You are on page 1of 88

การสังหารหมูที่กรุงเทพ :

ขอเรียกรองตอการแสดงความรับผิดชอบ

สมุดปกขาวโดยสํานักกฎหมาย อัมสเตอรดัม แอนด เปรอฟ


บทคัดยอ
เปนเวลากวา 4 ปที่ประชาชนชาวไทยตกเปนเหยื่อของการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานอยางตอเนื่อง และเปน
ระบบสิทธิดังกลาวคือ สิทธิในการกําหนดทางเลือกของตนผานการเลือกตั้งอยางแทจริงที่ดํารงอยูบนฐาน
ของเจตจํานงของประชาชน การโจมตีระบอบประชาธิปไตยเริ่มขึ้นดวยการวางแผน และไดรับการลงมือ
โดยการทํ ารัฐ ประหารโดยทหารในป พ.ศ. 2549 เปน ความร ว มมือของสมาชิกของคณะองคมนตรี ผู
บั ญ ชาการทหารของไทยในการล ม ล า งรั ฐ บาลที่ ม าจากการเลื อ กตั้ ง ตามระบอบประชาธิ ป ไตยของ
นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร หัวหนาพรรคไทยรักไทยซึ่งชนะการเลือกตั้งมาถึง 3 สมัยติดตอกัน ทั้งในป
พ.ศ. 2544, 2548 และ 2549 การรัฐประหารในป พ.ศ. 2549 ถือเปนการเริ่มตนในการพยายามที่จะฟนฟู
อํานาจในการชี้นําของกลุมทุนเกา นายทหารระดับสูง, ขาราชการระดับสูง และกลุมองคมนตรี (“กลุมอํานาจ
เกา”) โดยทําลายลางพลังจากการเลือกตั้งซึ่งกลายเปนสิ่งทาทายอํานาจของพวกเขาอยางสําคัญและเปน
ประวัติการณ ระบอบที่การรัฐประหารตั้งขึ้นเขาควบคุมหนวยงานตางๆของรัฐบาล, ยุบพรรคไทยรักไทย
และตัดสิทธิทางการเมืองของแกนนําพรรคเปนเวลา 5 ป
เมื่อพรรคที่สืบทอดจากพรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งปลายป พ.ศ. 2550 กลับถูกศาลเฉพาะกิจอัน
ประกอบไปดวยผูพิพากษาที่แตงตั้งโดยผูทําการรัฐประหารพิพากษาใหยุบพรรคอีก และเปดทางใหนาย
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขึ้นสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี หลังจากนั้นรัฐบาลอภิสิทธิ์ถูกกดดันใหตองใชมาตรการกด
ขี่เพื่อรักษาฐานอํานาจอันไมชอบธรรม และปราบปรามการเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยที่กอตัวขึ้นเพื่อ
ตอบโตการรัฐประหารโดยทหารในป พ.ศ. 2549 และการรัฐประหารโดยศาลในป พ.ศ. 2551 หนึ่งในวิธีการ
กดขี่คือการที่รัฐบาลบล็อกเว็บไซดประมาณ 50,000 เว็บ, ปดสถานีโทรทัศนดาวเทียมของฝายตอตานรัฐบาล
และกักขังคนจํานวนหนึ่งภายใตกฎหมายหมิ่นพระบรมราชานุภาพอันเลื่องชื่อของไทย และภายใต พ.ร.บ.วา
ดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (พ.ศ. 2550) ที่โหดรายพอกัน เมื่อเผชิญกับการชุมนุมประทวง
โดยมวลชนที่ทาทายอํานาจของรัฐบาล รัฐบาลไดเชื้อเชิญใหกองทัพเขามาจัดการ และไดระงับเสรีภาพตาม
รัฐธรรมนูญโดยการนํา พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (พ.ศ. 2551) พรอมทั้ง พ.ร.ก.การ
บริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน (พ.ศ. 2548) ซึ่งเขมงวดยิ่งกวามาใช ตั้งแตวันที่ 7 เมษายน 2553 เปน
ตนมารัฐบาลทหารชุดใหมของประเทศในนามของศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉิน (ศอฉ.) ไดเขา
มาปกครองประเทศโดยไมมีมาตรการตรวจสอบความรับผิดใดๆภายใตการประกาศ “สถานการณฉุกเฉิน” ที่
ถูกประกาศอยางไมเหมาะสม ถูกนํามาบังคับใชอยางไมสอดคลองกับความรุนแรงของสถานการณ และใช
อยางตอเนื่องไมมีกําหนดเพื่อปดปากการคัดคานใดที่มีตอรัฐบาลที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง นี่เปนอีกครั้งที่
กลุมอํานาจเกาไมอาจปฏิเสธขอเรียกรองเพื่อการปกครองตนเองของประชาชนชาวไทยไดโดยไมตองหันไป
หาระบอบเผด็จการทหาร
ในเดือนมีนาคม 2553 เกิดการประทวงตอตานรัฐบาลครั้งใหญในกรุงเทพโดยกลุมคนเสื้อแดง หรือที่เรียกวา
“แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ” (นปช.) การชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงดําเนินมาจนถึง
วันที่ 66 ในวันที่ 19 พฤษภาคมเมื่อรถหุมเกราะบดขยี้แนวกั้นที่ทําขึ้นชั่วคราวรอบสี่แยกราชประสงคใน
กรุงเทพ และทะลวงคายประทวงของกลุมคนเสื้อแดง หลายสัปดาหกอนหนานั้นเมื่อวันที่ 10 เมษายนกอง
กําลังทหารพยายามสลายการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงที่สะพานผานฟาแตลมเหลวยังผลใหมีผูเสียชีวิต 27
ราย และในการสลายการชุมนุมที่สี่แยกราชประสงคชวงวันที่ 13 -19 พฤษภาคมมีผูเสียชีวิตอยางนอย 55 ราย
นับถึงเวลาที่บริเวณที่ชุมนุมถูกเคลียรเรียบรอย อาคารพาณิชยสําคัญ 2 - 3 แหงยังคงมีควันกรุน มีผูเสียชีวิต
ไปมากกวา 80 ราย และผูที่ถูกกลาวหาวาเปนแกนนําการชุมนุมมากกวา 50 รายอาจเผชิญกับโทษประหาร
ชีวิตจากขอหา “กอการราย” ผูชุมนุมหลายรอยรายยังคงถูกควบคุมตัวขอหาฝาฝน พ.ร.บ.การรักษาความ
มั่นคงภายในราชอาณาจักรและ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินซึ่งรัฐไทยนํามาใชเปน
เครื่องมือในการทําใหการชุมนุมทางการเมืองที่ชอบธรรมเปนเรื่องผิดกฎหมาย
ประเทศไทยมีพันธกรณีตามกฎหมายระหวางประเทศ และพันธกรณีตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิ
พลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR) ในการ
สืบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นรายแรงทั้งหลายที่เกิดขึ้นชวงการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดง รวมถึง
ตองดําเนินคดีกับเจาหนาที่ทหารและพลเรือนซึ่งอยูภายใตสายการบังคับบัญชาสําหรับอาชญากรรมอยาง
การสังหารพลเรือนกวา 80 รายโดยพลการ และตามอําเภอใจในกรุงเทพชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553
ดวย ขอเท็จจริงตางๆปรากฏอยางชัดเจนวา มีการละเมิดกฎหมายระหวางประเทศดวยการใชกองกําลังทหาร
อยางเกินความจําเปน มีการกักขังโดยพลการตอเนื่องเปนเวลานาน และการทําใหหายสาบสูญ และยังมี
ระบบการประหั ต ประหารทางการเมื อ งที่ ป ฏิ เ สธเสรี ภ าพในการมี ส ว นร ว มทางการเมื อ ง และในการ
แสดงออกของพลเมืองรวมถึงกลุมคนเสื้อแดง มีหลักฐานวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรายแรงเพียง
พอที่จะดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริงอยางเปนอิสระ และเปนกลางเพื่อที่ผูที่กระทําความผิดกฎหมายอาญา
ระหวางประเทศจะถูกนําตัวเขาสูกระบวนการยุติธรรม
นอกจากนี้การใชกองกําลังทหารในการปราบปรามกลุมคนเสื้อแดงชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 ยัง
จัดเปนการประทุษรายประชาชนพลเรือนอยางเปนระบบ และเปนวงกวางซึ่งอาจเขาขายอาชญากรรมตอ
มนุษยชาติตามธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศ (Rome Statute of the International
Criminal Court) ซึ่งกําหนดใหจัดตั้งศาลอาญาระหวางประเทศในกรุงเฮกอีกดวย แมวาประเทศไทยจะไมได
ใหสัตยาบันตอธรรมนูญกรุงโรมฯ แตการโจมตีเชนนี้อาจจะเปนเหตุเพียงพอใหไดรับการพิจารณาใหเขาสู
การพิจารณาของศาลอาญาระหวางประเทศหากเปนการดําเนินการโดยรูถึงการกระทํานั้น ภายใตนโยบายที่
ยอมใหเกิดหรือสนับสนุนใหเกิดความสูญเสียแกชีวิตโดยไมจําเปน หรือเปนนโยบายที่ออกแบบมาเพื่อ
โจมตีกลุมทางการเมืองที่เฉพาะเจาะจงกลุมใดกลุมหนึ่ง มีหลักฐานมากมายที่ชี้วาแผนตอตานกลุมคนเสื้อ
แดงที่ดําเนินมาเปนระยะเวลา 4 ปกําลังดําเนินการอยูในปจจุบันภายใตนโยบายที่รับรองโดยรัฐบาลอภิสิทธิ์
และการสังหารหมูกลุมคนเสื้อแดงที่เพิ่งผานมาเปนเพียงการปฏิบัติตามนโยบาย นโยบายดังกลาวครั้งลาสุด
เทานั้น
ทายที่สุดการสืบสวนเหตุการณสังหารหมูกลุมคนเสื้อแดงชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคมที่รัฐบาลตั้งใจจะทํา
ปรากฏวาทั้งไมเปนอิสระ และไมเปนกลางตามที่ตามกฎหมายระหวางประเทศกําหนด ในขณะที่ประเทศ
ไทยอาจมีความผิดเพิ่มเติมกรณีการละเมิดกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
และกฎหมายจารีตประเพณีระหวางประเทศจากที่ไมดูแลใหมีการสืบสวนการสังหารหมูอยางเปนธรรมและ
สมบูรณ การกดดันจากนานาชาติจึงเปนสิ่งจําเปนเพื่อใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายระหวางประเทศ และเพื่อ
ปองกันความพยายามในการฟอกตัวเองจากเหตุการณดังกลาวที่กําลังดําเนินอยูของรัฐบาล
ความจริงที่ไมมีใครโตแยงไดคือประเทศไทยควรจะกาวพนความรุนแรง และจะตองดําเนินการเพื่อใหเกิด
ความสมานฉันท แตทวาความสมานฉันทจําเปนตองเริ่มดวยการคืนสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนในการ
ปกครองตนเอง ยิ่งไปกวานั้นการที่จะทําใหมีการสมานฉันทจะตองมีการดําเนินการตามกฎหมายเพื่อใหผูที่
สั่งการใหมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นรายแรงที่กระทําไปเพื่อยับยั้งสิทธิในการปกครองตนเองตองรับผิด
กฎหมายระหวางประเทศกําหนดวาไมอาจยอมรับสิ่งที่นอยไปกวานี้
คํานํา
ในป พ.ศ. 2541 ผมกอตั้งพรรคไทยรักไทยภายใตรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทยที่เปนประชาธิปไตย
อยางแทจริง รัฐธรรมนูญฉบับที่เรียกกันวารัฐธรรมนูญฉบับประชาชนนี้มอบการเปนตัวแทนอยางแทจริงใน
กระบวนการเลือกตั้งแกพี่นองชาวไทยเปนครั้งแรก ในฐานะนายกรัฐมนตรีผมพยายามดําเนินนโยบาย
สาธารณะตางๆที่เสนอในชวงหาเสียงเลือกตั้ง และผมเชื่อวาคนไทยสวนใหญเห็นดวยกับขอเท็จจริงที่วา
เสียงของพวกเขาไดรับการสดับรับฟง นี่เปนเหตุผลที่ทําใหพรรคไทยรักไทยไดรับความนิยมและแข็งแกรง
ในป พ.ศ. 2549 การรัฐประหารชวงชิงสิทธิในการเลือกตั้งของพี่นองประชาชนไปซึ่งทําใหคนไทยสวนใหญ
ของประเทศไมพอใจ และทําใหพี่นองประชาชนจํานวนมากลุกขึ้นมาตอตาน แตแทนที่จะยอมรับฟงขอ
เรียกรองของพวกเขา กลุมอํานาจเกาที่นิยมระบอบเผด็จการกลับพยายามที่จะกําจัดพี่นองประชาชนคนไทย
ความทะยานอยากของคนกลุมนี้เปนอันตรายยิ่ง อีกทั้งยังรุกล้ําจิตวิญญาณของความเปนมนุษย
ผมขอใหสํานักกฎหมาย อัมสเตอรดัม แอนด เปรอฟ เขามาทําการศึกษากรณีของการประทวงของกลุมคน
เสื้ อ แดงเมื่ อ วั น ที่ 10 เมษายนและ 19 พฤษภาคม 2553 ว า เป น การชุ ม นุ ม ทางการเมื อ งเพื่ อ เรี ย กร อ ง
ประชาธิปไตยตามมาตรฐานกฎหมายระหวางประเทศหรือไม ผมยังขอใหสํานักกฎหมายดังกลาวศึกษา
กระบวนการทํ าลายระบอบประชาธิปไตยที่มุงเปามาที่กลุ มคนเสื้อแดง และศึกษานัยยะของเหตุการณ
เหลานั้นภายใตกฎหมายระหวางประเทศ โลกควรจะเขาใจวาในประเทศไทยประชาธิปไตยที่แทจริงกําลังถูก
ทําราย
ผมเชื่อวาการเลือกตั้งจะเกิดขึ้นในไมชา อยางไรก็ตามหากการเลือกตั้งหมายถึงการกาวไปสูความสมานฉันท
การเลือกตั้งเชนนั้นจะตองตอบขอกังวลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการเสริมสรางอํานาจประชาชน และการฟนฟู
ประเทศไทยใหเปนรัฐประชาธิปไตยแบบที่ไมกีดกันคนกลุมใดกลุมหนึ่ง และในขณะเดียวกันเราตอง
ปฏิเสธการใชความรุนแรงเพื่อเปนเครื่องมือเพื่อใหบรรลุเปาหมายทางการเมือง สันติสุขที่แทจริงจะมีไดก็
ตอเมื่อทุกฝายสามารถมีสวนรวมในทางการเมืองไดอยางแทจริง

ดร. ทักษิณ ชินวัตร


สารบัญ
1. บทนํา 1
2. เสนทางไปสูการปกครองระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทย 6
3. การขึ้นสูอํานาจของพรรคไทยรักไทย 9
4. ถนนสูการปฏิวัติในป พ.ศ. 2549 14
5. การฟนฟูระบอบอํามาตยาธิปไตยอยางผิดกฎหมาย 19
5.1 การยึดอํานาจโดยทหาร 19
5.2 ระเบียบรัฐธรรมนูญใหม 21
5.3 การยุบพรรคไทยรักไทย 23
5.4 การรัฐประหารทางศาลและเหตุการณความวุนวายที่ถูกจัดตั้งขึ้น 24
6. ฤดูรอนสีดําของประเทศไทย : การสังหารหมูกลุมคนเสื้อแดง 35
6.1 กลุมคนเสื้อแดงตองการอะไร 35
6.2 มาตรการอันผิดกฎหมายของการรณรงคประหัตประหารและความรุนแรง 38
6.3 บดขยี้กลุมคนเสื้อแดง 41
6.4 มาตรฐานสากลวาดวยการใชกําลัง 44
7. ฤดูกาลใหมของการปกครองโดยทหาร 49
7.1 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร 50
7.2 การประกาศสถานการณฉุกเฉิน 51
7.3 การควบคุมขอมูลขาวสาร 53
7.4 กลุมคนเสื้อแดงนะหรือคือผูกอการราย 54
8. ขอเรียกรองหาความยุติธรรม 61
8.1 หนาที่ในการสืบสวนและหาผูกระทําความผิดของประเทศไทย 61
8.2 การสังหารโดยพลการและตามอําเภอใจ : การละเมิดสิทธิมนุษยชนที่รายแรงอื่นๆ 63
8.3 การประหัตประหารทางการเมือง 66
8.4 อาชญากรรมตอมนุษยชาติ 69
8.5 หลักฐานเรื่องการพยายามปกปด 73
8.6 ความเปนธรรมสําหรับผูถูกกลาวหา 75
9. บทสรุป : หนทางเดียวสูความปรองดอง 80
1. บทนํา
เปนเวลากวา 4 ปที่ประชาชนชาวไทยตกเปนเหยื่อของการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานอยางตอเนื่องและเปน
ระบบ สิทธิดังกลาวคือสิทธิในการกําหนดทางเลือกของตนโดยผานการเลือกตั้งอยางแทจริงที่ดํารงอยูบน
ฐานของเจตจํานงของประชาชน การโจมตีระบอบประชาธิปไตยเริ่มขึ้นดวยการวางแผนและลงมือกระทํา
การรัฐประหารโดยทหารในป พ.ศ. 2549 ดวยความรวมมือกับสมาชิกองคมนตรี ผูบัญชาการทหารของไทย
ลมลางรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร หัวหนา
พรรคไทยรักไทยซึ่งชนะการเลือกตั้งมาถึง 3 สมัยติดตอกัน ทั้งในป พ.ศ. 2544, 2548 และ 2549 ระบอบที่
การรัฐประหารตั้งขึ้นเขาควบคุมหนวยงานตางๆของรัฐบาล, ยุบพรรคไทยรักไทย และตัดสิทธิทางการเมือง
ของแกนนําพรรคเปนเวลา 5 ป การที่นาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไดเปนนายกรัฐมนตรีดวยเหตุผลเดียวนั่นคือ
เพราะพรรคการเมืองตางๆที่ชนะการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยตลอดการเลือกตั้ง 4 ครั้งที่ผานมาถูก
ยุบไป
การรัฐ ประหารในป พ.ศ. 2549 ถื อเปน การเริ่ม ต น ในการพยายามที่จ ะฟน ฟูอํา นาจนํา ของกลุ มทุน เก า
นายทหารระดับสูง, ขาราชการระดับสูง และกลุมองคมนตรีซึ่งจะขอรวมเรียกวาเปน “กลุมอํานาจเกา” ซึ่ง
การฟนฟูระบอบที่กลุมอํานาจเกาตองการจะสําเร็จตองทําลายพรรคไทยรักไทยเปนอันดับแรก เพราะพรรค
ไทยรักไทยเปนพลังทางการเลือกตั้งที่กลายเปนสิ่งทาทายอํานาจของกลุมอํานาจเกาอยางสําคัญและเปนครั้ง
แรกในประวั ติศ าสตร และหลั ง จากนั้ น กลุ มอํา นาจเกา ไม อ าจหยุด ยั้ง การกวาดลา งขบวนการเรีย กรอ ง
ประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นตามมา
พรรคไทยรักไทยเปน พรรคการเมืองแรกในประวัติศาสตรไทยที่ไดรับความนิย มสูงสุดใหมาปกครอง
ประเทศ อันเปนการไปขัดขวางธรรมเนียมปฏิบัติอันยาวนานที่รัฐบาลผสมที่ออนแอจะเขามารับใชตาม
อําเภอใจของกลุมอํานาจเกาดวยการเสริมอํานาจของฐานเสียงที่ถูกเบียดขับไปอยูชายขอบของชีวิตทาง
การเมืองของประเทศมายาวนาน พรรคไทยรักไทยไดรับการสนับสนุนจากประชาชนในระดับที่ไมเคยมีมา
กอนทําใหพรรครูสึกวาไมจําเปนตองสยบยอมมอบอํานาจใดๆที่รัฐธรรมนูญมีใหรัฐบาลจากการเลือกตั้งแก
กลุมอํานาจเกา การบริหารจัดการของพรรคจึงเปนไปเพื่อยืนยันการควบคุมกระบวนการกําหนดนโยบาย
การใหทหารอยูภายใตการควบคุมของพลเรือน และการทําลายเครือขายระบบอุปถัมภที่สมาชิกอันทรง
อํานาจของคณะองคมนตรีใชอิทธิพลของตนเหนือขาราชการ, ระบบตุลาการ และกองกําลังทหาร ทั้งสอง
ดานของนโยบายเศรษฐกิจแบบคูขนานที่รัฐบาลไทยรักไทยดําเนินการอยางรวดเร็วเนื่องจากมีเสียงขางมาก
ในสภายิ่งทําใหบรรดานักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพถอนการสนับสนุนทักษิณ ในขณะที่นโยบายเปดตลาดเสรี
ของพรรคไทยรักไทยทําใหกลุมธุรกิจขนาดใหญที่อิงกลุมอํานาจเกาตองมีการแขงขันมากขึ้น ความนิยมที่มี
ตอโครงการตางๆที่ตอบสนองตอความจําเปนของเกษตรกรในตางจังหวัด และคนจนในเมืองทําใหรัฐบาล
ยืนหยัดตอแรงกดดันที่มาจากกลุมตัวละครหลักของกลุมอํานาจเกา

1
เมื่อไมสามารถจะขจัด หรือบั่นทอนรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งดวยวิธีใดๆทหารจึงใชยุทธวิธีในการยก
ขบวนรถถัง และกองกําลังพิเศษเขามาทวงประเทศคืนจากตัวแทนของประชาชน
หลังจากการรัฐประหารเปนตนมา กลุมอํานาจเกาพยายามที่จะรวบรวมอํานาจทางการเมืองของตน ใน
ขณะเดียวกันก็ถอยไปซอนตัวอยูหลังฉากที่สรางภาพวาเปนประชาธิปไตยแบบมีรัฐธรรมนูญ กลุมอํานาจเกา
ใชการรณรงคอยางไมหยุดหยอนเพื่อกําจัดพรรคไทยรักไทยออกจากพื้นที่ทางการเมืองไทยเพื่อใหมั่นใจวา
จะกลับไปสูการมีรัฐบาลออนแอที่ยอมรับใชผลประโยชนของกลุมอํานาจเกา เมื่อแผนนี้ไมสําเร็จกลุม
อํานาจเกาจึงตองหันไปพึ่งฝายตุลาการที่ถูกทําใหเขามามีสวนพัวพันทางการเมืองอยางมาก และไดรับอํานาจ
ตามรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 ใหสามารถลมผลการเลือกตั้งที่ดําเนินอยางเสรีเพียงเพื่อทําใหการกําจัด
รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งดูเปนสิ่งที่ถูกตองตามกฎหมาย
ดวยการครอบงําศาล และดวยความสําเร็จบางสวนในการทําใหฝายนิติบัญญัติในรัฐบาลผสมของทักษิณ
อ อ นแอลง และด ว ยความวุ น วายที่ ก อ โดยกลุ ม การเมื อ งนอกรั ฐ สภาอย า งพั น ธมิ ต รประชาชนเพื่ อ
ประชาธิปไตย (พธม.) กลุมอํานาจเกาสามารถทําใหนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี ทวา
หลังจากนั้นรัฐบาลอภิสิทธิ์ถูกกดดันใหตองใชมาตรการกดขี่เพื่อรักษาฐานอํานาจอันไมชอบธรรม และ
ปราบปรามการเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยที่กอตัวขึ้นเพื่อตอบโตการรัฐประหารโดยทหารในป พ.ศ.
2549 และการรัฐ ประหารโดยศาลในป พ.ศ. 2551 หนึ่ งในวิธีก ารกดขี่คือ การที่รัฐบาลบล็ อกเว็บไซท
ประมาณ 50,000 เว็บ, ปดสถานีโทรทัศนดาวเทียมของฝายตอตานรัฐบาล และกักขังคนจํานวนหนึ่งภายใต
กฎหมายหมิ่นพระบรมราชานุภาพอันเลื่องชื่อของไทย และภายใต พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอรที่โหดรายพอกัน เมื่ อเผชิญกับการชุมนุ มประท วงโดยมวลชนที่ทาทายอํานาจของรัฐบาล
รัฐบาลเชื้อเชิญใหกองทัพเขามาจัดการ และระงับเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญโดยการนํา พ.ร.บ.การรักษาความ
มั่นคงภายในราชอาณาจักร พรอมทั้ง พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินซึ่งเขมงวดยิ่งกวามาใช
ตั้งแตวันที่ 7 เมษายน 2553 เปนตนมา รัฐบาลทหารชุดใหมของประเทศในนามของศูนยอํานวยการแกไข
สถานการณฉุกเฉิน (ศอฉ.) เขามาปกครองประเทศโดยไมมีมาตรการตรวจสอบความรับผิดใดๆภายใตการ
ประกาศ “สถานการณฉุกเฉิน” ที่ถูกประกาศอยางไมเหมาะสมถูกนํามาบังคับใชอยางไมสอดคลองกับความ
รุนแรงของสถานการณ และใชอยางตอเนื่องอยางไมมีกําหนดเพื่อที่จะปดปากการคัดคานใดที่มีตอรัฐบาลที่
ไมไดมาจากการเลือกตั้ง นี่เปนอีกครั้งที่กลุมอํานาจเกาไมอาจปฏิเสธขอเรียกรองเพื่อการปกครองตนเองของ
ประชาชนชาวไทยโดยไมตองหันไปหาระบอบเผด็จการทหาร
ในเดือนมีนาคม 2553 เกิดการประทวงตอตานรัฐบาลครั้งใหญในกรุงเทพโดยกลุมคนเสื้อแดง หรือที่เรียกวา
“แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ” การชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงดําเนินมาจนถึงวันที่ 66
เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคมเมื่อรถหุมเกราะบดขยี้แนวกั้นที่ทําขึ้นชั่วคราวรอบสี่แยกราชประสงคในกรุงเทพและ
ทะลวงคายประทวงของกลุมคนเสื้อแดง หลายสัปดาหกอนหนานั้นเมื่อวันที่ 10 เมษายนกองกําลังทหาร
พยายามสลายการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงที่สะพานผานฟาแตลมเหลวยังผลใหมีผูเสียชีวิต 27 ราย และใน

2
การสลายการชุมนุมที่สี่แยกราชประสงคชวงวันที่ 13 - 19 พฤษภาคมมีผูเสียชีวิตอยางนอย 55 ราย เมื่อตอง
เผชิญกับความพายแพที่หลีกเลี่ยงไมไดแกนนํา นปช. ประกาศยุติการชุมนุม และยอมมอบตัวกับตํารวจ
พยานหลายรอยคนและคลิปวิดีโอหลายพันคลิปบันทึกการใชกระสุนจริงอยางเปนระบบโดยกองกําลังความ
มั่นคงของไทยตอพลเรือนที่ไรอาวุธ รวมถึงนักขาวและเจาหนาที่หนวยแพทยฉุกเฉินชวงเดือนเมษายน -
พฤษภาคม นับถึงเวลาที่บริเวณที่ชุมนุมถูกเคลียรเรียบรอย อาคารพาณิชยสําคัญ 2 - 3 แหงยังคงมีควันกรุน มี
ผูเสียชีวิตไปมากกวา 80 ราย และผูที่ถูกกลาวหาวาเปนแกนนําการชุมนุมมากกวา 50 รายอาจเผชิญกับโทษ
ประหารชีวิตจากขอหา “กอการราย” ผูชุมนุมหลายรอยคนยังคงถูกควบคุมตัวขอหาฝาฝน พ.ร.บ.การรักษา
ความมั่นคงภายในราชอาณาจักรและ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินซึ่งรัฐบาลไทยนํามาใช
เปนเครื่องมือในการทําใหการชุมนุมทางการเมืองที่ชอบธรรมกลับกลายเปนเรื่องผิดกฎหมาย นอกจากนี้ยังมี
การออกหมายจับจํานวนสูงถึง 800 หมาย และทางการสั่งแชแข็งบัญชีธนาคารของผูที่ถูกกลาวหาวารวม
ขบวนการ และอาจเปนผูสนับสนุนทางการเงินแก นปช. อีกอยางนอย 83 ราย ที่นาสลดใจคือแกนนํากลุมคน
เสื้อแดงในทองถิ่นตางๆถูกลอบสังหารในชลบุรี, นครราชสีมา และปทุมธานี
ทามกลางเหตุการณที่นาสลดอันเปนจุดสูงสุดของโครงการ 4 ปในการโคนเจตนารมณของประชาชนเพื่อให
เปนไปตามความตองการของกลุมอํานาจเกา สมุดปกขาวเลมนี้มีวัตถุประสงคดังนี้
วัตถุประสงคขอแรก : เพื่อเนนถึงพันธกรณีของประไทยตามกฎหมายระหวางประเทศ และพันธกรณีตาม
กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในการสืบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้น
รายแรงทั้งหลายที่เกิดขึ้นชวงการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดง รวมถึงตองดําเนินคดีกับเจาหนาที่ทหารและพล
เรือนซึ่งอยูภายใตสายการบังคับบัญชาสําหรับอาชญากรรมอยางการสังหารพลเรือนกวา 80 รายโดยพลการ
และตามอําเภอใจในกรุงเทพชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคมดวย ขอเท็จจริงตางๆปรากฏอยางชัดเจนวามีการ
ละเมิดกฎหมายระหวางประเทศดวยการใชกองกําลังทหารอยางเกินความจําเปน การกักขังโดยพลการ
ตอเนื่องเปนเวลานาน และการทําใหประชาชนบางสวนหายสาบสูญ และยังมีระบบการประหัตประหารทาง
การเมืองที่ปฏิเสธเสรีภาพในการมีสวนรวมทางการเมือง และในการแสดงออกของพลเมืองของกลุมคนเสื้อ
แดง มีหลักฐานวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรายแรงเพียงพอที่จะดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริงอยาง
เป น อิ ส ระ และเป น กลางเพื่ อ ที่ ผู ที่ ก ระทํ า ความผิ ด กฎหมายอาญาระหว า งประเทศจะถู ก นํ า ตั ว เข า สู
กระบวนการยุติธรรม จากประวัติศาสตรความเปนปรปกษตอการเคลื่อนไหวของกลุมคนเสื้อแดงทําใหเปน
การสมเหตุสมผลที่จะยืนยันใหมีการตรวจสอบขอเท็จจริงตางๆอยางเหมาะสมดวยหนวยงานที่เปนกลาง
และเปนอิสระเพื่อใหผูที่รับผิดชอบตองการละเมิดกฎหมาย และสิทธิมนุษยชนดังกลาวจะตองรับผิดตามที่
กําหนดโดยกฎหมายระหวางประเทศ
วัตถุประสงคขอที่ 2 : เกี่ยวของกับพันธกรณีของประเทศไทยในการสืบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่
อาจเกิดขึ้นในดานสิทธิทางการเมือง หลังจากการรัฐประหารในป พ.ศ. 2549 และชวงที่นาย อภิสิทธิ์ เวชชา
ชีวะ ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐบาลที่มีทหารหนุนหลังพยายามที่จะรวบรวมอํานาจของตนโดยการกด
ขี่ปราบปรามการคั ด คานทางการเมื องของกลุมคนเสื้ อ แดง มาตรการประการหนึ่งคือ การปราบปราม

3
ขบวนการเคลื่อนไหวโดยมีการประทุษรายประชาชนพลเรือนที่ไรอาวุธอยางเปนระบบ และอยางเปนวง
กวางซึ่งอาจเขาขายอาชญากรรมตอมนุษยชาติตามธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศซึ่ง
กําหนดใหจัดตั้งศาลอาญาระหวางประเทศในกรุงเฮกอีกดวย แมวาประเทศไทยจะไมไดใหสัตยาบันตอ
ธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศ แตการกระทําผิดตอกลุมคนเสื้อแดงอยางรายแรงนี้
อาจจะเปนเหตุเพียงพอใหไดรับการพิจารณาใหเขาสูการพิจารณาของศาลอาญาระหวางประเทศหากเปนการ
ดําเนินการโดยรูถึงการกระทํานั้นภายใตนโยบายที่ยอมใหเกิด หรือสนับสนุนใหเกิดความสูญเสียแกชีวิต
โดยไมจําเปน หรือเปนนโยบายที่มีเปาหมายเพื่อโจมตีกลุมทางการเมืองกลุมใดกลุมหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง
มีหลักฐานมากมายที่ชี้วาแผนตอตานกลุมคนเสื้อแดงที่ดําเนินมาเปนระยะเวลา 4 ป และที่กําลังดําเนินการอยู
ในปจจุบันภายใตนโยบายที่รับรองโดยรัฐบาลอภิสิทธิ์ และการสังหารหมูกลุมคนเสื้อแดงที่เพิ่งผานมาเปน
เพียงการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวครั้งลาสุดเทานั้น
สมุดปกขาวเลมนี้ศึกษาการเกิดขึ้นของความรุนแรงในประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติการทางทหารชวง
เดือนเมษายน - เดือนพฤษภาคม 2553 รวมทั้งการปราบปรามในเดือนเมษายน 2552 ที่มีประชาชนเสียชีวิต
อยางนอย 2 รายจากแงมุมของหลักประกันตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง และสิทธิ ทาง
การเมือง หลักฐานตางๆเพียงพอตอการสืบสวนโดยหนวยงานที่เปนอิสระ และเปนกลางถึงนัยยะทางอาญา
ของการประหัตประหารทางการเมืองเชนนี้ตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ
วัตถุประสงคขอที่ 3 : ของสมุดปกขาวเลมนี้คือเพื่อยืนยันถึงสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศของสมาชิก
นปช. หลายรอยคนที่กําลังเผชิญขอกลาวหาทางอาญาจากการเขารวมการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดง กติกา
ระหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมืองรับรองสิทธิในการตอสูคดีอยางยุติธรรม รวมถึง
สิทธิที่จะเลือกทนายของตนเองเพื่อเตรียมการตอสูคดีโดยมีเวลา และสิ่งอํานวยความสะดวกอยางเพียงพอ
และสิทธิในการสามารถเขาถึงหลักฐานอยางเทาเทียม [1] ผูถูกกลาวหามีสิทธิในการตรวจสอบหลักฐานอยาง
อิสระผานทางผูเชี่ยวชาญ หรือทนายของตนเองภายใตเงื่อนไขเดียวกันกับรัฐบาล และมีสิทธิในการเรียก
พยานหลักฐานฝายตนเพื่อแกตางใหตนเอง [2]
เพื่อเปนการตอบสนองตอขอประทวงของนานาชาติเกี่ยวกับความรุนแรงชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม
อภิสิทธิ์ประกาศแผนกลยุทธเพื่อการปรองดอง และตั้งคณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริงขึ้นมาอยางเปน
ทางการ สิ่งที่หายไปจากแผนกลยุทธของอภิสิทธิ์คือ ความเปนอิสระและความเปนกลางอยางแทจริงใน
กระบวนการตรวจสอบตัวเอง นาย คณิต ณ นคร อดีตอัยการสูงสุดที่ไดรับแตงตั้งใหนําคณะกรรมการอิสระ
ตรวจสอบคนหาความจริงเพื่อความปรองดองแหงชาติ (คอป.) บอกกับสื่อมวลชนในเกือบจะในทันทีทันใด
วาเขาสนใจในการ “สงเสริมการใหอภัย” มากกวาการเรียนรูขอเท็จจริง [3] การละเลยเชนนี้อาจจะสอดคลอง
กับแนวความคิดเรื่องการปรองดองแบบเดิมของไทยที่ใหการนิรโทษกรรมแกผูที่สังหารผูชุมนุมเรียกรอง
ประชาธิปไตยในป พ.ศ. 2516, 2519 และ 2535 หลายรอยคน แตไมทําอะไรกับการสืบหาขอเท็จจริง หรือ
สงเสริมการสมานฉันทที่แทจริง

4
ปจจัยหลายอยางชี้ใหเห็นวาจําเปนที่จะตองมีการเขามาเกี่ยวของจากประชาคมโลกเพื่อรักษาการสืบสวนการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นทุกกรณีอยางเปนอิสระและเปนกลาง ประการแรกรัฐบาลไมมีทีทาจะยอม
ออนขอในการยึดอํานาจทางการเมือง โดยการใหผูนําทหาร และพลเรือนถูกดําเนินคดีอาชญากรรมระหวาง
ประเทศ ประการที่ 2 การกักขังที่ยาวนานและการไมสนใจที่จะดําเนินคดีอยางเปนธรรมตอกลุมคนเสื้อแดง
หลายรอยคนที่ถูกรัฐบาลพิพากษาไปลวงหนาวาเปน “ผูกอการราย” ทําใหเกิดการตั้งคําถามถึงความเปน
ธรรมของการสอบขอเท็จจริงในกรณีนี้ ประการที่ 3 คณะกรรมการอิสระสอบสวนขอเท็จจริงฯของอภิสิทธิ์
ทํางานรับใชความตองการของนายกรัฐมนตรี และไมมีหนาที่ที่ชัดเจนในการสืบสวนหรือดําเนินคดีกับ
รัฐบาล สวนความสามารถในการคนหาขอเท็จจริงของคณะกรรมการถูกขัดขวางโดยกฎระเบียบตางๆที่ออก
ภายใตการประกาศสถานการณฉุกเฉินที่ถูกเหมือนจะยังคงมีผลในชวงเวลาสวนใหญของการดําเนินการของ
คณะกรรมการอิสระสอบสวนขอเท็จจริงฯ ประการสุดทายการวิเคราะหหลักฐานของรัฐบาลไทยมีแนวโนม
จะโอนเอียงและเชื่อถือไมไดเชนที่มักจะเปนในทุกครั้งที่รัฐบาลตองทําการตรวจสอบการกระทําผิดของ
ตัวเอง การที่รัฐบาลยึดมั่นกับผูสืบสวนที่เลือกมาจากฐานของการถือขางมากกวาจากฐานของความเชี่ยวชาญ
ทําใหกระบวนการไตสวนทั้งหมดมีมลทิน การสืบสวนขอเท็จจริงที่มีอคติ, ไมเปนกลาง และตอบสนอง
ผลประโยชนของรัฐบาลทหารเทากับไมมีการสืบสวนเลย
ทุกคนยอมยอมรับความจริงที่วาประเทศไทยควรจะกาวใหพนความรุนแรง และดําเนินการใหเกิดความ
ปรองดอง ทวาความปรองดองจําเปนตองเริ่มดวยการฟนคืนสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนในการปกครอง
ตนเอง ยิ่งไปกวานั้นความปรองดองนี้ยังตองการความรับผิดอยางเต็มที่ตอการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้น
รายแรงที่กระทําไปเพื่อยับยั้งสิทธิในการปกครองตนเอง กฎหมายระหวางประเทศกําหนดวาไมอาจยอมรับ
สิ่งที่นอยไปกวานี้

[1] กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ขอ 14 วรรค 3 (b) และ 3 (e)


[2] กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ขอ 14 วรรค 3 (e)
[3] “Deaths Probe ‘Won’t Cast Blame’,” บางกอกโพสท, 12 มิถุนายน 2553, http://www.bangkokpost.com/news/local
/38619/deaths-probe-won-t-cast-blame

5
2. เสนทางไปสูการปกครองระบอบประชาธิปไตยตาม
รัฐธรรมนูญของประเทศไทย
ประเทศไทยปกครองดวยระบอบ “ประชาธิปไตย” มาตั้งแตการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองจาก
สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบภายใตรัฐธรรมนูญในป พ.ศ. 2475 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) ในความจริงนอกจากชวงเวลาที่เปนเผด็จการทหารอยางรุนแรงชวงป
พ.ศ. 2501 - 2512 ประเทศไทยมีการเลือกตั้งฝายนิติบัญญัติเปนประจํามาตั้งแตเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ทวาอํานาจมักจะถูกเปลี่ยนมือดวยการรัฐประหารโดยทหารมากกวาดวยกระบวนการตามรัฐธรรมนูญที่วา
ดวยการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล และจะมีการนํารัฐธรรมนูญฉบับที่สนับสนุนโดยทหาร และรัฐบาลที่แตงตั้ง
โดยทหารเขามาบังคับใชแทนที่รัฐธรรมนูญและรัฐบาลของชวงเวลานั้น รัฐธรรมนูญในชวงหลังมักจะถูก
รางขึ้นเพื่อรักษาการควบคุมของกลุมที่กอการรัฐประหาร ไมวาผูกอการจะตั้งใจใชอํานาจโดยตรง หรือโดย
ออมผานทางการใหตัวแทน หรือการเขาควบคุมจัดการรัฐบาลพลเรือนที่ออนแอ การจัดการเชนนี้จะยังคงมี
ผลบั ง คั บ ใช ไ ปจนกว า จะมี ก ลุ ม ทหารกลุ ม อื่ น ทํ า รั ฐ ประหารครั้ ง ใหม และนํ า รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ใหม ที่
ออกแบบมาเพื่อทําใหสมดุลอํานาจใหมไดรับการรับรองในกฎหมายขึ้นมาใช [4] วิธีปฏิบัติเชนนี้ดําเนิน
เรื่อยมาผานทางการรัฐประหารโดยทหารที่สําเร็จ 11 ครั้ง, รัฐธรรมนูญ 14 ฉบับ และแผนการและปฏิบัติการ
ลมลางรัฐบาลที่ไมสําเร็จอีกหลายครั้งตั้งแตเดือนมิถุนายน 2475 จนถึงเดือนพฤษภาคม 2535
ตลอดชวงเวลาเหลานี้ประเทศไทยมีชวง “ประชาธิปไตย” สั้นๆเพียง 3 ครั้งที่หยั่งรากอยูในเสรีภาพในการ
แสดงความเห็นและการแขงขันในการเลือกตั้งอยางแทจริง โดยครั้งแรกคือ หลังจากการใชรัฐธรรมนูญฉบับ
ป พ.ศ. 2507 และครั้งที่ 2 คือ หลังจากการประทวงใหญในป พ.ศ. 2516 ครั้งที่ 3 คือ หลังการเลือกตั้งที่ได
พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรีในป พ.ศ. 2531 ในทั้งสามครั้งนี้รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งถูก
ลมลางดวยกระบอกปนของกองกําลังทหาร และถูกแทนที่ดวยระบอบที่เหมาะสมกับการคุมครองอํานาจ
ของกลุมอํานาจเกา และผลประโยชนทางเศรษฐกิจขนาดใหญของพวกเขามากกวา
นอกจากชว งเวลาสั้ น ๆเหลานั้ น ประเทศไทยตั้ง แตป พ.ศ. 2547 เปน ตนมาถู กปกครองโดยระบอบที่ มี
สวนผสมของประชาธิปไตยและเผด็จการแตกตางกันไป สิ่งที่ทุกระบอบมีเหมือนกันคือ เครือขายของ
เจาหนาที่รัฐในราชการพลเรือนและทหาร หรือที่เรียกวากลุมอํามาตยที่ทําหนาที่เปนศูนยกลางของอํานาจ
ทางการเมืองที่แทจริง ไมใชผูที่ไดรับการเลือกตั้งจากประชาชนขึ้นมา ผูแทนของประชาชนมีอิสรภาพระดับ
หนึ่งและมีมากขึ้นในชวง 3 ทศวรรษที่ผานมา แตภายใตระบอบอํามาตยาธิปไตย (คําที่ใชเรียกระบอบรัฐบาล
ที่ถูกควบคุมโดยกลุมอํามาตย มักจะใชในทางตรงขามกับ “ประชาธิปไตย”) รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งไม
เคยไดรับสิทธิในการกําหนดให ทหารอยูภายใตการควบคุมของพลเรือน และเขาควบคุมกระบวนการ
กําหนดนโยบายทางทหาร ที่จริงแนวคิดเรื่อง “ประชาธิปไตยแบบไทยๆ” ถูกจัดขึ้นโดยรัฐไทยตั้งแตชวงตน

6
ทศวรรษ ค.ศ. 1950 เปนตนมา โดยหมายถึงรูปแบบรัฐบาลที่มีการเลือกตั้งเกิดขึ้น แตมีการกําหนดขอจํากัด
เขมงวดเรื่องเสรีภาพของพลเมือง และเรื่องขอบเขตอํานาจที่เจาหนาที่ที่มาจากการเลือกตั้งสามารถใช
ระบอบรัฐบาลแบบนี้ที่อยูบนฐานของการยินยอมอยางไมใยดีของประชากรไทยสวนใหญชวยรักษาอํานาจ
ของทหาร, ขาราชการ, นายทุนขนาดใหญ และกลุมองคมนตรี (หรือเรียกรวมวา “กลุมอํานาจเกา”) ในการ
กําหนดนโยบายระดับชาติสวนใหญ
เหตุการณตางๆหลังจากการยึดอํานาจจากนายกรัฐมนตรี พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ โดยกองทัพที่นําโดย
พล.อ. สุจินดา คราประยูร ในป พ.ศ. 2533 ถือเปนจุดเปลี่ยนสําคัญในเรื่องอํานาจนําของกลุมอํานาจเกาที่ไม
ไดมาจากการเลือกตั้งเหนือระบอบการเมืองไทย การประทวงโดยประชาชนจํานวนมากที่ตอตานการขึ้นมา
เปนนายกรัฐมนตรีของ พล.อ. สุจินดา หลังจากที่มีการเลือกตั้งที่มีเปลือกนอกวาเปน “ประชาธิปไตย” ใน
เดือนมีนาคม 2535 นําไปสูการปะทะรุนแรงเปนประวัติการณระหวางพลเรือนกับทหารชวงวันที่ 17 - 20
พฤษภาคม ผู ประทวงหลายสิบคนที่เ รียกรองให พล.อ. สุจินดา ลาออก และนําประเทศกลับสูระบอบ
ประชาธิปไตยถูกสังหารอยางโหดรายโดยทหารชวงเหตุการณ “พฤษภาทมิฬ” ในป พ.ศ. 2535 ในทายที่สุด
พล.อ. สุจินดา ลาออกหลังจากที่กษัตริยทรงปรากฏพระองคตอสาธารณะ และนําไปสูการเลือกตั้งครั้งใหม
ในเดือนกันยายน 2535
โศกนาฏกรรมพฤษภาทมิฬทําใหประเทศเดินเขาสูหนทางการเปน “ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปนประมุข” อยางแทจริง และมีกระบวนการปฏิรูปเปนเวลานาน 5 ปอันสิ้นสุดลงดวยการประกาศใช
รัฐธรรมนูญฉบับใหมเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2540 ดวยการมีสวนรวมอยางสูงในกระบวนการที่นําไปสูการ
ออกรัฐธรรมนูญ รวมถึงการที่มีเนื้อหาเปนประชาธิปไตยอยางไมกํากวม รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 นี้จึง
เปนที่รูจักกันในนาม “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”
รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ป พ.ศ. 2540 นํ า มาซึ่ ง ยุ ค ใหม แ ห ง การเมื อ งที่ ไ ม มี ก ารกี ด กั น ในไทยเป น ครั้ ง แรกใน
ประวัติศาสตรไทยที่ผูแทนของประชาชนเปนผูรางและรับรองรัฐธรรมนูญ ไมใชเปนการกําหนดมาจากกลุม
อํานาจเกาอยางแตเดิมนําไปสูยุคแหงประชาธิปไตยที่แทจริง ความโปรงใสและการรับผิดตรวจสอบได
รัฐธรรมนูญฉบับนี้รับรองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพของพลเมืองซึ่งฉบับกอนหนานี้ไมไดรองรับ และยัง
กําหนดกลไกอีกบางประการ รวมถึงเรื่องการเลือกตั้งสภาทั้งสอง ระบบการเลือกตั้งแบบปารตี้ลิสตเพื่อมาใช
พรอมกับระบบแบงเขตแบบเดิม และตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ออกแบบมาเพื่อรับประกันวาจะมี
รัฐบาลตัวแทนอยางเต็มที่ และเพื่อสรางสนามเลือกตั้งที่เทาเทียมกันสําหรับผูสมัครรับเลือกตั้ง ในขณะที่ยัง
รักษาความเปนธรรมและความซื่อสัตย [5] ที่สําคัญคือ รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 นี้ยังหามการใชสิทธิ
หรือเสรีภาพในการลมลางการปกครองแบบประชาธิปไตย และยังหามความพยายามในการ “ใหไดมาซึ่ง
อํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญฉบับนี้” [6]
และยังหามทําการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญยกเวนแตเปนไปตามหลักการและวิธีการที่บัญญัติไว [7]
รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 ยังสรางเสถียรภาพทางการเมืองอยางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน รัฐธรรมนูญฉบับ
นี้ไดรับการรับรองชวงที่มีวิกฤตการณทางเศรษฐกิจและทางการเงินอยางหนักในประเทศ การสงออกลดลง

