส.; ป. มนุสฺส). ชน
[ชนนะ] น. คน (มักใช้ในภาษาหนังสื อ).(ป., ส.). (พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.2542. สื บค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2552, จาก http://rirs3.royin.go.th/word1/word-1-a0.asp)
สิ ทธิมนุษยชน หมายถึงแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์ที่วา่ มนุษย์น้ นั มีสิทธิ หรื อสถานะสากล ซึ่ ง
ไม่ข้ ึนอยูก่ บั ขอบเขตของกฎหมาย หรื อปัจจัยท้องถิ่นอื่นใด เช่น เชื้อชาติ หรื อ สัญชาติ เป็ นสิ ทธิ ที่
ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่กำเนิด ซึ่ งไม่สามารถจำหน่าย จ่าย โอน ให้กบั ผูห้ นึ่งผูใ้ ด มีความเป็ นสากล
และเป็ นนิรันดร์
จาก ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิ มนุษยชน ข้อ 1 กล่าวว่า "มนุษยทั้งหลายเกิดมามีอิสระเสรี
เท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรี และสิ ทธิ ทุกคนได้รับการประสิ ทธิ์ ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควร
ปฏิบตั ิต่อกันอย่างฉันพี่นอ้ ง"
ตามกฎหมายแล้ว สิ ทธิมนุษยชนได้ถูกบัญญัติเอาไว้ในกฎหมายและข้อตกลงระหว่าง
ประเทศ และในกฎหมายภายในของหลายรัฐ
...(วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . สิ ทธิ มนุษยชน. สื บค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2552, จาก http://th.
wikipedia.org/wiki
ทัศนะที่น่าสนใจเรื่ องของสิ ทธิ มนุษยชนในอีกมุมมองหนึ่งว่า
1. เป็ นสิ่ งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด โอนให้แก่กนั ไม่ได้ มีความเป็ นสากล ใช้ได้เสมอ ยกเลิกเพิก
ถอนไม่ได้  และไม่อาจพรากไปจากมนุษย์ได้  นอกจากนี้แล้วในบางกรณี ยงั เป็ นเรื่ องของความ
ต้องการพื้นฐานอันเป็ นธรรมชาติของมนุษย์
2. เป็ นข้ออ้างเรื่ องประโยชน์ที่ตอ้ งได้อย่างน้อย ซึ่ งเป็ นการอ้างต่อรัฐ
3. เป็ นสิ ทธิที่ติดตัวมาแต่กำเนิดแล้วรัฐรับรอง  และถ้ารัฐจะจำกัดสิ ทธิ ประเภทนี้ ตอ้ ง
อธิ บายให้เหตุผลได้อย่างชัดเจน  หากเป็ นสิ ทธิ ที่รัฐมอบให้  รัฐสามารถจำกัดได้เสมอ
  เห็นว่า  สิ ทธิมนุษยชน  ได้แก่  ประโยชน์อนั ชอบธรรมซึ่ งบุคคลจำเป็ นต้องมีเพื่อใช้ในการ
ดำรงอยูแ่ ละพัฒนาชีวิต โดยปราศจากอันตรายซึ่ งเกิดจากผูอ้ ื่น และเพื่อเลือกแนวทางการเจริ ญ
เติบโตของร่ างกายและจิตใจ   ผูอ้ ื่นหรื อสังคมจะต้องไม่ขดั ขวางหรื อจำกัดการใช้ประโยชน์ดงั
กล่าว  นอกจากนี้แล้ว รัฐยังมีหน้าที่คุม้ ครอง ดูแล ปกป้ องมิให้บุคคลภายนอกขัดขวาง ตลอดจน
2

อำนวยประโยชน์ในสิ่ งต่างๆ ที่บุคคลพึงมีพึงได้ แต่ไม่สามารถทำได้ดว้ ยตนเอง  รวมทั้งเยียวยา


