You are on page 1of 8

Page 1 of 8

ผูประกอบการเชิงสรางสรรค: โอกาสในโลกใหม ความพรอมที่ตองเตรียม และลักษณะที่ตองมี

วีระวุฒิ วัจนะพุกกะ

อาจารยประจําสถาบันสงเสริมการวิจยั และพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

โอกาสในโลกใหม

ในศตวรรษที่ 21 ยุคแหงปรากฏการณทางเศรษฐกิจที่สามารถสัมผัสไดถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจซึ่งหมุนเร็ว
ขึ้น ทามกลางสภาวะแวดลอมภายนอกที่ยากแกคาดการณไดอยางแมนยํา หรือบางครัง้ แมแตใกลเคียงก็ตาม การ
พัฒนาจากเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมสูเศรษฐกิจฐานความรู (Knowledge-based Economy) และเศรษฐกิจสรางสรรค
(Creative Economy) ที่ถูกผลักดันจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ล้ําสมัย การเติบโตของฐานขอมูล และลักษณะ
ทางสังคมที่แปรเปลี่ยนไป สงผลใหรูปแบบการแขงขันในโลกธุรกิจจําเปนตองปรับตัวตาม ผูประกอบการซึ่งถือไดวา
เปนตัวขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของชาติ ผูซึ่งมีความเต็มใจทีจ่ ะรับผลตอบแทนที่นาพิสมัยทีม่ าพรอมกับความเสี่ยงใน
การดําเนินธุรกิจ ตองแขงขันกันดวย “ความคิดสรางสรรค (Creativity)” และ “นวัตกรรมสมัยใหม (Innovation)” เพื่อ
สรางความตางของกระบวนการการสงมอบสินคาหรือบริการ ใหถึงมือผูบริโภคขั้นสุดทายพรอมกับความพึงพอใจสูงสุด
เปนเหตุใหประเทศไทยจําเปนตองสงเสริมแนวคิดเรื่อง เศรษฐกิจสรางสรรค กระทั่งมีการบรรจุไวในแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) เพื่อใหประเทศสามารถปรับตัวและอยูรอดไดทามกลาง
กระแสโลกาภิวฒ ั นที่การเปลี่ยนแปลงของโลก เศรษฐกิจ และสังคมถาโถมใส โดยไมพงึ่ หวังเพียงแคทรัพยากรดาน
เงินทุน ทรัพยากรทางธรรมชาติ และทรัพยากรดานเทคโนโลยี ในการเสริมสรางความสามารถในการแขงขันโดย
เปรียบเทียบ (Competitive Advantage) เมื่อเทียบกับประเทศคูแ ขงอีกตอไป รัฐบาลจึงสนับสนุนใหผูประกอบการ หรือ
ทุนมนุษยที่ประเทศมีอยู ใชความคิดสรางสรรค ในการพัฒนาทรัพยากรอันล้ําคาของประเทศ เชน วัฒนธรรมทองถิ่น
ตามภูมิภาคตางๆ แหลงทองเทีย่ วตามธรรมชาติ ตลอดจนสินคาพื้นเมืองทีม่ ีอยูแลว ใหนําไปใชในแนวทางใหมๆหรือ
วิธีการใหมๆ และตองสามารถนํามาพัฒนาใหเกิดผลประโยชนเชิงเศรษฐศาสตรไดจริง สมกับการเปนยุคแหงเศรษฐกิจ
สรางสรรคและยึดหลัก “ประโยชนสูง ประหยัดสุด”

“ It is good to be better, but it is better to be different.”

ดวยเหตุนผี้ ูประกอบการในยุคเศรษฐกิจฐานความรู จึงไมสามารถที่จะจํากัดการเรียนรูของตนอยูเพียงแคมติ ิใดมิตหิ นึ่ง


