You are on page 1of 28

วารสารของคนทางานเพื่อคนทางาน (ฉบับที่ 7 ประจาเดือนกรกฎาคม 2553)

ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก (หน้า 2) “ประกันสังคม” คุณภาพของสวัสดิการคนท างานที่ลดลง? (หน้า 5) บทความ:


“การเมือง” คือ “เรื่องของเรา” (หน้า 10) สิท ธิการใช้รถจักรยานยนต์ของแรงงานข้า มชาติในประเทศไทย (หน้า 12) จับตา
ประเด็นร้อน "ศาลแรงงานชี้ 'ทรู' เลิกจ้างไม่เป็นธรรม" (หน้า 15) ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย คนทํ
(หน้าางาน
18)กรกฎาคม 2553 >> 1
ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก >>
คนขับ รถบรรทุ ก น้ า มัน กรี ซ สไตร์ ค
หยุดงาน

30 ก.ค. 53 - สถานการณ์ ใ นกรีซ วิกฤต


หนัก และส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจ และ
การท่ อ งเที่ ย วของประเทศอย่ างรุ น แรง
หลังจากที่ สหภาพพนักงานขับรถบรรทุก
น้ ามันไม่สนคาขู่ของรัฐบาลเดินหน้า หยุด
งานประท้วงทั ่วประเทศต่ อไปเป็ น วัน ที่ 2
แม้ว่าทางด้านรัฐ บาลจะออกคาสั ่งฉุ กเฉิ น
ขูว่ า่ หากยังหยุดงานกันต่อไปอาจจะถูกทา
โทษอย่างรุนแรง
ท าให้ ประชาชนได้ร บั ผลกระทบกัน ถ้ว น เดือ น และการลงมติ ใ นวุฒ ิส ภาจะท าให้
อย่างไรก็ตาม ทางด้านเจ้าหน้ าที่ส หภาพ หน้า นอกจากนัน้ รัฐบาลยังมีแผนที่จะเปิ ด กฎหมายดัง กล่ า วมี ผ ลบัง คับ ใช้ ทั ้ง นี้
แรงงานคนขับรถบรรทุ กรุว่า พวกเขาจะ เสรีอ าชีพ ขับ รถบรรทุ กน้ า มัน ขึ้น ด้ว ยซึ่ ง มาเลเซี ย กลายเป็ น แหล่ ง ดึ ง ดู ด ผู้ ค นที่
พิจารณาข้อเสนอทางรัฐบาลอีกครัง้ ในวันนี้ สร้างความไม่พ อใจให้ กบั บรรดาเจ้าของ อพยพหนี สงครามในประเทศเพื่อลักลอบ
และจะด าเนิ น การประท้ ว งหยุ ด งานกัน รถบบรรทุ ก เหล่ า นี้ อย่ า งไรก็ต าม การ หางานทาหรือเป็นเส้นทางผ่านไปประเทศ
ต่อไปจนกว่าจะมีการเจรจากันเกิดขึน้ สไตร์ ค ครั ง้ นี้ ไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การ อื่น เช่น ออสเตรเลีย กฎหมายฉบับใหม่
เมื่ อ คื น ที่ ผ่ า นมา ยั ง เกิ ด การปะทะกั น เดินทางทางเครือ่ งบิน และ เรือเฟอร์ร ี เพิ่ ม โทษจ าคุก 3 เท่ าเป็ น 15 ปี ส าหรับ
ระหว่ า งต ารวจ และกลุ่ ม พนั ก งานขั บ ผูก้ ระทาผิดช่วยเหลือชาวต่างชาติเข้า-ออก
ทางการมาเลเซี ยเพิ่ มโทษจาคุก 3 เท่ า
รถบรรทุ ก 500 คน ที่ร วมตัว ประท้ว งกัน มาเลเซีย โดยไม่ม ีเ อกสารรับ รอง หาก
และปรับเงิ นหนักขึ้นกับพวกค้ ามนุษ ย์
ด้วยโดยเจ้าหน้าที่ต้องใช้แก๊สน้ าตายิงเข้า แรงงานอพยพถู ก ทารุ ณ หรื อ ตกอยู่ ใ น
และลักลอบขนส่งผูอ้ พยพ
ใส่ อัน ตราย อาจมีโ ทษจ าคุกถึง 20 ปี ส่ว น
29 ก.ค. 53 - วุ ฒ ิส ภามาเลเซี ย เตรีย ม ค่าปรับสูงสุดเพิ่มขึ้น 10 เท่า เป็ น 1 ล้าน
การ ปร ะท้ ว งครั ง้ นี้ ส่ ง ผ ลกร ะท บต่ อ ริงกิต (9.9 ล้านบาท)
รับรองกฎหมายใหม่ปราบปรามพวกค้า
เศรษฐกิจ ของกรีซ อย่างรุน แรง ซึ่ง ท าให้
มนุ ษ ย์ใ นสัปดาห์ห น้า หลัง ผ่านการแก้ไ ข
เกิด ภาวะขาดน ามัน กัน ทัว่ ประเทศแล้ ว คนงานบังกลาเทศก่อ จลาจล ประท้ ว ง
ร่างกฎหมายจากสภาผูแ้ ทนราษฎรเมื่อต้น
โดยเฉพาะโรงงานบรรทุกอาหารกระป๋อง ขึน้ ค่าแรง
ทั ้ง หล าย แ ละ โร ง งานอื่ นๆที่ ต้ อ ง ใช้
น้ ามันดิบในกระบวยการผลิต ขณะที่รสี อร์
ทตามแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วต่ างๆก็ถู ก ยกเลิ ก
การจองจ านวนมากเช่ น กั น เนื่ อ งจาก
นักท่ องเที่ย วไม่ส ามารถขับรถยนต์ ไปได้
เพราะขาดน้ ามัน

นอกจากนัน้ ยังเป็ น แรงกดัน รัฐบาลอย่าง


หนัก หลัง จากที่ประชาชนจานวนมากไม่
พอใจในนโยบายรัดเข็ม ขัดของรัฐ บาลซึ่ง
2 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553
27 ก.ค. 53 - บรรดาคนงานโรงงานผลิต (43 ดอลลาร์) ต่ ากว่าเป้าหมายที่สหภาพ ยูนิต้ี ฟอรัม ซึง่ ปฏิเสธข้อเสนอของรัฐบาล
เสื้อผ้าในบังกลาเทศประมาณ 5,000 คน แรงงานบางกลุ่มเรีย กร้อ งไว้ที่ 5,000 ทา กล่าว
ก่อหวอดบุกเข้าทาลายโรงงานผลิตเสื้อผ้า คา
เ มื่ อ สั ป ด า ห์ ที่ แ ล้ ว ชี ค ฮ า สิ น า
หลายแห่ ง พร้อ มทั ง้ ปล้ น สะดมร้า นค้ า
"พวกเขาใช้ก้อนหินปาเข้าใส่โรงงาน เผา นายกรัฐมนตรีของบังกลาเทศ ได้กล่าวต่อ
ต่างๆ ในกรุงธากา เมืองหลวงของประเทศ
รถยนต์ และกัน้ ถนน" นายนู รลั อลาม ผู้ ที่ประชุม รัฐ สภาว่า เงิน เดือ นของบรรดา
หลังจากรัฐบาลปฏิเสธทีจ่ ะขึน้ ค่าแรงขัน้ ต่ า
บัญชาการตารวจในย่านกุลชาน ย่านธุรกิจ คนงานทอผ้าในประเทศต่ าเกิน ไปและไม่
เป็ น 5,000 ทาคา ตามที่กลุ่มแรงงานร้อ ง
จาหน่ายสินค้าระดับบนในกรุงธากา กล่าว ยุตธิ รรม บรรดาผูป้ ระกอบการควรแบ่งปนั
ขอ
และว่ า ผู้ประท้ ว งบางคนเล็ง เป้าท าลาย ผลกาไรกับบรรดาแรงงานทั ่วประเทศที่ม ี
นายอับดุล คัดดุล รองสารวัต รต ารวจใน ร้ า น ค้ า ที่ จ าห น่ ายสิ น ค้ า แ บร นด์ เ น ม อยู่ 3.5 ล้านคนอย่างยุตธิ รรมมากกว่านี้
กรุ ง ธากา เปิ ด เผยว่ า คนงานที่ ชุ ม นุ ม โดยเฉพาะ พร้อมทัง้ ฉกชิงสิง่ ของภายใน
คนงานหญิ ง กัม พู ช าถูก ต ารวจไล่ ทุ บ
ประท้ ว ง ซึ่ ง ตัด เย็ บ เสื้อ ผ้ า ให้ ก ับ บริษ ั ท ร้าน ก่อนจะจุดไฟเผาร้าน
หลังประท้วงขอเพิ่ มค่าแรง

27 ก.ค. 53 - ที่ผ่านมาสื่อต่างประเทศได้
รายงานว่าคนงานหญิงโรงงานเสื้อผ้าและ
สิง่ ทอในกัมพูชากว่า 3,000 คน ปะทะกับ
ต ารวจ 100 กว่ า นาย ที่ เ ข้ า สลายการ
ชุ ม นุ ม ห ลั ง คนง าน ออ กม าปร ะ ท้ ว ง
เรีย กร้องค่าแรงเพิ่ม และปกป้องสมาชิก
สหภาพแรงงานที่ถู กพักงาน ซึ่ง ผลจาก
การปะทะท าให้ม ีผู้บาดเจ็บอย่ างน้ อ ย 9
คน

การปะทะกัน เกิ ด หลัง คนงานหญิ ง ของ


โรงงาน Perusahaan Chan Choo Sing
Sdn Bhd หรือ PCCS ที่มเี จ้าของสัญชาติ
เสื้อ ผ้าแบรนด์ดงั ของตะวัน ตก พากัน ปิ ด ขณะที่ต ารวจปราบจลาจลหลายร้อยนาย มาเลเซีย ได้รวมตัวประท้วงเพื่อเรียกร้อ ง
กัน้ ถนนสายหลัก ที่เชื่อ มต่ อ กับถนนสาย เข้า ควบคุ ม สถานการณ์ โดยใช้ก ระบอง ค่าแรงเพิ่ม จากเดือ นละ 60 ดอลลาร์ ให้
ย่ อ ยทั ว่ เมือ งหลวง และบุ ก เข้ า ท าลาย และแก๊ ส น้ าตาสลายการชุ ม นุ ม แต่ ม ี ผู้ ขยับขึน้ เป็น 75 ดอลลาร์ รวมถึงประท้วงที่
โรงงานผลิ ต เสื้อ ผ้า ซึ่ ง ตัง้ อยู่ ใ กล้ ๆ ด้ว ย ชุมนุมประท้วงบางกลุ่มฝ่าวงล้อมเข้าไปใน นายจ้ า งได้ท าการพั ก งานผู้ น าสหภาพ
ก้อ นหิ น โดยจุ ด ที่ เ กิด การประท้ ว งของ เขตโมฮัก คาลิ ที่ ม ี ค นงานหลายพัน คน แรงงานของพวกเธอ
แรงงานเป็ นแหล่ ง ที่ ต ั ้ง ของสถานทู ต ปกั หลัก ชุ ม นุ ม อยู่ แ ละกัน้ เส้น ทางสัญ จร
ประเทศต่างๆ และเป็ นที่ตงั ้ สานักงานกลุ่ม หลายหลักอื่นๆ ส ห ภ า พ แ ร ง ง า น เ ส รี แ ห่ ง กั ม พู ช า
บรรเทาทุกข์ หรือ กลุ่ม ให้ความช่วยเหลือ (FTUWKC) เปิ ดเผยว่าตารวจได้ผ ลักดัน
"อารมณ์ ข องแรงงานประท้ว งช่ว งนี้เ ดือ ด ให้ผปู้ ระท้วงกลับเข้าทางานตามคาสั ่งศาล
จากต่างประเทศ
พล่ าน เพราะไม่พ อใจที่ร ฐั บาล ที่ท าตาม ที่ใ ห้เ คลีย ร์พ้ืนที่ผลักดัน ผูช้ ุมนุ ม ออกจาก
เมื่ อ วั น อั ง คาร (27 ก.ค.) รัฐ บาลขึ้ น ความต้ อ งการของเจ้ า ของโรงงานผลิ ต ท้องถนนและให้กลับเข้าทางานในโรงงาน
เงินเดือ นขัน้ ต่ าส าหรับคนงานโรงงานทอ เสื้อผ้า ซึ่งเป็ น สิง่ ที่บรรดาคนงานยอมรับ โดยผูบ้ าดเจ็บทัง้ 9 เป็นหญิงทัง้ หมด
ผ้ า จ าก 1 , 66 2 ท าคา ซึ่ ง ถื อ ว่ า เ ป็ น ไม่ ไ ด้ " นายโมเชอราฟา มิ ชู หั ว หน้ า
เงิน เดือ นต่ าสุดในโลกเป็ น 3,000 ทาคา สหภาพแรงงานที่มชี ่อื ว่า เดอะ การ์เมนท์
คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 3
ทัง้ นี้โรงงาน PCCS เป็ นโรงงานที่รบั จ้าง ต้องเปลีย่ นนโยบายและเริม่ ความพยายาม ดอลลาร์ฮ่อ งกงตามข้อเสนอของสหภาพ
ผลิ ต ให้ ก ับ แบรนด์ ด ัง อาทิ เ ช่ น Adidas, ใช้ร ะบบค่าแรงขัน้ ต่ าซึ่ง ในที่สุดก็ผ่านมา แรงงาน
The Gap, Old Navy, Carter's, Puma,
Champion, Cross Creek และ Nike เป็ น
ต้น

ฮ่องกงผ่านกฎหมายค่าจ้างแรงงานขัน้
ตา่

17 ก.ค. 53 - ฮ่องกงผ่านกฎหมายค่าจ้าง
แรงงานขัน้ ต่ า สร้างความยิน ดีใ ห้แ ก่ผู้น า
สหภาพแรงงานที่ต่ อสู้เ พื่อ ผูใ้ ช้แ รงงานที่
ถูกกดค่าแรง กฎหมายฉบับนี้ สร้างความ
ประหลาดใจเนื่ อ งจากเป็ น ครัง้ แรกใน
ประวั ติ ศ าสตร์ ฮ่ อ งกงที่ ม ี ก ารก าหนด
เพดานค่าจ้างแรงงาน ทัง้ ที่ฮ่องกงดาเนิ น
ปรัชญาเศรษฐกิจ แบบตลาดเสรีที่ม ีกลไก
ตลาดเป็นตัวกาหนด เป็นกฎหมาย พนั ก งานโรงแรมประท้ ว งดิ ส นี ย์เ รื่ อ ง
อย่ า งไรก็ต าม กฎหมายดัง กล่ า วไม่ ไ ด้ สัญญาจ้าง
อย่ า งไรก็ต าม แม้ ก ฎหมายนี้ ไ ด้ร ับ การ
ครอบคลุ ม แม่ บ้า นชาวอิ น โดนี เ ซี ย และ สนับสนุ น จากสมาชิกสภานิ ติบญ ั ญัติกลุ่ ม 13 ก.ค. 53 - กลุ่ม ผูช้ ุม นุ มสวมหน้ากาก
ฟิ ลิป ปิ น ส์ซึ่ ง มีอ ยู่ เ กือ บ 280,000 คนใน สนั บ ส นุ น ภาคธุ ร กิ จ แ ต่ เ นื้ อ ห าข อ ง มิค กี้เ ม้า ส์ ป ระมาณ 325 คน ที่ ร วมทั ง้
ฮ่ อ งกง โดยในป จั จุ บ ัน คนงานต่ า งชาติ กฎหมายก็ม ีข ้อ จ ากัด อยู่ ม าก เพราะให้ สมาชิก สหภาพแรงงานและผู้ส นั บ สนุ น
เหล่ านี้ ได้ ร ั บ เ งิ น เดื อ น ขั น้ ต่ า 3, 58 0 อานาจการกาหนดค่าแรงขัน้ ต่ าอยู่ ใ นมือ ชุม นุ ม ประท้วงวานนี้ ต่อ ต้านดิสนี ย์ แลนด์
ดอลลาร์ฮ่ อ งกง (15,000 บาท) รัฐ บาล ของหัว หน้าผู้บริห ารเขตบริห ารพิเ ศษซึ่ง เกี่ย วกับสัญญาจ้างของพนักงานโรงแรม
ฮ่องกงให้เหตุ ผลที่ไม่รวมคนกลุ่มนี้เพราะ โดยปกติเป็ นพันธมิตรกับประชาคมธุรกิจ เครือดิสนีย์
ยากต่ อ การค านวณชัว่ โมงการท างาน และถึงแม้วา่ สภานิตบิ ญ
ั ญัตมิ อี านาจอนุ มตั ิ
นอกจากนี้ พวกเขาก็ได้สทิ ธิหลายประการ พนั ก งานโรงแรมของดิ ส นี ย์ ป ระมาณ
หรือปฏิเสธข้อเสนอ แต่กไ็ ม่สามารถแก้ไข
เช่นทีอ่ ยู่อาศัย อาหาร การรักษาพยาบาล 2,100 คน ทางานแบบไม่ม ีสญ ั ญาจ้างมา
เปลี่ย นแปลงได้ นอกจากนี้ กฎหมายได้
และการเดิ น ทางกลั บ บ้ า นโดยไม่ เ สี ย เป็ น เวลาประมาณ 2 ปี ครึ่ง ท าให้ ม ีก าร
กาหนดให้มกี ารทบทวนค่าจ้างแรงงานขัน้
ค่าใช้จ่าย ประท้ ว งเกิด ขึ้น เป็ น ระยะโดยเฉพาะใน
ต่าทุกๆ 2 ปี แทนที่จะเป็ นปี ละครัง้ ตามคา
ประเด็นค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
รัฐบาลฮ่องกงพยายามคัดค้านการกาหนด เรียกร้องของสหภาพแรงงาน
ค่ า แรงขั น้ ต่ าเพื่ อ ให้ ค งความเสรี ข อง นางซู ซี่ บราวน์ โฆษกหญิ ง ของดีส นี ย์
นายโดนัลด์ เจิง จะเสนอค่าจ้างแรงงานขัน้
ตลาดแรงงาน แต่ ใ นเวลาต่ อ มาได้ถู ก แลนด์ กล่าวว่า โชคร้ายที่สหภาพให้ความ
ต่าครังแรกในเดื
้ อนพฤศจิกายนนี้ โดยคาด
กดดันจากปญหาช่ั องว่างรายได้ระหว่างคน สนใจต่อการชุมนุ มประท้วงมากกว่าทาให้
ว่าจะอยู่ ร ะหว่า ง 24 ดอลลาร์ ฮ่ อ งกงต่ อ
รวยกั บ คนจน ท าให้ น ายโดนั ล ด์ เจิ ง แน่ ใ จว่ า สมาชิ ก ของสหภาพมี ส ัญ ญาที่
ชั ่วโมงตามข้อ เสนอของภาคธุ รกิจกับ 33
หัว หน้าผู้บริห ารเขตบริห ารพิเ ศษฮ่อ งกง มั ่นคงแล้ว.

4 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


รายงานพิเศษ >>

“ประกันสังคม” คุณภาพของสวัสดิการ
คนทางานที่ลดลง?

ช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมานอกจากเรื่อง “ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจาก
การรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....” ที่ถูกจับตามองและกล่าวถึงเป็นอย่างมากแล้ว
เรื่องเกี่ ยวกั บ “กองทุนประกั นสัง คม” ที่มี การร้องเรีย นเรื่ องมาตรฐานโรงพยาบาล
เอกชนโดยผู้ ป ระกั น ตน ก็ เ ป็ น เรื่ องที่ น่ า สนใจอย่ า งยิ่ ง คนท างานฉบั บ นี้ จึง ขอน า
รายละเอี ย ดรวมถึ ง การตั้ ง ค าถามกั บ สวั ส ดิ ก ารที่ ดู เ หมื อ นจะขาดไม่ ไ ด้ แ ล้ ว ของ
คนทางานในยุคนี้
เมื่อ วันที่ 27 กรกฎาคม ที่ผ่านมา สื่อ มวลชนได้รายงาน จ.เชียงใหม่ ให้ขอ้ มูลว่าแรกทีเดียวปว่ ยเป็นโรคธัยรอยด์เป็นพิษ ซึ่ง
ข่าวเรื่อ งการร้องเรีย นจากผู้ประกัน ตน 2 ราย เกี่ยวกับมาตรฐาน เมื่อ เข้ารับ การรัก ษาในโรงพยาบาลเอกชนที่เ ลื อ กไว้ต ามบัต ร
การรักษาพยาบาลของโรงพยาบาล (รพ.) เอกชนที่เป็ นคู่สญ ั ญากับ ประกันสัง คมปรากฏว่าโรงพยาบาลดังกล่ าวได้ร กั ษาโดยการให้
สานักงานประกัน สัง คม (สปส.) ที่พ ยายามประวิง เวลาและบ่าย กลืนแร่ แต่อาการก็ยงั ไม่ดขี น้ึ แม้จะรักษาอยู่นานนับปี
เบีย่ งไม่ยอมผ่าตัดให้ผปู้ ว่ ยเป็นโรคเนื้องอกในมดลูก โดยผูป้ ่วยราย
น.ส.ทอกล่าวว่า ต่อมาเริม่ มีอาการปวดท้อง ซึ่งแพทย์ใน
แรกชือ่ น.ส.ทอ (นามสมมุต)ิ ทางานอยู่ในบริษทั เอกชนแห่งหนึ่งใน
โรงพยาบาลเอกชนแห่ งเดิม วินิ จฉัย ว่ายัง ปกติ แต่ส่วนตัว รูส้ ึกไม่