7
และความกังวลเรื่องสถานการณของภาคการเงินทําใหเกิดการไหลออกของทุนขนาดใหญอยางทันทีจนเกิด
วิกฤตการณอัตราแลกเปลี่ยนปลายป พ.ศ. 2540 [8] ในสถานการณที่ประชาชนตางไมพอใจรัฐบาลที่ไมสา
มารกูวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศจึงเปนที่คาดกันวาอาจจะเกิดการรัฐประหารครั้งที่ 12 อยางแนนอน แตถึง
กระนั้นวิกฤติเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 ไมไดนําไปสูวิกฤตการณทางการเมือง ขอผูกพันมุงมั่นของประเทศที่
จะเปนประชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญอยางแทจริงดูเหมือนจะยังคงถูกรักษาไวในที่สุด [9]
รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 ยังกําหนดยุทธศาสตรทางการเมืองแบบใหม กอนหนานี้พรรคการเมืองที่
ออนแอและแตกแยกตองขึ้นอยูกับผูมีอิทธิพลในทองถิ่น และเครือขายเสนสายของระบบอุปถัมภ ในการ
ระดมพลั ง สนั บ สนุ น ในพื้ น ที่ ก ารเลื อ กตั้ ง ส ว นใหญ ข องประเทศ เนื่ อ งจากพรรคเหล า นั้ น มี เ นื้ อ หาเชิ ง
โครงการนอยมาก และมีภาพลักษณของพรรคไมชัดเจน ดวยระบบตรวจสอบและถวงดุล, การปองกันการ
คอรรัปชั่น และดวยบทบัญญัติใหมๆที่เสริมอํานาจของฝายบริหารโดยการทําใหนายกรัฐมนตรีที่มาจากการ
เลือกตั้งมีความเปราะบางตอการแปรพรรคนอยลง รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 เปดชองทางใหเกิดการ
เติบโตของผูนําทางการเมืองใหมๆที่พยายามจะสรางพรรคการเมืองระดับชาติที่เขมแข็งที่อยูบนฐานของ
วาระนโยบายเชิงโครงการที่ชัดเจนที่อาจจะเปนที่สนใจของผูมีสิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศ นี่เปนบริบทที่ทําให
ทักษิณ ชินวัตร ตั้งพรรคไทยรักไทย และนําพรรคไปสูประสบความสําเร็จในการเลือกตั้งในป พ.ศ. 2544
และ 2548 อยางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน ทําใหจินตนาการของคนนับลานๆเปนจริง และมอบปากเสียงใหแก
พลังทางการเมืองที่ปจจุบันนี้คัดคานการบริหารปกครองของนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อยางมั่นคง

[4] พินัย ณ นคร, “Re-Making of the Constitution in Thailand,” Singapore Journal of International & Comparative Law,
6 (2545) : 90 - 115, หนา 93
[5] เพิ่งอาง, หนา 107 - 109
[6] รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (จากนี้เรียก “รัฐธรรมนูญฉบับป 2540”), ขอ 63
[7] เพิ่งอาง, ขอ 313
[8] พันศักดิ์ วิญญรัตน, 21st Century Thailand, Facing the Challenge, Economic Policy & Strategy (ฮองกง : CLSA
Books, 2547), หนา 1
[9] จาตุรนต.ฉายแสง, Thai Democracy In Crisis : 27 Truths (กรุงเทพ : บริษัท เอ.อาร.อินฟอรเมชัน แอนด พับลิเคชัน
จํากัด (ARiP), 2552), หนา 37

8
3. การขึ้นสูอํานาจของพรรคไทยรักไทย
ทักษิณ ชินวัตร เกิดในป พ.ศ. 2492 ที่ จ.เชียงใหม จบการศึกษาจากโรงเรียนนายรอยตํารวจในป พ.ศ. 2516
และรับราชการเปนเวลา 14 ปจนมียศ พ.ต.ท. ซึ่งในระหวางนั้นเขาลาไปศึกษาตอขั้นปริญญาโทและปริญญา
เอกในสาขาอาชญาวิทยาที่มหาวิทยาลัยเคนทักกีตะวันออก (Eastern Kentucky University) และมหาวิทยาลัย
แซมฮูสตัน (Sam Houston University) ในรัฐเท็กซัส
ในป พ.ศ. 2526 ขณะรับราชการตํารวจอยูนั้นทักษิณกอตั้งเครือบริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิ
เคชั่นส จํากัด (มหาชน) กับภรรยาและพี่ชายของภรรยา หลังจากออกจากราชการตํารวจในป พ.ศ. 2530 และ
ทุมเทความสนใจทั้งหมดใหกับธุรกิจ บริษัทของเขาเติบโตเปนบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ชวง
ทศวรรษ ค.ศ. 1990 บริษัทนี้เปนผูบุกเบิกธุรกิจโทรคมนาคมโทรศัพทเคลื่อนที่ที่กําลังเริ่มตนในประเทศไทย
ในป พ.ศ. 2537 อันเปนปที่เขาเขาสูวงการการเมือง นิตยสารฟอรบสประเมินวาเขามีทรัพยสินประมาณ
1,600 ลานเหรียญสหรัฐ
ทักษิณเขาสูการเมืองโดยเขารวมในรัฐบาลนาย ชวน หลีกภัย ในป พ.ศ. 2537 เมื่อเขาไดรับแตงตั้งเปน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ในฐานะสมาชิกพรรคพลังธรรมของ พล.ต. จําลอง ศรีเมือง
จากนั้นเขาเปนรองนายกรัฐมนตรีชวงเวลาสั้นๆในรัฐบาลนาย บรรหาร ศิลปอาชา (พ.ศ. 2538 - 2539) และ
รัฐบาล พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2540) ในวันที่ 14 กรกฏคม 2541 เขากอตั้งพรรคไทยรักไทยอยางเปน
ทางการรวมกับสมาชิกพรรครุนกอตั้ง 22 รายภายใตการนําของทักษิณ ไมนานพรรคประสบความสําเร็จ
อยางที่ไมเคยมีพรรคการเมืองใดทําไดมากอนในประเทศไทย
ในความพยายามที่จะแกปญหาวิกฤตการณทางการเงินในป พ.ศ. 2540 รัฐบาลไทยขอความชวยเหลือจาก
กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund : IMF) เงินกูจํานวน 17,000 ลานเหรียญ
สหรัฐตองแลกมาดวยกับการยอมรับเงื่อนไขของกองทุนการเงินระหวางประเทศที่จะตองมีการปฏิรูประบบ
การเงิน, การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และมาตรการอื่นๆเพื่อดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางชาติ [10] ชวงแรกการ
ปฏิรูปนี้กอใหเกิดภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจอยางรุนแรง, คาจางตกต่ําลง, อัตราวางงานเพิ่มขึ้นสงผลกระทบ
อยางรุนแรงตอสภาพความเปนอยูของเกษตรกรและแรงงาน [11] บรรดานักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพที่ไดรับ
ผลกระทบอยางรุนแรงเขารวมขบวนการชาตินิยมที่กําลังขยายตัวตอตานกองทุนการเงินระหวางประเทศ
และพรรคประชาธิปตยที่เปนรัฐบาลขณะนั้น นายกรัฐมนตรีนาย ชวน หลีกภัย ถูกโจมตีจากหลายดาน ทั้ง
ภาคธุรกิจขนาดใหญ, นักวิชาการ, องคกรประชาสังคมกนประณามเขาวาทําลายเศรษฐกิจ รับนโยบายจาก
ตางประเทศ โดยปลอยใหตางชาติเขามาฮุบทรัพยสินของไทยในราคาถูก [12]
ชวงการหาเสียงเลือกตั้งในเดือนมกราคม 2544 พรรคไทยรักไทยของทักษิณปราศรัยถึงประเด็นเหลานี้อยาง
ดุเดือด พรรคมีนโยบายใหความสําคัญกับเศรษฐกิจ, สาธารณสุข, การศึกษา และพลังงาน ในขณะเดียวกัน

9
นโยบายสวัสดิการสังคมของไทยรักไทย และการพัฒนาชนบทไดรับความนิยมอยางมากจากชนชั้นแรงงาน
ในเมือง และเกษตรกรในตางจังหวัดที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจมากที่สุด
ดวยมาตรฐานของประเทศที่คุนชินกับการมีรัฐบาลผสมที่เคยประกอบดวยพรรคการเมืองมากถึง 16 พรรค
พรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งทั่วไปในป พ.ศ. 2544 ซึ่งเปนการเลือกตั้งครั้งแรกภายใตรัฐธรรมนูญฉบับ
ป พ.ศ. 2540 อยางถลมทลายไดที่นั่งในสภาถึง 248 ที่นั่งจากทั้งหมด 500 และเปนครั้งแรกในประวัติศาสตร
ไทยที่พรรคการเมืองเดียวเกือบจะไดเสียงขางมากในสภา และผลจากการเลือกตั้ง ทักษิณ ชินวัตร ไดรับ
เลือกใหเปนนายกรัฐมนตรีคนที่ 23 ของประเทศไทย
ชัยชนะของพรรคไทยรักไทยที่หีบเลือกตั้ง และการเพิ่มจํานวน ส.ส. จากการรวมกับพรรคอื่นในภายหลัง
นําไปสูสภาพการณชนิดที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน กลุมอํานาจเกาของไทยซึ่งก็คือ องคมนตรี, ผูนํากองทัพ,
ขาราชการระดับสูง, ศาลระดับสูง, ผูนําทางธุรกิจที่สะสมความมั่งคั่งในระบอบการเมืองกอนที่จะมีทักษิณ
สนับสนุนการขึ้นมาของทักษิณอยางกระตือรือลนชวงแรก แตเมื่อความชอบธรรมจากการกุมเสียงสวนใหญ
ในสภาทําใหนายกรัฐมนตรีอยูในฐานะที่สามารถผลักดันนโยบายของพรรคไทยรักไทยโดยไมจําเปนตอง
ตอรอง หรือขอความเห็นชอบจากกลุมอํานาจเกา ความเขมแข็งที่ไดมาดวยความนิยมชมชอบของประชาชน
ในการเลือกตั้งคุกคามอํานาจในการกําหนดนโยบายประเทศที่กลุมอํามาตยยึดกุมมาตลอดตั้งแตประเทศไทย
ดูคลายจะเปนประชาธิปไตยมา
กอนหนานี้กลุมอํานาจเกากุมอํานาจเหนือระบอบการเมืองของประเทศ และนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง
โดยอาศัยยุทธวิธีแบงแยกและปกครอง ภาวะเบี้ยหัวแตกของระบบพรรคการเมืองของไทยปองกันการ
รวมตัวเปนกลุมกอนที่มีฐานจากการเลือกตั้งที่จะสามารถทาทายอํานาจนอกรัฐธรรมนูญของกลุมอํานาจเกา
การเลือกตั้งในป พ.ศ. 2544 ทําใหทักษิณมีฐานมวลชนสนับสนุนอยางไมเคยปรากฏมากอนซึ่งเขาใชฐาน
สนับสนุนนั้นในการทําสิ่งที่เขาสัญญา ชวง 1 ปแรกเขาดําเนินนโยบายตามที่เสนอในการหาเสียงซึ่งเปนสิ่งที่
ไม เ คยเกิด ขึ้น มากอ นในประวั ติศ าสตร ก ารเมือ งไทย [13] ทั ก ษิณ ยั ง กลายเปน นายกรัฐ มนตรี ค นแรกใน
ประวัติศาสตรไทยที่ทํางานครบวาระ พรรคไทยรักไทยหาเสียงในการเลือกตั้งในป พ.ศ. 2548 ดวยนโยบาย
ตอเนื่องภายใตคําขวัญ “4 ปซอม 4 ปสราง” [14] และผลการเลือกตั้งในวันที่ 6 กุมภาพันธ 2548 เปนชัยชนะที่
ถลมทลายยิ่งกวาเดิม หลังจากการเลือกตั้งในป พ.ศ. 2548 พรรคไทยรักไทยกุมเสียงขางมากถึงรอยละ 75
ของที่นั่งในสภา พรรคฝายคานที่ใหญที่สุดคือประชาธิปตยสูญเสียที่นั่งกวา ¼ เหลือไมถึงรอยละ 20 ของที่
นั่งในสภา และถือเปนครั้งแรกอีกเชนเดียวกันที่ทักษิณไดรับเลือกตั้งใหเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง
ในขณะที่หลายคนในกลุมอํานาจเกาของไทยเคยมองทักษิณวาเปนคนที่อาจสามารถชวยกอบกูใหพนจาก
วิกฤตการณทางเศรษฐกิจของเอเชียที่ทําลายความมั่งคั่งของพวกเขาไปไมนอย พอเริ่มตนวาระที่ 2 ทักษิณ
กลายเปนภัยคุกคามรายแรงตอผลประโยชนทางเศรษฐกิจและอํานาจทางการเมืองของกลุมอํานาจเกา มาถึง
ป พ.ศ. 2548 ทักษิณไมเพียงแตยึดกุมสนามการเลือกตั้งในประเทศไทยเทานั้น การที่เขาไดรับความนิยมจาก
ประชาชนอยางไมเคยปรากฏมากอนยังทําใหเขามีโอกาสขับเคลื่อนในทิศทางที่ดึงอํานาจตามรัฐธรรมนูญ

10
ออกมาจากกลุมอํานาจเกาชนิดที่ไมมีนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนไหนเคยทําไดมากอน ทั้งที่โดยขอเท็จจริง
รัฐธรรมนูญของประเทศไทยสวนใหญมอบอํานาจดังกลาวใหกับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งอยูแลว
รัฐบาลทักษิณมีลักษณะเปนภัยคุกคามหลายประการตอกลุมหลัก 4 กลุมที่ประกอบเปนกลุมอํานาจเกาของ
ไทยคือ : 1) กลุมธุรกิจการเงินในกรุงเทพ 2) ผูนําทางทหาร 3) ขาราชการพลเรือนชั้นสูง 4) กลุมองคมนตรี
พวกนักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพที่ทักษิณเคยทอดสะพานใหครั้งเขาลงชิงตําแหนงนายกรัฐมนตรีครั้งแรกกลับ
หันมาตอตานรัฐบาลพรรคไทยรักไทยเพราะดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจที่มุงเนนไปที่เกษตรกรและคนจน
ในเมืองตลอดจนการเปดเสรีทางการคา โดยผูตอตานพูดอยางชัดเจนวา “เปาประสงคคือการตอตานนโยบาย
แบบทักษิโนมิคส” [15]
นาขําที่ทักษิณมักถูกโจมตีเรื่อง “ประชานิยม” (เมื่อเร็วๆนี้กลุมคนเสื้อแดงถูกเรียกวาเปนพวก “มารกซิสท”)
การสนับสนุนการคาเสรีของเขานั่นเองที่สรางความระคายเคืองแก คนรวยมากที่สุด นักประวัติศาสตร
เศรษฐกิจ อากิระ สุเอฮิโร อธิบายเศรษฐกิจประเทศไทยยุคหลังสงครามวาถูกครอบงําโดยครอบครัวที่เปน
“ทุนนิยมพวกพอง” ไมกี่สิบครอบครัวที่ยึดกุม และรักษาการผูกขาดเกือบโดยสิ้นเชิงเหนือภาคสวนทาง
เศรษฐกิจขนาดใหญจํานวนมากซึ่ งเป นผลจากเสนสายความสัมพัน ธที่พวกเขามีกับเจาหนาที่รัฐที่ทรง
อิทธิพลในการแลกเปลี่ยนเพื่อความมั่งคั่งสวนตัว เจาหนาที่รัฐที่มีอํานาจในฝายพลเรือน หรือนายทหาร
ระดับสูงจะคอยดูแลใหกลุมธุรกิจขนาดใหญภายในประเทศตองไดรับผลประโยชนจากนโยบายตางๆ, ความ
ออนแอของกลุมผูใชแรงงาน และการปองกันการแขงกันจากภายในและภายนอกประเทศของรัฐ [16]
วิกฤติการณทางเงินของเอเชียทําใหหลายครอบครัวในกลุมนี้ตองมีหนี้สินทําใหพวกเขาตองยอมขายกิจการ
ใหกับตางชาติ รัฐบาลไทยเขามาชวยเหลือธุรกิจขนาดใหญชวงตนป พ.ศ. 2544 โดยการจัดตั้งบรรษัทบริหาร
สินทรัพยไทย (บสท.) เพื่อซื้อหนี้เงินกูที่ไมกอใหเกิดรายไดมูลคา 1,200 ลานเหรียญสหรัฐทั้งที่เกิดจาก
ภาครัฐและเอกชน [17] ซึ่งหนี้เงินกูเหลานี้หลายตัวยังคงไมกอรายไดอยูจนถึงป พ.ศ. 2548 และบริษัทที่กูเงิน
ยังมีหนี้คางชําระกับธนาคารจํานวนมาก [18] ภายใตการบริหารงานของทักษิณบรรดานักธุรกิจชั้นนําของ
กรุงเทพผูซึ่งแตไหนแตไรมาเคยอาศัยอิทธิพลทางการเมืองในการปกปองผลประโยชนทางธุรกิจของตนเริ่ม
ที่จะเสี่ยงตอการสูญเสียอิทธิพลที่มีตอรัฐบาลและสถาบันอื่นๆของรัฐทําใหพวกเขาตกอยูในฐานะที่ออนแอ
ในการตอรองกับธนาคารเกี่ยวกับหนี้ที่ยังคางชําระ นอกจากนี้การที่นโยบายเศรษฐกิจของไทยรักไทยมุงเนน
สนับสนุนการคาเสรีคุกคามกลุมธุรกิจภายในประเทศใหตองเผชิญกับการแขงขันจริงอีกดวยซึ่งเปนสิ่งที่
พวกเขาไมคุนที่จะตองเผชิญ [19] ครอบครัวที่ควบคุมอาณาจักรเศรษฐกิจขนาดใหญอยางธนาคารกรุงเทพ
จํากัด (มหาชน), ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน), บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน), และบริษัท ที
พีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน) กลายมาเปนปฏิปกษตัวฉกาจของทักษิณ
นอกจากทุนนิยมพวกพองเหลานี้นโยบายของทักษิณคุกคามเครือขายราชการ (หรือกลุมอํามาตย) ที่คอยดูแล
ใหครอบครัวเหลานี้มีอํานาจครอบงําเศรษฐกิจไทยมาโดยตลอด ในดานหนึ่งการที่ทักษิณพยายามลดทอน
อํานาจของทหาร, ขาราชการ และองคมนตรีในการกําหนดนโยบายประเทศยังไปบอนเซาะเกราะคุมกันจาก
การแขงขันที่พวกนักธุรกิจชั้นนําเคยไดรับเสมอมาจากระบอบอํามาตยาธิปไตยอีกดวย และในอีกทางหนึ่ง

11
ความมุงมั่นของทักษิณที่จะลดบทบาทของสถาบันที่ไมไดมาจากการเลือกตั้งใหเหลือเพียงบทบาทที่ไม
เกี่ยวกับการเมืองตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญเปนภัยคุกคามตออิทธิพลและรายไดของของกลุมอํามาตย
ขาราชการอาชีพอาจเปนกลุมที่หันมาตอตานรัฐบาลทักษิณเร็วที่สุด ตั้งแตแรกทีเดียวทักษิณกําหนดตนเอง
เปนตัวเปรียบเทียบกับคนที่อยูในระบบราชการและนักการเมืองอาชีพ ทันทีที่เขามาเปนรัฐบาลการดําเนิน
นโยบายของไทยรักไทยทําใหรัฐบาลตองเขามาดูแลกระบวนการกําหนดนโยบายโดยตรงซึ่งแตไหนแตไร
มาอยูในมือของขาราชการที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง ในการพยายามที่จะทําใหรัฐบาลมีอํานาจควบคุมการ
ออกแบบ และดําเนินการนโยบายใหมทักษิณทําใหขาราชการระดับสูงมีบทบาทลดนอยลงทั้งโดยการให
อํานาจแกฝายการเมือง และการปฏิรูประบบราชการที่ทําใหเกิดกระทรวงใหมขึ้นมา 6 กระทรวงเพื่อให
ระบบราชการทํางานคลองแคลวขึ้น, เพิ่มประสิทธิภาพ และการสนองตอบรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง [20]
ทักษิณพยายามอยางหนักที่จะไดรับการสนับสนุนจากกองทัพ [21] ชวงเวลาที่ทักษิณเขารับตําแหนงกองทัพ
ยังคงมีภาพพจนที่ไมดีที่ผูนํากองทัพกระทําจากเหตุการณพฤษภาทมิฬในป พ.ศ. 2535 อยางไรก็ตามดวย
ประวัติศาสตรของไทยบรรดานายพลยังคงเปนกลุมอํานาจที่รัฐบาลจากการเลือกตั้งไมสามารถจะมองขาม
งบประมาณของกองทัพที่ถูกหั่นลงอยางมากหลังวิกฤติการณทางการเงินเอเชียคอยๆเพิ่มขึ้น ชวงสมัยแรก
ของทักษิณจาก 71,300 ลานบาทในป พ.ศ. 2543 เพิ่มขึ้นเปน 86,700 ลานบาทในป พ.ศ. 2549 [22] ทวาในเวลา
เดียวกันทักษิณพยายามที่จะทําใหกองทัพอยูภายใตการควบคุมของพลเรือนมากขึ้น ในทางหนึ่งเขาปฏิเสธที่
จะเพิ่มคาใชจายของกองทัพตามที่ขอมา (ที่กองทัพตองการดูไดจากงบประมาณทหารที่เพิ่มขึ้นมารอยละ 35
ตามที่คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ (คมช.) อนุมัติหลังการรัฐประหาร) [23] ในอีกทางหนึ่งทักษิณใชการ
โยกยายตําแหนงเพื่อสรางความพอใจใหกับผูที่ภักดีตอรัฐบาล และตัวเขาเองซึ่งทําใหนายทหารระดับสูง
หลายคนไมพอใจที่ถูกขามหัวหรือเห็นอนาคตตีบตัน [24]
การตอตานของเครือขายที่ปรึกษาของราชสํานักที่นําโดยประธานองคมนตรี พล.อ. เปรม ติณสูลานนท อาจ
เปนปจจัยสําคัญที่สุดในการถูกถอดจากตําแหนงของทักษิณ สําหรับ พล.อ. เปรม และพันธมิตรฯประเด็น
ขัดแยงคือการบอนเซาะอํานาจทางการเมืองที่เปนผลมาจากความพยายามอยางเปนระบบของทักษิณที่จะ
ขจัดระบบอุปถัมภอันเปนชองทางที่บรรดาผูแวดลอมราชสํานักใชอํานาจอิทธิพลในการบริหารราชการ
แผนดินแทบทุกแงมุม [25] การที่ทักษิณพยายามทําใหกองทัพ และราชการพลเรือนอยูภายใตอํานาจของ
รัฐบาล ตลอดจนลดอิทธิพลของ พล.อ. เปรม ที่มีตอศาลและองคกรอิสระเปนปจจัยหลักที่ทําใหเกิดการ
ตอตานจากองคมนตรี ในป พ.ศ. 2549 หลังจากประสบความสําเร็จในการผลักดันให พล.อ. สนธิ บุญย
รัตกลิน ขึ้นมาเปนผูนํากองทัพ พล.อ. เปรม เริ่มวางแผนการรัฐประหารอยูหลังฉาก และทําการรณรงค
ตอตานรัฐบาลอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน โดยมุงหมายบอนทําลายความภักดีของกองทัพที่มีตอรัฐบาลจาก
การเลือกตั้งเปนการเฉพาะ [26]
กฎสําคัญขอหนึ่งที่ไมเปนลายลักษณอักษรของการเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมาคือ รัฐบาล
พลเรือนจะเปนที่อดรนทนไดตราบใดที่เปนรัฐบาลที่ออนแอ แตกแยกภายในตองคลอยตามระบอบอํา
มาตยาธิปไตยในกองทัพ, ราชการ และองคมนตรี และรับใชผลประโยชนของนักธุรกิจชั้นนําในกรุงเทพ

12
รัฐบาลใดที่พยายามจะทําในสิ่งที่แตกตางจะถูกบอนทําลายอยางเปนระบบ และหากบอนทําลายไมสําเร็จจะ
ถูกขจัดออกไปโดยกองทัพ ทักษิณไมเพียงแตละเมิดกฎอันไมเปนทางการขอนี้ดวยการทุมเทบริหารประเทศ
อยางไมบันยะบันยัง การอยูในตําแหนงนายกรัฐมนตรีจนครบวาระ และชัยชนะอยางถลมทลายในการ
เลือกตั้ง 2 ครั้งซอนอันเนื่องมาจากการสนับสนุนอยางลนหลามจากมวลชนที่พึงพอใจในนโยบายเปนการ
คุกคามที่จะเปลี่ยนทิวทัศนทางการเมืองของไทยโดยขจัดอํานาจนอกรัฐธรรมนูญที่มีมาอยางยาวนานของ
กลุมอํานาจเกาที่ไมไดมาจากการเลือกตั้ง ดวยสังขารที่รวงโรยของผูนําที่มีบารมีสูงสุดบางคนของกลุม
อํามาตย กลุมอํานาจเกาตัดสินใจวาจําเปนตองลงมืออยางรวดเร็ว และเด็ดขาดเพื่อทําลายลางพรรคไทยรัก
ไทย และการทาทายอํานาจอยางใหญหลวงที่สุดที่พวกเขาเคยประสบในรอบหลายทศวรรษที่ผานมา

[10] ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเกอร, Thailand’s Crisis (เชียงใหม : ซิลควอรม บุคส, 2543)
[11] เควิน ฮิววิสัน, “Thailand: Class Matters,” ใน East Asian Capitalism: Conflicts, Growth and Crisis, Annali della
Fondazione Giangiacomo Feltrinelli, no. XXXVI, บรรณาธิการ ลา ตองบา (มิลาน: Feltrinelli, 2545), หนา 287 - 321
[12] ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเกอร, Thailand’s Boom and Bust (เชียงใหม : ซิลควอรม บุคส, 2541), บทที่ 12
[13] จาตุรนต ฉายแสง, อางแลว, เชิงอรรถ 12, หนา 17
[14] เพิ่งอาง, หนา 3
[15] “New Parties Sprouting Already,” เดอะ เนชั่น, 17 พฤษภาคม 2549, http://nationmultimedia.com/2006/05/17
/headlines/headlines_30004216.php
[16] อากิระ สุเอฮิโร, Capital Accumulation in Thailand, 1855 - 1985 (เชียงใหม : ซิลควอรม บุคส, 2539), หนา 170
[17] ดู ซินเทีย ภรณวลัย, “Thailand: Thai Asset Management Corporation,” Mondaq Banking and Financial, 6 มีนาคม
2544, http://www.mondaq.com/article.asp?articleid=15878
[18] ดู พชร วิชยานนท, “Crucial Transitions in Thailand’s Financial System After the 1997 Crisis,” Brookings
Institution Asian Economic Panel 2007
[19] จอรจ เวอหฟริซส, “All Politics Isn't Local: The Real Enemy of Demonstrators Threatening to Shut Down the
Country is Globalization,” นิวสวีค, 6 กันยายน 2551, http://www.newsweek.com /2008/09/05/all-politics-isn-t-local.html
[20] ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเกอร, Thaksin (เชียงใหม : ซิลควอรม บุคส, 2552), หนา 184-188
[21] เพิ่งอาง, หนา 176 - 184
[22] สถาบันคนควาวิจัยสันติภาพระหวางประเทศสตอกโฮลม “The SIPRI Military Expenditure Database 2010.”,
http://milexdata.sipri.org/result.php4
[23] “Junta at Risk of a Backlash over Lucrative Benefits,” เดอะ เนชั่น, 5 เมษายน 2550, http://nationmultimedia.com
/2007/04/05/politics/politics_30031147.php
[24] ผาสุก พงษไพจิตร และ คริส เบเกอร, อางแลว, เชิงอรรถ 23, หนา 183
[25] ดู ดันแคน แมคคารโก, “Network Monarchy and Legitimacy Crises in Thailand,” Pacific Review, 18 (2548) : หนา
499 - 519
[26] “Military ‘Must Back King’,” เดอะ เนชั่น, 15 กรกฎาคม 2549

13
4. ถนนสูการปฏิวัติในป พ.ศ. 2549
เพื่อเปนการตอบโตการยืนยันการคุมอํานาจของพรรคไทยรักไทยเหนือระบอบการเมืองของประเทศ กลุม
กอนตางๆในกลุมอํานาจเกาของไทยออกมาตรการหลากหลายเพื่อกอบกูบทบาทของตนคืนมากอนที่มันจะ
สายเกิน ไป พวกเขาใหก ารสนั บ สนุ น การชุ มนุม ประทว งที่ถูก ออกแบบมาเพื่ อ สรา งบรรยากาศสั บ สน
อลหมานที่จะสรางความชอบธรรมในการนําการปกครองโดยทหารกลับมาในประเทศอีกครั้ง พวกเขายังบม
สรางขอกลาวหาเรื่องการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพมาใช เมื่อยุทธศาสตรเหลานี้ลมเหลวพวกเขาอาศัยวิธีการ
เดิมๆอยางการรัฐประหาร
แผนการที่จะขับไลทักษิณและพรรคไทยรักไทยเริ่มตนมาตั้งแตหลังการเลือกตั้งทั่วไปในป พ.ศ. 2548 หนึ่ง
ในแกนนําคนสําคัญที่ตอตานทักษิณคือนาย สนธิ ลิ้มทองกุล เจาพอธุรกิจสื่อผูลมเหลวซึ่งครั้งหนึ่งเคยเปน
ผูสนับสนุนที่สําคัญของทักษิณ สนธิกลาวหารัฐบาลทักษิณเปนเผด็จการ และมีการใชอํานาจในทางที่ผิด
อยางเปนระบบ สนธิใหเหตุผลสนับสนุนขอเรียกรองใหทักษิณลาออกวา เพราะเปนสิ่งจําเปนสําหรับการ
คุมครองกษัตริยจากแผนการลับของทักษิณที่ตองการใหประเทศปกครองดวยระบอบประธานาธิบดี
ในกฎหมายและสังคมไทยกษัตริยเปนดั่งสมมติเทพ และไดรับความเคารพนับถืออยางสูงสุดจากประชาชน
รัฐธรรมนูญฉบับลาสุดบัญญัติวา “องคพระมหากษัตริยทรงดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ” การ
ไมแสดงความเคารพนับถือกษัตริยโดยทางออมอาจจะถูกดําเนินคดีขอหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพซึ่งมีโทษ
จําคุกระหวาง 3 - 15 ปสําหรับแตละกรรม
ที่รายไปกวานั้นขอกลาวหาที่วานายรัฐมนตรีเปนภัยใกลตัวตอเกียรติยศของสถาบันกษัตริย, กษัตริย หรือตัว
องคกษัตริยเองดูคลายจะเปนขออางที่นําไปสูการกําจัด และเนรเทศอดีตนายกรัฐมนตรีที่มีชื่อเสียงหลายคน
มากอน ขอกลาวหาผิดๆวาลอบปลงพระชนม และเหยียดหยามกษัตริยเปนฐานของการทําลายชื่อเสียง และ
การที่ตองลี้ภัยอยูตางประเทศอยางถาวรของนาย ปรีดี พนมยงค หนึ่งในแกนนําของการปฏิวัติในป พ.ศ.
2475 และเปนวีรบุรุษของขบวนการใตดินเสรีไทยที่ตอตานญี่ปุนชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 พล.ต.อ. เผา สียา
นนท อดีตอธิบดีกรมตํารวจ และจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกโคนจากอํานาจ และเนรเทศออกจากประเทศ
โดยหนึ่งในสมาชิก 3 ทรราชยในยุคเผด็จการจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ดวยขอหาที่วาพวกเขาเปนอันตรายตอ
การอยู ร อดของสถาบั น กษั ตริ ย ในป พ.ศ.2534 มี ขอ กลา วหาคลา ยๆกั น ตอ พล.อ. ชาติ ช าย ชุ ณ หะวั น
นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นที่วา พล.อ. ชาติชาย พยายามที่จะสราง “เผด็จการรัฐสภา” อยางถาวรอันเปนสิ่ง
อันตรายยิ่งที่ทําใหนายพลตางๆของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ตองกอการรัฐประหาร
ในประเทศไทยขอกลาวหาวาไมจงรักภักดีตอสถาบันกษัตริยเปนเรื่องที่มักจะถูกนํามาใชในการพยายาม
ทําลายชื่อเสียง, กักขัง, เนรเทศ และสังหาร ผูที่มีแนวคิดทางการเมืองที่เปนภัยคุกคามตออํานาจที่ถือมั่นอยู
ครั้งแลวครั้งเลาอยางนอยตั้งแตการรัฐประหารของจอมพล สฤษดิ์ ในป พ.ศ. 2500 ขอกลาวหาวาดวยการ
เปนภัยตอสถาบันกษัตริยมักถูกใชเปนขออางใหความชอบธรรมแกการทําการรัฐประหารโดยทหาร และการ

14
ปกครองประเทศโดยทหารเปนเวลานาน นี่เปนฐานของการ “ปฏิวัติ” ในป พ.ศ. 2501 ของจอมพล สฤษดิ์
การรัฐประหารตนเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร ในป พ.ศ. 2514 เหตุการณการสังหารหมูของเผด็จการใน
ป พ.ศ. 2516 และการขับไล พล.อ. ชาติชาย ใหออกจากตําแหงในป พ.ศ. 2534 ตั้งแตการเขามามีอํานาจในป
พ.ศ. 2500 หรือ 25 ปหลังจากที่การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยสิ้นสุดลง จอมพล สฤษดิ์ เปน
เผด็จการทหารคนแรกที่อางเหตุผลสวนตัวบนฐานของความชอบธรรมทางการเมืองในความจําเปนที่จะตอง
ปกปองสถาบันกษัตริย และบนการอุทิศตนใหแกการฟนพระเกียรติ, การไมอาจละเมิดได และความเคารพ
ศรัทธาของสาธารณะตอสถาบันกษัตริยอีกดวย ตั้งแตนั้นเปนตนมากลุมอํามาตยไดเปลี่ยนรูป ความจําเปนที่
จะตองปกปองสถาบั นกษัตริยทั้งจากภัยคุกคามที่เปนจริง และที่เปนจินตนาการนํ าไปสูขอโตแยงที่ไ ม
สามารถเถียงไดซึ่งถูกสรางขึ้นมาเพื่อใหความชอบธรรมแกการใชอํานาจที่ไมเคยมีรัฐธรรมนูญใดใหไวเพื่อ
เปาหมายที่แทบไมเกี่ยวของกับการปกปองสถาบันกษัตริยจริงๆเลย หลังจากนั้นเปนตนมาใครก็ตามที่
ปฏิเสธอํานาจนอกรัฐธรรมนูญของกลุมอํามาตยจะถูกตีตราเปนสัตวราย และปายสีวาเปนศัตรูของสถาบัน
กษัตริย
ในเดือนเมษายน 2548 หลังจากไดรับเลือกตั้งอีกครั้ง ทักษิณเปนประธานในพิธีทําบุญที่จัดขึ้นในวัดพระศรี
รัตนศาสดาราม (วัดพระแกว) ซึ่งปกติจะเปนกษัตริยที่เปนองคประธาน (แตไมไดจํากัดไววาตองเปนกษัตริย
เทานั้น) เหตุการณนี้ทําใหเกิดความกราดเกรี้ยวในประเทศไทย ถึงแมวาทักษิณจะไมไดถูกกลาวหาอยางเปน
ทางการ แตเรื่องนี้ชวยใหพวกกลุมอํานาจเกาเสนอวาตนเปนผูพิทักษกษัตริยอีกครั้ง
อยางไรก็ตามเหตุการณที่กระตุนการตอตานทักษิณและพรรคไทยรักไทยมากที่สุดคือการขายหุนบริษัท ชิน
คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2549 กอนหนานั้นทักษิณโอนหุนบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น
จํากัด (มหาชน) ของเขาไปกอนจะเขามาเลนการเมืองตามที่กําหนดไวในกฎหมาย โดยการโอนการถือหุน
ของตนไปใหลูกคนโต 2 รายเพื่อเปนการตอบกับขอกลาวหาเรื่องผลประโยชนทับซอน ครอบครัวของ
ทักษิณตัดสินใจขายหุนรอยละ 49.6 ในบริษัทใหแกกองทุนเทมาเส็กโฮลดิ้งสของสิงคโปร หลังจากการขาย
หุนผูที่วิพากษวิจารณทักษิณรองเรียนวาทักษิณขายสมบัติสําคัญของชาติใหแกตางชาติ และยังมีขอกลาวหา
ดวยวาลูกๆของเขาใชประโยชนจากชองโหวของกฎหมายภาษีของไทย โดยการขายหุนผานทางบัญชีซื้อขาย
หลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยตางประเทศเพื่อจะไมตองเสียภาษี ขอกลาวหาวา “ขายชาติ” และหลบเลี่ยง
ภาษีกลายมาเปนเหตุแหงสงครามที่ฝายตรงขามหยิบยกมาใช
ชวงเวลาที่ขายหุนบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บังเอิญตรงกับชวงที่สอดรับกับเปาหมายของฝาย
ตรงขาม นั่นคือเกิดขึ้นกอนการเดินขบวนตอตานทักษิณที่มีการกําหนดในวันที่ 4 - 5 กุมภาพันธ 2549 ที่
ทองสนามหลวง ประเด็นนี้ทําใหกลุมผูจัดการประทวงไดพลังสนับสนุนเปาหมาย และพลังงานสําหรับการ
ประทวง ที่สําคัญกวานั้นคือ มันทําใหฝายที่ตอตานทักษิณทั้งปญญาชน, นักพัฒนาองคกรเอกชน, นักธุรกิจ
ชั้น นํา, ชนชั้ น กลางระดั บสู ง, ขา ราชการ, ลูก จา งรัฐ วิ สาหกิจ , นัก เคลื่ อ นไหวพรรคประชาธิ ปตย และ
ผูสนับสนุนนักระดมมวลชนอยางนาย สนธิ ลิ้มทองกุล และ พล.ต. จําลอง ศรีเมือง อดีตที่ปรึกษาของทักษิณ
เริ่มกอตัวชัดขึ้นในนามพันธมิตรฯซึ่งจัดตั้งขึ้นไมกี่วันหลังจากนั้น ผูประทวงกวา 50,000 รายนําโดยสนธิ

15
และ พล.ต. จําลอง เรียกรองใหทักษิณลาออก ในวันที่ 4 - 5 กุมภาพันธ 2549 สนธิ ลิ้มทองกุล ถวายฎีกาผาน
ทางองคมนตรี พล.อ. เปรม ติ ณ สู น านนท ให ก ษั ต ริ ย ท รงใช พ ระราชอํ า นาจผ า นทางมาตรา 7 ของ
รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 ในการถอดถอนทักษิณ และแตงตั้งนายกรัฐมนตรีใหม [27] วิธีการของสนธิซึ่ง
ตั้งอยูบนการอานรัฐธรรมนูญที่คอนขางจะนาสงสัยไดเลี่ยงวิธีการตามรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยที่ใหมีการ
เลือกตั้งรัฐสภาเพื่อใหมีการเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม
ทักษิณตอบโตการประทวงที่ขยายตัวขึ้นดวยการประกาศยุบสภาไมนานหลังการเดินขบวนประทวงที่
สนามหลวง และกํ า หนดใหมี ก ารเลือกตั้ งใหม ใ นวัน ที่ 2 เมษายน 2549 พรรคการเมืองฝายคานหลัก ๆ
ทั้งหมดคว่ําบาตรการเลือกตั้งครั้งนี้ทําใหพรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งอยางงายดายตามคาดการณ และ
ไดที่นั่งในสภามากกวารอยละ 90 ฝายคานออกมาบอกวาการเลือกตั้งที่ผานไปมีความผิดปกติในทันที ใน
หลายเขตของกรุงเทพ และภาคใตของประเทศผูสมัครพรรคไทยรักไทยไดรับเลือกมาดวยคะแนนเสียงที่
นอยกวาเสียง “ไมลงคะแนน” ในบางพื้นที่ของภาคใตผูสมัครพรรคไทยรักไทยที่ลงสมัครโดยไมมีคูแขง
สอบตกการเลือกตั้งเนื่องจากไดรับคะแนนเสียงไมถึงรอยละ 20 ของผูมีสิทธิเลือกตั้งตามที่กําหนดทําใหผล
การเลือกตั้งในพื้นที่นั้นเปนโมฆะ พันธมิตรฯยื่นฟองตอศาลปกครองเรียกรองใหการเลือกตั้งเปนโมฆะ
ทั้งหมด พันธมิตรฯกลาวโทษคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) วาละเมิดความเปนสวนตัวของผูลงคะแนน
เสียง และกลาวหาวาพรรคไทยรักไทยทุจริตการเลือกตั้ง [28] 2 วันหลังจากการเลือกตั้งทักษิณประกาศลาออก
และดํารงตําแหนงรักษาการนายกรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2549 กษัตริยทรงมีพระราชดํารัสตอสาธารณะเกี่ยวกับการเลือกตั้ง โดยทรงตรัสตอศาล
ปกครองโดยตรงวา

“ใหการเลือกตั้งนี้เปนโมฆะหรือเปนอะไร ซึ่งทานจะมีสิทธิที่จะบอกวา อะไรที่ควร ที่ไมควร ไมไดบอก


วารัฐบาลไมดี แตวาเทาที่ฟงดูมันเปนไปไมได คือการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตย เลือกตั้งพรรคเดียว คน
เดี ย ว ไม ใ ช ทั่ ว ไป แต ใ นแห ง หนึ่ ง มี ค นที่ ส มั ค รเลื อ กตั้ ง คนเดี ย ว มั น เป น ไปไม ไ ด ไม ใ ช เ รื่ อ งของ
ประชาธิปไตย เมื่อไมเปนประชาธิปไตย ทานก็พูดกันเองวา ทานตองดูเกี่ยวของกับเรื่องของการปกครองให
ดี อยางดีที่สุดถาเกิดทานจะทําได ทานลาออก ทานเอง ไมใชรัฐบาลลาออก ทานเองตองลาออก ถาทําไมได
รับหนาที่ไมได ตะกี้ที่ปฏิญาณไป ดูดีๆ จะเปนการไมไดทําตามที่ปฏิญาณ” [29]

ไมนานหลังจากนั้นศาลปกครองยกเลิกการเลือกตั้งใหมที่กําหนดเปนการเลือกตั้งซอมในเขตที่มีผลการ
เลือกตั้งแบบตัดสินไมได เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2549 ศาลรัฐธรรมนูญมีคําพิพากษาวาการเลือกตั้งในเดือน
เมษายนเปนโมฆะทั้งหมด และประกาศใหมีการเลือกตั้งใหมในเดือนตุลาคม ผูพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ
เรียกรองตอสาธารณะใหคณะกรรมการการเลือกตั้งลาออก เมื่อคณะกรรมการการเลือกตั้งปฏิเสธที่จะลาออก
ศาลอาญามี คํ า พิ พ ากษาให จํ า คุ ก พวกเขา 4 ป ใ นข อ หาผิ ด วิ นั ย ร า ยแรงทํ า ให พ วกเขาไม มี สิ ท ธิ ใ นการ
ลงคะแนนเลือกตั้งและตองออกจากตําแหนง [30]