หรือพึ่งพาเพียงแคความสามารถเฉพาะตน ความสัมพันธสวนตัว หรือ เพียงแคประสบการณที่ถูกถายทอดจาก
ผูประกอบการในยุคกอน แตยงั ตองเตรียมตัว ปรับตัว และเปดกวางสําหรับการเรียนรูสิ่งรอบตัวในลักษณะองครวม
และสามารถผสมผสานความรูเหลานั้นเขากับความคิดสรางสรรค จนกอใหเกิดนวัตกรรมใหมๆขึ้นมา อีกมุมหนึ่ง
องคกรที่จะอยูไดในอนาคตภายใตโลกธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จําเปนตองอาศัยความคิดสรางสรรคและ
สามารถดึงเอาศักยภาพของคนในองคกรออกมาใชไดอยางไมติดขัด กลาที่จะเปลี่ยนกรอบความคิดและไมยึดติดกับ
กฎเกณฑเดิมๆทีจ่ ํากัดจินตนาการของคนในองคกร ยิง่ กวานั้นความสําเร็จขององคกรในยุคเศรษฐกิจสรางสรรคควรเริ่ม
ตั้งแตการบมเพาะความคิดเชิงธุรกิจในระดับรากฐานใหกับพนักงานของตน และปฏิบัติกบั บุคคลเหลานั้นเสมือนมี
ผูประกอบการยอยอยูภ ายในองคกรนั่นเอง
Page 2 of 8

เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศไทยเปนระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่พึ่งพาภาคแรงงานเปนหลัก แตปจจุบัน ประเทศ


ไทยพยายามที่จะสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรค และพยายามทีจ่ ะผลักดันใหเกิดการคาระหวางประเทศ
โดยการเพิม่ มูลคาใหแกสินคาไทยและใชกลยุทธเชิงรุกมากขึ้น ในป 2008 การประชุมสหประชาชาติวาดวยการคาและ
การพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development: UNCTAD) ไดรายงานอันดับของประเทศผู
สงออกสินคาและบริการเชิงสรางสรรค 20 อันดับแรก (UNCTAD, 2008) (ตารางที่ 1) พบวา ประเทศไทยอยูในลําดับที่
17 ในป 2005 และมีอตั ราการเติบโตโดยเฉลี่ยอยูที่ 5.1%

ตารางที่ 1 รายงานอันดับของประเทศผูสงออกสินคาและบริการเชิงสรางสรรค 20 อันดับแรก (UNCTAD, 2008)

ที่มา: (UNCTAD, 2008)

ยิ่งกวานั้น อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ


(อาคม, 2008) ยังรายงานวา ประเด็นทางดานเศรษฐกิจสรางสรรค ที่ถูกบรรจุไวในแผนปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ จะเนนที่การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจที่แทจริง (Real Sector) โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภาคเกษตรกรรม
และภาคการผลิต จะเห็นไดวาประเทศไทยยังมีโอกาสทีจ่ ะกาวขึ้นเปนผูนําในการสงออกสินคาและบริการเชิงสรางสรรค
อีกมากและรัฐบาลก็ยังมีนโยบายที่ชัดเจนในการสงเสริมผูประกอบการรายยอย ผูประกอบการในยุคแหงการ
เปลี่ยนแปลงนี้จึงจําเปนตองเขาใจขอจํากัดทีต่ นมีและเตรียมตัวใหพรอมที่จะพัฒนาตนเอง เพื่อใหมีคุณลักษณะของ
ผูประกอบการเชิงสรางสรรคที่ดี

วัตถุประสงคของบทความนี้ คือ การนําเสนอแนวคิดใหมๆในการเตรียมความพรอมของผูประกอบการในเศรษฐกิจแบบ


ดั้งเดิมที่กําลังกาวไปสูเศรษฐกิจฐานความรูและเศรษฐกิจสรางสรรค และนําเสนอคุณลักษณะของผูประกอบการเชิง
สรางสรรคที่ควรจะมี เนื่องจากในปจจุบันยังไมมีเครื่องมือใดที่สามารถนํามาใชชวี้ ัดความเปนผูประกอบการไดอยางมี
ประสิทธิภาพ แนวคิดเหลานี้อาจจะนําไปสูการพัฒนาแบบจําลองสําหรับการศึกษาและสรางเครื่องมือที่สามารถบงชี้ได
วาบุคคลใดมีความเปนผูประกอบการอยูภายในตัว ทัง้ ที่อาจจะเปนเจาของกิจการเองหรือเปนบุคคลที่ทํางานอยูภายใน
Page 3 of 8

องคกร เมื่อพัฒนาจนไดเครื่องมือที่เชื่อถือไดและมีประสิทธิภาพแลว หนวยงานตางๆก็จะสามารถใชเครื่องมือเหลานั้น


