You are on page 1of 18

ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ

ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี

กานต์ ยืนยง

Siam Intelligence Unit

(http://www.siamintelligence.com)

“ผู้น้อยเกิดความท้อถอย ไม่อยากแสดงความคิดเห็น ทัง้ ๆ ที่เชื่อแน่ว่าจะมีประโยชน์ต่อบ้านเมือง และเมื่อการบริหาร


ราชการบ้านเมืองดาเนินไปตามความเห็นของผู้ใหญ่ไม่กคี่ น ซึง่ ถ้าท่านเหล่านั้นมีความคิดอย่างเก่าๆ และแคบๆ ด้วยแล้ว ก็
อาจชักนาบ้านเมืองไปสู่ความเสือ่ มและความล่มจมได้งา่ ย”1

พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน), เชษฐบุรุษ

ในปัจจุบันมีการนาเสนอข่าวสาร และความเห็นที่เกี่ยวข้องกับการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1


GHz หรือ ที่นิยมเรียกกันว่า “การประมูล 3จี”2 ผ่านพื้นที่สาธารณะในสื่อมวลชนกันมากขึ้น อันสะท้อนความสนใจของ

สาธารณชนในกรณีนี้อย่างกว้างขวาง ในการนาเสนอความเห็นเหล่านั้นก็มีทั้งความเห็นจากเอกชน ผู้มีอานาจรัฐ และผู้มีส่วน


ได้เสียต่างๆ ซึง่ ความเห็นเหล่านัน้ ก็มีทั้งเห็นด้วยและความเห็นสนับสนุน ในกลุ่มความเห็นการคัดค้านการกากับดูแลฯ 3จี นั้น
การแถลงข่าวโครงการจับนโยบายรัฐบาล ปี 2 ครั้งที่ 2 วันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในนาม “โครงการจับตานโยบาย
รัฐบาล” (Policy Watch) ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย ดร. ประชา คุณธรรมดี ในหัวข้อ “เราควร
เรียนรู้อะไรจากเรื่อง 3จี”3 นั้น ผมเห็นว่ามีน้าหนักและทรงพลังมากที่สุด4 ในการวิพากษ์วิจารณ์ต่อทิศทางการดาเนินนโยบาย
สาธารณะ ด้านการกากับดูแลฯ 3จี ของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กทช.

1
กุหลาบ สายประดิษฐ์, เบื้องหลังการปฏิวัติ 2475 (พระนคร : โรงพิมพ์ไทยพานิช, 2490) หน้า 109.
2
ต่อไปนี้ในเอกสารนี้จะเรียกกระบวนการดังกล่าวอย่างลาลองว่า “การกากับดูแลฯ 3จี”
3
ดูเอกสารประกอบการแถลงข่าวโครงการจับตานโยบายรัฐบาล ปี2 ครั้งที่ 2 วันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2553
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 1
เมื่อผมได้พิจารณาน้าหนักผลได้เสียจากมุมมองต่างๆ อย่างรอบด้านแล้ว ก็มคี วามเห็นไปในทางสนับสนุนการ
ผลักดันให้เกิดการกากับดูแลฯ 3จี จากการดาเนินการของ กทช. และมีความเห็นต่างจากการนาเสนอข้อมูลของ Policy
Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี ในประเด็นต่าง ๆ จึงจะขอแลกเปลี่ยนความเห็นในหลากหลายหัวข้อที่น่าสนใจ ซึ่งจะได้

กล่าวถึงต่อไปข้างหน้า5

เกี่ยวกับคาตัดสินของศาลปกครองสูงสุด เรื่องอานาจของ กทช. ในการกากับดูแลฯ 3จี

อนึ่ง บทความนี้จะไม่แสดงความเห็นเกี่ยวข้องกับคาวินจิ ฉัยของศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2553 ใน


การระงับการประมูลออกใบอนุญาตการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ระบบ 3จี6 สาหรับผู้อ่านที่สนใจข้อคิดเห็นเกี่ยวกับคา
วินิจฉัยดังกล่าว สามารถอ่านความคิดเห็นของ รศ. ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในบทสัมภาษณ์ “ถึงเวลาทบทวนศาลปกครอง” โดย
ใบตองแห้ง7 ซึ่งได้นาเสนอความเห็นหลายประเด็นที่นา่ สนใจ อาทิเช่น การที่ ดร. วรเจตน์ กล่าวถึงหลักการกฎหมายระหว่าง
ประเทศ ตามข้อบังคับว่าด้วยวิทยุโทรคมนาคมตามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยโทรคมนาคมของสหภาพโทรคมนาคม
ระหว่างประเทศ (International Telecommunications Union หรือ ITU) ซึ่งระบุวา่ คลื่น 2.1 GHz ในย่านความถี่ 1920
– 1965 MHz และ ย่านความถี่ 2110 – 2115 MHz ต้องถูกกาหนดให้ใช้ในกิจการโทรคมนาคม ดังนั้นไม่วา่ จะมี

เรื่อง...“เราควรเรียนรุ้อะไรจากเรื่อง 3 จี” เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ 1) เอกสารสาหรับการนาเสนอ (Power Point) เป็นเอกสารแบบ PDF