16
หลังจากพระราชดํารัสของกษัตริยเกี่ยวกับการเลือกตั้งในเดือนเมษายนศูนยกลางของผูที่ตอตานทักษิณยาย
จากพันธมิตรฯไปสู พล.อ. เปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรีผูทรงอํานาจ พล.อ. เปรม เกิดในป พ.ศ.
2463 เขาเปนบุคคลที่โดดเดนที่สุดคนหนึ่งประวัติศาสตรสมัยใหมของไทย จุดเริ่มตนของการกาวขึ้นมาสู
ตําแหนงที่มีอิทธิพลทางการเมืองอยางไมอาจเปรียบไดของเขาสามารถยอนกลับไปไดถึงป พ.ศ. 2484
ในขณะที่ยังเปนทหารสังกัดเหลาทหารมา เปรมรวมรบตอตานสัมพันธมิตรเคียงขางกองทัพญี่ปุนภายใต
อนาคตจอมเผด็จการจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต [31] การขึ้นมามีอํานาจของเปรมในเวลาตอมาเชื่อมโยงอยาง
ใกลชิดกับจอมพล สฤษดิ์ ซึ่งเปนที่รูกันอยางกวางขวางวาเขาเปนคนที่โหดราย และเปนนายทหารที่ทุจริต
ที่สุดคนหนึ่งในประเทศไทย จอมพล สฤษดิ์ เลื่อนยศใหเปรมใหขึ้นเปนพันเอกและแตงตั้งใหเปนสมาชิก
สภารางรัฐธรรมนูญที่ควบคุมโดยทหารในป พ.ศ. 2502 เปรมยังมีความเกี่ยวพันใกลชิดจอมพล ถนอม กิตติ
ขจรและจอมพล ประภาส จารุเสถียร ผูนําทหารที่มีชื่อเสียงชั่วรายเลื่อนยศใหเขาเปนพลตรีในป พ.ศ. 2514
และเขายังเปนเพื่อนสนิทกับ พล.ต. สุดสาย หัสดิน ผูนํากองกําลังกระทิงแดงที่เปนผูรับผิดชอบสําหรับการ
สังหารหมูที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในป พ.ศ. 2519 อีกดวย
ในเดือนกันยายนป 2521 เปรมไดรับการแตงตั้งใหเปนรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2520 -
2522) และเปนผูบัญชาการกองทัพบก ไมนานหลังจากนั้นในเดือนมีนาคม 2522 สภาผูแทนราษฎรไดแตงตั้ง
ใหเขาเปนนายกรัฐมนตรี แมวาเปรมจะไมเคยลงสมัครรับเลือกตั้งเลย แตไดเปนนายกรัฐมนตรีของประเทศ
ไทยชวงป พ.ศ. 2522 - 2531 ซึ่งชวงเวลานั้นเขารอดพนจากความพยายามที่จะกอการรัฐประหารโดยทหาร
ถึง 2 ครั้ง (คือในป พ.ศ. 2524 และ พ.ศ. 2528) และไดรับการรับรองในรัฐสภาถึง 2 ครั้งหลังการเลือกตั้งใน
ป พ.ศ. 2526 และ พ.ศ. 2528 บางทีจุด สูงสุดของอํานาจของเปรมคือหลังจากที่เขาลาออกจากการเปน
นายกรัฐมนตรีเมื่อเขาไดรับการโปรดเกลาใหเปนองคมนตรี และเปนประธานองคมนตรีตั้งแตป พ.ศ. 2541
กวา 70 ปในหนาที่การงาน พล.อ. เปรม สรางเครือขายอิทธิพลและอํานาจแผขยายลึกสูทหาร, ขาราชการ
และตุลาการ รวมถึงกลุมธุรกิจขนาดใหญของประเทศไทย นอกจากนั้น พล.อ. เปรม ยังเปนกรรมการของ
ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) และดํารงตําแหนงประธานที่ปรึกษาของเครือเจริญโภคภัณฑเมื่อไมนานมา
นี้ซึ่งเปนหนึ่งในผูสนับสนุนหลักของพรรคประชาธิปตย
หลังจากที่ศาลมีคําพิพากษาวาผลของการเลือกตั้งในเดือนเมษายนเปนโมฆะ พล.อ. เปรม กลาวบรรยาย
วิพากษวิจารณการทํางานของทักษิณหลายครั้ง [32] ดวยสถานะและอํานาจของ พล.อ. เปรม การรณรงคตอ
สาธารณะของเขาสอใหเห็นถึงการขจัดทักษิณออกจากอํานาจ มีการแขงขันกันควบคุมกองทัพและรัฐ และมี
รายงานสาธารณะถึงความเปนไปไดที่จะมีการรัฐประหารปรากฏขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายนในการกลาวกับ
ขาราชการกลุมหนึ่ง ทักษิณอางอิงถึง พล.อ. เปรม และกลาวาตนปฏิเสธความพยายามที่กําลังดําเนินอยูโดย
“ผูมีบารมีนอกรัฐธรรมนูญ” และการไม “เคารพหลักนิติธรรม” เพื่อบั่นทอนรัฐบาล นักวิจารณสังคมที่มี
ชื่อเสียงตางๆกลาวหาทักษิณโดยทันทีวาลวงละเมิดกษัตริย [33] พล.อ. เปรม พรอมดวยองคมนตรีและ พล.อ.
สุรยุทธ จุลนานนท อดีตผูบัญชาการกองทัพบกปรึกษากับนายทหารระดับสูงหลายคน และเดินทางเขาเยี่ยม

17
หนวยทหารตางๆ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคมเขากลาวเตือนบรรดาเจาหนาที่ทั้งหลายวาความจงรักภักดีไมควรมี
ใหกับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง แตตองมีตอกษัตริย [34]
โพลสํารวจความคิดเห็นหลายโพลที่ทําชวงกอนจะมีการเลือกตั้งในเดือนตุลาคมชี้วา ทักษิณจะชนะการ
เลือกตั้งอีกครั้งโดยเสียงสวนมาก เหตุการณตึงเครียดสูงสุดในเดือนสิงหาคม 2549 เมื่อมีรถยนตบรรจุระเบิด
หนัก 70 กิโลกรัมถูกพบไมไกลไปจากที่พักของทักษิณ เจาหนาที่ทหาร 5 นายถูกจับแตไดรับการปลอยตัว
ออกมาในเวลาไมนานเพราะขาดพยานหลักฐาน ผูที่วิพากษวิจารณรัฐบาลทักษิณรีบออกมาใหขาววาคาร
บอมบนี้เปนฝมือของรัฐบาลเองที่มีเปาหมายเพื่อทําลายชื่อเสียงของฝายตรงขามและเพื่อระดมการสนับสนุน
รัฐบาล

[27] โอลิเวอร ไพ และ วุลแฟรม ชาฟเฟอร, “The 2006 Anti-Thaksin Movement in Thailand: An Analysis,” Journal of
Contemporary Asia, 38 (2551) : หนา 38 - 61
[28] ไซมอน มอนทเลค, “Election Further Clouds Thai Leader’s Future,” The Christian Science Monitor, 4 เมษายน
2549, http://www.csmonitor.com/2006/0404/p06s02-woap.html
[29]”His Majesty the King’s April 26 Speeches,” เดอะ เนชั่น, 27 เมษายน 2549, http://www.nationmultimedia.com
/2006/04/27/headlines/headlines_30002592.php
[30] เจมส แวนเดอ เมียร, “Thaksin in the Dock,” Asia Sentinel, 9 สิงหาคม 2549, http://www.asiasentinel.com/index.php
?option=com_content&task=view&id=82&Itemid=31
[31] พอล เชมเบอรส, “The Challenges for Thailand’s Arch-Royalist Military,” New Mandala, 9 มิถุนายน 2553,
http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2010/06/09/the-challenges-for-thailand’s-arch-royalist-military/
[32] ดูกําหนดการในเว็บไซทของ พล.อ. เปรม ที่ http://www.generalprem.com/news.html.
[33] “LEGAL WARNING: Thaksin Is `Violating the Constitution’,” เดอะ เนชั่น, 5 กรกฎาคม 2549,
http://www.nationmultimedia.com /option/print.php?newsid=30008036
[34] เปรม ติณสูลานนท, “A Special Lecture to CRMA Cadets at Chulachomklao Royal Military Academy,” 14 กรกฎา
คม 2549, http://www.crma.ac.th/speech/speech.html

18
5. การฟนฟูระบอบอํามาตยาธิปไตยอยางผิดกฎหมาย
การขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีของนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ในป พ.ศ. 2549 อภิสิทธิ์เปนผูนําพรรค
ระดับภูมิภาคขนาดใหญซึ่งมีที่นั่งนอยกวารอยละ 20 ของจํานวนที่นั่งในสภาทั้งหมด) มีชองทางเดียวคือการ
รัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 และการลมลางรัฐธรรมนูญที่เปนประชาธิปไตยซึ่งประกาศใชในป
พ.ศ. 2540 หลังจากรัฐประหาร รัฐบาลทหารดําเนินการอยางเปนระบบเพื่อทําลายลาง “ระบอบ” ทักษิณ
กระบวนการทําลายลางรวมความถึงการยุบพรรคไทยรักไทยผานการบังคับใชกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับ
ใหมยอนหลัง, การตัดสิทธิเลือกตั้งของนักการเมืองที่โดดเดน, การกําหนดโทษในรัฐธรรมนูญฉบับใหม
และการฟองรองทักษิณ ชินวัตรในคดีอาญาจํานวนมาก แตแมจะใชมาตรการเหลานี้ก็ยังไมสามารถขัดขวาง
ประชาชนจากการลงคะแนนใหกับพรรคที่สืบทอดจากพรรคไทยรักไทยในการเลือกตั้งปลายป พ.ศ. 2547 ที่
สําคัญไปกวานั้นขบวนการเคลื่อนไหวเรียกรองประชาธิปไตยของคนรากหญาไดถือกําเนิดขึ้น เนื่องจากการ
ทําลายเจตจํานงของประชาชนซ้ําๆ ทําลายสถาบันตัวแทนของประเทศไทย รวมถึงการปราบปรามทาง
การเมืองที่เปดฉากโดยการรัฐประหารในป พ.ศ. 2549 ขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยนี้คอยๆ
เขมขนขึ้นเปนผลมาจากการที่กลุมอํามาตยคว่ําผลการเลือกตั้งในป พ.ศ. 2550 สงผลใหอภิสิทธิ์ไดดํารง
ตําแหนงนายกรัฐมนตรีปลายป พ.ศ. 2551

5.1 การยึดอํานาจโดยทหาร
หลังทศวรรษแหงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีการเลือกตั้งที่เปนอิสระและเปดเผย 3 ครั้ง
ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยถูกยึดครองโดยการใชกําลังทหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน
2549 ขณะที่ทักษิณเขารวมการประชุมสหประชาชาติที่กรุงนิวยอรก ทหารเขายึดครองเมืองหลวง การ
รัฐประหารนําโดย พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการทหารบกโดยไดรับความรวมมือของผูบัญชาการ
ทหารสูงสุด, ผูบัญชาการกองทัพเรือ, ผูบัญชาการทหารอากาศ, ผูบัญชาการสํานักงานตํารวจแหงชาติ และ
เลขาธิ ก ารสภาความมั่ น คงแห ง ชาติ คณะรั ฐ บาลทหารมี ชื่ อ ว า “คณะปฏิ รู ป การปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (คปค.)” ซึ่งตอมาภายหลังเปลี่ยนชื่อภาษาอังกฤษเหลือ
เพียง “คณะปฏิรูปการปกครองระบอบประชาธิปไตย (คปค.)” เพื่อปองกันการ “เขาใจผิด” เกี่ยวกับ “บทบาท
ของสถาบันกษัตริย” [35]
เหตุผลที่ใชกลาวอางในการทํารัฐประหารคณะปฏิรูปการปกครองระบอบประชาธิปไตยประกาศวา (1)
รัฐบาลทักษิณนําไปสู “ปญหาความแตกแยกและบอนเซาะความสามัคคีในหมูคนไทย (2) คนไทยสวนใหญ
มีขอกังขาตอรัฐบาลทักษิณวามี “สัญญาณของการคอรรัปชั่นและทุจริตอยางรุนแรง และ (3) องคกรอิสระ

19
ถูก “แทรกแซง” ซึ่งนําไปสู “ปญหาและอุปสรรคในการจัดการกับพฤติกรรมทางการเมือง [36] คณะปฏิรูป
การปกครองระบอบประชาธิปไตยระบุวา แมจะมีความพยายามอยางตอเนื่องที่จะ “ประนีประนอม คลี่คลาย
สถานการณมาโดยตอเนื่องแลว แตยังไมสามารถที่จะทําใหสถานการณความขัดแยงยุติลงได” ดังนั้น พล.อ.
สนธิ “มีความจําเปนตองยึดอํานาจการปกครองแผนดิน” [37]
แมวา พล.อ. สนธิ จะใหคํามั่นตอสาธารณะในเดือนมีนาคม 2549 วา “กองทัพจะไมยุงเกี่ยวกับความขัดแยง
ทางการเมือง” เพราะ “การรัฐประหารโดยทหารนั้นเปนเรื่องในอดีต” [38] แต พล.อ. สพรั่ง กัลยาณมิตร
ยอมรับในเวลาตอมาวาการรัฐประหารถูกเตรียมการตั้งแตเดือนกุมภาพันธ [39] พล.อ. สนธิ ซึ่งทําหนาที่อยาง
เต็มประสิทธิภาพในฐานะหัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองระบอบประชาธิปไตย [40] ควบคุมรัฐบาลแบบ
เบ็ดเสร็จและรวดเร็ว และวางรากฐานสําหรับการฟนฟูบทบาททางการเมืองของกองทัพในระยะยาวและและ
หาทางสืบทอดอํานาจในอนาคต
พล.อ. สนธิ ประกาศใชกฎอัยการศึกทั่วประเทศไทย [41] โดยหวังควบคุมการเคลื่อนไหวของกองทัพและ
ตํ า รวจอย า งเต็ ม ที่ [42] เขายกเลิ ก รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ป พ.ศ. 2540 ยกเลิ ก วุ ฒิ ส ภา, สภาผู แ ทนราษฎร,
คณะรัฐมนตรี และศาลรัฐธรรมนูญ เขาทําหนาที่ของนายกรัฐมนตรีในนามของหัวหนาคณะปฏิรูปการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย (ทั้งโดยผานตัวเขาเอง) หรือผานผูที่เขาแตงตั้ง [43] พรอมทั้งทําหนาที่ในสวน
ที่ตองผานความเห็นชอบจากรัฐสภาทั้งในระดับสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา [44] ยิ่งไปกวานั้น เขาประกาศ
วาศาลทั้งหลายนอกจากศาลรัฐธรรมนูญคงมีอํานาจในการพิจารณาพิพากษาอัตถคดี “ตามบทกฎหมายและ
ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข” [45] ที่
นาสังเกตคือ พล.อ. สนธิ ประกาศวาองคมนตรี “คงดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาที่ตอไป” [46]
คณะปฏิรูปการปกครองระบอบประชาธิปไตยกําหนดมาตรการเพื่อควบคุมกระบวนการทางการเมือง
ทั้งหมดของประเทศทันที พล.อ. สนธิ ประกาศวาการเลือกตั้งทั่วไปที่จะมีขึ้นในวันที่ 26 ตุลาคม 2549 จะถูก
เลื่อนไปอีก 1 ป [47] แสดงใหเห็นชัดเจนวาการเลือกตั้งใดที่จะมีขึ้นในอนาคตนั้นเปนไปตามที่คณะปฏิรูปการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยกําหนดเทานั้น
คณะกรรมการการเลือกซึ่งตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 เพื่อจัดการกับปญหาการซื้อเสียงที่มีมา
อยางยาวนาน, มีหนาที่จัดการและวางระเบียบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสมาชิก รวมถึงมี
หนาที่ในการไตสวนการทุจริตเลือกตั้ง ความเปนอิสระของคณะกรรมการการเลือกตั้งมีหลักประกันอยูที่
การกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการการเลือกตั้งวาระละ 7 ป และหามดํารงตําแหนงซ้ําหลังจาก
หมดวาระ [48] หลังการรัฐประหาร พล.อ. สนธิ แตงตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งซึ่งเพิ่งไดรับคัดเลือกจาก
วุฒิสภา และเพื่อใหแนใจวาการเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตนั้นเปนไปโดย “กระบวนการและการจัดการที่
เปนธรรมและเปนกลาง” [49] พล.อ. สนธิ ใหอํานาจคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดใหมสามารถเพิกถอนสิทธิ
เลือกตั้งของผูที่ไดรับการเลือกตั้งหากเชื่อไดวาบุคคลผูนั้นกระทําการทุจริตหรือละเมิดกฎหมายในการ
เลือกตั้ง [50]

20
คณะปฏิรูปการปกครองระบอบประชาธิปไตยยังประกาศหามการชุมนุมทางการเมืองเกินกวา 5 ราย โดยมี
โทษจําคุกไมเกิน 6 เดือน และ/หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท [51] ทั้งหามพรรคการเมืองจัดการประชุมหรือ
ดําเนินกิจกรรมอื่นใดทางการเมือง และระงับการจัดตั้งหรือจดทะเบียนพรรคการเมือง [52] ที่สําคัญที่สุดอาจ
ไดแกการที่คณะปฏิรูปการปกครองระบอบประชาธิปไตยเขียนกฎหมายตัดสิทธิคณะกรรมการบริหารพรรค
การเมื องที่ถูก ยุ บพรรคในการมี สวนร ว มกับกิจกรรมทางการเมือ งเปนเวลา 5 ป แมวา การกระทําที่ถูก
กลาวหานั้นกระทําลงกอนการรัฐประหาร [53]

5.2 ระเบียบรัฐธรรมนูญใหม
เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2549 คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ (คมช.) ซึ่งเปนชื่อใหมของคณะรัฐบาลทหารเริ่มใช
รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ชั่ ว คราว [54] และแต ง ตั้ ง พล.อ. สุ ร ยุ ท ธ จุ ล านนท อดี ต ผู บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด และ
องคมนตรีขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี การประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวชวยฟนฟูรูปแบบของ
การแกไขรัฐธรรมนูญที่ยอมรับผูนําการรัฐประหารโดยทําใหการยึดอํานาจโดยทหารเปนสิ่งที่โดยชอบดวย
กฎหมายเชน รัฐธรรมนูญฉบับชั่ว คราวถือวาประกาศหรือคําสั่ งของคณะมนตรี ความมั่ นคงแห งชาติที่
ประกาศใชหลังการรัฐประหารมี “ความชอบธรรมและสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ” [55] รัฐธรรมนูญฉบับ
ชั่วคราวยังกําหนดใหผูนําคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติและบุคคลที่เกี่ยวของ “ไมตองถูกลงโทษจากความ
รับผิดและการลงโทษใดๆ” แมจะพบในภายหลังวาในการยึดอํานาจนั้นเปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย [56]
รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวกําหนดตั้งสภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) ซึ่งสมาชิกมาจากการแตงตั้งโดยคณะ
มนตรีความมั่นคงแหงชาติเพื่อทําหนาที่สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาเดิม โดยสภานิติบัญญัติแหงชาติทํา
หนาที่เกี่ยวกับกระบวนการออกกฎหมายทั้งหมด [57]
รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวกําหนดใหมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวรขึ้นใหม เริ่มจากการตั้งสมัชชาแหงชาติ
ขึ้นโดยมีสมาชิกสมัชชาจํานวน 2,000 รายซึ่งไดรับการโปรดเกลาแตงตั้งจากกษัตริย หัวหนาคณะมนตรี
ความมั่นคงแหงชาติเปนผูรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งสมาชิกสมัชชาแหงชาติ โดยหัวหนาคณะ
มนตรีความมั่นคงแหงชาติเปนผูจัดเตรียมรายชื่อ และควบคุมการเสนอชื่อบุคคลเขาดํารงตําแหนงสมาชิก
สมัชชาแหงชาติ [58] จากนั้นสมัชชาแหงชาติใหความเห็นชอบรายชื่อที่ถูกคัดเหลือ 200 รายเปนผูชิงตําแหนง
สภารางรัฐธรรมนูญเพื่อทําการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม [59] รายชื่อนั้นถูกนําเสนอตอคณะมนตรีความมั่นคง
แหงชาติซึ่งจะทําการตัดลงใหเหลือ 100 รายเพื่อโปรดเกลา และรับสนองพระบรมราชโองการโดยคณะ
มนตรีความมั่นคงแหงชาติ [60] คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติคัดสมาชิกจากจํานวน 100 รายเหลือ 25 ราย
จากนั้นแตงตั้ง “ผูเชี่ยวชาญดานกฎหมาย” อีก 10 ราย ที่สุดแลวจะไดสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญจํานวน 35
ราย โดยกระบวนการนี้คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติสามารถใชอํานาจควบคุมการรางรัฐธรรมนูญฉบับ
ใหมไดโดยตรง [61]

21
ขณะที่ ร า งรั ฐ ธรรมนู ญ กํ า ลั ง จะเสร็ จ สมบู ร ณ ส ภาร า งรั ฐ ธรรมนู ญ (สสร.) เริ่ ม โหมประชาสั ม พั น ธ ต อ
สาธารณะเพื่ อ สร า งความเชื่ อ มั่ น ว า ร า งรั ฐ ธรรมนู ญ จะผ า นการลงประชามติ สภาร า งรั ฐ ธรรมนู ญ ใช
งบประมาณราว 30 ลานบาทเพื่อการรณรงคซึ่งรวมถึงการรณรงคผานสถานีโทรทัศน, เคเบิลทีวี, วิทยุ,
เว็บไซต, สื่อสิ่งพิมพ, หนวยงานรัฐ, สถาบันการศึกษา และแมแตปายโฆษณา [62] และแมวาจะมีการจัด
อภิปรายเกี่ยวกับรางรัฐธรรมนูญแตถูกถายทอดผานทางชองเคเบิลทีวีเทานั้นไมสามารถที่จะถายทอดการ
ผานสถานีฟรีทีวีที่รัฐบาลเปนเจาของคลื่น รัฐบาลดําเนินการอยางเปนทางการใหมีการรณรงคแบบเคาะ
ประตูบานเพื่อผลักดันใหผานรางรัฐธรรมนูญของสภารางรัฐธรรมนูญ, จัดใหมีการรณรงคทั่วประเทศชวง
ใกลการลงประชามติ และผูที่จะไปลงประชามติเดินทางฟรีซึ่งเปนพฤติการณที่มีความผิดทางอาญาฐาน
ละเมิดกฎหมายเลือกตั้ง
เครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพประการหนึ่งที่รัฐบาลทหารใชเพื่อสรางความมั่นคงใหกับการลงคะแนนเสียง
เห็นชอบรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 คือการนําเสนอวากระบวนการลงประชามติเปนสิ่งจําเปนจะนําไปสู
การเลือกตั้ง การประชาสัมพันธของรัฐบาลทหารคือสรางความเชื่อมั่นวาการยอมรับรางรัฐธรรมนูญจะเปน
ขั้นตอนที่จําเปนสําหรับการจัดการเลือกตั้ง ผูลงประชามติจํานวนมากเลือก “รับ” ดวยความมุงหวังที่จะกลับ
ไปสูระบบรั ฐสภา ไมใ ชเพราะพวกเขาเข าใจความแตกตางระหวางรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 กับ
รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 [63] ยิ่งไปกวานั้นรัฐบาลทหารถือสิทธิ์ที่จะนําเอารัฐธรรมนูญเกาฉบับอื่นๆซึ่ง
บางฉบับมีลักษณะเสรีนิยมมากมาใชแทน (และปรับแกตามสมควร) หากวาประชาชนลงประชามติไมผาน
รางรัฐธรรมนูญฉบับนี้
สมัชชาแหงชาติผานราง พ.ร.บ.วาดวยการออกเสียงประชามติ (พ.ศ. 2550) โดยกําหนดบทลงโทษที่รุนแรง
สําหรับการแสดงความเห็นในทางสาธารณะที่มีลักษณะตอตานรางรัฐธรรมนูญ พรรคการเมืองถูกปดกั้น
ไมใหโนมนาวผูลงประชามติใหเห็นชอบหรือไมเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญโดยกําหนดโทษจําคุก 10 ป ผูใด
“ขัดขวาง” การลงประชามติจะถูกดําเนินคดีอาญา และหากผูน้ันเปนผูบริหารพรรคการเมืองจะถูกตัดสิทธิ
ทางการเมืองเปนเวลา 5 ป [64] กฎอัยการศึกยังคงมีผลบังคับใช ผูที่ตอตานรางรัฐธรรมนูญถูกขมขู และ
เอกสารที่ตอตานรางรัฐธรรมนูญถูกยึดจากบานและที่ทําการไปรษณีย ผูประทวงตอตานการรัฐประหารป
พ.ศ. 2549 ถูกจับกุมดวยความผิดทางอาญา [65] คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงเอเชียประณามวา พ.ร.บ.วา
ดว ยการออกเสียงประชามติเ ปน ความพยายามที่ชัดเจนวามุง “ข มขูและปดปากบุคคลที่ไ มเ ห็น ดวยกับ
ทางการ” [66] ซึ่งแตกตางอยางสิ้นเชิงกับกระบวนการรับรางรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540
เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 ผานการลงประชามติดวยจํานวนผูลงคะแนนที่ต่ํา
เปนประวัติการณ รัฐธรรมนูญฉบับใหมถูกประกาศใชเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 [67] รัฐธรรมนูญฉบับป
พ.ศ. 2550 มีความแตกตางอยางสําคัญจากหลักที่รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 ที่ใหความคุมครอง ตัวอยาง
คือ รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 กลับไปสูระบบกอนรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 นั่นคือการเลือกตั้ง
แบบหลายเขตซึ่งเปนการใหโอกาสแกพรรคการเมืองขนาดเล็กมากขึ้นซึ่งจะทําใหเกิดรัฐบาลผสมที่ไมมี
เสถียรภาพ ขณะที่ยังคงระบบบัญชีรายชื่อ แตลดสัดสวนปารตี้ลิสตจาก 100 รายเหลือ 80 ราย ยิ่งไปกวานั้น

22
ฐานคะแนนของระบบปารตี้ลิสตจากเดิมที่กําหนดใหทั่วประเทศเปนหนึ่งเขตเลือกตั้งถูกเปลี่ยนเปนฐาน
คะแนนตามภูมิภาค การแบงเขตเลือกตั้งอยางไมยุติธรรมและคอนขางเทอะทะนี้มีวัตถุประสงคเพื่อลดแรง
สนับสนุนของผูที่จงรักภักดีตอทักษิณ [68] ระบบเลือกตั้งวุฒิสมาชิกตามรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 ถูก
เปลี่ยนเปนกําหนดใหมีวุฒิสมาชิกจํานวน 150 ราย โดย 76 รายมาจากการเลือกตั้ง และอีก 74 รายมาจากการ
แตงตั้งโดยผานคณะกรรมการคัดเลือกซึ่งมีที่มาจากผูพิพากษาและขาราชการระดับสูง [69] การเปลี่ยนแปลง
เหลานี้ถูกดําเนินการอยางรอบคอบเพื่อปองกันอํานาจจากการเลือกตั้งที่โดดเดนแบบที่เคยเกิดกับพรรคไทย
รักไทย [70]

5.3 การยุบพรรคไทยรักไทย
คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติซึ่งเขาสูอํานาจดวยการใชกําลังบังคับทําลายพรรคไทยรักไทยและทําลาย
ความนิ ยมของพรรค ในเดื อนมกราคม 2550 รัฐบาลทหารจัดสรรงบประมาณลั บจํ า นวน 12 ล านบาท
สําหรับการรณรงคเพื่อทําลายความนาเชื่อถือและนโยบายของรัฐบาลทักษิณ [71] ตามรายงานกลาววารัฐบาล
ทหารอนุมัติใหมีการโฆษณารณรงคโดยใชเงินภาษีจากประชาชนซึ่งดําเนินการโดยบริษัทโฆษณาซึ่งมีญาติ
ของรองเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ พล.อ. สพรั่ง กัลยาณมิตร เปนเจาของกิจการ ทั้งยัง
กอใหเกิดผลประโยชนตอสมาชิกพรรคประชาธิปตยคนสําคัญ รวมถึงนาย กรณ จาติกวณิช และนาย กอบ
ศักดิ์ สภาวสุ [72]
ดังที่กลาวไปแลวศาลรัฐธรรมนูญถูกยกเลิกไปทันทีเมื่อมีการรัฐประหาร รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวแตงตั้ง
องคคณะตุลาการรัฐธรรมนูญจํานวน 9 ราย โดยองคคณะทั้งหมดเปนผูพิพากษาที่ไดรับการแตงตั้งโดยคณะ
มนตรีความมั่นคงแหงชาติ [73] เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 องคคณะตุลาการที่ไดรับการแตงตั้งทําการ
วินิจฉัยยุบพรรคไทยรักไทย [74] ชัดเจนวาการพิพากษาคดีวางอยูบนการวินิจฉัยวาพรรคไทยรักไทยติด
สินบน พรรคการเมืองฝายคานพรรคเล็กใหเขารวมการเลือกตั้งในเดือนเมษายน 2549 พรรคประชาธิปตย (คู
ตอสูสําคัญของไทยรักไทยในสภา) ถูกกลาวหาดวยขอกลาวหาอยางเดียวกัน แตศาลพิพากษาใหพนผิด
นอกจากการพิพากษายุบพรรคที่เคยเปนพรรครัฐบาล ศาลยังตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารพรรค
ไทยรักไทยจํานวน 111 รายเปนเวลา 5 ปโดยอาศัยความตามประกาศคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติฉบับที่
27 ที่กําหนดใหบทลงโทษมีผลยอนหลัง นี่เปนการทําใหแนใจวาเมื่อพรรคการเมืองถูกยุบแกนนําพรรคจะ
ไมอาจลงเลือกตั้งไดอีกในนามของพรรคการเมืองอื่น ทั้งที่ความเปนจริงนั้นการกระทําผิดตามขอกลาวหา
นั้น เกิดขึ้นหลายเดือนกอนการประกาศใชประกาศคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติฉบับที่ 27 แกนนําพรรค
ไทยรักไทยสวนใหญไมไดรับโอกาสในการแกตางในศาล [75]
คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย (Asian Human Rights Commission : AHRC) กลาวถึงการ
พิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญวา

23
“ดวยเหตุนี้เราไดเห็นปรากฏการณพิเศษที่คณะผูพิพากษาซึ่งไดรับการแตงตั้งโดยรัฐบาลทหารที่ไมผาน
การเลือกตั้ง และตอตานประชาธิปไตยดําเนินการพิพากษาการกระทําของพรรคการเมืองที่ไดรับการเลือกตั้ง
ซึ่งถูกกลาวหาวาบอนทําลายกระบวนการประชาธิปไตย” [76]

ในระบอบใหม นี้การเลือกตั้งเกิด ขึ้น ก็ตอเมื่ อพรรคไทยรักไทยถูก ยุบ แกนนําพรรคถูกตัดสิทธิเ ลือกตั้ง


ภาพลักษณของพวกเขาเสื่อมเสีย และพรรคที่ครั้งหนึ่งไมมีใครเอาชนะตองแตกสลายเปนเสี่ยงๆ

5.4 การรัฐประหารทางศาลและเหตุการณความวุนวายที่ถูก
จัดตั้งขึ้น
ในเดือนสิงหาคม 2550 อดีตสมาชิกพรรคไทยรักไทยรวมตัวกันอีกครั้งอยางไมสะทกสะทานตอผลการยุบ
พรรคไทยรักไทย โดยใชชื่อพรรค “พลังประชาชน” ผูนําพรรคคือนาย สมัคร สุนทรเวช นักการเมืองชาว
กรุงเทพผูแกพรรษา เพียงไมนานหลังจากที่พรรคพลังประชาชนกอตั้งขึ้น คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติมี
คําสั่งหามกิจกรรมทางการเมืองของพรรคทําใหพรรครองทุกขกลาวโทษคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติตอ
คณะกรรมการการเลื อกตั้ ง อยางไรก็ ตามคณะกรรมการการเลือกตั้งเพิกเฉยตอคํารองทุก ขดังกลาวซึ่ง
กลาวหาวาคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติมีความผิดจากการสรางภูมิคุมกันใหตัวเองโดยการประกาศใช
รัฐธรรมนูญฉบับใหมแทนรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 [77]
เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ประเทศไทยมีการเลือกตั้งครั้งแรกนับจากมีรัฐประหาร แมคณะมนตรีความ
มั่นคงแหงชาติจะตอตาน และใชกลยุทธในการปราบปรามอยางหนัก แตพรรคพลังประชาชนไดที่นั่งในสภา
ผูแทนจํานวนมาก โดยชนะการเลือกตั้ง 233 ที่นั่งจากทั้งหมด 480 ที่นั่ง แมวาคณะกรมการการเลือกตั้งตัด
สิทธินักการเมืองคนสําคัญที่ลงเลือกตั้งในนามพรรคพลังประชาชนไปจํานวนมาก [78] พรรคจัดตั้งรัฐบาล
ผสมโดยนาย สมัคร สุนทรเวช ขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 ถือเปนอีกครั้งที่
การเลือกตั้งแสดงใหเห็นถึงระดับความมุงมั่นของคนไทยในการกําหนดใจตนเองผานการเลือกตั้งขณะที่
เผชิญกับการประหัตประหารกันทางการเมือง เมื่อตองเผชิญกับการเลือกตั้งที่สงผลใหไดรัฐบาลที่เปน
ปฏิปกษตอผลประโยชนของตนเอง กลุมอํามาตยจึงใชแนวทางใหมแทนที่จะยึดอํานาจโดยการใชกองกําลัง
อีกครั้ง กลุ มอํามาตยเ ลือกทําลายรัฐบาลโดยอาศัยการประทว งที่ใชความรุนแรงบนทองถนน และการ
ขัดขวางบริการสาธารณะที่สําคัญ
พันธมิตรฯกลับมาปรากฏตัวบนทองถนนของกรุงเทพอีกครั้งในเดือนพฤษภาคม 2551 ซึ่งเปนเวลาเพียง 5
เดือนหลังรูผลการเลือกตั้ง และเมื่อการประทวงที่ยืดเยื้อกวา 3 เดือนบน ถ.ราชดําเนิน ไมประสบความสําเร็จ
ในการสร า งแรงเสี ย ดทานใด ปลายเดื อ นสิ ง หาคมผู ชุ ม นุ ม ของพั น ธมิ ต รฯที่ ติ ด อาวุ ธ บุ ก เข า ไปใน

24
สถานีโทรทัศนในกรุงเทพ, บุกกระทรวงหลายกระทรวง และยึดทําเนียบรัฐบาลเพื่อกีดกันไมใหรัฐบาล
สามารถทํางาน ชวงเวลาเดียวกันยึดสนามบินใน จ.ภูเก็ต, จ.กระบี่ และ อ.หาดใหญ, ปดกั้นถนนสายหลัก
และทางดวน สหภาพรัฐวิสาหกิจขัดขวางการเดินรถไฟทั่วประเทศและขูวาจะตัดน้ําตัดไฟ นาย สนธิ ลิ้ม
ทองกุล ผูนําของพันธมิตรฯมีโอกาสถอนเงินจํานวนมหาศาลจากบัญชีธนาคารซึ่งไดมาจากผูสนับสนุน
พันธมิตรฯที่ร่ํารวย [79]
พันธมิตรฯเรียกรองให “รัฐบาลหุนเชิด” ของสมัครลงจากตําแหนง แตนาสังเกตวาไมไดเรียกรองใหมีการ
เลือกตั้งใหมเพื่อหารัฐบาลมาทําหนาที่แทน [80] แตกลับเรียกหาการรัฐประหารอีกครั้งหนึ่งดังที่นิตยสาร ดิ อิ
โคโนมิสต (The Economist) ระบุวา “พันธมิตรฯอางวาไมวาอยางไรรัฐบาล (สมัคร) ก็ไมชอบธรรม เพราะ
เชื่อวาคนจนไมสมควรจะมีสิทธิลงคะแนนเสียงเนื่องจากพวกเขาโงเกินไป” [81]
เมื่อครั้งที่พันธมิตรฯพยายามขับไลรัฐบาลทักษิณในป พ.ศ. 2549 พันธมิตรฯอภิปรายวาประเทศไทยกําลัง
กาวสูระบอบเผด็จการภายใตการนําของทักษิณ และพันธมิตรฯรองหาการแทรกแซงจากกษัตริยโดยอางวา
เปนความจําเปนของประเทศเพื่อเปนหนทางไปสูการเปน “ประชาธิปไตย” ที่สมบูรณ แนวทางในการ
รณรงคที่ เ ล น โวหารเรื่ อ งประชาธิป ไตยของพั น ธมิ ต รฯอาจเป น เหตุผ ลว าทํ า ไมพัน ธมิ ต รฯจึ ง สามารถ
เรียกรองความเห็นอกเห็นใจจากคนทั่วไปจํานวนมากในกรุงเทพและที่อื่นๆ อยางไรก็ตามผูที่นิยมและให
การสนับสนุนพันธมิตรฯสวนใหญคอยๆลดลง ขณะที่พันธมิตรฯยังคงกิจกรรมอยางตอเนื่องในป พ.ศ. 2551
จากการตองเผชิญกับการชุมนุมที่มีผูเขารวมจํานวนนอย และความลมเหลวของการรัฐประหาร กติกาใหมจึง
ถูกกําหนดตามมา การลาแมมดเกิดขึ้นอีกครั้งเพื่อตอตานเศษซากที่เหลืออยูของพรรคไทยรักไทยเพื่อให
รัฐบาลเอื้อประโยชนตอกลุมอํามาตยมากขึ้น ยุทธศาสตรของพันธมิตรฯนั้นรุนแรงขึ้นและมีลักษณะสุดโตง
ประการแรก พันธมิตรฯเพิ่มแนวทางที่รุนแรงมากขึ้น ประการที่ 2 แกนนําอภิปรายตอตานประชาธิปไตยใน
ประเทศไทยโดยตําหนิวาผูมีสิทธิเลือกตั้งในตางจังหวัด และชนชั้นลางจํานวนมากยังคงถูกหลอกไดงาย, ไม
มีการศึกษา และถูกครอบงําจากความตองการทําใหไมอาจลงคะแนนอยางมีเหตุผล [82] สิ่งที่พันธมิตรฯเสนอ
ใหนํามาใชแทนคือการลดจํานวนนักการเมืองในสภาลงใหเหลือรอยละ 30 จากที่นั่งในสภาทั้งหมด และ
ปลนอํานาจในการกําหนดนโยบายของประเทศจากนักการเมืองเหลานั้น
แมวาประวัติศาสตรประชาธิปไตยของไทยจะมีลักษณะผกผัน แตไมใชเรื่องปกติที่จะไดยินกลุมจัดตั้ง
ประกาศตอสาธารณะวาตอตานประชาธิปไตยดวยทาทีที่ถืออภิสิทธิ์และแข็งกราว แตกระนั้นสิ่งที่โลกได
เห็นจากพันธมิตรฯคืออุดมการณอยางเปนทางการของประเทศซึ่งฝงลึกนั่นคือการแยกแยะความแตกตาง
อย า งเด น ชั ด ทางจารี ต ระหว า งชนชั้ น ปกครองจํ า นวนน อ ยกั บ ผู อ ยู ใ ต ก ารปกครอง ในความเป น จริ ง ดู
เหมือนวาสิ่งที่ทําใหพันธมิตรฯหวาดกลัวไมใชการคาดการณวาทักษิณ “คอรรัปชั่น” หรือเปน “เผด็จการ”
การที่พันธมิตรฯตองการใหกองทัพซึ่งขึ้นชื่อวาเปนองคกรที่มีการคอรรัปชั่นมากที่สุดของประเทศเขา
แทรกแซงทางการเมืองโดยไมเอยถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชนอันเลวรายขององคกรนี้เปนตัวอยางอันดีที่
แสดงใหเห็นวาพันธมิตรฯไมใสใจตอประชาธิปไตยและนิติรัฐ สิ่งที่เปนปญหาที่สุดของพันธมิตรฯคือความ
นิยมที่ทักษิณไดรับอันเนื่องมาจากนโยบาย และการที่ทักษิณปลูกฝงและใหอํานาจแกกลุมคนที่ครั้งหนึ่งเคย

25
มีบทบาทในการเมืองไทยในฐานะผูถูกกระทํา ดังที่นักวิชาการผูหนึ่งกลาววา “อาชญากรรมที่แทจริง” ของ
ทักษิณคือเขา “ไมจําเปนตองชนะการเลือกดวยการซื้อเสียงอีกตอไป” [83]
พันธมิตรฯซึ่งโดยแกนแทเปนองคกร “รากหญาเทียม” มีสมาชิกสวนใหญเปนคนรวยในกรุงเทพไดรับ
เงิ น ทุ น จากกลุ ม ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ และเป น หนี้ ต อ เหล า อิ ท ธิ พ ลที่ ห นุ น หลั ง ผู มี อํ า นาจในกองทั พ , สภา
องคมนตรี และพรรคประชาธิปตย เชนเคยพันธมิตรฯและผูหนุนหลังรูสึกวาการคุกคามจากพรรคไทยรัก
ไทยและพรรคที่สืบทอดทบทวี
ในดานหนึ่งทักษิณใหสิทธิพิเศษกับกลุมอํานาจเกาในกรุงเทพซึ่งเคยไดรับประโยชนจากงบประมาณของรัฐ
ในเรื่องนี้ คารล ดี. แจคสัน นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยจอหน ฮ็อสกินส (John Hopkins University)
อภิปรายวา “ปญหาพื้นฐานของระบอบการเมืองไทยคือเงินกระจุกอยูในกรุงเทพจํานวนมาก ขณะที่ผูมีสิทธิ
ลงคะแนนเสียงสวนใหญอยูนอกกรุงเทพ” [84] สิ่งที่ ศ. แจ็คสัน ละเลยไมไดกลาวถึงคือ แมวาจุดศูนยรวม
ความมั่งคั่งของประเทศอยูในเมืองหลวงที่มีลักษณะพิเศษอยางยิ่ง แตวาบรรดาผูมีฐานะในกรุงเทพกลับยัง
ไมยอมรับแนวคิดวาประเทศควรจะปกครองดวยตัวแทนที่ไดรับการคัดเลือกจากเสียงสวนใหญซึ่งเปนผูมี
สิทธิเลือกตั้งในตางจังหวัด
ในอี ก ดา นหนึ่งข อเท็ จ จริ ง อั น บริ สุ ทธิ์ คื อกลุม พลเมื อ งที่ตื่ น ตัว และรวมกลุ มกั น ลงคะแนนให กับ พรรค
การเมืองเดียวเปนการคุกคามและลดทอนความสําคัญของสถาบันที่ไมผานการเลือกตั้ง และนักการเมืองใน
พรรคประชาธิปตยซึ่งมองเห็นวาความแข็งแกรงในการเลือกตั้งลดลงอยางตอเนื่อง นักการเมืองคนสําคัญ
ของพรรคอยางนาย สมเกียรติ พงษไพบูลย และนาย สําราญ รอดเพ็ชร มีสถานะเปนแกนนําพันธมิตรฯอีก
ดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศคนปจจุบันนาย กษิต ภิรมย ปรากฏตัวในการชุมนุมของ
พันธมิตรฯบอยครั้งชวงที่พันธมิตรฯยึดสนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิอยางผิดกฎหมาย รัฐมนตรีกวาการ
กระทรวงการคลังคนปจจุบันนาย กรณ จาติกวณิช กลาวอยางภาคภูมิใจวาเขาสนับสนุนพันธมิตรฯ แมใน
ที่สุดจะมีการกอความรุนแรงอยางนารังเกียจ และมีลักษณะของการตอตานประชาธิปไตยอยางรุนแรง แต
กรณเขียนอธิบายผานบทความในบางกอกโพสต ซึ่งใชสัญลักษณแสดงความสัมพันธระหวางพันธมิตรฯกับ
พรรคประชาธิปตยวา

“เปนขอเท็จจริงที่รูกันดีวาแกนนําคนหนึ่งของพันธมิตรฯเปน ส.ส. ของพรรคประชาธิปตย แมวาเขาจะเขา


รวมกับพันธมิตรฯในนามสวนตัวก็ตาม
ผูปราศรัยจํานวนมากเปนผูลงสมัครรับเลือกตั้งในสมัยที่ผานมามากกวาหมื่นคนที่เขารวมการชุมนุมเปนผู
ที่ลงคะแนนใหกั บพรรคประชาธิปตย ที่สําคัญที่สุดพันธมิตรฯและผู สนับสนุนพั นธมิตรฯมีขอคิ ดเห็น
เชนเดียวกันกับเราวารัฐบาลนั้นไมมีความชอบธรรมทั้งในทางกฎหมายและในทางจริยธรรม”

เขาเสริมวา

26
“ผมเชื่อดวยวาไมวาจะชอบหรือไมก็ตามพรรคประชาธิปตยโดยตัวเองแลวไมสามารถจะตานทานพรรค
พลังประชาชนหรือรัฐบาลจากการใชอํานาจในทางที่ผิดชวงเวลา 7 เดือนที่ปกครองประเทศ ผมคิดวาหาก
ปราศจากความพยายามของเราที่เคียงขางกันมาก็เหมือนวารัฐธรรมนูญนั้นไดรับการแกไขและใหความ
คุมครองเฉพาะทักษิณและพรรคพลังประชาชนเทานั้น” [85]

ดวยการกระทําอยางเดียวกันผูที่สนับสนุนกลุมคนเสื้อแดงถูกฟองรองในขอหากบฏ และแกนนํากลุมคนเสื้อ
แดงถูกกลาวหาในความผิดฐานกอการรายซึ่งอาจมีโทษประหารชีวิต แตคนอยางกรณและกษิตไดรับรางวัล
เปนตําแหนงรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2550 ศาลรัฐธรรมนูญพิพากษาใหนายกรัฐมนตรีสมัครพนจากตําแหนงตามคําฟองของ
นักการเมืองฝายคานและคณะกรรมการการเลือกตั้ง ดวยความผิดจากการดําเนินรายการสอนทําอาหารผาน
รายการโทรทัศนซึ่งถือเปนการกระทําตองหามที่หามรัฐมนตรีรับคาตอบแทนจากนายจางอื่น [86] สมัคร
โตแยงวาเขาไมไดถูกวาจางโดยสถานีโทรทัศน และแมวารายการจะออกอากาศชวงที่เขาดํารงตําแหนง แต
การบันทึกเทปทํากอนที่จะเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี อยางไรก็ตามขอโตแยงเหลานั้นศาลรัฐธรรมนูญ
พิจารณาวาฟงไมขึ้น และลงมติเปนเอกฉันทใหเขาพนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี เรื่องที่นาตลกคือตุลาการ
ศาลรัฐธรรมนูญรายหนึ่งคือ นาย จรัญ ภักดีธนากุล เองก็รับเชิญไปออกรายการวิทยุและไดรับคาตอบแทน
จากการสอนกฎหมายในมหาวิทยาลัยเอกชนเปนประจําขณะที่กําลังดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
ดวย เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2550 นาย สมชาย วงษสวัสดิ์ นองเขยของทักษิณขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี
แทนสมัคร พันธมิตรฯซึ่งยึดทําเนียบรัฐบาลอยูปฏิเสธที่จะสลายการชุมนุม
บางทีจุดเปลี่ยนอาจจะอยูที่วันที่ 7 สิงหาคมเมื่อเกิดความรุนแรงระหวางที่เจาหนาที่ตํารวจและพันธมิตรฯ
ราว 2,000 - 3,000 รายที่หนาสภาผูแทนราษฎร โดยพันธมิตรฯพยายามปดกั้นทางเขารัฐสภา มีประชาชน
บาดเจ็บหลายรอยคนจากเหตุชุลมุน การดพันธมิตรฯยิงปนและขวางระเบิดปงปองเขาใสเจาหนาที่ตํารวจ
ขณะที่เจาหนาที่ตํารวจตอบโตดวยแกสน้ําตาและไมกระบอง สมาชิกของพันธมิตรฯเสียชีวิตไป 2 ราย ราย
หนึ่งเปนหญิงสาวซึ่งเสียชีวิตเพราะถูกแกสน้ําตาที่ผลิตจากประเทศจีนยิงเขาใสโดยตรง อีกรายหนึ่งเปน
การดซึ่งไมไดเสียชีวิตจากการปะทะ แตเสียชีวิตขณะที่รถของเขาระเบิดหนาที่ทําการพรรคชาติไทย ราชินี
เสด็ จ ไปในการพระราชทานเพลิ ง ศพ น.ส. อั ง คณา ระดั บ ป ญ ญาวุ ฒิ หญิ ง สาวที่ เ สี ย ชี วิ ต หน า สภา
ผูแทนราษฎร สวนอดีตนายกรัฐมนตรีนาย อานันท ปนยารชุน และนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
ในเวลาตอมาแสดงการสนับสนุนพันธมิตรฯดวยการไปรวมงานศพของนาย เมธี ชาติมนตรี ซึ่งเปนไปไดวา
เสียชีวิตจากเหตุกอการรายดวยระเบิดของเขาเอง
ในเวลานั้ น อภิ สิ ท ธิ์ แ สดงความเห็ น อย า งต อ เนื่ อ งซึ่ ง ขั ด แย ง อย า งรุ น แรงกั บ สิ่ ง ที่ เ ขาทํ า ในการสั ง หาร
ประชาชนภายใตการกํากับดูแลของเขาเอง [87] ยิ่งไปกวานั้นเขายังแถลงขาวอยางเกรี้ยวกราดประกาศทาที
ของพรรคตอกรณีการปะทะกันระหวางเจาหนาที่ตํารวจกับพันธมิตรฯวา