กรณี ที่การใช้สิทธิถูกละเมิด
  การพิจารณาว่าสิ ทธิใดถือว่าเป็ นสิ ทธิ มนุษยชนได้จะต้องใช้เงื่อนไขที่เคร่ งครัดประกอบกับ
ความจำเป็ นและสำคัญต่อการรักษาชีวิตและการพัฒนาบุคลิกภาพ  ทั้งนี้ เพื่อให้ดำรงอยูไ่ ด้ในสังคม
เยีย่ งบุคคลอื่นๆ  ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาแล้ว  สิ่ งที่เข้าข่ายเป็ นสิ ทธิ มนุษยชน ดังนี้
1. สิ ทธิในชีวิต รวมถึงร่ างกาย  สมอง  สติปัญญา และการแสดงออกโดยสุ จริ ตเพื่อการ
ดำรงชีวิต
2. สิ ทธิในความเสมอภาคได้แก่  การที่จะต้องไม่คำนึงถึงปั จจัยซึ่ งบุคคลเลือกไม่ได้เมื่อเกิด
มา  แต่อาจถูกอ้างเพื่อจะให้หรื อไม่ให้ผลดีแก่บุคคล  เช่น  ปั จจัยเรื่ องเพศ  สี ผวิ   ฐานะทางสังคม
ฯลฯ
  ...(รศ. นพนิธิ สุ ริยะ. (2549) ความหมายของสิ ทธิ มนุษยชน. สื บค้นเมื่อ 10 มิถุนายน
2552, จาก http://gotoknow.org/blog/works-of-archannop/50196)
พ.ร.บ.คณะกรรมการสิ ทธิมนุษย์แห่งชาติ พ.ศ. 2542 บทนิยาม มาตรา 3 ใน พระราชบัญญัติ
นี้ "สิ ทธิมนุษยชน" หมายความว่า ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ สิ ทธิ เสรี ภาพและความเสมอภาค
ของบุคคลที่ได้รับการรับรองหรื อคุม้ ครอง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรื อตาม
กฎหมายไทยหรื อ ตามสนธิสญ ั ญาที่ประเทศไทยมีพนั ธกรณี ที่จะต้องปฏิบตั ิตาม” (รวม พ.ร.บ.คณะ
กรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่งชาติ. บทนิยาม. สื บค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 552,จาก http://
kodmhai.com/m4/m4-2/H66/H-66.html)
เมื่อมนุษย์มีพฒั นาการรวมกลุ่มกันเป็ นสังคม แต่ละคนมีความคิดและการกระทำที่แตกต่าง
กัน ปัญหาอุปสรรค ข้อขัดแย้งจึงเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ประเพณี วฒั นธรรม ระเบียบ กฎ
เกณฑ์ กฎหมาย ถูกใช้เป็ นเครื่ องมือให้สมาชิกในสังคมได้อยูร่ ่ วมกันอย่างสันติ เมื่อทุกประเทศ
ยึดถือปฏิบตั ิตามหลักสิ ทธิมนุษยชนเป็ นเกณฑ์กลางในสังคมโลก จะทำให้มีความเข้าใจร่ วมตรงกัน
ในด้านต่างๆ ช่วยเหลือสนับสนุนขจัดปั ดเป่ าปัญหาอุปสรรค นำไปสู่ ความร่ วมมือร่ วมใจสร้าง
ความยุติธรรม สมานฉันท์อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
พันธกรณีด้านสิ ทธิมนุษยชน
สนธิสญ
ั ญาด้านสิ ทธิมนุษยชนมีลกั ษณะเป็ นสนธิ สญ ั ญาพหุภาคี กล่าวคือ เป็ นสนธิ สญั ญา
ที่มีรัฐมากกว่าสองรัฐขึ้นไปเข้าเป็ นภาคีสนธิ สญ
ั ญา ซึ่ งกระบวนการในการทำสนธิ สญ ั ญามีหลาย
ขั้นตอน นับตั้งแต่การเจรจา การให้ความยินยอมของรัฐเพื่อผูพ้ นั ตามสนธิ สญ ั ญาโดยการลงนาม
การให้สตั ยาบัน การภาคยานุวตั ิ และบางรัฐอาจตั้งข้อสงวน หรื อตีความสนธิ สญ ั ญา และเมื่อปฏิบตั ิ
ตามขั้นตอนในการทำสัญญาครบถ้วนแล้ว ภาคีกม็ ีพนั ธกรณี ที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามสนธิ สญ ั ญาต่อไป การ
เข้าเป็ นภาคีของสนธิสญั ญาก่อให้เกิดพันธกรณี ที่ตอ้ งปฏิบตั ิให้สอดคล้องกับสนธิ สญ ั ญา มิฉะนั้น
อาจต้องรับผิดในทางระหว่างประเทศ เมื่อเข้าเป็ นภาคีสนธิ สญ ั ญาด้านสิ ทธิ มนุษยชน ประเทศไทย
3