http://www.econ.tu.ac.th/doc%2Fcontent%2F739%2Fpresentation.pdf และ 2) เอกสารสาหรับการเผยแพร่ (Press
Release) เป็นเอกสารแบบ PDF http://www.econ.tu.ac.th/doc%2Fcontent%2F739%2FPressRelease2-53.pdf
4
ผมให้น้าหนักความเห็นในเรื่องนี้ของ Policy Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี ไม่เพียงเพราะสถานภาพของตัวผู้เสนอข้อมูล และ
หน่วยงานต้นสังกัด แต่ยังเป็นเพราะผู้เสนอใช้ฐานข้อมูลและแผนภาพที่เกี่ยวข้องหลายชิน้ ประกอบการนาเสนอ นอกจากนี้การที่ Policy
Watch มีภารกิจในการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นนโยบายด้านเศรษฐกิจมหภาคและการเงิน ด้านนโยบายเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ ด้านนโยบายการคลัง ด้านนโยบายการเกษตร ชุมชนและทรัพยากร ด้านนโยบายการศึกษาและสวัสดิการสังคม และด้านนโยบาย
อุตสาหกรรมและภาคการผลิตที่แท้จริง มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ผู้เสนอจึงย่อมต้องใช้องค์ความรู้ทางวิชาการประกอบมุมมองการนาเสนอด้วย
5
การแลกเปลี่ยนความเห็นของผม อันย่อมเกี่ยวพันไปกับการวิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอที่อ้างถึงของ Policy Watch และ ดร. ประชา คุณธรรม
ดี นี้ ผมได้อาศัยข้อมูลจากเอกสารประกอบการแถลงข่าวของ Policy Watch ดังที่ได้ให้ข้อมูลเชื่อมโยงไว้ในเชิงอรรถก่อนหน้า นอกจากนี้ผม
ยังได้ใช้ข้อมูลจากการรายงานข่าวของหนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันพฤหัสบดีที่ 7 – วันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม 2553 ฉบับที่ 4251
(3451) หน้า 2 เพิ่มเติม โดยผมไม่ได้เข้ารับฟังการแถลงข่าวดังกล่าว ตลอดจนมิได้ทาการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม จาก ดร .ประชา คุณธรรมดี
ด้วยตนเองแต่อย่างใด การแลกเปลี่ยนความเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ของผม จึงอาจมีความผิดพลาดและไม่สมบูรณ์อยู่บ้าง หากมี
ข้อบกพร่องดังกล่าวเกิดขึ้น ความรับผิดชอบจึงย่อมตกอยู่กับผมเท่านั้น
6
อ่านรายละเอียดคาวินิจฉัยของศาลปกครองได้ที่
http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRJNE5USXhOREkxTUE9PQ==
7
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ : ‘ถึงเวลาทบทวนศาลปกครอง’ วันที่ 30 กันยายน 2553 โดย ใบตองแห้ง เข้าถึงออนไลน์ได้ที่
http://www.prachatai3.info/journal/2010/09/31307
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 2
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 67 ของ
รัฐธรรมนูญฉบับ 25508 หรือไม่ ก็จาเป็นจะต้องกาหนดใช้คลื่นความถี่ยา่ นนี้ในกิจการโทรคมนาคมอยู่ดี ซึ่งดร. วรเจตน์ ได้ให้
ความเห็นว่าการมีหรือไม่มคี ณะกรรมการร่วมไม่เป็นสาระสาคัญ

ผมยังมีความเห็นคล้อยตามความเห็นของ ดร. วรเจตน์ ทีว่ ่า ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นมีความเกีย่ วพันเชือ่ มโยงกับการทา


รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ซึง่ สร้างปัญหาความคลุมเครือในการบริหารกิจการสาธารณะในหลายๆ กรณี นอกเหนือจาก
กรณีการบริหารคลื่นความถี่ทกี่ ล่าวถึงนี้แล้ว ก็ยังมีกรณีความชอบธรรมในการดารงตาแหน่งของผู้วา่ การตรวจเงินแผ่นดินอีก
ด้วย9 ผมจึงเห็นว่าการปฏิบัติหน้าที่ของ กทช. เป็นไปตามภารกิจขององค์กรอิสระที่ได้บัญญัติเอาไว้ตามกฎหมายก่อนหน้าการ
เกิดการรัฐประหาร ปัญหาที่เกิดขึน้ เกิดจากการตีความและมองข้อกฎหมายที่แตกต่างกันนี้ จึงเป็นเพียงปัญหาทีเ่ กิดขึ้นจากการ
รัฐประหารเท่านั้น

3จี ในมุมมองปัจจัยเสริมขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศชาติ

ผมเห็นด้วยกับความเห็นของ Policy Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี ในหลายกรณี อาทิ เช่น (กล่าวโดยรวม)
ผมไม่เห็นด้วยกับความเห็นในทานองการกล่าวเหมารวมทีว่ ่า การมี 3จี จะทาให้ประเทศชาติไม่ประสบปัญหาความเหลื่อมล้า
จากเทคโนโลยีดิจิตัล (Digital Divide) หรือการไม่มี 3จี จะทาให้ประเทศชาติล้าหลังกว่าประเทศลาว และกัมพูชา เป็นต้น ผม
ยังเคยให้ความเห็นในที่สาธารณะว่า10 การเกิดขึ้นของ 3จี เป็นเพียงหนึ่งในเงื่อนไขที่จะแก้ปัญหาหลาย ๆ ประการที่
ประเทศชาติกาลังเผชิญอยู่ และเราควรมอง 3จี ในลักษณะของการสร้างระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน (Infrastructure
system) และความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology readiness)11 จึงจะเป็นมุมมองที่ถก
ู ต้องกว่า

8
อ่านรายละเอียดของกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 ออนไลน์ (เป็นฉบับ PDF) ได้ที่
http://www.ombudsman.go.th/10/documents/law/Constitution2550.pdf
9
ดูรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 (อ้างแล้ว) มาตรา 301 รวมถึงกรณีมาตรา 309 ก็ถือว่ามีปัญหาในเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญอีกด้วย
10
ผมได้ให้ความเห็นดังกล่าวไว้ในการสัมภาษณ์ของสถานีเคเบิลทีวี Spring News TV โดยคุณชนิตร์นันทน์ ปุณณะนิธิ เมื่อวันที่ 20
กันยายน 2553 ออกอากาศเมื่อเวลา 13.30 – 14.00 น.
11
โปรดดูรายงานขีดความสามารถการแข่งขันนานาชาติปี 2552-2553 จาก World Economic Forum หรือ WEF (เอกสาร PDF)
http://www.weforum.org/pdf/GCR09/GCR20092010fullreport.pdf
โดยทาง WEF ได้กาหนดตัวชี้วัดความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technological readiness) เอาไว้ดังต่อไปนี้ 1) Availability of latest
technologies 2) Firm-level technology absorption 3) Laws relating to ICT 4) FDI and technology transfer 5) Mobile
telephone subscriptions (hard data) 6) Internet users (hard data) 7) Personal computers (hard data) 8) Broadband
Internet subscribers (hard data)
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 3
การเปรียบเทียบ “ความพัฒนา” หรือ “ความด้อยพัฒนา” ของแต่ละประเทศ จึงควรทาการเปรียบเทียบโดยดูจาก
ตัวชีว้ ัดในหลากหลายมิตใิ ห้ครอบคลุมมากที่สุด รายงานขีดความสามารถการแข่งขันนานาชาติปี 2552-2553 จาก World
Economic Forum หรือ WEF เป็นตัวอย่างที่ดี ที่แสดงความครอบคลุมของตัวชีว้ ัดทีเ่ กี่ยวข้องในมิติต่าง ๆ

ภาพที่ 1 : ขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศไทย ที่มาของภาพ : The Global Competitiveness Report 2009-2010 โดย World Economic
Forum

