You are on page 1of 19

Media Interview

การให้ สมั ภาษณ์ผา่ นสื่อมวลชน


การสื่อสารระหว่างบุคคล ที่ผ้ ใู ห้ สมั ภาษณ์ต้องการแปลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรู้
ตลอดจนทัศนคติ ซึง่ จะแตกต่างจากการสนทนาโดยทัว่ ไป เพราะการสัมภาษณ์
ต้ องมีวตั ถุประสงค์ที่แน่นอน
แบ่งประเภทของการสัมภาษณ์ตามเกณฑ์วตั ถุประสงค์ ได้ แก่
• การสัมภาษณ์เพื่อการสื่อสารมวลชน
• การสัมภาษณ์เพื่อการศึกษาและวิจยั
• การสัมภาษณ์เพื่อเข้ าทำงาน
• มีลกั ษณะพิเศษของการใช้ คำถามและคำตอบเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการสื่อสาร
• ประกอบด้ วยผู้สมั ภาษณ์ซงึ่ มักเป็ นผู้สื่อข่าว มีหน้ าที่หลักในการถามคำถาม
เปรี ยบเสมือนตัวแทนของผู้ชมที่ต้องการทราบข้ อเท็จจริ งต่าง ๆ
ส่วนผู้ให้ สมั ภาษณ์มกั เป็ นบุคคลมีชื่อเสียงในวงการต่าง ๆ ทำหน้ าที่ตอบคำถาม
นัน้ ๆ เพื่อสื่อสารไปยังสาธารณชน
• บุคคลสำคัญทางการเมือง
• บุคคลที่ประสบความสำเร็จในการงาน
• บุคคลที่ประกอบกิจกรรมเพื่อสังคม
• บุคคลที่สงั คมให้ ความสนใจในขณะนัน้ ๆ
• บุคคลที่ประสบมหันตภัยต่าง ๆ
• บุคคลที่เป็ นแขกเมือง
• แบบนัดหมายล่ วงหน้ า ได้ แก่ การนัดสัมภาษณ์พิเศษ บก.นัดแหล่งข่าวมา
สัมภาษณ์ในห้ องส่งของบริ ษัท ผู้ให้ สมั ภาษณ์สามารถขอแนวคำถามจากผู้
สัมภาษณ์ก่อนได้
• แบบไม่ ได้ นัดหมายล่ วงหน้ า ได้ แก่ การสัมภาษณ์ทำข่าว การถามคำถามหลัง
งานแถลงข่าว
• ศึกษารายละเอียดรายการ รูปแบบรายการ ผู้ชม ผู้สมั ภาษณ์ ผู้ร่วมรายการ
• เตรี ยมเนือ้ หาที่จะพูด แม่นยำในเรื่ องที่จะพูด
• เตรี ยมคำตอบไว้ ล่วงหน้ า คาดหมายประเด็นที่จะถูกถาม
• แต่ งกายให้ เหมาะสม ดูเสื ้อผ้ า หน้ า ผมให้ เหมาะ
• ปฏิเสธของมึนเมาก่ อนเริ่มรายการ
• รู้ จักอุปกรณ์ และสัญญาณในห้ องส่ ง ไมโครโฟน กล้ อง สัญญาณเริ่ ม-ยุติออก
อากาศ
• ยกเลิกเสียงเตือนใด ๆ นาฬิกาและเครื่ องมือสื่อสาร
• ฟั งคำถามให้ ชัดเจน
• พูดตรงประเด็น ไม่ เยิ่นเย้ อ
• พูดชัดเจน ไม่ พดู ในลำคอ พูด ร,ล ให้ ชัดเจน
• หลีกเลี่ยงการตอบเพียง ‘ใช่ ’ และ ‘ไม่ ใช่ ’
• ทำประโยคให้ สมบูรณ์
• ระวังศัพท์ เฉพาะ อัตราร้ อยละ
• ทางโทรทัศน์ พูดกับผู้สัมภาษณ์ ไม่ ใช่ กับกล้ อง
• หลีกเลี่ยงการชมเชย การอวดอ้ าง หรื อการโฆษณาตนเอง
• จำชื่อให้ ถูกต้ อง
• ระวังอวัจนภาษาต่ างๆ
• บันทึกการสัมภาษณ์
• จำแนกออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ
1. การไม่ สนองคำถาม (non-responses)
2. การสนองคำถามแบบเลี่ยงประเด็น (non-answer responses)
3. การสนองคำถามแบบตรงประเด็น (answer-responses)
1. การไม่ สนองคำถาม

คือ การตอบคำถามแบบนอกเรื่ อง ไม่ สอดรั บกับคำถามของคู่สนทนา


อาจใช้ วธิ ีเงียบ เปลี่ยนหัวข้ อแทนคำตอบ

ตัวอย่ าง
Q : Is it in your mind to invite Mr. Nunotani to come to Thailand ?
A : No, no, don’t jump too quickly, one of the things when you’re doing
diplomacy is you must go stage by stage
2. การสนองคำถามแบบเลี่ยงประเด็น

คือ การตอบคำถามแบบเข้ าเรื่ อง แต่ เลี่ยงตอบคำถามอย่ างตรงประเด็น


อาจแสดงเพียงการรั บรู้ เรื่ องที่ถามแต่ มิได้ ให้ คำตอบอย่ างแท้ จริง

ตัวอย่ าง
Q : Do you quite like Mr. Nunotani ?
A : I think in politics, it’s not a question of going about liking people or
not, it’s a question of dealing with people. And I’ve always been able
to deal perfectly well with Mr. Nunotani.
3. การสนองคำถามแบบตรงประเด็น

คือ การตอบคำถามแบบเข้ าเรื่ อง และตรงประเด็นคำถาม คำตอบที่ได้ จะ


สอดรั บกับคำถาม เป็ นการเติมเต็มความคาดหมายของคำถามให้
สมบูรณ์

ตัวอย่ าง
Q : Was he wearing green or blue shirt ?
A : He wasn’t wearing green or blue. He was naked.
• อยากให้ นกั ข่าวปฏิบตั ิอย่างไรกับเรา ก็ต้องปฏิบตั ิอย่างนันกั
้ บเขา
• ผู้ฟังหรื อผู้ชมจะจดจำเฉพาะคำตอบเท่านัน้ ไม่ใช่คำถามของผู้สื่อข่าว เพราะฉะนัน้
อย่าทะเลาะกับเวลาผู้สื่อข่าวเมื่อถูกยัว่ ให้ โกรธ
• บุคคลที่มีตำแหน่งสูง ในองค์กร จะต้ องเป็ นกลุม่ คนแรก ๆ ที่สื่อจะเข้ าถึง ไม่เช่นนันผู
้ ้
สื่อข่าวจะไปสัมภาษณ์จะหาแหล่งข่าวทัว่ ไปที่ไม่ร้ ูจริ งแถวนันแทน

• กรณีให้ สมั ภาษณ์ประเด็นที่มีความละเอียดอ่อน จงขอความช่วยเหลือจากเจ้ าหน้ าที่
สารนิเทศ หรื อนักประชาสัมพันธ์ที่จะช่วยให้ คำปรึกษาได้

You might also like