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 5


มั ่นใจจึงได้ไปตรวจเช็คทีโ่ รงพยาบาลศูนย์แพทย์แห่งหนึ่ง แพทย์ได้ ด้าน นายสุธรรม นทีทอง ทีป่ รึกษา รมว.แรงงาน ในฐานะ
วินิจ ฉัย ว่าเป็ นเนื้ องอกในมดลู ก ซึ่ง น่ าจะเป็ น ผลข้างเคียงมาจาก โฆษกกระทรวงแรงงาน กล่าวถึงกรณีทมี่ ผี ปู้ ระกันตนร้องเรียนเรื่อง
การรักษาตัวด้วยแร่จากการป่วยเป็ นโรคธัยรอยด์เป็ นพิษและเมื่อ โรงพยาบาลเอกชนที่ เ ป็ น คู่ ส ัญ ญากับ ส านั ก งานประกัน สัง คม
กลับ ไปรักษาตัวยังโรงพยาบาลเอกชนที่ทาประกันตนไว้กลับถู ก (สปส.) ยื้อเวลาไม่รกั ษาผูป้ ่วยที่เป็ นโรคเนื้องอกในมดลูก ว่า เรื่อง
ปฏิเสธการให้บริการผ่าตัดจนกระทั ่งปจจุ ั บนั ดังกล่าวไม่ใช่ครัง้ แรกที่เกิดขึ้น แต่เ ป็ นปญั หาที่ยืดเยื้อมานานใน
หลายรัฐบาล และเมือ่ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน เข้ามารับตาแหน่ง รมว.
เหตุการณ์ ในลักษณะเดียวกันได้เกิดขึ้นกับ น.ส.แต้ม (นาม
แรงงาน ก็ได้ให้ความสาคัญในกรณีน้ีเป็ นพิเศษ เนื่องจากเป็ นสิทธิ
สมมุต)ิ ซึง่ ทางานอยู่ในมูลนิธิแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ โดย น.ส.แต้ม
ที่ผู้ประกันตนควรจะได้ร บั การดูแลอย่ างดีท งั ้ นี้ นายเฉลิมชัย ได้
เป็นผูป้ ระกันตนมานานนับ 10 ปี และเลือกโรงพยาบาลเอกชนแห่ง
ประสานไปยัง คณะกรรมการประกัน สัง คม หรือ บอร์ด สปส.ให้
หนึ่งในกรุงเทพฯ แพทย์วนิ ิจฉัยพบว่ามีเนื้องอกขนาดใหญ่ในมดลูก
ศึก ษาในรายละเอี ย ดและวิธี ก ารแก้ป ญ ั หาว่ า จะท าอย่ า งไรให้
แต่ปฏิเสธทีจ่ ะผ่าตัดเร่งด่วน โดยให้เข้าคิวผ่าตัดในปีหน้า อย่างไรก็
โรงพยาบาลปรับปรุงและพัฒนาให้ม ีการบริการที่ดี มีคุณภาพใน
ตามเมือ่ ทราบว่า น.ส.แต้มมีประกันของบริษทั ประกันชีวติ แห่งหนึ่ง
การรักษา โดยเฉพาะในกรณีที่ผปู้ ระกันตนเป็ นโรคที่มคี ่าใช้จ่ายสูง
โรงพยาบาลเอกชนรายนี้ ได้เปลี่ยนท่าทีใหม่โดยยิน ยอมผ่าตัดให้
โดยจะตัง้ คณะกรรมการ เพื่อตรวจสอบและจาแนกโรคที่มคี ่าใช้จ่าย
ทันทีที่ น.ส.แต้มเตรียมตัวพร้อม
สูงว่ามีโรคใดบ้างสาหรับโรงพยาบาลที่ท าการรักษาไม่มคี ุณภาพ
นายปนั ้ วรรณพินิจ เลขาธิการ สปส. ให้ความเห็นเกีย่ วกับ นัน้ ทาง สปส.จะพิจ ารณาเป็ น รายๆ ไป โดยในขัน้ แรกจะออก
เรือ่ งนี้วา่ คณะกรรมการแพทย์ของ สปส.ได้วนิ ิจฉัยเรื่องร้องเรียน หนังสือเตือน หากไม่มกี ารปรับปรุงก็จะต้องดาเนินการลงโทษขัน้
กรณี โ รงพยาบาลตามบัต รประกัน สัง คมแห่ ง หนึ่ ง ไม่ ย อมรักษา เด็ดขาดต่อไป ซึ่งในเบื้องต้นได้ตงั ้ ชุดตรวจสอบกรณีโรงพยาบาล
โรคมะเร็งให้กบั ผูป้ ระกันตนรายหนึ่งในตอนแรก ทาให้ตอ้ งไปรักษา บริการไม่ได้มาตรฐานแล้ว ยืนยันว่าเมื่อได้ร บั การร้องเรียนจะเร่ง
ที่อ่นื แต่ ในที่สุดผูป้ ระกันตนได้เสียชีว ิต ซึ่งคณะกรรมการแพทย์ ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยเร็วและไม่ปล่อยให้เรือ่ งเงียบหายเหมือนที่
เ ห็ น ว่ าโร ง พ ย าบ าล ต าม บั ต ร ไ ม่ ม ี ค วา ม ส าม าร ถ ใ น กา ร ผ่านมา
รักษาพยาบาล และต้องรับผิดชอบค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่าย
อนึ่ ง จากข้อ มูล ของส านั กงานประกัน สัง คม พบว่า ในปี
ทัง้ หมด โดยต้องจ่ายหนี้สนิ จากการรักษาของผูป้ ระกันตนให้ครบ
2551 มี ผู้ ป ระกั น ตนร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ กา รให้ บ ริ ก ารขอ ง
"หาก สปส.พบว่าโรงพยาบาลเอกชนทาผิดในกรณีรา้ ยแรง โรงพยาบาลเอกชนเข้ามาที่ สปส. จ านวน 207 ราย โดยมีการ
และไม่พยายามแก้ปญหา ั ในปีหน้าสปส.จะปรับลดโควต้าลงร้อยละ ร้องเรียนว่ารักษาไม่ได้มาตรฐานมากที่สุด 110 ราย บริการไม่ไ ด้
15 จริงๆ แล้วเรามีทปี่ รึกษาด้านการแพทย์ เป็ นแพทย์ 6 คน และ มาตรฐาน 62 ราย และ ร้องเรียนเชิงการบริหารงาน 35 ราย โดย
พยาบาล 6 คน ท างานกัน 6 ที ม ท าหน้ า ที่ ต รวจสอบแต่ ก็ไ ม่ จานวนผูป้ ระกันตนจะเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนมีมากกว่า
เพียงพอ เพราะโรงพยาบาลเอกชนมีอยู่ กว่า 90 แห่ง สปส.จึง ได้ โรงพยาบาลรัฐ ซึง่ ใช้บริการ รพ.รัฐ 4.4 ล้านคน ขณะที่ รพ.เอกชน
เพิ่มทีมที่ปรึกษาอีก" เลขาธิการสปส.กล่ าว และว่า นายเฉลิมชัย 5.4 ล้านคน และจานวนครังในการใช้ ้ บริการต่อคนเฉลี่ยเพียง 0.05
ศรีอ่อน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน ได้ให้นโยบายว่าให้จดั ทีม เท่านัน้
แพทย์ออกตรวจเป็นการเฉพาะอีก 1 ทีม ซึ่งอาจตรวจซ้ าจากทีมที่
ส่วนในเรื่องข้อร้องเรียนเรื่องบริการทางการแพทย์ จาก
ปรึกษาทางด้านการแพทย์ ก็ไ ด้แ ละว่า กรณี ที่เ กิ ดขึ้น ทัง้ 2 กรณี
ข้อมูลของสานักงานประกันสังคม พบว่าส่วนใหญ่เกิดจาก ลูกจ้าง/
เป็นไปได้ว่าโรงพยาบาลเอกชนไม่เต็มใจที่จะรักษาให้ เพราะต้อง
ผู้ประกัน ตนไม่ท ราบสิท ธิข องตนเองเกี่ย วกับการขอใช้ส ิท ธิร ับ
เสียค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งขณะนี้ สปส.อยู่ระหว่างพิจารณาเรื่องการแยก
บริ ก าร แ ล ะ ขั ้น ต อ น ใ น กา ร รั ก ษา โร ค ใ น ข ณะ เ ดี ย ว กั น
โรคมะเร็งออกจากงบฯเหมาจ่าย หากมีผปู้ ระกันตนรักษาด้วยโรคนี้
สถานพยาบาลในโครงการประกัน สัง คมบางแห่ ง ไม่ไ ด้ใ ห้ความ
สปส.จะน าเงินไปจ่ายให้โ รงพยาบาลในเครือข่ายภายหลัง แต่ใ น
ตระหนักถึงการเป็นผูใ้ ห้บริการที่ดี รวมถึงไม่สร้างความเข้าใจและ
ระยะเร่งด่วนนี้จะตรวจสอบโรงพยาบาลเอกชนทัง้ 2 แห่งก่อน
ความมั ่นใจในการรักษาให้แก่ผปู้ ระกันตนหรือญาติ

6 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


เรื่องเล่าจากแพทยสภา
ความไม่มีมาตรฐานของแพทย์….กับผู้ป่วยประกันสังคม
ศ.นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา
http://www.health108.com/?p=948
(ปี 2552) สานักงานเลขาธิการแพทยสภาได้รบั เรือ่ งร้องเรียนแพทย์ 3 ท่านจากโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งซึ่งเป็ นต้นสังกัดประกันสังคม
ของผูป้ ว่ ย กรณีทมี่ ารักษาทีโ่ รงพยาบาล 3 ครัง้ ด้วยอาการซีด อ่อนเพลีย หน้ามืด แพทย์คนแรกวินิจฉัยว่าน่ าจะเกิดจากการพักผ่อนไม่
เพียงพอและเครีย ด โดยไม่ได้มกี ารตรวจเลือดแต่อ ย่างใด อีก 18 วันต่อมา เวลา 05.30 น. ผูร้ อ้ งมีอาการแน่ นหน้าอก หายใจไม่ออก
อาเจียน ปวดศีรษะรุนแรง และมีอาการบวม ได้เข้ารับการตรวจทีโ่ รงพยาบาลกับแพทย์คนที่สอง แพทย์วนิ ิจฉัยว่า เครียด และพักผ่อนไม่
เพียงพอ ผูร้ อ้ งได้ขอร้องให้แพทย์ทาการตรวจเลือดหาสาเหตุแต่ได้รบั การปฏิเสธ ผูร้ อ้ งยังคงมีอาการซีด ตาบวม หน้าบวม อาเจียน ไม่
ถ่ายและมีอาการช็อก อีก 8 วันต่อมาผูร้ อ้ งได้ถูกนาตัวส่งโรงพยาบาลประกันสังคมเดิมอีกครัง้ นายแพทย์คนที่สาม ยังคงให้การวินิจฉัยว่า
เครียดและพักผ่อนไม่เพียงพอ ผูร้ อ้ งจึงได้ตดั สินใจเข้ารับการรักษาทีโ่ รงพยาบาลมหาวิทยาลัยบริเวณใกล้เคียง แพทย์ได้ส ั ่งตรวจเลือดซึ่ ง
ตรวจพบว่าผูร้ อ้ งเป็นไตวาย ผูร้ อ้ งเห็นว่าแพทย์โรงพยาบาลประกันสังคม ไม่ทาการตรวจอย่างละเอียดจนทาให้ไม่สามารถตรวจพบว่า
ผูป้ ว่ ยเป็นโรคไต เลขาธิการแพทยสภาได้สง่ เรือ่ งให้คณะอนุกรรมการจริยธรรมฯ พิจารณาแสวงหาข้อเท็จจริง
คณะอนุกรรมการจริยธรรมฯ พิจารณาข้อร้องเรียนประกอบกับเวชระเบียนบันทึกการรักษาของผูป้ ่วย คาชี้แจงข้อเท็จจริงของ
แพทย์ คาให้การของผูร้ อ้ งเรียนทีไ่ ด้มาให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมต่อคณะอนุกรรมการฯ และความเห็นจากราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
จากเอกสารข้อ มู ล ที่ ร วบรวมได้ท ัง้ หมดข้อ เท็ จ จริง รับ ฟ งั ได้ว่ า เป็ น “คดีม ีมูล ” คณะกรรมการแพทยสภาเห็ น พ้ อ งได้ส่ง เรื่อ งให้
คณะอนุกรรมการสอบสวน ดาเนินการสอบสวน
คณะอนุกรรมการสอบสวน ได้ประชุมปรึกษาและตรวจพิจารณาเอกสารทัง้ หมดในสานวนคดี รวมทัง้ พยานหลักฐานที่เกีย่ วข้อง
ประกอบแล้วพบข้อเท็จจริงได้วา่ ผูก้ ล่าวหาเป็นชาย อายุ 31 ปี ได้ไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลต้นสังกัดประกันสังคมครัง้ แรก ด้วยอาการ
ปวดขา เหลืองซีด อ่อนเพลีย และแขนขาอ่อนแรง นายแพทย์คนแรกได้ตรวจร่างกายและซักประวัติแล้ว ได้ให้การวินิจฉัยเบื้องต้นว่า
ปวดจากกล้ามเนื้อ เอ็นอักเสบของเข่าทัง้ สองข้าง จึงได้ให้ยาไปรับประทานที่บา้ น หลังจากนัน้ ผูก้ ล่าวหากลับมีอาการมากขึ้น โดยเริม่ มี
อาการรับประทานอาหารไม่ได้ เนื่องจากลิ้นไม่รรู้ ส อ่อนเพลีย เหลืองซีดมาก มีอาการบวม (โดยผูก้ ล่าวหาเข้าใจว่าเป็นเพราะน้ าหนักขึน้ )
จนกระทั ่ง 18 วัน ต่ อ มา ผู้ป่ว ยมีอ าการแน่ น หน้ าอก หายใจไม่อ อก อาเจีย น ปวดศีร ษะอย่ างรุน แรง จึง ได้ไ ปพบแพทย์ ที่
โรงพยาบาลเดิมอีกครัง้ ในครังนี ้ ้แพทย์หญิงคนทีส่ อง เป็นแพทย์ผใู้ ห้การรักษา โดยในขณะวัดความดันโลหิต ผูก้ ล่าวหามีอาการแน่ น เกร็ง
หายใจไม่ออก แพทย์จงึ ได้นาตัวผูก้ ล่าวหาเข้าห้องฉุกเฉินและตรวจร่างกายผูก้ ล่าวหา แพทย์พบว่า ผูก้ ล่าวหามีการหายใจลึกและเร็ว โดย
หายใจ 20 ครัง/นาที้ ความดันโลหิต 130/80 มิลลิเมตรปรอท จึงได้ให้การวินิจฉัยว่าผูป้ ่วยอยู่ในกลุ่มอาการเวียนศีรษะ (vertigo) และกลุ่ม
อาการหายใจเกิน (hyperventilation syndrome) ได้รบั ตัวผูป้ ว่ ยไว้ในโรงพยาบาลเพื่อสังเกตอาการ ให้การรักษาโดยฉีดยาแก้หน้ามืด ให้
น้ าเกลือ และให้ยาคลายเครียด และยาช่วยให้หลับ ผูก้ ล่าวหาได้ขอตรวจเลือดเพื่อหาสาเหตุ แต่แพทย์ได้ปฏิเสธ ต่อมาผูก้ ล่าวหามีอาการ
หนักขึน้ ซีดเหลืองมากกว่าเดิม อ่อนเพลีย อาเจียน น้ าหนักขึน้ ตาบวม และมองวัตถุแล้วรูปร่างคดเบี้ยว มือบวม รับประทานอาหารไม่ได้
5 วันต่อมาจึงได้ไปพบแพทย์ทโี่ รงพยาบาลมหาวิทยาลัยใกล้เคียง โดยผูก้ ล่าวหาได้ให้ประวัติ ว่ามีอาการบวมที่หน้าและตา ต่อมามีอาการ
บวมทีข่ าและแขน หลังจากนัน้ 4 วัน อาการบวมลดลง แต่มอี าการตามัวมากขึ้น แพทย์ได้เจาะเลือดเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ และ
นัดปรึกษาจักษุแพทย์ต่อไป
ในวัน ที่ 8 หลังจากไปโรงพยาบาลประกัน สัง คมครัง้ ที่สอง ผู้ป่ว ยมีอ าการมากขึ้นอ่ อนเพลีย ไม่ม ีแ รง ทางโรงงานได้นาส่ง
โรงพยาบาลประกันสังคมอีก ในครังนี ้ ้ได้พบกับนายแพทย์คนทีส่ าม โดยแพทย์ได้ซกั ประวัติและตรวจร่างกายผูก้ ล่าวหาพบว่า ยังพูดคุยรู้
เรือ่ ง สามารถเดินมาตรวจทีต่ กึ ผูป้ ว่ ยนอกได้ ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ (100/80 มิลลิเมตรปรอท) ชีพจรอยู่ในเกณฑ์ปกติ (80 ครัง้ /
นาที) เสียงหัวใจและปอดปกติ ไม่พบว่ามีอาการบวมตาแหน่งใด แต่เนื่องจากผูก้ ล่าวหามาด้วยอาการปวดศีรษะ 2 – 3 ครัง้ จึงรับตัวผูป้ ่วย
ไว้รกั ษาในโรงพยาบาลเพื่อสังเกตอาการ จากนัน้ แพทย์ได้มาตรวจและอนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาลในวันรุง่ ขึน้ โดยให้ ยาไปรับประทาน
อีก 4 วันต่อ มา ผู้กล่าวหาได้ไปโรงพยาบาลมหาวิท ยาลัย เพื่อฟงั ผลเลือดและตรวจตา แพทย์ ตรวจพบตามีเลือ ดออกและจอ
ประสาทตาบวมทัง้ สองข้าง (retina hemorrhage with marked edema both eyes) แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่า ไตวายเรื้อรัง (Chronic
renal failure) จอประสาทตาเสื่อม (retinopathy) โลหิตจาง (anemia) และความดันโลหิตสูง (hypertension) ได้ให้การรักษาโดยเจาะ
เลือดเพื่อหาสาเหตุของภาวะไตวาย ให้ยาขับปสสาวะ ั และแก้อาการภาวะโปแทสเซียมในเลือดสูง (hyperkalemia) ผูป้ ่วยได้รบั การล้างไต
1 ครัง้ หลัง จากนัน้ ผู้ป่ว ยได้กลับ ไปรักษาต่ อ ที่โ รงพยาบาลเดิม (ตามสิท ธิ ประกัน สัง คม) ต่ อ มา ผู้กล่ าวหาถู กส่ ง ตัว ไปรักษาต่ อ ที่

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 7


โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ เรือ่ งตาและการล้างไต โดยได้รบั การผ่าตัดตาหลายครัง้ ในทีส่ ดุ ผูก้ ล่าวหา มีสายตาดีขน้ึ
คณะแพทย์ ผเู้ ชี่ยวชาญของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่ง ประเทศไทย มีความเห็น ว่า การวินิจฉัยของแพทย์ท งั ้ สามท่าน ไม่
เป็นไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรม เนื่องจากแพทย์ทพี่ บผูป้ ่วยเป็ นครัง้ แรก ได้มกี ารบันทึกในเวชระเบียนว่า ผูก้ ล่าวหามี
อาการปวดขาและแขน ร่วมกับอ่อนแรงและเป็นเหน็บชาบ่อย ซึง่ อาการดังกล่าวเป็นข้อชี้บ่งว่า ผูก้ ล่าวหาไม่น่าเป็ นโรคข้ออย่างเดียว และ
น่าจะมีโรคทางกายอย่างอื่นด้วย ซึง่ แพทย์มไิ ด้คานึงถึงหรือมีการส่งตรวจเพิม่ เติม แต่อย่างใด
แพทย์ หญิง คนที่สองได้ม ีการบันทึกลงในเวชระเบียนว่า ผูก้ ล่ าวหาดูม ีลกั ษณะของการเจ็บป่ว ย (look sick) ซึ่ง แพทย์ควร
ตรวจหาโรคทางกายที่เป็ นสาเหตุอ ย่างเหมาะสม ซึ่งในกรณี น้ีจ ากข้อเท็จ จริงที่ปรากฏพบว่า แพทย์ ได้ให้การรักษาตามอาการของผู้
กล่าวหาเท่านัน้ มิได้มกี ารสั ่งตรวจเพิม่ เติมเพื่อหาสาเหตุของการเจ็บปว่ ยแต่อย่างใด
หลังจากนัน้ ผูก้ ล่าวหาอาการไม่ดขี น้ึ แต่กลับแย่ลง จึงได้มาพบแพทย์โรงพยาบาล เป็ นครัง้ ที่ 3 โดยในครัง้ นี้ได้พบกับนายแพทย์
คนที่ 3 ซึง่ ได้ตรวจและให้การวินิจฉัยว่า ผูก้ ล่าวหาเป็ นโรคปวดศีรษะ จากความเครียด (tension headache) แต่กลับมีการบันทึกในเวช
ระเบียนว่าว่า ผูก้ ล่าวหามีอาการปวดหัว คลื่นไส้ รับประทานอาหารแล้วอาเจียนออกหมดเป็ นเวลา 7 วัน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวไม่เข้ากับการ
วินิจฉัยว่า เป็นอาการปวดศีรษะจากความเครียด ดังนัน้ จึงถือได้วา่ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมของนายแพทย์ทงั ้ สามคนไม่เป็ นไปตาม
มาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในระดับทีด่ ที สี่ ดุ คณะกรรมการแพทยสภามีมติให้ลงโทษว่ากล่าวตักเตือนแพทย์ทงั ้ สามท่าน
กรณี มาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
จะเห็นได้วา่ แพทย์ทงั ้ สามท่านให้การรักษาตามอาการโดยไม่สนใจทีจ่ ะหาสาเหตุ แพทย์สรุปว่าเกิดจากจิตใจโดยไม่หาสาเหตุของ
โรคทางกายก่อ น ผู้ป่ว ยมีอ าการหนั กชนิ ดต้ อ งให้ เ ฝ้ าดูอ าการในโรงพยาบาลแต่ แ พทย์ ก ลับ ไม่ ย อมตรวจเลื อ ดหรือ ปสั สาวะทาง
ห้องปฏิบตั กิ ารเพื่อหาสาเหตุและความรุนแรงของโรค โดยทั ่วไปแล้วถ้าผูป้ ว่ ยมาโรงพยาบาลซ้ าด้วยอาการเดิมไม่ดขี ้นึ แสดงว่าผูป้ ่วยวิตก
กังวลเราจะต้องรีบรับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อตรวจอย่างละเอียด มิฉะนัน้ จะเกิดการฟ้องร้องทุกราย ปญั หาที่ต้องตรวจสอบต่อไปว่าเป็ น
นโยบายของโรงพยาบาลแห่งนี้หรือไม่ทพี่ ยายามประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่คานึงถึงความปลอดภัยของผูป้ ว่ ย หรือโรงพยาบาลมีผปู้ ่วยมาก
แต่ มแี พทย์น้ อยทาให้แพทย์ ตรวจไม่ละเอียดรอบคอบ หรือ จ้างแพทย์ที่มคี ุณภาพต่ าเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ าย แพทย์ท งั ้ สามท่านไม่ไ ด้
มาตรฐานหมด ความจริงผูป้ ว่ ยประกันสังคมในปจจุ ั บนั โรงพยาบาลอาจไม่ได้กาไรเหมือนในระยะแรกเพราะผูป้ ่วยมาใช้บริการมากขึ้น แต่
โรงพยาบาลต้องรักษามาตรฐานไว้ ถ้ามีความจาเป็ น ต้องตรวจหรือรักษาก็ต้องท าอย่างดีที่สุดเอาผูป้ ่วยเป็ น หลัก โรงพยาบาลสามารถ
ประหยัดเงินได้จากการบริหารจัดการทีด่ โี ดยไม่ตอ้ งลดคุณภาพ

จานวนประชากรในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้ าและโครงการประกันสังคม

โครงการ 2547 2548 2549 2550 2551


ประกันสุขภาพถ้วน 22,542,528 22,657,657 22,270,475 22,651,027 23,288,012
หน้า (ราย)
ประกันสังคม (ราย) 8,315,906 8,706,118 9,064,561 9,381,477 9,596,244

ทีม่ า : สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

เ งิ น ๆ ท อ ง ๆ ผล กา ร ด า เ นิ น ก า ร ล ง ทุ น ข อ ง ก อ ง ทุ น จากการขายหลักทรัพย์จานวน2,843 ล้านบาท ซึง่ มีผลตอบแทนสูง


ประกันสังคมในครึ่งปี แรกของปี 2553 กว่าช่วงเดียวกันของปีกอ่ นทีม่ ผี ลตอบแทน 12,960 ล้านบาท

สานักงานประกันสังคม (สปส.) แจ้งว่า ผลการดาเนินการลงทุนของ ทัง้ นี้ สปส.คาดว่าทัง้ ปี 2553 น่ าจะมีผลตอบแทนใกล้เคียง 3 หมื่น
กองทุ นประกัน สังคมในครึง่ ปี แรกของปี 2553 มีผลตอบแทนจาก ล้า นบาท จากในปี 2552 มีผ ลตอบแทนจากการลงทุ น จ านวน
การลงทุ น 15,223 ล้า นบาท แบ่ง เป็ น ดอกเบี้ย รับจากเงิน ฝาก 26,634 ล้านบาท ส าหรับสัดส่ว นเงินลงทุ นจ านวน 707,730 ล้าน
พันธบัตร และหุ้นกู้ จานวน 12,380 ล้านบาท เงินปนั ผลและกาไร บาท ในปจั จุบนั แบ่งลงทุนในหลักทรัพย์ที่มคี วามมั ่นคงสูง ได้แก่
พัน ธบัต รรัฐ บาล พัน ธบัต รรัฐ วิส าหกิจ ที่ม ีกระทรวงการคลัง ค้ า