รายงานของ World Economic Forum ได้บ่งชี้วา่ ประเทศไทยมีระดับขีดความสามารถการแข่งขันที่เน้นการ


ขับเคลื่อนโดยประสิทธิภาพ (Efficiency driven) โดยลาดับขีดความสามารถการแข่งขันในปี 2552-2553 อยู่ในลาดับที่ 36
จากลาดับทั้งหมด 133 อันดับ ได้คะแนนรวมทุกด้าน 4.56 คะแนน (คะแนนเต็มทั้งหมด 7 คะแนน) ปัจจัยสนับสนุนพื้นฐานอยู่
ในลาดับที่ 43 ได้คะแนน 4.86 คะแนน ปัจจัยการเสริมด้านประสิทธิภาพอยู่ในลาดับที่ 40 ได้คะแนน 4.46 คะแนน และปัจจัย
นวัตกรรมอยู่ในลาดับที่ 47 ได้คะแนน 3.83 คะแนน จากตารางด้านซ้ายที่แสดงด้านบนจะเห็นว่าความพร้อมด้านเทคโนโลยี
ถูกคานวณรวมเอาไว้ในปัจจัยการเสริมด้านประสิทธิภาพด้วย

การทาให้เกิด 3จี (ในที่นี้คือการประมูลใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT


ย่าน 2.1 GHz ของ กทช.) จึงเป็นเพียงขั้นตอนเพียงหนึ่งเดียว และขั้นตอนเริ่มแรกในการสร้างความพร้อมด้านสาธารณูปโภค

ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 4
พืน้ ฐาน และความพร้อมด้านเทคโนโลยีของประเทศเท่านั้น เรายังจาเป็นจะต้องสร้างกลไกอื่น ๆ อีกมากทั้งการกากับดูแลและ
การสนับสนุน ตลอดจนส่งเสริมให้มีการขยายและการนาสาธารณูปโภคพื้นฐานตลอดจนเทคโนโลยีเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์กับสาธารณะอย่างกว้างขวางมากที่สุด

อย่างไรก็ตามความชะงักงันในการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจไทยที่เกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองอันยาวนาน
และปัญหาที่เกิดจากการทารัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 นั้นย่อมมีผลกระทบในเชิงลบต่อขีดความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศอยู่บ้างไม่มากก็น้อย ความเห็นโดยรวมของสาธารณชนที่มองการชะลอการเดินหน้าเรื่อง “การประมูล 3จี”
มีแนวโน้มทาให้ประเทศชาติล้าหลังเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านนั้น จึงเป็นเหตุผลที่ไม่ถึงกับไม่มีน้าหนักเสียทีเดียว12

หลักการในการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะ

ผมไม่เห็นด้วยกับความเห็นของ Policy Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี ทีม่ องการประมูลใบอนุญาตให้ใช้คลื่น


ความถีเ่ พื่อการประกอบกิจการเคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz ในลักษณะเพียง “เป็นการทาให้มี 3จี” เท่านั้น การถกเถียงใน
ประเด็น “มีหรือไม่มี 3จี” มิได้เป็นสาระหลัก ในการประมูลใบอนุญาตฯ ในครั้งนีแ้ ต่อย่างใด ในทางตรงข้าม การประมูล
ใบอนุญาตฯ ครั้งนี้ จะเป็นการนาหน่วยงานผู้ประกอบกิจการโทรศัพท์มือถือทั้งหมดทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เข้ามาอยูใ่ นการ
กากับดูแลภายใต้คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม ดังเช่นที่ได้มกี ารดาเนินการกับผู้ประกอบกิจการผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
อยู่แล้ว13

กทช. จึงมีบทบาทเป็นผู้จดั สรรคลื่นความถี่ซงึ่ เป็นทรัพยากรสาธารณะ ในการดาเนินกิจการโทรคมนาคมเพื่อ


ประโยชน์สาธารณะอย่างทั่วถึง ลักษณะการจัดสรรคลื่นความถี่เช่นนี้ จึงเป็นการใช้บริบทโครงสร้างตลาดที่มกี ารแข่งขันภายใต้
การกากับดูแลของผู้กากับดูแล (regulator) การดาเนินการนีเ้ ป็นการพยายามในการแก้ปญ
ั หาประสิทธิภาพที่เกิดจากระบบ
สัมปทานทางโทรคมนาคม14

12
อ่านตัวอย่างความเห็นในลักษณะนี้ได้จาก บทความ “ถึงเวลา… ปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจไทย ด้านศักยภาพการผลิต” โดย สุรศักดิ์ ธรรม
โม จาก Siam Intelligence Unit อ่านบทความนี้ออนไลน์ได้ที่ http://www.siamintelligence.com/time-to-do-an-economics-
structure-reforming-in-thailand/
13
ดูรายชื่อผู้ได้รับใบอนุญาตการประกอบกิจการโทรคมนาคมทั้งหมดภายใต้การกากับของ กทช. ในปัจจุบัน โดยทางออนไลน์ได้จาก
http://www.ntc.or.th/license/index.php?show=all
14
ดูข้อสรุปจากงานศึกษาของ ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ จากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งประเทศไทย (TDRI) นาเสนอในงานสัมมนา
Thailand’s regulatory environment and spectrum challenges: Evaluation of Thailand’s regulatory environment, with
a special focus on spectrum allocation with lessons from India จัดโดยบริษัทสยามอินเทลลิเจนซ์ยูนิต ร่วมกับ LIRNEasia
เครือข่ายนักคิดทางนโยบาย ICT ในระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
http://www.siamintelligence.com/thailand-regulatory-environment-spectrum-challenges/
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 5
อย่างไรก็ตามเนื่องจากความสาคัญของ กทช. ที่มีต่อสาธารณะในลักษณะองค์กรอิสระดังกล่าว การบริหารเงินทุน
ของ กทช. จึงจะต้อง มีความโปร่งใส และตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และภารกิจขององค์การมากทีส่ ุด ผมเห็นด้วยกับข้อวิจารณ์
กทช. ในแง่นี้ และถือเป็นสิทธิหน้าที่ที่ประชาชนจะต้องติดตามตรวจสอบ กทช. หรือหน่วยงานกากับดูแลที่เป็นองค์กรอิสระอื่น
ใดในอนาคต เพื่อความโปร่งใสและเพื่อทาให้องค์กรเหล่านี้มคี วามรับผิดชอบต่อสาธารณะ (Accountability) ให้มากที่สุด
ผมจะนาเสนอข้อวิจารณ์ต่อ กทช. ในบางประเด็นในปัญหาเหล่านี้ เป็นภาคผนวกไว้ตอนท้ายของบทความนี้ดว้ ย