ก็ตอ้ งปฏิบตั ิตามพันธกรณี ของสนธิ สญ ั ญา พันธกรณี ระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิ ทธิ มนุษยชนของ


ไทย
ปัจจุบนั ประเทศไทยเข้าร่ วมเป็ นภาคีสนธิ สญ ั ญาด้านสิ ทธิ มนุษยชนองค์การสหประชาชาติ
ซึ่ งถือเป็ นสนธิสญ ั ญาหลัก จำนวน 7 ฉบับ ได้แก่
1. อนุสญ ั ญาว่าด้วยสิ ทธิเด็ก
2. อนุสญ ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิต่อสตรี ในทุกรู ปแบบ
3. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ พลเมืองและสิ ทธิ ทางการเมือง
4. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
5. อนุสญ ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบตั ิทางเชื้อชาติในทุกรู ปแบบ
6. อนุสญ ั ญาต่อต้านการทรมานและการประติบตั ิหรื อการลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม
หรื อย่ำยีศกั ดิ์ศรี
7. อนุสญ ั ญาว่าด้วยสิ ทธิของคนพิการ
...(สำนักงานคณะกรรมการสิ ทธิ มนุษยชนแห่งชาติ. พันธกรณี ดา้ นสิ ทธิ มนุษยชน. สื บค้น
เมื่อ 12 มิถุนายน 2552, จาก http://www.nhrc.or.th/menu_content.php?doc_id=29)

องค์ การสหประชาชาติ
วัตถุประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ องค์การสหประชาชาติได้รับการสถาปนาอย่าง
เป็ นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 เมื่อกฎบัตรสหประชาชาติมีผลบังคับใช้ กฎบัตร
สหประชาชาติได้กำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การสหประชาชาติไว้ ดังนี้
1. เพื่อธำรงไว้ซ่ ึ งสันติ และ ความมัน่ คงระหว่างประเทศ
2. เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉนั มิตรระหว่างประชาชาติท้ งั ปวง โดยยึดการเคารพต่อหลัก
การแห่งสิ ทธิ อนั เท่าเทียมกัน
3. เพื่อให้บรรลุถึงความร่ วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ไขปั ญหาระหว่างประเทศ
ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรื อ มนุษยธรรม และ การส่ งเสริ มสนับสนุนการเคารพต่อสิ ทธิ
มนุษยชน และ เสรี ภาพขั้นมูลพื้นฐานสำหรับทุกคนโดยไม่เลือกปฎิบตั ิในเรื่ องเชื้อชาติ เพศ ภาษา
หรื อ ศาสนา
4. เพื่อเป็ นศูนย์กลางสำหรับการประสานงานของประชาชาติท้ งั หลายให้กลมกลืนกันใน
อันที่จะบรรลุจุดหมายปลายทางร่ วมกัน
4

กล่าวได้วา่ องค์การสหประชาชาติก่อตั้งขึ้นมาด้วย เจตนารมณ์ที่จะขจัดภัยพิบตั ิ อนั เกิดจาก