8 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


ประกัน เงินฝากธนาคาร และหุ้น กูเ้ อกชน 562,767 ล้านบาท คิด เจ็บป่ วย คลอดบุตร ตาย ทุพพลภาพ สงเคราะห์ บุตร และชราภาพ ”
เป็ น 80%ของเงิน ลงทุ น และลงทุ น ในหลักทรัพ ย์ ที่ม ีความเสี่ย ง คือเจตนารมตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ซึ่งมีการ
ได้แก่ ตราสารหนี้อ่นื ๆ หน่ วยลงทุน และหุ้นสามัญ 144,962 ล้าน แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 และแก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)
บาท คิด เป็ น 20% ของเงิน ลงทุ น ขณะที่ เ งิน ลงทุ น ทัง้ หมดนี้ ม ี
พ.ศ. 2542
สัดส่วนการลงทุนเป็ นเงินกองทุนกรณีสงเคราะห์บุตรและชราภาพ
สูง สุดจ านวน 567,010 ล้านบาท ซึ่ง บริหารได้อตั ราผลตอบแทน ถึงแม้ ผลการดาเนินการลงทุนของกองทุนประกันสังคมจะ
ย้อนหลัง 12 เดือนอยู่ที่ 7.02% เงินกองทุนที่ดูแลผูป้ ระกันตนกรณี มีปริมาณสูงลิบ แต่ทั ้งนีใ้ นทางกลับกันพบว่า การเข้ ารักษาพยาบาล
เจ็ บ ป่ ว ย ตาย ทุ พ พลภาพ คลอดบุ ต ร94,746 ล้ า นบาท ได้ ของผู้ประกันตนในหลาย ๆ สถานพยาบาลยังคง “ถูกแบ่ งแยกเป็ น
ผลตอบแทน5.92% และเงินกองทุนกรณีว่างงาน 45,974 ล้านบาท คนไข้ ชั ้นสอง-ชั ้นสาม” รวมถึงคุณภาพที่ลดลง ตัวอย่างเช่น ทัศนะ
ได้ผลตอบแทน 4.04%
คติ ก ารให้ บริ ก ารแก่ ผ้ ู บริ ก ารตนโดยเจ้ าหน้ าที่ ท างการแพทย์ ,
รายงานข่าว ระบุวา่ การทีก่ องทุนประกันสังคมเติบโตอย่าง คุณภาพของยารักษาโรคที่จ่ายให้ กับผู้ประกันตน, การเก็บค่าบริ การ
รวดเร็วจนมีเงินลงทุนมากถึง 707,730 ล้านบาท ในปจจุ ั บนั นัน้ ส่วน พิเศษอื่นๆ เป็ นต้ น
หนึ่ ง เป็ น เงิน สมทบสะสม (หลัง หักค่าใช้จ่ ายสิท ธิประโยชน์ ท งั ้ 7
กรณี) จากฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง และรัฐบาล จานวน 527,224 ล้าน และสิง่ ที่คนทํางานจะต้ องตระหนักและเตรี ยมตังให้ พร้ อมก็
บาท อีก ส่ว นหนึ่ ง เป็ น ผลตอบแทนจากการลงทุ น สะสมจ านวน คือการออกมาเรี ยกร้ องสิทธิ เมื่อ เราเสียผลประโยชน์ จ ากการรั กษา
180,506 ล้านบาท ทาให้กองทุนมั ่นคงมาก ผ่านระบบประกันสังคม เพราะเงินสมทบที่เราได้ จ่ายไปทั ้งทางตรง -
ทางอ้ อมนัน้ ล้ วนแล้ ว แต่มาจากหยาดเหงื่อของเราทั ้งสิ ้น และการที่
คนไข้ ชนั ้ สอง-ชัน้ สาม
เราจะนิ่งเฉยหรือรับสภาพแบบ “ขอไปที” นั ้นคงเป็ นไปไม่ได้ อีกแล้ ว.
"การสร้ างหลัก ประกั น ให้ แก่ ลู ก จ้ างที่ ทํ า งานในสถาน
ประกอบการ ให้ ได้ รั บ ความคุ้ มครองเมื่ อ ประสบอั น ตราย หรื อ
ร้ องเรี ยนเกี่ยวกับเรื่ องประกันสังคมได้ ท่ ี …
สานักงานประกันสังคม สายด่วนโทร.1506 www.sso.go.th
โฆษกกระทรวงแรงงานหมายเลข 02-232-1024 แฟกซ์ 02-245-2870

พื้นที่ประชาสัมพันธ์

Dignity Returns โรงงานของคนงาน สินค้าของคนงาน โดยคนงาน เพื่อคนงาน


www.dignityreturns.com
dignity@dignityreturns.com

โทรศัพท์ ๐๒ ๘๙๙ ๐๔๔๔๕-๖ โทรสาร ๐๒ ๘๙๙ ๐๔๔๔๖


โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๙ ๗๗๙ ๙๓๖๔, ๐๘๙ ๔๐๑ ๘๓๔๘

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 9


บทความ >>

“การเมือง” คือ “เรื่องของเรา”

บุญยืน สุขใหม่

หลายครั้งและหลายโอกาสที่ผมมักได้ยินผู้นาแรงงานและผู้ใช้แรงงานพูดอยู่เสมอว่า “เราเป็นผู้ใช้แรงงาน
ไม่ควรเข้าไปยุ่งกับเรื่องการเมือง” ซึ่งโดยส่วนตัวแล้วไม่เห็นด้วยกับคากล่าวนั้นอย่างยิ่ง เพราะว่าการเมือง
เป็นเรื่องของคนทุกคนที่จะต้องให้ความสาคัญ เพราะตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับตาลง หรือตั้งแต่เกิดจนตาย
การเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีการดารงชีวิตของเราตลอดเวลา เราต้องเรียนรู้เพื่อนาสิ่งที่ได้รู้มาวิเคราะห์
ข้อมูล ว่าอะไรควรทาหรืออะไรไม่ควรทา ในขณะที่สถานการณ์ทางการเมืองที่มีการแบ่งขั้วอย่างชัดเจน
และสุดโต่งทางความคิด เราในฐานะที่เป็นกรรมกรเป็นชนชั้นล่างหรือรากฐานของสังคมและเศรษฐกิจ
จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรักษาระยะห่างและความสัมพันธ์ทางการเมืองกับแต่ละฝ่ายให้ชัดเจน แต่ไม่ใช่เป็น
กลางเพราะในโลกแห่งความเป็นจริงนั้นความเป็นกลางมันไม่มี
ั บนั ไม่วา่ จะเป็นรัฐบาลทีม่ าจากทหารหรือรัฐบาลทีม่ าจากการเลือกตัง้ ตามรัฐธรรมนู ญที่
จากบทเรียนของแรงงานในอดีตจนถึงปจจุ
หลายคนบอกว่าเป็นประชาธิปไตย ชนชันกรรมาชี
้ พหรือผูใ้ ช้แรงงานก็ยงั เป็นชนชันที
้ ถ่ ูกกดขีข่ ูดรีดและถูกเอาเปรียบอยู่ตลอดเวลา เราไม่
สามารถที่จะปลดปล่อยพันธนาการอันหนักหน่ วงที่ถูกกดทับอยู่บนบ่าลงได้ เราไม่ม ีแม้แต่โอกาสที่จ ะเลือกผูแ้ ทนที่เ ป็ นของชนชัน้ ผูใ้ ช้
แรงงานของเราเองอย่างแท้จริงได้

10 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


ั บนั คือ การตีความหมายหรือการเข้าใจความหมายของคาว่า “กรรมกร” มักถูกบิดเบือนไป กรรมกรที่อยู่
มีสงิ่ ทีน่ ่าเป็นห่วงในปจจุ
ในโรงงานก็ถู กแบ่ง ออกเป็ น คอปกขาวกับปกน้ าเงิน และที่ส าคัญ คือ แรงงานนอกระบบซึ่ งส่ว นใหญ่ อ ยู่ใ นภาคเกษตรกรรมก็ถู กแบ่ง
ออกเป็นอีกกลุ่มหนึ่ง ซึง่ ในความเป็นจริงแล้วคนงานไม่วา่ จะอยู่สว่ นไหนของสังคมก็แล้วแต่ทุกคนถือว่าเป็ นกรรมกร เพราะต้องใช้แรงงาน
เพื่อให้ได้คา่ จ้าง หรือค่าตอบแทนซึง่ อาจเป็นเงินหรือสิง่ ของก็ได้

วันนี้กรรมกรได้เรียนรูอ้ ะไรบ้างจากความขัดแย้งทางการเมืองในครังนี
้ ้ การต่อสูก้ นั ของสงครามตัวแทนระหว่างชนชัน้ “คือชนชัน้ ผู้
้ ้ไม่วา่ ใครจะเป็นฝ่ายชนะกรรมกรอย่างเราก็จะไม่ได้อะไร เพราะสิทธิ ์และเสียงของเรานัน้ มันถูกกลืนหายเข้าไป
กดขีก่ บั ผูถ้ ูกกดขี”่ ในครังนี
ในระบบอุตสาหกรรมแล้ว โอกาสทีก่ รรมกรอย่างเราจะกลับไปใช้สทิ ธิ ์เลือกตัง้ ตามที่บญ ั ญัติไว้ในรัฐธรรมนู ญนัน้ มีไม่ถึง ๕๐% หรือถ้าคิด
เป็นจานวนของเสียงก็ไม่เกิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ เสียง จากจานวนแรงงานในระบบประมาณเกือบสิบล้านคน ซึ่งกระจายอยู่ท ั ่วประเทศ นี่คอื
เหตุผ ลหนึ่ งที่ว่าท าไมนักการเมือ งจึงไม่ให้ความส าคัญ กับพี่น้ อ งกรรมกรอย่างเรา ทัง้ ที่ในความเป็ นจริง เราคือ พลัง ในการขับเคลื่อ น
เศรษฐกิจของประเทศ

มีท่านที่อยากเป็ นผูน้ ากรรมกรแต่ความสามารถไม่ถึงหลายคนออกมาบ่นว่าการชุมนุ มของคนเสื้อแดง ทาให้ต้องมีคนตกงาน


ได้รบั ความเดือดร้อนจาการเรียกร้องทางการเมือ ง ซึ่ง แท้จริงแล้ว คนที่อ อกมาชุมนุ ม เหล่านัน้ ก็ คือ พ่ อ แม่ หรือ พี่น้องของเราเอง แต่
กรรมกรทัง้ หลายกลับเพิกเฉย ช่างเป็ นเรื่องน่ าประหลาดใจยิ่งนัก หลายคนออกมาโอดครวญว่าต้องตกงานขาดหนทางในการประกอบ
อาชีพ

แต่ผมกลับมองว่ามันไม่ใช่เรือ่ งแปลกเพราะตอนวิกฤติเศรษฐกิจ ปี ๒๕๔๐ และ ปี ๒๕๕๑ นัน้ มีคนตกงานมากมายแต่ไม่เห็นมี


ใครหน้าไหนออกมาเรียกร้องให้รฐั บาลต้องปกป้องผลประโยชน์ของคนงาน แต่ในทางตรงกันข้ามกลับไปเร่งเชิญชวนให้ต่างประเทศเข้ามา
ลงทุนในประเทศไทยโดยเอาทรัพยากรธรรมชาติที่เรามีอยู่อย่างจากัดเป็ นสิง่ ล่อใจและที่สาคัญคือไปบอกกับชาวต่างชาติว่ าแรงงานไทย
ฝี มอื ดีและราคาถูก ท่านผูน้ าประเทศทีเ่ คารพครับท่านดูถูกและเหยียบย่าศักดิ ์ศรีของชนชันกรรมกรอย่
้ างเราโดยไร้ยางอายจริงๆ

เมือ่ เหตุการณ์ชมุ นุมทางการเมืองสิน้ สุด นับจานวนคนตายได้เก้าสิบพอดี มีคนแอบกระซิบบอกว่า “ขาดไปอีกเพียงเก้าคนไม่งนั ้


ตัวเลขจะสวยกว่านี้”เก้าสิบชีวติ กับผูบ้ าดเจ็บกว่าสองพัน มันคือการสูญ เสียที่ยิ่งใหญ่ มากมายนักสาหรับครอบครัวของเขา นี่คอื รางวัล
สาหรับผูก้ ล้าหรือผูท้ บี่ งั อาจร้องขอให้มกี ารเลือกตัง้ ใหม่หรือผูท้ ตี่ อ้ งการประชาธิปไตย

หลังสิน้ เสียงปืนและยังไม่สน้ิ กลิน่ คาวเลือดดีนกั ก็ได้ยนิ เสียงเชิญชวนของผูน้ าแรงงานขอเข้าพบนายกรัฐมนตรีเพื่อเยียวยาคน


ตกงานจากเหตุการณ์ทางการเมือง “โอ้พระเจ้า!คนตกงานช่างน่ าสงสารยิ่งนัก ?” ส่วนคนเจ็บและคนตายจะเป็ นใครหรือเป็ นอย่างไรช่าง
หัวมัน “ไม่ใช่เรือ่ งของกรู........” หลายคนทีเ่ สียชีวติ จากเหตุการณ์ในครัง้ นี้เป็ นกรรมกร เป็ นผูใ้ ช้แรงงานทัง้ ในระบบและนอกระบบ หลาย
คนทีร่ อดชีวติ ออกมาต้องอยู่อย่างวิตกหวาดหวั ่นและความกลัวจากการตามล่าหรือข่มขูท่ ุกรูปแบบ นี่หรือประเทศที่ได้ช่อื ว่ามีการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตย นักวิชาการหรือนักสิทธิมนุษยชนต่างๆ ก็เกิดอาการหูหนวกตาบอดกะทันหันอย่ างไม่น่าเชื่อ หรือเขาเหล่านัน้ ดู
หนัง Hollywood มากเกินไปจนลืมตัวว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนัน้ เป็ นเหตุการณ์ จริง และคิดว่าเป็ นหนังที่มผี กู้ ากับการแสดงจบจากสถาบัน
อันลือชือ่ จากต่างประเทศ

ในการลุกขับเคลื่อนต่อสูข้ องกลุ่มคนเสื้อแดงในครัง้ นี้ ยากนักที่จะลืมเลือนในความรูส้ กึ ของผม เพราะผมรูส้ กึ ว่า พวกเขาต่อสู้


แบบลืมโลกทัง้ โลก และใจจดใจจ่ออยู่กบั เหตุการณ์ขา้ งหน้าคว้าหนังสติกออกมายิงทายท้ากับห่ากระสุนปื นข้างหน้าอย่างไม่เกรงกลัวใดๆ
เขาคิดเพียงว่า “เขาทาในสิง่ ทีถ่ ูกต้อง” หลอมหัวใจและจิตวิญญาณของตัวเองเข้ากับสิง่ ทีเ่ ขาทา ห้วงเวลานัน้ เป็ นห้วงเวลาที่เขามีความสุข
สุขจากการได้ทาในสิง่ ทีต่ นเองรัก ถึงแม้วา่ สิง่ ตอบแทนมันอาจหมายถึงความตายที่รออยู่ตรงหน้า สิง่ ที่พวกเขาทานัน้ ไม่ต้องมานั ่งตีราคา
คิดถึงค่าตอบแทนหรือเสียงแซ่ซอ้ งสรรเสริญใดๆ เพราะค่าตอบแทนทีไ่ ด้มนั คือ “ความตาย”

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 11


รายงานพิเศษ >>

สิทธิการใช้ รถจักรยานยนต์ ของแรงงานข้ ามชาติในประเทศไทย

โครงการยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ามชาติ
มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา

บทนา กล่าวคือบริ การด้ านขนส่งมวลชนยังไม่สามารถทํ าได้ ทั่วถึงทุกพื ้นที่


ของจังหวัด และมีราคาแพง ทําให้ ชาวเชียงใหม่รวมทั ้งแรงงานข้ าม
แรงงานข้ ามชาติ จ ากประเทศเพื่ อ นบ้ า นเดิ น ทางเข้ า มา
ชาติต้องพึง่ พายานพาหนะส่วนตัวเป็ นสําคัญ ทําให้ แรงงานข้ ามชาติ
ทํางานในประเทศไทยเป็ นจํานวนมาก ทั ้งจาก ลาว กัมพูชา และพม่า
ก็ต้องใช้ รถจักรยานยนต์เป็ นพาหนะในการดําเนินชีวิตประจําวัน
ซึง่ มีประมาณสองล้ านคนในประเทศไทย โดยแรงงานข้ ามชาติเหล่านี ้
มี เ หตุ ผ ลที่ สํ า คั ญ หลายประการที่ ต้ องเดิ น ทางเข้ ามาทํ า งานใน สืบเนื่องจากเหตุการณ์ การบุกเข้ าตรวจค้ นบ้ านพักคนงาน
ประเทศไทย เช่นปั ญหาการสู้รบ ความแตกต่ างของค่าจ้ าง เป็ นต้ น ก่อสร้ าง บ้ านไร่ หมู่ที่ 3 ต.หนองควาย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็ นที่
แรงงานข้ ามชาติที่เข้ ามาในประเทศไทยมักทํางาน ประมง ก่อสร้ าง อยู่อาศัยของแรงงานข้ ามชาติชาวไทใหญ่ จํานวนมาก โดยเมื่อเวลา
เกษตรกรรม แม่ บ้าน และงานอื่น ๆ ที่ มีความเสี่ยงสูงในด้ านความ ประมาณ 05.00 น.ของวันที่ 7 ธันวาคม 2550 เจ้ าหน้ าที่ตํารวจภูธร
ปลอดภัย ทั ้งทางด้ านร่างกาย และจิตใจ แต่เป็ นงานที่ส่งเสริ มต่อการ ภาค 5 กว่า 30 นายได้ เข้ าตรวจค้ นบ้ านพักอาศัย ค้ นตัวแรงงานและ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก และมีความจํ าเป็ นต่อชีวิ ต ได้ ยึ ด รถจั ก รยานยนต์ ซึ่ ง อยู่ ใ นความครอบครองของแรงงานไป
ความเป็ นอยู่ของชนชาวไทยอย่างยิ่ง ทั ้งหมด 27 คัน ต่อมาเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551 เวลาประมาณ
06.00 น.เจ้ าหน้ าที่ตํารวจจาก สภ.สันกําแพง ประมาณ 12 นายได้
นอกจากแรงงานข้ า มชาติ จ ะได้ ค่า จ้ า งและมี ชี วิ ตความ
บุกเข้ า ตรวจค้ น บ้ า นพักอาศัยของแรงงานข้ า มชาติ ช าวไทใหญ่ ที่
เป็ นอยู่ที่ตํ่ ากว่า มาตรฐานแล้ ว ยังประสบกับปั ญหาการเข้ าถึงสิท ธิ
หมู่ บ้ านกาญจน์ ก นก ตํ า บลต้ นเปา อํ า เภอสั น กํ า แพงและยึ ด
การใช้ รถ โดยเฉพาะในจังหวัดเชียงใหม่ ระบบการขนส่งมวลชนของ
รถจักรยานยนต์ ไป 3 คัน และเมื่อวันที่ 28 กุมภาพัน ธ์ 2551 เวลา
จังหวัดเชียงใหม่ที่มีความแตกต่างจากหลายๆ พื ้นที่ที่เป็ นเมื องใหญ่

12 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


ประมาณ 20.30 น. เจ้ า หน้ า ที่ตํา รวจ สภ.ช้ า งเผื อ ก ประมาณ 15 หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ องนี ร้ ั บ ข้ อ เสนอและนํ า ไปพิ จ ารณาเพื่ อ แก้ ไ ข
นายได้ เข้ าตรวจศูน ย์ ก ารเรี ย นรู้ แรงงานข้ ามชาติ เลขที่ 29/8 ถ. ปั ญหา
เทพารักษ์ ต.ช้ างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่และได้ ยึดรถจักรยานยนต์
อย่างไรก็ ตาม ทางโครงการยุติธรรมเพื่ อแรงงานข้ า มชาติ
ของแรงงานกว่า 80 คัน โดยแรงงานต้ องเสียค่าปรับในอัตราสูง คื อ
มูลนิธิ เ พื่อ สิทธิ ม นุษ ยชนและการพัฒ นา (มสพ.) ได้ ทํา การสํารวจ
ข้ อหาละ 1,000 บาท และเสียค่าปรับ 1,000-2,000 บาทต่อการปรับ
ข้ อ มูลต่า งๆ และติ ดตามความคื บหน้ า ของการแก้ ไ ขปั ญหานี ้ และ
หนึง่ ครั ้ง หลังจากการเข้ าตรวจค้ นของเจ้ าหน้ าที่ตํารวจ มูลนิธิผสาน
จากการสํารวจสถานการณ์ การใช้ รถจักรยานยนต์ ของแรงงานข้ าม
วั ฒ นธรรมได้ ร้ องเรี ย นไปยั ง หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น
ชาติ ใ นจัง หวั ดเชี ย งใหม่ ภายหลัง จากการประชุ ม หารื อ ดั ง กล่า ว
สํา นัก งานตํ า รวจแห่ ง ชาติ คณะกรรมการสิท ธิ ม นุษ ยชนแห่ ง ชาติ
พบว่าสถานการณ์การปรับของเจ้ าหน้ าที่ตํารวจมีความเปลี่ยนแปลง
สํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน กระทรวงยุติธรรม และกองบัญชาการ
ในทิศทางที่ดีขึ ้น กล่าวคือ แรงงานข้ ามชาติมักโดนปรับใน 2 ข้ อหา
ตํารวจภูธรภาค 5 เพื่อให้ เกิดตรวจสอบและทําให้ การเข้ าตรวจค้ นยุติ
คือ ข้ อหาไม่มีใบขับขี่และไม่มีชื่ออยู่ในสมุดคู่มือรถ โดยปรับข้ อหาละ
ลง รวมทั ้งสถานการณ์การจับ ปรับ ยึดรถของแรงงานข้ ามชาติเมื่อตั ้ง
500 บาท ในส่ ว นของประเด็ น การยึ ด รถนั น้ ยั ง คงมี ป รากฏแต่ มี
ด่ า น หรื อ การจับ บนท้ องถนนดี ขึน้ จากเหตุการณ์ ดัง กล่า วนี ้ ทาง
แนวโน้ มลดลง
โครงการยุติธรรมเพื่อแรงงานข้ ามชาติ มูลนิธิเพื่อสิทธิ มนุษยชนและ
การพัฒนา จึงได้ เข้ าไปเก็บข้ อมูล และเริ่มรณรงค์ การเข้ าถึงสิทธิ ของ ดัง นัน้ มูล นิ ธิ เ พื่ อ สิท ธิ ม นุ ษ ยชนและการพัฒ นาจึ ง ได้ เ ข้ า
คนกลุม่ นี ้ หารือกับกรมการขนส่งทางบก โดยเข้ าพบตัวแทนของกรมการขนส่ง
ทางบก นายรณยุท ธ ตั ้งรวมทรัพย์ รองอธิ บดี ฝ่ายปฏิ บัติแ ละคณะ
สิง่ ที่เกิดขึ ้นนี ้จึงเป็ นข้ อกังวลของปั ญหาเรื่ องสิทธิ มนุษยชน
เมื่ อ วั น ที่ 1 กั น ยายน 2552 เกี่ ย วกั บ ความชั ด เจน กรณี ก ารจด
ในประเทศไทยอย่างมาก เมื่อแรงงานข้ ามชาติไม่ได้ รับสิทธิ ในการใช้
ทะเบี ยนโอนเป็ นเจ้ าของรถและการขอทํ า ใบอนุญ าตขั บ รถของ
รถจักรยานยนต์ ทั ้งๆที่เป็ นสิทธิพื ้นฐานทางสังคม ทางมูลนิธิฯมีความ
แรงงานข้ า มชาติ โดยมูลนิ ธิ เ พื่อ สิท ธิ ม นุษ ยชนและการพัฒ นาขอ
คาดหวั ง และ มี ค วามพยายามใน การสนั บ สนุ น ให้ เกิ ด การ
เสนอ แนวทางในการสร้ างความชัดเจนในเรื่ องดัง กล่า ว ด้ ว ยการ
เปลี่ ย นแปลงทางนโยบาย และระเบี ย บต่ า ง ๆ เพื่ อ การปกป้ อง
หารื อ นี ก้ รมการขนส่ ง ได้ พิ จ ารณาตามข้ อกฎหมาย และเห็ น ว่ า
แรงงานข้ า มชาติ แ ละสนับ สนุน ให้ แ รงงานได้ รับ สิท ธิ เ บื อ้ งต้ นทาง
แรงงานข้ ามชาติสามารถโอนรถและจดทะเบียนเป็ นเจ้ าของรถได้ ซึ่ง
สังคม
เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2552 กรมการขนส่งทางบกได้ ออกหนังสือเวียน
การขับเคลื่อนและความก้ าวหน้ าในการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ที่ คค0408/ว244 อนุญาตให้ แ รงงานข้ ามชาติสามารถจดทะเบียน
เป็ นเจ้ าของรถได้ เวียนไปยังสํานักงานขนส่งทุกจังหวัด
จากการประชุม หน่ว ยงานที่ เกี่ ยวข้ องทุกฝ่ าย ในประเด็ น
แรงงานข้ ามชาติกบั ปั ญหาการใช้ รถจักรยานยนต์ ในจังหวัดเชียงใหม่ สําหรับประเด็นเรื่ องใบอนุญาตขับรถของแรงงานข้ ามชาติ
เมื่อวันที่18มีนาคม 2552 โดยตัวแทนกลุม่ แรงงานข้ ามชาติในจังหวัด นั ้น ได้ มีการปรึกษา หารื อร่ วมกันอีกครัง้ ในวันที่ 22 มกราคม 2553
เชียงใหม่ ได้ มีข้ อเสนอคือ สํานักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ยอมรั บ ณ สํานักงานคณะกรรมการสิท ธิ มนุษยชนแห่ งชาติ ซึ่งหน่ วยงานที่
เอกสารของแรงงานข้ ามชาติ เ พื่ อ เป็ นหลัก ฐานประกอบการขอ เกี่ ย วข้ อ งโดยเฉพาะสภาความมั่น คงแห่ ง ชาติ ไ ด้ ใ ห้ ความเห็ น ถึ ง
ใบอนุญาตขับรถและจดทะเบียนเป็ นเจ้ าของรถ ซึ่งในระหว่างที่ยังไม่ ความเกี่ยวโยงกับ การพิ สจู น์ สัญชาติ เมื่อแรงงานข้ ามชาติผ่านการ
มีมาตรการหรือนโยบายออกมาชัดเจน ขอให้ จัดอบรมเพื่อการขับขี่ที่ พิสูจ น์ สัญชาติ จะมี สถานะกลายเป็ นเดิ น ทางเข้ า ประเทศโดยถูก
ปลอดภัยบนท้ องถนน และขอให้ เจ้ าหน้ าที่ตํารวจปรับในอัตราที่เป็ น กฎหมาย ซึ่ง สามารถทํ า ใบอนุ ญ าตขั บ รถได้ ทั น ที ประเด็ น เรื่ อ ง
มาตรฐานเดี ย วกัน ตามกฎหมายที่ เ ท่ า กับ คนไทย ซึ่ง ตัว แทนจาก ใบอนุญาตขับรถของแรงงานข้ ามชาติจึงต้ องพิจารณาต่อไป ในวันที่
22 มี นาคม 2553 กรมการขนส่งทางบกได้ อ อกหนังสือ เวี ยนที่ คค