นอกจากนี้ การที่ Policy Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี หยิบแผนการลงทุนโครงสร้างโครงข่าย


โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี ของบริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) มาเปรียบเทียบในทานองสนับสนุนนั้น ผมไม่เห็นด้วย ผมกลับเห็นด้วย
ในข้อท้วงติง ทีใ่ นช่วงแรกมีข่าวว่ามีพนักงานของทีโอที ที่สังกัดสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ไม่
เห็นด้วยกับแผนลงทุนนี้ เนื่องจากเป็นการสร้างหนี้เพิม่ ให้กับ ทีโอที เกือบ 2 หมื่นล้าน15 เพราะการลงทุนดังกล่าวเป็นการกู้หนี้
สาธารณะ มีลักษณะใช้การบริหารรายจ่ายของรัฐบาลแบบวิธกี ารนอกงบประมาณแผ่นดิน โดยรัฐบาลสามารถทาได้โดยไม่
ต้องขอความเห็นชอบและไม่ผ่านการอภิปรายจากรัฐสภา ทาให้ขาดความโปร่งใสปราศจากวินัยทางการคลัง ตามหลักการการ
บริหารการคลังสาธารณะในระบอบประชาธิปไตย ฝ่ายบริหารไม่ควรส่งเสริมให้เกิดภาระหนี้ผูกพันลักษณะนีข้ ึ้น

ในต่างประเทศสามารถเปรียบเทียบได้จากตัวอย่างกรณีระบบการคลังของประเทศนิวซีแลนด์ ซึง่ จะกาหนดให้การก่อ


หนี้สาธารณะของรัฐบาลจะทาได้เฉพาะตามที่กฎหมายบัญญัติเอาไว้เท่านั้น (Public Finance Act มาตรา 46) ซึ่ง
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังมีอานาจในการกูเ้ งินในนามของรัฐ และต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สาธารณชนเท่านั้น (Public
Finance Act มาตรา 47 และ 48) โดยที่รัฐบาลไม่จาเป็นต้องรับผิดชอบภาระหนี้สินของรัฐวิสาหกิจอื่นๆ แต่อย่างใด (Public

Finance Act มาตรา 49)16

ดร. เดือนเด่น สรุปปัญหาและอุปสรรคการปฏิรูปกิจการโทรคมคมไทยได้อย่างน่าสนใจว่า แม้จะมี กทช. ปฏิบัติหน้าที่ในขณะนี้ แต่การที่


ภาพลักษณ์ของ กทช. ยังไม่ได้รับการยอมรับว่ามีผลงานดังที่ควรจะเป็นนั้น เป็นเพราะ 1) สภาพแวดล้อมการกากับดูแลที่ไม่น่าพอใจ จากการ
ต่อต้านแข่งขันจากการเปิดเสรีโทรคมนาคม โดยระบบการให้สัมปทาน 2) การแทรกแซงทางการเมือง 3) การ กทช. ไม่มีการกาหนดกติกาที่
โปร่งใส และ 4) กทช. ขาดศักยภาพในการจัดการกับประเด็นการกากับดูแลที่มีความสลับซับซ้อน
15
อย่างไรก็ตามในภายหลังสหภาพฯ ได้ออกมาให้ข่าวในทานองตรงข้าม โดยสนับสนุนการลงทุนในโครงการดังกล่าวของทีโอที ดูรายงานข่าว
ที่เกี่ยวข้องทัง้ หมดออนไลน์ได้ที่ http://www.siamintelligence.com/tot-workers-union-made-a-press-release-on-tots-3g-
project/
16
จรัส สุวรรณมาลา, วีระศักดิ์ เครือเทพ และ ภาวิณี ช่วยประคอง, สถาบันและกฎหมายการเงินการคลัง บทเรียนจากประเทศแคนาดา
นิวซีแลนด์ และสิงคโปร์ (กรุงเทพมหานคร : ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มิถุนายน 2553), หน้า
195
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 6
ความสอดคล้องกับการปฏิรูประบบราชการ

ในความเป็นจริงกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างเช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)17 และบริษัท ที


โอที จากัด (มหาชน)18 อยู่ในกระแสการปฏิรูประบบราชการในระดับนานาชาติ เพื่อให้รัฐมีขนาดเล็กลงอย่างเช่น การจัดการ
แบบประหยัด, การลดขนาด, การทาให้มคี วามกะทัดรัดมากยิ่งขึน้ , การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ, การทาสัญญาจ้าง และ การลด
กากับดูแลโดยรัฐ19 ทั้งนี้เพื่อแก้ปญ
ั หาการที่รฐั มีขนาดใหญ่และต้องใช้งบประมาณมากขึ้นทุกปี และปรับปรุงประสิทธิภาพของ
รัฐให้ดีขึ้นอีกด้วย การแปรรูปรัฐวิสาหกิจดังกล่าวและระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ เคยเป็นจุดเริ่มต้นทีท่ าให้บริษัทรัฐวิสาหกิจ
ในต่างประเทศสามารถแข่งขันได้ในตลาดและในระดับโลกมาก่อนหน้านี้แล้ว20 แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น จาเป็นต้องกาหนดให้มีองค์กร
อิสระที่คอยกากับดูแลอุตสาหกรรมโทรคมนาคม เพื่อให้ความแน่ใจว่าบริษัทผู้แข่งขันในตลาดโทรคมนาคมมีการแข่งขันอย่าง
เท่าเทียมและเป็นธรรม และสร้างประโยชน์ให้กับผู้บริโภคให้มากทีส่ ุด

ข้อสังเกตอืน่ ๆ

ผมไม่สามารถทาความเข้าใจกับข้อเสนอของ Policy Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี ดังต่อไปนี้ได้

1. กรณีความเกี่ยวข้องของรสนิยมการบริโภคโทรศัพท์เคลื่อนที่ กับปัญหาความเหลื่อมล้าต่าสูงทางเทคโนโลยี
(Digital Divide)

“เพราะหากเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีกว่า 60 ล้านเลขหมายนั้น ก็อาจพออนุมานได้ว่า คน


ไทยเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิตอลได้ (ไม่มีปัญหาเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน) หากแต่เพียงว่าความจริงอีก
ด้านหนึ่งที่การใช้เทคโนโลยีเพื่อความบันเทิงและเป็นกระแสนิยมอย่างบ้าคลั่ง เช่น ใช้เครื่อง
โทรศัพท์มือถือสาหรับการฟังเพลง เพราะสัญญาณในเขตชนบทไม่ดีทาให้ไม่สามารถใช้งานได้
หรือแม้กระทั่งลูกจ้างรายวันที่ยอมอดข้าวแต่จะต้องเสียเงินไปกับบริการเสริมต่างๆของบริษัทผู้
ให้บริการมือถือ และไม่รู้แม้แต่วธิ ียกเลิก รวมทัง้ การส่งข้อความให้ไปปรากฎบนจอทีวีที่มี

17
เป็นบริษัทที่แปลงสภาพจากการสื่อสารแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2546
18
เป็นบริษัทที่แปลงสภาพจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม
2545
19
Gore, Al (1995). COMMON SENSE GOVERNMENT: WORKS BETTER AND COSTS LESS. New York: Random House
20
ตัวอย่างเช่น Telenor แปรรูปมาจาก Norwegian Telecom ปัจจุบันเป็นผู้ถือหุ้นหลักในบริษัท DTAC และ Singapore
Telecommunications (SingTel ) เป็นรัฐวิสาหกิจแปรรูปที่เกิดจากการรวมตัวของ The Singapore Telephone Board (STB) และ
Telecommunications Authority of Singapore (TAS) ปัจจุบันเป็นผู้ถือหุ้นหลักของ Shin Corp และ AIS
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 7
ค่าบริการสูงเกินจริง และมีอีกประชาชนจานวนมากที่มีปัญหาด้านทักษะการใช้ ในขณะที่ปัญหา
เรื่องการบริหารจัดการก็มักไม่ค่อยได้รับการแก้ไข”

ประเด็นที่ผมไม่สามารถทาความเข้าใจได้คือ ลักษณะรสนิยมการบริโภคของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือดังกล่าว
เกี่ยวข้องอะไรกับปัญหาความเหลื่อมล้าต่าสูงทางเทคโนโลยี (Digital Divide) และหากสมมติวา่ กทช.
สามารถกากับดูแลให้มีการสร้างโครงข่ายโทรศัพท์มอื ถือแบบ 3 จี ได้อย่างทัว่ ถึง (กทช. ได้มีการใช้ข้อกาหนด
Universal Service Obligation เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องนี้อยู่แล้ว)21 เกิดขึ้นได้จริง ตกลงทาง Policy Watch

และ ดร. ประชา คุณธรรมดี เห็นว่าดีหรือไม่ด?ี

2. ผลกระทบของ 3 จี ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP)

“หลายคนกล่าวว่าการประมูล 3 จีจะทาให้ประเทศไทยพัฒนาอย่างก้าวกระโดดเพราะ จะส่งผล


ต่อจีดีพเี พิ่มขึ้นในระดับกว่าแสนล้านบาท ดังนั้น ต้องมี 3 จี”

ผมไม่แน่ใจในความเห็นข้างต้นนัก แต่ดูเหมือนว่าทาง Policy Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี จะไม่


เชื่อว่าคากล่าวอ้างของ กทช. ว่า 3จี จะมีผลกระทบต่อ GDP อย่างมีนัยยะสาคัญ ดูเหมือนว่าทางกทช. จะ
กล่าวอ้างเรื่องนี้ขึ้นมาอย่างลอย ๆ (ผมยกข้อสังเกตนี้ขึ้นมาด้วยเพราะเท่าทีเ่ ห็นการแสดงความเห็นในสื่อ
สาธารณะในที่อื่นๆ ก็แสดงถึงความสงสัยในข้อนี้เช่นกัน) ผมเห็นว่า กทช. ทาการวิเคราะห์คาดการณ์ผลกระทบ
ของ 3 จี ต่อ GDP อย่างมีหลักวิชาการแล้ว โดย กทช. ได้สร้างแบบจาลองผลกระทบของอุตสาหกรรม

โทรคมนาคมต่อ GDP ดังต่อไปนี22


21
อ่านเอกสารออนไลน์แบบ PDF ได้ที่ http://www.ntc.or.th/uploadfiles/NewUniversalService.pdf
22
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก สานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, รายงานดัชนีชี้วัดในกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทย
ประจาปี พ.ศ. 2552 ในหัวข้อ “บทบาทของกิจการโทรคมนาคมต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ” หน้า 22 สามารถอ่านเอกสารนี้ออนไลน์แบบ PDF
ได้ที่ http://www.ntc.or.th/uploadfiles/NTCTYBpress.pdf
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 8
ภาพที่ 2: แบบจาลองผลกระทบของ 3 จี ต่อ GDP ที่มา : รายงานดัชนีชี้วัดในกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทย ประจาปี พ.ศ. 2552 (อ้างแล้ว)

แต่การสร้างผลกระทบอย่างมีนยั ยะสาคัญต่อ GDP แน่นอนว่าย่อมไม่ได้อยู่ที่เพียงการทาให้เกิด 3 จี


หรือไม่ แต่อยู่ที่การเปลี่ยนจากระบบสัมปทาน ให้เป็นการแข่งขันของผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมอย่างเสรี
และเป็นธรรม ภายใต้การกากับดูแลของ กทช. ด้วย

3. ข้อเสนอเรื่องการกาหนดแผนและทิศทางของกิจการโทรคมนาคมไทย ในช่วงท้ายข้อเสนอของทาง Policy


Watch และ ดร. ประชา คุณธรรมดี ดูเหมือนจะตัง้ ข้อสงสัยเกี่ยวกับการกาหนดแผนและทิศทางกิจการ

โทรคมนาคมไทย ตลอดจนการให้ความสาคัญตามลาดับก่อนหลังของการ จัดประมูลฯ 3 จี ของกทช. ผมเห็นว่า


ที่ผ่านมา กทช. ได้ทาบทบาทเหล่านี้เป็นอย่างดีแล้ว อาทิเช่น กทช. ได้มีการกาหนดแผนแม่บทในการพัฒนา
กิจการโทรคมนาคมระยะยาวเอาไว้อย่างชัดเจน23 และมีหน่วยงานภายใต้สังกัดคือ สานักพัฒนานโยบายและ
กฎกติกาคอยรับผิดชอบจัดทาแผนเตรียมพร้อมด้านโทรคมนาคม แผนกลยุทธ์ แผนดาเนินการ และแผนปฏิบัติ
การของสานักงาน กทช.24 เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บท และมีการกาหนดตัวชีว้ ัดที่สอดคล้องกับแผน
กิจกรรมและแผนปฏิบัติการ โดย กทช. ได้มีการตีพิมพ์รายงานดัชนีชี้วัดในกิจการโทรคมคมของประเทศไทยนี้
ทุกปี25 เป็นต้น