27
“ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเปนเรื่องที่นายกรัฐมนตรีปฏิเสธความรับผิดชอบไมไดวาเปนผูที่ละเวนการปฏิบัติ
หนาที่ หรือมิเชนนั้นก็จงใจใหเหตุการณทั้งหมดเกิดขึ้น แตวาที่เลวรายกวาการโยนความผิดหรือความ
พยายามปดความรับผิดชอบไปใหเจาหนาที่ก็คือวา วันนี้พัฒนาไปสูกระบวนการใสรายประชาชน ผมไมนึก
ไมฝนวาเรามีรัฐที่ไดทํารายประชาชนถึงขั้นเสียชีวิต บาดเจ็บสาหัสแลว เรายังมีรัฐที่พยายามยัดเยียดความผิด
กลับไปใหประชาชนอีก เปนพฤติกรรมที่รับไมไดครับ ผมเคยไดยินคนในฝายรัฐบาลชอบถามคนนั้นคนนี้
วาเปนคนไทยหรือเปลา แตพฤติกรรมที่ทานแสดงอยูนั้นไมใชเปนคนไทยหรือเปลา แตเปนคนหรือเปลา
วั น นี้ ใ นทางการเมื อ งความชอบธรรม (ของรั ฐ บาลสมชาย) มั น หมดไปแล ว ครั บ เราเรี ย กร อ งความ
รับผิดชอบจากทาน (นายกรัฐมนตรี) ทานจะลาออก หรือถาทานกลัววาถาทานลาออกแลวจะเปนเรื่องที่ฝาย
พรรคประชาธิปตยจะไปมีอํานาจทานก็ยุบสภาเถิดครับ แตทานเพิกเฉยไมได เพราะถาทานเพิกเฉยแลวทาน
ทํารายบานเมืองและทานกําลังทํารายระบอบการเมือง
ไม มี ที่ ไ หนในโลกที่ ป ระชาชน ถู ก ทํ า ร า ยจากภาครั ฐ แล ว รั ฐ บาลที่ ม าจากประชาชนไม แ สดงความ
รับผิดชอบ” [88]

บันทึกเหตุการณถัดจากนี้แสดงใหเห็นวาอภิสิทธิ์ในฐานะหัวหนาพรรคฝายคานฝาฟนการเปลี่ยนแปลงครั้ง
สําคัญบนเสนทางที่นําพาเขาสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2551 พันธมิตรฯบุกยึดสนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิซึ่งเปนศูนยกลางการบินของ
ภูมิภาคทําใหมีนักทองเที่ยวตกคางเปนจํานวนหลายแสนคน พรอมกันนั้นพันธมิตรฯยังทําการยึดสนามบิน
นานาชาติดอนเมืองเพื่อขัดขวางความพยายามของรัฐบาลที่จะจัดเสนทางการบินเขาออกใหม พันธมิตรฯ
หลายพันคนเปนโลมนุษยปองกันการเขาสลายการชุมนุมของเจาหนาที่ตํารวจ มีรายงานขาววาพันธมิตรฯใช
เด็กโดยการจางพอแมของเด็กเพื่ออนุญาตใหเด็กเขารวมการชุมนุม [89] ขณะเดียวกันการดพันธมิตรฯซึ่ง
สามารถเอาชนะตํ า รวจทํ า การตั้ ง ด า นป ด กั้ น ทางเข า สนามบิ น นานาชาติ สุ ว รรณ [90] รั ฐ บาลประกาศ
สถานการณฉุกเฉิน และเรียกใหทหารเขามาทําหนาที่รักษาความสงบเรียบรอย แตอยางไรก็ตามกองทัพ
ปฏิเสธที่จะทําตาม ในทางตรงกันขามผูบัญชาการทหารสูงสุด พล.อ. อนุพงษ เผาจินดา กลับเรียกรองผาน
ทางสาธารณะให รัฐบาลลาออก ความพยายามของรัฐบาลในการขับไลผูชุ มนุมไม ประสบความสํ าเร็จ
เศรษฐกิจเสียหายจากการยึดสนามบินราว 12,000 ลานเหรียญสหรัฐ [91]
เมื่อวันที่ 2 ธันวาคมเปนอีกครั้งหนึ่งที่กระบวนการยุติธรรมที่ถูกการเมืองครอบงําเพิ่มขึ้นเรื่อยๆแสดงความ
จํานนใหเห็น เมื่อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยยุบพรรคพลังประชาชนและพรรครวมรัฐบาลไดแก พรรคชาติไทย
และพรรคมัชฌิมาธิปไตย และตัดสิทธิทางการเมืองกรรมการบริหารพรรคการเมืองทั้งสามพรรคเปนเวลา 5
ป ในบรรดานักการเมืองที่ถูกตัดสิทธินั้นนาย สมชาย วงศสวัสดิ์ ตองพนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีโดย
ทันที [92] ภายในไมกี่ชั่วโมงตอมานาย สนธิ ลิ้มทองกุล จัดแถลงขาวและประกาศวาพันธมิตรฯจะยุติการยึด
สนามบิน เขาไมลืมที่จะประกาศวาพันธมิตรฯจะกลับมาตอสูอีกหากหุนเชิดของทักษิณกลับมามีอํานาจ [93]
ตรงขามกับแกนนํา นปช. ซึ่งถูกทหารควบคุมตัวเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ไมมีแกนนําคนใดของพันธมิตรฯที่

28
ตองนอนคางคืนในคุกในความผิดฐานฝาฝนกฎอัยการศึกยึดสนามบิน, ทําลายสิ่งกอสรางในทําเนียบรัฐบาล
หรือยิงประชาชนและเจาหนาที่ตํารวจ
เปนที่นาสังเกตวาขอกําหนดเรื่องการยุบพรรคซึ่งศาลรัฐธรรมนูญใชเปนฐานในการพิพากษาคดีอยูใน
รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 ตามที่คณะรัฐบาลทหารเรียกรอง มองเผินๆก็เหมือนมีเปาหมายที่จะเพิ่มความ
เขมแข็งใหกับฝายตุลาการตอสูกับการคอรรัปชั่น รัฐธรรมนูญกําหนดใหศาลรัฐธรรมนูญที่ไดรับการแตงตั้ง
โดยคณะทหารใชอํานาจอยางกวางขวางในการลมลางอํานาจผูที่ประชาชนเลือกมา ดวยลักษณะที่คลายกัน
มากกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวซึ่งถูกนํามาใชภายหลังการรัฐประหาร รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 ให
ทางเลือกแกศาลในการยุบพรรคการเมืองใดก็ตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้งพบวาคณะกรรมการบริหาร
พรรคหรือผูสมัครของพรรคแมเพียงรายเดียวทุจริตการเลือกตั้ง เมื่อมีการตัดสินยุบพรรคการเมืองศาล
รัฐธรรมนูญอาจตัดสิทธิเลือกตั้งของคณะกรรมการบริหารพรรคทั้งหมดเปนเวลา 5 ป คดีตัวอยางเชน ศาล
รัฐธรรมนูญยุบพรรคไทยรักไทย และตัดสิทธิคณะกรรมการบริหารพรรคโดยอาศัยฐานการกระทําความผิด
ของนาย ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรีซึ่งถูกพิพากษาวามีความผิดฐานทุจริตการ
เลือกตั้งครั้งลาสุด แมวาจะมีการฟองรองพรรคประชาธิปตยในกรณีเดียวกัน แตกลับพบวาศาลเลี่ยงที่จะสั่ง
ใหมีการยุบพรรค
มันเปนเพียงควันหลงจากการปะทะที่ชอกช้ําระหวางรัฐบาลกับพันธมิตรฯ, สนามบินถูกยึด และคําพิพากษา
ของศาลรัฐธรรมนูญทําใหพรรคประชาธิปตยสามารถจัดตั้งรัฐบาลผสม และสงผลใหนาย อภิสิทธิ์ เวชชา
ชีวะ เปนนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2551 รัฐบาลผสมเปนหนี้บุญคุณมุงการเมืองที่สําคัญในพรรค
ไทยรักไทยซึ่งหัวหนามุงคือนาย เนวิน ชิดชอบ ผูถูกตัดสิทธิทางการเมือง และอดีตพรรครวมรัฐบาลพลัง
ประชาชนเชน พรรคชาติไทยพัฒนาซึ่งตั้งขึ้น โดยอดีตนายกรัฐมนตรีนาย บรรหาร ศิลปอาชา ผูเคยเปน
พันธมิตรกับทักษิณมากอน ขอตกลงบรรลุเมื่อวันที่ 6 ธันวาคมที่บานของผูบัญชาการทหารบก พล.อ.อนุ
พงษ เผาจินดา มีรายงานขาววาในการประชุมครั้งนั้น พล.อ. อนุพงษ กลาวเตือนผูรวมการประชุมวา เขาพูด
แทน “ชายเจาของถอยคําที่ไมอาจปฏิเสธได” [94]
แมวาในการเลือกตั้งในป พ.ศ. 2544, 2548, 2549 และ 2550 ซึ่งประชาชนไทยแสดงความนิยมตอพรรคที่
เชื่อมโยงกับทักษิณดวยเสียงขางมากซึ่งครองเสียงขางมากทั้งโดยพรรคเดียว และหลายพรรครวมกันในการ
เลือกตั้งแตละครั้ง ระบอบอํามาตยาธิปไตยฟนฟูไดจากรัฐประหารโดยทหาร 15 เดือนแหงการปราบปราม,
ฟองรอง, ทําลายความนาเชื่อถือของนักการเมืองที่ไดรับการเลือกตั้งจากประชาชน การยึดทําเนียบรัฐบาล
และสนามบินหลักของชาติอยางผิดกฎหมาย และคําพิพากษาตามอําเภอใจที่มีออกมาเปนลําดับเพื่อยุบพรรค
การเมืองใหญ 4 พรรค, ยุบรัฐบาล 3 รัฐบาล และปรับเปลี่ยนระบบกฎหมายของประเทศใหเปนไปตามความ
พอใจและผลประโยชนของกลุมอํามาตย
กระนั้นก็ตามการที่ ส.ส. ของพรรคประชาธิปตยเขารวมการชุมนุมของพันธมิตรฯ บทบาทของพันธมิตรฯ
ในฐานะเครื่องมือที่ผลักดันอภิสิทธิ์สูตําแหนงนายกรัฐมนตรี และการที่พรรคประชาธิปตยใหคํามั่นตอ
พันธมิตรฯวาจะไมถูกลงโทษภายใตรัฐบาลประชาธิปตยทําใหความสัมพันธของกลุมการเมืองทั้งสองอยูใน

29
สภาวะนาวิตก แกนนําพันธมิตรฯโดยเฉพาะอยางยิ่งนาย สนธิ ลิ้มทองกุล ตําหนิการเมืองแบบเกาของพรรค
ประชาธิปตย โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีการตอรองทางการเมืองซึ่งพรรคประชาธิปตยถูกบังคับใหตองเกี่ยว
ดองกับนักการเมืองที่ฉาวโฉเรื่องการทุจริต เนื่องจากความพยายามตั้งรัฐบาลผสมและประคับประคองไป
ดวยกัน [95]
ยิ่งกวานั้นพันธมิตรฯหวนกลับมาวิจารณจุดออนอันเปนที่รับรูรวมถึงความไมแนวแนของรัฐบาลอภิสิทธิ์ซึ่ง
นั่นเปนเหตุผลที่พันธมิตรฯตั้งพรรคการเมืองของตัวเอง “พรรคการเมืองใหม” [96] ตั้งแตเดือนแรกที่อภิสิทธิ์
ขึ้นดํารงตําแหนง โดยมีนโยบายปกปองสถาบันกษัตริยและทําความสะอาดการเมืองไทยอันเปนภารกิจที่
รัฐบาลอภิสิทธิ์ไมสามารถตอบสนองความตองการใหพวกเขาไดดีพอ นาย สนธิ ลิ้มทองกุล วิจารณวา
อภิสิทธิ์ไมมีศักยภาพพอที่จะนําพาประเทศไปขางหนา และเรียกรองให “คืนอํานาจรัฐสภาใหกษัตริย” [97]
และเสนอแนะวากองทัพควรจะทําการรัฐประหารหากอภิสิทธิ์ไมสามารถที่จะสราง “ธรรมาธิปไตย” ที่
หางไกลจากระบบรัฐสภาซึ่งเขาเรียกวาเปน “ที่อยูของเหลาอสูร” [98]
ตามความเปนจริงความสัมพันธอันกลมกลืนระหวางพันธมิตรฯและประชาธิปตย และการดํารงอยูรวมกันที่
นาอึดอัดอาจอธิบายไดวา ทั้งพรรคประชาธิปตยและพันธมิตรฯเปนเสมือนปก 2 ขางของโครงสรางหลวมๆ
ของกลุมอํานาจเกาในประเทศไทย พันธมิตรฯเปนปกนอกกลไกรัฐสภาซึ่งทําใหมีการปฏิบัติการบนทอง
ถนนเมื่อต องการ ขณะที่ประชาธิปตยเปนปกภายใตกลไกรัฐสภาซึ่งมีหน าที่แสดงบทบาทรัฐบาลที่ถูก
ครอบงําโดยกองทัพ, ที่ปรึกษาของกษัตริย และผูนําทางธุรกิจ สําหรับทั้งสององคกรสิ่งที่เ กี่ยวของกับ
ผลประโยชนของกลุมอํามาตยถือเปนประเด็นสําคัญทั้งในแงอุดมการณและความจําเปน อยางนอยที่สุดทั้ง
สองกลุมนี้ไมอาจที่จะบรรลุถึงอํานาจที่ตนถือครองอยูในปจจุบันหากไมไดรับการหนุนหลังจากกองทัพ,
การอุปถัมภจากคนในราชสํานักที่ทรงอิทธิพล และการเกื้อหนุนจากครอบครัวที่มั่งคั่งในกรุงเทพ
การที่กลุมอํานาจเกาสนับสนุนพันธมิตรฯและพรรคประชาธิปตยสงผลตอความวุนวายที่ไปไกลกวาความ
ขัดแยงภายในประเทศ พันธมิตรฯและพรรคประชาธิปตยเปนผูกอใหเกิดขอถกเถียงในประเด็นปราสาทพระ
วิหารนําพาประเทศไปสูความเสี่ยงที่จะกอสงครามกับกัมพูชาในพื้นที่พิพาทซึ่งถูกศาลยุติธรรมระหวาง
ประเทศ (International Court of Justice) พิพากษาตั้งแตป พ.ศ. 2505 (โดยสรางความพึงพอใจแกคูกรณีทั้ง
สองประเทศ) แตในป พ.ศ. 2551 สมัครและพรรคพลังประชาชนซึ่งเปนแกนนํารัฐบาลลงนามยินยอมให
รัฐบาลกัมพูชานําประสาทพระวิหารขอขึ้นทะเบียนตอคณะกรรมการมรดกโลกขององคการการศึกษา
วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural
Organization : UNESCO) พันธมิตรฯและผูสนับสนุนปนแตงวานี่เปนหลักฐานวา “ตัวแทนของทักษิณ” มี
เจตนาที่จะยกเขตแดนไทยใหกัมพูชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศนาย นพดล ปทมะ ซึ่งเปนผู
ลงนามในแถลงการณรวมไทย - กัมพูชาถูกกดดันใหลาออก ในเดือนกรกฎาคม 2551 กลุมชาตินิยมพยายาม
ปกธงชาติไทยในพื้นที่ทับซอนบริเวณใกลปราสาทพระวิหารซึ่งเปนการกระทําที่สงผลใหเกิดการปะทะกัน
ระหวางกองกําลังทหารไทยกับทหารกัมพูชา [99] ชวงเวลาที่เวทีพันธมิตรฯเรียกรองทุกคืนให “คืนปราสาท
พระวิหารใหกับประเทศไทย” [100] และนาย กษิต ภิรมย ซึ่งตอมาเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ

30
ตางประเทศประกาศบนเวทีพันธมิตรฯขณะที่ยึดสนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิวา จะเอาเลือดของสมเด็จฮุน
เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชามาลางเทา นับแตนั้นมากําลังทหารของทั้งฝายไทยและกัมพูชายิงตอบโตกันใน
พื้นที่ใกลปราสาทพระวิหารหลายครั้ง ความผันผวนของภูมิภาคที่ถูกจุดขึ้นโดยการกระทําของพันธมิตรฯ
และพรรคประชาธิปตยสรางความตื่นตระหนกใหกับคูคารายใหญของไทย ประเทศไทยคอยๆไหลลื่นไปสู
การปกครองแบบเผด็จการทหาร และทําลายศักยภาพของภูมิภาคอาเซียนดวยระบบที่โหดรายในระดับ
เดียวกับรัฐบาลทหารพมา ความมืดบอดดวยความเกลียดชังที่พวกเขามีตอทักษิณ กลุมอํามาตยและหมูมิตร
ในพันธมิตรฯและพรรคประชาธิปตยจึงไมเคยยับยั้งการกระทําของตัวเองแมวาจะเกิดผลกระทบระหวาง
ประเทศรายแรงตามมา

[35] “CDRM Now Calls Itself as CDR,” เดอะ เนชั่น, 28 กันยายน 2549, http://nationmultimedia.com/breakingnews
/read.php?newsid=30014778
[36] ประกาศ แตงตั้งหัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข,
ประกาศ ณ วันที่ 20 กันยายน 2549
[37] อางแลว
[38] “Thaksin Refuses to Resign Despite Protests in Bangkok,” International Herald Tribune, 6 มีนาคม 2549,
http://www.iht.com/articles/2006/03/06/news/thai/php
[39] ชางนอย, “The Persistent Myth of the `Good’ Coup,” เดอะ เนชั่น,2 ตุลาคม 2549, http://www.nationmultimedia.com
/2006/10/02/opinion/opinion_30015127.php
[40] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 11 เรื่อง
แตงตั้งบุคคลสําคัญดํารงตําแหนงในคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข, ประกาศ ณ วันที่ 20 กันยายน 2549
[41] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 1 คณะปฏิรูป
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข, ประกาศ ณ วันที่ 19 กันยายน 2549
[42] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 2 เรื่อง หาม
การเคลื่อนยายกําลังทหาร และตํารวจ, ประกาศ ณ วันที่ 19 กันยายน 2549
[43] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 4 เรื่อง
อํานาจบริหารราชการแผนดิน, ประกาศ ณ วันที่ 19 กันยายน 2549
[44] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 16 เรื่อง ให
หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขทําหนาที่รัฐสภา สภา
ผูแทนราษฎร หรือวุฒิสภา, ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน 2549
[45] เพิ่งอาง
[46] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 3, ประกาศ
ณ วันที่ 19 กันยายน 2549

31
[47] http://www.msnbc.msn.com/id/14916631/
[48] พินัย, อางแลว, เชิงอรรถ 5, หนา 109
[49] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 13 เรื่อง ให
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญบางฉบับมีผลใชบังคับตอไป, ประกาศ ณ วันที่ 20 กันยายน 2549
[50] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 32 เรื่อง
อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่นของคณะกรรมการการเลือกตั้ง, ประกาศ ณ
วันที่ 30 กันยายน 2549
[51] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 7 เรื่อง การ
หามชุมนุมทางการเมือง, ประกาศ ณ วันที่ 20 กันยายน 2549
[52] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 15 เรื่อง
หามพรรคการเมืองประชุมหรือดําเนินกิจการอื่นใดทางการเมือง, ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน 2549
[53] ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 27 เรื่อง การ
แกไขประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ 15 ลงวันที่
21 กันยายน พุทธศักราช 2549, ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2549
[54] การแปลรั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ชั่ ว คราวอย า งไม เ ป น ทางการที่ http://www.nationmultimedia.com/2006/10/02
/headlines/headlines_30015101.php
[55] รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 มาตรา 36
[56] รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 มาตรา 37
[57] รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 มาตรา 5
[58] รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 มาตรา 20
[59] รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 มาตรา 22
[60] รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2549 มาตรา 23
[61] “No Dictatation [sic.] on the Charter: CNS Chief,” เดอะ เนชั่น, 20 ธันวาคม 2549, http://nationmultimedia.com
/2006/12/20/headlines/headlines_30022102.php
[62] “Publicity Blitz to Counter Moves to Reject New Charter,” เดอะ เนชั่น, 11 กรกฎาคม 2550,
http://www.nationmultimedia.com/2007/07/11/politics/politics_30040282.php
[63] ดันแคน แมคคารโก, “Thailand: State of Anxiety,” ใน Southeast Asian Affairs 2008, บรรณาธิการ ดัลจิต ซิง และ
ทิน หมอง หมอง แทน (สิงคโปร : ISEAS, 2008), 333 - 356, หนา 337
[64] สมฤทัย ทรัพยสมบูรณ และ สุภลักษณ กาญจนขุนดี,”Referendum Law or Penalty Law ?,” เดอะ เนชั่น, 6 กรกฎาคม
2550, http://www.nationmultimedia.com/2007/07/06/politics/politics_30039559.php
[65] คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย, “THAILAND: A Referendum Comes; a Coup is Completed,” 6 กรกฎาคม
2550, http://www.ahrchk.net/statements/mainfile.php/2006statements/1110/
[66] อางแลว
[67] คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย, “THAILAND: A Long Road Back to Human Rights and the Rule of Law,”
20 สิงหาคม 2550, http://www.ahrchk.net/statements/mainfile.php/2006statements/1156/
[68] รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550, มาตรา 95 - 98
[69] รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550, มาตรา 111 - 112

32
[70] แมคคารโก, อางแลว, เชิงอรรถ 66, หนา 337
[71] “CNS’s Anti-Thaksin Campaign,” บางกอก โพสท, 8 เมษายน 2550, http://pages.citebite.com /i1t5f0u5a3yao
[72] “Saprang's Cousin Given PR Work 'Because of Experience',” เดอะ เนชั่น, 11 เมษายน 2550,
http://www.nationmultimedia.com/2007/04/11/politics/politics_30031650.php
[73] “Nine Constitution Tribunal Members,” เดอะ เนชั่น, 7 ตุลาคม 2549, http://nationmultimedia.com/breakingnews
/read.php?newsid=30015571;
ดูเพิ่ม “Thailand’s Struggle for Constitutional Survival,” Article 2 of the International Covenant on Civil and
Political Rights (Special Edition), 6 (2550), หนา 4
[74] ดู คริสเตียน แชฟเฟอเรอร, “The Parliamentary Election in Thailand, December 2007,” Electoral Studies 27
(2552) : 167 - 170, หนา 167
[75] วรเจตน ภาคีรัตนและคณะ, “คําตัดสินของตุลาการการศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคการไทยรักไทย - บทวิเคราะหทาง
กฎหมาย,” คณะนิติศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
[76] คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย, “THAILAND: The Judiciary is the Real Loser,” 31 พฤษภาคม 2550,
http://www.ahrchk.net/statements/mainfile.php/2007statements/1041/
[77] “Junta ‘Never Harmed PPP’,” บางกอกโพสท, 13 ธันวาคม 2550, http://thailandpost.blogspot.com /2007/12/junta-
never-harmed-ppp.html
[78] “Thai Election Agency Disqualifies More Winning Candidates,” People’s Daily, 7 มกราคม 22551 People’s Daily,
http://english.people.com.cn/90001/90777/90851/6333842.html
[79] เนอมอล โกช, “I Won’t Quit: Samak,” The Straits Times, 31 สิงหาคม 2551, http://www.straitstimes.com
/Breaking%2BNews/SE%2BAsia/Story/STIStory_273817.html.
[80] เดวิด พัลลิสเตอร, “Thai PM’s Compound Stormed as Anti-Government Protests Grow,” The Guardian, 26
สิงหาคม 2551, http://www.guardian.co.uk/world/2008/aug/26/thailand.
[81] “Worse than a Coup,” The Economist, 4 กันยายน 2551, http://www.economist.com/opinion/displaystory.cfm?
story_id=12070465.
[82] จอรจ เวอหฟริซส, “Crackdown,” Newsweek, 2 กันยายน 2551, http://www.newsweek.com/2008/09/01
/crackdown.html
[83] เฟเดอริโก เฟอรรารา, Thailand Unhinged: Unraveling the Myth of a Thai-Style Democracy (สิงคโปร : Equinox
Publishing, 2553), หนา 87
[84] ริชารด เบิรนสไตน, “The Failure of Thailand’s Democracy,” New York Times, 25 พฤษภาคม 2553,
http://www.nytimes.com/2010/05/26/world/asia/26iht-letter.html
[85] กรณ จาติกวณิช, “The Last Whistle and the PAD’s ‘Final Battle’,” บางกอกโพสท, 9 กันยายน 2551,
http://www.korndemocrat.com/th/issues/bangkok_post/BangkokPost090908.htm
[86] ลีโอ ลูอิส, “Thai Prime Minister Samak Sundaravej Forced Out over TV Chef Role,” The Times, 10 กันยายน 2551,
http://www.timesonline.co.uk/tol/news/world/asia/article4716195.ece
[87] ดู, ตัวอยาง, “PM: Dissolution is Not the Answer,” บางกอกโพสท, 25 เมษายน 2553, http://www.bangkokpost.com
/breakingnews/175728/pm-dissolution-is-not-the-answer
[88] “Abhisit vs. Abhisit,” ประชาไท, 23 เมษายน 2553, www.prachatai.com/english/node/1760

33
[89] แมทท บาชล, “Parents ‘Giving Up Kids for Cash in Thai protest’,” Nine News, 30 พฤศจิกายน 2551,
http://news.ninemsn.com.au/article.aspx?id=676153
[90] บรรณาธิการ ครอพเลย, “Assault on Police Shows Thai Protesters’ Ugly Side,” Reuters, 29 พฤศจิกายน 2553,
http://www.forbes.com/feeds/afx/2008/11/29/afx5755965.html
[91] “Airport Siege Cost $12.2,” The Straits Times, 7 มกราคม 2552, http://www.straitstimes.com/Breaking%2BNews
/SE%2BAsia/Story/STIStory_323020.html
[92] “Thai Premier Banned from Politics, Ruling Party Dissolved : Court,” Agence France - Press, 1 ธันวาคม 2551,
http://www.google.com/hostednews/afp/article/ALeqM5hfJ-lAMzPxNPjyXUtOzs YlEvJeow
[93] “PAD Cease All Anti-Government Protests,” เดอะ เนชั่น, 2 ธันวาคม 2551, http://www.nationmultimedia.com
/2008/12/02/headlines/headlines_30090031.php
[94] “Democrat Govt a Shotgun Wedding?,” เดอะ เนชั่น, 10 ธันวาคม 2551, http://www.nationmultimedia.com/search
/read.php?newsid=30090626
[95] “Suthep, Sondhi War of Words Widens,” บางกอกโพสท, 11 มีนาคม 2552, http://www.bangkokpost.com
/news/local/137304/suthep-sondhi-war-of-words-widens
[96] “PAD Names Somsak as Party Head,” บางกอกโพสท, 2 มิถุนายน 2552, http://www.bangkokpost.com/news
/politics/144914/pad-names-new-political-party
[97] “สนธิ” สาวไสเนา ตร. เทพประทาน” ตัวทําลาย - แนะ รบ.คืนพระราชอํานาจ, ASTV – ผูจัดการ, 28 พฤษภาคม 2553,
http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9530000073858
[98] “สนธิ” ลาออกหัวหนาพรรค ตานประชาธิปไตย หนุนธรรมาธิปไตย จี้ทหารปฏิวัติถา “มารค” ทําไมได”, ประชาไท,
14 พฤษภาคม 2553, http://www.prachatai3.info/journal/2010/05/29465
[99] “Thai Troops ‘Cross into Cambodia’,” BBC News, 15 กรกฎาคม 2551, http://news.bbc.co.uk /1/hi/world/asia-
pacific/7506872.stm
[100] อภิญญา วิภาตะโยธิน, “The Real Victim at Preah Vihar,” บางกอกโพสท, 20 กรกฎาคม 2551,
http://www.bangkokpost.com/200708_News/20Jul2008_news002.php

34
6. ฤดูรอ นสีดําของประเทศไทย :
การสังหารหมูก ลุมคนเสื้อแดง
ดวยความโกรธและคับของใจที่ถูกทําลายเจตจํานงของตนซ้ําแลวซ้ําเลาตลอดจนการปราบปรามการแสดง
ความเห็นทางการเมืองอยางเปนระบบตอสมาชิก และผูที่เห็นอกเห็นใจกลุมแนวรวมประชาธิปไตยขับไล
เผด็จการแหงชาติ หรือที่รูจักกันในนาม “กลุมคนเสื้อแดง” หลายแสนคนจากทุกจังหวัดทั่วประเทศจึงเริ่ม
เคลื่อนสูกรุงเทพเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 โดยประกาศวาจะไมเลิกชุมนุมจนกวาอภิสิทธิ์จะยุบสภาและมี
การเลือกตั้งใหม นี่ไมใชครั้งแรกที่กลุมคนเสื้อแดงออกมาเรียกรองบนทองถนนของเมืองหลวง กรณีที่รับรู
กันดีคือการชุมนุมครั้งใหญในเดือนเมษายน 2552 อยางไรก็ตามการชุมนุมครั้งใหมนี้ถูกอธิบายวาเปน
“สงครามตอตานเผด็จการครั้งสุดทาย” 2 เดือนใหหลังกลุมคนเสื้อแดงยังคงปกหลักอยูหลังแนวปองกันซึ่ง
สรางขึ้นรอบจุดยุทธศาสตรและจุดที่มีความหมายเชิงสัญลักษณ

6.1 กลุมคนเสื้อแดงตองการอะไร
สําหรับ นปช. การแสดงพลังครั้งนี้คือ ผลจากการทํางานดวยความอุตสาหะตลอดหลายปเปนกอตัวขึ้นหลัง
การรัฐประหารโดยกลุมผูสนับสนุน ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีที่ถูกโคนอํานาจ กลุมคนเสื้อแดงกลายมา
เปนพลังกดดันเพื่อการเปลี่ยนแปลงสูประชาธิปไตย ชวงเวลาหลายปที่ถูกแทรกแซงขอบคุณความพยายาม
อยางไมรูเหน็ดเหนื่อยที่สรางความตระหนักรู, ระดมกําลังสนับสนุน และสรางองคกรที่ซับซอนขยายไปทั่ว
พื้นที่ของประเทศ ถือเปนขบวนการทางสังคมที่กวางขวางที่สุดเทาที่เคยปรากฏขึ้นในประวัติ ศาสตรไทยจน
อาจบอกไดวา ในขณะนี้ นปช. กอใหเกิดขบวนการประชาธิปไตยที่ใหญที่สุดในเอเชีย
เนื่องจากกลุมคนเสื้อแดงไดรับแรงสนับสนุนจํานวนมากจากภาคเหนือของไทย, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่
ยากแคน, ชนชั้นลางในเมือง กลุมคนที่สนับสนุนและนักวิจารณจึงมักอธิบายไปในทางเดียวกันวาการตอสู
ของพวกเขาเปน “การตอสูทางชนชั้น” แมวาชนชั้นจะเปนตัวชี้วัดที่สําคัญอยางยิ่งตอวิกฤตทางการเมืองของ
ไทย แตกลุมคนเสื้อแดงไมไดตอสูใน “สงครามชนชั้น” ระหวางคนจนกับคนรวย
นปช. ไมไดมีจุดมุงหมายที่จะขจัดความแตกตางทางชนชั้นหรือแกไขโครงสรางพื้นฐานทางสังคมของ
ประเทศ อันที่จริงแมวาการเรียกรองมาตรการความยุติธรรมทางสังคมและโอกาสทางเศรษฐกิจจะเปน
องคประกอบหลัก แตกลุมคนเสื้อแดงใหความสําคัญกับแนวคิดเรื่อง “โอกาสที่เทาเทียม” และ “ความเสมอ
ภาค” แบบเดียวกับการเคลื่อนไหวกระแสหลักที่ตอสูเพื่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองมากกวา
ความคิดเรื่องความเสมอภาคทางเศรษฐกิจตามแบบฉบับของลัทธิมารกซิสท

35
โดยแทจริงการเคลื่อนไหวของกลุมคนเสื้อแดงเปนเรื่องของเศรษฐกิจนอยกวาเรื่องของการเมือง โดยเฉพาะ
อยางยิ่งการตอสูเพื่อการถูกนับรวมและสิทธิในการออกเสียงทางการเมืองอยางสมบูรณ นปช. สรุปประเด็น
ทางการเมืองของพวกเขาในหลัก 6 ประการเพื่อเนนใหเห็น ถึงมิติการต อสูทางการเมืองของพวกเขาที่
มากกวาความไมพอใจทางเศรษฐกิจ

1) เพื่อบรรลุจุดมุงหมายทางการเมืองการปกครองคือระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุขที่อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชนไทยอยางแทจริง เราปฏิเสธความพยายามใดๆทั้งในอดีตและ
อนาคตในการใชสถาบันกษัตริยเปนเครื่องมือเพื่อปดปากความเห็นตางหรือเพื่อขับเคลื่อนประเด็นโดย
จําเพาะเจาะจง
2) ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 นํารัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 กลับมาใช และปรับปรุงแกไข
ดวยขั้นตอนที่โปรงใส ผานการปรึกษาหารือและเปนประชาธิปไตย
3) ผสานคนไทยเข า ด ว ยกั น เพื่ อ ร ว มกั น แก ไ ขป ญ หาการเมื อ งและเศรษฐกิ จ สั ง คม โดยใช พ ลั ง ของ
ประชาชนเอง
4) ทําใหเกิดนิติรัฐ, กระบวนการยุติธรรม และระบบความยุติธรรมที่เทาเทียม ปราศจากการขัดขวางหรือ 2
มาตรฐาน
5) รวบรวมคนไทยผูรักประชาธิปไตย, ความเทาเทียม และความยุติธรรมโดยเสมอหนาทุกภาคสวนของ
สังคม เพื่อรื้อถอนและกาวใหพนระบอบอํามาตยาธิปไตย
6) ใชสันติวิธีเพื่อบรรลุเปาหมายขางตน

เชนเดียวกับขบวนการทางสังคมที่มีจุดมุงหมายเพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม กลุมคนเสื้อแดงใช
เปาหมายอยางกวางๆเพื่อดึงดูดความสนใจจากผูมีสิทธิ์เลือกตั้งที่มีความหลากหลายซึ่งอาจไมจําเปนตองมี
อุ ด มการณ ใ ดร ว มกั น โดยเฉพาะ อย า งไรก็ ต ามโดยแก น แล ว กลุ ม คนเสื้ อ แดงสู เ พื่ อ ประเทศไทยที่ เ ป น
ประชาธิปไตย กลุมคนเสื้อแดงตองการที่จะเปลี่ยนผานประเทศไทยไปสูประเทศที่ใหความสําคัญกับการ
เลือกตั้ง รัฐบาลจากการเลือกตั้งมีอํานาจปกครองอยางแทจริง และพลเมืองทุกคนไดรับการประกันสิทธิ
พลเมืองและสิทธิทางการเมืองขั้นพื้นฐาน ที่สําคัญที่สุดผูสนับสนุน นปช. คือผูมีสิทธิ์เลือกตั้งซึ่งมีสิทธิ์เปนผู
มีสวนรวมอยางเต็มที่และเทาเทียม แตไมเคยเปนที่ยอมรับเนื่องมาจากระดับรายไดของพวกเขา รวมถึง
สถานะทางสังคม, การศึกษา, ถิ่นฐานบานเกิด และภูมิหลังชาติพันธุ สําหรับพวกเขาการตอสูของกลุมคน
เสื้อแดงในประเด็นเรื่องชนชั้นนั้นสําคัญนอยการตอสูเพื่อการยืนยันวา พวกเขามีความเสมอภาคเทียบเทา
กลุมอํานาจเกาในกรุงเทพ จํานวนนอยซึ่งผูกขาดอํานาจทางการเมืองมาอยางยาวนานโดยอางวาเสียงขางมาก
โงเขลา, ไรการศึกษา และซื้อไดงายเกินกวาจะวางใจใหเลือกผูปกครองประเทศ
แนนอนวา ทักษิณ ชินวัตร จุดประกายการเคลื่อนไหวนี้ดวยการเพาะความรูสึกมีอํานาจทางการเมืองใหกับผู
มีสิทธิ์เลือกตั้งที่ไมถูกใหความสําคัญมาเนิ่นนาน ดวยการสนับสนุนใหตระหนักถึงสิทธิของพวกตนเอง และ

36
ดวยการกระตุนใหเกิดความมั่นใจอยางที่ไมเคยเปนมากอนในพลังของตนที่จะกอรางอนาคตของประเทศ
ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมหลายทศวรรษคือรากฐานที่ทําใหประชาชนไทยตื่นตัว ระบอบ
การปกครองที่วางอยูบนการยอมรับเสียงสวนใหญปราศจากความมั่นคงในระยะยาวจากหลายสาเหตุซึ่ง
กระบวนการทําใหประเทศกาวสูความเปนสมัยใหมเปนสาเหตุที่สําคัญที่สุด เมื่อคํานึงวาผูมีสิทธิออกเสียง
เลือกตั้งจํานวนมากในประเทศกําลังเปลี่ยนเปนพลังที่ซับซอน, ทะเยอะทะยาน และทันสมัย ประเด็นก็มีอยู
วาใครจะเปนผูลงมือชวงชิงการสนับสนุนจากคนกลุมนี้ผานกระบวนการที่ทําใหมวลชนมีบทบาทที่ได
สัดสวนกับพลัง, ปริมาณ และความปรารถนาที่พวกเขามีอยางมหาศาล ทักษิณเขาใจปรากฏการณนี้และใช
ประโยชนจากมันแตเขาไมไดสรางมันขึ้นมา และแมกลุมคนเสื้อแดงจํานวนมากอยากเห็นทักษิณกลับสู
ตําแหนงที่เคยไดรับเลือกอีกครั้ง แตกลุมคนเสื้อแดงกาวขามทักษิณไปแลว
ในการปราศรัยกับผูชุมนุมในป พ.ศ. 2551 แกนนํา นปช. และอดีตโฆษกรัฐบาลนาย ณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ ผู
ปราศรัยที่มีวาทศิลปที่สุดคนหนึ่งในกลุมคนเสื้อแดงบอกเลาถึงการตอสูของพวกเขาเพื่ออนาคตที่พวกเขาจะ
มีสวนรวมและมีความเปนประชาธิปไตยมากขึ้น

“เราเกิดบนผืนแผนดิน เราโตบนผืนแผนดิน เรากาวเดินบนผืนแผนดิน เมื่อเรายืนอยูบนดิน เราจึงหางไกล


เหลือเกินกับทองฟา พี่นองครับ
เมื่อเรายืนอยูบนดิน ตองแหงนคอตั้งบา แลวเราก็รูวาฟาอยูไกล
เมื่อเราอยูบนดิน แลวกมหนาลงมา เราจึงรูวาเรามีคาเพียงดิน
แตผมแนใจวาดวยพลังของคนเสื้อแดงที่มันจะมากขึ้น ทุกวัน ทุกวัน ขยายตัวเพิ่มขึ้น ทุกนาที ทุกนาที แม
เรายืนอยูบนผืนดิน แมเราพูดอยูบนผืนดิน แตจะไดยินถึงทองฟาแนนอน
เสียงไชโยโหรองของเราในยามนี้ จากคนที่มีคาเพียงดิน จากคนที่เกิดและเติบโตบนผืนแผนดินจะไดยินถึง
ทองฟาแนนอน
คนเสื้อแดงจะบอกดิน บอกฟาวาคนอยางขาก็มีหัวใจ
คนเสื้อแดงจะบอกดิน บอกฟาวาขาก็คือคนไทย
คนเสื้อแดงจะถามดิน ถามฟาวาถาไมมีที่ยืนที่สมคุณคา จะถามดินถามฟาวาจะใหขาหาที่ยืนเองหรือ
อยางไร” [101]

กลุมคนเสื้อแดงไมไดสูเพื่อทักษิณ แตพวกเขาสูเพื่อตัวพวกเขาเอง

37
6.2 มาตรการอันผิดกฎหมายของการรณรงคประหัตประหาร
และความรุนแรง
กอนที่ นปช. จะเริ่มประทวงตอตานการชวงชิงเจตจํานงของประชาชนครั้งลาสุด รัฐบาลอภิสิทธิ์พยายามปด
ปากผูที่เห็นตางดวยการใชกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพและ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร เฉพาะป พ.ศ. 2552 มีรายงานวาศาลรับฟองคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (การกระทําความผิด
ตอมาตรา 112 ของประมวลกฎหมายอาญาของไทย) จํานวน 164 คดี มากกวาสถิติของป พ.ศ. 2550 ซึ่งเปน
ชวงหลังรัฐประหารที่มีอยู 126 คดี และมากกวา 2 เทาของคดีในป พ.ศ. 2551 ซึ่งอยูภายใตการบริหารของ
พรรคพลังประชาชน (77 คดี) ควรจะตองตั้งขอสังเกตดวยวาจํานวนคดีสูงสุดกอนการรัฐประหารที่บันทึกไว
ในป พ.ศ. 2548 มีการรับฟอง 33 คดี และผลจากความเขมงวดของกฎหมาย และความไมเต็มใจของสื่อ
กระแสหลักในการเปดพื้นที่เพื่อถกเถียงในเรื่องซึ่งอาจทําลายภาพลักษณของสถาบันกษัตริยทําใหคดีจํานวน
มากหายไปจากการนําเสนอของสื่อในระดับชาติและนานาชาติ [102]
นอกจากนี้ในป พ.ศ. 2552 ยังเปนปแหงการฟองรองอยางตอเนื่องอีกดวย บางคดีมีการตัดสินและลงโทษ
อยางรุนแรงตอนักกิจกรรมกลุมคนเสื้อแดงซึ่งถูกกลาวหาดวยความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 1 ป
กอนหนาเมื่อครั้งที่ นปช. ตั้งเวทีขนาดเล็กตอตานการชุมนุมที่ยืดเยื้อของพันธมิตรฯ สิ่งที่รบกวนจิตใจที่สุด
คือคดีของ น.ส. ดารณี ชาญเชิงศิลปกุล (ดา ตอรปโด) ซึ่งพิพากษาคดีไปเมื่อวันที่ 28 สิงหาคมใหจําคุก 18 ป
สําหรับความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 3 กระทง (1 กระทงตอ 1 การกระทําผิด) จากการปราศรัยของ
เธอในเดือนกรกฎาคม 2551 การพิจารณาคดีของเธอเปนไปอยางปดลับดวยเหตุผลเรื่อง “ความมั่นคงของ
ชาติ” ดา ตอรปโดตางจากผูตองหาสวนใหญที่ถูกตั้งขอหาคลายคลึงกันและถูกปฏิเสธ หลักการตาม
กระบวนการยุติธรรมเธอปฏิเสธที่จะยอมรับขอกลาวหา สิ่งที่เธอไดรับกลับมาไมใชเพียงโทษรายแรงเปน
พิเศษเทานั้น ทันทีที่มีการพิพากษาเธอถูกขังเดี่ยว และใหเปลี่ยนปายชื่อซึ่งระบุถึงฐานความผิดของเธอซึ่งทํา
ใหเธอเปนเปาในการถูกคุกคาม [103]
การใช พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรในทางที่ผิดมีสวนทําใหการฟองรองดวย
กฎหมายหมิ่ น พระบรมเดชานุ ภ าพสมบู ร ณขึ้ น พ.ต.อ. สุ ช าติ วงศอ นั น ต ชั ย ผู ต รวจราชการกระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารออกมายอมรับเมื่อเร็วๆนี้วา ไดปดกั้นเว็บไซตที่กระทําผิด พ.ร.บ.วา
ดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรกวา 50,000 เว็บไซต [104]
การดําเนินคดีในขอหาการกระทําผิด พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรที่สาธารณะให
ความสนใจมากที่สุด 2 คดีไดแก คดีของนาย สุวิชา ทาคอ และ น.ส. จีรนุช เปรมชัยพร นาย สุวิชา ทาคอ ถูก
จับกุมในเดือนมกราคม 2552 เนื่องจากโพสทภาพซึ่งอาจเขาขายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เขาถูกพิพากษาใน
เวลาตอมาดวยโทษจําคุก 20 ปจากความผิดตาม พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและ

38
กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพของไทย แตเนื่องจากใหการรับสารภาพจึงไดรับการลดโทษเหลือ 10 ป
และเมื่อถูกจําคุกอยู 1 ป 6 เดือนในที่สุดสุวิชาไดรับพระราชทานอภัยโทษเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2553
น.ส. จีรนุช เปรมชัยพร ผูดูแลเว็บไซตขาวอิสระประชาไทถูกจับกุมในเดือนมีนาคม 2552 และถูกตั้งขอ
กลาวหา 10 กระทงจากการละเมิด พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร เธอถูกตั้งขอหา
เนื่องจากไมสามารถลบความเห็นในเว็บบอรดประชาไทที่ทางการมองวาเปนการใหรายระบอบกษัตริย
ทันทวงที ตอมากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขอใหลบความเห็นเหลานี้ออก ในการไต
สวนคดีซึ่งจะเริ่มขึ้นในเดือนกุมภาพันธ 2554 เธออาจถูกตัดสินจําคุก 50 ป ในขณะเดียวกันเว็บไซตประชา
ไทถูกทางการปดกั้นอยูเรื่อยๆตั้งแตมีการชุมนุมครั้งลาสุดของกลุมคนเสื้อแดง จากกรณีดังกลาวทําใหมีการ
ตัดสินใจปดเว็บบอรดปลายเดือนกรกฎาคม 2553
การจับกุมดวยขอหาละเมิด พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรรายอื่นๆ รวมถึงนาย ณัฐ
สัตยาภรณพิสุทธิ์ (จากการเผยแพรซ้ําคลิปวิดีโอที่ตอตานสถาบันกษัตริย) นาย ธันยฐวุฒิ ทวีวโรดมกุล (จาก
การโพสทขอความตอตานสถาบันกษัตริย) นาย วิภาส รักสกุลไทย (จากการโพสทขอความหมิ่นในเฟสบุค)
และอีก 4 รายที่ถูกกลาวหาวาเผยแพร “ขาวลือ” เกี่ยวกับพระอาการประชวร ในจํานวนนี้มีอยางนอย 2 รายที่
เพียงแคแปลขาวในประเด็นนี้จากสํานักขาวบลูมเบิรกเทานั้น [105]
การใชอํานาจอยางเปนระบบในการจัดการกับผูกระทําผิดทางการเมืองทําใหรัฐบาลอภิสิทธิ์ถูกประณามจาก
คณะกรรมการคุมครองผูสื่อขาว (Committee to Protect Journalists : CPJ) [106] และองคกรผูสื่อขาวไร
พรมแดน (Reporters Without Borders : RWB) [107] จากการที่รัฐบาลมีการฟองรองดําเนินคดีและคุกคาม
คูแขงทางการเมือง ในเดือนมกราคม 2553 องคกรเพงเล็งดานสิทธิมนุษยชน (Human Rights Watch) องคกร
เฝาระวังดานสิทธิมนุษยชนแสดงความเสียใจกับ “การถดถอยอยางรายแรง” ของสิทธิมนุษยชนในไทยจาก
การสังเกตการณนับตั้งแตอภิสิทธิ์ขึ้นเปนรัฐบาล [108] ตามรายงานการไลลาคูแขงทางการเมืองจะยังดําเนิน
ตอไปตราบเทาที่รัฐบาลชุดนี้ยังอยูในอํานาจ นาย จุติ ไกรฤกษ รัฐมนตรีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารคนใหมใหคํามั่นวาจะมีการปราบปรามตอไปดวยเหตุผลวา “รัฐบาลใหเสรีภาพแกประชาชนมาก
เกินไป” [109] โดยสอดคลองกันในเดือนมิถุนายนคณะรัฐมนตรีแตงตั้งหนวยงานใหมคือ สํานักงานปองกัน
และปราบปรามการอาชญากรรมคอมพิวเตอรเพื่อกําจัดเนื้อหาในอินเทอรเน็ตที่วิจารณสถาบันกษัตริย [110]
ขณะเดี ย วกัน นายกรั ฐ มนตรี จั ด ตั้ งโครงการ “ลู ก เสื อไซเบอร” เพื่อ แนะนําให ประชาชนใช เ ทคโนโลยี
สมัยใหมอยางอินเทอรเน็ตอยาง “ถูกตอง” [111] ซึ่งในวันถัดมามีผูตองหาคดีขมขืนเด็กไดรับการประกันตัว
และอนุญาตใหออกนอกประเทศ [112] กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) ประกาศวาพวกเขาจัดตั้งเจาหนาที่ 300
นาย เพื่ อตรวจสอบผู ที่ มีค วามเห็ น หรื อพฤติก รรม “เปน ภั ย หรื อไมป ระสงค ดี” ต อสถาบั น กษัตริย [113]
รักษาการผูอํานวยการกรมสอบสวนคดีพิเศษ พล.ต. เสกสรรค ศรีตุลาการ รายงานตอสภาวามีผูตองสงสัยคดี
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพราว 2,000 รายที่กําลังอยูภายใตการสืบสวน เขากลาวอีกวาการกดดันจากภายนอก
อยางตอเนื่องทําใหกรมสอบสวนคดีพิเศษเริ่มกลายเปน “เครื่องมือทางการเมือง” [114]

39
ทั้งหมดทั้งมวลรัฐบาลอภิสิทธิ์ดําเนินนโยบายที่มีความรุนแรงอยางฉกรรจตอกลุมคนเสื้อแดง กอนหนาการ
สังหารหมูครั้งลาสุดกรณีใกลเคียงกันที่เปนที่รับรูคือ การใชกองกําลังทหารปราบปรามการชุมนุมของกลุม
คนเสื้อแดงที่ปะทุขึ้นชวงเทศกาลสงกรานตในเดือนเมษายน 2552 ซึ่งเกิดขึ้นในระดับที่เล็กกวา
เมื่อวั นที่ 11 เมษายน 2552 กลุมคนเสื้อแดงหลายรอยคนใชความรุนแรงทําใหการประชุมสุดยอดผูนํา
อาเซียนที่พัทยาตองยกเลิก โดยการบุกเขาไปในโรงแรมที่มีการประชุมอยู ภายหลังปฏิบัติการที่ประสบ
ความสําเร็จอยางไมไดคาดหมายจุดสนใจของการชุมนุมเริ่มเคลื่อนไปที่กรุงเทพ โดยกลุมคนเสื้อแดงปด
ถนนและเกิดการชุมนุมที่ไรการนําขึ้นรอบเมือง
สําหรับรัฐบาลซึ่งกอนหนานี้ใชกลุม “เสื้อน้ําเงิน” ของนาย เนวิน ชิดชอบ โจมตีกลุมคนเสื้อแดงที่พัทยาหัน
มาประกาศสถานการณฉุกเฉินในกรุงเทพและ 5 จังหวัดโดยรอบเพื่อเตรียมการปราบปรามอยางเด็ดขาด เชา
มืดของวันที่ 13 เมษายนกองทัพสงกําลังเขามาสลายการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงซึ่งทําใหกลุมคนเสื้อแดง
แตกกระจายกันไปตามจุดตางๆทั่วกรุงเทพ การปราบปรามทําใหแกนนํา นปช. ยอมจํานนและยุติการปด
ล อ มทํ า เนี ย บรั ฐ บาลเพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการปะทะนองเลื อ ด อี ก เช น เคยที่ รั ฐ บาลอ า งว า กองทั พ ปฏิ บั ติ ต าม
มาตรฐานสากล โดยการยิงปนขึ้นฟาเพื่อเตือนและใชกระสุนยางเพื่อปองกันตัวซึ่งขออางนี้ถูกปดตกไปดวย
ภาพถายและคลิปวิดีโอของพยานผูเห็นเหตุการณตอมาคณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริงกรณีเหตุการณ
การชุมนุมทางการเมืองสรุปวาไมมีกลุมคนเสื้อแดงเสียชีวิตจากการปะทะดังกลาว [115] มีผูบาดเจ็บ 123 ราย
ขณะที่ผูชุมนุมระบุวากลุมคนเสื้อแดงอยางนอย 6 รายซึ่งบาดเจ็บจากการถูกยิงถูกลําเลียงขึ้นรถบรรทุก
ทหารไปอยางรวดเร็วและไมพบเห็นอีกเลย หลายวันหลังจากการปราบปรามผูชุมนุมมีการพบศพของการด
นปช. 2 รายในแมน้ําเจาพระยาซึ่งมีรองรอยของการซอมทรมาน [116]
ในรายงานประจําป 2553 ขององคกรเพงเล็งดานสิทธิมนุษยชนระบุถึงมาตรการที่รัฐบาลใชกับผูชุมนุมชวง
ตนป พ.ศ. 2552 ซึ่งแสดงใหเห็นการปฏิบัติอยางไมเทาเทียมระหวางกลุมคนเสื้อแดงที่ตอตานกลุมอํานาจเกา
กับพันธมิตรฯที่สนับสนุนกลุมอํานาจเกาในขอกลาวหาเดียวกัน

“การใช 2 มาตรฐานในการบังคับใชกฎหมายของรัฐบาลทําใหความตึงเครียดทางการเมืองยิ่งทวีขึ้น และ


การแบงฝกแบงฝายหยั่งลึกมากขึ้น แกนนําและสมาชิก นปช. ถูกจับกุม, ถูกกักขัง และถูกตั้งขอกลาวหาทาง
อาญาหลังการชุมนุมยุติ แตรัฐบาลกลับเพิกเฉยตอขอเรียกรองของสาธารณะที่เรียกรองใหมีการสืบสวน
เหตุการณอยางไมแบงแยกฝายซึ่งรวมถึงกรณีความรุนแรงซึ่งมีแรงจูงใจทางการเมืองและการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนของพันธมิตรฯหรือกลุมคนเสื้อเหลือง ชวงที่มีการชุมนุมยึดทําเนียบรัฐบาลและสนามบินสุวรรณ
ภูมิในป 2551 ซึ่งเปดโอกาสใหอภิสิทธิ์ขึ้นสูอํานาจ การยืดเวลาดําเนินคดีกับพันธมิตรฯ ยิ่งทําใหสาธารณชน
เขาใจวาพันธมิตรฯไมจําเปนตองรับผิดชอบทางกฎหมาย” [117]

รัฐบาลทหารของไทยอุปโลกนใหกลุมคนเสื้อแดงจํานวนมากมีแนวโนมเปน “ผูกอการราย” ขณะเดียวกันยัง


มีความพยายามอยางเปนระบบในการทําลายความนาเชื่อถือของกลุมคนเสื้อแดงดวยการสั่งดําเนินคดี, การ

40
คุกคาม และการใชอํานาจศาลพิเศษซึ่งรัฐบาลอภิสิทธิ์นํามาใชกับ นปช. และศัตรูทางการเมืองของตนอยาง
ไมหยุดหยอนนับตั้งแตขึ้นสูอํานาจในเดือนธันวาคม 2551โดยกลไกของกองทัพ, องคมนตรี, ศาล และ
พันธมิตรฯ

6.3 บดขยี้กลุมคนเสื้อแดง
เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2553 นาย ณัฐวุฒิ ไสยเกื้อ ประกาศวากลุมคนเสื้อแดงจะชุมนุมใหญที่กรุงเทพเริ่มจาก
วันที่ 14 มีนาคม เขากลาวย้ําวาการชุมนุมจะเปนไปอยางสงบสันติ โดยระบุวากลุมคนเสื้อแดงจะดําเนินการ
ตามแนวทางประชาธิปไตยและพวกเขาไมตองการใหเกิดความวุนวายในชาติ วันถัดมาอภิสิทธิ์ประกาศใช
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
เมื่อกลุมคนเสื้อแดงเขามาที่กรุงเทพ พวกเขาเริ่มปกหลักชุมนุมที่สะพานผานฟาลีลาศบน ถ.ราชดําเนิน การ
เลือกพื้นที่ชุมนุมมีนัยเชิงสัญลักษณอยางยิ่งเพราะทําใหเห็นวาการเคลื่อนไหวครั้งนี้เปนการสืบทอดมรดก
จากผูที่ออกมาเคลื่อนไหวเรียกรองประชาธิปไตยในป พ.ศ. 2516 และ พ.ศ. 2535 ซึ่งใชพื้นที่เดียวกัน แม
จํานวนผูชุมนุมต่ํากวาที่เคยลั่นวาจาวากลุมคนเสื้อแดงเขามาชุมนุมในกรุงเทพจํานวน 1,000,000 ราย แตการ
ชุมนุมที่ถูกจัดตั้งมาอยางดีครั้งนี้อาจจะเปนการชุมนุมที่ใหญที่สุดเทาที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย และ
แนนอนวาใหญที่สุดในรอบ 35 ปที่ผานมา ขอเรียกรองของพวกเขางายๆเพียงแคใหอภิสิทธิ์ลาออก “คืน
อํานาจใหประชาชน” และจัดการเลือกตั้งใหม
การตอบรับที่กลุมคนเสื้อแดงไดรับในกรุงเทพมีหลากหลาย มีรายงานวาจริงๆแลวกลุมคนเสื้อแดงสวนใหญ
อาศัยอยูในกรุงเทพ นปช. ไดรับการสนับสนุนเปนพิเศษจากประชาชนหลายลานคนจากภาคเหนือและภาค
อีสานที่ยายเขามากรุงเทพทั้งแบบถาวรและการยายถิ่นฐานตามฤดูกาล มีประชาชนจํานวนมากพอๆกับ
เจาหนาที่ในหนวยงานความมั่นคงที่คอยใหกําลังใจพวกเขา เวลาที่พวกเขาเคลื่อนขบวนไปทั่วเมืองตลอด
หลายสัปดาหชวงตนของการชุมนุม เปนไปไดวาชาวกรุงเทพยังไมไดตัดสินใจใดๆบางสวนรูสึกวาการ
ดําเนินชีวิตไมไดรับความสะดวกอันเนื่องมาจากการชุมนุมซ้ําแลวซ้ําเลาของกลุม “เสื้อสี” ขณะที่หลายคน
อาจไมแนใจวาการชุมนุมจะกอใหเกิดผลอะไร
อยางไรก็ตามภาพของโครงสรางสังคมไทยกลุมคนเสื้อแดงถูกเกลียดชังและดูถูกโดยสื่อในกรุงเทพ และชน
ชั้นกลางระดับบนจํานวนมากที่สนับสนุนพันธมิตรฯ โดยมากแลวสื่อที่ถูกรัฐบาลควบคุมตางเพิกเฉยตอขอ
เรียกรองและความคับแคนของพวกเขา แตกลับนําเสนอซ้ําๆอยางเปนระบบวาผูชุมนุมเปนกลุมคนที่ทักษิณ
วาจางมา, ถูกซื้อ หรือถูกลางสมองเพื่อเขารวมชุมนุมโดยมีเปาหมายเพียงตองการคืนคนๆหนึ่งสูอํานาจ, นํา
ความมั่งคั่งของเขากลับมา และนิรโทษกรรมใหเขา เมื่อวันที่ 13 มีนาคมเมื่อคนมารวมตัวกันที่เมืองหลวง
หนาแรกของหนังสือพิมพบางกอกโพสทพาดหัววา “นปช. บานนอกแหเขากรุง” การเรียกรองใหมีการ
ปราบปรามยิ่งทําใหการชุมนุมตอตานและดาทอรัฐบาลมากขึ้นเรื่อยๆ ที่สําคัญมากที่สุดคือการที่กลุมคนเสื้อ

41
แดงเขายึดพื้นที่ชุมนุมที่สี่แยกราชประสงคใจกลางยานการคาระดับสูงในกรุงเทพซึ่งเปนสัญลักษณของ
ความร่ํารวยและสิทธิพิเศษ ทั้งยังเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญดานการคา เดาไมยากวาพันธมิตรฯจะออกมา
โจมตีอยางแข็งกราวและเรียกรองใหรัฐบาลปราบปรามผูชุมนุมอยางเด็ดขาด
แมวาชวง 4 สัปดาหแรกของการชุมนุมจะเปนไปอยางสงบสันติจนแทบจะกลายเปนงานรื่นเริง แตเมื่อมาถึง
สัปดาหที่ 2 ของเดือนเมษายน รัฐบาลตัดสินใจขับไลผูชุมนุมออกไปจากถนนกรุงเทพในปฏิบัติการสลาย
การชุมนุมเมื่อวันที่ 10 เมษายน รัฐบาลออกประกาศสั่งหามชุมนุมในพื้นที่เมื่อวันที่ 7 เมษายน อภิสิทธิ์
ประกาศสถานการณฉุกเฉินและตั้งศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉินนําโดยรองนายกรัฐมนตรีนาย สุ
เทพ เทือกสุบรรณ [118] เมื่อวันที่ 8 เมษายนทหารบล็อกสัญญาณดาวเทียมสถานีโทรทัศนพีเพิลแชนแนล
(PTV) แตเมื่อผูชุมนุมพากันไปชุมนุมที่สถานีควบคุมดาวเทียมไทยคม จ.ปทุมธานี ก็สามารถทําใหพีทีวี
กลับมาออกอากาศอีกระยะหนึ่ง รัฐบาลตัดสัญญาณสถานีโทรทัศนพีเพิลแชนแนลอีกครั้ง
คนจํานวนมากถูกสั งหารช วงที่เ กิด เหตุ รุนแรงเมื่อวันที่ 10 เมษายนขณะที่ก ลุมคนเสื้อแดงใชกอนหิน ,
ประทัด, ระเบิดขวด และอาวุธที่ประกอบขึ้นเองอยางงายๆตอบโตกับกองกําลังทหารที่ติดอาวุธหนัก เมื่อ
รัฐบาลยอมหยุดยิงมีผูเสียชีวิต 27 รายประกอบดวยสมาชิก นปช. 21 รายและเจาหนาที่ทหารอีกจํานวนหนึ่ง
ซึ่งถูกสังหารโดยกลุมคนลึกลับที่เรียกวา “ชายชุดดํา” ซึ่งยังไมชัดเจนเรื่องแรงจูงใจและไมทราบวาอยูฝายใด
ปฏิบัติการสลายการชุมนุมที่ลมเหลวทําใหการเผชิญหนาตึงเครียดขึ้น ฝายรัฐบาลรวมตัวกันอีกครั้งเพื่อหา
วิธีการอื่นๆแกวิกฤติ ดานกลุมคนเสื้อแดงหันมาปกหลักชุมนุมตอที่สี่แยกราชประสงค
เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคมนายกรัฐมนตรีประกาศแผนการปรองดองซึ่งในนั้นมีขอเสนอจะจัดการเลือกตั้งอยาง
เร็วที่สุดในเดือนพฤศจิกายนนี้ดวย โดยแลกกับการใหกลุมคนเสื้อแดงยอมยุติการชุมนุม ไมมีหลักประกันใด
วาอภิสิทธิ์จะยุบสภาตามที่เสนอ รัฐบาลไมไดทําอะไรที่เปนการสงสัญญาณวาจะผอนปรนมาตรการปดกั้น
สื่อที่ดําเนินมาอยางเขมขนชวงที่มีการชุมนุมลงกอนการเลือกตั้ง รวมถึงไมมีการใหคํามั่นวาจะดําเนิน
สอบสวนที่เปนอิสระในกรณีเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน กลุมคนเสื้อแดงยอมรับขอเสนอ
ปรองดองของรัฐบาลแตปฏิเสธขอเสนอที่ปราศจากหลักประกันเหลานั้น และหากมองยอนกลับมาที่ปจจุบัน
การที่กลุมคนเสื้อแดงเคลือบแคลงในคําสัญญาของอภิสิทธิ์นั้นเปนเรื่องที่ถูกตอง
เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 1 วันหลังจากที่รัฐบาลถอนขอเสนอใหมีการเลือกตั้ง พล.อ. ขัตติยะ สวัสดิผล ทหาร
นอกแถวที่รูจักกันในนาม เสธ.แดง ผูที่ถูกมองวาเปนแกนนําสายฮารดคอรถูกยิงเขาที่ศีรษะดวยสไนเปอร
ขณะยืนอยูหนาไมโครโฟนและกลอง และตอหนาตอตาผูสื่อขาวตะวันตกที่มุมหนึ่งของสวนลุมพินี [119]
กระสุนที่ปลิดชีวิตของ เสธ.แดง (เขาเสียชีวิตไมกี่วันหลังจากนั้น) เปนเพียงกระสุนนําทางกอนใหกับ
กระสุนอีกหลายพันนัดซึ่งทหารยิงใสผูชุมนุมที่ไมมีอาวุธ, ผูบริสุทธิ์ที่สัญจรไปมา, เจาหนาที่อาสาสมัคร
และผูสื่อขาวในสัปดาหถัดมา ขณะที่กลุมคนเสื้อแดงพยายามติดตอเรียกรองความชวยเหลือจากตางชาติเพื่อ
เปดทางสูการเจรจาซึ่งจะนําไปสูการแกปญหาดวยวิธีทางการเมือง แตรัฐบาลยังเลือกบดขยี้พวกเขาดวยกําลัง
ทหาร มีการลําเลียงกองกําลังทหารหลายพันนายดวยรถหุมเกราะสูทองถนนของกรุงเทพ

42
หลายวันหลังการลอบสังหาร เสธ.แดง รัฐบาลปฏิเสธไมมีสวนเกี่ยวของใดๆตอเหตุการณดังกลาว แมวากอน
หนานี้พวกเขายืนยันวาจะยิง “ผูกอการราย” [120] และกอนหนานี้เคยระบุวา เสธ.แดง เปน “ผูกอการราย” [121]
การสังหารหมูเกิดขึ้นทางทิศเหนือและทิศใตของพื้นที่การชุมนุมที่สี่แยกราชประสงค รวมถึงพื้นที่แถวดิน
แดงและลุมพินี
ทหารประกาศใหพื้นที่บางแหงเชน ซ.รางน้ํา ซึ่งอยูทางทิศเหนือของพื้นที่ชุมนุมและ ถ.พระราม 4 ซึ่งอยูทาง
ทิศใตเปน “เขตใชกระสุนจริง” ที่นั่นทหารไดรับอนุญาตใหยิงผูชุมนุมทุกคนที่พบซึ่งแทบทั้งหมดไมมีอาวุธ
ผูเห็นเหตุการณที่บันทึกในสวนนี้อยางละเอียดคือ ผูสื่อขาวที่ชื่อ นิค นอสติตซ [122] ไมวาจะโดยอุบัติเหตุ
หรือดวยยี่หอของทหารไทยที่ไมเคยไยดีชีวิตคนก็ตามมีผูสัญจรไปมาจํานวนหนึ่งไดรับบาดเจ็บและถูก
ทหารยิงเสียชีวิต หนึ่งในคนเหลานั้นมีเด็กอายุ 10 ปถูกยิงที่ทองใกลกับสถานีแอรพอรทลิงคมักกะสัน [123]
ในเวลาตอมาโรงพยาบาลแถลงวาเขาเสียชีวิต มีสิ่งที่สอใหเห็นวาผูสื่อขาวตกเปนเปาหมายดวยเชนกัน พยาน
ผูเห็นเหตุการณคนหนึ่งในแนวหลังทหารที่ ถ.พระราม 4 ไดยินทหารถามผูบังคับบัญชาวา “ยิงชาวตางชาติ
กับนักขาวไดไหม ?” [124]
ที่นาอับอายที่สุดคือการที่ทหารปด “พื้นที่สีแดง” ไมใหอาสาสมัครหนวยแพทยพยาบาลฉุกเฉินเขาไปใน
พื้นที่ [125] รวมถึงระดมยิงใสเจาหนาที่อาสาสมัคร ขณะที่พวกเขากําลังชวยเหลือผูชุมนุมที่ไดรับบาดเจ็บ [126]
และกําลังทําหนาที่กูชีวิตผูประทวงที่มีบาดแผลอีกเปนจํานวนมาก
การปะทะที่ดุเดือดและอันตรายถึงชีวิตผานไปหลายวันทําใหการปองกันของกลุมคนเสื้อแดงออนลงอยาง
มาก สวนใหญแลวพวกเขาปองกันตนเองดวยการเผายางอันเปนความพยายามที่ไรประโยชนในการจะสกัด
กั้นการรุกคืบของกองทัพสมัยใหม แมกระทั่งความพยายามเจรจาตอรองในครั้งสุดทายซึ่งยังคงคางคาอยูเมื่อ
วันที่ 18 พฤษภาคมถูกรัฐบาลอภิสิทธิ์ปดทิ้ง [127] จนกระทั่งเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคมทหารทะลวงผานแนวกั้น
ของกลุมคนเสื้อแดงได หลังจากนั้นไมนานแกนนํา นปช. ที่สี่แยกราชประสงคประกาศยุติการชุมนุมและ
ยอมมอบตัวกับตํารวจเพื่อปองกันไมใหเกิดการนองเลือดมากกวานี้ ขณะที่เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553
กลายเป น วั น ที่ มื ด มนที่ สุ ด วั น หนึ่ ง ในประวั ติ ศ าสตร ไ ทย เพราะมี ก ารสั ง หารหมู ผู ชุ ม นุ ม เรี ย กร อ ง
ประชาธิปไตยครั้งเลวรายที่สุดของประเทศ จํานวนผูเสียชีวิตอาจจะเพิ่มอีกมากกวานี้หากแกนนํา นปช. ไม
ประกาศยุติการชุมนุมภายในเวลาที่เกือบจะสายเกินไป
อยางไรก็ตามการยอมแพของแกนนํา นปช. ยังไมทําใหการเขนฆาจบลง หลายชั่วโมงหลังจากที่กลุมคนเสื้อ
แดงถู ก สลายการชุ ม นุ ม ประชาชน 6 รายเสี ย ชี วิ ต จากการโจมตี ที่ วั ด ปทุ ม วนารามราชวรวิ ห ารซึ่ ง ถู ก
กํ า หนดให เ ป น เขตอภั ย ทานของผู ชุ ม นุ ม กลุ ม คนเสื้ อ แดงที่ ต อ งการหลบซ อ นจากการใช ค วามรุ น แรง
ผูสื่อขาวตางชาติที่ไดรับบาดเจ็บในพื้นที่อธิบายวามีสไนเปอรยิงจากมาจากบนรางรถไฟฟาเขาใสกลุมคนที่
ไมมีอาวุธในเขตอภัยทานของวัด สวนหนึ่งของพลเรือนที่ถูกยิงเสียชีวิตมีพยาบาลอาสานอกเครื่องแบบอยู 1
ราย [128]
จากตัวเลขอยางเปนทางการมีประชาชนเสียชีวิต 55 รายชวงที่มีการปราบปรามนานนับสัปดาหจนทําใหกลุม
คนเสื้อแดงสลายการชุมนุมไปเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม แมจะมีการกลาวหาเรื่อง “การกอการราย” ซ้ําๆ แตไม

43
มีรายงานเจาหนาที่เสียชีวิตชวงที่มีปฏิบัติการ ขณะที่ผูที่ถูกเจาหนาที่ยิงไมมีใครที่ไดรับการพิสูจนวามีอาวุธ
รัฐบาลยังคงปฏิเสธความรับผิดชอบตอความรุนแรงที่เกิดขึ้น พล.อ. อนุพงษ เผาจินดา ซึ่งกําลังจะปลด
เกษียณปฏิเสธเมื่อไมนานมานี้วาทหารไมไดยิงใสผูชุมนุมที่ไมมีอาวุธ เขาบอกวาทหาร “ไมเคยตั้งใจทําราย
ประชาชน” การดําเนินการสลายการชุมนุมนั้นกระทําตามหลัก “มาตรฐานสากล” [129]

6.4 มาตรการสากลวาดวยการใชกําลัง
ประเทศไทยเปนรัฐภาคีของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งคณะมนตรี
สิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (The United Nations Human Rights Council : UNHRC) ซึ่งมีหนาที่ดูแล
และเปนผูตีความ โดยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติประกอบดวยผูเชี่ยวชาญ 18 รายตั้งขึ้น
โดยขอบัญญัติของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเพื่อดูแลการบังคับใช
กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในความเห็นทั่วไปเรื่องสิทธิในการมีชวี ติ อยู
ซึ่งไดรับการประกันไวในมาตรา 6 (General Comment No. 06 : The right to life) ของกติการะหวางประเทศ
วาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง คณะมนตรีระบุวา

“รัฐภาคีควรมีมาตรการ...ในการปองกันไมใหเกิดการใชอํานาจสั่งการสังหารประชาชนของตนเอง การที่ผู
มีอํานาจในรัฐปลอยใหเกิดการสูญเสียชีวิตเปนเรื่องที่สรางแรงกดดันอยางมาก เพราะฉะนั้นกฎหมายควรจะ
ควบคุมอยางเขมงวดและจํากัดสถานการณที่จะนําไปสูการสูญเสียในชีวิตจากการใชอํานาจรัฐ” [130]

อยางนอยที่สุดหากจะใหเปนไปตามพันธกรณีที่ระบุไวในกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง รัฐตองปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานของสหประชาชาติในเรื่องการใชกําลังและอาวุธของ
เจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย (Basic Principles on the Use of Force and Firearms by Law Enforcement
Officials) (ตาม “หลักการพื้นฐานของสหประชาชาติ”) หลักการนี้มีไวเพื่อชวยใหประเทศสมาชิกของ
สหประชาชาติเชนไทยรับรองและสนับสนุนใหเกิดการปฏิบัติอยางเปนระบบขั้นตอนของเจาหนาที่ผูบังคับ
ใชกฎหมาย หลักการเหลานี้จะตองไดรับการพิจารณาและตองคํานึงถึงในกฎหมายสวนทองถิ่น รวมถึง
ระเบียบปฏิบัติของประเทศสมาชิกอื่นๆ [131] หลักการเหลานี้เกี่ยวของกับประเทศไทยและการสังหารหมูกลุม
คนเสื้อแดงอยางยิ่ง โดยควรไดรับการคํานึงถึงขอบเขตที่เหมาะสมในการใชกําลังในสถานการณที่มีการ
ชุมนุม รวมถึงกรณีเกิดการชุมนุมที่ไมถูกกฎหมายหรือเสี่ยงที่จะเกิดความรุนแรง
หลักการพื้นฐานของสหประชาชาติเปนหลักการที่ตั้งขึ้นโดยมีลดการใชอาวุธรายแรงตอพลเรือนใหนอย
ที่สุด ดังนั้นหลักการของสหประชาชาติจึงจําเปนสําหรับผูบังคับใชกฎหมายทั้งหมด

44
หลักการขอที่ 3 การพัฒนาหรือการวางกําลังอาวุธยับยั้งที่ไมอยูในขั้นรายแรงควรกระทําอยางระมัดระวัง
เพื่อที่จะลดความเสี่ยงในการทําอันตรายตอผูที่ไมเกี่ยวของและการใชอาวุธนั้นควรมีการควบคุมอยางดี
หลักการขอที่ 4 การบังคับใชกฎหมายโดยเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่หากเปนไปไดควรใชวิธีการปลอด
ความรุนแรงใหถึงที่สุดกอนพิจารณาการใชกําลังหรืออาวุธ พวกเขาใชกําลังอาวุธเพียงแคในกรณีที่วิธีการ
อื่นๆไมสามารถใชได หรือไมมีสิ่งใดที่บงบอกวาจะทําใหเกิดผลตรงตามเปาหมายแลวเทานั้น
หลักการขอที่ 5 เมื่อใดก็ตามที่จําเปนตองใชกําลังและอาวุธอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได เจาหนาที่บังคับใช
กฎหมายควร
(a) ปฏิบัติอยางอดกลั้นในการใชกําลังและปฏิบัติตามสัดสวนความรายแรงของสถานการณ และเปนไป
ตามวัตถุประสงคทางกฎหมาย
(b) ทําใหเกิดความเสียหาย การบาดเจ็บใหนอยที่สุด รวมถึงควรเคารพและรักษาชีวิตมนุษย
(c) ทําใหแนใจวาการชวยเหลือและการรักษาพยาบาลสามารถเขาถึงผูไดรับบาดเจ็บหรือคนที่ไดรับ
ผลกระทบโดยดวนที่สุดเทาที่จะเปนไปได [132]

หลักการพื้นฐานของสหประชาชาติในเรื่องการสลายการชุมนุมมีดังนี้

หลักการขอ 12 เมื่อทุกคนไดรับอนุญาตใหเขารวมในการชุมนุมที่สงบและถูกกฎหมายตามหลักการของ
ประกาศสิทธิ มนุ ษยชนและสนธิ สัญญานานาชาติดา นสิทธิพ ลเมื องและสิ ทธิทางการเมือง รัฐบาลและ
หนวยงานที่บังคับใชกฎหมายและเจาหนาที่ควรรับรูวากําลังและอาวุธจะใชไดก็ตอเมื่อมีการปฏิบัติตาม
หลักการขอ 13 และ 14
หลักการขอ 13 ในการสลายการชุมนุมที่ไมเปนไปตามกฎหมายแตไมไดมีความรุนแรง เจาหนาที่บังคับ
กฎหมายควรหลีกเลี่ยงการใชกําลัง หรือหากไมสามารถกระทําไดควรใชกําลังใหนอยที่สุดเทาที่จําเปน
หลักการขอ 14 ในการสลายการชุมนุมที่มีความรุนแรง เจาหนาที่บังคับกฎหมายอาจใชอาวุธไดก็ตอเมื่อ
วิธีการอื่นๆที่อันตรายนอยกวาไมสามารถใชได และควรใชกําลังใหนอยที่สุดเทาที่จําเปน เจาหนาที่บังคับ
กฎหมายไมควรใชอาวุธสงครามในกรณีนี้ เวนแตสภาพการเปนไปตามเงื่อนไขของหลักการขอ 9 [133]

หลักการขอที่ 9 ระบุวา

หลักการขอที่ 9 เจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมายไมสามารถใชอาวุธปนกับบุคคลได ยกเวนเพื่อปองกันตนเอง


หรื อ ปกป อ งบุ คคลอื่ น จากอั น ตรายถึ ง ชี วิ ต หรือ การบาดเจ็ บขั้ น ร า ยแรงเฉพาะหน า เพื่ อป อ งกั น การก อ
อาชญากรรมรายแรงที่อันตรายถึงชีวิต เพื่อจับกุมบุคคลซึ่งกําลังกระทําอันตรายและตอบโตเจาหนาที่ หรือ
เพื่อไมใหบุคคลดังกลาวหลบหนีการจับกุม และในกรณีที่ไมมีวิธีการใดที่มีประสิทธิภาพที่จะใหไดมาซึ่ง

45
วั ต ถุ ป ระสงค ดั ง กล า ว อย า งไรก็ ต ามการใช อ าวุ ธ สั ง หารโดยตั้ ง ใจสามารถกระทํ า ได ก็ ต อ เมื่ อ เผชิ ญ
สถานการณคับขันและหลีกเลี่ยงไมไดเพื่อปกปองชีวิตเทานั้น

ชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 รัฐบาลอภิสิทธิ์และกองทัพไทยดูเหมือนจะไมสนใจการควบคุมฝูงชน


ดวยหลักการดังที่กลาวมา แตรัฐบาลกลับใชวิธีการสลายการชุมนุมที่ขัดกับ “มาตรฐานนานาชาติ” ดวยการ
ใช “อาวุธที่ไมเปนอันตรายถึงชีวิต” เพียงจํานวนนอย ไมไดแสดงความหวงใยในการ “ลดความเสี่ยงที่จะเกิด
ขึ้นกับบุคคลที่ไมเกี่ยวของใหนอยที่สุด” และเพื่อ “รักษาชีวิตคนไว” นโยบายยิงเพื่อสังหารที่พวกเขา
นํามาใชกับผูชุมนุมที่เผายางและจุดประทัดไมไดอยูในหลักการของการโตตอบ “ในสัดสวนเดียวกับความ
รายแรงของการจูโจม” การโจมตีใสหนวยแพทยอาสาเปนคําสั่งที่ไมไดเกิดประโยชนตอการรับรองวา “การ
ชวยเหลือและการรักษาพยาบาลควรทําใหสามารถเขาถึงผูไดรับบาดเจ็บ และผูไดรับผลกระทบอยางรวดเร็ว
ที่สุดเทาที่จะทําได” แมวาการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงอาจถูกตราวาเปนการชุมนุมที่ “รุนแรง” และ “ผิด
กฎหมาย” แมหากวา พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินจะทําใหพวกเขาผิดกฎหมาย แตพยาน
ที่อยูในเหตุการณการใชอาวุธกระสุนจริงของรัฐบาลกลาวยืนยันหนัก แนนวา การใชกําลังนั้นไมจํากัดอยูแค
“การใชใหนอยที่สุดเทาที่จําเปน” (ในหลักการขอ 13) นอกจากนี้ผูที่เสียชีวิตไมมีใครเลยที่พบเห็นวามีอาวุธ
รายแรง ทําใหการ “จงใจใชอาวุธรายแรง” ของรัฐบาลนั้นไมสอดคลองตามกรณี “ไมสามารถหลีกเลี่ยงผอน
ปรนไดในการจําเปนตองใชเพื่อรักษาชีวิต” (ในหลักการขอ 9)
แทนที่จะปฏิบัติตามหลักสากลในสลายการชุมนุมรัฐบาลกลับใชกองกําลังที่ไดรับการฝกฝนอาวุธสงคราม
เพื่อสูรบกับกองทัพของตางชาติเขาไปสลายการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดง กลาวอยางเรียบๆคือมันเปนสิ่งที่
กองทัพไทยทํามาตลอดเมื่อเจอกับการชุมนุมใหญที่เรียกรองทาทายอํานาจการควบคุมระบอบการเมืองของ
ไทย พวกเขาละเลยมาตรฐานสากลและใชกําลังทหารกับผูชุมนุม

[101] เมย อาดาดล อิงคะวนิช, “The Speech that Wasn’t Televised,” New Mandala, 27 เมษายน 2553,
http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2010/04/27/the-speech-that-wasn’t-televised/
[102] มารวัน มากัน-มารการ, “Thailand: Lese Majeste Cases Rise but Public in the Dark,” Inter Press Service, 14
พฤษภาคม 2553, http://ipsnews.net/login.asp?redir=news.asp?idnews=51434
[103] “Corrections Dept Asked to Explain Da Torpedo’s Solitary Confinement,” ประชาไท, 14 กันยายน 2552,
http://www.prachatai.org/english/node/1400
[104] “50,000 Websites Shut Down, MICT Inspector Says,” ประชาไท, 7 พฤษภาคม 2553, http://www.prachatai.org
/english/node/1795
[105] “EDITORIAL: Criminals or Scapegoats?,” บางกอก โพสท, 3 พฤศจิกายน 2552, http://www.bangkokpost.com
/opinion/opinion/26746/criminals-or-scapegoats

46
[106] คณะกรรมการคุมครองผูสื่อขาว, “Attacks on the Press 2009: Thailand,” กุมภาพันธ 2553, http://cpj.org/2010/02
/attacks-on-the-press-2009-thailand.php
[107] องคกรผูสื่อขาวไรพรมแดน, “Government Uses State of Emergency to Escalate Censorship,” 8 เมษายน 2552,
http://en.rsf.org/thailand-government-uses-state-of-emergency-08-04-2010,36968.html
[108] องคกรเพงเล็งดานสิทธิมนุษยชน, “Thailand: Serious Backsliding on Human Rights,” 20 มกราคม 2553,
http://www.hrw.org/en/news/2010/01/20/thailand-serious-backsliding-human-rights
[109] “MICT to Curb Violations of Computer Act,” สํานักขาวแหงชาติ กรมประชาสัมพันธ, 15 มิถุนายน 2553,
http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255306150051
[110] “Thailand Sets Up Unit to Tackle Websites Insulting Royals,” Agence France Press, 15 มิถุนายน 2553
[111] นายกรัฐมนตรี เปดโครงการ “ลูกเสือบนเครือขายอินเตอรเน็ต (Cyber Scout)”, ประชาไท, 1 กรกฎาคม 2553
[112] “Russian Maestro Leaves Thailand for Moscow,” บางกอก โพสท,8 กรกฎาคม 2553, http://www.bangkokpost.com
/news/crimes/185701/russian-maestro-leaves-thailand-for-moscow
[113] “DSI Sets Up Large Lese Majeste Force,” เดอะ เนชั่น, 9 กรกฎาคม 2553, http://www.nationmultimedia.com/home
/2010/07/09/politics/DSI-sets-up-large-lese-majeste-force-30133403.html
[114] รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษยอมรับมี “การเมือง” แทรกแซงถูกใชเปนเครื่องมือเผยอยากใหองคกรเปนอิสระ
เหมือน ป.ป.ช., มติชน, 12 กรกฎาคม 2553
[115] “No Death Inflicted by Crowd Control during Songkran Mayhem,” เดอะ เนชั่น, 11 กันยายน 2552,
http://www.nationmultimedia.com/2009/09/11/politics/politics_30112037.php
[116] “2 Bodies of UDD Supporters Found in Chao Phraya River,” สํานักขาวแหงชาติ กรมประชาสัมพันธ, 15 เมษายน
2552, http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255204160028
[117] องคกรเพงเล็งดานสิทธิมนุษยชน, อางแลว, เชิงอรรถ 140
[118] สุเทพไดรับการแตงตั้ง โดยเขาลาออกจากตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตั้งแตป 2552 หลังจากมีขาวอื้อฉาวเรื่อง
การทุจริตเรื่องที่ดิน ดู “Suthep Resigns as MP,” บางกอก โพสท, 17 กรกฎาคม 2553, http://www.bangkokpost.com/news
/politics/149293/suthep-resigns-as-mp
[119] เสธ.แดงถูกยิงที่ศีรษะตอหนาโทมัส ฟูลเลอร แหงนิวยอรคไทมส ดู โทมัส ฟูลเลอร และ เซด มายแดนส, “Thai
General Shot; Army Moves to Face Protesters, New York Times,13 พฤษภาคม 2553, http://www.nytimes.com/2010/05/14
/world/asia/14thai.html
[120] “Bangkok Gears Up for Protest Siege,” Associated Press, 13 พฤษภาคม 2553, http://asiancorrespondent.com
/breakingnews/bangkok-gears-up-for-protest-siege.htm
[121] “Khattiya Sawatdiphol (Seh Daeng),” New York Times, 17 พฤษภาคม 2553, http://topics.nytimes.com/top
/reference/timestopics/people/k/khattiya_sawatdiphol/index.html
[122] นิค นอสติตซ, “Nick Nostitz in the Killing Zone,” New Mandala,16 พฤษภาคม 2553, http://asiapacific.anu.edu.au
/newmandala/2010/05/16/nick-nostitz-in-the-killing-zone/
สําหรับความคืบหนาชะตากรรมของผูชุมนุมกลุมคนเสื้อแดงในรายงาน ดู “Daughter of a Slain Red Shirt Hears Story of
Father from Nick Nostitz,” ประชาไท, 21 มิถุนายน 2553, http://www.prachatai.com /english/node/1899
[123] “3 Injured as Van Trying to Clash through Security Checkpoint at Makkasan,” เดอะ เนชั่น, 15 พฤษภาคม 2553,
http://www.nationmultimedia.com/home/3-injured-as-van-trying-to-clash-through-security--30129399.html

47
[124] แจค พิโคน, “'Is it OK to Shoot Foreigners and Journalists?',” Sydney Morning Herald, 22 พฤษภาคม 2553,
http://www.smh.com.au/world/is-it-ok-to-shoot-foreigners-and-journalists-20100521-w1ur.html
[125] “Medics Banned from Entering 'Red Zones',” เดอะ เนชั่น, 16 พฤษภาคม 2553, http://www.nationmultimedia.com
/home/2010/05/16/national/Medics-banned-from-entering-red-zones-30129456.html
[126] บิล ชิลเลอร, “Why Did So Many Civilians Die in Bangkok Violence ?,” The Star, 23 พฤษภาคม 2553,
http://www.thestar.com/news/world/article/813547--why-did-so-many-civilians-die-in-bangkok-violence
[127] วันที่ 18 พฤษภาคม 1 วันกอนการใชความรุนแรงในการสลายการชุมนุมครั้งสุดทาย ส.ว. กลุมหนึ่งไดรับการตอบ
รับจากกลุมคนเสื้อแดงในการเปนตัวกลางไกลเกลี่ยครั้งสุดทายแตรัฐบาลปฎิเสธ นําไปสูการโจมตีแบบนองเลือดในเชาวัน
ตอมา
[128] แอนดริว บันคอมบ, “Eyewitness: Under Fire in Thailand,” The Independent, 20 พฤษภาคม 2553,
http://www.independent.co.uk/news/world/asia/eyewitness-under-fire-in-thailand-1977647.html
ดูเพิ่ม : Bangkok Pundit (pseud.), “What Happened at Wat Pathum Wanaram?,” Bangkok Pundit, 31 พฤษภาคม 2553,
http://asiancorrespondent.com/bangkok-pundit-blog/what-happened-at-wat-pathum-wanaram
[129] “Anupong: Soldiers Not Involved in Temple Killings,” บางกอก โพสท, 3 มิถุนายน 2553,
http://www.bangkokpost.com/news/local/179998/anupong-soldiers-not-involved-in-killing-at-temple /page-2/
[130] ความเห็นทั่วไปเรื่องสิทธิในการมีชีวิตอยู มาตรา 6, หลักการขอที่ 3, 30 เมษายน 2525
[131] กฎหมายขององคการสหประชาชาติวาดวยการใชอาวุธและปนบังคับใชอยางเปนทางการ พ.ศ. 2533
[132] เพิ่งอาง, หลักการขอที่ 3, 5.
[133] เพิ่งอาง, หลักการขอที่ 12 - 14 (เพิ่มการเนน)

48
7. ฤดูกาลใหมของการปกครองโดยทหาร
ประชาชน 90 รายถูกสังหารและอีกประมาณ 1,800 รายไดรับบาดเจ็บชวง 6 สัปดาหกอนถึงการบุกสลาย
ชุมนุมเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ชีวิตที่สูญเสียเพิ่มมากขึ้นในเหตุการณความขัดแยงแสดงใหเห็นถึงความเส
แสรงของ “กฎเกณฑประชาธิปไตย” และ “ความเคารพในหลักนิติธรรม” ซึ่งรัฐบาลอภิสิทธิ์พยายามปกปอง
มาตลอดการดํารงตําแหนง เมื่อความชอบธรรมของรัฐบาลถูกทาทายจากกลุมคนจํานวนมากที่มีการจัดตั้งมา
อยางดีและสวนใหญมาโดยสันติ อภิสิทธิ์แสดงใหเ ห็นถึงการไรความสามารถในการปกครอง และไม
สามารถปกปองแมแตสิ่งที่รัฐธรรมนูญฉบับป 2550 หลังรัฐประหารใหการคุมครองแกประชาชนไทย
แมกระทั่งกอนการชุมนุมจะเริ่มตนรัฐบาลระงับการคุมครองตามรัฐธรรมนูญโดยการประกาศใช พ.ร.บ.การ
รั ก ษาความมั่ น คงภายในราชอาณาจั ก รเพื่ อ พยายามจํ า กั ด กิ จ กรรมของกลุ ม คนเสื้ อ แดง ก อ นหน า การ
ปราบปรามการชุมนุมครั้งแรกไมกี่วันรัฐบาลยังใชอํานาจเผด็จการประกาศใช พ.ร.ก.การบริหารราชการใน
สถานการณฉุกเฉินอีก 3 เดือนถัดมา พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินยังคงมีผลบังคับใช
ตอไปอยางไมมีกําหนด
กองทัพกลับมาควบคุมประเทศนี้อีกครั้ง โดยตางจากชวงหลังรัฐประหารในป 2549 การปกครองครั้งใหมนี้
ดําเนิ นการโดยใชห ลักกฎหมายมาบดบัง กลาวอยางเจาะจงคือมาจากการใชอํ านาจโดยมิชอบผานราง
กฎหมายที่กดทับสิทธิทําใหเผด็จการทหารใหมสามารถเขาสูอํานาจโดยอยูเหนือการตรวจสอบใดๆทั้งปวง
และลิดรอนสิทธิเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรอง รวมถึงการคัดเลือกกฎหมายมาบังคับใชใหตรงกับความ
ตองการและผลประโยชนของตนเทานั้น การที่รัฐบาลปจจุบันนํา พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ
ฉุกเฉินมาใชโดยมิชอบถือเปนการลดทอนหลักนิติธรรมแทบทั้งหมด ขาดแตการประกาศรัฐประหารอยาง
เปนทางการเทานั้น อยางไรก็ตามการเสแสรงวามีความชอบธรรมทางกฎหมายของรัฐบาลนี้เปนสิ่งที่ไมควร
ประเมินผิดพลาด การบังคับใช พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินและการขยายเวลาบังคับใช
ออกไปอยางไมมีกําหนดถือเปนการรัฐประหารเงียบ (ทั้งยังถือวารุนแรงอยางไมอาจยอมรับ) ในสวนของ
รัฐบาลอภิสิทธิ์และทหารที่หนุนหลังในตอนนี้มันชัดเจนแลววา พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ
ฉุกเฉินซึ่งยังคงถูกบังคับใชตอไป ไมใชเพื่อเผชิญหนากับสถานการณฉุกเฉินแตเพื่อใหอํานาจเผด็จการแก
รัฐบาลตามที่ตองการ และเพื่อกําจัดคูแขงทางการเมือง และเพื่อดํารงอํานาจทางการเมืองที่ไดมาโดยไม
ถูกตองตอไป
พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินจึงเปนอีกสิ่งหนึ่งที่ละเมิดกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิ
พลเมืองและสิทธิทางการเมืองมาตรา 4 ที่ระบุวาการระงับสิทธิ์บางประการของกติการะหวางประเทศวาดวย
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเปนการชั่วคราวเชน ระงับสิทธิในการชุมนุมนั้นจะกระทําไดก็ตอเมื่อ
“เปนการใชโดยขยายขอบเขตอยางเครงครัดตามความฉุกเฉินของสถานการณ”