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 13


0408/ว.108 อนุญาตให้ บุคคลไร้ สญ
ั ชาติและชนกลุ่มน้ อย 14 กลุ่ม สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อให้ เข้ ามาพิจารณาร่ วมขับเคลื่อนถึงสิทธิ
สามารถทําใบอนุญาตขับรถได้ ซึ่งส่งผลดีต่อกลุ่มดังกล่าวอย่างมาก ของคนกลุม่ นี ้ และประสาน หารื อ กับหน่วยงานในพื ้นที่ โดยเฉพาะ
อย่างไรก็ดีการให้ สทิ ธิ์ครั ้งนี ้ไม่ได้ ครอบคลุมถึงการให้ สิทธิ์ กับแรงงาน จัง หวัดเชียงใหม่ เพื่ อให้ เกิ ดการลดหย่อ นปั ญหา และหาทางออก
ข้ ามชาติ สําหรับปั ญหาการใช้ รถจักรยานยนต์ของแรงงานข้ ามชาติต่อไป

ด้ วยความยังไม่ชัดเจนในสิทธิ การใช้ รถจักรยานยนต์ ของ


สรุ ป เหตุ ก ารณ์ แ ละพั ฒ นาการการใช้ รถจั ก รยานยนต์ ของ
แรงงานข้ ามชาติ ทางมูลนิธิฯ จึงมีความกังวลเกี่ ยวกับสิท ธิ ของคน
แรงงานข้ ามชาติในประเทศไทย
กลุม่ นี ้ โดยเฉพาะเรื่องความปลอดภัยบนท้ องถนนนั ้นเป็ นประเด็นซึ่ง ธัน วาคม 2550 - กุมภาพันธ์ 2551 เก็ บข้ อมูลสถานการณ์ การเข้ า
ไม่อาจรอเวลาได้ จึงหารื อ กับหน่วยงานซึ่งเกี่ยวข้ องเพื่อร่ วมกันหา ตรวจค้ นที่พกั อาศัยของแรงงาน
แนวทางการแก้ ไขปั ญหานี ้หลายครัง้ และล่าสุดในวันที่ 11 มิถุนายน 21 กุ ม ภาพั น ธ์ 2551 มู ล นิ ธิ ผ สานวั ฒ นธรรมร้ องเรี ยนไปยั ง
2553 ได้ มี การจั ดการหารื อ ร่ ว มกั น ซึ่ง กรมการขนส่ง ทางบก ให้ สํ า นั ก งานตํ า รวจแห่ ง ชาติ กองบั ญ ชาการตํ า รวจภู ธ รภ าค 5
คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุษ ยชนแห่ ง ชาติ แ ละ สํา นัก งานผู้ต รวจการ
ความเห็นถึงประเด็นการใช้ รถจักรยานยนต์ ของแรงงานข้ ามชาติเป็ น
แผ่นดิน กรณีการเข้ าตรวจบ้ านพักอาศัยแรงงาน
ประเด็ น ซึ่ง มี ความเกี่ ยวโยงกับ ความมั่น คงของประเทศ นโยบาย
30 เมษายน 2551 ตํ ารวจภูธ รภาค 5 ตอบข้ อร้ องเรี ยนโดยแจ้ ง ว่ า
เกี่ยวกับการให้ สิทธิ์ จึงต้ องผ่ านความเห็นชอบจากสภาความมั่นคง เจ้ าหน้ าที่ ตํ า รวจได้ ปฏิ บั ติ ไ ปตามอํ า นาจหน้ าที่ ต ามระเบี ย บที่
แห่ ง ชาติ ก่ อ น และกรมการขนส่ง พร้ อมที่ จ ะดํ า เนิ น การตาม เรื่ อ ง กฎหมายกําหนด
ใบอนุญาตขับรถของแรงงานข้ ามชาติจึงยัง ไม่ ได้ รับ การให้ สิทธิ แ ต่ 20 สิงหาคม 2551 สํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินแจ้ งผลการวินิจฉับ
อย่า งใด และต้ อ งผ่า นความเห็น ชอบของสภาความมั่นคงแห่ง ชาติ โดยให้ ตํารวจภูธรภาค 5 กล่าวตักเตือนเจ้ าหน้ าที่เกี่ยวกับการจับกุม
ก่อน ดังกล่าว
4 เมษายน 2551 สํานักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ปฏิ เสธครัง้ แรก
การด าเนิ น การไปข้ างหน้ า ประเด็ น ใบอนุ ญ าตขั บ รถของ ในการขอทําใบอนุญาตขับรถของแรงงานข้ ามชาติ
แรงงานข้ ามชาติ 15 พฤษภาคม 2551 แรงงานข้ ามชาติอทุ ธรณ์คําสัง่ สํานักงานขนส่ง
จังหวัดเชียงใหม่ ขอทราบเหตุผลในการไม่ออกใบอนุญาตขับรถให้
หลังจากที่กรมการขนส่งทางบก ได้ ออกนโยบายอนุญาตให้
30 พฤษภาคม 2551 สํานักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ ตอบเหตุผล
แรงงานข้ า มชาติ พ ม่ า ลาว และกั ม พูช าสามารถจดทะเบี ยนเป็ น การไม่ออกใบอนุญาตขับรถให้
เจ้ าของรถ โอนรถได้ และได้ อนุญาตให้ บุคคลไร้ สญ
ั ชาติและชนกลุ่ม 21 กรกฎาคม 2551 มูลนิธิผสานวัฒนธรรม อุทธรณ์ ไปยังกรมการ
น้ อย 14 กลุ่ม ทําใบอนุญาตขับรถได้ ปรากฏให้ เห็นถึงแรงงานข้ า ม ขนส่งทางบก ขอทราบเหตุผล
ชาติไปดําเนิน จดทะเบียนเป็ นเจ้ าของกรรมสิท ธิ์ ในทรัพย์ สิน ตนเอง 21 กุ ม ภาพั น ธ์ 2552 สมช. ให้ ความเห็ น ให้ สิ ท ธิ ใ นการทํ า
จํ า นวนมาก และบุ ค คลไร้ สัญ ชาติ แ ละชนกลุ่ม น้ อยที่ รอคอยมา ใบอนุญาตขับรถให้ บุคคลไร้ สัญชาติแ ละชนกลุ่มน้ อย 14 กลุ่ม(ไม่
รวมถึงแรงงานข้ ามชาติ)
ยาวนานกว่า 15 ปี ได้ สทิ ธิ์ของการมีใบอนุญาตขับรถ
10 มีนาคม 2552 แรงงานข้ ามชาติยื่นคําร้ องขอจดทะเบียนโอนเป็ น
โครงการยุติธรรมแรงงานข้ ามชาติ มูลนิธิเพื่อสิทธิ มนุษยชน เจ้ าของรถจักรยานยนต์ ต่อสํานักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่
และการพัฒนา มีความกังวลถึงเรื่องความปลอดภัยบนท้ องถนน เมื่อ 18 มีนาคม 2552 ประชุมหารื อกับหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้ องในจังหวัด
เชียงใหม่ เกี่ ยวกับสิทธิ การใช้ รถจักรยานยนต์ ของแรงงานข้ ามชาติ
แรงงานข้ ามชาติใช้ รถจักรยานยนต์ โดยไม่ผ่านการฝึ กอบรม ทําให้ ไม่
และปั ญหาการปรับ จับ ยึดรถ
ทราบกฎระเบียบของการขับขี่อย่างถูกต้ อง จึงอาจก่อให้ เกิดอุบัติเหตุ
20 เมษายน 2552 แรงงานข้ ามชาติชาวไทใหญ่ 3 รายยื่นคําร้ องขอ
บนท้ องถนนได้ ทําให้ เกิดความไม่มนั่ คงของสังคมมากยิ่งขึ ้น มูลนิธิฯ ทําใบอนุญาตขับรถ ต่อสํานักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่
มีค วามพยายามในการผลัก ดัน เพื่ อ ให้ แรงงานข้ า มชาติ ไ ด้ รับ สิท ธิ์ 30 เมษายน 2552 สํานักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ แจ้ งเหตุผลไม่
โดยร่ วมประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ เช่น สํา นักงานคณะกรรมการ รับคําร้ องจดทะเบียนโอนรถจักรยานยนต์
14 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553
7 พฤษภาคม 2552 สํานักงานขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ แจ้ งเหตุผลไม่ 14 ตุลาคม 2552 กรมการขนส่งทางบก อนุญาตให้ แรงงานข้ ามชาติ
รับคําร้ อ ง โดยแรงงานข้ ามชาติ ขาดคุณสมบัติในการทําใบอนุญาต สามารถจดทะเบียนเป็ นเจ้ าของรถได้
ขับรถ 20 มกราคม 2553 คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุษ ยชนแห่ ง ชาติ เรี ย ก
15 พฤษภาคม 2552 แรงงานข้ ามชาติ อุทธรณ์ คําสัง่ ของสํานักงาน ประชุมกับหน่วยงานที่เ กี่ยวข้ องเกี่ยวกับการใช้ รถจักรยานยนต์ ของ
ขนส่งจังหวัดเชียงใหม่อีกครั ้ง กรณีขอจดทะเบียนโอนเป็ นเจ้ าของรถ แรงงานข้ ามชาติในประเทศไทย
16 มิ ถุน ายน 2552 สํา นักงานขนส่ง จัง หวัดเชี ยงใหม่ ส่ง เรื่ อ งให้ 29 มกราคม 2553 กรมการขนส่งทางบก ออกหนังสือเวียนแจ้ งเรื่ อง
กรมการขนส่งทางบก เพื่ออนุญาตให้ จดทะเบียนโอนเป็ นเจ้ าของรถ เอกสารของแรงงานข้ ามชาติ ที่ใช้ ในการดําเนินการจดทะเบียนเป็ น
22 มิ ถุน ายน 2552 แรงงานข้ า มชาติ ช าวไทใหญ่ 3 คน อุท ธรณ์ เจ้ าของรถ
คํ า สั่ง ของสํ า นั ก งานขนส่ ง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ที่ ไ ม่ อ นุ ญ าตให้ ทํ า 22 มีนาคม 2010 กรมการขนส่งทางบก อนุญาตให้ บุคคลไร้ สญ ั ชาติ
ใบอนุญาตขับรถ และชนกลุม่ น้ อย 14 กลุม่ สามารถทําใบอนุญาตขับรถได้
1 กรกฎาคม 2552 สามารถจดทะเบียนโอนเป็ นเจ้ าของรถได้ โอน 11 มิถุนายน 2553 มูลนิธิฯ จัดประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องใน
จากรถของคนไทยให้ เป็ นของแรงงานข้ ามชาติ จัง หวัด เชี ยงใหม่ กรมการขนส่ ง ทางบกและคณะกรรมการสิ ท ธิ
20 กรกฎาคม 2552 สํ า นัก งานขนส่ง จั ง หวั ดเชี ยงใหม่ ตอบคํ า มนุษ ยชนแห่ งชาติ เพื่ อหารื อ ปั ญหาของแรงงานข้ า มชาติใ นการใช้
อุท ธรณ์ เรื่ องใบอนุญาตขับ รถ โดยให้ รอนโยบายและระเบี ยบจาก รถจักรยานยนต์ โดยเห็นว่ าประเด็ นนี ้เกี่ยวข้ องกับความมั่นคงของ
กรมการขนส่งต้ นสังกัดให้ อนุญาตก่อน ประเทศ การพิจารณาเรื่องใบอนุญาตขับรถจึงต้ องผ่านการพิจารณา
17 สิงหาคม 2552 ตัว แทนมูลนิ ธิฯ เข้ า พบ หารื อ กับตํ า รวจภู ธ ร จากสภาความมัน่ คงแห่งชาติก่อน
จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์ การจราจร โดยยืนยันการปรับที่ข้อหาละ 500 20 กรกฎาคม 2553 ตัวแทนแรงงานข้ ามชาติชาวไทใหญ่ ยื่นฟ้อง
บาท กรมการขนส่ ง ทางบก สํา นัก งานขนส่ง จัง หวั ดเชี ยงใหม่ ต่ อ ศาล
1 กันยายน 2552 มูลนิธิฯ เข้ าพบกรมการขนส่งทางบก เพื่อหารื อ ปกครองจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพิจารณาการให้ สทิ ธิ
แนวทางแก้ ไขปั ญหา

จับตาประเด็นร้อน >>

ศาลแรงงานชี้ "ทรู" เลิกจ้างไม่เป็นธรรม


จากกรณีพนักงานบริษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 3 ปี ประกอบกับโครงสร้ างบริษัทมีการเปลีย่ นแปลง และนายจ้ างก็
29 คน รวมตัวยื่นขอจดทะเบียนและเป็ นกรรม การสหภาพแรงงาน ไม่มีความประสงค์ที่จะรับกลับเข้ าทํางาน ศาลจึงสัง่ บริษัท ทรูฯ จ่าย
เพื่อชีวิตทรู เมื่อวันที่ 28 ก.พ. 50 แต่ต่อมาบริษัทได้ มีคําสัง่ เลิกจ้ าง ค่าชดเชยกับพนักงานทั ้งหมดตามกฎหมาย ด้ านนายอัษฎาวุธ เที่ยง
พนักงาน 20 คน โดยอ้ างว่าประสบภาวะขาดทุนและยอมจ่ายเงิน ทอง อดีตพนักงานบริษัท ทรูฯ กล่าวว่า ทั ้งจากแรงกดดันและปั ญหา
ชดเชยตามกฎหมาย แต่พนักงานไม่ยอมจึงได้ ดําเนินการยื่นฟ้องร้ อง เศรษฐกิจ ทําให้ ปัจจุบนั เหลือเพื่อนพนักงานที่ยังต้ องการดําเนินคดี
ต่อศาล ขอให้ บริษัทรับพนักงานกลับเข้ าทํางาน ต่อไปทั ้ง หมด 9 คน โดยวันนี ้อดีตพนักงานทั ้ง 9 คนมีมติไม่รับ
ค่าเสียหาย โดยจะขออุทธรณ์ ต่อศาล ขอให้ บริษัทรับกลับเข้ าทํางาน
เมือ่ วันที่ 22 ก.ค. 53 ศาลแรงงานกลางได้ ออกนัง่ บัลลังก์
ทั ้งนี ้ ยืนยันว่าพวกเขาไม่ได้ เป็ นปฎิปักษ์ ใดๆ กับนายจ้ างและบริษั ท
อ่านคําพิพากษาคดีที่ 1258-1273 /2550 และ 1544-1547/2550
เพียงแต่ต้องการตั ้งสหภาพแรงงานขึ ้นเพื่อเป็ นตัวกลางระหว่างองค์
โดยศาลได้ วินิจฉัยแล้ วเห็นว่า บริษัท ทรูฯ เลิกจ้ างไม่เป็ นธรรมจริง
กรและพนักงานให้ เป็ นเนื ้อเดียวกันเท่านั ้น แต่ผ้ บู ริหารอาจยังไม่
แต่ไม่สามารถรับกลับเข้ าทํางานได้ เนื่องจากคดีความมีอายุนานกว่า
เข้ าใจ หรือยังติดขัดกับคําว่าสหภาพแรงงาน.

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 15


ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย >>
พม่ าเปิ ดศู นย์ พิ สูจน์ สัญชาติช่ ั วคราว ที่ สหพันธ์ แรงงานธนาคารฯ ประณามการ มาตรการป้องกันแก้ ไขปั ญหาการเล่นพนัน
ระนอง สั่งพนักงานสละสิทธิ์หยุดงานในวันหยุด ฟุตบอล ในสหภาพแรงงาน
ครึ่ งปี
1 ก.ค. 2553 นายวันชาติ วงษ์ ชัยชนะ ผู้ว่า นายสุ ช าติ ตระกู ล หู ทิ พ ย์ หั ว หน้ าฝ่ าย
ราชการจังหวัดระนอง เปิ ดเผยกับว่า วันนี ้ 1 1 ก.ค. 53 - สหพัน ธ์ แ รงงานธนาคารและ แรงงานหญิ ง มู ล นิ ธิ เ พื่ อ นหญิ ง กล่ า วว่ า
ก.ค. 2553 ซึ่งเป็ นวันแรกที่ทางการพม่าจะ การเงิ นแห่ งประเทศไทย ออกแถลงการณ์ สนับสนุนนโยบายของทางกระทรวงและขอ
เปิ ดให้ บ ริ การศูน ย์ พิ สจู น์ สญ
ั ชาติ และออก ด่วนโดยมีมติประณามธนาคารพาณิชย์ ที่สงั่ เสนอ 3 แนวทางคื อ 1. ขอให้ กระทรวง
หนังสือเดินทางชั่วคราวที่จังหวัดระนอง ซึ่ง การให้ พนักงานละเมิดประกาศธนาคารแห่ง แรงงานสนับสนุนให้ น โยบายโรงงานสีขาว
ถื อ เป็ นการบริ การโดยเฉพาะการออก ประเทศไทย ด้ วยการสัง่ การให้ เปิ ดสาขาใน ขยายผลไปถึง ประเด็ น การพนัน 2. ขอให้
หนัง สือเดินทางชั่วคราวบนฝั่ ง ไทยเป็ นครั ง้ ห้ างสรรพสินค้ าและสาขาที่เปิ ดดํา เนินการ สํา นักงานสวัสดิ การและคุ้ม ครองแรงงาน
แรก และพื น้ ที่ แ รกที่ มี ก ารดํ า เนิ น การใน 7 วัน และกํา หนดให้ พนักงานต้ องจํ าใจให้ จังหวัดทัว่ ประเทศประสานสถานีตํารวจเฝ้า
ลักษณะนี ้ หลังจากที่ก่อนหน้ านี ้ทั ้งสองฝ่ าย ความยินยอมโดยการสละสิทธิ หยุดงานใน ระวั ง พื น้ ที่ เ สี่ ย ง และ 3. สนั บ สนุ น องค์
ได้ พยายามหารื อ ร่ วมกันเพื่อหาทางในการ วันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ซึง่ เป็ นวันหยุดภาค ความรู้ แ ละงบประมาณให้ เจ้ าหน้ า ที่ความ
ร่วมมือในเรื่องดังกล่าว ครึ่ ง ปี ของธนาคารพาณิ ช ย์ บริ ษั ท เงิ น ทุ น ปลอดภั ยและคณะกรรมการสวัส ดิ การที่
และบริ ษั ท เครดิ ต ฟองซิ เ อร์ โดยธนาคาร ประจําอยู่ทกุ สถานประกอบการทั่วประเทศ
โดยล่ า สุด ทางกรมการจั ด หางานได้ จั ด
พาณิชย์ทกุ แห่งยึดถือเป็ นประเพณีปฏิ บัติที่ เป็ นกลไกช่ ว ยสอดส่ อ งดู แ ลการพนั น ทุ ก
ประชุ ม หารื อระดั บ วิ ช าการไทย -พม่ า
สืบทอดกันมาอย่างยาวนานและต่อเนื่องจน ชนิด
เกี่ ย วกั บ การจั ด หาสถานตั ง้ ศู น ย์ พิ สู จ น์
เป็ นที่ยอมรับของลูกค้ าและประชาชนทั่วไป
สัญชาติ แ ละออกหนัง สือ เดิ น ทางชั่ว คราว พม.หาวิ ธี เ ยี ย วยาผู้ ได้ รั บผลการค้ า
ว่าวันดังกล่าวเป็ นวันหยุดธนาคาร
ให้ กั บ แรงงานพม่ า ที่ เ ข้ ามาทํ า งานใน มนุษย์
ประเทศไทย โดยมี น าย อู อ่ อ งเตี ยน เอก ตั ว แ ท น แ ร ง ง า น จี ้ ร ม ว . ค น ใ ห ม่
แก้ ปัญหาพนันในโรงงาน 4 ก.ค. 53 - นางพนิ ต า กํ า ภู ณ อยุ ธ ยา
อัค รราชฑูตพม่ า ประจํา ประเทศไทย และ
อธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาสั ง คมและสวั ส ดิ ก าร
นายนิ ร วั ช ช์ ปุ ณณกั น ต์ รองผู้ ว่ า ราชการ 2 ก.ค. 53 - นายสุ ช าติ ตระกู ล หู ทิ พ ย์ กล่าวถึง ปั ญหาการค้ ามนุษ ย์ ว่ า ปั จ จุบัน
จังหวัดระนอง เข้ าร่ วมประชุม โดยที่ประชุม หัวหน้ าฝ่ ายแรงงานหญิ ง มูลนิธิเพื่อนหญิ ง ประเทศไทยต้ องเผชิ ญกั บ ปั ญหาการค้ า
ได้ เห็ น ชอบให้ มี ก ารจั ด ตั ง้ ศู น ย์ พิ สู จ น์ พร้ อมด้ วยตั ว แทน กลุ่ม สหภาพแรงงาน มนุษย์ ที่มีความสลับซับซ้ อนมากขึ ้น ทั ้งใน
สัญชาติ แ ละออกหนัง สือ เดิ น ทางชั่ว คราว ต่ า งๆ ประกอบด้ ว ย กลุ่ม สหภาพแรงงาน รู ป แบบของการบัง คับขอทาน การล่อ ลวง
ให้ กับแรงงานพม่า ที่จังหวัดระนอง บริ เวณ อ้ อมน้ อยอ้ อมใหญ่ สหภาพแรงงานอัญมณี เข้ า สู่ก ารค้ า บริ การทางเพศ การบั ง คับ ใช้
แพปลาโกฟุก อยู่ใ นซอยชาวประมง ย่ า น และเครื่ องประดับสัมพันธ์ สหภาพแรงงาน แรงงาน และการบัง คับค้ าประเวณี ซึ่งส่ว น
สะพานปลาระนอง ต.ปากนํ า้ อ.เมื อ ง จ. อิ เ ล็ก ทรอนิ กส์ แ ละอุป กรณ์ ไ ฟฟ้ าสัม พัน ธ์ ใหญ่ เ กิ ด ขึน้ ในกลุ่ม หญิ ง และเด็ ก และได้
ระนอง ซึง่ จะทําให้ แรงงานสัญชาติพม่าที่ได้ สหภาพแรงงานกิ จ การสิ่ง ทอวาไทย เดิ น ขยายครอบคลุม ไปถึงกลุ่มเป้าหมายที่เป็ น
ยื่ น เอกสารการพิ สูจ น์ สั ญ ชาติ แ ล้ ว ได้ รั บ ทางเข้ ายื่นจดหมายเปิ ดผนึกต่อ นายเฉลิม ผู้ช าย โดยใช้ วิ ธี การลัก พาตั ว หลอกลวง
ควา มสะ ดวก รวดเ ร็ ว ปลอ ดภั ย และ ชั ย ศรี อ่ อ น รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง หรื อ ล่ อ ลวง เพื่ อ ไปแสวงหาระโยชน์ ใ น
ประหยัดค่าใช้ จ่าย แรงงาน เพื่อเรี ยกร้ องให้ กระทรวงแรงงานมี รูปแบบการบังคับใช้ แรงงาน