แยกแยะบุคคลทีม่ ีศักยภาพ มีความเปนผูประกอบการที่ตองการ และสามารถสนับสนุนสงเสริมไดอยางถูกตอง

ความพรอมที่ตองเตรียม และลักษณะที่ตองมี

เมื่อพูดถึงความหมายของ “ผูประกอบการ” บางแนวคิดใหความหมายอยางแคบ คือ หมายรวมถึงแคผูประกอบการที่


เปนเจาของกิจการเทานั้น แตในบทความนี้ยึดความหมายตาม Bolton and Thompson (2000) ซึ่งใหคําจํากัดความ
ของ “ผูประกอบการ” วา เปนบุคคลที่สรางสรรคสิ่งใหมๆอยางตอเนื่องและสามารถนํามาสูก ารเพิ่มมูลคาของระบบ
เศรษฐกิจได ภายใตโอกาสที่มองเห็น จะเห็นวาผูประกอบการตามความหมายของ Bolton and Thompson (2000)
ไมไดจํากัดอยูเพียงแคเจาของกิจการเทานั้น แตอาจรวมถึงบุคคลากรในองคกรทัง้ ในภาครัฐและเอกชนที่มคี วามเปน
ผูประกอบการอยูภายในและมองเห็นโอกาสจนสามารถผลักดันทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขององคกรได

แนวคิดดังกลาว ชีใ้ หเห็นถึงความจําเปนทีจ่ ะตองแยกกันใหออกระหวาง ผูประกอบการที่เปนเจาของกิจการ และ บุคคล


ที่มีความเปนผูประกอบการอยูภายใน เนื่องจากในความเปนจริงแลว ผูประกอบการที่เปนเจาของกิจการตองรับความ
เสี่ยงในการดําเนินธุรกิจดวยตนเอง และยิ่งตองมีความพรอมภายนอกดานอื่นที่เกี่ยวของกับการดําเนินกิจการดวย
ดังนั้นไมใชทุกคนที่เหมาะสมและสามารถเปนเจาของกิจการได และบุคคลเหลานั้นก็ไมควรทีจ่ ะถูกชักจูงหรือทําใหเชื่อ
วาพวกเขาควรจะเปนเจาของกิจการดวย แตควรแนะนําใหบุคคลที่มีความเปนผูประกอบการอยูภ ายในตัวและทํางานใน
องคกรใหญๆ คนหาสิ่งที่ตนเองทําไดดีที่สุด ภายใตเงื่อนไข เวลาและโอกาสที่เหมาะสม

เมื่อเขาใจความเหมือนและเห็นความตางระหวาง ผูประกอบการที่เปนเจาของกิจการกับบุคคลที่มีความเปน
ผูประกอบการอยูภายในแลว การเตรียมความพรอมสําหรับผูประกอบการเชิงสรางสรรค ในบทความนีจ้ ึงสามารถนําไป
ประยุกตใชไดกับบุคคลทั้งสองกลุมเนื่องจากปจจัยรวมภายในทีพ่ วกเขามีอยูไมไดมีความแตกตางกันนัก

ถามองจากวัตถุประสงคของการเตรียมตัวเพื่อทีจ่ ะเปนผูประกอบการเชิงสรางสรรคที่ดี จากการศึกษาของ ไพฑูรย สิน


ลารัตนและคณะ (2550) เพื่อหาแนวทางในการเปลี่ยนผานการศึกษาใหสามารถพัฒนาคนไดเต็มตามศักยภาพ เพื่อ
เตรียมประเทศใหกาวสูเศรษฐกิจฐานความรู พบวา ระบบการศึกษาของไทยสงผลใหเกิดวัฒนธรรมการเรียนรูและ
วัฒนธรรมการมีชีวติ ที่เปนแบบวัฒนธรรมการรับ (Receiving Culture) ทําใหมีคุณลักษณะทีไ่ มพึงประสงค เชน เชื่อ
ตามที่ไดฟง ขาดความมั่นใจ ไมแสวงหาขอมูล คิดตามแบบเดิมและไมคํานึงถึงสวนรวม คุณลักษณะเหลานี้เปน
อุปสรรคอยางยิ่งตอการพัฒนาความคิดสรางสรรคและการสรางเสริมจินตนาการ ผูประกอบการไทยจึงจําเปนตองรูเทา
ทันขอจํากัดเหลานี้และตระหนักถึงปญหาที่อาจคงอยู การฝกฝนการใชความคิดสรางสรรคดวยตนเองโดยมีฐาน
ความคิดทีแ่ สดงถึงอัตลักษณของความเปนไทยจะทําใหขอจํากัดเหลานั้นลดนอยลง

“ It is better to be different, but it is the best to be yourself.”