23
ฉบับล่าสุดคือ พ.ศ. 2551 – 2553 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2551/E/065/41.PDF
24
http://www.ntc.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=1939&Itemid=91
25
ฉบับล่าสุดคือ รายงานประจาปี พ.ศ. 2552 http://www.ntc.or.th/uploadfiles/NTCTYBpress.pdf
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 9
บทสรุป

การแลกเปลี่ยนความเห็นนโยบายสาธารณะในเรื่องการกากับดูแลฯ 3จี ในพื้นที่สาธารณะนั้น จะช่วยให้เกิดมุมมอง


การปฏิรูปกิจการโทรคมนาคมของประเทศอย่างรอบด้านมากที่สุด

ผมเห็นว่าในเบื้องต้นนี้ กระบวนการช่วยให้มีการผลักดันให้เปลี่ยนแปลงจากระบบสัมปทานที่มีรฐั วิสาหกิจของรัฐเป็น


ผู้ให้สัมปทานกับบริษัทเอกชน มาเป็นการแปรรูปรัฐวิสาหกิจที่อยูภ่ ายใต้การกากับดูแลขององค์กรอิสระผู้กากับดูแล
อุตสาหกรรม อย่าง กทช. (หรือ กสทช. ในอนาคต) และการให้ประมูลใบอนุญาตเพือ่ ใช้คลื่นความถี่วิทยุในกิจการ
โทรคมนาคมอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เป็นลาดับความจาเป็นเร่งด่วนอันดับแรกของการปฏิรูปกิจการโทรคมนาคมไทย

แต่ในระยะยาวแล้ว การที่ประชาชนเข้าทาการตรวจสอบความโปร่งใสในการปฏิบัติงานขององค์กรอิสระผู้กากับดูแล
อุตสาหกรรม (อย่าง กทช. หรือ กสทช. ในอนาคต) จะสอดคล้องกับหลักการรับผิดชอบสาธารณะ เพราะถึงที่สุดแล้ว สิทธิของ
พลเมืองที่รัฐจะต้องรับผิดชอบคือ สิทธิของพลเมือง ที่ 1) จะต้องมีรัฐที่ปราศจากการฉ้อโกงและซือ่ สัตย์ 2) จะต้องได้รับบริการ

สาธารณะที่มคี ุณภาพสูง 3) สามารถตัง้ คาถามและคัดค้านอานาจการตัดสินใจและการปกครองของรัฐได้ 4) รับทราบว่ารัฐ


กาลังทาอะไรอยู่ และ 5) สิทธิในการปกครองตนเอง (โดยเฉพาะในระดับท้องถิ่น)26

26 st
Bidhya Bowornwathana, Transforming bureaucracies for the 21 century : The new democratic governance
paradigm, PAQ FALL 1997.
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 10
ภาคผนวกที่ 1.

ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 11
การตรวจสอบสาธารณะ ต่อเงินกองทุนสาธารณะและสถาบันทางการคลัง ของ “สานักงาน กทช.”

บทบาทของ กทช. เป็นผู้จัดสรรคลื่นความถี่ ซึ่งเป็นทรัพยากรสาธารณะ เพื่อการดาเนินกิจการโทรคมนาคมเพื่อ


ประโยชน์สาธารณะอย่างทั่วถึง จึงมีลักษณะเป็นบริการเพื่อประโยชน์สาธารณะ ประโยชน์ที่เกิดขึน้ จากบริการของ กทช. ไม่
สามารถกีดกันได้ (non rival consumption) และแยกเป็นหน่วยของการบริโภคไม่ได้ (non excludability) การบริหาร
เงินทุนของ กทช. จึงจะต้อง มีความโปร่งใส และตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และภารกิจขององค์การมากที่สุด

สถาบันทางการคลังที่เกี่ยวข้อง

สถาบันทางการคลังที่เกี่ยวข้องกับ กทช. มีทั้งส่วนภายในองค์กร และภายนอกองค์กรดังต่อไปนี้

ภาพที่ 3 : สถาบันการคลังที่เกี่ยวข้องกับ กทช.

ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 12
1. สถาบันทางการคลังภายใน กทช. แบ่งได้เป็น
1.1 สานักการคลัง มีหน้าที่บริหารการเงิน และจัดทาบัญชีการเงินภายในสานักกทช. (ดูภาคผนวก 2)
1.2 กทช. ได้มีการจัดตัง้ “กองทุนพัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ” มีวตั ถุประสงค์เพื่อ เป็น
ทุนหมุนเวียนสนับสนุนให้มีการดาเนินกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างทั่วถึง การวิจัยและ
พัฒนาด้านโทรคมนาคมและการพัฒนาบุคลากรด้านกิจการโทรคมนาคม ตามมาตรา 56 (ดูภาคผนวก 1)
1.3 ภายใน กทช. มีคณะกรรมการพัฒนาและติดตามการประเมินระบบการควบคุมภายใน ซึ่งจะทาหน้าที่
ตรวจสอบ การเงินและบัญชีในสานักการคลังของสานักงานกทช. (1.1) และ กองทุนพัฒนากิจการ
โทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ (1.2)
2. สถาบันทางการคลังภายในนอก กทช. แบ่งได้เป็น
2.1 ผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก : ทาง กทช. ได้ว่าจ้าง บริษัท นิลสุวรรณ จากัด ให้เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก
และในขณะเดียวกัน หน่วยงานอิสระภายใต้กทช. เช่น TRIDI , สบท. และ สถาบันการเชื่อมต่อ ก็ได้ว่าจ้าง
ผู้ตรวจสอบบัญชีรายนี้ในการตรวจสอบบัญชีให้ด้วยเช่นกัน (ดูภาคผนวก 4)
2.2 สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ทาหน้าที่ตรวจสอบและประเมินการใช้จา่ ยของ กทช. ตามมาตรา 45 (ดู
ภาคผนวก 1) และรายงานต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา
2.3 คณะรัฐมนตรี สามารถตรวจสอบการใช้จา่ ยของกทช. ได้จากรายงานที่ได้จากสานักงานการตรวจเงิน
แผ่นดิน ที่จะต้องมีภาระรายงานให้ตามหน้าที่ และอาจตรวจสอบซักถามคณะกรรมการกทช. ได้ ในกรณีที่
กทช. จาเป็นต้องมีการของบสนับสนุนจากรัฐบาล ตามมาตรา 41 (ดูภาคผนวก 1)
2.4 รัฐสภา สามารถตรวจสอบการใช้จ่ายของ กทช. ได้จากรายงานที่ได้จากสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ที่
จะต้องมีภาระรายงานให้ตามหน้าที่