16 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


ดังนั ้น เพื่อให้ ความช่วยเหลือ และคุ้มครอง คนงานที เอฟโอ เทค โวยนายจ้ างเลิ ก ข้ อเรี ย กร้ องตามมาตรา 13 แล้ ว ถ้ าข้ อ
ผู้เ สีย หาย เป็ นไปอย่ า งรวดเร็ ว ปลอดภั ย จ้ างตัวแทนเจรจา เรียกร้ องนั ้น ยังอยู่ในระหว่างการเจรจา การ
และทั่ว ถึง กลุ่ม เป้ าหมายทุกคน กระทรวง 5 ก.ค. 53 - สืบ เนื่ องมาจากวัน ที่ 22 มิ .ย. ไกล่เ กลี่ย หรื อการชี ข้ าดข้ อ พิ พาทแรงงาน
การพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ 2553 พนั ก งานของบริ ษั ท ที เ อฟโอ เทค ตามมาตรา 13 ถึ ง มาตรา 29 ห้ ามมิ ใ ห้
(พม. ) จึ ง กํ า หนดให้ บ้ านพั ก เด็ กและ (ไทยแลนด์) จํากัด ได้ ยื่นข้ อเรียกร้ องในนาม นายจ้ างเลิ ก จ้ างหรื อ โยกย้ ายหน้ าที่ ก าร
ครอบครัว 76 แห่ง ทัว่ ประเทศ เป็ นสถานรับ พนักงานซึง่ พนักงานได้ ลงลายมือชื่อและได้ ลู ก จ้ า ง ผู้ แ ท น ลู ก จ้ า ง ก ร ร ม ก า ร
ตัวชัว่ คราว เพื่อให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบ แต่ง ตั ้งผู้แทนเจรจาข้ อเรี ยกร้ อ ง การยื่ นข้ อ อนุกรรมการ หรื อ สมาชิ กสหภาพแรงงาน
ปั ญหา การค้ ามนุษย์ และส่งต่อไปรับความ เรียกร้ องเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้ างไป หรื อ กรรมการ หรื อ อนุ ก รรมการสหพั น ธ์
ช่ ว ยเหลือ ในหน่ ว ยงานหลัก 9 แห่ ง ได้ แ ก่ ตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ 2518 แรงงาน ซึง่ เกี่ยวข้ องกับข้ อเรียกร้ อง
สถานคุ้ มครอง และพั ฒ นาอาชี พ ทัง้ ชาย
ซึ่ง หลัง จากยื่ น ข้ อ เรี ยกร้ องทางบริ ษั ท ฯ ก็ เอกชนแนะรั ฐงดอนุญาตนาแรงงานต่ าง
และหญิง ทั ้งหมด 8 แห่ง และสถานแรกรับ ด้ าวเข้ าระบบ
เด็ ก ชาย 1 แห่ ง ซึ่ ง ทํ า หน้ าที่ ค้ ุ มครอง ไม่ ได้ แต่ งตัง้ ผู้แทนเจรจาฝ่ ายนายจ้ า งและ

ผู้เสียหายจากการค้ ามนุษ ย์ ทั ้งในด้ านการ ไม่เจรจาภายใน 3 วัน ตามกฎหมายกําหนด 6 ก.ค. 53 - นายศุ ภ ชั ย สุ ท ธิ พงษ์ ชั ย

ฟื น้ ฟูเยียวยา การส่งกลับภูมิลําเนา และคืน ทํ า ให้ ตั ว แทนพนั ก งานต้ องแจ้ งพิ พ าท ประธาน กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมไฟฟ้ าและ

สู่สงั คม ตลอดจนการให้ ความช่ วยเหลือใน แรงงานให้ พนั ก งานประนอมข้ อพิ พ าท อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง

ด้ านกฎหมาย การฝึ กทักษะทางด้ านอาชีพ แรงงานเข้ ามาไกล่เกลี่ยโดยนัดไกล่เกลี่ยใน ประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิ ดเผยภายหลังการ

ให้ แก่ผ้ เู สียหาย การช่วยเหลือในการส่งกลับ วั น ที่ 30 มิ . ย. 2553 เวลา 09.00 น. เข้ า หารื อ ร่ ว มกับ ยนายชัยวุฒิ บรรณวัฒ น์

คืนสูค่ รอบครัว และประเทศภูมิลํา เนาอย่าง สํา นั ก งานสวั สดิ ก ารคุ้ม ครองแรงงาน จ. รมว.อุตสาหกรรรม ว่ า กลุ่ม อุตสาหกรรม

ปลอดภัย ชลบุรี จากนั ้นวันที่ 29 มิ.ย. 2553 และวันที่ ไฟฟ้ าและอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ไ ทยเสนอให้
30 มิ . ย.2553 บริ ษั ทฯ ได้ เ ลิกจ้ า งตัว แทน กระทรวงอุ ต สาหกรรมทบทวนนโยบาย
พนักงานซุปเปอร์ เมดเตรี ยมเข้ าพบผู้ ว่า เจรจาข้ อเรียกร้ องทั ้งหมด 6 คน เหลือผู้แทน ส่ ง เสริ ม การลงทุ น โดยกํ า หนดนโยบาย
ชลบุรี นายจ้ างปิ ดกิจการ-ค้ างค่ าจ้ าง
เจรจา 1 คน ส่ ง เสริ ม การลงทุ น เป็ นรายอุ ต สาหกรรม
5 ก.ค. 53 – พนักงาน บ.ซุปเปอร์ เมด โวย พร้ อมด้ วยเงื่ อ นไข เพื่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์
และในวั น ที่ 1 ก.ค. ที่ ผ่ า นมาตั ว แทน
นายจ้ างปิ ดกิจ การไม่ป ฏิ บัติตามกฎหมาย สูงสุดต่อประเทศชาติ และไม่ควรอนุมัติให้ มี
พนักงานจึงได้ ทําจดหมายร้ องเรี ยนประธาน
เตรี ย มเข้ าพบผู้ ว่ า ฯ ชลบุ รี หาทางแก้ ไข การนํา เข้ าแรงงานไร้ ฝีมือ จากต่า งประเทศ
สหภาพแรงงานชิ ้นส่วนยานยนต์ และโลหะ
ปั ญหา ให้ นายจ้ างจ่ า ยค่ า จ้ างค้ างจ่ า ย เข้ ามาทํางานในประเทศ ที่ปัจจุบันมีจํานวน
แห่ ง ประเทศไทย โดยระบุว่ า การเลิก จ้ า ง
พร้ อมทั ง้ พั ก ร้ อนและจ่ า ยค่ า ชดเชยตาม มาอยู่แล้ ว
ดังกล่าวขัดต่อ พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ 2518
กฎหมาย ทั ้งนี เ้ มื่ อวันที่ 30 มิ .ย. ที่ ผ่า นมา
มาตรา 31 และมาตรา 121 โดยคนงานตัง้ ทั ้งนี ้ การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ
กลุ่ ม คนงานไ ด้ เดิ นทางไป ยื่ น ห นั ง สื อ
ข้ อสังเกตการเลิกจ้ างในครั ้งนี ้คือ ควรกํ า หนดยุท ธศาสตร์ ว่ า จะส่ง เสริ ม การ
ร้ องเรี ยนขอความเป็ นธรรมให้ นายจ้ างจ่า ย
ลงทุ น ในกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมใดบ้ าง โดย
ค่าชดเชยตามกฎหมายเต็มจํ านวนในวัน ที่ 1. พนักงานที่ถกู เลิกจ้ างทั ้ง 6 คนเป็ นผู้แทน
พิจารณาว่าประเทศไทยจะได้ รับประโยชน์
ปิ ดกิ จการ ต่ อนายเ ฉลิ ม ชั ย ศรี อ่ อ น เจรจาข้ อ เรี ยกร้ องและลงลายมื อ ชื่ อ ในข้ อ
อะไรบ้ า ง แทนที่ จ ะเน้ น เป้ าหมายจํ า นวน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มาแล้ ว เรียกร้ องมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับข้ อเรี ยกร้ องการ
เงิ นทุน อย่ างในปั จ จุบัน เนื่อ งจากประเทศ
เลิ ก จ้ างครั ง้ นี จ้ ึ ง ขั ด ต่ อ พ.ร.บ.แรงงาน
เริ่ ม ขาดแคลนทรั พ ยากรที่ ต้ องใช้ ในการ
สัมพันธ์ 2518 มาตรา 31 เมื่อได้ มีการแจ้ ง
คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 17
ลงทุ น ไม่ ว่ า จะเป็ นแรงงานในทุ ก ระดั บ พร้ อมเร่ งรั ดแก้ ไ ขปั ญหาที่ คั่ง ค้ า งอยู่ใ ห้ เ ร็ ว อุ บั ติ เ หตุ จ ากการท างานพุ่ ง 1.4 แสน
ตั ง้ แต่ แ รงงานไร้ ฝี มื อ จนถึ ง ระดั บ วิ ศ วกร ที่สดุ ส่วนข้ อเสนอจะก็จะนําไปพิจารณา ราย
เชี่ ย วชาญ ทรั พ ยยากรนํ า้ ไฟฟ้ า ซึ่ง การที่ 8 ก.ค. 53 - ที่ ศู น ย์ นิ ท รรศการและการ
สํา หรั บการที่ มีนักลงทุน สนใจเข้ า ย้ า ยฐาน
ส่ง เสริ ม การลงทุ น โดยกํ า หนดเป้ าหมาย ประชุมไบเทค บางนา นายเฉลิมชัย ศรี อ่อน
การลงทุน จากจีนเข้ า มาไทย คงเป็ นเพราะ
จํานวนเงิ นเป็ นหลัก จะยิ่ง ทํา ให้ ทรั พยากร รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงแรงงาน เป็ น
แรงงานไทยมีฝีมื อ ไม่ เ ปลี่ยนงานบ่อ ย ไม่
เกิดความขาดแคลนมากยิ่ งขึ ้น ขณะที่ไทย ประธานเปิ ดงานสัปดาห์ ความปลอดภัยใน
เป็ นต้ นทุนให้ ผ้ ปุ ระกอบการต้ องมาพัฒนา
ได้ ประโยชน์จากการลงทุนน้ อยมาก การทํ า งานแห่ ง ชาติ ครั ง้ ที่ 24 ซึ่ ง จั ด ขึ น้
บุ ค ล า ก ร เ พิ่ ม เ ติ ม ร ว ม ทั ้ ง ร ะ บ บ
“การนําเข้ าแรงงานต่ างด้ าวเข้ ามาเยอะจะ สาธารณูป โภคก็มี ความได้ เ ปรี ยบมากกว่ า ระหว่างวันที่ 8-10 กรกฎาคม ภายใต้ ชื่อว่า
ทํ า ให้ เกิ ดปั ญหาความมั่ นคง ซึ่ ง การ ประเทศอื่นๆ “แรงงานปลอดภั ย สุ ข ภาพอนามั ย ดี มี
สนับ สนุน การนํ า เข้ า แรงงานต่ า งด้ า วต้ อ ง ความรั บ ผิ ดชอบต่ อ สัง คม ”พร้ อมกับ มอบ
ก.คลั ง -แรงงาน หารื อ ช่ วยลู ก หนี น้ อก
พิ จ ารณาด้ วยว่ า ไทยได้ ประโยชน์ อ ะไร ” รางวัลให้ แก่สถานประกอบการจํานวน 182
ระบบ
นายศุภชัย กล่าว แห่ง ที่ผ่านเกณฑ์ ดีเด่นด้ านความปลอดภัย
8 ก.ค. 53 - เมื่ อ วั น ที่ 8 ก.ค. นายกรณ์ อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการ
ส่ ว นการที่ ไ ทยไปชั ก จู ง การลงทุ น จาก จาติกวณิช รมว.คลัง เปิ ดเผยว่า ได้ หารื อกับ ทํางานระดับประเทศติดต่อกัน 5 ปี ขึ ้นไป
ต่างประเทศ ต้ องคําถึงสิง่ ที่ไทยจะได้ รับด้ วย นายเฉลิม ชัย ศรี อ่อ น รมว.แรงงาน เพื่อให้
เช่ น การดึง ดู ดการลงทุ น ในอุ ตสาหกรรม นายเฉลิม ชัย กล่าวว่า การจัดงานในครัง้ นี ้
ช่ ว ยหางานให้ ลู ก หนี น้ อกระบ บ ที่ ม า
ชิ น้ ส่ ว น ก็ ค วรคํ า นึ ง ถึ ง บริ ษั ท ชิ น้ ส่ ว นของ เพื่อต้ องการให้ นายจ้ างและผู้ใช้ แรงงาน ได้
ลงทะเบี ย นกั บ กระทรวงการคลัง แต่ ไ ม่
ไทยด้ ว ย เพราะหากไปดึงนักลงทุน เข้ า มา ตระหนักถึ ง ความปลอดภั ยในการทํ า งาน
สามารถโอนหนี ้เข้ าสู่ในระบบได้ เนื่องจาก
ลงทุนแบบครบวงจร บริษัทในเมืองไทยก็จะ เตรียมความพร้ อมป้องอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ ้น
ไม่มีรายได้ ที่เพียงพอ โดยกระทรวงการคลัง
ไม่ ไ ด้ ป ระโยชน์ อ ะไร เทคโนโลยี ก็ไ ม่ ไ ด้ รั บ ไว้ ล้วงหน้ า รวมทั ้งส่งเสริ มให้ ผ้ ใู ช้ แรงงานมี
จะรวบรวมข้ อมูลให้ กระทรวงแรงงาน เพื่ อ
การถ่ า ยทอด แรงงานก็ ไ ม่ ไ ด้ ใช้ คนไทย วิ นั ย ในการทํ า งานอย่ า งเคร่ ง ครั ด ยื ด
หางานที่ เ หมาะสมกั บ ลูก หนี ้ เมื่ อ ลูก หนี ้
สุดท้ ายประเทศไทยก็ไม่ได้ รับประโยชน์ จาก ระเบียบ กฎเกณฑ์ และข้ อห้ ามต่างๆ อย่าง
เริ่ ม ทํ า งาน จะให้ สถาบั น การเงิ น ของรั ฐ
การลงทุนดังกล่าว เป็ นต้ น เคร่ ง ครั ด ซึ่ง เป็ นสิ่ ง ที่ จํ า เป็ น เพราะหาก
ทยอยโอนหนี เ้ ข้ า มาในระบบบางส่วนก่อ น
ประมาทก็จะทําให้ เกิดอันตรายระหว่างการ
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ข ณ ะ นี ้ มี โ ร ง ง า น เพื่อรอดูความตั ้งใจจริ งในการทํางานลูกหนี ้
ทํางานได้
อิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ ไฟฟ้าหลายแห่ง เมื่ อ พิ สูจ น์ ว่ า มี ค วามความตั ง้ จริ ง ในการ
กําลังจะย้ ายฐานการลงทุน ออกมาจากจี น ทํางาน ก็ จะรั บโอนหนี ้เข้ าระบบทั ้งจํ านวน ทั ้งนี ้ จากรายงานของสํานักงานกองทุนเงิน
และไต้ ห วัน เพราะมี ความกดดดัน หลาย เพื่อ ลดภาระดอกเบี ย้ และการจ่ ายงเงิ นต้ น ทดแทน สํานักงานประกันสัง คมในช่ วง 10
ด้ าน และค่ า แรงงานในจี น ก็ พุ่ ง สู ง ขึ น้ ของลูกหนี ้นอกระบบ ส่วนเรื่ องการปรับขึน้ ปี ที่ ผ่ า นมา ตั ง้ แต่ ปี 2543-2552 พบว่ า
ผู้ป ระกอบการจึง ต้ อ งมองหาแหล่ง ลงทุ น ค่ า แรงขัน้ ตํ่ า นัน้ ไม่ ไ ด้ ห ารื อ กัน ซึ่ง เห็ น ว่ า อัตราการประสบอัน ตรายจากการทํ า งาน
ใหม่ การปรับ ค่า แรงขัน้ ตํ่ าขณะนี ้ คงต้ อ งดูตาม ของลูกจ้ าง กรณีหยุดงานเกินกว่า 3 วันขึ ้น
ความเหมาะสม ควบคู่ ไ ปกับ การปรั บ ลด ไป มี แนวโน้ ม ลดลง โดยหากเปรี ยบเที ยบ
นายชัยวุฒิ บรรณวัฒ น์ รวม.อุตสาหกรรม
ภาษี ข องรั ฐ บาล เพราะทัง้ 2 เรื่ อ งถื อ ว่ า มี อัตราการประสบอัน ตรายจากการทํ า งาน
กล่า วว่ า รั บ ข้ อเสนอของภาคเอกชนและ
ความละเอียดอ่ อน ดัง นั ้นต้ อ งพิ จารณาให้ ระหว่างปี 2551 กับปี 2552 ซึ่งมีอัตราการ
รอบคอบ ประสบอัน ตรายจากการทํา งานอยู่ที่ 6.08

18 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


และ 5.39 รายต่ อลูกจ้ าง 1,000 คน ซึ่งจะ อุ ป กรณ์ ก ารทํ า งาน บริ ษั ทจะจั ด หาให้ โดยการชุ ม นุม เรี ยกร้ องความถูกต้ อ งและ
พบว่ าลดลงจากปี ที่ผ่านมา คิ ดเป็ นร้ อ ยละ รวมทั ง้ จัดหาพื น้ ที่ สํา รองในการเก็ บ เกี่ ย ว ความเป็ นธรรม ให้ นายจ้ างปฏิ บั ติ ต าม
11.35 แต่ยังถือว่าการประสบอันตรายจาก ผลไม้ เพิ่มด้ วย ซึ่งมีเงื่อนไขเดียวกับการจ้ าง กฎหมาย เริ่ มตั ้งแต่วัน ที่ 3-7 ก.ค. 53 เป็ น
การทํางานยังคงมีจํานวนสูงอยู่มาก โดยใน ตรงจากนายจ้ างชาวสวีเดน ที่มีการประกัน เวลา 7 วัน สหภาพแรงงานได้ พาพนักงาน
ปี 2552 จํานวนการประสบอันตรายจากทุก รายได้ ใ ห้ แ รงงาน แต่ แ รงงานจะต้ อ งเสี ย เข้ า พบรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงแรงงาน ,
กรณี มี จํ า นวน 149,436 ราย สํ า นั ก งาน ค่ า ใช้ จ่ า ยและภาษี เ งิ น ได้ ร้อยละ 25 ของ อธิ บ ดี เ พื่ อ ร้ อ งเ รี ยน แ ละ เ จ้ า ห น้ า ที่
ประกันสังคมต้ องจ่ายเงินทดแทนเนื่องจาก รายได้ ซึง่ มีประมาณ 200 คน สวั ส ดิ การคุ้ มครอ งแ รงงาน จ . ช ลบุ รี
การประสบอั น ตรายจากการทํ า งานเป็ น ประสานงานให้ ประธานบริ ษั ท เปิ ดการ
"การเดิ นทางผ่ านบริ ษั ทนํา พาและการจ้ า ง
จํานวนกว่า 1,569 ล้ านบาท สําหรับกิจการ เจรจากับผู้แทนพนักงานที่ถูกเลิกจ้ าง วัน ที่
ตรง จะต้ อ งจองตั๋วเครื่ องบิ นแบบเลื่อนวัน
ที่ประสบอัน ตราย 3 อันดับ แรก ได้ แก่ การ 7 ก.ค. 53 เวลา 19.00 น. ได้ ข้อยุติร่วมกัน
และเวลาได้ เพื่อให้ แรงงานสามารถเดินทาง
ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โลหะ การค้ าและการ ดังนี ้ 1. รับพนักงานที่ถกู เลิกจ้ าง 7 คน กลับ
กลับประเทศได้ ทันที หากเกิดปั ญหา ซึ่งจะ
ก่อสร้ าง เข้ าทํางานโดยไม่มีเงื่อนไข และจ่ายค่าจ้ าง
มีแ รงงานทยอยเดิน ทางชุดแรกในสัป ดาห์
ให้ 100 % 2. บริ ษัท ให้ พ นักงานที่ ถูกปิ ด
กรมการจัด หางานเผยพบคนไทยขอวี หน้ า ทั ้งนี ้คาดว่า ปี นี ้อาจเกิดปั ญหาแรงงาน
ซ่ าท่ องเที่ ยวแฝงท างานเก็ บ ผลไม้ ที่ งาน กลับเข้ าทํ างาน ตั ้งแต่วัน ที่ 8 ก.ค. 53
ไทยสวีเดนหนักกว่าปี ที่แล้ ว โดยเฉพาะที่ ไป
สวีเดนกว่ า 5,000 คน และจ่ายค่าจ้ างให้ 75 % 3. ข้ อเรียกร้ องของ
ทํางานผ่า นกลุ่มมาดาม เพราะเกินอํ านาจ
พนักงาน 6 ข้ อ บริ ษัท ให้ มี การเจรจาตาม
11 ก.ค. 53 - นายสุภั ท กุ ขุน รองอธิ บ ดี การดูแลของเจ้ าหน้ าที่สถานทูต " รองอธิ บดี
ขั ้นตอนกฎหมาย ในวันที่ 16 ก.ค. 53
กรมการจัดหางาน กล่าวถึง กรณี กรมการ กรมการจัดหางานกล่าว
กงศุล กระทรวงการต่ า งประเทศ แจ้ ง ว่ า เครื อข่ ายแรงงานค้ าน “กองทุ นพิเศษ ”
คนงาน-นายจ้ าง ที เอฟโอ เทค เจรจา
ขณะนี ม้ ี ค นไทยยื่ น ขอวี ซ่ า ไปท่ อ งเที่ ย วที่ แร งงาน ข้ ามช าติ โ ว ย ลู ก จ้ างโ ด ย
ยุ ติ ตกลงรั บ ผู้ แทนเจราจาฯ กลั บ เข้ า
ประกันสังคมกีดกันทาเข้ าไม่ ถงึ สิทธิ
สวี เ ดนมากกว่ า 5,000 คน ว่ า จากการ ทางาน
ตรวจสอบพบว่ า ทุกคนแจ้ งความจํ านงจะ 12 ก.ค.53 - เวลา 14.00 น.ที่ ก ระทรวง
12 ก.ค. 53 - สหภาพแรงงานชิ น้ ส่วนยาน
เดินทางไปเยี่ยมญาติ ที่เป็ นคนไทยและเป็ น แรงงาน สมาพั น ธ์ แรงงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ
ยนต์ แ ละโลหะ แห่ ง ประเทศไทย ( TAM)
ภรรยาของชาวสวีเดน ซึ่งปี นี ้ทางการสวีเดน สัม พัน ธ์ (สรส.) คณะกรรมการสมานฉัน ท์
เปิ ดเผยว่ า หลัง จากที่ บ ริ ษั ท TFO Tech
ได้ อนุ ญ าตให้ ไทยที่ พั ก อาศั ย ในสวี เ ดน แรงงานไทย (คสรท.) มู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ ท ธิ
(Thailand) ตั ้งอยู่ใน ในนิ คมฯ อมตะนคร
เรียกว่ากลุม่ มาดาม สามารถพาญาติเข้ าไป มนุษ ยชนและการพัฒ นา (มสพ.) องค์ กร
จ.ชลบุรี ได้ ทํา การเลิกจ้ างผู้แทนเจรจาข้ อ
ทํา งานเก็ บ ผลไม้ ป่ าได้ คนละไม่ เ กิ น 3 คน พั ฒ นาเอกชน องค์ ก รแรงงานไทยและ
เรี ยกร้ อง เมื่ อวัน ที่ 29 มิ . ย. 53 จํ า นวน 7
และปราศจากเงื่อนไข ขณะที่แรงงานไทยที่ องค์ กรแรงงานระหว่ า งประเทศได้ เ ข้ า พบ
คน และได้ ประกาศปิ ดงานในวันที่ 3 ก.ค.
จะเดินทางไปทํางานผ่านบริษัทจัดหางาน 4 นายเฉลิ ม ชั ย ศรี อ่ อ น รั ฐ มนตรี ว่ า การ
53 ตั ง้ แต่ เ วลา 10.00 น. ทํ า ให้ สมาชิ ก
แห่ ง ประมาณ 3 พัน คน โดยทุกคนจะต้ อ ง กระทรวงแรงงาน เพื่อหารื อในข้ อห่วงใยต่อ
สหภาพแรงงานชิ ้นส่วนยานยนต์ และโลหะ
ได้ รับ กาประกั น รายได้ ไ ม่ ตํ่า กว่ า 75,000 นโยบายการจั ด ตั ง้ กองทุ น เงิ น ทดแทน
แห่ ง ประเทศไทย ( TAM) ในบริ ษั ท TFO
บาทต่ อ เดื อ น เป็ นเวลา 2 เดื อ นครึ่ ง และ (กองทุนพิเศษ) สําหรับแรงงานข้ ามชาติใน
Tech (Thailand) ได้ ชุ ม นุม เรี ยกร้ องให้
แรงงานจะต้ องจ่ า ยค่ า เดิ น ทาง ค่ า วี ซ่ า รู ป แบบของการประกั น ชี วิ ต ที่ ใ ห้ บริ ษั ท
นายจ้ างรับพนักงานกลับเข้ าทํางานโดยไม่มี
ค่าอาหารและค่านํ า้ มันรถ รวมทัง้ ภาษี เงิ น ประกันภัยเป็ นผู้รับผิดชอบ โดยเสนอให้ นํา
เงื่อนไข
ได้ เ องทั ้งหมด ส่ว นค่ าที่พัก ค่า เช่ ารถ และ
คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 19
แรงงานข้ ามชาติ เ ข้ าสู่ ร ะบบกองทุ น เงิ น ราชการ จังหวัด และสถาบันอุดมศึกษาที่ไม่ แรงงานจากภาคใต้ ของไทยและฟิ ลิป ปิ นส์
ทดแทน มีเงินเหลือจ่ายประจําปี 2552 แทน...