49
7.1 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรออกมาในป 2551 โดยมีการใหนิยาม “การรักษาความ
มั่นคงภายใน” อยางกวางครอบคลุมทุกทิศ โดยรวมถึง “ปฏิบัติการเพื่อปองกัน, ควบคุม, แกไข และฟนฟู
เหตุใดๆก็ตามที่อาจกอใหเกิดอันตรายโดยมาจากบุคคลหรือกลุมคนที่สรางความวุนวาย สรางความเสียหาย
ตอชีวิตหรือทรัพยสิน หรือทําใหเกิดการเสียเลือดเนื้อของประชาชน รวมถึงความสูญเสียตอชาติ [134] อยางไร
ก็ ต ามพระราชบั ญ ยั ติ ฉ บั บ นี้ อ นุ ญ าตให ใ ช ม าตรการพิ เ ศษ ข อ บั ง คั บ พิ เ ศษ เพี ย งเพื่ อ “ให เ กิ ด การฟ น ฟู
สถานการณสูสภาพปกติ ในนามของความสงบเปนระเบียบเรียบรอยของประชาชน หรือตอความมั่นคงใน
ชาติ” [135]
กฎหมายฉบับนี้ดํารงอยูภายใตอํานาจการดําเนินงานของสํานักนายกรัฐมนตรีภายใตกฎหมายฉบับนี้ระบุวา
“ในเหตุ ก ารณ ที่ ส ง ผลกระทบต อ ความมั่ น คงภายใน แต ยั ง ไม จํ า เป น ต อ งประกาศสถานการณ ฉุ ก เฉิ น
รัฐมนตรี คณะรัฐบาลจะลงมติใหกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) รับผิดชอบดานการ
ปองกัน, ปราบปราม และขจัดหรือบรรเทาเหตุการณซึ่งกระทบตอความมั่นคงภายใน ภายในพื้นที่และเวลาที่
กําหนด” กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในเปนหนวยงานสาขาหนึ่งของกองทัพซึ่งมีหนาที่ปกปอง
ความมั่นคงในชาติจากภัยภายในประเทศ [136] โดยดําเนินงานภายใตคําสั่งโดยตรงจากนายกรัฐมนตรี ผูที่ตาม
พระราชบัญญัติระบุวาเปน “ผูอํานวยการความมั่นคงภายใน” [137]
เมื่อมีการลงมติดังกลาวรัฐบาลของประเทศจะไมใชรัฐสภา, คณะรัฐมนตรี, ศาลอีกตอไป แตจะมีนายกรัฐ
มนตรีเปนผูอํานวยการ, มีผูบัญชาการทหารสูงสุดเปนรักษาการผูอํานวยการ และเสนาธิการเหลาทัพเปน
เลขาธิการ [138] สิ่งที่พอจะทําหนาที่แทรกแซงระหวาง 2 ขั้วอํานาจคือคณะรัฐบาล แตอิทธิพลนั้นต่ํามาก
เนื่องจากถูกจํากัดโดยการรับรองการพิจารณาผานนายกรัฐมนตรีผูมีอํานาจในการ “อนุมัติมติดังตอไปนี้”

(1) ใหเจาหนาที่รัฐผูเกี่ยวของกระทําการ หรืองดเวนกระทําการใดๆ


(2) หามการเขา - ออก อาคาร สถานที่ หรือพื้นที่ที่กําหนดในชวงที่มีการปฏิบัติการ เวนแตจะมีการอนุญาต
จากเจาหนาที่ผูมีคุณสมบัติ หรือเปนผูที่ไดรับการงดเวน
(3) หามการออกจากอาคารที่พักอาศัยภายในเวลาที่กําหนดไว
(4) หามการพกพาอาวุธภายนอกเขตอาคารที่พักอาศัย
(5) หามการใชเสนทางหรือยานพาหนะ หรือกําหนดสภาพการใชเสนทางหรือยานพาหนะ
(6) เพื่อสั่งการใหบุคคลกระทําหรือยับยั้งการกระทําใดๆที่เกี่ยวของกับอุปกรณไฟฟา เพื่อเปนการปองกัน
อันตรายตอชีวิต, เลือดเนื้อ หรือทรัพยสินของประชาชน [139]

50
ขอที่ 2 - 6 มีไวเพียงเพื่อเพิ่มความชัดเจน เพราะขอบเขตอํานาจของนายกรัฐมนตรีถูกระบุไวหมดในขอที่ 1
คืออํานาจในการ “ใหเจาหนาที่รัฐผูเกี่ยวของกระทําการ หรืองดเวนกระทําการใดๆ” นี่คือการใชอํานาจจาก
การอนุมัติ “มติ” ของนายกรัฐมนตรีโดยไมตองผานสภา, ไมผานการตรวจสอบโดยวิถีทางประชาธิปไตย,
ไมมีการพิจารณาของรัฐสภา มีเพียงนายกรัฐมนตรี, คณะรัฐบาล และกองทัพเทานั้นที่มีอํานาจปกครอง นี่คือ
สถานภาพความเปนนิติรัฐของประเทศไทยตั้งแตวันที่ 11 มีนาคม 2553 เปนตนมา

7.2 การประกาศสถานการณฉุกเฉิน
แมวาจะมีการประกาศใช พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรและความพยายามกําจัดการ
เคลื่อนไหวของพวกเขา แตไมสามารถขัดขวางกลุมคนเสื้อแดงได กลุมคนเสื้อแดงหลายพันคนจากทุกชน
ชั้นของสังคมพากันเขามาในกรุงเทพ เพื่อประทวงรัฐบาลปจจุบันและเรียกรองใหมีการเลือกตั้ง เพื่อเปนการ
ตอบโตผูที่แหแหนออกมาตอตานรัฐบาล นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และครอบครัวพากันหนีออก
จากที่พักในกรุงเทพไปยังคายทหารซึ่งบงชี้ใหเห็นถึงการที่อภิสิทธิ์ตองอาศัยความชวยเหลือจากเหลานายพล
เมื่อวันที่ 7 เมษายนหลังจากไตรตรองมาหลายสัปดาห รัฐบาลเพิ่มอํานาจของ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักรขึ้นอีกโดยการประกาศ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินในกรุงเทพ
และในเขต 5 จังหวัดใกลเคียง
ตามมาตรา 9 ของ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินรัฐบาลมีการสั่งหามไมใหมี “การชุมนุม
หรือรวมตัวรวมกันกระทําการตั้งแต 5 รายขึ้นไป” รวมถึง “การกระทําใดๆที่ยั่วยุใหเกิดความไมสงบ”
ภายใตความหมายดังนี้

“การกีดขวางทางจราจรในลักษณะที่ทําใหการคมนาคมตามปกติมิอาจกระทําได
การปดกั้นทางเขา - ออกอาคารหรือสถานที่ในทางที่จะเปนการกีดขวางการขนสง การทําธุรกรรม หรือการ
ดําเนินชีวิตประจําวันของประชาชนทั่วไป
การโจมตีหรือใชกําลังในทางที่จะสรางความเสียหาย ความหวาดกลัว ความวุนวาย และความวิตกกังวลตอ
ความปลอดภัยในชีวิต เลือดเนื้อ และทรัพยสิน ของประชาชน
การไมปฏิบัติตามคําสั่งของเจาหนาที่ผูมีคุณสมบัติเกี่ยวของกับการชุมนุม ผูมีเปาหมายเพื่อรักษาความสงบ
และปองกันไมใหเกิดความวุนวายตอชีวิตประจําวันของประชาชน”

การลงโทษผูที่ฝาฝนประกอบดวย “การจําคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไมเกิน 4,000 บาท” [140] นอกจากนี้


รัฐบาลยังสั่งหาม “การเผยแพรขาวสาร การผลิตซ้ํา หรือแพรกระจาย ขาวสาร สิ่งพิมพ หรือการสื่อสารดวย
ชองทางใดๆที่มีเนื้อหาสรางความหวาดกลัวตอประชาชน หรือมีการจงใจบิดเบือนขอมูลขาวสารที่กอใหเกิด

51
ความเข า ใจผิ ด ในสถานการณ ฉุ ก เฉิ น จนกระทบต อ ความมั่ น คงของรั ฐ หรื อ ความสงบเรี ย บร อ ย หรื อ
จริยธรรมอันดีของประชาชนในราชอาณาจักร” [141]
ตามมาตรา 11 ของ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินรัฐบาลมีมติจากการประชุมฝายบริหาร
โดยใหมีการขยายอํานาจพิเศษอยางไรขอจํากัด นอกจากนี้ รัฐบาลยังมีอํานาจในการ “จับกุมและกักขังบุคคล
ที่ตองสงสัยวามีสวนเกี่ยวของกับการยุยงปลุกปน สถานการณฉุกเฉิน หรือบุคคลที่โฆษณา หรือสนับสนุน
การกระทําดังกลาว” “เรียกตัวปจเจกบุคคลเพื่อรายงานตัวกับเจาหนาที่ ใหขอมูล เอกสาร หรือหลักฐานที่
เกี่ยวของกับสถานการณฉุกเฉิน” และ “สั่งหามหรือสั่งใหกระทําการใดๆที่จําเปนตอความมั่นคงของชาติ
หรือความปลอดภัยของประชาชน” [142]
พ.ร.ก.การบริ หารราชการในสถานการณ ฉุก เฉิน ใหอํา นาจรัฐบาลในการสถาปนาอํานาจทางกฎหมาย
จอมปลอมซึ่งเปนผลใหเกิดการสลายการชุมนุมที่ผิดพลาดเชน กรณีสลายการชุมนุมกลุมคนเสื้อแดงเมื่อ
วันที่ 10 เมษายน เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคมวันที่ เสธ.แดง ถูกลอบสังหารมีการขยาย พ.ร.ก.การบริหารราชการ
ในสถานการณฉุกเฉินไปยัง 15 จังหวัดในภาคกลาง, ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในวันที่มีการ
สลายการชุมนุมกลุมคนเสื้อแดงเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคมมีการใช พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ
ฉุกเฉินกินพื้นที่กวา 24 จังหวัดจาก 76 จังหวัดของประเทศ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน
ยังคงมีผลบังคับใช แมรัฐบาลจะยกเลิกประกาศหามออกนอกเคหะสถาน (เคอรฟวส) ลาสุด พ.ร.ก.การ
บริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินยังคงมีผลบังคับใชใน 19 จังหวัดจนถึงตนเดือนตุลาคมโดยไมมีที่ทาวา
จะยกเลิก (หมายเหตุจากผูแปล : มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคมมีการยกเลิก พ.ร.ก.การบริหาร
ราชการในสถานการณฉุกเฉิน 3 จังหวัด สวนอีก 16 จังหวัดที่ยังคง พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ
ฉุกเฉินประกอบดวยกรุงเทพมหานคร, จ.นนทบุรี, จ.พระนครศรีอยุธยา, จ.ปทุมธานี, จ.เชียงใหม, จ.เชียงราย
, จ.อุบลราชธานี, จ.มหาสารคาม, จ.หนองบัวลําภู, จ.มุกดาหาร, จ.อุดรธานี, จ.นครราชสีมา, จ.ชัยภูมิ, จ.
ขอนแกน, จ.ชลบุรี และ จ.สมุทรปราการ)
นี่เปนเพียงการแทนที่หลักนิติรัฐดวยความคิดเพอฝนของพวกเขา ดวยวิธีนี้ทําใหเสรีภาพของพลเมืองและ
สิ ท ธิ ท างการเมื อ งของชาวไทยซึ่ ง มี ห ลั ก ประกั น คื อ รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ป พ.ศ. 2550 ถู ก ระงั บ ชั่ ว คราว
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ที่นายกรัฐมนตรีและกองทัพผูหนุนหลังหวังวาจะนํามาใชหยุดยั้งการทาทายตออํานาจ
การปกครองอันไมชอบธรรมของพวกเขา บรรดาผูทาทายเหลานี้ยังคงตอตานโดยมีราคาที่ตองจายคือชีวิต,
อวัยวะ หรือเสรีภาพของพวกเขา
ควรบันทึกดวยวาวิธีการที่ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินบังคับใชหลังการสลายการชุมนุม
กลุมคนเสื้อ แดงนั้ น พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุก เฉินสรางวิธีปฏิบัติ ของรัฐบาลเปน 2
มาตรฐาน นอกจากที่แกนนําหลัก นปช. ยังคงถูกควบคุมตัว และมีความเปนไปไดที่จะถูกตัดสินประหาร
ชีวิตจากขอหากอการราย และเมื่อวันที่ 10 มิถุนายนมีรายงานวารัฐบาลจับผูที่เกี่ยวของกับกลุมคนเสื้อแดง
417 ราย สวนใหญถูกตั้งขอกลาวหาฝาฝน พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน ในจํานวนนี้มี
หลายรายที่ถูกสอบสวนและตัดสินโทษภายในเวลาไมกี่ชั่วโมงหลังจากถูกจับ และเมื่อวันที่ 26 มิถุนายนนาย

52
สมบัติ บุญงามอนงค (บ.ก.ลายจุด) นักกิจกรรมถูกควบคุมตัวและตั้งขอหาฝาฝน พ.ร.ก.การบริหารราชการ
ในสถานการณฉุกเฉิน ขณะที่เขาผูกริบบิ้นสีแดงที่สี่แยกราชประสงคเพื่อรําลึกถึงผูที่ถูกสังหารโดยรัฐซึ่งเปน
เหตุการณที่เกิดขึ้นในเดือนกอนหนา
การที่รัฐบาลควบคุมบังคับกลุมคนเสื้อแดงอยางสุดขั้วขัดแยงอยางยิ่งกับการผอนปรนใหกับการฝาฝน
พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินที่มีรูปแบบใกลเคียงกันของพันธมิตรฯ/กลุมคนเสื้อหลากสี
และองคกรของพวกเขาที่กระทําชวงเวลาเดียวกัน ไมมีใครถูกจับชวงที่นักกิจกรรมฝายสนับสนุนรัฐบาลนับ
พันชุมนุมที่ลานพระบรมรูปทรงมาและ ถ.สีลม ในการฝาฝน พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ
ฉุกเฉินที่หามการรวมกลุมทางการเมืองใดๆ ในขณะที่กลุมคนเสื้อแดงชุมนุมที่สี่แยกราชประสงคเมื่อวันที่
22 เมษายนกลุมคน “เสื้อหลากสี” ถูกตํารวจไลตามหลังจากผูชุมนุมเหลานี้โจมตีที่ชุมนุมของกลุมคนเสื้อ
แดงซ้ําแลวซ้ําเลา แตกลุมคนเสื้อหลากสีไดรับการอารักขาอยูหลังแนวทหาร คลิปวิดีโอแสดงใหเห็นวา
เจาหนาที่ทหารเล็งปนมายังศีรษะของเจาหนาที่ตํารวจซึ่งอยูชวงไลจับกองกําลังของฝายสนับสนุนรัฐบาล

7.3 การควบคุมขอมูลขาวสาร
ชวงเวลาของการดํารงตําแหนงรัฐบาลอภิสิทธิ์พยายามควบคุมการแพรกระจายขอเท็จจริงและความคิดเห็นที่
มีตอเหตุการณที่เปนไปในทางตรงกันขามกับรัฐบาลดวยการใช พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอรอยางเขมขน โดยสภานิติบัญญัติแหงชาติ [143] ที่แตงตั้งโดยทหารผานกฎหมายนี้ออกมาเมื่อวันที่
10 มิถุนายน 2550 โดยสิ่งที่แทรกอยูในเนื้อหาของ พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรคือ
บทบัญญัติที่เกี่ยวกับการระบุความผิดเกี่ยวกับการเผยแพรขอความในคอมพิวเตอร “ที่อาจกระทบกระเทือน
ตอความมั่นคงแหงราชอาณาจักร … หรือมีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน [144] ซึ่งบทบัญญัติที่คลุมเครือนี้ตองตีความโดยอัตวิสัยอยางยิ่ง และดวยความดกดื่นของการ
สื่อสารดวยอินเทอรเน็ตซึ่งมีเครื่องมือทลายการปดกั้นอยางทรงพลังทําใหรัฐบาลพบวามีความจําเปนตองใช
กฎหมายที่มีเนื้อหากีดกันเสรีภาพนี้ ในทางตรงขามกับสิ่งที่กฎหมายบัญญัติชวงที่มีการชุมนุมรอบลาสุด
เว็บไซตสวนใหญที่ตกเปนเปาหมายของรัฐบาลจึงถูกสั่งปดกั้น โดยไมมีการยื่นเรื่องรองขอตอศาล
เมื่อไมนานมานี้ศูนยอํานวยการรักษาความสงบเรียบรอย (ศอ.รส.) ซึ่งตั้งตาม พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักรและศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉินซึ่งตั้งหลังจากประกาศใช พ.ร.ก.การ
บริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินเพิ่มมาตรการยับยั้งการเผยแพรขอเท็จจริงที่รัฐบาลไมตองการให
เปดเผย และขอมูลที่รัฐบาลไมพอใจผานการบังคับใชกฎหมายโดยอางตาม พ.ร.ก.การบริหารราชการใน
สถานการณฉุกเฉิน โดยทั้งศูนยอํานวยการรักษาความสงบเรียบรอยและศูนยอํานวยการแกไขสถานการณ
ฉุกเฉินปดกั้นเว็บไซตโดยอางตามประกาศสถานการณฉุกเฉิน ในขณะที่เว็บไซตที่ถูกปดนี้มักเกี่ยวของกับ
การชุมนุมตอตานรัฐบาล, เว็บขาวอิสระ และเว็บไซตที่เปดใหแสดงความคิดเห็นรวมอยูดวย [145] ทั้งนี้ตามที่

53
โฆษกรัฐบาลแถลงชี้แจงเว็บไซตที่ถูกปดเนื่องจากเผยแพรขอมูลที่ “เปนเท็จ” เชน “อภิสิทธิ์อนุญาตใหใช
กําลังจัดการผูชุมนุม [146]
ในเวลาเดียวกันรัฐบาลปดสถานีโทรทัศนพีเพิลแชนแนล, นิตยสาร 5 ฉบับ, สถานีวิทยุชุมชนซึ่งดําเนินการ
โดยผูชุมนุมกลุมคนเสื้อแดง ทั้งนี้โดยอางตามประกาศ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินและ
การป ด กั้ น ถือ เปน เรื่ อ งจํ า เป น อีก ครั้ งหนึ่ ง โดยนายอภิ สิ ทธิ์ ร ะบุ ว า “เพื่ อ ฟน ฟู สัน ติ ภ าพและความสงบ
เรียบรอยและเพื่อหยุดการเผยแพรขอมูลที่ผิดไปยังสาธารณชนชาวไทย” [147]

7.4 กลุมคนเสื้อแดงนะหรือคือผูกอการราย
พ.ร.ก.การบริ ห ารราชการในสถานการณ ฉุ ก เฉิ น อ า งถึ ง สถานการณ ที่ รั ฐ บาลอาจจะระงั บ สิ ท ธิ ต าม
รัฐธรรมนูญของประชาชนหลายทางซึ่งกอใหเกิดคําถามตอความเหมาะสมของการประกาศใชและการยืด
อายุพระราชกําหนดฉบับนี้ออกไปอยางไมมีกําหนดโดยอางตามมาตรา 11 ของ พ.ร.ก.การบริหารราชการใน
สถานการณฉุกเฉินซึ่งใหอํานาจรัฐบาลอยางกวางขวางที่สุด เปนตัวอยาง “ในกรณีที่สถานการณฉุกเฉินมี
การกอการราย การใชกําลังประทุษรายตอชีวิต รางกาย หรือทรัพยสิน หรือมีเหตุอันควรเชื่อไดวามีการ
กระทําที่มีความรุนแรงกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยในชีวิตหรือทรัพยสินของรัฐหรือ
บุคคล” ขออางในการใชอํานาจอยางเผด็จการทําใหรัฐบาลตองทําการรณรงคผานสื่อโดยมีเปาหมายที่จะ
อธิ บายภาพของกลุมคนเสื้ อแดงวา เป นขบวนการเคลื่อนไหวที่ใ ช ความรุ น แรงอันเปน ภั ย ต อความเปน
เอกภาพและความมั่นคงของชาติไทย
รัฐบาลยังคงยืนยันเหตุผลในการบังคับใช พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินตอไปโดยกลาว
อางถึงความเคลื่อนไหวตางๆที่เกิดขึ้นภายใตการจัดการของ นปช. (และความเคลื่อนไหวในขอบเขตที่กวาง
กว า ในนามของกลุ ม คนเสื้ อ แดง) รวมถึ ง ข อกลา วหาว า กลุ ม คนเสื้ อ แดงกํ า ลัง เคลื่ อนไหวเพื่ อ ให บ รรลุ
เปาหมายทางการเมือง
ตั้งแตการชุมนุมเริ่มขึ้น แมวารัฐบาลจะพยายามทําใหประชาชนรูสึกวาผูชุมนุมกลุมคนเสื้อแดงถูกจาง หรือ
ลา งสมองให เ ข า ร ว มการชุ ม นุ ม แต รั ฐ บาลยั ง ใส ใ จ/ระวั ง ที่ จ ะย้ํ า ว า อยา งน อ ยที่ สุด ความคั บข อ งใจทาง
เศรษฐกิจของกลุมคนเสื้อแดงเปนเรื่องชอบธรรมตามกฎหมาย สิ่งที่เรียกกันวา “แผนปรองดอง” ซึ่ง
นายกรัฐมนตรีประกาศในเดือนพฤษภาคม มีคํามั่นสัญญาวานโยบายทางสังคมใหมจะแกปญหาความไมเทา
เทียมทางสังคมที่ขยายไปทั่วประเทศได ขณะเดียวกันรัฐบาลละเลยวาระทางการเมืองของ นปช. เรื่องความ
เปนประชาธิปไตยที่แทจริง ในดานหนึ่งรัฐบาลอภิสิทธิ์ปฏิเสธขอกลาวหาเรื่องความไมชอบธรรม และ
โตเถียงวาเขาขึ้นสูอํานาจผานกระบวนการที่เปนประชาธิปไตยอยางแทจริง ขณะที่อีกดานรัฐบาลทําใหขอ
เรียกรองของกลุมคนเสื้อแดงที่ตองการใหมี “การทําใหประเทศไทยเปนประชาธิปไตย” กลายเปนสิ่งที่ไมมี
ความหมายอะไรมากไปกวาการกระทําที่ตั้งใจจะปกปดเปาหมายบางอยางไวเบื้องหลัง

54
ขอกลาวหาที่ถูกนํามาใชกับกลุมคนเสื้อแดงมากที่สุดคือการบอกวาวัตถุประสงคที่แทจริงของพวกเขาคือการ
สราง “รัฐไทยใหม” ซึ่งจะทําใหปราศจากสถาบันกษัตริยซึ่งเปนที่เคารพสักการะ และแทนที่ดวยระบอบ
สาธารณรัฐที่ปกครองโดยประธานาธิบดีซึ่งอยางนอยชวงเริ่มตนสันนิษฐานกันวาจะนําโดย ทักษิณ ชินวัตร
ขอกลาวหานี้มีความเปนมาอยางยาวนาน ดังที่กลาวไปแลววาฝายตรงขามของทักษิณอางเหตุผลเรื่องความ
จําเปนในการปกปองสถาบันกษัตริยในการตอสูเพื่อกําจัดเขาออกจากตําแหนง ขอกลาวหานี้ติดตอมาถึงกลุม
คนเสื้อแดงแมวาแกนนําจะปฏิเสธเรื่องนี้ซ้ําแลวซ้ําเลา
หลังจากประกาศใช พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินรัฐบาลแถลงขาวตอสื่อมวลชนถึงการ
คนพบเครือขายซึ่งมีความสลับซับซอน และเกี่ยวพันกับแนวรวมที่สมรูรวมคิดกันโคนลมสถาบันกษัตริย
หลักฐานเพียงอยางเดียวที่ศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉินแสดงคือแผนผังที่ยุงเหยิงซึ่งโยงรายชื่อ
หลายสิบชื่อของแกนนํา นปช., นักการเมืองฝายตรงขาม, นักเขียน/บรรณาธิการสื่อที่เห็นตาง, อาจารย
มหาวิทยาลัย และนักธุรกิจจากคนหนึ่งไปสูอีกคนหนึ่ง อภิสิทธิ์ใช “การคนพบ” นี้เปนขออางในการคง
พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน โดยอางวาอํานาจที่เพิ่มขึ้นมานี้จะชวยใหศูนยอํานวยการ
แกไขสถานการณฉุกเฉินมองทะลุถึงแผนการและดําเนินการอยางเด็ดขาดขึ้นเพื่อปกปองสถาบันกษัตริย [148]
ในการแถลงของรัฐบาลตอสาธารณะหลายครั้งนั้นจากเดิมที่กลุมคนเสื้อแดงถูกกลาวหาวาเปนภัยตอความ
มั่นคงของชาติถูกขยายจนกลายเปน “ผูกอการราย” กลุมคนเสื้อแดงถูกกลาวหาวายั่วยุหรือกระทําการเพื่อให
เกิดความรุนแรง หลังสลายการชุมนุมรัฐบาลยื่นฟองขอหากอการรายกับแกนนํา นปช. หลายสิบคนรวมถึง
ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งถูกกลาวหาโดยปราศจากหลักฐานวาเกี่ยวของโดยตรงกับการกระทําการกอการรายและ
เปนผูสนับสนุนทางการเงินแกการชุมนุม
กลุมบุคคลระหวางประเทศเพื่อแกไขวิกฤตการณ (International Crisis Group : ICG) กลุมแกปญหา
วิกฤติการณระหวางประเทศลงความเห็นวา “เปนเรื่องยากที่จะอธิบายวาบทบาทของทักษิณตอเหตุการณ
ความรุนแรงเมื่อเร็วๆ นี้เขาขายคําจํากัดความของการกอการรายแบบที่แพรหลายในระหวางประเทศ” [149]
แกนนํา นปช. 10 รายไมไดรับอนุญาตใหประกันตัวตั้งแตหลังการปราบปรามเปนตนมา
แมวาจะมีการใชคารมที่เผ็ดรอนของผูปราศรัยบางราย แตแทบจะไมมีหลักฐานใดเลยที่เชื่อมโยง นปช. และ
แกนนําหลักเขากับเหตุการณความรุนแรงที่พวกเขาถูกกลาวหาวาเปนผูลงมือกระทํา
ประการแรก : รัฐบาลลมเหลวในการหาขอมูลที่เชื่อถือไดที่จะโยงแกนนํา นปช. เขากับเหตุระเบิดหลาย
สิบครั้งที่เกิดขึ้นกับธนาคาร, กรมทหาร, สถานที่ราชการ, ที่ทําการพรรค, บานพักสวนตัวของนาย บรรหาร
ศิลปอาชา นักการเมืองพรรครวมรัฐบาลชวงเริ่มตนการชุมนุม ถึงแมจะมีผูสังเกตการณบางรายมองวามีกลุม
อื่นนอกเหนือจากกลุมคนเสื้อแดงที่ไดประโยชนมากกวาจากการสรางบรรยากาศความกลัวที่เกิดจากเหตุ
ระเบิดที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องนี้ แตรัฐบาลกลับกลาวหากลุมคนเสื้อแดงโดยอัตโนมัติ เหตุระเบิดกอนการ
ชุ ม นุ ม จะเริ่ ม ไม น านเป น เครื่ อ งมื อ เพื่ อ ให รั ฐ บาลประกาศใช พ.ร.บ.การรั ก ษาความมั่ น คงภายใน
ราชอาณาจักร ขณะที่เหตุระเบิดที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นมีความสําคัญในการใชเปนเหตุผลในการประกาศ
สถานการณฉุกเฉิน อีกดานหนึ่งกรมสอบสวนคดีพิเศษประกาศโครมวาเมื่อวันที่ 20 มีนาคมกลุมคนเสื้อแดง

55
วางแผนโจมตีวัดพระศรีรัตนศาสดารามซึ่งเปนหนึ่งในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของไทย ดวยเครื่องยิงจรวด
อารพีจีแตลมเหลว โดยอางอิงจาก “คํารับสารภาพ” ของชายคนหนึ่งซึ่งระบุวาไดรับเงินจากนักการเมืองคน
หนึ่งใหปฏิบัติการระเบิดครั้งนี้ [150] นับตั้งแตรัฐบาลออกมากลาวอางถึงแผนการดังกลาวก็ไมมีอะไรใหรับรู
อีกหลังจากนั้น
ประการที่ 2 : ขณะที่ยังไมทราบวา “ชายชุดดํา” ซึ่งดูเหมือนวาจะเปนผูสังหารเจาหนาที่ทหารชวงการ
ปะทะกันเมื่อวันที่ 10 เมษายนเปนใคร หนวยรบพิเศษนี้ถูกมองวาเปนเจาหนาที่ทหารที่ไดรับการฝกฝนมา
อยางดีไมวาจะเกษียณหรือยังปฏิบัติราชการอยูก็ตาม [151] แมวารัฐบาลจะอางวาคนเหลานี้ทํางานใหกับกลุม
คนเสื้อแดง โดยอาจปฏิบัติตามคําสั่งของ พล.อ.ขัตติยะ สวัสดิผล (เสธ.แดง) แตรัฐบาลไมเคยมีหลักฐานเพื่อ
สนับสนุนการกลาวอางนั้น ในหนังสือพิมพ เดอะ เนชั่น ซึ่งเปนสื่อที่สนับสนุนกลุมอํานาจเกานาย อาวุธ ปา
นะนันท คอลัมนิสตหัวอนุรักษคาดการณเมื่อเร็วๆนี้วา การสังหาร พล.อ. รมเกลา ธุวธรรม นาจะมีเกี่ยวของ
กับการที่กลุมทหารเสือราชินีและ “บูรพาพยัคฆ” [152] ซึ่งครองอํานาจในกองทัพ
ประการที่ 3 : รัฐบาลโทษวาเปนฝมือของ นปช. โดยทันทีหลังมีการโจมตีดวยระเบิดเอ็ม 79 ที่สถานี
รถไฟฟาบีทีเอส สถานีศาลาแดงชวงการเผชิญหนากันของกลุมคนเสื้อแดงและกลุมคน “เสื้อหลากสี” ซึ่ง
เปนฝายสนับสนุนรัฐบาล เมื่อวันที่ 22 เมษายนอันเปนเหตุใหมีผูเสียชีวิต 1 ราย ขณะที่ผูตองสงสัยซึ่งถูกจับ
ในตอนแรกกลับถูกปลอยตัวอยางรวดเร็วขัดกับการลงความเห็นของศูนยอํานวยการแกไขสถานการณ
ฉุกเฉินที่วาระเบิดถูกยิงมาจากพื้นที่ชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงใกลกับอนุสาวรียรัชกาลที่ 6 มีประจักษพยาน
ซึ่งอยูในกลุมผูชุมนุมฝงสนับสนุนรัฐบาลอางวาระเบิดถูกยิงมาจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณที่อยูในบริเวณ
ใกลเคียง [153]
ประการที่ 4 : รัฐบาลเตือนประชาชนหลายครั้งวา กลุมคนเสื้อแดงมีอาวุธรายแรงและมีคลังอาวุธขนาด
ใหญอยูในที่ชุมนุม
หลายวันหลังเหตุสังหารหมู 13 - 19 พฤษภาคมศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉินแสดงอาวุธซึ่งนอย
กว า ที่ค าด โดยอ า งว าถู ก พบที่ สี่แ ยกราชประสงค ชว งปฏิ บั ติก ารเคลีย ร พื้น ที่ ตอ ผู สื่อ ข าวและทู ต านุ ทู ต
ตางประเทศ [154] ดวยคลังอาวุธที่ไมมากมายนัก เทียบกับตัวเลขผูประสบภัยที่ไมไดดุลกันในการสลายการ
ชุมนุมเผยใหเห็นวาการมีอาวุธรายแรงในกลุมคนเสื้อแดงนั้นเปนเรื่องไมสลักสําคัญ จากการรายงานจนถึง
วันที่ 19 พฤษภาคมกลุมคนเสื้อแดงตอบโตทหารดวยอาวุธที่ทําขึ้นเองหรืออาวุธโบราณขนาดเล็ก ขณะที่มีผู
ชุมนุมนอยกวาหยิบมือที่ถูกพบจริงๆวาใชปนและระเบิด
ทายที่สุดรัฐบาลยืนยันวาเหตุเพลิงไหมที่เกิดขึ้นทั่วกรุงเทพจํานวน 39 แหงนั้นเกิดขึ้นจาก “การวางแผนและ
การเตรียมการอยางเปนระบบ” [155] อยางไรก็ตามศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉินไมสามารถอาง
หลักฐานที่นาเชื่อถือวามีการสมรูรวมคิด แกนนํา นปช. สวนใหญถูกควบคุมตัวชวงที่มีการวางเพลิงและ
ประกาศใหผูชุมนุมสลายการชุมนุมไปแลว ยิ่งไปกวานั้นคําถามที่สําคัญยังคงเปนเรื่องของเวลาที่เกิดเหตุที่
หนาหางสรรพสินคาเซ็นทรัลเวิลด และความเสียหายจากการกระทําของกองทัพซึ่งสงผลตอความรวดเร็วใน
การเดินทางไปยังที่เกิดเหตุของเจาหนาที่ดับเพลิงเพื่อดับไฟ ที่เลวรายที่สุดคือมีหลักฐานบงชี้วาเพลิงนั้นถูก

56
จุดขึ้นดวยความขุนของหมองใจของกลุมคนเสื้อแดงในสภาพไรการนํา ผูที่ไดรูเห็นชวงเวลาแหงการสังหาร
หมูซึ่งทหารไดคร าชีวิตคนในครอบครัว, เพื่อน และเพื่อนรว มอุดมการณของพวกเขา แตแมในบริบท
เช น นั้ น ก็ ต ามการทํ า ลายอาคารพาณิ ช ย ที่ ทํ า ประกั น ภั ย อยู แ ล ว ถื อ เป น เรื่ อ งที่ อ ภั ย ให ไ ม ไ ด ขณะที่
โศกนาฏกรรมของมนุษยที่เปดเผยตัวกอนจะเกิดเหตุการณการวางเพลิงที่กลุมคนเสื้อแดงถูกหาวาเปนผูกอ
ขึ้นกลับเปนเรื่องที่ไมยากเกินกวาจะเขาใจ
แมจะขาดแคลนพยานหลักฐานที่นาเชื่อถือ แตการวาดภาพกลุมคนเสื้อแดงในฐานะ “ผูกอการราย” ชวย
สรางเหตุผลสนับสนุนใหฝายรัฐบาลใชอํานาจเผด็จการ และอางเปนความจําเปนในการสลายการชุมนุมดวย
ความรุนแรงอยางที่เคยทําเมื่อวันที่ 10 เมษายนอีกครั้ง และนําไปสูการสลายไปของการประทวงเมื่อวันที่ 19
พฤษภาคม
มั น มี ค า ควรแก ก ารหมายเหตุ ด ว ยว า การวาดภาพป ศ าจอย า งเป น ระบบให กั บ ผู ชุ ม นุ ม ซึ่ ง เป น ฝ า ยนิ ย ม
ประชาธิปไตยเพื่อสรางการสนับสนุนจากสาธารณะใหแกฉากตอเนื่องของความรุนแรงโดยรัฐเปนเทคนิคที่
ถูกใชมาอยางยาวนานในประเทศไทย ในเหตุการณเมื่อไมนานนี้เชนกันในเหตุการณพฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535
ผูประทวงถูกวาดภาพวาเปน “นักปฏิวัติ” หัวรุนแรง ดังนั้นรัฐบาลทหารจึงทําเชนเดียวกับที่ทําอยูขณะนี้คือ
กลาวหาผูประทวงวาตองการจะลมลางระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข [156] และ
เชนเดียวกับที่ทําอยูขณะนี้รัฐบาลทหารประกาศสถานการณฉุกเฉิน และประกาศวาปฏิบัติการที่รุนแรงจะถูก
นํามาใชเพื่อจัดการกับ “ผูกอจลาจล” [157] เชนเดียวกับที่ทําอยูขณะนี้รัฐบาลทหารอางวาทหารยิงปนเพียงเพื่อ
ปองกันตัว [158]
ความแตกตางที่สําคัญระหวางเหตุการณปจจุบันกับเหตุการณกอนหนานั้นคือ ในป พ.ศ. 2535 ผูคนใน
กรุงเทพแสดงทาทีรังเกียจตอการสังหารหมูและความพยายามปกปดการกระทําของทหาร ขณะที่ครั้งนี้คน
ชั้นกลางระดับบนในกรุงเทพปรบมือใหกับการสังหารหมูซึ่งรัฐบาลทหารดําเนินการดวยแรงจูงใจที่จะ
หลีกเลี่ยงการเลือกตั้งซึ่งดูเหมือนวาพรรคที่สนับสนุนตอผลประโยชนของกลุมอํานาจเกาจะตองพายแพ
การวาดภาพกลุมคนเสื้อแดงอยางเปนระบบโดยคณะทหารในปจจุบันยิ่งเปนการย้ําเตือนอยางเดนชัดถึง
วิ ธี ก ารที่ ก องทั พ ใช อ า งต อ สาธารณะในการฆาตกรรมนั ก ศึ ก ษาผู นิ ย มประชาธิ ป ไตยหลายสิ บ ชี วิ ต ที่
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 โดยมีบางรายถูกขมขืน, ทรมาน, ทําใหพิการ หรือเผาทั้ง
เปน [159] คลายกับกลุมคนเสื้อแดง นักศึกษาในธรรมศาสตรถูกกลาวหาดวยความเท็จวามีคลังแสงขนาดใหญ
อยูในหอประชุมของมหาวิทยาลัยคลายกับกลุมคนเสื้อแดง นักศึกษาเหลานั้นถูกลดทอนความเปนมนุษย
ผานภาษาของการฆาลางเผาพันธุ โดยการกลาวถึงพวกเขาในฐานะสัตวชั้นต่ํา, ไมใชคนไทย และดวยเพลง
“หนักแผนดิน” ซึ่งเปนเพลงปลุกใจที่มีชื่อเสียงมากชวงทศวรรษ ค.ศ. 1970 (ถูกนํามาปดฝุนครั้งลาสุดโดย
พั นธมิ ตรฯ) และที่ เ หมื อ นกั น อย า งมากระหวา งกลุ มคนเสื้ อ แดงและนั ก ศึ ก ษาในยุ คนั้น คือ พวกเขาถู ก
กลาวหาวากระทําการคุกคามสถาบันกษัตริย, ถูกแทรกซึมโดยตางชาติ และเผยแพรแนวคิดหัวรุนแรง ในป
พ.ศ. 2519 นักศึกษาถูกปายสีวาเปน “คอมมิวนิสต” วันนี้รัฐบาลพัฒนาศัพทใหมเพื่อใหเขากับบริบทภูมิ
รัฐศาสตรที่เปลี่ยนไปและปกปายใหกับกลุมคนเสื้อแดงวาเปน “ผูกอการราย”

57
วิธีที่กองทัพจัดการกับกลุมคนเสื้อแดงนั้นชวนรําลึกไปถึงเหตุการณการปราบปรามนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตรเมื่อ 34 ปที่ผานมา ในป พ.ศ. 2519 กองทัพอาศัยกองกําลังของกลุมฝายขวาราชานิยมสุดโตงซึ่ง
ทําตัวเปนศาลเตี้ยเชน ลูกเสือชาวบาน และกลุมกระทิงแดงในการสังหารหมูนักศึกษา การใชความรุนแรงใน
ครั้งนั้นเปนสิ่งที่ผสานสอดคลองไปกับขออางในการทํารัฐประหาร เชนเดียวกันปลายเดือนเมษายน 2553
รัฐบาลอาศัยกลุมศาลเตี้ยซึ่งเปนกองกําลังฝายขวาราชานิยมซึ่งสวนใหญคือมวลชนของพันธมิตรฯที่หันมา
สวม “เสื้อหลากสี” ทําการยั่วยุใหเกิดการเผชิญหนาที่มีแนวโนมของความรุนแรงในพื้นที่สีลม เหมือนกับที่
รัฐบาลทหารชุดปจจุบันเปนอยู ยิ่งไปกวานั้นรัฐบาลที่ถูกแตงตั้งโดยทหารในป พ.ศ. 2519 (นําโดยนาย
ธานินทร กรัยวิเชียร ซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงองคมนตรี) อยูในฐานะที่ตองรับผิดชอบอยางเต็มที่ตอเหยื่อ
ของการสังหารหมู นี่จึงเปนเหตุใหเกิดการสรางระบบการปดกั้นอยางเขมงวด สรุปอยางรวบรัดชัดเจนผูที่
ฆาตกรรมนักศึกษาซึ่งไมมีการกระทําผิดใดๆ, ไลลาฝายตอตานอยางไมลดราวาศอก, กดดันผูคนจํานวน
หลายพันคนใหหลบหนีออกนอกประเทศ หรือเขารวมกับพรรคคอมมิวนิสตในภาคเหนือและอีสาน เปนที่
นาสังเกตวาในป พ.ศ. 2519 และ พ.ศ. 2553 นั้น การที่รัฐบาลวาดภาพปศาจอยางเปนระบบใหกับผูชุมนุม
เรียกรองนั้นดูจะประสบความสําเร็จในการสรางความหวาดกลัวใหกับชนชั้นกลางระดับบนในกรุงเทพ หรือ
อยางนอยรูสึกมั่นคงกับการไมแยแสของตัวเอง ยิ่งไปกวานั้นสิ่งที่แตกตางจากเหตุการณความรุนแรงของรัฐ
ในป พ.ศ. 2516 และ พ.ศ. 2535 คือ การสังหารหมูในป พ.ศ. 2519 และ พ.ศ. 2553 ไมไดสงผลใหกษัตริย
ทรงเขามาแทรกแซง
เสนขนานทางประวัติศาสตรชี้ใหเห็นขอเท็จจริงวากระแสการชุมนุมและความรุนแรงระลอกลาสุดนั้นมา
จากตนรางเดียวกัน อันสงผลใหเกิดเหตุการณ พ.ศ. 2516, 2519 และ 2535 จากกรณีทั้งหมดที่เกิดขึ้นกลุมคน
เสื้อแดงเรียกรอง “ประชาธิปไตย” กลับถูกอธิบายโดยรัฐบาลวาเปนเพียงฉากหนาของอุดมการณที่คุกคาม
ความมั่นคงแหงรัฐไทย จากกรณีทั้งหมดที่เกิดขึ้นกอนหนานี้กลุมคนเสื้อแดงมีสวนรวมในการกอความ
รุนแรงบางประการ, ปลนสะดม และทําลายทรัพยสินสวนมากในสถานการณเมื่อพวกเขาถูกโจมตี แตพวก
เขาไมใช “ผูกอการราย” ติดอาวุธ หรือ “นักปฏิวัติมารกซิสท” ดังที่รัฐบาลอุปโลกนใหพวกเขาเปน อยางไรก็
ตามจากกรณีทั้งหมดที่เกิดขึ้นกอนหนานี้ขอกลาวหาเรื่องอุดมการณแบบสุดโตงและมีแนวโนมจะกอความ
รุนแรงเปนเครื่องมือสําคัญที่กองทัพสรางขึ้นเพื่อสรางความชอบธรรมในการกําหนดมาตรการปราบปราม
พิเศษ และยิงผูชุมนุมที่ปราศจากอาวุธจํานวนมาก โดยไดรับการยกเวนโทษอยางเต็มพิกัด และอยางที่เคย
เปนมากลุมอํานาจเกาของไทยตอบรับการเรียกรองประชาธิปไตยดวยการทําลายความเปนมนุษยของฝาย
ตรงขาม, ลมลางหลักนิติรัฐ และการละเมิดสิทธิมนุษยชนในระดับที่กวางขวาง

[134] พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551, มาตรา 3


[135] เพิ่งอาง, มาตรา 3

58
[136] For a brief account of ISOC’s disturbing human rights record, ดู พอล บุษบารัตน, “Thailand, International
Human Rights and ISOC,” New Mandala, 27 มกราคม 2552, http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2009
/01/27/thailand-international-human-rights-and-isoc/
[137] เพิ่งอาง, มาตรา 4 - 5
[138] เพิ่งอาง, มาตรา 5
[139] เพิ่งอาง, มาตรา 18
[140] ประกาศศู นย อํา นวยการแก ไ ขสถานการณฉุ ก เฉิน เรื่ อ ง หา มมิ ให มีก ารชุ ม นุ ม หรือ มั่ว สุม , ประกาศ ณ วั น ที่ 8
เมษายน 2553
[141] ขอกําหนดออกตามความในมาตรา 9 (1) แหงพระราชกําหนดการบริหาราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
[142] ขอกําหนดออกตามความในมาตรา 9 (1) แหงพระราชกําหนดการบริหาราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
[143] การแปล พ.ร.บ.ว าดวยการกระทําความผิดเกี่ย วกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ดู ไดที่ http://www.iclrc.org
/thailand_laws/thailand_cc.pdf.
[144] พ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550, มาตรา 3 (นิยาม “ขอมูลคอมพิวเตอร” ซึ่งรวมถึง
“คําแถลง”) และมาตรา 20
[145] คําแถลงจากคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย, “THAILAND: Censorship and Policing Public Morality,” 9
เมษายน 2553, http://www.ahrchk.net/statements/mainfile.php/2010statements/2498/
[146] “Thailand Government Shuts Down Protesters’ TV Station,” The Guardian, 8 เมษายน 2553,
http://www.guardian.co.uk/world/2010/apr/08/thailand-bangkok-protests
[147] “Thai Protesters Demand Government Reopen TV Station,” CNN World, 8 เมษายน 2553, http://www.cnn.com
/2010/WORLD/asiapcf/04/08/thailand.protests/index.html.
[148] “Govt Claims Plot Targets King,” บางกอก โพสท, 27 เมษายน 2553, http://www.bangkokpost.com/news/local
/175917/govt-claims-plot-targets-king
[149] กลุมบุคคลระหวางประเทศเพื่อแกไขวิกฤตการณ, “Bridging Thailand’s Deep Divide,” ICG Asia Report 192, 5
กรกฎาคม 2553, หนา 18, http://www.crisisgroup.org/~/media/Files/asia/south-east-asia/thailand/192_Bridging%20
Thailands %20Deep%20Divide.ashx
[150] “Ex-policeman Held in RPG Case,” เดอะ เนชั่น, 1 พฤษภาคม 2553, http://www.nationmultimedia.com/home
/2010/05/01/national/Ex-policeman-held-in-RPG-case-30128366.html
[151] อาวุธ ปานะนันท, “Anti-Riot Squad Cut Up by Soldiers in Black,” เดอะ เนชั่น, 13 เมษายน 2553,
http://www.nationmultimedia.com/home/2010/04/13/politics/Anti-riot-squad-cut-up-by-soldiers-in-black-30127131.html
[152] อาวุธ ปานะนันท, “Is Prayuth the Best Choice amid Signs of Army Rivalry?,” เดอะ เนชั่น, 8 มิถุนายน 2553,
http://www.nationmultimedia.com/home/2 0 1 0 / 0 6 / 0 8 / politics/Is-Prayuth-the-best-choice-amid-signs-of-Army-riva-
30131079.html
ดูเพิ่มกลุมบุคคลระหวางประเทศเพื่อแกไขวิกฤตการณ, อางแลว, เชิงอรรถ 133, หนา 10, http://www.crisisgroup.org
/~/media/Files/asia/south-east-asia/thailand/192_Bridging%20Thailands%20Deep%20Divide.ashx
[153] คนเลวบึ้มเอ็ม 79 บีทีเอสศาลาแดงเจ็บ 75 ดับ1 - พยานอางยิงจาก รพ.จุฬาฯ, ASTV - ผูจัดการ, 23 เมษายน 2553,
http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9530000055677