สงคราม ประกันสิ ทธิมนุษยชน ตลอดจนส่ งเสริ มความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมของมวล
มนุษยชาติ
หลักการขององค์การสหประชาชาติ เพื่อให้องค์การสหประชาชาติสามารถดำเนินงานให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ที่กำหนดไว้ กฎบัตรสหประชาชาติได้วางหลักการที่ องค์การสหประชาชาติ และ
ประเทศสมาชิกจะพึงยึดถือเป็ นแนวทางในการดำเนินการระหว่างประเทศ ดังนี้
1. หลักความเสมอภาคในอธิ ปไตย รัฐย่อมมีอำนาจอธิ ปไตยโดยสมบูรณ์
2. หลักความมัน่ คงร่ วมกัน เพื่อธำรงไว้ซ่ ึ งสันติภาพ และ ความมัน่ คงร่ วมกัน ดำเนิน
มาตรการร่ วมกัน เพื่อป้ องกัน และขจัดการคุกคามต่อสันติภาพ
3. หลักเอกภาพระหว่างมหาอำนาจ ซึ่ งได้แก่ สหรัฐอเมริ กา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซี ย และ
จีน
4. หลักการไม่ใช้กำลัง และ การระงับกรณี พิพาทโดยสันติวิธี
5. หลักความเป็ นสากลขององค์การ เปิ ดกว้างแก่รัฐที่รักสันติท้ งั ปวง
6. หลักการเคารพเขตอำนาจศาลภายใน ปั ญหาใดที่ประเทศสมาชิกอ้างว่าเป็ นกิจการ
ภายใน สหประชาชาติจะไม่มีสิทธิหรื ออำนาจเข้าแทรกแซง
...(BKK แหล่งรวมข้อมูลความรู ้ออนไลน์. องค์การสหประชาชาติ. สื บค้นเมื่อ 12
มิถุนายน 2552, จาก http://9bkk.com/article/education/the_united_nations.html)

สถานการณ์ สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
ปัญหาสิ ทธิมนุษยชนไทยได้รับการจับตาจากเวทีระหว่างประเทศค่อนข้างสู ง ศูนย์
ทรัพยากรทางกฎหมายแห่งเอเชีย(เอแอลอาร์ซี) เป็ นองค์กรพัฒนาเอกชน(เอ็นจีโอ)ที่ได้รับสถานะ "
ที่ปรึ กษา" ขององค์การสหประชาชาติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่ งรวมถึงงานทางด้านสิ ทธิ
มนุษยชนด้วย ได้ร่วมกับเอ็นจีโอที่ทำงานด้านสิ ทธิ มนุษยชน ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ
ร่ วมกันจัดทำรายงานสภาวะสิ ทธิมนุษยชนในประเทศไทยไทยขึ้น โดยใช้ชื่อว่า "การทำทารุ ณ
กรรมเชิงสถาบัน, การสังหารนอกกระบวนการยุติธรรม และการประยุกต์ใช้กฎหมายอย่างไม่เสมอ
ภาคในประเทศไทย" เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการสิ ทธิ มนุษยชน ในสังกัดสำนักข้าหลวงใหญ่
สิ ทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(ยูเอ็นเอชซี เอชอาร์) ซึ่ งเปิ ดโอกาสให้ประเทศไทยส่ งตัวแทนไป
ชี้แจงข้อเท็จจริ งด้วย
รายงานที่มีความยาว 104 หน้า ถือเป็ นการนำเสนอสภาพการณ์ดา้ นสิ ทธิ มนุษยชนในไทย
อย่างละเอียดถี่ถว้ นมากที่สุดครั้งหนึ่ง ภาพรวมของสภาวะสิ ทธิ มนุษยชนในไทยในสายตาเอ็นจีโอ
มีดงั นี้
5