ปัญหาการบริหารการคลังของ กทช. และข้อเสนอแนะ

การบริหารการคลังของ กทช. อาจมีปัญหาทีเ่ กิดจาก Common pool (เบียดบังทรัพยากรสาธารณะ) และปัญหาที่


เกิดจาก Principal-agent problem (ปัญหาตัวการ-ตัวแทน) ดังต่อไปนี27

27
การวิจารณ์ปัญหาจริงที่ปรากฏอยู่อ้างตามหลักฐานที่ค้นพบ ในขณะที่ข้อเสนอการป้องกันปัญหา เป็นข้อเสนอที่เกิดขึ้นจากข้อสังเกตใน
ทฤษฎี
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 13
1. ปัญหา Principal-agent problem (ปัญหาตัวการ-ตัวแทน) กทช. อาจรักษาผลประโยชน์ของตนเองมากกว่า
ผลประโยชน์ของสาธารณะ ตามที่ได้ระบุไว้

ที่ผ่านมายังไม่มกี ารเปิดเผยเงินเดือนและค่าตอบแทนของ คณะกรรมการกทช. มาก่อนเลย เมื่อมีการอภิปรายทาให้


รัฐบาลต้องขอให้กทช. เปิดเผยข้อมูลดังกล่าว28 ก่อนหน้านี้ คณะกรรมการกทช. ได้กาหนดเงินเดือนและค่าตอบแทน กทช. 4-
5 แสนบาท ต่อเดือน ซึง่ รัฐบาลสมัย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ได้พิจารณาให้ลดเงินเดือนและค่าตอบแทนลงจากที่เสนอ
29

2. ปัญหาความเรื่อง Common Pool กรณีกองทุนสาธารณะ เท่าทีต่ รวจสอบยังไม่ทราบว่ากองทุนพัฒนากิจการ


โทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ มีการจัดสรรไปเพื่อกิจการใดบ้าง การประกาศ และรับการตรวจสอบจาก
สาธารณะ จะช่วยแสดงความโปร่งในของการใช้จ่ายเงินสาธารณะได้ด้วย

3. ข้อเสนอ
- การตรวจสอบจากสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เพียงอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ ต่อการตรวจสอบจุดรั่วไหล
และการใช้จา่ ยงบประมาณไปในทางที่อาจไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์การ ควรเพิ่มการตรวจสอบจาก
ภาคประชาชนให้มากขึ้น

28
รายงานจากประชาชาติธุรกิจ http://www.108acc.com/index.php?mo=3&art=414104
29
ยืดเคาะเงินเดือนกทช. อ้างเอกชนจ่ายกระฉูด
http://www.ntc.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=111&Itemid=73
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 14
- ควรมีการรายงานงบการเงิน สถานะทางการเงิน และรายละเอียดการใช้จา่ ยเงินขององค์การภายใต้การบริหาร
ของ กทช. ตลอดจนกองทุนต่างๆ ของกทช. ให้สาธารณะได้รับทราบ

ข้อมูลอ้างอิง กรณี กทช.

1. กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับสถาบันการคลังและสานักงาน กทช. 30

มาตรา ๕๖ ให้จดั ตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสานักงาน กทช. เรียกว่า "กองทุนพัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อ


ประโยชน์สาธารณะ" โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนสนับสนุนให้มีการดาเนินกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์
สาธารณะอย่างทัว่ ถึง การวิจัยและพัฒนาด้านโทรคมนาคมและการพัฒนาบุคลากรด้านกิจการโทรคมนาคม ประกอบด้วย

(๑) ทุนประเดิมที่รฐั บาลจัดสรรให้

(๒) ค่าธรรมเนียมที่ กทช. จัดสรรให้ตามมาตรา ๕๒

(๓) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้เพื่อสมทบกองทุน

(๔) ดอกผลและรายได้ของกองทุน รวมทั้งผลประโยชน์จากค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์จากการวิจัยและ

พัฒนาด้านโทรคมนาคม

(๕) เงินและทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของกองทุน

การบริหารกองทุนและการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของกองทุนให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ กทช. กาหนด

มาตรา ๖๐ รายได้ของสานักงาน กทช. มีดังต่อไปนี้

(๑) รายได้หรือผลประโยชน์อันได้มาจากการดาเนินงานตามอานาจหน้าที่ของ กทช. และสานักงาน กทช.

(๒) รายได้จากทรัพย์สินของสานักงาน กทช.

30
ที่มา - พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 15
(๓) เงินและทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้แก่สานักงาน กทช. ตามระเบียบที่ กทช. กาหนด เพื่อใช้ในการดาเนิน
กิจการของสานักงาน กทช.

(๔) เงินอุดหนุนทัว่ ไปที่รัฐบาลจัดสรรให้

รายได้ของสานักงาน กทช. ตาม (๑) เมื่อได้หักรายจ่ายสาหรับการดาเนินงานของ กทช. และสานักงาน กทช. ค่าภาระต่าง ๆ ที่
เหมาะสม ค่าใช้จ่ายทีจ่ าเป็นในการดาเนินงานตามอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการร่วม เงินที่จัดสรรเพื่อสมทบกองทุนพัฒนา
กิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะตามมาตรา ๕๖ และกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย
การศึกษาแห่งชาติ เหลือเท่าใดให้นาส่งเป็นรายได้ของรัฐ

มาตรา ๖๑ ให้นาความในมาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๔ และมาตรา ๔๕ มาใช้บงั คับกับการได้รับ


งบประมาณ การจัดการทรัพย์สิน การบัญชี การตรวจสอบและประเมินผลของสานักงาน กทช. โดยอนุโลม ในกรณีรายได้ของ
สานักงาน กทช. มีจานวนไม่พอสาหรับค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของ กทช. และสานักงาน กทช. รวมทั้งค่าภาระต่าง ๆ ที่
เหมาะสมและไม่สามารถหาเงินจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดินให้แก่สานักงาน กทช. เท่าจานวนที่จาเป็น

มาตรา ๔๑ เพื่อประโยชน์ในการจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดินให้แก่สานักงานกสช. ให้สานักงาน กสช. เสนอ