เตรี ย มตั ง้ สหภาพข้ า ราชการออกเป็ น ทั ้งนี ้เป็ นไปตามตามมติของก.พ.ร.ที่ เสนอ ความพยายามเจรจาตกลงกันต่อปั ญหาแรง
พ.ร.ฎ. ให้ ครม.ใช้ เ งิ น งบกลาง รายการค่ า ใช้ จ่ า ย งานแม่บ้ าน ระหว่างรัฐบาลอิ นโดนีเซี ยกับ

12 ก.ค.53 - นายนนทิ กร กาญจนะจิ ตรา การปรับเงินค่ าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ ที่ มาเลเซี ย ยั ง ไม่ ไ ด้ ข้ อยุ ติ หลั ง เกิ ด เรื่ อง
รองเลขาธิ การ ก.พ. เปิ ดเผยว่ าในวันที่ 12 คงเหลือจากการจัดสรร เงิ นรางวัลและเงิ น ร้ องเรี ยนบ่อ ยครั ง้ กรณีแ ม่บ้า นอิน โดนี เซี ย

ก.ค. เวลา 14.00 น. นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ เ พิ่ ม พิ เ ศ ษ สํ า ห รั บ ผู้ บ ริ ห า ร ก่ อ น ถูกนายจ้ างใน มาเลเซียปฏิ บัติด้วยอย่างไม่

นายกรัฐมนตรี จะเป็ นประธานการประชุม ปี งบประมาณ 2552 ซึ่งมีการกันเงินไว้ เบิ ก เหมาะสม ก่ อให้ เ กิ ดปั ญหามึน ตึง ระหว่ า ง

คณะกรรมการข้ า ราชการพลเรื อ น โดยจะ เหลื่อ มปี และขยายเวลาการเบิกจ่ายเงินไว้ ประเทศ ทํ า ให้ อิ น โดนี เ ซี ย หยุ ด การส่ ง

การเสนอร่ า งพ.ร.ฏ.การจั ด ตั ง้ สหภาพ แล้ ว วงเงิน 1,073 ล้ านบาท เพื่อสร้ างขวัญ แรงงานแม่บ้านเข้ ามาเลเซียมาตั ้งแต่เดือ น
ข้ าราชการ พ.ศ....ให้ นายกรัฐมนตรีรับทราบ กําลังใจในการพัฒนาองค์กรและการพัฒนา มิ.ย.ปี ท่ีแล้ ว

ก่อนนําร่างกฎหมายเสนอให้ ที่ประชุม ครม. บุคลากร


ขณะที่ รัฐบาลมาเลเซี ยเตรี ยมหาทางออก
พิจารณาต่อไป อย่างไรก็ดี ก.พ.ร. เสนอให้ จดั สรรเงินรางวัล ด้ วยการแสวงหาแรงงานใหม่ จ ากพื น้ ที่

ร่ า งพ.ร.ฎฉบั บ ดั ง กล่ า วเป็ นกฎหมายที่ ให้ แต่ละหน่วยงานตามความเหมาะสม โดย ภ าค ใต้ ข อ งไ ท ยแ ละ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ทั ง้ นี ้

ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ เกิ ด การรวมกลุ่ ม ยึดตามหลักเกณฑ์ แ ละวิ ธี การประเมิ น ผล มาเลเซี ยระบุแ ต่ ละปี มี เ รื่ อ งร้ องเรี ยนกรณี

ข้ า ราชการที่ ผ่านการศึกษาวิ จัยและความ งานตามที่ สํ า นั ก งานคณะกรรมการข้ า แม่ บ้ า นราว 50 ราย แต่ อิ น โดนี เ ซี ยระบุ มี

เห็ น ชอบจากสํ า นั ก งานคณะกรรมการ ราชการพลเรื อ น (ก.พ.) กํ า หนด โดยให้ เรื่องมากราว 1,000 กรณี

กฤษฎี กาเรี ยบร้ อยแล้ ว โดยมีวัตถุป ระสงค์ ความสํา คัญกับผู้ป ฏิ บัติและไม่ ควรนํ าเงิ น
ไทย-พม่ า ร่ วมหารื อ นาเข้ าแรงงานเพิ่ ม
ส่ ง เสริ มการรวมกลุ่ ม ปกป้ องสิ ท ธิ แ ละ รางวัลที่ได้ รับ จัดสรรไปหารเฉลี่ยให้ เท่ากัน
แก้ ปัญหาขาดแคลน-หลบหนีเข้ าเมือง
สวัสดิ การตามกรอบกฎหมาย ตามพ.ร.บ. ทุกคน
1 5 ก . ค . 5 3 - เ ฉ ลิ ม ชั ย ศ รี อ่ อ น
ข้ าราชการพลเรือนกําหนด ทั ง้ นี ต้ ้ องมี ก ารประเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ รัฐ มนตรี ว่า การกระทรวงแรงงาน เปิ ดเผย
หากกระทรวง ทบวง กรมใดต้ องการจด ราชการและควรให้ กับผู้ที่มีความร่ วมมือใน ก่อนหารือกับนายหม่อง มิ ้น รัฐมนตรี ช่วยว่า
ทะ เบี ยนสห ภาพข้ าราชการสามารถ การสร้ างผลงานให้ สว่ นราชการ รวมทั ้งผู้ที่มี การกระทรวงต่างประเทศพม่า ว่า ไทยและ
ดํ า เนิ น การได้ โ ดยทางเลขาธิ การ ก.พ.จะ ความทุ่ ม เทและมี ผ ลงานบรรลุเ ป้ าหมาย พม่ า จะพิ จ ารณาข้ อตกลงร่ วมกั น เพื่ อ
เป็ นนายทะเบียนให้ ตามแผนปฏิ บัติราชการและ ตามคํารับรอง อนุ ญ าตให้ ดํ า เ นิ น การพิ สู จ น์ สั ญ ชา ติ
การปฏิบตั ิราชการประจําปี แรงงานพม่าในไทยต่ อไปเพื่ออํานวยความ
ขณะเดี ย วกั น การประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี
มาเลย์ หวั งดึ ง แม่ บ้ า นไทย เสี ย บแทน สะดวกให้ กบั ทุกฝ่ าย ทั ้งนายจ้ างและลูกจ้ าง
( ค รม . ) วั น ที่ 1 3 ก . ค . นี ้ สํ านั กง า น
แรงงานอินโด อาจพิจารณาเพิ่มจุดพิสจู น์ สญ
ั ชาติให้ มาก
คณะ กรรมการพั ฒ น าระ บ บ ราชการ
ขึ น้ โ ด ยตั ้ง เ ป้ า พิ สู จ น์ สั ญ ช า ติ ใ ห้ ไ ด้
(ก.พ.ร.) จะเสนอให้ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี 13 ก.ค.53 - ปั ญหามึนตึงระหว่ างประเทศ
600,000-700,000 คนในปี 2555 และยังจะ
(ครม.) พิจารณาอนุมตั ิการจัดสรรเงินรางวัล รวมถึงการเจรากับอินโดนีเซียยังไม่ได้ ข้อยุติ
หารื อถึงการนําแรงงานพม่ารายใหม่เข้ ามา
ประจํ า ปี งบประมาณ 2552 ให้ แก่ ส่ ว น รัฐบาลมาเลเซียเตรียมหาทางออก แสวงหา
ทํางานอย่างถูกต้ องตามกฎหมาย เพื่อช่วย
แก้ ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ปั ญหาการ
20 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553
หลบหนีเข้ าเมืองของแรงงานพม่าและยังทํา ทั ้งหมดต้ องการให้ รมว.แรงงาน ตรวจสอบ ให้ ร้ ายบริ ษั ท ซึ่ ง การกระทํ า ดั ง กล่ า วผิ ด
ให้ แรงงานพม่ า ได้ รั บ การคุ้ ม ครองตาม กรณี พิ พ าทที่ เ กิ ด ขึ น้ อย่ า งเร่ ง ด่ ว น และ กฎระเบี ย บบริ ษั ท โดยการเลิก จ้ า งครั ง้ นี ้
กฎหมายด้ ว ย โดยการนํ าเข้ าแรงงานพม่ า เรี ย กร้ องให้ บริ ษั ท รั บ พนั ก งานกลั บ เข้ า บริ ษั ท ไม่ จ่ า ยค่ า ชดเชยแก่ ส มาชิ ก ของ
อย่างถูกต้ องอาจเป็ นระบบ G to G รัฐบาล ทํางานด้ วย ซึ่งทางกระทรวงแรงงานเตรี ยม สหภาพ ทํ า ให้ พนั ก งานเดื อ ดร้ อนหนั ก
2 ฝ่ ายตกลงกันเรื่ องระยะเวลาจ้ างงาน การ ส่งเจ้ าหน้ า ที่แรงงานเข้ าเจรจากับบริ ษัทใน แม้ ว่ า ได้ เ ข้ า ร้ องเรี ยนสํา นักงานสวัสดิ การ
รับ ประกัน ที่อ ยู่ใ ห้ แ รงงานอยู่ทํ างานอย่ า ง วันที่ 20 ก.ค.นี ้ แรงงานจังหวัดระยองแต่ก็ไม่คืบหน้ า
ต่ อ เนื่ อ ง ล่า สุด มี แ รงงานพม่ า นํ า เข้ าเป็ น
ปั จจุ บั น บริ ษั ท ไทยคู น เวิ ล ด์ ไวด์ กรุ๊ ป อ ง ค์ ก ร แ ร ง ง า น -สิ ท ธิ ฯ จี ้ น า ย ก ฯ
ระบบแล้ ว 534 คน อย่ า งไรก็ ต าม ไม่ ไ ด้ แก้ ปั ญหาแรงงานข้ า มชาติ ถูก ไถเงิ น -
(ประเทศไทย) เลขที่ 99 หมู่ 1 ต.พัฒ นา
ทอดทิ ้งแรงงานไทยเพื่อรองรับแรงงานที่จะ ซ้ อมทรมาน-ค้ ามนุษย์
นิคม อ.พัฒนานิคม จ.ระยองเจ้ า ของเป็ น
เพิ่มมากขึ ้นในอนาคต กระทรวงฯ ได้ เร่ งจัด
ชาวไต้ หวั น มี พ นัก งานทั ง้ หมดประมาณ 19 ก.ค.53 - เวลา 10.30 น. มูลนิธิเพื่อสิทธิ
อบรมเพิ่มทักษะให้ แรงงานไทยโดยเฉพาะ
1,000 คน แยกเป็ นคนงานไทยราว 600 คน มนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) สมาพันธ์
สาขาช่า ง รองรั บภาคอุตสาหกรรมได้ ม าก
ส่วนที่เหลือเป็ นแรงงานต่างด้ าว แรงงานรั ฐ วิ สาหกิ จ สัม พัน ธ์ (สรส.) เเละ
ขึ ้น
ก่ อ นหน้ านี ้ ได้ เกิ ด ข้ อพิ พ าทแรงงานขึ น้ คณะกรรมการสมานฉันท์ แรงงานไทย (คส
สมานฉันท์ แรงงานไทยเร่ งหารื อปรั บขึน้ รท.) เเละองค์ กรเครื อข่ายด้ านสิทธิ เเรงงาน
ภายในโรงงาน และพนักงานเพิ่ ง กลับ เข้ า
ค่ าจ้ างขัน้ ต่ า 10 บ./วัน เเละสิทธิมนุษยชน ยื่นจดหมายเปิ ดผนึกถึง
ทํางานเมื่อวันที่ 1 ก.ค. แต่ปรากฏว่าแค่วัน
17 ก.ค.53 - คณะกรรมการสมานฉั น ท์ แรกที่ เ ริ่ ม งาน บริ ษั ท ก็ มี คํ า สั่ ง เลิ ก จ้ าง นายกรัฐ มนตรี เรื่ อง "จดหมายเปิ ดผนึกถึง
แรงงานไทย เตรี ยมเรี ยกสมาชิ ก และ พนักงานที่เป็ นสมาชิกสหภาพ 13 คน โดย นายกรัฐมนตรี ขอให้ ตรวจสอบข้ อกล่าวอ้ าง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องหารือปรับค่าจ้ างขั ้นตํ่า อ้ า งเหตุ ผลว่ า พนักงานกลุ่ม นี แ้ สดงความ ว่ า เเรงงานข้ ามชาติ ที่ ถูกผลักดัน ออกจาก
10 บาทต่อวันให้ สอดคล้ องกับค่า ครองชี พ ก้ า วร้ าวต่อ ผู้บังคับบัญชา แต่ ยอมจ่ ายเงิ น ประเทศไทย ต้ องเผชิญกับการละเมิ ดสิท ธิ
หลัง ครม.ไฟเขียวขึ ้นเงินเดือนข้ าราชการ ชดเชยให้ และในช่ วงที่ ผ่านมายัง โยกย้ า ย มนุษ ยชนจากกองกํา ลัง กะเหรี ยง DKBA"

พนักงานไปในแผนกต่างๆ ที่ ไม่ใช่ตําแหน่ ง ต่ อ นายกรั ฐ มนตรี ที่ ทํ า เนี ยบรั ฐ บาล เพื่ อ
ร้ องช่ วย 84 คนงานไทยคูนเลิกจ้ าง
เดิมด้ วย ขอให้ ตรวจสอบข้ อ กล่าวอ้ า งว่า กองกํา ลัง
17 ก.ค.53 - นายชัชวาล สมเพชร ประธาน กะเหรี ยง DKBA ละเมิดสิทธิ เเรงงานข้ า ม
สหภาพแรงงานบริ ษั ท ไทยคูน เวิ ลด์ ไ วด์ ต่อมาวันที่ 6 ก.ค. ทางสหภาพได้ จัดประชุม ชาติ ที่ ถู ก ผลั ก ดั น ออกจากประเทศไทย
กรุ๊ ป (ประเทศไทย) ซึ่งเป็ นบริ ษั ทผลิตลวด เพื่อชี ้แจงและทําความเข้ าใจต่อเหตุการณ์ ที่ บริเวณเเนวชายแดนไทย-พม่า
เหล็ ก สั ญ ชาติ ไ ต้ หวั น ได้ เข้ ายื่ น หนั ง สื อ เกิ ดขึ น้ กับ สมาชิ ก สหภาพ พร้ อมร่ ว มให้
เผยธุ ร กิ จ นายหน้ าหาแรงงานส่ งเข้ า
ร้ องเรี ย นต่ อ นายเฉลิ ม ชั ย ศรี อ่ อ น รมว. กําลังใจเพื่อนร่วมงานที่ถูกเลิกจ้ าง จนสร้ าง
โรงงานอู้ฟู่
แรงงานกรณี พ นักงานจํ า นวน 84 คน ถู ก แรงกดดั น ต่ อ พนั ก งานที่ เ ป็ นสมาชิ ก ของ
เลิก จ้ า งไม่ เ ป็ นธรรม โดยเหตุเ กิ ดเมื่ อ วัน ที่ สหภาพ 19 ก . ค . 5 3 - น ายสมมาต ขุ น เ ศษ ฐ
13 ก.ค. ที่ผ่านมา เลขาธิ การสภาอุ ตสาหกรรมแห่ ง ประเทศ
กระทั่งบริ ษัทได้ มีหนังสือเลิกจ้ าง พนักงาน
ไ ท ย ( ส อ ท . ) เ ปิ ด เ ผ ย ว่ า ปั จ จุ บั น
ทั ้งนี ้ นายธานินทร์ ใจสมุทร ที่ปรึกษา รมว. ชุด ล่ า สุด อี ก 84 คน โดยยกเหตุ ผลว่ า ได้
ภาคอุ ตสาหกรรมประสบปั ญหาการขาด
แรงงาน เป็ นผู้รับ หนัง สือ แทน แต่ ยัง ไม่ ไ ด้ รวมกลุ่ม กัน ก่ อ ความไม่ สงบ ติ ดตัง้ เครื่ อ ง
แคลนแรงงานอย่า งหนัก จนหลายโรงงาน
ข้ อสรุ ป เนื่ อ งจากคํ า ร้ องของพนั ก งาน เสียง โดยกล่าวหาว่านายชัชวาลเป็ นผู้กล่าว
แก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าด้ วยการจ้ างนายหน้ า

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 21


ในการหาพนักงานใหม่ เ ข้ า มาทํ า งาน โดย "ผู้ ประกอบการจะไม่ ย อมส่ง สิ น ค้ า ล่ า ช้ า ปี 2540 ทํา ให้ แรงงานส่วนใหญ่ กลับไปอยู่
หากหาพนั ก งานได้ 1 ราย จะได้ รั บ เงิ น เด็ดขาดเพราะจะเสียประวัติ และครัง้ ต่อไป ในชนบทและคุ้นเคยไม่ยอมกลับมาทํางาน
500-1,000 บาท เนื่ อ งจากคํ า สั่ง ซื อ้ (ออ ลูกค้ าจะไม่สงั่ ออเดอร์ อีก เบื ้องต้ นหากผลิต ในภาคอุ ต สาหกรรม รวมทั ง้ แรงงานที่ มี
เดอร์ ) จํ า นวนที่ ย าวถึ ง ปลายปี ทํ า ให้ สินค้ าล่าช้ าผู้ประกอบการก็จะส่งสินค้ าทาง ประสบการณ์สว่ นใหญ่จะมีอายุค่อนข้ างมา
ผู้ประกอบการเริ่มเป็ นห่วงว่าอาจผลิตสินค้ า เครื่องบินที่ใช้ เวลา 1 วันถึงปลายทาง แต่ เมื่ อ ถู ก ออกจากงานก็ จ ะไม่ ก ลั บ เข้ ามา
ได้ ไ ม่ทัน ตามกํา หนด จึงจํ า เป็ นต้ อ งเร่ ง หา ก็ จ ะ ทํ าให้ ต้ น ทุ น สู ง ดั ง นั น้ น ายจ้ าง ทํา งาน เนื่ องจากร่ างกายไม่มี ความพร้ อม
พนักงานให้ พอเพียง จําเป็ นต้ องเอาใจใส่แรงงานอย่างมาก" รวมถึ ง หลัง จากที่ ก ลับ มาก็ ไ ด้ รั บ ค่ า จ้ าง
เท่ากับแรงงานใหม่ แม้ ว่าจะมีประสบการณ์
ทั ้งนี ้ ในภาพรวมของภาคอุตสาหกรรมยัง ทีดีอาร์ ไอแนะพัฒนาทักษะแรงงานชี ้ ป.
ตรี ตกงานอือ้ เป็ น 10 ปี ทํ า ให้ ยอมที่ จ ะทํ า งานอยู่ ใ น
ขาดแคลนแรงงาน 600,000 ราย ส่วนใหญ่
ชนบทที่ มี ค่ า จ้ างตํ่ า กว่ า แต่ มี ชี วิ ต ความ
เ ป็ น อุ ตส าห ก รร มชิ ้น ส่ ว น ย าน ยน ต์ , 19 ก.ค.53 - รศ.ดร.ยงยุ ท ธ แฉล้ ม วงษ์ เป็ นอยู่ที่ดีกว่า
อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ , สิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ่ง ห่ ม , ผู้อํานวยการสถาบันวิจยั การพัฒนาแรงงาน
อาหาร เป็ นต้ น และเป็ นการขาดแคลน สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย “นายจ้ างต้ องเข้ าไปพั ฒ นาทั ก ษะฝี มื อ

แรงงานระดับ ช่ า งเทคนิ คถึง 80,000 ราย หรือ TDRI กล่าวว่า ภาพรวมความต้ องการ แรงงานที่จะเข้ ามาทํางานใหม่ เนื่อ งจากที่
เนื่องจากวัฒนธรรมคนไทยต้ องการให้ บุตร แรงงานของประเทศไทย ปี 2553 มีแรงงาน ออกไปแล้ ว ไม่สามารถจะเข้ ามาทํางานต่อ
หลานเรียนจบในระดับปริ ญญาตรี เพื่อเป็ น ที่ศกึ ษาในระดับสูงว่างงานเป็ นจํานวนมาก ได้ โดยเฉพาะแรงงานที่อยู่ในภาคเกษตรแต่
เกียรติยศสําหรับครอบครัว แต่กลับไม่เป็ นที่ ขณะมี การขาดแคลนแรงงานในระดับล่า ง ต้ องมาทํา งานในภาคอุตสาหกรรม เพราะ
ต้ อ ง ก า ร ข อ ง โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม คือมัธยม ประถมศึกษา และ ปวช.ประมาณ แรงงานเหล่านี ้จะไม่มีทกั ษะ ดังนั ้นจึงต้ องมี
ขณะเดี ยวกัน โรงงานบางแห่ ง จ่ า ยค่ า จ้ า ง 3 แสนคน ซึ่งจํานวนนี ้นายจ้ างต้ องการเข้ า หน่ ว ยงานที่ จ ะต้ อ งเข้ า ไปปรั บและพัฒ นา
งานช่ า งที่ จ บการศึก ษาระดั บ ปวช. และ มาทดแทนแรงงานที่ อ อกไปจากระบบ ทั ก ษะฝี มื อ เพื่ อ เตรี ยมความพร้ อมให้
ปวส. เฉลีย่ เดือนละ 10,000 บาท สูงกว่าผู้ที่ เพราะประเทศไทยมี แ รงงานเข้ า ออกงาน แรงงานเหล่า นี ้เข้ า สู่ภ าคอุตสาหกรรมได้ ”
จบปริญญาตรี ด้านสังคมที่จ่ายค่าจ้ า งเพียง ตามฤดูก าล โดยเฉลี่ยอยู่ที่ ป ระมาณ 30- รศ.ดร.ยงยุทธ กล่าว
8,000-9,000 บาท 35% ซึ่ ง โรงงานขนาดกลางจะต้ องหา รศ.ดร.ยงยุทธ กล่าวต่อว่า วิธีแก้ ปัญหาคือ
นายสมมาตกล่า วอี กว่ า การจ้ า งนายหน้ า แรงงานมาทดแทน ขณะที่ โ รงงานขนาด จะต้ องรี บนําระบบการวัดความสามารถมา
หาแรงงานเข้ าสู่โรงงานนั ้นส่วนใหญ่ จะจ้ าง ใหญ่ ต้องรักษาแรงงานไม่ให้ มีการออกจาก ใช้ โดยให้ ค่ า จ้ า งตามระดั บ ฝี มื อ โดยเริ่ ม
พนัก งานหรื อ ญาติข องพนักงานในโรงงาน งานไม่เกิน 10% จากกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ ส่ ว น
เพราะสามารถการันตีประวัติของพนักงาน รศ.ดร.ยงยุท ธ กล่า วต่ อว่า การจ้ างงานใน สถานประกอบการขนาดกลางควรจัดทํ า
คนใหม่ ไ ด้ ซึ่ง ส่ว นใหญ่ จ ะหามาได้ รายละ โรงงานอุตสาหกรรมยังมี การกระจุกตัว อยู่ โครงสร้ างค่ า จ้ า งที่ ชั ดเจน รวมทัง้ โรงงาน
10 กว่ า คน เบื อ้ งต้ นนายจ้ างจะจ่ า ยให้ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ส่วนอุตสาหกรรม จะต้ องนํ า เทคโนโลยี เ ข้ ามาใช้ เพื่ อ เพิ่ ม
นายหน้ า 300 บาทต่อแรงงานหนึ่งคนก่อน สิ่ง ทอและอิ เ ล็กทรอนิ กส์ มี การขาดแคลน คุณ ภาพของชิ น้ งาน ขณะเดี ย วกั น ก็ ต้ อง
และเมื่ อเด็กใหม่ ทํา งานเกิ น 6 เดือ นแล้ ว ก็ แรงงาน ทํ า ให้ ไ ด้ ฝี มื อ แรงงานในระดั บ ที่ ดูแ ลคุณภาพชี วิ ตของแรงงานให้ ดีขึ ้นตาม
จะให้ อี ก 700 บาท เพื่ อ ป้ องกั น เด็ ก ใหม่ รองลงมา โดยสาเหตุ ห ลั ก คื อ ที่ ผ่ า นมา ไปด้ ว ย ซึ่งถ้ า หากมี โครงสร้ างค่า จ้ างที่ เป็ น
ทํางานไม่นานแล้ วออกจากงาน ประเทศไทยใช้ ระบบการจ้ า งงานแบบซับ ระบบก็ จ ะไม่ มี ก ารเรี ย กร้ องขอปรั บ ขึ น้