59
[154] “More Red Arsenal on Show,” The Straits Times, 23 พฤษภาคม 2553, http://www.straitstimes.com/BreakingNews
/SEAsia/Story/STIStory_530261.html
[155] โจซีลีน เกกเกอร, “Thai Troops Open Fire on Red Shirt Protesters in Bangkok,” Associated Press, 20 พฤษภาคม
2 5 5 3 , http://www.adelaidenow.com.au/thai-troops-open-fire-on-red-shirt-protesters-in-bangkok/story-e6 frea6 u-
1225868598260
[156] ตัน เหลียน ชู, “Clashes Provoked by Group Bent on Revolt: Suchinda,” The Straits Times, 20 พฤษภาคม 2541
[157] “‘Drastic Action’ to Quell Protest,” บางกอก โพสท, 18 พฤษภาคม 2541
[158] “Shootings Were in Self-Defence, Says Spokesman,” เดอะ เนชั่น, 20 พฤษภาคม 2541
[159] ธงชัย วินิจจะกูล, “Remembering/Silencing the Traumatic Past: The Ambivalence Narratives of the October 6,
1976 Massacre in Bangkok,” ใน Cultural Crisis and Social Memory: Modernity and Identity in Thailand and Laos,
บรรณาธิการ ชารลส เอฟ คายส และ ชิเกฮารุ ทานาเบ (ลอนดอน : Routledge/Curzon, 2545), หนา 243 - 283

60
8. ขอเรียกรองหาความยุติธรรม
ประเทศไทยมีพันธกรณีหลายระดับภายใตกฎหมายระหวางประเทศที่จะตองนําผูละเมิดสิทธิมนุษยชนเขาสู
กระบวนการยุติธรรม จะตองทําการสืบสวนและดําเนินคดี (หากเปนไปได) ในทุกกรณีที่มีเหตุอันเชื่อไดวามี
การละเมิดสิทธิมนุษยชนรายแรงเกิดขึ้นเชน การสังหารพลเรือนอยางรวบรัดหรือตามอําเภอใจโดยเฉพาะใน
กรณีที่เปนการกระทําของเจาหนาที่รัฐ การสืบสวนจะตองมีความเปนธรรม, ครบถวน และดําเนินการโดย
คณะที่เปนอิสระและเปนกลางอยางแทจริง นี่คือมาตรฐานที่ระบอบอภิสิทธิ์ตองปฏิบัติในการตรวจสอบวามี
ทหารหรือผูนําพลเรือนคนใดหรือไมที่ตองรับผิดชอบกับ 90 ชีวิตที่สูญเสียไปกับคนนับพันที่ไดรับบาดเจ็บ
และคนนับรอยที่ถูกจับกุมคุมขังตามอําเภอใจอยูในสภาพที่ยากลําบาก ในกรณีรายแรงอยางการสังหารอยาง
รวบรัดตัดตอนหรือตามอําเภอใจนั้นการปกปดของรัฐบาลเทากับเปนการละเมิดกฎหมายระหวางประเทศ

8.1 หนาที่ในการสืบสวนและหาผูกระทําความผิดของประ
เทศไทย
ประเทศไทยมี ข อผูก พั น ภายใต ก ฎหมายระหวา งประเทศทั้ งที่ เ ป น ลายลั ก ษณอั ก ษรและกฎหมายจารี ต
ประเพณีที่จะตองสืบสวนทุกกรณีที่มีเหตุอันควรใหเชื่อไดวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนรายแรง และการ
กระทําผิดอื่นภายใตกฎหมายระหวางประเทศเกิดขึ้น และดําเนินคดี (ในกรณีที่ทําได) กับผูกระทําการละเมิด
หนาที่นี้เกี่ยวพันโดยตรงกับการใชกําลังเกินกวาเหตุของทหารในการปราบปรามพลเรือนชวงเดือนเมษายน -
พฤษภาคม 2553 ตลอดจนการละเมิดสิทธิมนุษยชนรายแรงอื่นที่เกิดขึ้นชวงมีการชุมนุมและหลังการชุมนุม
นั่นคือการสูญหาย, การคุมขังตามอําเภอใจโดยไมมีกําหนดในสภาพความเปนอยูที่ยากลําบาก และการ
กระทําอื่นที่โหดรายและไรมนุษยธรรม ขอเท็จจริงตางๆบงชี้มูลความผิดจํานวนมากที่ตองมีการดําเนินคดี
ตอทหารในกองทัพไทย รัฐไทยจึงมีหนาที่ตองจัดใหมีการสืบสวนโดยคณะที่มีความเปนอิสระและเปนกลาง
ประเทศไทยมีหนาที่ที่ตองดําเนินการสืบสวนตามหลักการสงขามแดนหรือฟองเปนคดีอาญา (หนาที่ที่ตอง
ดําเนินคดีและสงผูรายขามแดน) ที่ปรากฏในสนธิสัญญาระหวางประเทศหลายฉบับที่ประเทศไทยเปนภาคี
เชน อนุสัญญาเจนีวาวาดวยการปกปองพลเรือนในเวลาสงคราม พ.ศ. 2492 (Geneva Convention relative to
the Protection of Civilian Persons in Time of War : GCIV), อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการ
ทรมานและอาชญากรรมอื่น พ.ศ. 2527 (United Nations Convention against Torture and Other Cruel), อนุ
สัญญาวาดวยการปราบปรามการกอการรายแหงยุโรป พ.ศ. 2520 (European Convention on the Suppression
of Terrorism), อนุสัญญาสากลวาดวยการตอตานการเจรจาจับตัวประกัน พ.ศ. 2522 (International Conven

61
tion against the Taking of Hostages) และอนุสัญญาวาดวยการปกปองและลงโทษอาชญากรรมตอบุคคลที่
ไดรับการคุมครองโดยสากล พ.ศ. 2516 (Convention on the Prevention and Punishment of Crimes Against
Internationally Protected Persons) [160]
หนาที่ที่ตองดํา เนิ นการสืบสวนการละเมิ ด สิ ทธิมนุษ ยชนขั้ น รายแรงปรากฏอยูทั่ว ไปในกฎหมายสิทธิ
มนุ ษ ยชนระหว า งประเทศจนอาจกล า วไดว า เปน กฎข อหนึ่ง ของกฎหมายระหว า งประเทศที่เ ปน จารี ต
ประเพณี สนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนตางๆทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลกลวนยอมรับในหนาที่นี้ ในกรณีของ
ประเทศไทยมีหนาที่นี้โดยตรงภายใตกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง [161]
คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติซึ่งมีหนาที่ดูแลและเปนผูตีความกติการะหวางประเทศวา
ดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองระบุวา

“พันกรณีเชิงบวกของรัฐภาคีในการดูแลใหมีสิทธิตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมืองจะถือปฏิบัติสมบูรณไดเพียงตอเมื่อปจเจกบุคคลไดรับการคุมครองโดยรัฐ.......จากการละเมิด
สิทธิใ นกติ ก าระหว างประเทศว าด ว ยสิ ทธิพลเมือ งและสิทธิ ทางการเมือ งโดยเจ า หน าที่รัฐ .... อาจจะมี
สถานการณที่การไมสามารถรับประกันสิทธิตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ
เมืองดังที่กําหนดในขอ 2 จะทําใหเกิดการละเมิดสิทธิเหลานั้นโดยรัฐภาคีอันเปนผลจากการที่รัฐภาคีอนุญาต
ใหมีหรือไมสามารถที่จะดําเนินมาตรการที่เหมาะสม หรือไมไดดําเนินการอยางแข็งขันเพื่อปองกัน ลงโทษ
สืบสวน หรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยการกระทําเชนนั้น รัฐไดรับคําเตือนใหระลึกถึงความสัมพันธ
เชื่อมโยงระหวางพั นธกรณี เ ชิ งบวกที่ กําหนดในขอ 2 และความจํ าเปนที่จ ะตองจัด ใหมีก ารเยี ย วยาที่มี
ประสิทธิภาพเมื่อเกิดการละเมิดสิทธิตามขอ 2 วรรค 3” [162]

พึงสังเกตวากติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองระบุใหรัฐภาคีตองดําเนินการ
สืบสวนอยางครบถวนและเปนธรรม และดําเนินคดีตอเจาหนาที่รัฐที่รับผิดชอบ

“จะตองมีกลไกทางการปกครองตางๆเพื่อทําใหพันกรณีทั่วไปในการสืบสวนขอกลาวหาวามีการละเมิด
เกิดขึ้นโดยทันการ รอบดาน และมีประสิทธิภาพ ดวยหนวยงานที่เปนอิสระและเปนกลาง” [163]

และพึงสังเกตดวยวาความลมเหลวของรัฐภาคีในการนําผูกระทําผิดเขาสูกระบวนการยุติธรรมยังจะเปนการ
ละเมิดสนธิสัญญาอีกดวย โดยเฉพาะในกรณีที่เกี่ยวกับอาชญากรรมรายแรงเชน การฆาตามอําเภอใจ

“เมื่อการสืบสวนตามที่กลาวไวในยอหนา 15 พบวามีการละเมิดสิทธิตามกติการะหวางประเทศวาดวย
สิ ท ธิ พ ลเมื อ งและสิ ท ธิ ท างการเมื อ งบางประการ รั ฐ ภาคี จ ะต อ งดู แ ลให ผู ที่ รั บ ผิ ด ชอบต อ งถู ก นํ า ตั ว สู
กระบวนการยุติธรรม เชนเดียวกับในกรณีความลมเหลวที่จะสืบสวน ความลมเหลวในการนําตัวผูกระทํา

62
การละเมิดเชนนั้นสูกระบวนการยุติธรรมจะทําใหเกิดการละเมิดกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง
และสิทธิทางการเมืองเปนกรรมแยกตางหากไปอีกในตัวของมันเอง พันธกรณีเหลานี้เกิดขึ้นกับการละเมิดที่
ถูกถือวาเปนอาชญากรรมตามกฎหมายในประเทศหรือกฎหมายระหวางประเทศเชน การทรมานและการ
ปฏิบัติที่โหดราย ไรมนุษยธรรม และย่ํายีศักดิ์ศรี (ขอ 7) [และ] การฆาโดยพลการและตามอําเภอใจ (ขอ
6)..... ดังนั้นในกรณีที่เจาหนาที่รัฐหรือหนวยงานรัฐกระทําการละเมิดสิทธิตามกติการะหวางประเทศวาดวย
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองที่กลาวถึงในยอหนานี้ รัฐภาคีที่เกี่ยวของจะตองไมปลอยใหผูกระทําการ
ละเมิดหลุดพนจากความรับผิดชอบสวนตนไปได” [164]

ประเทศไทยจึงมีขอผูกมัดภายใตสนธิสัญญาระหวางประเทศที่จะตองจัดใหมีการดําเนินการสืบสวนที่
ครบถวนและเปนธรรมโดย “คณะที่เปนอิสระและเปนกลาง” ไมเพียงแตมีเหตุอันเชื่อไดวามีการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนรายแรงโดยเจาหนาที่รัฐเทานั้น ยังมีหลักฐานหนักแนนชี้วาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเหลานั้น
เกิดขึ้นภายใตการชี้นําของรัฐบาล, การใชกระบวนการยุติธรรมที่มีความลําเอียงทางการเมืองของไทย หรือ
คณะกรรมการสืบ สวนที่ ไ ม มี ค วามโปร ง ใสที่ ค วบคุ ม โดยระบอบอภิ สิทธิ์ นั้น ไม เ ปน ไปตามมาตรฐาน
กฎหมายระหวางประเทศวาดวยความอิสระและความเปนกลาง อันที่จริงการลมเหลวในการดําเนินการ
สืบสวนควรไดรับการพิจารณาวาอาจเขาขายเปนการละเมิดพันธกรณีที่ไทยมีตอกติการะหวางประเทศวา
ดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองอีกคดีหนึ่งดวย

8.2 การสังหารโดยพลการและตามอําเภอใจ : การละเมิดสิทธิ


มนุษยชนที่รายแรงอื่นๆ
กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองระบุวาตองไมมีใครถูกพรากชีวิตไปโดย
อําเภอใจ [165] และยังรับรองสิทธิที่จะปลอดพนจากการถูกทรมาน การปฏิบัติที่โหดรายหรือย่ํายีศักดิ์ศรี [166]
และการถูกคุมขังตามอําเภอใจ [167] นอกจากการเสียชีวิตของคนจํานวนมาก ยังมีสมาชิก นปช. จํานวนมากที่
ถูกคุมขังโดยไมไดรับการประกันตัวดวยขอหาละเมิด พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน และ/
หรือพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรที่ประกาศใชและคงไวโดยไมชอบดวยกฎหมาย สิทธิ
ในการเขาสูกระบวนการยุติธรรมที่เปนธรรมของบรรดาผูถูกกลาวหาเปนประเด็นที่ตองมีการตรวจสอบ
ภายใตกฎหมายระหวางประเทศ
ตอใหประเทศไทยไมไดเปนภาคีของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองยังตอง
มีหนาที่ภายใตกฎหมายระหวางประเทศที่ตองดําเนินการสืบสวนอยางครบถวนและเปนกลางตอกรณีการ
วิสามัญฆาตกรรม การสังหารอยางรวบรัดหรือตามอําเภอใจ พันธกรณีนี้ไดรับการตอกย้ําซ้ําแลวซ้ําเลาโดย

63
สมัชชาสหประชาชาติครั้งลาสุดในป พ.ศ. 2552 [168] ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ “ประณามอยางรุนแรง”
ตอการวิสามัญฆาตกรรม, การสังหารอยางรวบรัดหรือตามอําเภอใจ, “เรียกรอง” ใหภาคีทุกประเทศ
ดําเนินการใหการกระทําเชนนี้ยุติลง และย้ําเตือนถึง “พันธกรณีที่ทุกรัฐภาคีตองดําเนินการสืบสวนอยาง
ครบถวนและเปนกลางในทุกกรณีที่นาสงสัย” วามีการสังหารเชนนั้น
ไม ใ ช เ พี ย งแต สื บ สวนเท า นั้ น ยั ง ต อ งมี ก ารดํ า เนิ น คดี ต ามความเหมาะสมอี ก ด ว ย ที่ ป ระชุ ม สมั ช ชา
สหประชาชาติย้ําเตือนพันธกรณีนี้ของทุกรัฐ ในกรณีที่สงสัยวาเปนการวิสามัญฆาตกรรม การสังหารอยาง
รวบรัดหรือตามอําเภอใจ “ตองหาตัวผูกระทําผิดและนําเขาสูกระบวนการยุติธรรม […] และใชมาตรการทุก
อยางที่จําเปน รวมทั้งมาตรการทางกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเพื่อยุติภาวะการรอดพนจากการรับผิด
และปองกันไมใหการกระทําดังกลาวเกิดขึ้นอีก” [169]
พันธกรณีเหลานี้เกี่ยวเนื่องอยางยิ่งโดยเฉพาะในกรณีอยางที่เกิดในประเทศไทยที่อาจมีการหมายหัวหรือใช
กําลังเกินกวาเหตุตอผูชุมนุม, นักขาว และนักปกปองสิทธิมนุษยชน (เชน เจาหนาที่ทางการแพทย) ที่ประชุม
สมัชชาประชาชาติเรียกรองเปนการเฉพาะตอทุกรัฐภาคี “ใหทําการสืบสวนโดยทันทวงทีและรอบดานตอ
กรณีการฆาทั้งหมด รวมทั้งการฆาอยางเจาะจงกลุมบุคคลเฉพาะ เชน ... การสังหารบุคคลดวยเหตุที่เกี่ยวของ
กับกิจกรรมของพวกเขาเหลานั้นในฐานะนักปกปองสิทธิมนุษยชน, นักกฎหมาย, นักขาว หรือผูชุมนุม
ประทวง […] และนําตัวผูกระทําผิดเขาสูกระบวนการยุติธรรม” [170]
เชนเดียวกับการสืบสวน การดําเนินคดีตองเกิดขึ้นตอหนาคณะตุลาการที่ “เปนอิสระและเปนกลาง” เมื่อศาล
ในประเทศขาดความเปน อิ ส ระและความเปน กลาง คดี ตา งๆควรถู ก นํ า ขึ้น ศาลระหวา งประเทศตามที่
เหมาะสม ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติระบุวาการแสวงหาความยุติธรรมจะตองกระทํา

“ตอหนาคณะตุลาการที่เปนอิสระและเปนกลางในระดับประเทศหรือระหวางประเทศ (หากเหมาะสม)
และตองมีการดูแลไมใหมีการแทรกแซงจากเจาหนาที่รัฐในคดีการสังหารที่กระทําโดยกองกําลังความมั่นคง
ตํารวจและเจาหนาที่บังคับใชกฎหมาย กลุมติดอาวุธหรือกองกําลังเอกชน หรือมีการไมเอาผิดกับการสังหาร
เหลานั้น” [171]

กรณีประเทศไทยเกี่ยวของกับพันธกรณีเหลานี้ทั้งหมด เนื่องจากมีเหตุอันเชื่อไดวากองกําลังความมั่นคงหรือ
เจาหนาที่อื่นของรัฐกระทําการวิสามัญฆาตกรรม, การสังหารอยางรวบรัด หรือตามอําเภอใจ ตามกฎหมาย
ระหวางประเทศไมจําเปนตองระบุวาการสังหารอยางผิดกฎหมายเขาขายใดใน 3 กรณีดังกลาว (วิสามัญ
ฆาตกรรม, ฆ า อย า งรวบรั ด หรื อ ตามอํ า เภอใจ) ผู ร ายงานพิ เ ศษแห ง สหประชาชาติ ว า ด ว ยการวิ ส ามั ญ
ฆาตกรรม, การสังหารอยางรวบรัดตัดตอน หรือตามอําเภอใจ (United Nations Special Rapporteur on
Extrajudicial, Summary or Arbitrary Executions) กลาววา “คําเหลานี้เคยมีบทบาทสําคัญในพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตรของภารกิจของผูรายงานพิเศษแหงสหประชาชาติวาดวยการวิสามัญฆาตกรรม, การสังหาร
อยางรวบรัดตัดตอน หรือตามอําเภอใจนี้ แตปจจุบันมันแทบไมมีความหมายอะไรเลยเกี่ยวกับลักษณะที่

64
เปนอยูจริงของเรื่องเหลานี้” [172] สิ่งสําคัญคือกองกําลังความมั่นคงอาจจะฆาเฉพาะในกรณีที่สอดคลองกับ
หลักการสากลวาดวยความจําเปนและความเหมาะสมไดสัดสวน [173]
การฆาผูชุมนุมโดยกองกําลังความมั่นคงของไทยนั้นไมปรากฏวาสอดคลองกับหลักการเหลานี้ ผูรายงาน
พิเศษแหงสหประชาชาติวาดวยการวิสามัญฆาตกรรม, การสังหารอยางรวบรัดตัดตอน หรือตามอําเภอใจ
บอกวาหลักการเหลานี้ไดสราง “มาตรฐานทางกฎหมายที่ชัดเจนวาดวยการใชกําลังที่รุนแรงถึงชีวิต” ซึ่ง
“ระบุวาตํารวจ (หรือกองกําลังความมั่นคงสวนอื่นที่ปราบปรามการชุมนุม) จะสามารถยิงเพื่อสังหารไดก็
ตอเมื่อเห็นไดชัดวาบุคคลใดกําลังจะฆาใครอื่น (ทําใหการใชกําลังรุนแรงถึงชีวิตมีความเหมาะสม) และไมมี
หนทางอื่นใดแลวที่จะทําการควบคุมตัวบุคคลผูตองสงสัยนั้น (ทําใหการใชกําลังรุนแรงถึงชีวิตมีความ
จําเปน)” [174]
ไมมีเหตุผลอันใดเลยที่จะเชื่อไดวามีการปฏิบัติตามมาตรฐานดังกลาวในประเทศไทย ผูชุมนุมสวนใหญ
(หรืออาจทั้งหมด) ที่ถูกฆาไมไดกําลังจะฆาใครอื่น และไมมีความพยายามใดเลยที่จะหลีกเลี่ยงการคุกคามดัง
วานั้นดวยวิธีการอื่นนอกเหนือจากการใชกําลังรุนแรงถึงชีวิต ในทางตรงกันขามการประกาศของทหารไทย
วาบางพื้นที่เปน “เขตกระสุนจริง” เปนหลักฐานสําคัญวาไมไดมีการปฏิบัติตามหลักการความจําเปนและ
ความเหมาะสมซึ่ ง เป น หลั ก การสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ก ารสั ง หารนั้ น ถู ก กฎหมาย ดั ง ที่ ผู ร ายงานพิ เ ศษแห ง
สหประชาชาติวาดวยการวิสามัญฆาตกรรม, การสังหารอยางรวบรั ดตัดตอน หรือตามอําเภอใจเนนย้ํา
นโยบาย “การยิงเพื่อฆา” เปน “สํานวนทางการที่อันตรายที่แทนที่มาตรฐานทางกฎหมายที่ชัดเจนดวยการใช
กําลังที่รุนแรงถึงชีวิต” [175]
กองทัพไทยควรปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานของสหประชาชาติในเรื่องการใชกําลังและอาวุธของเจาหนาที่ผู
บังคับใชกฎหมาย (ตามที่สรุปไวกอนหนานี้) อยางเขมงวด ความสําคัญของหลักการนี้ไดรับการเนนย้ําโดย
ผูรายงานพิเศษแหงสหประชาชาติวาดวยการวิสามัญฆาตกรรม, การสังหารอยางรวบรัดตัดตอน หรือตาม
อําเภอใจที่ทําการศึกษาและสรุปวา “สิทธิในชีวิตตกอยูในความเสี่ยงอยางรุนแรงในรัฐที่แนวปฏิบัติเรื่องการ
ใชกําลังไมสอดคลองกับกฎเหลานี้” [176]
แนนอนวาเราไมควรดวนพิพากษาจากขอมูลที่จํากัดที่มีปรากฏอยูในสาธารณะเกี่ยวกับการปฏิบัติของกอง
กําลังความมั่นคงของไทย และเกี่ยวกับความจําเปนและสัดสวนที่เหมาะสมในการวิสามัญฆาตกรรม, การ
สังหารอยางรวบรัดตัดตอน หรือตามอําเภอใจที่พวกเขาอาจกระทํา สิ่งที่จําเปนและเปนไปตามที่กําหนดโดย
ทั้งกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และกฎหมายระหวางประเทศแบบจารีต
ประเพณีคือ ตองมีการสืบสวนการสังหารเหลานี้อยางครบถวน, เปนอิสระ และเปนกลาง

65
8.3 การประหัตประหารทางการเมือง
ครั้นเมื่อกลุมคนเสื้อแดงเริ่มปกหลักชุมนุมในกรุงเทพเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 นั้น กระบวนการตามลาลาง
ทางการเมืองตอฝายตรงขามรัฐบาลปจจุบันดําเนินมาเปนเวลาหลายป โดยเริ่มจากการรัฐประหารป พ.ศ.
2549 ที่นายพลไทยยึดอํานาจรัฐและฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อเปาหมายประการเดียวคือ ทําลายลางพรรคการเมือง
ที่เปนรัฐบาลในขณะนั้น, จัดการยุบพรรคไทยรักไทยดวยการใชกฎหมายยอนหลัง, ตัดสิทธิทางการเมือง
ของนั ก การเมื อ งพรรคไทยรั ก ไทย, ดํ า เนิ น คดี อ าญาอย า งเลื อ กปฏิ บั ติ ต อ ผู นํ า พรรค, ครอบงํ า ศาล, ยึ ด
ทรัพยสินของ ทักษิณ ชินวัตร และแกกฎกติกาตางๆเพื่อสกัดการหวนกลับคืนสูอํานาจอีกครั้งของพรรคไทย
รักไทย ตลอดชวงเวลาที่นายพลเหลานี้กุมอํานาจ (กันยายน 2549 - ธันวาคม 2550) พวกเขาทุมเทกับการ
ถอนรากถอนโคนผูสนับสนุนทักษิณโดยอาศัยการไลลาทางการเมืองทุกรูปแบบ, ทําลายหลักนิติรัฐ, ลิดรอน
สิทธิเสรีภาพของพลเมืองในการแสดงความคิดเห็นและชุมนุม, ตัดสิทธิทางการเมือง, ลิดรอนเสรีภาพในการ
รวมตัว, กลั่นแกลงทางกฎหมาย, ยึดทรัพย และใชกฎหมายเพื่อเลนงานตัวบุคคล ตามถอยแถลงของเหลา
นายพลในเวลานั้นไมตองสงสัยเลยวาความพยายามที่จะขจัดพรรคไทยรักไทยทํากันเปนขบวนการที่มุงเลือก
ปฏิบัติบนฐานของฝกฝายทางการเมือง
กระบวนการทําลายลางนี้ยังคงดําเนินไปชวงรัฐบาลนาย สมัคร สุนทรเวช และนาย สมชาย วงศสวัสดิ์
(มกราคม 2551 - ธันวาคม 2551) แมวาจะเปลี่ยนรูปแบบไปก็ตาม ดังที่บันทึกไวในเอกสารฉบับนี้
รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 ใหสิทธิแกศาลที่จะแทรกแซงการเมืองดวยจุดประสงคในการพลิกผลการ
เลือกตั้ง, เปลี่ยนองคประกอบของสภาผูแทนราษฎร, สั่งยุบพรรคการเมือง และตัดสิทธิกรรมการบริหาร
พรรค (ไมเวนกระทั่งผูที่ไมไดกระทําผิด) ไมใหดํารงตําแหนงทางการเมือง กฎกติกาตางๆเหลานี้ละเมิดสิทธิ
ของปจเจกบุคคลหลายประการดังที่ระบุในกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
เชน สิทธิในการ “มีสวนรวมในการดําเนินกิจการรัฐทั้งโดยตรงหรือผานตัวแทนที่ไดรับการคัดเลือกอยาง
เสรี” (ขอ 25) และสิทธิที่จะมี “เสรีภาพในการรวมตัวกับผูอื่น” (ขอ 22) มันแทบไมมีความหมายอะไรเลยที่
คณะรัฐประหารอุตสาหเขียนเนื้อหาเหลานี้ในรัฐธรรมนูญ กฎกติกาเหลานี้ขัดโดยตรงกับพันธกรณีตาม
กติการะหวางประเทศที่ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีโดยสมัครใจ แมวาอํานาจพิเศษของศาลไมจําเปนวา
จะตองนําไปสูการทําลายลางทางการเมือง แตการบังคับใชกฎกติกาอยางเลือกเปาและเปนระบบตอบรรดาผู
ที่ถูกมองวาภักดีตอทักษิณ, ผูที่คัดคานการรัฐประหาร และผูที่เรียกรองใหมีการลดอํานาจนอกรัฐธรรมนูญ
ของกลุมอํามาตยนั้นเปนการเลือกปฏิบัติบนฐานของฝกฝายทางการเมือง
บางทีหลักฐานที่ชัดเจนที่สุดของการตามทําลายลางทางการเมืองคือ การลิดรอนเสรีภาพในการแสดงความ
คิดเห็นทั้งในสถานการณฉุกเฉินและไมฉุกเฉิน ดวยการปดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เขมงวดที่สุดเทาที่เคย
มีมาในประเทศไทยในรอบ 30 ป ตลอดจนการดําเนินคดีตอคนจํานวนมากอยางไมเคยปรากฏมากอนใน
ขอหาอาชญากรรมทางความคิด

66
และเชนกันมันไมสําคัญเลยวาการปดกั้นการแสดงความคิดเห็นและการคุมขังนักโทษทางการเมืองจะไดรับ
การรับรองในกฎหมายอยางพ.ร.บ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร และประมวลกฎหมาย
อาญามาตรา 112 กฎหมายเหลานี้โดยตัวของมันเองเปนการละเมิดสิทธิของประชาชนไทยที่จะมีเสรีภาพใน
การแสดงความคิ ด เห็ น และเสรีภาพในการ “แสวงหา, รับ และเผยแพรขอมูลข าวสารและความคิด ทุก
ประเภท” ในขณะที่เจาหนาที่รัฐมักจะอางความชอบธรรมสําหรับการลิดรอนดังกลาววาจําเปนในการรักษา
ความมั่นคงของชาติ (ซึ่งเปนสิ่งที่กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองยินยอม)
แตยังไมเปนเหตุเปนผลเพียงพอที่จะอางวาความเห็นหนึ่งในเฟสบุคจะคุกคามความมั่นคงของชาติ หรือการ
ปราศรั ย ที่มีขอความวิพ ากษ วิ จ ารณ สถาบัน กษัตริยสงผลตอความสงบเรี ย บรอยและศีลธรรมอั น ดี ของ
สาธารณชนเหมือนการฆาคนตาย (และสมควรติดคุก 18 ป) นี่คือการแสดงความคิดเห็นที่กติการะหวาง
ประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองมุงคุมครอง นั่นคือเสรีภาพในการวิจารณสถาบันตางๆ
ของรัฐ นอกจากนี้การเซ็นเซอรสื่อตางๆที่อาจวิจารณ “สถาบันกษัตริย, ชาติ หรือศาสนา” ก็ฟงไมขึ้น
แมกระทั่งในสถานการณฉุกเฉิน เนื่องจากกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ระบุวาสิทธิในการมีความคิดเห็นทางการเมืองและแลกเปลี่ยนกับบุคคลอื่นนั้นไมอาจลิดรอนได (ขอ 4 (2))
กลาวโดยสรุปคือ อาชญากรรมของ “การไลลาประหัตประหารทางการเมือง” เปนผลมาจากการใชกฎหมาย
กดขี่เหลานี้ตอกลุมคนที่คัดคานรัฐบาล
สิทธิอื่นๆของประชาชนในการเรียกรองประชาธิปไตยกลับคืนมาถูกละเมิดอยางเปนระบบดวยกระบวนการ
ไลลาประหัตประหารทางการเมืองของรัฐบาลอภิสิทธิ์ อาจกลาวไดวา พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักรและ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินถูกบัญญัติ, ประกาศใช และคงไวเพื่อ
ลิดรอนสิทธิการชุมนุมตามรัฐธรรมนูญของประชาชนไทย ที่เห็นไดชัดเจนคือการดําเนินคดี, การคุมขังโดย
ไมมีกําหนด และการปฏิเสธที่จะดําเนินการตามครรลองกระบวนการยุติธรรมตอผูชุมนุมตอตานรัฐบาลที่ถูก
กลาวหาวาละเมิด พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน (ในขณะที่ผูชุมนุมที่สนับสนุนรัฐบาลที่
กระทําการละเมิดแบบเดียวกันกลับไมตองรับผิดชอบใดๆ) นั้นเปน 2 มาตรฐานที่ไมอาจยอมรับได ที่สําคัญ
ที่สุดกระบวนการไลลาที่เกิดขึ้นหลังการชุมนุม (คลายกับการไลลาหลังเหตุการณสังหารหมูในป พ.ศ. 2519)
เปนหลักฐานที่ชัดเจนวารัฐบาลตองการบดขยี้ปฏิปกษดวยการจับกุมคุมขังตามอําเภอใจ (ละเมิดขอ 9 ของ
กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองยินยอม) ละเมิดสิทธิของพวกเขาที่จะไดรับ
การไตสวนอยางเปนธรรม (ขอ 14) และการไดรับการคุมครองอยางเสมอภาคในแงกฎหมาย (ขอ 26)
พึงสังเกตวาการไลลาประหัตประหารทางการเมืองในบางรูปแบบนั้นเทียบเทากับอาชญากรรมตอมนุษยชาติ
มาตรา 7 (1) (h) และ 7 (2) (g) ของธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศ นิยามอาชญากรรมตอ
มนุษยชาติดวย “การไลลาประหัตประหาร” วาเปน “การลิดรอนสิทธิขั้นพื้นฐานอยางรายแรงและจงใจอัน
ขัด ตอกฎหมายระหวางประเทศดว ยเหตุทางอัตลักษณของกลุมหรือการรวมตัว ” รวมถึงการไลลา
ประหัตประหารดวยเหตุผลทางการเมือง เมื่อกระทําโดยเชื่อมโยงกับอาชญากรรมอื่นภายใตบทบัญญัติของ
ธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศเชน การฆาตกรรมดังที่กลาวมาแลวในบทขางตนมีเหตุ

67
อันเชื่อไดวาการสืบสวนที่เปนอิสระและเปนกลางจะสรุปวามีการฆาตกรรมโดยกองกําลังความมั่นคงภายใต
รัฐบาลอภิสิทธิ์ และยังเห็นไดชัดเจนวาการปราบปรามกลุมคนเสื้อแดงนั้นเปนไปบนฐานความเชื่อทาง
การเมืองของพวกเขา
ปญหาขอกฎหมายอีกเพียง 1 ประการคือการปฏิบัติตางๆเชน การคุมขังโดยไมมีกําหนด, การตั้งขอหาเกิน
จริง และการพิพากษาลงโทษเกินกวาเหตุสําหรับการแสดงความคิดเห็นนั้นเปน “การละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐาน
อยางรายแรง” หรือไม ? มีกรณีตัวอยางมากมายที่สนับสนุนวาการใชระบบยุติธรรมเพื่อทําราย และการไลลา
ประหัตประหารในรูปแบบอื่นๆที่ไมใชเปนการทํารายทางกายภาพสามารถถือเปนการไลลาประหัตประหาร
ที่มีจุดมุงหมายเพื่อประกอบอาชญากรรมตอมนุษยชาติ คณะตุลาการเฉพาะกิจสําหรับประเทศยูโกสลาเวีย
เดิม (International Criminal Tribunal for the former Yugoslavia : ICTY) ยอมรับวาองคประกอบของ
อาชญากรรมนั้นรวมถึงการกระทําที่ไมไดระบุไวในธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศ [177]
ดวยศาลกูเปรชกิส (Kupreškić Court) อธิบายเรื่องนี้ในแงมุมกฎหมายจารีตประเพณีระหวางประเทศ และ
คําตัดสินของศาลระดับประเทศ และนิยามการไลลาประหัตประหารวาเปน “การปฏิเสธสิทธิขั้นพื้นฐาน
อยางรุนแรงหรืออยางชัดแจง โดยมีการเลือกปฏิบัติตามที่ระบุในกฎหมายระหวางประเทศทั้งที่เปนกฎหมาย
จารีตประเพณี หรือเปนกฎหมายสนธิสัญญาซึ่งมีความรุนแรงเทากับการกระทําอื่นที่หามไวในขอ 5” [178]
คณะตุ ล าการระหว า งประเทศคณะต า งๆถื อว า การจงใจในการไล ลา ประหั ต ประหารนั้ น มี โ ทษสูง กว า
อาชญากรรมตอมนุษยชาติแบบอื่นๆ เนื่องจากวามีความจงใจเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงการเลือกฝกฝายทาง
การเมือง [179]
ศาลกูเปรชกิสสรุปวา “การคุมขังอยางเปนกระบวนการ” นั้นอาจเปนการไลลาประหัตประหาร [180] มุมมองนี้
อาจสามารถใชไดกับการคุมขังผูชุมนุมกลุมคนเสื้อแดง โดยไมมีกําหนดของรัฐบาลอภิสิทธิ์
กระทั่งความเสียหายทางเศรษฐกิจสามารถถือเปนการถูกลิดรอนสิทธิขั้นพื้นฐาน ศาลกูเปรชกิสระบุวาแมวา
การยึดทรัพยสินอุตสาหกรรมไมถือวาเปนการไลลาประหัตประหารในคดีฟลิกและเคราชที่พิจารณาโดย
คณะตุ ล าการนู เ ร็ ม เบิ ร ก กรณี ฟ ลิ ก ทํ า ให เ กิ ด คํ า ถามว า การยึ ด ทรั พ ย สิ น ส ว นบุ ค คลนั้ น เป น การไล ล า
ประหัตประหารหรือไม [181] ศาลดังกลาวระบุวาการปฏิเสธสิทธิทางเศรษฐกิจตอชาวยิวและการยึดทรัพยสิน
ชาวยิวนั้นถือเปนสวนหนึ่งของการไลลาประหัตประหารตามคําพิพากษาของคณะตุลาการทหารระหวาง
ประเทศ และยังกลาวดวยวาการใชระบบกฎหมายในการดําเนินการดังกลาวถือเปนสวนหนึ่งของขอกลาวหา
วามีการไลลาประหัตประหารในคดีเรียกรองความเปนธรรม [182] ศาลดังกลาวยังระบุดวยวา “การทําลาย
บานเรือนและทรัพยสิน” ของพลเรือนมุสลิมถือเปนการไลลาประหัตประหารหากการทําลายนั้นมี
“ผลกระทบรายแรงตอเหยื่อ” เชน “การทําลายสภาพชีวิตความเปนอยูของประชากรกลุมหนึ่ง” [183] ศาลตั้ง
ขอสังเกตวา แมวาจะมีคดีฟลิกและเคราชก็ตามคณะตุลาการทหารระหวางประเทศตัดสินลงโทษบุคคลใน
ขอหาเลือกปฏิบัติทางเศรษฐกิจ รวมถึงเกอรริงที่การกระทําการไลลาประหัตประหารที่มุงเนนไปที่ “การยึด
ทรัพยสินของชาวยิวและการบังคับพวกเขาออกจากระบบเศรษฐกิจยุโรป”

68
กลาวโดยสรุปหากพิจารณาตามเงื่อนไขตางๆวาดวยอาชญากรรมตอมนุษยชาติแลว (ดูบทถัดไป) เชื่อไดวา
เจาหนาที่ไทยทําการเลือกปฏิบัติทางการเมืองที่ลิดรอนสิทธิพื้นฐานภายใตกฎหมายระหวางประเทศของผู
ชุมนุมกลุมคนเสื้อแดงอยางรายแรงและตั้งใจ โดยเกี่ยวเนื่องกับการสังหารผูชุมนุมบางสวน การลิดรอนสิทธิ
โดยเลือกปฏิบัติดังกลาวอาจถือวาเปนอาชญากรรมตอมนุษยชาติโดยการไลลาประหัตประหาร

8.4 อาชญากรรมตอมนุษยชาติ
นอกจากการละเมิดกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและกฎหมายจารีต
ประเพณีระหวางประเทศ การสังหารอยางกวางขวางและเปนระบบโดยกองกําลังความมั่นคงในกรุงเทพ
ชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 และการไลลาประหัตประหารทางการเมืองกลุมคนเสื้อแดงที่เกี่ยวของ
กันนั้นคงชัดเจนเพียงพอที่จะเรียกวาเปนอาชญากรรมตอมนุษยชาติภายใตธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญา
ระหวางประเทศที่กอตั้งศาลอาญาระหวางประเทศ (International Criminal Court : ICC)
นับแตคณะตุลาการนูเร็มเบิรกกฎหมายอาญาระหวางประเทศยอมรับวาการฆาตกรรมเปนรูปแบบหนึ่งของ
อาชญากรรมตอมนุษยชาติซึ่งทําใหบุคคลตองมีความรับผิดชอบในอาชญากรรมภายใตกฎหมายระหวาง
ประเทศ [184]
ธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศนิยามการฆาตกรรมคือ การที่ “ผูกระทําลงมือฆาบุคคล
หนึ่งคนขึ้นไป” [185] สวนจะเขาขายอาชญากรรมตอมนุษยชาติหรือไมนั้นการฆานั้นจะตอง (1) มุงไปที่
“ประชากรพลเรือน” (2) เปนสวนหนึ่งของ “การโจมตีอยางกวางขวางและเปนระบบ” (3) เปนไปตามหรือ
โดยการผลักดันของ “นโยบายรัฐหรือองคกรที่จะดําเนินการโจมตีนั้น” (4) มีการรับรูถึงการโจมตีนั้น [186]
เงื่อนไขแตละขอดังกลาวดูจะครบถวนในการเขนฆาพลเรือนกวา 80 รายโดยกองทัพไทยชวงเดือนเมษายน -
พฤษภาคม 2553

• ประชากรพลเรือน
ตามคําพิพากษาของศาลอาญาระหวางประเทศ การโจมตีนั้นจะตองกระทําตอ “ประชากรพลเรือน” ซึ่งนิยาม
วาเปนกลุมคนที่ “มีลักษณะเดนชัดในแงสัญชาติ ชนชาติ หรือลักษณะเดนอื่นใด” [187] นอกจากนี้การโจมตียัง
จะตองกระทําตอประชากรพลเรือนทั้งหมด ไมใชเลือกสุมตอปจเจกบุคคล และประชากรพลเรือนนั้นตอง
เปนเปาหลักในการโจมตีและไมใชเปนเหยื่อที่โดนลูกหลงที่ไมไดตั้งใจ [188]
แมวารัฐบาลจะอางวาใชกําลังรุนแรงถึงขั้นเอาชีวิตตอฝายที่ใชความรุนแรงในกลุมคนเสื้อแดง แตจนถึงทุก
วันนี้รัฐบาลยังไมสามารถแสดงใหเห็นวาผูที่ถูกฆาเมื่อวันที่ 10 เมษายนและชวงวันที่ 13 - 19 พฤษภาคมนั้น

69
เปนภัยคุกคามตอการรักษาความมั่นคง ที่จริงแลวมีคลิปวิดีโอคลิปหลายสิบชิ้น, ภาพถาย และปากคําจาก
พยานที่ชี้วาผูที่ถูกฆานั้นไมไดกระทําการอันตรายใดๆเลย แตกลับถูกยิงกระสุนทะลุศีรษะในขณะที่กําลังถือ
หนังสะติ๊ก, ธง, กลอง หรืออุปกรณทางการแพทย รัฐบาลพยายามอธิบายถึงอันตรายของแตละบุคคลที่ถูกฆา
หรือไดรับบาดเจ็บจากปฏิบัติการของทหารในภาพรวมๆไมไดอธิบายเปนรายๆไป โดยอธิบายอยูบนฐานวา
เหยื่อเขารวมในกิจกรรมของกลุมที่รัฐบาลเรียกวาเปนองคกร “ผูกอการราย” ดวยเหตุนี้ผูที่ถูกฆาจึงตกเปน
เปาของเจาหนาที่รัฐบนฐานของ “ลักษณะเฉพาะ” ที่ระบุตัวพวกเขาวาเปนสมาชิกของกลุมพลเรือนเฉพาะ
กลุมหนึ่งเชน การใสเสื้อสีแดง และการแสดงจุดยืนตอตานรัฐบาลตอหนาสาธารณะ ไมวาคนแตละคนนั้น
จะกระทําการรุนแรงหรือขมขูคุกคามกองกําลังความมั่นคงหรือไมก็ตาม

• “อยางกวางขวาง” หรือ “อยางเปนระบบ”


การที่จะเรียกวาเปนอาชญากรรมตอมนุษยชาติหรือไมนั้น การโจมตีจะตองเปนไป “อยางกวางขวาง” หรือ
“อยางเปนระบบ” แตไมจําเปนวาตองเปนทั้งสองอยาง “อยางกวางขวาง” หมายถึง “ลักษณะการโจมตีขนาน
ใหญและมีผลเปนเหยื่อจํานวนมาก” สวน “อยางเปนระบบ” นั้นหมายถึง “ลักษณะการกระทําความรุนแรง
อยางมีการจัดตั้งจัดการ และความเปนไปไมไดวาจะเกิดขึ้นอยางสุม” [189]
ในกรุงเทพขนาดและระยะเวลาของการฆา รวมถึงลักษณะการฆาชี้ใหเห็นวาเปนไปตามเกณฑทั้งสองขอ ใน
ดานหนึ่งการที่มีจํานวนผูเสียชีวิตเปนพลเรือนอยางนอย 80 ราย และมีผูไดรับบาดเจ็บประมาณ 2,000 ราย
ชวงเวลา 40 วันเปนการยืนยันลักษณะการเปนไป “อยางกวางขวาง” ของการโจมตี ในขณะเดียวกันการเกิด
เหตุการณคลายๆกันขึ้นซ้ําๆตลอดระยะเวลาและพื้นที่หนึ่งๆชี้ใหเห็นถึงการละเมิด “อยางเปนระบบ” ที่
ไมใชการสุมปฏิบัติการ

• “นโยบายรัฐหรือองคกร”
ธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศไมไดนิยามคําวา “นโยบาย” หรือ “รัฐหรือองคกร” แต
ศาลอาญาระหวางประเทศระบุวาเงื่อนไขขอนี้หมายถึง

“...การโจมตี หรือหากเปนการดําเนินการครอบคลุมพื้นที่ทางภูมิศาสตรที่กวางขวางหรือมุงเปาไปที่เหยื่อ
จํานวนมาก ยังจะตองเปนการกระทําที่มีการจัดตั้งอยางดี และเปนไปตามแบบแผนประจําแบบใดแบบหนึ่ง
การโจมตีนั้นยังจะตองเปนปฏิบัติการเพื่อเสริมนโยบายหนึ่งๆที่เกี่ยวกับทรัพยากรของสาธารณะหรือของ
เอกชน นโยบายเชนนั้นอาจจะถูกกําหนดขึ้นโดยกลุมบุคคลที่ควบคุมดินแดนบริเวณหนึ่ง หรืออาจจะโดย
องคกรที่มีศักยภาพในการกอการโจมตีอยางกวางขวางหรืออยางเปนระบบตอประชากรพลเรือน นโยบาย

70
นั้นไมจําเปนที่จะตองเปนนโยบายที่กําหนดโดยกลุมองคกรอยางชัดเจนก็ได ที่จริงแลวการโจมตีใดๆที่มีการ
วางแผน มีเปาหมายเฉพาะ หรือมีการจัดตั้งเปนระบบซึ่งตางไปจากการกระทําความรุนแรงที่เกิดขึ้นโดย
ไมไดวางแผนหรือไมเกี่ยวเนื่องกันก็ถือวาเขาขายตามเกณฑนี้แลว” [190]

ในคดีที่ดําเนินกับ ธีโฮเมียร บลาชสกิค คณะตุลาการเฉพาะกิจสําหรับประเทศยูโกสลาเวียเดิมตัดสินอยาง


ชัดเจนวาแผนการที่จะกอการโจมตี “ไมจําเปนจะตองมีการประกาศออกมาหรือมีการระบุอยางชัดเจนและ
อยางตรงตัว” และระบุวาสามารถตัดสินจากปจจัยแวดลอมตางๆเชน