สวนการเตรียมความพรอมของผูประกอบการเชิงสรางสรรค Thompson (1999) ไดอธิบายไวและชีใ้ หเห็นวา


ผูประกอบการตองมีการเตรียมจิตใจและฝกใหมีจติ สํานึกในการทํางานใหพรอมทั้ง 5 ดาน ไดแก

1. มีความไตรตรองที่ดี สามารถนําเอาความรูและประสบการณมาใชรวมกัน
Page 4 of 8

2. มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห สามารถแปรขอมูลที่องคกรมีอยูและนําไปสูการตัดสินใจที่ดีได

3. มีทัศนคติที่ดีตอการทํางานเปนทีมและสามารถสรางความรวมมือระหวางกัน

4. มีความตระหนักถึงสภาวะแวดลอมภายนอกทีแ่ ปรเปลี่ยนอยางรวดเร็ว แนวโนมการเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึง


และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น

5. มีแรงกระตุนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในองคกร

การฝกจิตใจใหมีความพรอมสําหรับการเปนผูประกอบการ ซึ่งจําเปนตองมีความพรอมทั้ง 5 ดานนั้น อาจจะถูกเนน


เฉพาะดานใดดานหนึ่งเปนพิเศษ ทัง้ นี้ขึ้นอยูกับคุณลักษณะของผูประกอบการแตละคน ยิง่ กวานั้น นอกเหนือจากความ
พรอมทางดานสติปญ  ญาและจิตใจแลว ผูประกอบการเชิงสรางสรรคยังตองมีความพรอมภายนอก เชน ความพรอมดาน
แหลงเงินทุน มีทรัพยากรที่เพียงพอ มีความกลาทาทายและกลาเสี่ยงกับอุปสรรคที่จะเจอ และมีอิสระในการทํางาน ยิ่ง
ในยุคเศรษฐกิจสรางสรรคที่มีการแขงขันสูงนั้น ผูประกอบการตองมีความคิดสรางสรรคซึ่งแตกตางจากคนอื่น มองเห็น
ถึงความเปนไปไดของความคิดใหมๆ และสามารถแปลงความคิดเปนธุรกิจไดจริง การตระหนักถึงสิ่งแวดลอมทางธุรกิจ
ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และมีความสามารถในการเสาะแสวงหาความรวมมือ จากทั้งผูรว มงาน ผูที่เกี่ยวของใน
เครือขายธุรกิจ ลูกคา หรือ บุคคลที่สงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ ซึ่งจะทําใหผูประกอบการเชิงสรางสรรคสามารถ
ลดอุปสรรคในการทํางาน และเพิ่มโอกาสสูความสําเร็จได

รูปที่ 1 ความพรอมทีต่ องมีสําหรับผูประกอบการเชิงสรางสรรค

มีความคิดสรางสรรค

มีอิสระในการทํางาน

มีทรัพยากรที่เพียงพอ

มีความกลาเสี่ยง

มีโอกาสและเห็นความเปนไปได

มีเครือขายธุรกิจ

ที่มา: ดัดแปลงจาก Thompson (1999)


Page 5 of 8

เมื่อพิจารณาลักษณะของผูประกอบการเชิงสรางสรรค จากหนังสือ The Creative Economy: How People Make


Money from Ideas (Howkins, 2002) พบวา ผูประกอบการเชิงสรางสรรคจะใชความคิดสรางสรรคเปนเครื่องมือในการ
เพิ่มมูลคาและสรางความมั่งคัง่ ใหเกิดขึ้น พวกเขามักมีความคิดใหมๆที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม หรือมีความคิดใหมๆที่
เกี่ยวกับรูปแบบการทํางาน รูปแบบการนําสินคาทีม่ ีอยูแลวมาใชดวยวิธีการใหมๆ บุคคลเหลานี้มักมีความเชื่อมั่นสูง มี
ลักษณะของความเปนปจเจกชนที่เฉลียวฉลาด ชอบคิด รักความอิสระในการทํางานและชอบความเปนอิสระในการ
บริหารจัดการเวลา อดทนกับสภาวะแวดลอมในการทํางานที่คาดการณไดยาก ยอมรับรายไดที่มักจะไมสม่ําเสมอ ซึ่ง
แตกตางจากผูประกอบการแบบดั้งเดิม ที่มักอาศัยประสบการณในการตัดสินใจ ภายใตสภาวะแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง
ชากวา และไมตองอาศัยความคิดสรางสรรคมากเทาผูประกอบการในยุคนี้