งบประมาณรายจ่ายของปีงบประมาณที่ขอความสนับสนุนต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปของสานักงาน กสช.
ไว้ในร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรือร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม แล้วแต่กรณี ใน
การนี้คณะรัฐมนตรีอาจทาความเห็นเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณของสานักงาน กสช. ไว้ในรายงานการเสนอร่าง
พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปีหรือร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมด้วยก็ได้ และในการ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรือร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม สภา
ผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาอาจขอให้เลขาธิการ กสช. เข้าชีแ้ จงเพื่อประกอบการพิจารณาได้

มาตรา ๔๔ การบัญชีของสานักงาน กสช. ให้จดั ทาตามหลักสากล ตามแบบและหลักเกณฑ์ที่ กสช. กาหนด และต้อง


จัดให้มีการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงินการบัญชีและการพัสดุของสานักงาน กสช. ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบให้
กสช. ทราบอย่างน้อยปีละครัง้ ในการตรวจสอบภายใน ให้มีผู้ปฏิบัติงานในสานักงาน กสช. ทาหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบภายใน
โดยเฉพาะ และให้รับผิดชอบขึ้นตรงต่อ กสช. ตามระเบียบที่ กสช. กาหนด

ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 16
มาตรา ๔๕ ให้สานักงาน กสช. จัดทางบดุล งบการเงิน และบัญชีทาการส่งผู้สอบบัญชีภายในหนึง่ ร้อยยี่สิบวันนับแต่
วันสิ้นปีบัญชีในทุกรอบปี ให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีและประเมินผลการใช้จ่ายเงินและทรัพย์สินของ
สานักงาน กสช. โดยให้แสดงความคิดเห็นเป็นข้อวิเคราะห์ว่าการใช้จา่ ยดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ประหยัด และได้ผล
ตามเป้าหมายเพียงใดแล้วทาบันทึกรายงานผลเสนอต่อ กสช. คณะรัฐมนตรี และรัฐสภา ให้สานักงาน กสช. เป็นหน่วยรับตรวจ
ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน

2. หน้าที่ความรับผิดชอบของสานักการคลัง สานักงานกทช.31
 จัดทาระเบียบ ข้อบังคับ หรือข้อกาหนดใด ๆ เกีย่ วกับการงบประมาณและการเงิน
 จัดวางรูปแบบและระเบียบการบัญชี รวมทั้งจัดทางบดุล งบการเงิน และบัญชี
 จัดทางบประมาณและบริหารรายรับและ รายจ่ายของสานักงาน
 จัดเก็บรายได้และเงินที่มีผู้นาส่งกองทุน
 ดาเนินการเกี่ยวกับการเงินของสานักงานและการจัดการกองทุนต่าง ๆ

3. ตัวอย่างงบการเงินของสานักงาน กทช.32
ระเบียบวาระที่ ๖.๖ : งบการเงินของสานักงาน กทช. สาหรับไตรมาสที่ ๔ สิ้นสุด วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ที่สอบ
ทานโดย บริษัท นิลสุวรรณ จากัด : รทช.ฐากรฯ, คง.

มติที่ประชุม ๑. รับทราบผลการตรวจสอบงบการเงินของสานักงาน กทช.สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ ๓๑ ธันวาคม


๒๕๕๑ ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบจากบริษัท นิลสุวรรณ จากัด แล้ว ตามที่ สานักงาน กทช. เสนอ โดยมอบหมายให้
สานักงาน กทช.จัดส่งงบการเงินดังกล่าวให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) เพือ่ ตรวจสอบและรับรองงบ
การเงินประจาปี ๒๕๕๑ ต่อไป
๒. เห็นชอบให้นาเงินรายได้ส่วนทีเ่ หลือประจาปี ๒๕๕๑ จานวน ๘๒๖.๘๔ ล้านบาท นาส่ง
กระทรวงการคลังเป็นรายได้ของรัฐ เมื่อ สตง.ได้ตรวจสอบและรับรองงบการเงินตามข้อ ๑ แล้วตามที่ สานักงาน
กทช. เสนอ

31
ที่มา - สานักงาน กทช. http://www.ntc.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=1954&Itemid=91
32
มติคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๔/๒๕๕๒ วันพุธที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๒ เวลา ๙.๓๐ น.
http://house.ntc.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=558&Itemid=63
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 17
๓. เห็นชอบให้นาเงินรายได้คา้ งรับของปี ๒๕๔๘ – ๒๕๕๐ ที่นามาชาระในปี ๒๕๕๑
จานวน ๑,๖๒๕.๓๘ ล้านบาท ส่งกระทรวงการคลังเป็นรายได้ของรัฐต่อไปตามที่สานักงาน กทช. เสนอ

4. การจัดจ้างบริษัทที่ปรึกษาทางการเงินเดียวกันของสานักย่อยใน กทช.33
ระเบียบวาระที่ ๖.๓ : การจ้างผูส้ อบบัญชีของสถาบันวิจยั และพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ประจาปี ๒๕๕๒ :
สถาบันวิจยั และพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม

มติที่ประชุม เห็นชอบให้สถาบันวิจยั และพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม จัดจ้าง บริษัท นิลสุวรรณ จากัด


ซึ่งเป็นนิติบุคคลเดียวกับผู้สอบบัญชีของสานักงาน กทช. เป็นผู้สอบบัญชีของสถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรม
โทรคมนาคม ประจาปี ๒๕๕๒ ตามที่สถาบันวิจยั และพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม เสนอ

ระเบียบ วาระที่ ๖.๔ : การเสนอขอจัดจ้างผู้สอบบัญชีเบื้องต้นของสถาบันคุม้ ครองผู้บริโภคในกิจการ โทรคมนาคม


ประจาปี ๒๕๕๒ : สถาบันคุม้ ครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม

มติ ที่ประชุม เห็นชอบให้สถาบันคุม้ ครองผู้บริโภคใน กิจการโทรคมนาคม จ้าง บริษัท นิลสุวรรณ จากัด ซึง่
เป็นนิติบุคคลเดียวกับผู้สอบบัญชีของสานักงาน กทช. เป็นผู้สอบบัญชีเบื้องต้นของสถาบันคุม้ ครองผู้บริโภคใน
กิจการโทรคมนาคม ประจาปี ๒๕๕๒ ตามที่สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม เสนอ

33
มติที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๒ วันพุธที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๒ เวลา ๙.๓๐ น.
http://house.ntc.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=572&Itemid=63
ความเห็นต่างในข้อเท็จจริงนโยบายสาธารณะ
ต่อการกากับดูแลกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน 2.1 GHz หรือ 3จี 18

You might also like