- สภาพแวดล อ มทางประวั ติ ศ าสตร โ ดยทั่ ว ไป และพื้ น ฐานทางการเมื อ งโดยรวมของการกระทํ า


อาชญากรรมนั้น
- การโฆษณาชวนเชื่อของสื่อ
- การระดมกองกําลังความมั่นคง
- การปฏิบัติการทางทหารที่มีการประสานงานอยางดี และเกิดขึ้นซ้ําๆชวงระยะเวลาหนึ่งและภายในภูมิ
ประเทศหนึ่งๆ
- ความเชื่อมโยงระหวางโครงสรางลําดับชั้นของทหาร (Military Hierarchy) และโครงสรางทางการเมือง
(Political Structure) และโครงการทางการเมืองของทหาร (Political Programme)
- การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับองคประกอบทาง “ชาติพันธุ” ของประชากร
- มาตรการที่เปนการเลือกปฏิบัติไมวาจะเปนในการบริหารปกครองหรืออื่นๆ (เชน การจํากัดการทํา
ธุรกรรมทางการเงิน การออกใบอนุญาตตางๆ...)
- ขนาดของการกระทําความรุนแรง โดยเฉพาะการฆาและการกระทําความรุนแรงทางกายอื่นๆ การขมขืน
การกั ก ขัง ตามอํา เภอใจ การเนรเทศออกนอกประเทศ และการขับไลห รือการทํ าลายทรั พ ยสิน ที่ไ ม ใ ช
ทรัพยสินทางการทหาร โดยเฉพาะการทําลายสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ [191]

การกออาชญากรรมคลายๆกันขึ้นซ้ําๆ (เชน ชวงการโจมตีประชากรพลเรือนอยางตอเนื่อง) โดยตัวของมัน


เองเปนการแสดงออกถึงนโยบาย [192] สวนในเรื่องคํานิยามของคําวา “รัฐหรือองคกร” ตุลาการฝายไตสวน
ชุดที่ 2 คดีสาธารณรัฐเคนยา (Pre-Trial Chamber II : Situation in the Republic of Kenya) ระบุวาในขณะที่
คําวา “รัฐ” นั้นมีความหมายชัดเจนในตัวเองอยูแลว นโยบายอาจจะไมจําเปนจะตองออกโดย “กลไกรัฐ
ระดับสูงสุด” [193]
การสังหารชว งเดื อนเมษายน - พฤษภาคม 2553 ไมไ ดเ ปนเหตุการณโ ดดๆหรือเป นเหตุที่เ กิด ขึ้น แบบ
ประปราย แตเปนผลของแผนการที่มีการประสานรวมมือเพื่อตอบโตกับการชุมนุมประทวงของกลุมคนเสื้อ
แดง, มีการระดมกองกําลังติดอาวุธซ้ําๆ และมีการออกคําสั่งไปตามสายการบังคับบัญชา รวมถึงเครือขายพล
เรือนภายในรัฐบาลอภิสิทธิ์เชน ไมนานกอนการปฏิบัติการปราบปรามโดยทหารเมื่อวันที่ 10 เมษายนรัฐบาล

71
ประกาศสถานการณฉุกเฉินเปนการเปดโอกาสใหแกสิ่งที่องคกรนักขาวไรพรมแดนเรียกวา “ใบอนุญาตฆา
(License to Kill)” [194] ใหแกกองทัพ นั่นคือการใหอิสระแกการใชกําลังใดๆที่พิจารณาเห็นวาเหมาะสมเพื่อ
กวาดลางพื้นที่ ดังนั้นจึงเปนที่ชัดเจนวาผูที่อยูในระดับสูงสุดของระบอบอภิสิทธิ์รูหรืออนุมัติโดยนัยใหแก
การปฏิบัติการนั้น โดยที่ไมไดคํานึงถึงผลที่อาจจะเกิดขึ้นวาจะทําใหเกิดการสูญเสียชีวิตคนโดยไมจําเปน

• ความรับรู
อาชญากรรมทุ ก ประเภทจะตอ งมี เ จตนากระทํ า ผิ ด หรื อ เจตนาที่ จ ะกอ อาชญากรรม ในบริ บ ทของการ
ฆาตกรรมที่เปนอาชญากรรมตอมนุษยชาตินั้น เจตนาของผูกระทํา “เพื่อกอความเสียหายรุนแรงแกเหยื่อโดย
ไมสนใจชีวิตของมนุษย” [195] เพียงพอที่จะเขาขายอาชญากรรมตอมนุษยชาติ คณะอุทธรณของคณะตุลาการ
เฉพาะกิจสําหรับประเทศยูโกสลาเวียเดิม (The Appeals Chamber of International Criminal Tribunal for the
former Yugoslavia) ในคดีทาดิชในป พ.ศ. 2542 ระบุวาผูกระทําผิดจะตองรูวาการโจมตีเกิดตอประชากรพล
เรือน และรูวาการกระทําของตนนั้นเปนสวนหนึ่งของการโจมตีนี้ และตระหนักถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการ
กระทําของตนแตยังเต็มใจที่จะรับผลความเสี่ยงนี้ [196] อยางไรก็ตามไมจําเปนวาผูกระทําผิดจะตองรูถึง
รายละเอียดของการโจมตีทั้งหมด [197]
แมวารัฐบาลจะปฏิเสธวาทหารไมไดตั้งใจทํารายพลเรือน แตพยานที่อยูทั้งสองฝงของแนวทหารอางวาเห็น
ทั้งเจตนาของกองกําลังความมั่นคงของไทยที่จะกอความเสียหายรุนแรง และการไมใสใจตอชีวิตมนุษยและ
ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การปราบปรามการชุมนุมในเดือนพฤษภาคมยาวนานถึง 1 สัปดาหเต็ม และเกิดขึ้น
ในลักษณะทํานองเดียวกันในหลายๆสวนของกรุงเทพที่อยูภายใตการดูแลของหนวยตางๆของทหาร แบบ
แผนเชนนี้ดูเหมือนจะชี้วาผูที่เกี่ยวของกับการปราบปรามการชุมนุมดําเนินการภายใตแนวทางการปฏิบัติการ
ที่มีการกําหนดชัดเจน
เมื่อประสบกับรายงานตางๆเรื่องการละเมิดอยางกวางขวางและเปนระบบที่กระทําโดยกองกําลังความมั่นคง
ผูนําทางทหารและพลเรือนไมไดหยุดปฏิบัติการหรือปรับเปลี่ยนปฏิบัติการใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล
ที่จริงแลวเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคมหนังสือพิมพมติชนรายงานวาเจาหนาที่ “วอรรูม” ที่พรรคประชาธิปตย
ตั้งขึ้นนั้นพอใจกับขอเท็จจริงที่วามีคนเสียชีวิต ณ เวลานั้น “เพียง” 35 รายซึ่งต่ํากวาจํานวนผูเสียชีวิต 200 -
500 รายตามที่ตนคาดการณไวมาก [198] จํานวนที่กลาวถึงนั้นสอดคลองกับรายงานภายในของรัฐบาลที่อางวา
รั่วไหลออกมา และนาย จตุพร พรหมพันธ แกนนํา นปช. เปดเผยตอสื่อเมื่อวันที่ 19 เมษายนซึ่งระบุวา ทหาร
วางแผนจะปราบปรามการชุมนุมเปนเวลานาน 1 สัปดาห และกําหนดจํานวนผูเสียชีวิตที่เปนที่ยอมรับไดที่
500 ราย [199] ในวันกอนการสลายการชุมนุมรัฐบาลเตือนวารัฐบาลจะยิง “ผูกอการรายที่ติดอาวุธ” และโดยที่
ไมไดกลาวถึงเอกสารที่รั่วไหลออกมา โฆษกรัฐบาลประมาณการณวามี “กลุมผูติดอาวุธ” 500 รายแฝงตัวอยู
ในกลุมคนเสื้อแดง [200]

72
8.5 หลักฐานเรื่องการพยายามปกปด
รัฐบาลไทยยอมรับตอสาธารณะวามีความจําเปนที่จะตองสืบสวนกรณีการละเมิด แตประวัติของรัฐบาลหรือ
มาตรการขั้นตอนตางๆที่รัฐบาลดําเนินการหลังจากการสลายการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงนั้นไมไดชี้เลยวา
จะมีการไตสวนอยางจริงจังและอยางเปนอิสระ รัฐบาลอภิสิทธิ์กลับดําเนินมาตรการตางๆที่ชี้ไปในทางการ
ปดบังขอมูลมากกวา ผูสังเกตการณที่เปนอิสระตางสงสัยวาจะมีการสืบสวนอยางเต็มรูปแบบเกิดขึ้นได
อยางไรในขณะที่ยังคงมีการประกาศใช พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินอยู อันทําใหรัฐบาล
กําราบขอมูลที่เห็นวาเปนผลเสีย และกักขังทุกคนที่เห็นวาเปนภัยตอ “ความมั่นคงของชาติ” [201] เนื่องจาก
รัฐบาลนี้มีประวัติของการนําเรื่อง “ความมั่นคงของชาติ” มาปนกับความมั่นคงในการรักษาตําแหนงของตน
มีเหตุผลใหเราตั้งขอสงสัยกับเจตนาของรัฐบาล
หลั ง จากการสลายการชุ ม นุ ม ของกลุ ม คนเสื้ อ แดงที่ สี่ แ ยกราชประสงค รั ฐ บาลอภิ สิ ท ธิ์ ต กลงที่ จ ะตั้ ง
คณะกรรมการ “สอบขอเท็จจริง” ที่มีหนาที่สืบสวนกรณีความรุนแรง คณะกรรมการอิสระตรวจสอบคนหา
ความจริงเพื่อความปรองดองแหงชาตินั้นนําโดยนาย คณิต ณ นคร อดีตอัยการสูงสุด ในขณะที่คณิตเสนอชื่อ
ของ “ผูเชี่ยวชาญ” ทางกฎหมายเพียง 10 รายที่จะเขารวมในการสืบสวนไปเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม [202]
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบคนหาความจริงเพื่อความปรองดองแหงชาติถูกวิพากษวิจารณอยางหนัก
เนื่องจากขาดความเปนอิสระและมีภารกิจที่คลุมเครือ ตัวคณิตเองชี้วา “คณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริง”
นั่นไมสนใจในเรื่อง “การคนหาความจริงหรือการชี้วาใครเปนฝายถูกใครเปนฝายผิด” เทากับเรื่อง “การ
สงเสริมการใหอภัย” [203] ผลที่เกิดขึ้นคือ การสืบสวนครั้งนี้จะเหมือนกับคณะกรรมการชุดคลายๆกันที่คณิต
เปนประธานหลังจากการรัฐประหารที่สอบขอเท็จจริงเรื่อง “สงครามตอตานยาเสพติด” ในป พ.ศ. 2546 ที่
จะไมไดนําไปสูการดําเนินคดีใดๆ หรือทําใหเกิดขอกลาวหาที่ชัดเจนตอการกระทําผิดของเจาหนาที่ทหาร
ระดับสูง ยิ่งไปกวานั้นคณิตเองยังไดรับการแตงตั้งโดยนายกรัฐมนตรีซึ่งเปนผูถูกกลาวหาวาละเมิดสิทธิ
มนุษยชนอยางรุนแรงเสียเอง ไมเปนที่นาประหลาดใจเลยที่คณะกรรมการชุดนี้จะเต็มไปดวยคนที่จงรักภักดี
ตอกลุมอํานาจเกาของไทยเชน นาย สมชาย หอมละออ ผูสนับสนุนพันธมิตรฯ [204]
การเลือกผูที่จะมาเปนประธานของคณะกรรมการชุดอื่นๆที่รัฐบาลตั้งขึ้นหลังจากการปราบปรามการชุมนุม
นั้นเปนไปในทางเดียวกันนาย อานันท ปนยารชุน จะเปนประธาน “คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ (คปร.)”
อานันทเคยดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีหลังการรัฐประหารในป พ.ศ. 2534 และปจจุบันเปนประธาน
กรรมการธนาคารไทยพาณิชยซึ่งควบคุมโดยสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย สวนคณะกรรมการ
“สมัชชาปฏิรูปประเทศ (สปร.)” ซึ่งมีหนาที่ศึกษาประเด็นการมีสวนรวมของสาธารณะและความเปนธรรม
ทางสังคม [205] นั้นมี ศ. ประเวศ วะสี เปนประธาน ประเวศเปนผูสนับสนุนหลักของแนวคิดเรื่อง “ประชา
สังคมชนชั้นนํา” [206] และคณะกรรมการพิจารณาแนวทางการแกไขรัฐธรรมนูญที่มีสมาชิก 19 รายเต็มไป

73
ดวยผูสนับสนุนพันธมิตรฯ สมาชิกคนหนึ่งคือ อ. บรรเจิด สิงคะเนติ ซึ่งเคยกลาววา ทักษิณ ชินวัตร นั้น “แย
กวาฮิตเลอร” [207]
ควรกลาวดวยวารัฐบาลปจจุบันมีประวัติที่เลวรายอยางยิ่งในเรื่อง “การสืบสวนที่เปนอิสระ” การสืบสวนที่
ผานๆมาเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่รัฐบาลเปนผูถูกกลาวหาชวง 19 เดือนที่ครองอํานาจบอกไดวาจะ
คาดหวังอะไรจากการสืบสวนกรณีความรุนแรงชวงเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553
สิ่งที่บรรยายไดดีเปน พิเศษถึงแนวทางการสืบสวนตัวเองของรัฐบาลนี้คือ ประวัติ การทํางานของ พญ.
คุณหญิงพรทิพย โรจนสุนันท ผูอํานวยการสถาบันนิติวิทยาศาสตรผูโดงดังที่มีสวนเกี่ยวของกับกรณีอื้อฉาว
มาแทบทั้งหมด การที่รัฐบาลพึ่งพาอาศัยพรทิพยอยางมากมายอยางนี้ไมตองสงสัยเลยวาเปนเพราะวาพรทิพย
ผูมีสีสันฉูดฉาดรายนี้เปนคนดังของประเทศ การสํารวจเมื่อเร็วๆนี้ของนิตยสารรีดเดอรส ไดเจสต พบวาเธอ
คือคนที่ไดรับความเชื่อถือมากที่สุด [208] ที่เยี่ยมกวานั้นอีกคือ ในบรรดาผูเชี่ยวชาญที่รัฐบาลมักเรียกใชบริการ
เมื่อเกิดกรณีอื้อฉาวใดๆขึ้นมา พรทิพยเปนที่พึ่งพาไดเสมอในอันที่จะไดขอสรุปที่เกื้อหนุนทฤษฎีของ
ฝายรัฐบาลและพันธมิตรฯ
กระทั่งกอนที่อภิสิทธิ์จะเปนนายกรัฐมนตรี พรทิพยมีบทบาทสําคัญในการทําลายความนาเชื่อถือของรัฐบาล
พลังประชาชนในกรณีการปะทะระหวางพันธมิตรฯและตํารวจบริเวณหนารัฐสภาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2551
โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีที่สมาชิกพันธมิตรฯ น.ส. อังคณา ระดับปญญาวุฒิ เปนที่ร่ําลือวาเสียชีวิตจากการ
ระเบิดของระเบิดปงปองที่พันธมิตรฯนํามาเอง พรทิพยสรุปวาการเสียชีวิตเปนผลมาจากกระบอกแกสน้ําตา
ซึ่งผลิตจากจีนที่ตํารวจยิงใสผูชุมนุมตรงๆ คําอางนี้ถูกปฏิเสธในภายหลังดวยการสืบสวนของตํารวจซึ่งพบ
รองรอยคราบซีโฟรบนเสื้อผาของอังคณา [209] พรทิพยใหคําอธิบายวา “ทีมของเราใชเครื่องตรวจวัตถุระเบิด
GT-200 และไม พ บสารที่ ใ ช ใ นการทํ า ระเบิ ด เราตรวจสอบสถานที่ เ กิ ด เหตุ , ร า งกาย และเสื้ อ ผ า ของ
ผูไดรับบาดเจ็บ” [210]
ทวาเครื่องตรวจวัตถุระเบิด GT-200 ไดรับการพิสูจนเมื่อไมนานมานี้วาเปนแคกลองพลาสติกไมมีอุปกรณ
อิเล็คทรอนิค [211] หลังจากที่พบวามันทํางานไมไดโดยสิ้นเชิง รัฐบาลอังกฤษสั่งหามการสงออกเครื่องมือที่
คลา ยกั น คือ ADE-651 และจับกุ ม กรรมการผู จัด การของบริษั ทผูผ ลิตดว ยขอ หาหลอกลวง [212] เร็ว ๆนี้
สํานักงานของบริษัทผูผลิต 3 ราย รวมทั้งบริษัท โกลบอล เทคนิคคัล จํากัดถูกเจาหนาที่อังกฤษตรวจคน [213]
ทั้งๆที่มีขอพิสูจนหนักแนนขนาดนี้ที่แสดงถึงความไรประสิทธิผลของ GT-200 พรทิพยยังแกตางและยืนยัน
ใหใชงานมันตอไปในบทสัมภาษณหลายชิ้น เมื่อตนปนี้ความไรประสิทธิผลของเครื่องมือนี้กอใหเกิดคําถาม
ตอความนาเชื่อถือของการสืบสวนตางๆที่นําไปสูการพิพากษาลงโทษคนจํานวนนับรอย (รวมถึงชาวมุสลิม
ที่ถูกกลาวหาวาเปน “ผูกอความไมสงบ” ในภาคใต) ไมตองพูดถึงชีวิตทหารระดับลางที่ตองพึ่งพาเครื่องมือ
นี้ในการตรวจหาระเบิดในพื้นที่ที่ตนลาดตระเวน ยิ่งกวานั้นยังมีคําถามวาเหตุใดหนวยงานรัฐบาลจึงจายเงิน
หลายหมื่นเหรียญสหรัฐสําหรับเครื่องมือที่ไมทํางานนี้ นอกไปจากการทุจริตในการจัดซื้อกลองพลาสติก
เปลาๆในราคาเกือบลานบาท หนวยงานของพรทิพยเองมีรายงานวาไดซื้อเครื่องมือนี้มา 6 เครื่องในราคา
เครื่องละ 1,100,000 บาทซึ่งแพงกวาที่กรมศุลกากรจายไปถึง 3 เทา [214]

74
ในประเทศใดๆที่ยึดถือคุณคาของความซื่อสัตยและประสิทธิภาพมากกวาความภักดีทางอุดมการณ การ
สิ้นเปลืองเงินภาษีและการดึงดันใชงานเครื่องมือหลอกลวงนี้ตอไปของพรทิพยคงจะทําใหเธอสูญเสียความ
น า เชื่ อ ถื อ ที่ จ ะทํ า การสื บ สวนเรื่ อ งสํ า คั ญ ใดๆได อี ก แต ว า ในเมื อ งไทยคนอย า งพรทิ พ ย พิ สู จ น ว า เป น
ประโยชนแกรัฐบาลอภิสิทธิ์เสมอ
ขณะกําลังเปนเรื่องอื้อฉาวในเดือนมกราคม 2552 เมื่อมีการเปดเผยวากองทัพไทยปฏิบัติอยางทารุณตอผู
อพยพชาวโรฮิงยาหลายรอยคนที่มาขึ้นฝงไทย ดวยการลากเรือของพวกเขาออกสูทะเล และปลอยใหพวกเขา
ตายดวยความหิวโหยและการขาดน้ําบนเรือที่ปราศจากเครื่องยนต พรทิพยใหความชอบธรรมแกปฏิบัติการ
โหดตอชาวโรฮิงยาในฐานะเปนภัยตอความมั่นคงของชาติ เธอแถลงวาพบรองรอยคราบระเบิดบนเรือ
เหลานั้นไมปรากฏชัดเจนวามีการใช GT-200 ในคราวนี้ดวยหรือไม [215]
ทํานองเดียวกันชวงการชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงที่ผานมา พรทิพยสืบพบอะไรหลายอยางที่เขาทางรัฐบาล
อภิสิทธิ์ ผลการสืบสวนการปาระเบิดที่ศาลาแดงของเธอชวนสับสนคือ บอกวามีความเปนไปไดที่ระเบิดบาง
ลูกอาจถูกยิงออกมาจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ แตไมยอมปฏิเสธการดวนสรุปของรัฐบาลที่มีตั้งแตคืนที่
เกิดเหตุ [216] ในการสืบสวนกรณีทหารนายหนึ่งที่ถูกยิงชวงที่กลุมคนเสื้อแดงกําลังเคลื่อนขบวนไปตาม ถ.
วิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 28 เมษายนซึ่งในคลิปวีดิโอพบวาเปนการยิงจากทหารดวยกันเอง เธอสรุปวากระสุน
นัดนั้นถูกยิงมาจากอาคารที่อยูใกลเคียงซึ่งบังเอิญอยูในบริเวณที่สื่อตางชาติเคยเผยแพรภาพผูชุมนุมกลุมคน
เสื้อแดงรายหนึ่งถือปนพก [217] สวนการสืบสวนกรณีการลอบสังหาร เสธ.แดง [218] ยังไมปรากฏผลออกมาใน
ขณะนี้ และการสืบสวนของเธอในกรณีการสังหารผูเขาไปหลบอยูภายในวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร 6 ศพ
เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคมบอกวาเปนไปไดวาผูเสียชีวิตถูกยิงในระยะประชิด [219] ซึ่งตรงขามกับคําบอกเลาของ
ประจักษพยานที่รวมถึงนัก ขาวตางชาติ มารค แม็คคินนอน และ แอนดรูว บันคอมบ ที่ไมสงสัยเลยวา
กระสุนนั้นถูกยิงมาจากภายนอกวัด พวกเขาระบุวาคนยิงคือทหาร [220]
พรทิพยไดรับแตงตั้งใหเขาไปอยูในศูนยอํานวยการแกไขสถานการณฉุกเฉินเมื่อวันที่ 20 เมษายนและมี
แนวโนมที่จะยังคงมีบทบาทสําคัญตอไปในการสืบสวนกรณีตางๆที่ทําใหมีผูเสียชีวิตเกือบรอยรายชวงเดือน
เมษายน - พฤษภาคม [221] ตราบใดที่การสืบสวนของรัฐบาลยังคงพึ่งพา “ผูเชี่ยวชาญ” ที่ไรความนาเชื่อถือ
และเอียงขางเชน พรทิพย แทบจะคาดหวังผลที่จะออกมาเปนอะไรอยางอื่นไมไดเลยนอกจากถอยแถลงทาง
การเมืองและเครื่องมือการโฆษณาชวนเชื่อ

8.6 ความเปนธรรมสําหรับผูถูกกลาวหา
ในขณะเดียวกันรัฐบาลเริ่มเดินหนาดําเนินคดีแกนนํา นปช. ซึ่งมีประเด็นเรื่องความเปนธรรมและการ
เปดเผยขอมูล แมวารัฐบาลประสงคจะทําอะไรตอคนเหลานี้ก็ตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง
และสิทธิทางการเมืองรับรองการไตสวนที่เปนธรรมในประเทศไทยซึ่งรวมถึงสิทธิในการเลือกทนาย, การ

75
เตรียมการแกขอกลาวหาโดยมีระยะเวลาและเครื่องมือที่เหมาะสม และการสามารถเขาถึงพยานหลักฐานโดย
เทาเทียม [222] ผูถูกกลาวหามีสิทธิที่จะตรวจสอบหลักฐานอยางเปนอิสระโดยใชผูเชี่ยวชาญและทนายของ
ตัวเองภายใตเงื่อนไขเดียวกันกับฝายรัฐบาล และมีสิทธิรวบรวมหลักฐานเพื่อแกขอกลาวหา [223]
ในการดําเนินคดีแกนนํา นปช. รัฐบาลอางวาพวกเขาเปนผูบงการใหเกิดการฆาฟนที่สะพานผานฟาและสี่
แยกราชประสงค โดย “คนชุดดํา” ที่ควบคุมโดย นปช. ดวยขอกลาวหาเหลานี้การระบุตัวตนที่แทจริงของ
มือปนและมือยิงระเบิดทุกคนเปนประเด็นพื้นฐานสําคัญในแตละกรณีภายใตกติการะหวางประเทศวาดวย
สิท ธิ พ ลเมื อ งและสิ ท ธิ ท างการเมื อ ง ที ม ทนายจํ า เลยมี สิ ทธิ ที่ จ ะรวบรวมหลั ก ฐานเช น วิ ถี ก ระสุ น และ
หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตรอื่นๆ, ดีเอ็นเอ, บันทึกวิดิโอ, คําสั่งในสายการบังคับบัญชาของทหาร และอื่นๆ
เพื่อหาสาเหตุที่เปนไปไดแบบอื่นเชน ความเปนไปไดที่กระสุนอาจมาจากปนไรเฟลของกองทัพไทย หรือวา
“คนชุดดํา” กระทําการอยางเปนอิสระจาก นปช.
ผูถูกกลาวหามีสิทธิที่จะตรวจสอบขอสรุปของผูเชี่ยวชาญฝายรัฐบาลอยางพรทิพยและคนอื่นๆตลอดจน
หลักฐานที่พวกเขาอางถึง ผูถูกกลาวหามีสิทธิที่จะใชผูเชี่ยวชาญนิติวิทยาศาสตรของตนเองในการจําลอง
สภาพที่เกิดเหตุ, วิเคราะหดีเอ็นเอ, ตรวจสอบคลิปวีดิโอ และหลักฐานอื่นทั้งหมดที่อยูในมือของรัฐบาล
(โดยสามารถเขาถึงเทาเทียมกับรัฐบาล) และใชหลักฐานนั้นแกขอกลาวหา ความเปนธรรมและการเปดเผย
ขอมูลสําหรับผูถูกกลาวหามีความสําคัญอยางยิ่งยวด มีแตการสืบสวนที่ดําเนินการโดยคณะที่เปนอิสระและ
เปนกลางเทานั้นที่สามารถรับรองวาสิทธิของผูถูกกลาวหาจะไดรับการคุมครอง มีการยื่นหนังสือเรียกรอง
อยางเปนทางการในนามผูถูกกลาวหาไปแลว โดยยืนยันสิทธิของพวกเขาภายใตกฎหมายระหวางประเทศใน
การสงวนรักษา และเขาถึงหลักฐานทั้งหมด รวมทั้งหลักฐานนิติวิทยาศาสตรทั้งทางกายภาพและอื่นๆ, คลิป
วีดิโอ, เอกสาร และรายงานของผูเชี่ยวชาญ [224] และยังมีการนําเรื่องนี้ไปรองเรียนกับคณะกรรมาธิการสิทธิ
มนุษยชนแหงสหประชาชาติซึ่งทําหนาที่ดูแลการปฏิบัติตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมืองอีกดวย

[160] เอ็ดเวิรด เอ็ม ไวส, “Aut Dedere Aut Judicare: The Duty to Prosecute or Extradite,” ในกฎหมายอาญาระหวาง
ประเทศ, ชุดที่ 2, บรรณาธิการ เอ็ม ชารีฟ บัสซิโอนี (นิวยอรค : Transnational Publishers, 2541), หนา 18 - 19
[161] ดูกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ขอ (6) (1) ประกันการคุมครองจากการฆาตาม
อําเภอใจ ประเทศไทยเขาเปนภาคีกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม
2539
[162] ความเห็นทั่วไปของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ ลําดับที่ 13, ลักษณะของพันธกรณีตาม
กฎหมายทั่วไปที่มีตอรัฐภาคีของกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง, ออกเมื่อวันที่ 29 มีนาคม
2547 (ความเห็นลําดับที่ 31), ยอหนา 8 (ตัวเนนเปนของผูเขียน)
[163] ความเห็นลําดับที่ 31, ยอหนา 15 (ตัวเนนเปนของผูเขียน)

76
[164] ความเห็นลําดับที่ 31, ยอหนา 18 (ตัวเนนเปนของผูเขียน)
[165] กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง, ขอ (6) (1)
[166] กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง, ขอ 7
[167] กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง, ขอ 9 (1)
[168] สมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ, การลงมติ 63/182, 16 มีนาคม 2552, ยอหนา 1 - 3
[169] เพิ่งอาง, ยอหนา 3
[170] เพิ่งอาง, ยอหนา 6 (b)
[171] เพิ่งอาง, ยอหนา 6 (b)
[172]รายงานของผูรายงานพิเศษแหงสหประชาชาติวาดวยการวิสามัญฆาตกรรม การสังหารอยางรวบรัดตัดตอน หรือตาม
อําเภอใจ, เอกสารของสหประชาชาติ E/CN.4/2005/7, 22 ธันวาคม 2547, ยอหนา 6
[173] รายงานของผูรายงานพิเศษแหงสหประชาชาติวาดวยการวิสามัญฆาตกรรม การสังหารอยางรวบรัดตัดตอน หรือตาม
อําเภอใจ, เอกสารของสหประชาชาติ A/HRC/14/24, 20 พฤษภาคม 2553, ยอหนา 34 (ตัวเนนเปนของผูเขียน).
[174] เพิ่งอาง, ยอหนา 35
[175] เพิ่งอาง
[176] เพิ่งอาง, ยอหนา 34
[177] ดูระหวาง ผูฟองรอง กับ ทาดิช, คดี IT-94-1-T, ความเห็นและคําตัดสินเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2540 (ตุลาการฝายไต
สวน), หนา 710 (องคประกอบของอาชญากรรมรวมถึง “สิ่งที่เปนทางกายภาพ เศรษฐกิจ หรือทางตุลาการ ที่ละเมิดสิทธิ
ของปจเจกบุคคลในการมีสิทธิพื้นฐานของตนอยางเทาเทียม เปนตน) (ตัวเนนที่ 2 เปนของผูเขียน).
[178]กูเปรชกิส, หนา 621
[179] เพิ่งอาง, หนา 636
[180] เพิ่งอาง, หนา 630 - 631
[181] เพิ่งอาง, หนา 619, และ 897
[182] เพิ่งอาง, หนา 611 - 612
[183] เพิ่งอาง, หนา 630 - 631
[184] กฎบัตรของคณะตุลาการทหารระหวางประเทศ, ขอ 6 (c), บัญญัติวาอาชญากรรมตอมนุษยชาติคือ “การฆาตกรรม
การทําใหสิ้นชีวิต การทําใหเปนทาส การเนรเทศ และการกระทําที่ไรมนุษยธรรมอื่นๆ ที่กระทําตอประชากรพลเรือน ...
โดยกฎหมายหรือโดยสืบเนื่องกับอาชญากรรมใดๆ ภายใตขอบเขตอํานาจพิจารณาความของคณะตุลาการนี้” (ตัวเนนเปน
ของผูเขียน).
[185] ธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศ, ขอ 7 (1)
[186] ธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศ, ขอ 7 (1), 7 (2) (a)
[187] ตุลาการฝายไตสวนชุดที่ 2 คดีสาธารณรัฐเคนยา, คดี ICC-01/09-19, ยอหนา 81
[188] เพิ่งอาง, ยอหนา 82
[189] เพิ่งอาง, ยอหนา 94 - 96
[190] เพิ่งอาง, ยอหนา 84 (ตัวเนนเปนของผูเขียน), อางถึงตุลาการฝายไตสวนชุดที่ 1 การพิพากษายืน, คดี ICC-01/04-
01/07-717, ยอหนา 396
[191] คณะตุลาการเฉพาะกิจสําหรับประเทศยูโกสลาเวียเดิม, ระหวางผูฟองรอง กับ บลาชสกิค, คดี IT-95-14-T, 3 มีนาคม
2543, ยอหนา 204

77
[192] แอนโตนิโอ แคสสิสิ, กฎหมายอาญาระหวางประเทศ, ชุดที่ 2 (Oxford: Oxford University Press, 2551), หนา 98 -
99
[193] ดูตุลาการฝายไตสวนชุดที่ 2 คดีสาธารณรัฐเคนยา, คดี ICC-01/09-19, ยอหนา 89, อางถึงคณะตุลาการเฉพาะกิจ
สําหรับประเทศยูโกสลาเวียเดิม, ระหวางผูฟองรอง กับ บลาชสกิค, คดี IT-95-14-T, 3 มีนาคม 2543, ยอหนา 205
[194] องคกรผูสื่อขาวไรพรมแดน, “Thailand: Licence to Kill,” กรกฎาคม 2553, http://en.rsf.org/IMG/pdf
/REPORT_RSF_THAILAND_Eng.pdf
[195] ระหวางผูฟองรอง กับ อคายีสุ, ศาลอาญากรรมระหวางประเทศสําหรับรวันดา, 2 กันยายน 2541, คดี. ICTR-96-4-T,
at589-590; ดูเพิ่มเติมแคสสิสิ, อางแลว, หนา 109
[196] ระหวางผูฟองรอง กับ บลาชสกิค, คณะตุลาการเฉพาะกิจสําหรับประเทศยูโกสลาเวียเดิม, 3 มีนาคม 2543, คดี IT-95-
14-T, หนา 247, 251
[197] ระหวางผูฟองรอง กับ กูนารัสและพวก, คณะตุลาการเฉพาะกิจสําหรับประเทศยูโกสลาเวียเดิม, 22 กุมภาพันธ 2544,
คดี IT-96-23-T, หนา 434
[198] “บรรหาร - เนวิน” ขวางพรรครวมถอนตัว คาด “อภิสิทธิ์” ลาออกหลังลุยม็อบแดงจบ อาจยืดเยื้ออีก 1 สัปดาห,”
มติชน, 17 พฤษภาคม 2553, http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1274104360 &catid=01
[199] “จตุพร”ปูดทหารแตงโมแฉแผน”อนุพงษ” สั่ง 9 ขอ 4 ขั้นจัดการแดงใหจบใน 7 วัน หามพลาด อางสูญเสีย 500 ก็
ยอม, มติชน, 20 เมษายน 2553, http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid= 1271686129&grpid=10&catid=01
[200] “Sansern: 500 Terrorists Infiltrating Reds,” บางกอก โพสท, 14 พฤษภาคม 2553, http://www.bangkokpost.com
/breakingnews/177896/500-terrorists-blending-with-reds-sansern
[201] ปกปอง เลาวัณยศิริ, “Thai Fact-Finding Committee Falls Short,” The Irrawaddy, 28 มิถุนายน 2553,
http://www.irrawaddy.org/opinion_story.php?art_id=18817&page=2
[202] “Kanit Soon to Pass on List of Independent Committee to PM,” สํานักขาวแหงชาติ กรมประชาสัมพันธ, 28
มิถุนายน 2553, http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255306280033
[203] อติยา อัชชะกุลวิสุทธิ์, “Reconciliation Will Have Its Price,” บางกอก โพสท, 15 มิถุนายน 2553,
http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/38778/reconciliation-will-have-its-price
[204] อัชรา อัชญกชาติ, “Mixed Reactions to Kanit Panel,” บางกอก โพสท, 8 กรกฎาคม 2553,
http://www.bangkokpost.com/news/politics/185193/mixed-reactions-on-kanit-panel
[205] เนอมอล โกช, “Ex-PM, Scholar to Mediate in Thailand,” The Straits Times, 19 มิถุนายน 2553,
http://www.asianewsnet.net/news.php?id=12601&sec=1
[206] สมชัย ภัทรธนานันท, Civil Society and Democratization (โคเปนเฮเกน : NIAS Press, 2549)
[207] อธิบายคราวๆ, ดูบางกอก พันดิท (pseud.), “Thailand: Road Map for Reconciliation UPDATE,” บางกอก พันดิท
(นามปากกา), 22 มิถุนายน 2553, http://us.asiancorrespondent.com/bangkok-pundit-blog/road-map-for-reconciliation
[208] วรรณภา เขาพา, “Pornthip Named Most Trustworthy Person in the Country,” เดอะ เนชั่น, 26 กุมภาพันธ 2553,
http://www.nationmultimedia.com/home/2 0 1 0 / 0 2 / 2 6 / national/Pornthip-named-most-trustworthy-person-in-the-coun-
30123440.html
[209] “Police: Residual C4 Chemical Found on Oct 7 Victim,” สํานักขาวแหงชาติ กรมประชาสัมพันธ, 25 กุมภาพันธ
2551, http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255202250025

78
[210] ปยนุช ทํานุเกษตรชัย, “No Explosive Residue: Pornthip,” เดอะ เนชั่น, 11 ตุลาคม 2551,
http://www.nationmultimedia.com/2008/10/11/national/national_30085759.php
[211] “Explosives Expert Tests 'Black Box' of 'Bomb Detector',” BBC News, 27 มกราคม 2553, http://news.bbc.co.uk
/2/hi/programmes/newsnight/8483200.stm
[212] ไซมอน เดอ บรัสเซลส, “Head of ATSC 'Bomb Detector' Company Arrested on Suspicion of Fraud,” The Times,
22 มกราคม 2553, http://www.timesonline.co.uk/tol/news/uk/article6997859.ece
[213] ไมเคิล พีล และ ซิลเวีย ไฟเฟอร, “Police Conduct Raids in Bomb Detector Probe,” Financial Times, 8 มิถุนายน
2553, http://www.ft.com/cms/s/0/ba30e518-72f5-11df-9161-00144feabdc0.html
[214] สุภลักษณ กาญจนขุนดี, “Money Wasted on So-Called Bomb Detectors,” เดอะ เนชั่น, 29 มกราคม 2553,
http://www.nationmultimedia.com/search/read.php?newsid=30121417&keyword=gt200
[215] บางกอก พันดิท (นามปากกา), “How Did Dr. Pornthip Detect Explosive Residue on the Rohingya Boat?,”
บางกอก พันดิท, 10 กุมภาพันธ 2553, http://us.asiancorrespondent.com/bangkok-pundit-blog/so-how-did-dr.-pornthip-
detect-the-explosive-residue-on-the-rohingya-boat
[216] “Porntip Takes Chula Flak over Grenade Attack Theory,” บางกอก โพสท, 5 มิถุนายน 2553,
http://www.bangkokpost.com/news/politics/36864/porntip-takes-chula-flak-over-grenade-attack-theory
[217] “Porntip: Troop Killed in Don Muang Clash Not Killed by Friendly Fire,” เดอะ เนชั่น, 4 พฤษภาคม 2553,
http://www.nationmultimedia.com/home/Porntip-Troop-killed-in-Don-Muang-clash-not-killed-30128559.html
[218] “Khunying Pornthip to Gather Evidence on Seh Daeng’s Assassination Attempt,” สํานักขาวแหงชาติ กรม
ประชาสัมพันธ, 14 พฤษภาคม 2553, http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255305140044
[219] “Six Bodies Found in Safe-Zone Temple Show Signs of Execution,” สํานักขาวแหงชาติ กรมประชาสัมพันธ, 21
พฤษภาคม 2553, http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255305210020
[220] แอนดริว บันคอมบ, “Eyewitness: Under Fire in Thailand,” The Independent, 20 พฤษภาคม 2553,
http://www.independent.co.uk/news/world/asia/eyewitness-under-fire-in-thailand-1977647.html
[221] “DSI to Deliberate 153 UDD Cases,” บางกอก โพสท, 14 มิถุนายน 2553, http://www.bangkokpost.com
/breakingnews/181227/dsi-to-deliberate-on-153-udd-cases
[222] กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง, ขอ14, รวมทั้งสวน 3 (b) และ 3 (e)
[223] กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง, ขอ 14, สวน 3 (e)
[224] สําเนาของจดหมายถึงผูมีอํานาจของไทยของเรา ดาวโหลดที่นี่ : http://robertamsterdam.com /thailand/wp-
content/uploads/2010/06/Letter-to-Thai-Authorities-Demanding-Investigation-and-Access-to-Evidence-June-29-2010-
_Final-Corrected__.pdf.

79
9. บทสรุป : หนทางเดียวสูการปรองดอง
กอนที่กลุมคนเสื้อแดงอีก 55 รายจะถูกสังหารดวยน้ํามือของกองทัพไทยดวยซ้ําที่นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ให
คํามั่นวาตนเองและรัฐบาลของตนจะสรางการ “สมานฉันท” และโดยเฉพาะยิ่งหลังจากมีการสังหารหมูผู
เรี ย กร อ งประชาธิ ป ไตยครั้ ง เลวร า ยที่ สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร ข องประเทศ ประเทศไทยยิ่ ง ต อ งการการ
สมานฉันทกวาที่เคยเปนมา แตนาเศราใจที่เห็นไดชัดวาผูมีอํานาจที่ปกครองอยูในขณะนี้ไมมีความสามารถ
หรือมีความตั้งใจแรงกลาเพียงพอที่จะสงเสริมการสมานฉันทอยางแทจริง
อีกทั้งมาตรการที่เขมงวดและการโหมไลลาชวง 6 สัปดาหที่ผานมา (เห็นไดจากการตออายุ พ.ร.ก.การ
บริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน, การจับกุมคุมขังกลุมคนเสื้อแดงจํานวนหลายรอยคน, การกักขังแกน
นํา นปช. ในคายทหาร และการปราบและปดกั้นสื่อทางเลือกทั้งหมด) การแตงตั้งคณะกรรมการหลากหลาย
คณะเพื่อแสรงใหเห็นวาประเทศกําลังเดินหนาไปสูหนทางแหงการ “สมานฉันท” ซึ่งในขอเท็จจริงเปนเพียง
“การสรางความเห็นพองทางอุดมการณ” โดยการใชอํานาจบังคับผานการโฆษณาชวนเชื่อและการ
ปราบปราม
นายกรัฐมนตรีและคณะนายทหารซึ่งกําลังชักใยอยูเบื้องหลังรัฐบาลนั้นเลือกที่จะเพิกเฉยตอขอเท็จจริง
พื้นฐาน 2 ประการที่คนทั้งโลกเขาใจ ประการแรกคือ การสมานฉันทไมอาจเกิดขึ้นโดยปราศจากความจริง
ประการที่ 2 การปราบปรามไมใชหนทางที่จะนําไปสูความจริงและการสมานฉันท เผด็จการนั้นมีแตจะสราง
ความเกลียดชังและการหลอกลวงเพิ่มมากขึ้นเทานั้น
การทบทวนเหตุการณชี้ใหเห็นวารัฐบาลอภิสิทธิ์และกองทัพไทยตองรับผิดชอบตอการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ที่กระทําอยางตอเนื่อง, อาชญากรรมตอมนุษยชาติ และการกลั่นแกลงไลลาทางการเมืองอยางเปนระบบ
ขณะที่รัฐบาลไทยมีหนาที่ตามหลักกฎหมายระหวางประเทศที่ตองดําเนินการสืบสวนสอบสวนการกระทํา
ละเมิดของตน และตองนําตัวผูรับผิดเขาสูกระบวนการยุติธรรม ประชาคมนานาชาติมีความรับผิดชอบดาน
ศีลธรรมที่จะทําใหมั่นใจวาการกออาชญากรรมของรัฐจะไมถูกปกปด อันที่จริงขณะนี้เห็นไดชัดเจนวามีแต
แรงกดดันจากนานาชาติและการเขามามีสวนรวมของนานาชาติเทานั้นที่จะสรางความมั่นใจวาการสืบสวน
สอบสวนเหตุการณสังหารหมูในกรุงเทพที่รัฐบาลเปนเจาภาพนั้นจะไมเปนเพียงการสรางความยุงเหยิงที่
นําไปสูการฟอกตัวเองจากกระบวนการยุติธรรมเพื่อซอนผูที่ตองรับผิดชอบตอความรุนแรงโดยรัฐอยางที่
เปนมาตลอดทุกครั้งในประวัติศาสตรไทย ไมตองสงสัยเลยวาประวัติศาสตรจะเปนผูตัดสินความผิดของผูที่
ตองรับผิดชอบตอกรณีการสังหารหมูที่เพิ่งเกิดขึ้น เฉกเชนเดียวกับการสังหารหมูผูเรียกรองประชาธิปไตย
จํานวนมากในป พ.ศ. 2516, 2519 และ 2535 อยางไรก็ตามสําหรับครั้งนี้ผูที่ตองรับผิดชอบจะตองเผชิญกับ
ความรับผิดจากการกระทําของตนเองในศาลยุติธรรมที่แทจริงซึ่งไมใชศาลที่พรั่งพรอมไปดวยมิตรสหาย
หรือคนในการอุปถัมภหรือผูที่ถูกแตงตั้งจากพวกเขากันเอง

80
“การสมานฉันท” ยังตองอาศัยการยอมรับวาความวุนวายทางการเมืองในปจจุบันเปนผลมาจากการทําลาย
และปฏิเสธเจตจํานงของประชาชนครั้งแลว ครั้งเลา ดังนั้ นแลวการแกไขจะทํ าไดก็ดวยการยิน ยอมให
ประชาชนไทยพูดดวยตัวเองในการเลือกตั้งเทานั้น แนนอนวาเพียงการจัดการเลือกตั้งนั้นยังไมเพียงพอ
ประเทศไทยตองการการเลือกตั้งในบริบทที่ไมมีฝายใดไดเปรียบอันไมสมควรจากการปดกั้นฝายตรงขาม,
จากการหนุนหลังจากกลไกรัฐ, จากความโนมเอียงของศาลที่จะบิดเบือนผลการเลือกตั้ง, จากโอกาสที่กลุม
อํ า นาจเกา จะบ อ นทํ า ลายรั ฐ บาลที่ ม าจากการเลื อ กตั้ ง ของประชาชนซ้ํา อีก หรื อ ความหวาดกลั ว ว า การ
รัฐประหารโดยกองทัพจะเกิดขึ้นอีก ประเทศไทยจึงตองการการเลือกตั้งที่มีการแขงขันของทุกฝายภายใตกฎ
กติกาที่เคารพในสิทธิของประชาชนที่จะลงสมัครรับเลือกตั้ง ลงคะแนนเสียงใหกับผูสมัครที่พวกเขาเลือก
ดวยตัวเอง และมีรัฐบาลจากพรรคการเมืองที่พวกเขาเลือกมา รัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 ที่ประกาศใช
ภายใตการควบคุมของรัฐบาลทหารซึ่งใหอํานาจศาลในการยุบพรรคการเมืองและตัดสิทธิทางการเมืองของ
ผูนําพรรคนั้นสอบตกดานความชอบธรรม ตราบเทาที่อภิสิทธิ์ยังมีความจริงใจตอความเชื่อของตัวเองวาเขามี
ความชอบธรรมที่จะปกครองประเทศ เขาควรยินดีกับโอกาสที่จะแสดงวาตนเองมีความชอบธรรมผาน
สนามเลือกตั้งที่สูกันอยางเทาเทียม ตราบเทาที่เขาหวาดกลัวการตัดสินจากประชาชนเขายอมไมที่อยูที่ยืนใน
รัฐบาล

81
กิตติกรรมประกาศ
เราขอขอบคุณผูรวมงานและมิตรสหายทั้งเกาและใหม ผูใหเกียรติรวมจัดทําสมุดปกขาวเลมนี้ซึ่งเราซาบซึ้ง
ในความรวมมือและการตระหนักในความเทาเทียมอยางแทจริงของประชาชนไทย

บริษัท อัมสเตอรดัม แอนด เปรอฟ จํากัด


กรกฎาคม 2553

82

You might also like