1. การทำทารุ ณกรรม
เป็ นพฤติกรรมที่ประพฤติกนั จนเป็ นเรื่ องปกติและเป็ นที่ยอมรับกันอย่างเปิ ดเผย วิธีการนี้
ถูกเจ้าหน้าที่ความมัน่ คงทุกหน่วยงานนำมาใช้ แต่ที่ใช้กนั จนเป็ นปกติสามัญมากที่สุดคือ เจ้าหน้าที่
จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในความคิดของประชาชนทัว่ ไป เจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวเนื่องกับการก
ระทำทารุ ณกรรมทั้งทางร่ างกายและจิตใจของบุคคลที่อยูใ่ นความควบคุมของตนเองเป็ นประจำ รู ป
แบบโหดร้ายที่ไม่พบเห็นกันทัว่ ไปของการทารุ ณกรรมถูกนำมาใช้ต่อบุคคลที่อยูใ่ นความควบคุมทั้ง
ผูท้ ี่ถูกกล่าวหาว่าเป็ น "ผูก้ ่อการร้าย" เช่นเดียวกับอาชญากรในคดีอาญาทัว่ ไป

2. มีอำนาจมากเกินไป
การทำทารุ ณกรรมและการทรมานระหว่างการควบคุมตัวกระทำกันอย่างเสรี โดยหลาย
หน่วยงานของรัฐ ส่ วนหนึ่งเป็ นเพราะแต่ละหน่วยมีอำนาจมากจนเกินไป แม้จะมีการจัดตั้งหน่วย
งานใหม่ ขึ้นมาภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 เช่นเดียวกับการปฏิรูปอื่น โดยมีเป้ าหมายเพื่อแก้
ปั ญหาความไม่สมดุลย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติกย็ งั คงมีอิสระที่จะปฏิบตั ิการต่างๆ โดยมีการตรวจ
สอบจากภายนอกเพียงเล็กน้อยและมีหนทางของสาธารณชนที่จะร้องเรี ยนอย่างมีประสิ ทธิ ผลเพียง
2-3 ทางเท่านั้น ในคดีอาญาส่ วนใหญ่ตำรวจเป็ นผูค้ วบคุมการสอบสวนสื บสวนอย่างสมบูรณ์แบบ
ระหว่างการสื บสวนสามารถกักขังผูต้ อ้ งสงสัยไว้เป็ นระยะเวลายาวนานถึง 84 วันโดยไม่จำเป็ นต้อง
ตั้งข้อหา มีหลายคนที่ถูกกักขังยาวนานกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ หรื อไม่กถ็ ูกจับกุมซ้ำทันทีดว้ ย
ข้อหาใหม่หลังจากได้รับการปล่อยตัวเมื่อพ้นระยะควบคุมตัว ในระหว่างที่ถูกควบคุมตัวเจ้าหน้าที่
ตำรวจมีกรรมวิธีทารุ ณกรรมหลากหลายเพื่อให้ได้มาซึ่ งคำรับสารภาพและจากนั้นก็ปกปิ ดหลักฐาน
ของการทรมานไว้
3. เชื่อมโยงถึงการละเมิดอื่น
การกระทำทารุ ณกรรมอย่างกว้างขวางมีส่วนเชื่อมโยงอย่างกลมกลืนกับการละเมิดสิ ทธิ
มนุษยชนร้ายแรงในรู ปแบบอื่น โดยเฉพาะอย่างยิง่ การสังหารนอกกระบวนการยุติธรรมและการ
ฆ่าโดยตั้งเป้ าหมายเอาไว้ก่อนของเจ้าหน้าที่ จำนวนการสังหารนอกกระบวนการยุติธรรมและการ
ฆ่าโดยตั้งเป้ าหมายเอาไว้ก่อนในไทยเพิ่มสู งขึ้น ซึ่ งรวมไปถึงการสังหารผูถ้ ูกกล่าวหาว่าเป็ นพ่อค้า
ยาเสพติดอย่างกว้างขวาง, การสังหารโดยตั้งเป้ าหมายไว้ก่อน และการบีบบังคับให้หายตัวไปของ
นักปกป้ องสิ ทธิมนุษยชน และนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมหลายคนและการสังหารหมู่และการเสี ยชีวิต
ในระหว่างถูกควบคุมตัวในภาคใต้ของประเทศ เป็ นเรื่ องยากที่ผกู ้ ระทำการเหล่านี้จะถูกดำเนินคดี
อาญาเมื่อเกิดกรณี ผอู้ ื่นเสี ยชีวิตลงในระหว่างการควบคุมตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐมักได้รับอภิสิทธิ์ ใน
ระดับที่น่าพิจารณาทบทวน
6