รูปที่ 2 ผูประกอบการเชิงสรางสรรคและกระบวนการสรางนวัตกรรม

กระบวนการสรางนวัตกรรม

การตอบสนองของผูประกอบการตอกระบวนการสรางนวัตกรรม

ที่มา: ดัดแปลงจาก McFadzean E., O’Loughlin A., and Shaw E. (2005)

อยางไรก็ตาม ถึงแมวามีการศึกษาหลายฉบับ (Dess et al., 2003; Hornsby et al., 2002) ชี้ใหเห็นวาความเปน


ผูประกอบการ (Entrepreneurship) และกระบวนการสรางนวัตกรรม (Innovation process) มีความสัมพันธกันกับ
ความสําเร็จของบริษทั แตยังไมมกี ารศึกษาใดทีช่ ชี้ ัดวา ผูประกอบการเชิงสรางสรรคควรมีหนาที่และตอบสนองอยางไร
กับกระบวนการสรางนวัตกรรม จนกระทั้ง McFadzean E., O’Loughlin A., and Shaw E. (2005) มองเห็นชองวาง
ดังกลาวและนําเสนอแนวคิดวา ในชวงเริ่มตนของกระบวนการสรางนวัตกรรมการคนหาความคิดสรางสรรคใหมๆมี
Page 6 of 8

ความจําเปนอยางยิ่ง ผูประกอบการเชิงสรางสรรคตองมองเห็นความคิดที่เปนไปไดและมีโอกาสในเชิงธุรกิจ
(Recognition of opportunity) ในขณะที่บุคคลอื่นมองไมเห็นซึ่งขั้นตอนนี้ผปู ระกอบการตองมีวิสัยทัศน ความรู
เครือขายทางสังคมและเขาใจถึงความตองการของตลาด หลังจากนั้นพวกเขาจะสามารถคัดกรองความคิดใหมๆ
เหลานั้น (Appropriation of opportunity) จนกระทัง่ ทําใหเกิดเปนรูปเปนราง และสามารถนํามาใชประโยชนเชิงธุรกิจได
จริง (Exploitation of opportunity)

สําหรับคุณลักษณะที่ควรจะมีสําหรับผูประกอบการที่ดีในยุคเศรษฐกิจสรางสรรคนั้น Gurol Y. and Atsan N. (2006)


ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบเพือ่ แยกคุณลักษณะของบุคคลที่มคี วามเปนผูประกอบการอยูในตัว และพบวา คุณลักษณะ
6 ประการที่พบในกลุมผูประกอบการนั้นคือ มีความตองการทีจ่ ะประสบความสําเร็จ (Need for achievement) มีความ
เชื่อวาสิ่งตางๆที่เกิดขึ้นเปนผลจากการกระทําของตนเองและสามารถควบคุมได (Locus of control) กลาที่จะเสี่ยง
(Risk taking propensity) รับมือไดกับความกํากวมไมชัดเจน (Tolerance for ambiguity) มีความสามารถในการคิด
ริเริ่ม สรางสรรคสิ่งใหมๆ (Innovativeness) และสุดทาย คือ มีความมั่นใจในตัวเอง (Self-confidence)

บทสงทาย

จากวรรณกรรมเบื้องตนที่ไดกลาวมาแลวรวมกับแนวคิดใหมที่ไดนําเสนอสามารถรางตัวแบบจําลองสําหรับปจจัยตางๆ
ที่เกี่ยวของกับความพรอมภายในตัวของผูประกอบการและคุณลักษณะที่ตองมีของผูประกอบการเชิงสรางสรรค ที่ตอง
ใชความคิดใหมๆและสามารถตอบสนองตอกระบวนการสรางนวัตกรรมไดอยางเหมาะสม ภายใตยุคเศรษฐกิจ
ฐานความรูไดดังนี้