คอนแทค แต่หลังจากที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ

22 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553


ค่าจ้ า งขั ้นตํ่า ที่จะปรับขึน้ เพี ยงครัง้ ละ 3-4 ทํา งานจากการถูกเลิกจ้ า งครัง้ แรกเพี ยง 6 เจ้ าหน้ าที่ ตํ า รวจในท้ องที่ เ กิ ด เหตุ เพื่ อ
บาท วัน ติ ด ตามจั บ กุ ม นายหน้ าแรงงานเถื่ อ นมา
ดําเนินคดีตามกฎหมายต่อไป
ด้ า น น า ย อ นั น ต ชั ย คุ ณ า นั น ท กุ ล ก่ อ นจะมี การเลิก จ้ า งพนั กงานทัง้ 85 คน
ประธานสภาองค์ การนายจ้ า งแห่งประเทศ สหภาพแรงงานไทยคูน ได้ ชุม นุม เป็ นเวลา สงขลา-สตู ล -ปั ตตานี เตรี ยมน าเข้ า
ไทย กล่า วว่า ขณะนี ้ถือ ว่าไม่ได้ ขาดแคลน กว่า 1 เดือน เพื่อเรี ยกร้ องให้ บริ ษัทปรับขึ ้น แรงงานอินโด 3,500 คน
แรงงานเสียทีเดียว แต่ต้องพัฒนาแรงงานที่ เงิ น เดื อ นตามเกรฑ์ การประเมิ น 4 ระดั บ 21 ก.ค.53 - นายไพโรจน์ โชติ ก เสถี ย ร
มีอยู่ให้ มีทกั ษะเพิ่มขึ ้น รวมถึงแรงงานที่เพิ่ง แทนการขึน้ ค่า จ้ างตามอัตราค่ า จ้ า งขั ้นตํ่ า นักวิชาการแรงงานชํานาญการ สนง.จัดหา
จบมา จะไ ม่ มี ทั ก ษะฝี มื อ จึ ง อยากให้ และโบนัสประจําปี ที่ไม่ได้ รับมานานหลายปี งาน จ.สงขลา ระบุว่ า จากภาวะการขาด
กระ ท รวงศึ ก ษ าธิ การบ รรจุ ห ลั ก วิ ช า รวมถึ ง มาตรฐานความปลอดภั ย ในการ แ คลน แ รงงาน ระ ดั บ ล่ า ง ใ น โ รง ง า น
อุตสาหกรรมเข้ าไปในหลักสูตร เช่น ความรู้ ทํางาน ซึ่งวันนี ้ (20 ก.ค.) นายธานินทร์ ใจ อุตสาหกรรมแปรรู ปสัตว์ นํ ้า ทางภาครัฐจึง
อุตสาหกรรมเบื ้องต้ น เรื่องของวินัยและการ สมุท ร ที่ ป รึ ก ษารั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง เตรี ยมนํา เข้ า แรงงานต่ างด้ า วจากประทศ
เรี ย นรู้ ที่ จ ะอยู่ร่ ว มกับ ผู้ อื่ น ส่ว นกระทรวง แรงงาน จะเดิ นทางไปยัง โรงงาน เพื่ อไกล่ อิ น โดนี เ ซี ย จํ า นวน 3,500 คน เพื่ อ แก้ ไ ข
แรงงาน โดยกรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน เกลีย่ กรณีการเลิกจ้ างที่เกิดขึ ้น ปั ญหาดังกล่าว โดยจะนําเข้ ามาทํา งานใน
จะต้ องฝึ กทั ก ษะพื น้ ฐาน และผลั ก ดั น จ.สงขลา 2,500 คน จ.สตูล 500 คน และ
เตือนประชาชนระวังนายหน้ าเถื่อนพบ
แรงงานเหล่า นี ้ ให้ เ ข้ าสู่ระบบอุตสาหกรรม กว่ า 100 ราย จ.ปั ตตานี 500 คน ทั ้งนี ้ ในวันที่ 22 ก.ค. จะ
ให้ ได้ มีการประชุมระหว่างกงสุลไทย-อินโดนีเซีย
21 ก.ค.53 - นายสุว รรณ ดวงตา จั ด หา
คนงานไทยคูนจี ้ ก.แรงงานเจรจาบริ ษัท ประจํา จ.สงขลา ร่ วมกับ ศอ.บต. และ หน.
จังหวัดบุรีรัมย์ ออกมาเปิ ดเผยว่า ตั ้งแต่ช่วง
หลังประท้ วงจนถูกเลิกจ้ าง ส่วนราชการด้ า นแรงงาน และความมั่นคง
ต้ นปี ที่ผ่านมา จนถึงขณะนี ้ มีผ้ ถู ูกหลอกไป
เพื่ อ หารื อ แนวทางการนํ า เข้ าแรงงาน
20 ก.ค.53 - พนักงาน บริ ษัท ไทยคูน เวิลด์ ทํ า งาน ต่ า งประเทศเ ข้ ามาร้ องทุ ก ข์ ที่
อิ น โดนี เ ซี ยอย่ า งถูกกฎหมาย และปั ญหา
ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จํากัด ที่ถูกเลิกจ้ าง สํ า นั ก ง า น 9 6 ร า ย สู ญ เ งิ น ไ ป ก ว่ า
ด้ านความมัน่ คงที่หลายฝ่ ายต่างวิตกกังวล
เป็ นรอบที่ 2 จํ า นวน 85 คน ยื น ยั น ว่ า 6,441,000 บาท โดยจํานวนเงินนี ้ สามารถ
ต้ อ งการให้ กระทรวงแรงงานเร่ ง ไกล่เ กลี่ ย ช่วยเหลือติดตามเงินคืนให้ กับแรงงานได้ 9 "ก.แรงงาน" สั่ งรื อ้ ระบบนายหน้ า ลด
ผู้ประกอบการ ให้ รับพนักงานทั ้งหมดกลับ ราย ส่วนที่เ หลืออยู่ระหว่ างการดําเนินการ ค่ าบริ การ หาแหล่ งเงินกู้
เข้ าทํางานโดยไม่มีเงื่อนไข เนื่องจากเห็นว่า ล่า สุด ได้ มี แ รงงานจํ า นวน 10 คน เข้ า มา 21 ก.ค.53 - ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายเฉลิม
การเลิกจ้ า งครัง้ นี ้ เป็ นการเลิกจ้ างที่ไม่เป็ น ร้ องทุ ก ข์ ที่ สํ า นั ก งานจั ด หางานจั ง หวั ด ชั ย ศรี อ่ อ น รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง
ธรรม ละเมิดสิทธิ์ การรวมตัวอย่างสงบของ บุรีรัมย์ ว่า ถูกนายหน้ า เถื่อ น หลอกไปขาย แรงงาน กล่า วว่ า จะสั่ง รื อ้ ระบบนายหน้ า
แรงงาน แรงงานที่ประเทศบาห์เรน โดยเรียกเงิน ราย อี กทัง้ ลดค่ า บริ การ และจัดหาแหล่ง เงิ น กู้
ละ 30,000-50,000 บาท รวมเป็ นเงินทั ้งสิ ้น ดอกเบี ย้ ตํ่ า เพื่ อ หวั ง ลดการถู ก บริ ษั ท
ทั ้งนี ้ บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศ
กว่า 318,000 บาท โดยอ้ างว่า จะสามารถ นายหน้ าเถื่อนหลอกไปทํางานต่างประเทศ
ไทย) จํ า กั ด เลิ กจ้ างพนั ก งานทั ง้ 85 คน
จัด ส่ง ไปทํ า งานที่ ป ระเทศบาห์ เ รนได้ แต่ ขณะเดี ยวกัน สถิติประชาชนที่ถูกหลอกทั่ว
หลังจากพนักงานทั ้งหมดเรี ยกร้ องให้ บริ ษัท
กลับ ไม่ ไ ด้ เดิ น ทางไปทํ า งานจริ ง ตามที่ ประเทศ ปี 53 มี จํ า นวน 1,508 คน อยู่
ชี ้แจงเหตุผลในการโยกย้ ายตําแหน่งงานใน
กล่าวอ้ างซึ่งหน่วยงานรับเรื่ องราวร้ องทุกข์ ระหว่างดําเนินคดีกว่า 300 ราย
วันที่ 6 กรกฎาคม ที่ผ่านมา หลังกลับเข้ ามา
ได้ รวบรวมข้ อมูลหลักฐานเข้ าแจ้ งความต่ อ

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 23


อย่ า งไรก็ ต าม รู้ สึ ก กั ง วล และห่ ว งผู้ ที่ เฉพาะกิจปราบปราม จับกุมและดําเนินคดี แรงงานต่ า งด้ าว หากมี ก ารตรวจพบจะ
เดิ น ทางไปทํ า งานต่ า งประเทศ เนื่ อ งจาก แรงงานต่างด้ าวลักลอบเข้ าทํางาน ซึ่งทําน้ า ดําเนินคดีอย่างเด็ดขาด
อาจถูกนายหน้ า จัดหางานเถื่อ นหลอกลวง ที่บูรณาการดําเนินการร่ ว มกับ หน่วยงานที่
คนร้ าย 'ลอบท าร้ าย-ยิ ง ' กรรมการ
เอารั ด เอาเปรี ยบ เสี ย ค่ า บริ การ และ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ไ ด้ แ ก่ ก ร ะ ท ร ว ง แ ร ง ง า น สหภาพไทยคูณ
ค่ า ใ ช้ จ่ า ยที่ สู ง ตนจึ ง มี น โ ยบ าย ที่ จะ กระทรวงมหาดไทย สํ า นั ก งานตํ า รวจ
ดําเนินการลดค่าบริ การ และค่าใช้ จ่าย โดย แห่งชาติ กองทัพบก กองทัพเรือ 22 ก.ค.53 - เมื่ อเวลา 20.00 น. วันที่ 22

จะช่วยหาแหล่งเงินกู้ดอกเบี ้ยตํ่า ในการขอ ก.ค. พ.ต.ท.พิ ทักษ์ ทํ า นุ สารวัตรเวรสภ.


โดยร่วมกันรับผิดชอบเรื่ องของนโยบายและ นิคมพัฒนา จ.ระยอง รับแจ้ งจากนายธี รชัย
สิน เชื่ อ ไปทํ า งานต่ า งประเทศ และเร่ ง รั ด
ปฏิบัติการป้องกัน ปราบปราม จับกุม และ สุวรรณมาโน อายุ 30 ปี พนักงานบริ ษัทไทย
ปรั บ ปรุ ง ศูน ย์ ท ะเบี ย นคนหางาน เพื่ อ ให้
ดําเนินคดีแรงงานต่างด้ าวหลบหนีเข้ าเมือง คูน ว่า มีคนร้ ายยิงนายธรรมรัตน์ นันสอางค์
นายจ้ าง หรื อบริ ษัทจัดหางานมาคัดรายชื่อ
แ ล ะ ลั ก ล อ บ ทํ า ง า น ร ว ม ทั ้ง แ ต่ ง ตั ้ง อายุ 30 ปี พนักงานแผนกคิวซี บริ ษัท ไทย
คนหางาน ซึง่ จะทําให้ บทบาทของนายหน้ า
คณะกรรมการอํ า นวยการศู น ย์ เ ฉพาะกิ จ คูน เวิ ล ด์ ไ วด์ กรุ๊ ป (ประเทศไทย) จํ า กั ด
จัดหางานลดลง ทั ้งนี ้จะเร่งหาตลาดแรงงาน
ปราบปราม จับกุม และดํ าเนิ นคดีแ รงงาน (มหาชน) หนึ่ ง ในคณะกรรมการลูก จ้ าง
ในต่างประเทศ โดยเพิ่มการจัดส่งคนงานใน
ต่ า งด้ าวลั ก ลอบทํ า งาน เพื่ อ แบ่ ง เข ต สหภาพแรงงานฯ บาดเจ็ บ สาหั ส นํ า ตั ว
ลั ก ษณะแบบรั ฐ ต่ อ รั ฐ และแบบรั ฐ กั บ
รั บ ผิ ด ช อ บ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย พื ้ น ที่ ส่งร.พ.บ้ านค่า ย เมื่อเดินทางไปตรวจสอบ
เอกชน หรือบริษัทในต่างประเทศโดยตรง
กรุงเทพมหานคร, รับผิดชอบ 25 จังหวัดใน พบผู้ บาดเจ็ บ ถู ก ยิ ง ที่ มื อ ขวาและสะโพก
นายเฉลิ ม ชั ย กล่ า วต่ อ ว่ า ในวั น ที่ 22 ภาคกลางแ ละ ภ าคตะ วั น อ อ ก ,ภ าค กระสุนฝั งใน ถูกส่งต่อร.พ.ระยอง
กรกฎาคม ทางกระทรวงฯ ได้ เชิญสายและ ตะวัน ออกเฉียงเหนือ ,ภาคเหนือ ,ภาคใต้ ,
บริ ษัทจัดหางานทั ้งหมด มาร่ วมพูดคุยและ เพื่ อ ปฏิ บัติการภารกิ จปราบปราม รวมทัง้ สอบสวนเบื ้องต้ นทราบว่า ก่อนเกิดเหตุนาย

ขอความร่ ว มมื อ ให้ บริ ษั ท เหล่า นี ช้ ่ ว ยลด จับ กุมนายจ้ า ง และผู้ที่ใ ห้ ที่พักพิง แรงงาน ธรรมรัตน์ ซึ่งพักอยู่ที่สํานักงานสหภาพฯ บ.

ภาระค่ า ใช้ จ่ า ยค่ า บริ ก าร ทั ง้ นี ้ หากทาง ดังกล่า ว กับแรงงานที่จดทะเบียนแต่ไม่ม า ไทยคูนตลาดนิ คมพัฒ นา ก.ม.12 ต.นิ คม

บริษัทฯ ไม่สามารถที่จะตกลงกันได้ ก็จะใช้ รายงานตัว และแรงงานที่ จ ดทะเบียนแล้ ว พัฒ นา ออกมาโทรศัพ ท์ ที่ ต้ ู โทรศัพ ท์ ห่ า ง

กฎหมายเข้ า มาควบคุ ม ดู แ ล ซึ่ ง ตรงนี ถ้ ื อ ไม่มาต่ออายุใบอนุญาตทํางาน จากสํานักงานประมาณ300 เมตร คนเดียว

เป็ นมาตรการสุดท้ ายที่จะจัดการกับบริ ษัทฯ เมื่อมาถึงตู้โทรศัพท์ มีวัยรุ่ นไม่ตํ่ากว่า 7 คน


โดยขณะนี ต้ รวจสอบพบว่ า มี แ รงงานต่ า ง ขี่ รถจัก รยานยนต์ 3 คัน ตรงเข้ า มารุ ม ทํ า
ซึ่ง นายเฉลิม ชัย ยัง ได้ กํา ชับ ให้ เ จ้ า หน้ า ที่
ด้ า วลักลอบเข้ า ทํ า งานกว่ า 130,000 คน ร้ า ย นายธรรมรั ตน์ เ ห็ น ท่ า สู้ไ ม่ ไ ด้ จึง วิ่ ง หนี
จัดหางานจังหวัด เร่ งทําการประชาสัมพันธ์
และแรงงานที่จดทะเบียนแล้ วไม่ต่ออายุการ กลุ่มวัยรุ่ นจึงสาดกระสุนตามหลัง จนวิ่งไป
และให้ ข้อมูลทําความเข้ าใจกับแรงงาน โดย
ทํ า งานกว่ า 300,000 คน ซึ่ง แรงงานต่ า ง ล้ มฟุบลงที่หน้ าสํานักงานสหภาพฯ และถูก
ให้ ถือเป็ นนโยบายหลัก
ด้ า วผิ ด กฎหมายส่ว นใหญ่ เ ป็ นชาวพม่ า ที่ นําตัวส่งโรงพยาบาล
รั ฐ บาลผุ ด ศู น ย์ เฉพาะกิ จ ออกปราบ เป็ นชนกลุ่ม น้ อ ย ยากที่ จ ะพิ สูจ น์ สัญชาติ
แรงงานเถื่อน เพื่ อ ขึ น้ ทะเบี ย นแรงงาน ขณะที่ แ รงงาน นายชั ช วาล สมเพชร ประธานสหภาพ

กัม พู ช าและลาวพบอุป สรรคน้ อ ยกว่ า ซึ่ ง บริ ษัทไทยคูนฯ เปิ ดเผยว่า ก่อนหน้ านี ้กลุ่ม
22 ก.ค.53 - นายเดชา พฤกษ์ พัฒ นรั ก ษ์
ประเด็ น สํา คัญ ที่ ต้ องเตื อ นคื อ ข้ า ราชการ สหภาพฯ มีข้อพิพาทกับบริษัท มีการต่อรอง
จัดหางานจังหวัดนครปฐม เปิ ดเผยว่า นาย
นอกรี ด ที่ ใ ช้ รถยนต์ ส่ ว นตั ว รั บ จ้ างขน และการเจรจา เรื่ องค่าจ้ างและโบนัสหลาย
อภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ นายกรั ฐ มนตรี ได้ มี
ต่ อ หลายครั ง้ นายธรรมรั ต น์ เ ป็ นหนึ่ ง ใน
คําสัง่ เมื่อวันที่ 2 มิ.ย. 2553 ให้ จัดตั ้งศูนย์
คณะกรรมการลูกจ้ า งที่เ ป็ นแกนนํา ในการ
24 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553
เจรจาและชุ ม นุ ม ประท้ วง เชื่ อ ว่ า เรื่ อ งนี ้ นายชีว ะเวช เวชชาชีวะ ที่ ปรึกษารัฐมนตรี นายธุ ว านนท์ กับ พวก ที่ ห ลงเชื่ อ คนทัง้ 2
น่ า จะเป็ นสาเหตุ เ ดี ย วที่ ทํ า ให้ ถู ก ทํ า ร้ าย แรงงาน ผู้รับ หนังสือ กล่า วว่ า จะประสาน เพราะไปติดต่อเดินเรื่องที่ สนง.บริ ษัทจัดหา
เพราะนายธรรมรัตน์ไม่เคยมีเรื่ องบาดหมาง กับบริษัทเพื่อเจรจาในวันที่ 28 กรกฎาคมนี ้ งาน ที่ถูกต้ องตามกฎหมายย่าน ลาดพร้ าว
กับใคร และก่อ นหน้ านี ้ก็มี สหภาพฯ ถูกทํ า กมท. ( บ.จัดหางาน เคเอส แมนเพาว์ เวอร์
ออกหมายจั บ แก๊ งตุ๋ นคนอุ ด รฯ ไป
ร้ ายข่มขู่มาแล้ วหลายคน แต่ครัง้ นี ้ถึงกับถูก ซั พ พลาย จก. เลขที่ 3104 /1-2 ซอย
ทางานญี่ปนุ่
ยิ ง บาดเจ็ บ สาหัส แต่ พ วกเราจะต่ อ สู้ตาม ลาดพร้ าว 130) ซึ่ ง ทั ง้ 2 แสดงตั ว เป็ นที่
กระบวนการของกฎหมายต่อไป 22 ก.ค.53 - ศาลจังหวัดอุดรธานี เห็นชอบ ปรึกษาของบริ ษั ท จึง ตัดสิน ใจโอนเงิ นจาก
ออกหมายจั บ 2 ผู้ ต้ องหา ขบวนการ อุดรธานี ไ ปให้ และได้ เ รี ยนภาษาญี่ ปุ่ นที่
แรงงานไทยร้ องค่ าจ้ างต่ ากว่ าต่ างด้ าว ห ล อ ก ล ว ง ไ ป ทํ า ง า น ป ร ะ เ ท ศ ญี่ ปุ่ น สํา นักงานอีก 5 วัน และมาเรี ยนที่ ศูนย์ ฝึก
22 ก.ค.53 - เมื่อ วัน ที่ 22 กรกฎาคม นาย ประกอบด้ ว ยหมายจั บ เลขที่ 367/ 2553 ฝี มือแรงงานไทยพัฒนา จ.ปทุมธานี อีก 45
นิคม สองคร เลขาธิ การสภาองค์ การลูกจ้ าง นายนภดล เทียมทิพย์ จรัส อายุ 64 ปี และ วั น ก่ อ นจะกลับ มาเตรี ย มเอกสารที่ จ.
พัฒ นาแรงงานแห่ ง ประเทศไทย นํ า กลุ่ม หมายจับเลขที่ 367.1/ 2553 นายสาธิ ต ปิ่ น อุดรธานี รอการเดิ น ทางเมษายน 53 แต่ ก็
ลูก จ้ างของห้ างหุ้ นส่ ว น (หจก.) สหไทย ทอง อายุ 51 ปี ในข้ อ หาร่ ว มกั น ฉ้ อโกง ไม่ได้ เดินทางไปตามสัญญา และยังหนีหน้ า
ประเสริ ฐ 74 คน กล่ า วภายหลัง เข้ ายื่ น ประชาชน และหลอกลวงผู้อื่นว่าสามารถหา ตามไม่พบ ไปร้ องเรียนที่ กทม.หลายแห่งไม่
หนังสือร้ องขอความเป็ นธรรมต่อนายเฉลิม งานหรื อ ส่ง ไปฝึ กงานต่า งประเทศได้ และ เป็ นผล
ชั ย ศรี อ่ อ น รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรว ง หลอ กลวงให้ ไ ด้ มาซึ่ ง ท รั พ ย์ สิ น ห รื อ
ผลประโยชน์ เหตุการณ์เกิดขึ ้นระหว่าง ส.ค. พ.ต.ท.เทอดศัก ดิ์ กล่า วว่ า คนหางานถู ก
แรงงาน ว่า บริษัท แฟนซีวดู อินดัสตรี จํากัด
52 – เม.ย.53 ตามที่ พ.ต.ท.เทอดศักดิ์ บุญ หลอกลวงครั ้งนี ้มากกว่า 30 ราย สูญเงินไป
(มหาชน) ทํ า ธุ รกิ จ เฟอร์ นิเ จอร์ นํ า เข้ า และ
โชติ พงส.สบ.3 สภ.เมืองอุดรธานี เสนอ มากกว่ า 3 ล้ านบาท แต่ มาแจ้ ง ความที่ จ.
ส่งออก ได้ ว่าจ้ างให้ หจก.สหไทยประเสริ ฐ
อุดรธานี เ พี ยง 12 รายเท่ า นัน้ ที่ มี การโอน
และ หจก.อื่ น ๆ อี ก 5 แห่ ง จัดหาแรงงาน
ทั ้งนี ้ตามข้ อกล่าวหาของนายธุว านนท์ ศรี เงินจากอุดรธานี และตรวจโรคที่ รพ.เอกชน
ให้ กั บ บริ ษั ท ในลักษณะการรั บ เหมาช่ ว ง
ทอง อายุ 33 ปี อยู่เลขที่ 36 ม.12 ต.อุ่มจาน ใน จ.อุดรธานี นอกจากจะใช้ สนง.จัดหา
ค่ า แรง แบ่ ง เป็ นแรงงานคนไทย 500 คน
อ.กุมภวาปี จ.อุดรธานี กับพวกรวม 12 คน งานถู ก กฎหมาย เป็ นสถานที่ นั ด หมาย
และแรงงานต่ างด้ า ว 300 คน ทัง้ นี ้ บริ ษั ท
เข้ าแจ้ งความร้ องทุกข์ ต่อ พ.ต.ท.เทอดศักดิ์ คนหางาน ซึ่ง ไม่ แน่ ใจว่า บริ ษัท จัดหางาน
แฟนซีวดู ฯ ได้ ปรับค่าจ้ างให้ กับ หจก.อื่นทั ้ง
ฯ กล่ า วหานายนภดล และนายสาธิ ต ได้ ดังกล่าว มีสว่ นเกี่ยวข้ องด้ วยหรื อไม่ ต้ องรอ
6 แห่ง ในอัตรา 224 บาท แต่ กลับ ไม่ป รั บ
หลอ กว่ า สามารถจั ด ส่ ง ไป ทํ างาน ใน ผลการตรวจสอบเพิ่ ม เติ ม ยั ง มี ก ารส่ ง
ค่าจ้ างให้ พนักงาน หจก.สหไทยประเสริ ฐที่
ตําแหน่งช่างเชื่อม และตําแหน่งต่างๆที่อ่ตู ่อ คนงานที่ เ คยเดิ นทางทํ างานญี่ ปนุ่ มาเป็ น
เป็ นคนไทยล้ วน 113 คน โดยจ่ายเพียง213
เรื อ ในเมื อ งฮิ โ รชิ ม า ประเทศญี่ ปุ่ นได้ ใน สายและนายหน้ า ไปชักชวนคนสนใจมาถูก
บาทเท่ า เดิ ม เมื่ อ มี ก ารเจรจา นายจ้ าง
อัตราเงินเดือน 27,000 บาท มีสวัสดิการที่ หลอก
ยืนยันว่าจะไม่ปรับค่าแรงให้ ซึง่ ถือว่าไม่เป็ น
พักและอื่นๆ สัญญาทํางานนาน 2 ปี และ
ธรรม เพราะแรงงานต่ า งด้ า วเข้ าใหม่ ไ ด้ จั บ น า ย ห น้ า จั ด ห า ง า น เ ถื่ อ น ห นี
ต่อสัญญาอีกครัง้ ละ 1 ปี แต่จะต้ องจ่ายค่า
ค่า จ้ า งสูงกว่า แรงงานไทยที่ ทํา งานมากว่ า หมายจับ 25 คดี
นายหน้ า 290,000 บาท โดยจ่ายล่วงหน้ า
10 ปี
9 5 , 0 0 0 บ าท ที่ เ ห ลื อ เ ป็ น สิ น เ ชื่ อ ใ ช้ 24 ก.ค.53 - นายศุภ กิ จ บุญ ญฤทธิ พ งษ์
หลักทรัพย์คํ ้าประกัน ผวจ.ลํา ปาง พล.ต.ต.อรรถกิ จ กรณ์ ท อง
ผบก.ภว.จ.ลําปาง ร่วมแถลงข่าว เจ้ าหน้ าที่

คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 25


ตํ า รวจ สภ.เสริ ม งาม จ.ลํ า ปาง พ.ต.อ. ตํารวจภู ธรลําปางพบว่า มีหมายจับถึง 25 'เฉลิ ม ชั ย ' สานต่ อ ประกั น ภั ย แรงงาน
สุวฒ
ั น์ สิทธิพรม ผกก.สภ.เสริ มงาม พ.ต.ท. หมาย ซึ่ ง ผู้ เสี ย หายทั ง้ หมดได้ รวมตั ว ไป ข้ า มชาติ คุ้ ม ครองล้ านคนเบี ย้ ไม่ เกิ น
จาร์ บตุ ร วิชาเรือง สว.สส. จับกุมนางพจนีย์ ร้ องเรี ย นกั บ สํา นั ก งานจั ด หางานลํ า ปาง 400
หรือเจ๊ แมว สินชัย อายุ 55 ปี อยู่บ้านเลขที่ และเจ้ าหน้ าที่ ตํ า รวจเอาไว้ แล้ ว และ 27 ก.ค.53 - แนวคิดทํา “ประกันภัยแรงงาน
9 ถ.พระเจ้ าทันใจ อ.เมือง จ.ลําปาง ในข้ อ ผู้ต้อ งหาได้ ห ลบหนี ไ ป จนกระทั่ง เมื่อ วัน ที่ ต่างด้ าว” ที่เกิดขึ ้นในสมัยนายไพฑูรย์ แก้ ว
จั ด ห างานโ ดยไ ม่ ไ ด้ รั บอ นุ ญ าติ แ ละ 23 ก.ค.ที่ผ่านมาเจ้ าหน้ าที่ตํารวจ สภ.เสริ ม ทองเป็ นรัฐ มนตรี ว่า การกระทรวง แรงงาน
หลอกลวงฉ้ อโกงทรัพย์ งาม จ.ลํา ปาง สืบ ทราบมาว่ า นางพจนี ย์ ก่ อ นที่ จ ะมี การปรั บ คณะรั ฐ มนตรี (ครม.)
เดิ น ทางมาที่ ม หาวิ ท ยาลัยเกษตรศาสตร์ เ มื่ อ ไ ม่ น า น ม า นี ้ แ ล ะ เ ป ลี่ ย น ตั ว
ก่อ นจับ กุม นางพจนีย์ หรื อ เจ้ แ มว สิน ชัย
เพื่อมาเป็ นกําลังใจให้ กับบุตรสาว ที่เข้ ารั บ รัฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงแรงงานใหม่ เ ป็ น
ได้ เปิ ดบริ ษั ท พจนี ย์ อิ น เตอร์ จํ า กั ด จด
พระราชทานปริ ญญาบัตร จึงควบคุมตัวมา นายเฉลิม ชัย ศรี อ่ อน ทํ า ให้ ถูกจับตามอง
ทะเบียนเกี่ ยวกับธุรกิจ ขายตั๋วเครื่ องบิ นไป
ดําเนินคดีดงั กล่าว จะเข้ ามาสาน ต่ อ โครงการนี ผ้ ลัก ดั น จน
ต่างประเทศ แต่ไม่ได้ ขออนุญาติจัดหางาน
โดยถูก ต้ อ งตามกฎหมาย แต่ มี พ ฤติ กรรม กองวิจัย ตลาตแรงงานชี ้ "ภาคเกษตร- ออกมาเป็ นรูปเป็ นร่ างหรื อสัง่ พักไป ประกัน

จัด หางานที่ ช าวบ้ านต้ อ งการไปทํ า งานที่ ประมง" ต้ องการแรงงานมากที่ สุ ด ชี ้ พีเอแรงงานเกือบล้ านคน ทุน 3-5 หมื่น เบี ้ย

ต่ า งประเทศ พร้ อมเรี ย กเก็ บ เงิ น รายละ บั ณฑิ ต "สั งคมศาสตร์ -รั ฐ ศาสตร์ " ตก 400 สัญญา 2 ปี
งานมากที่สุด
320,000 บาท หากรายใดไม่มี เงิ นสดก็ จ ะ ล่าสุด มีสญ
ั ญาณชัดเจนออกมา นายเฉลิม
ให้ ช าวบ้ า นนํ า โฉนดที่ ดิน โดยมี น ายวิ ท วั ส 27 ก.ค.53 - นายบุ ญ เลิ ศ ธี ระตระกู ล ชัย สานต่ อโครงการนี ้แน่ โดยนายถนัด จี ร
วัฒนธรรม เป็ นผู้ช่วยดําเนินการ แต่อัยการ ผู้อํานวยการกองวิจัยตลาดแรงงานกรมการ ชั ย ไ พ ศา ล ที่ ป รึ กษ าค ณ ะ ก รร มก า ร
ส่งไม่ฟ้อง จั ด หางาน เปิ ดเผยว่ า แนวโน้ มความ ประกันภั ยเบ็ดเตล็ด อุบัติเหตุแ ละสุข ภาพ
ต้ องการแรงงานของไทยปี 2553-2557 ใน สมาคมประกัน วิ น าศภัย เปิ ด เผยว่ า ทาง
นายศุภ กิ จ บุ ญ ญฤทธิ พ งษ์ ผวจ.ลํา ปาง
แต่ ละประเภทกิ จการ พบว่ า 3 อัน ดับแรก กระทรวงแรงงานเพิ่ ง ติ ด ต่ อ มาที่ ส มาคม
กล่าวว่า คดีนี ้รวมถึงผู้ต้องหามีหมายจับใน
คื อ กิ จ การด้ านการเกษตร การค้ าปลี ก ประกันวินาศภัยเมื่อเดือนที่ผ่านมาเกี่ยวกับ
คดี แรงงาน ถึ ง 25 คดี ถื อเ ป็ น คดี ที่ มี
โรงแรมและภัตตาคาร ส่งผลให้ อาชีพที่จะมี การรับประกันภัยแรงงาน ต่างด้ าวโดยจะให้
ผลกระทบต่ อ ความเป็ นอยู่ข องประชาชน
ความต้ องการแรงงานมากที่สุด คือ อาชี พ บริ ษั ทป ระ กั น วิ น าศภั ยเ ข้ า ไป ร่ ว มรั บ
บางคนถึงกับล้ มละลายที่ก้ หู นี ้ยืมสินมา แต่
ผู้ปฏิบตั ิงานที่มีฝีมือด้ านเกษตรและประมง ประกั น ภั ย ในโครงการนี ร้ ่ วมกั บ บริ ษั ท
ไม่ มี โ อกาสได้ ไ ปทํ า งานใช้ ห นี จ้ นถูกยึดใน
พนักงานขาย และพนักงานบริ การ นายบุญ ประกันชีวิตคนละครึ่ง
ที่สดุ บางรายถึงเก็บฆ่าตัวตายมาแล้ ว
เลิ ศ กล่ า วว่ า แรงงานไทยส่ ว นใหญ่ ก ว่ า
ผู้ ประกั น ตน ม.39 สามารถช าระเงิ น
70% จบไม่ เ กิ น ชั น้ มั ธ ยมต้ น จึ ง มี ค วามรู้
ผวจ.ลํา ปาง กล่ า วว่ า ตามรายงาน นาง ผ่ านเคาน์ เตอร์ เซอร์ วิสได้ แล้ ว
น้ อย ขาดทักษะฝี มื อ ส่ง ผลให้ ได้ รับ ค่าจ้ า ง
พจนีย์ ได้ ติดต่อชักชวนให้ ชาวบ้ านในเขต อ. 29 ก.ค.53 - นางสาวสุภ าภรณ์ ตั ง ศิ ริกุ ล
น้ อยมาก เฉลีย่ ไม่เกิน 5,000 บาท อย่างไรก็
เสริมงาม ไปทํางานที่ต่างประเทศมาตั ้งแต่ปี ประกันสังคมจังหวัดสมุทรปราการ กล่าวว่า
ตาม ปั จจุ บัน บั ณฑิ ต ที่ จ บการศึ ก ษาสาย
พ.ศ. 2526 มาแล้ ว แต่ละรายชาวบ้ านต้ อง สํา นักงานประกัน สัง คมได้ ใ ห้ บ ริ การชํ า ระ
วิ ช าการ เช่ น รั ฐ ศาสตร์ สั ง คมศาสตร์
จ่ายเงิน ค่านายหน้ าไปเป็ นจํานวนมาก แต่ เงินสมทบกองทุนประกันสังคมตามมาตรา
จิตวิ ท ยาต้ อ งตกงานเป็ นจํ า นวนมาก เมื่ อ
ทุก รายไม่ ไ ด้ เ ดิ น ทาง และนอกจากนัน้ ยั ง 39 ผ่านเคาน์เตอร์ เซอร์ วิสโดยเปิ ดให้ บริ การ
เที ยบกับ สายวิ ช าชี พ เพราะไม่ มีความรู้ ใน
ตรวจพบว่า หมายจับจาก สภ.ในสังกัดของ 5,400 สาขาทัว่ ประเทศ เพื่อเป็ นการอํานวย
การประกอบกิจการด้ วยตัวเอง
26 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553
ความสะดวก และหยัดเวลาในการชําระเงิน ป ฏิ รู ป 1 0 . ค ณะ กรร มก าร เ ค รื อ ข่ า ย เหลืออีก 34 คนเป็ นผู้ที่เคยมีใบอนุญาตแต่
สมทบของผู้ประกันตน เพียงแค่ผ้ ปู ระกันตน อุดมศึกษาเพื่อการปฏิรูป 11.คณะกรรมการ ไม่ต่ออายุ
ยื่ น บั ต รประจํ า ตั ว ประชาชนที่ เ คาน์ เ ตอร์ เ ค รื อ ข่ า ยศิ ลปิ น เ พื่ อ ก าร ป ฏิ รู ป 1 2 .
"แ ม้ ว่ า รั ฐ บ าลไ ด้ เ ปิ ดโ อกา สใ ห้ มี ก า ร
ชําระเงิน โดยเสียค่าธรรมเนียมในอัตรา 10 คณะกรรมการการจั ด สรรทรั พ ยากรเพื่ อ
ดําเนินการลงทะเบียนอย่างถูกต้ องแล้ ว แต่
บาท ต่ อ 1 รายการ และผู้ ประกั น ตน ความเป็ นธรรม 13.คณะกรรมการความ
ก็ยงั มีแรงงานต่างด้ าวที่ผิดกฎหมายลักลอบ
สามารถจ่ายเงินสมทบย้ อนหลังได้ 1 เดือน ยุ ติ ธ ร ร ม กั บ ก า ร ป ฏิ รู ป แ ล ะ 1 4 .
เข้ า มาในราชอาณาจักรอีกจํ านวนมาก ซึ่ง
เริ่ ม ให้ บ ริ การตัง้ แต่ เดื อ นกรกฎาคม 2553 คณะกรรมการสือ่ สารเพื่อการปฏิรูป
เป็ นต้ นเหตุ ข องปั ญหาอาชญากรรมที่
เป็ นต้ นไป หากผู้ ประกั น ตนมี ข้ อสงสั ย
ทั ้งนี ค้ ณะกรรมการทัง้ 14 ชุด จะไประดม ตามมา โดย สตม.ได้ ดําเนินการปราบปราม
สอบถามข้ อมูลได้ ที่ สํานักงานประกันสังคม
ความคิ ด เห็ น ขององค์ กรเครื อข่ า ยถึ ง จั บ กุ ม มาโดยตลอดและผลัก ดั น ส่ ง กลั บ
จังหวัดสมุทรปราการหมายเลขโทรศัพท์ 0-
มาตรการในการสร้ างความเป็ นธรรมและ ประเทศเป็ นจํ า นวนมาก แต่ ก็ ยั ง มี ก าร
2755-6249-57 หรือสํานักงานประกันสังคม
ลดความเหลื่อ มลํ ้าของสังคมในแต่ละด้ า น ลักลอบกลับ เข้ า มาอี ก ทั ง้ นี อ้ าจจะมี ส่ว น
สาขาที่ท่ านสะดวก หรื อ สายด่ว น 1506 ดู
เพื่อนําข้ อสรุปเสนอต่อคณะกรรมการปฏิ รูป เกี่ ย วข้ องกั บ ขบวนการค้ ามนุ ษ ย์ มี ก าร
รายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่ www.sso.go.th
ที่มี นายอานันท์ ปั ญยารชุน เป็ นประธาน แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบจากการบังคับ
กก.ประเวศตั ง้ 14 ที ม ขั บ เคลื่ อ นงาน นํ า ไปสัง เคราะห์ เ ป็ นนโยบาย ที่ ส ามารถ ใช้ แรงงานหรือบริการ" พล.ต.สนัน่ กล่าว
“สมัชชาปฏิรูป” ประเด็น "แรงงาน" ไป ปฏิบตั ิได้ และได้ ผลดีจริ ง ซึ่งเชื่อว่าแนวทาง
พล.ต.สนั่น กล่าวว่า สําหรั บการแก้ ปัญหา
รวมกับ "คนจนเมือง" นี จ้ ะเป็ นติ ด อาวุ ธ ทางปั ญญา สร้ างพลัง
แรงงานต่างด้ าวหลบหนีเข้ าเมืองนั ้น ตนเอง
29 ก.ค.53 - นพ.ประเวศ วะสี ประธาน สัง คม และนํ า ไปสู่ก ารปฏิ รูป ประเทศไทย
ได้ กําชับเจ้ าหน้ าที่ตั ้งด่านตรวจเข้ มตามแนว
สมั ช ชาปฏิ รู ป กล่ า วถึ ง ผลการประชุ ม ด้ วยสันติวิธี ดังนั ้นหวังว่า ในระยะเวลา 3 ปี
ชายแดนอย่างต่อเนื่อง ซึง่ สาเหตุของปั ญหา
คณะกรรมการสมัชชาปฏิ รูป ว่า ที่ประชุมมี กระบวนการทํางานของคณะกรรมการทั ้ง 2
เกิ ดจากแรงงานขั น้ ตํ่ า จากประเทศเพื่ อ น
มติ แ ต่ ง ตั ง้ คณะกรรมการ 14 ชุ ด ภายใต้ คณะ จะก่อให้ เกิด “วัฒนธรรมใหม่”
บ้ านมีความยากจนจึงหลบหนีเข้ ามาทํางาน
คณะกรรมการสมั ช ชาปฏิ รู ป ได้ แก่ 1. สตม.กวาดล้ างจับกุ มแรงงานข้ ามชาติ ในประเทศไทย ดั ง นั น้ หากประเทศไทย
คณะกรรมการองค์ กรปกครองส่วนท้ องถิ่ น ผิ ด กฎหมายใน กทม.และปริ มณฑล ยกระดั บ แรงงานขั น้ ตํ่ า ให้ สูง ขึ น้ เพื่ อ ลด
เพื่ อ การปฏิ รูป 2.คณะกรรมการเครื อ ข่ า ย 1,070 คน ระดับ การเหลื่อ มลํ ้าทางสัง คมระหว่ า งคน
สภาองค์ กรชุม ชนและสภาผู้นํ าชุม ชนเพื่ อ รวยและคนจนก็จะเป็ นการแก้ ปัญหาได้ อี ก
30 ก.ค.53 - พล.ต.สนัน่ ขจรประศาสน์ รอง
การปฏิ รู ป 3.คณะกรรมการเครื อ ข่ า ย ทางหนึง่
นายกรั ฐ มนตรี ในฐานะประธานคณะ
ประชาชนเพื่ อการปฏิ รูป 4.คณะกรรมการ
กรรมการบริ ห ารแรงงานต่ า งด้ า วหลบหนี เผยเดือน ก.ค.มีผ้ ู ว่ างงาน 350,000 คน
เครื อ ข่ ายผู้ใ ช้ แ รงงานและคนจนเมื อ งเพื่ อ
เข้ าเมื อ ง เผยผลการกวาดล้ างจั บ กุ ม ความต้ องการแรงงานเพี ย ง 140,000
การปฏิ รูป 5.คณะกรรมการเครื อข่ า ยพลัง
แรงงานต่ า งด้ าว 3 สัญชาติ คือ พม่ า ลาว คน
สตรี เพื่ อการปฏิ รู ป 6.คณะกรรมการ
และกัม พู ช า ซึ่ ง หลบหนี เ ข้ าประเทศและ
เครื อ ข่ า ยพลัง เยาวชนเพื่ อ การปฏิ รู ป 7. 31 ก.ค. 53 - กรมการจัดหางานเผยข้ อมูล
ทํา งานผิ ดกฏหมายในพื น้ ที่ กรุ งเทพฯ และ
คณะกรรมการเครื อ ข่ า ยผู้ พิ ก ารเพื่ อ การ สถานการณ์ว่างงานเดือนกรกฎาคมคาดมีผ้ ู
ปริมณฑลได้ 1,070 คน โดยเป็ นผู้ที่ไม่เคยมี
ป ฏิ รู ป 8 . ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ ค รื อ ข่ า ย ว่ า งงาน 350,000 คน ความต้ องการ
ใบอนุญาตมาก่อนจํานวน 1,036 คน ส่วนที่
ผู้ ด้ อ ย โ อ ก า ส เ พื่ อ ก า ร ป ฏิ รู ป 9 . แรงงานจากนายจ้ า ง 143,872 อัตรา การ
คณะกรรมการเครื อ ข่า ยภาคธุ รกิ จ กับ การ ให้ บริ การจัดหางาน (มิ.ย.53) มีผ้ ูมาสมัคร
คนทํางาน กรกฎาคม 2553 >> 27
งาน 98,877 คน สามารถบรรจุงาน 51,071 28,172 อัตรา จําแนกเป็ นผู้บริ หาร ผู้จัดการ ด้ านข้ อมู ล กรมการจั ด หางานถึ ง ความ
คน จํานวน 3,088 อัตรา ผู้ประกอบวิชาชีพด้ าน ต้ องการแรงงานผ่านบริ การจัดหางานเดือน
ต่างๆ จํานวน 7,710 อัตรา ช่างเทคนิคและ มิ ถุ น ายน จํ า แน กตามวุ ฒิ การศึ ก ษ า
กรมการจัดหางาน รายงานสถานการณ์ การ
ผู้ป ฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อง จํ า นวน 13,251 นายจ้ า งมี ค วามต้ อ งการแรงงาน จํ า นวน
ว่ า งงานในเดื อ นกรกฎาคม 2553 โดย
อัตรา เสมี ยน เจ้ า หน้ า ที่ จํ า นวน 16,141 44 ,043 อั ต รา เป็ นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา
วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้ องในเชิงสถิติคาดว่า
อั ต รา พนั ก งานบริ ก าร พนั ก งานขายใน จํ า นวน 14 ,156 อัต รา รองลงมาเป็ นผู้ มี
จะมีผ้ วู ่ างงานประมาณ 350,000 คน หรื อ
ร้ านค้ า และตลาด จํ า นวน 23,751 อั ตรา การศึกษาระดับ ปวส. จํานวน 9,788 อัตรา
คิดเป็ นร้ อยละ 1 ของกําลังแรงงาน รวมถึงมี
ผู้ปฏิบตั ิงานฝี มือด้ านการเกษตรและประมง และระดับประถมและตํ่ากว่า จํานวน 7,300
ผู้ ป ระ กั น ตน มาข อขึ น้ ท ะ เ บี ยน ข อ รั บ
(แปรรู ป ขั น้ พื น้ ฐาน) จํ า นวน 602 อั ต รา อัตรา และจําแนกตามประเภทอาชีพ อาชีพ
ประ โยชน์ ทดแทน กรณี ว่ า งงาน เดื อ น
ผู้ ปฏิ บั ติ ง านโดยใช้ ฝี มื อ ในธุ ร กิ จ ต่ า งๆ งานพื ้นฐาน (แรงงานด้ านประกอบ แรงงาน
มิ ถุ น ายน 2553 จํ า นวน 51,135 คน
จํ า นวน 14,532 อั ต รา ผู้ ปฏิ บั ติ ง านใน บรรจุผลิตภัณฑ์ ) มีความต้ องการมากที่สุด
สามารถบรรจุงานได้ 32,021 คน
โ ร ง ง า น ผู้ ค ว บ คุ ม เ ค รื่ อ ง จั ก ร แ ล ะ จํ า นวน 14 ,310 อั ต รา รองลงมาเสมี ย น
ในส่ว นความต้ องการแรงงาน นายจ้ างมี ผู้ ปฏิ บั ติ ง านด้ านการประกอบ จํ า นวน เจ้ า หน้ า ที่ จํ านวน 6 ,596 อัตรา พนักงาน
ความต้ องการแรงงาน จํ า นวน 143,872 17,523 อั ต รา และอาชี พ งานพื น้ ฐาน บริ การ พนักงานขายในร้ านค้ า และตลาด
อัต รา เพิ่ ม ขึน้ จากเดื อ นมิ ถุน ายน จํ า นวน จํานวน 47,274 อัตรา จํานวน 6,072 อัตรา.

วารสารออนไลน์คนทางานมีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการ
สื่อสารด้านแรงงาน ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่-ทาซ้า
รับข่าวสาร-ข้อมูลด้านแรงงานทางอินเตอร์เน็ตได้ที่ :
www.prachatai3.info (เว็บไซต์ข่าวทางเลือกประชาไท)
www.thailabour.org (โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย)
- www.facebook.com/thailabour
- www.twitter.com/thailabour

ส่งข่าว-ประชาสัมพันธ์-แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ด้านแรงงานได้ที่ :
workers@prachathi.com โทรศัพท์/ sms แจ้งข่าวได้ที่เบอร์ 086-1947002 แฟกซ์ 02 690 2712

28 << คนทํางาน กรกฎาคม 2553

You might also like