4. ไม่มีสถาบันคุม้ ครองสิ ทธิ


สถาบันต่าง ๆ ที่มีอยูเ่ พื่อปกป้ องสิ ทธิ ของพลเรื อนไม่สามารถดำเนินการอย่างมี
ประสิ ทธิภาพได้

5. องค์กรอิสระถูกคุกคาม
บทบัญญัติและสถาบันที่มีข้ ึนเพื่อให้เป็ นไปตามรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 ของไทยตกอยู่
ภายใต้การคุกคาม ในความเป็ นจริ งแล้วมี อนั ตรายอย่างมีนยั สำคัญต่อโครงสร้างประชาธิ ปไตยของ
ไทยและต่อองค์กรอิสระทั้งหลาย ทั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ และคณะกรรมการสิ ทธิ มนุษยชนตก
เป็ นเป้ าของการโจมตีอย่างไม่มีการรอมชอมจากบุคคลระดับสู งในรัฐบาลและเจ้าหน้าที่ตำรวจ ที่
พยายามจำกัดบทบาทที่มีประสิ ทธิภาพขององค์กรทั้งสอง สัมพันธ์โยงใยระหว่างรัฐบาลและกลุ่ม
ธุรกิจขนาดใหญ่บ่อนเซาะความตั้งใจอันแรงกล้าของสาธารณชนในอันที่จะจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อ
กำกับและดูแลสื่ อกระจายเสี ยงทั้งหลาย การใช้กฎหมายหมิ่นประมาทที่หนักหน่วงและล้าสมัย
ป้ องกันไม่ให้เกิดการโต้เถียงกันอย่างเปิ ดเผยในประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับผลประโยชน์ของสาธารณะ
ซึ่ งเป็ นการฝื นเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้
6. สถานการณ์ภาคใต้ทรุ ดหนัก
สภาวการณ์ทางภาคใต้ของไทยเลวร้ายลงรวดเร็ วอย่างยิง่ จนถือเป็ นเรื่ องที่สร้างความวิตก
กังวลอย่างลึกซึ้ งและควรได้รับความใส่ ใจเป็ นกรณี พิเศษ การรื้ อฟื้ นมาตรการต่อต้านการก่อการ
ร้ายในหลาย ประการ รวมทั้งข้อเสนอให้มีการจัดโซนพื้นที่ใน 3 จังหวัดภาคใต้และปฏิเสธที่จะ
จัดสรรงบประมาณให้สำหรับพื้นที่ "สี แดง" เป็ นพัฒนาการที่ก่อให้เกิดความกังวลสู งสุ ด นอกเหนือ
จากมีรายงานถึงเหตุการณ์รุนแรงในภาคใต้เป็ นรายวันแล้ว ขอบเขตของการละเมิดสิ ทธิ มนุษยชน
จากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องอยูท่ ี่นนั่ ไม่เป็ นที่รับรู ้กนั ข้อเท็จจริ งที่วา่ ผูก้ ระทำการให้เกิดการเสี ยชีวิตใน
ระหว่างถูกควบคุมตัวถึง 78 คนที่มีการรายงานออกมาอย่างกว้างขวางเมื่อเดือนตุลาคม 2547 ไม่ตอ้ ง
ต่อสู ้คดีอาญาสำหรับการกระทำของตนเอง สะท้อนให้เห็นถึงอภิสิทธิ์ ที่ไม่ตอ้ งได้รับโทษอย่าง
สมบูรณ์แบบที่เจ้าหน้าที่ความมัน่ คงได้รับในการปฏิบตั ิหน้าที่ในภาคใต้ของไทย
...(มติชนรายวัน. (2547). เปิ ดรายงาน “สิ ทธิ มนุษยชน” “ฉบับเอ็นจีโอ”. สื บค้นเมื่อ 1
มิถุนายน 2552, จาก http://www.ftawatch.org/news/view.php?id=3397)  
สิ ทธิมนุษยชนเป็ นสิ่ งที่ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่แรกเกิด ทุกคนมีความเท่าเทียมกันในการดำรง
อยูดำ่ เนินชีวิตตามความประสงค์ แต่การใช้สิทธิ ของแต่ละบุคคลมีขอบเขตข้อจำกัดมิให้ไปล่วง
ละเมิดสิ ทธิของผูอ้ ื่น กฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายภายในของแต่ละรัฐ จึงเป็ นเครื่ องมือที่
สำคัญให้สมาชิกในสังคมใช้สิทธิเสรี ภาพของตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ป้ องกันปั ญหาความขัด
แย้งในหมู่คณะนำไปสู่ การอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติในระดับสังคม ชุมชน รัฐ นานาชาติ
7