รูปที่ 3 คุณลักษณะความพรอมของผูประกอบการเชิงสรางสรรคและการตอบสนองตอกระบวนการสรางนวัตกรรม
Page 7 of 8

บทความนี้จงึ เปนนวัตกรรมที่พฒ ั นาขึ้น เพื่อใหผูอานมีความเขาใจตอปจจัยที่อยูภายในตัวของผูประกอบการเชิง


สรางสรรคและอาจจะเปนตัวแบบจําลองที่ถูกนําไปพัฒนาตอ จนสามารถสรางเครื่องมือทีเ่ ชื่อถือไดและสามารถใชใน
การสรางตัวชีว้ ัดความเปนผูประกอบการ ทั้งที่อยูใ นตัวของเจาของกิจการหรือบุคลากรที่ทํางานอยูในองคกรไดอยางมี
ประสิทธิภาพ แมนยําและจะนําไปสูการสงเสริมสนับสนุนบุคคลเหลานั้นไดอยางถูกตอง ถูกวิธี

เอกสารอางอิง

ไพฑูรย สินลารัตน และคณะ. 2550, สัตตศิลา: หลักเจ็ดประการสําหรับการเปลี่ยนผานการศึกษาเขาสูยุคเศรษฐกิจ


ฐานความรู (พิมพครั้งที2่ ), กรุงเทพมหานคร, โครงการวิจัยบูรณาการ: การเปลี่ยนผานการศึกษาเขาสูยุคเศรษฐกิจ
ฐานความรู, คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อาคม เติมพิทยาไพสิฐ. 2551, The 10th National Economic and Social Development Plan and Creative
Economy, กรุงเทพมหานคร, Presented at NECTEC Annual Conference & Exhibition 2008.

Bolton W.K. and Thompson J.L., 2000, Entrepreneurs: Talent, Temperament, Technique, Butterworth
Heinemann, Oxford.

Dess G.G., Ireland R.D., Zahra S.A., Floyd S.W. Janney J.J. and Lane P.J., 2003, ‘Emerging issues in
corporate entrepreneurship’, Journal of Management, Vol. 29, No. 3, pp. 351-378.

Gurol Y. and Atsan N., 2006, ‘Entrepreneurial characteristics amongst university students: Some insights for
entrepreneurship education and training in Turkey’, Education + Training, Vol. 48, No. 1, pp. 25-38.

Hornsby J.S., Kuratko D.F. and Zahra S.A., 2002, ‘Middle manager’s perception of the internal environment
for corporate entrepreneurship: assessing a measurement scale’, Journal of Business Venturing, Vol. 17, No.
3, pp. 253-273.

Howkins J., 2002, The Creative Economy: How People Make Money from Ideas, Penguin Global.

McFadzean E., O’Loughlin A. and Shaw E., 2005, ‘Corporate entrepreneurship and innovation part 1: the
missing link’, European Journal of Innovation Management, Vol. 8, No. 3, pp. 350-372.

McFadzean E., O’Loughlin A. and Shaw E., 2005, ‘Corporate entrepreneurship and innovation part 2: a role-
and process-based approach’, European Journal of Innovation Management, Vol. 8, No. 4, pp. 393-408.

Thompson J.L., 1999, ‘The World of the Entrepreneur – A New Perspective’, Journal of Workplace Learning,
Vol. 11, No. 6, pp. 209-244.
Page 8 of 8

Thompson J.L., 2004, ‘The facets of the entrepreneur: identifying entrepreneurial potential’, Management
Decision, Vol. 42, No. 2, pp. 243-258.

United National Conference on Trade And Development (UNCTAD). 2008, Creative Economy Report 2008,
[Online Internet]. Available: http://www.itd.or.th/en/node/1010, Accessed June 28, 2010.

พันตรี นพ. ดร. วีระวุฒิ วัจนะพุกกะ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก D.B.A. (Marketing)


จาก Victoria University, Melbourne, Australia. ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขา
การเงิน (เกียรตินิยมเหรียญทอง) จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ, วุฒิบัตรแพทยผูเชีย่ วชาญ
(นิติเวชศาสตร) จากแพทยสภา, ป.บัณฑิต (วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก) จากจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย และ แพทยศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหิดล ปจจุบันดํารงตําแหนง อาจารยประจําสถาบันสงเสริม
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

You might also like