การกล่าวอ้างใช้สิทธิของบุคคลควรควบคู่กบั การปฏิบตั ิหน้าที่พลเมืองดีจึงจะเกิดดุลยภาพ


สภาพสังคมปัจจุบนั มักจะมีการกล่าวอ้างเรี ยกร้องสิ ทธิ กนั จนเกินขอบเขตจนเกิดปั ญหานำทุกถิ่นที่
สิ่ งที่ควรจะอยูใ่ นจิตใจของคนร่ วมด้วยช่วยกันหันมามองถึงหน้าที่ของแต่ละบุคคลตามฐานานุรูป
เมื่อมีการใช้สิทธิส่วนบุคคลโดยเคารพสิ ทธิ ของผูอ้ ื่นพร้อมด้วยจิตสำนึกในหน้าที่ ย่อมเป็ นแนวทาง
ไปสู่ การอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข สามารถพัฒนาก่อให้เกิดประเพณี วฒั นธรรมอันดีงาม นำไปสู่ กฎ
เกณฑ์ ระเบียบ กฎหมาย ของสังคมต่อไป

บทสรุป
มนุษย์เกิดมาพร้อมอำนาจอันชอบธรรม ที่จะกระทำการใดได้อย่างอิสระเสรี เท่าเทียมโดย
ได้รับการรับรองจากกฎหมาย สิ ทธิ มนุษยชน เป็ นแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์ที่วา่ มนุษย์น้ นั มีสิทธิ หรื อ
สถานะสากล ซึ่ งไม่ข้ ึนอยูก่ บั ขอบเขตของกฎหมาย หรื อปั จจัยท้องถิ่นอื่นใด เช่น เชื้อชาติ หรื อ
สัญชาติ มีความเป็ นสากลและเป็ นนิรันดร์ ทุกคนได้รับการประสิ ทธิ์ ประสาทเหตุผลและ
มโนธรรม และควรปฏิบตั ิต่อกันอย่างฉันพี่นอ้ ง โดยธรรมชาติของคนมักใช้สิทธิ ของตนเกินเลย
ขอบเขตที่ควรจะเป็ น จึงต้องถูกจำกัดสิ ทธิ ดว้ ยกฎหมาย เรื่ องสิ ทธิ มนุษยชนได้บญั ญัติเอาไว้ใน
กฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศ และกฎหมายภายในของรัฐ
ประเทศไทยเป็ นสมาชิกองค์การสหประชาชาติและมีพนั ธกรณี ดา้ นสิ ทธิ มนุษยชน การเข้า
เป็ นภาคีของสนธิสญ ั ญาก่อให้เกิดพันธกรณี ที่ตอ้ งปฏิบตั ิให้สอดคล้องกับสนธิ สญ ั ญา หากละเมิด
ฝ่ าฝื นก็อาจต้องรับผิดในทางระหว่างประเทศ เมื่อเข้าเป็ นภาคีสนธิ สญ ั ญาด้านสิ ทธิ มนุษยชน ก็ตอ้ ง
ปฏิบตั ิตามพันธกรณี ของสนธิสญ ั ญา พันธกรณี ระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิ ทธิ มนุษยชนของไทย
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยมีหลายทัศนะมุมมองจากปั จเจกชน กลุ่มบุคคล
องค์กรมีการตั้งข้อสังเกตกล่าวกล่าวหาในหลายประเด็น เช่น การทำทารุ ณกรรม หน่วยงานราชการ
มีอำนาจมากเกินไป การเชื่อมโยงถึงการละเมิดอื่น การไม่มีสถาบันคุม้ ครองสิ ทธิ องค์กรอิสระถูก
คุกคาม สถานการณ์ภาคใต้ทรุ ดหนัก
ส่ วนหนึ่งของปัญหาด้านสิ ทธิ มนุษยชนมาจากการใช้สิทธิของบุคคลอย่างเกินขอบเขต
ละเลยการปฏิบตั ิหน้าที่พลเมืองดีอย่างเหมาะสม การกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐอันเป็ นการละเมิด
สิ ทธิมนุษยชนนั้นมีอยูจ่ ริ ง กรณี น้ ี เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งได้รับการปรับปรุ งแก้ไขปรับเปลี่ยนให้เข้าสู่ วิถี
ทางที่ถูกต้อง แต่ในอีกมิติหนึ่งน่าจะหันมามองการทำงานของของเจ้าหน้าที่รัฐ เช่นสถานการณ์การ
ก่อเหตุความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ในสภาพความเป็ นจริ ง มีข อ้ สังเกตว่าตั้งแต่จุดเริ่ มต้น
ของเหตุการณ์ การดำเนินการแก้ไขปั ญหามาจนกระทัง่ ถึงปั จจุบนั เจ้าหน้าที่ของรัฐได้กระทำการที่
ไม่ถูกต้องอันเข้าข่ายละเมิดสิ ทธิมนุษยชนรัฐมากมายตามที่ถูกกล่าวหาจริ งหรื อไม่ ในอีกทางหนึ่ง
จากสถิติเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องเสี ยสละชีวิตอวัยวะในการปฏิบตั ิหน้าที่มีมุมมองเรื่ องนี้อย่างไร
8

ประเด็นที่กล่าวถึงเรื่ องสิ ทธิมนุษยชนควรต้องพิจารณาให้รอบคอบรอบด้านในทุกมิติอย่างถูกต้อง


ครบถ้วนเป็ นธรรม
สภาพสังคมปัจจุบนั สิ่ งที่ควรจะอยูใ่ นจิตใจของคนร่ วมด้วยช่วยกันหันมามองถึงหน้าที่
อย่างถูกต้องและเป็ นธรรมของแต่ละบุคคลตามฐานานุรูป เมื่อมีการใช้สิทธิ ส่วนบุคคลโดยเคารพ
สิ ทธิของผูอ้ ื่นพร้อมด้วยจิตสำนึกในหน้าที่ ย่อมเป็ นแนวทางไปสู่ การอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข
สามารถพัฒนาก่อให้เกิดประเพณี วฒั นธรรมอันดีงาม นำไปสู่ กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมาย ของ
สังคมต่อไป

บรรณานุกรม
พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. http://rirs3.royin.go.th/word1/word-1-a0.asp
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . สิ ทธิมนุษยชน. http://th.wikipedia.org/wiki
รศ. นพนิธิ สุ ริยะ. (2549) ความหมายของสิ ทธิ มนุษยชน. http://gotoknow.org/blog/works-of-
archannop /50196
รวม พ.ร.บ.คณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่งชาติ. บทนิยาม. http://kodmhai.com/m4/m4-
2/H66/H-66.html)
สำนักงานคณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่งชาติ. พันธกรณี ดา้ นสิ ทธิ มนุษยชน. http://www.nhrc.
or.th/menu_content.php?doc_id=29)
BKK แหล่งรวมข้อมูลความรู้ออนไลน์. องค์การสหประชาชาติ. http://9bkk.com/article/
9

education/the_united_nations.html)
มติชนรายวัน. (2547). เปิ ดรายงาน “สิ ทธิ มนุษยชน” “ฉบับเอ็นจีโอ”. http://www. ftawatch.
org/news/view.php?id=3397) 

You might also like