You are on page 1of 21

คู่มือวิธีการปฏิบตั ิงานประกันคุณภาพภายใน

ศูนย์ฝึกอบรม
ศูนย์ปฏิบตั ิการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้

ประจําปีงบประมาณ 2553
คํานํา

ตามที่สํานักงานตํารวจแห่งชาติ ได้ประกาศนโยบายและหลักการในการประกันคุณภาพการศึกษา
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2549 และกองบัญชาการศึกษาในฐานะหน่วยงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึ ก ษา ของสํ า นั ก งานตํ า รวจแห่ ง ชาติ ตอบสนองนโยบายของสํ า นั ก งานตํ า รวจแห่ ง ชาติ โดยจั ด ตั้ ง
คณะกรรมการและคณะทํางานเพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และในปีงบประมาณ
พ.ศ.2552 ได้มีการปรับปรุงข้อมูลให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของหน่วยฝึกอบรม
ประกอบด้วย 7 มาตรฐาน 31 ตัวบ่งชี้

คู่ มื อ ฉบั บ นี้ จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นางานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ ศู น ย์ ฝึ ก อบรม ศู น ย์
ปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้มีความก้าวหน้าในด้านมาตรฐานการศึกษา ซึ่งการดําเนินงานใน
ครั้งนี้จะประสบผลสําเร็จได้ก็โดยความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับในการเรียนรู้
แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของหน่วยบรรลุเป้าหมาย
ที่กําหนดไว้

ศูนย์ฝึกอบรม ศูนย์ปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมทําให้งาน


ประกันคุณภาพการศึกษาสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี

ฝ่ายบริการการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม
ศูนย์ปฏิบัติการตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้
สารบัญ

เรื่อง หน้า

-มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพของผู้ศึกษาอบรม 1-4


-มาตรฐานที่ 2 ด้านการวิจัย/งานสร้างสรรค์ 5-6
-มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริการวิชาการ 6-7
-มาตรฐานที่ 4 ด้านการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 8-9
-มาตรฐานที่ 5 ด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร 10-12
-มาตรฐานที่ 6 ด้านหลักสูตรและการศึกษาอบรม 12-16
-มาตรฐานที่ 7 ด้านระบบการประกันคุณภาพภายใน 17-18
-1-
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน
มาตรฐานที่ 1 ด้าน 1.1 มีการกําหนด 1. มีปรัชญา/ปณิธาน และ -ปรัชญา/ปณิธาน และวัตถุประสงค์
คุณภาพของผูส้ ําเร็จ ปรัชญา/ปณิธานและ วัตถุประสงค์ เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นลายลักษณ์อักษร
การศึกษา/ปรัชญา/ วัตถุประสงค์ 2. มีปรัชญา/ปณิธาน และ -เอกสารที่แสดงให้เห็นความสอดคล้อง
ปณิธาน/วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ ที่มีความสอดคล้องกับ ระหว่างปรัชญา/ปณิธาน และ
ภารกิจ/พันธกิจหลักของหน่วยงาน วัตถุประสงค์ กับภารกิจ/พันธกิจหลัก
ของ ศฝร.
3. มีการเผยแพร่ปรัชญา/ปณิธาน -หนังสือประชาสัมพันธ์ปรัชญา/ปณิธาน
และวัตถุประสงค์ สู่บุคลากร และ และวัตถุประสงค์ ของ ศฝร.ศชต. ให้กับ
ผู้ศึกษาอบรม ข้าราชการตํารวจในสังกัดทราบ
-จัดทํา ปรัชญา/ปณิธาน และ
วัตถุประสงค์ ติดไว้บริเวณกองร้อยและ
ห้องเรียน เพื่อให้ผู้ศึกษาอบรมได้อ่าน
-ภาพถ่าย(พร้อมคําอธิบาย)การติด
ปรัชญา/ปณิธาน และวัตถุประสงค์
บริเวณกองร้อย ห้องเรียน และบริเวณ
ต่าง ๆ ของ ศฝร.ศชต.
4. มีการเผยแพร่ปรัชญา/ปณิธาน -มีการเผยแพร่ทาง Website
และวัตถุประสงค์ สู่สาธารณชน -มีการจัดทําแผ่นพับ
-ป้ายประชาสัมพันธ์
-ภาพถ่ายประกอบการเผยแพร่
5. มีการทบทวนปรัชญา/ -มีหนังสือเชิญประชุมเพื่อทบทวน
ปณิธานและวัตถุประสงค์ ปรัชญา/ปณิธาน และวัตถุประสงค์
-มีรายงานการประชุมทบทวนปรัชญา/
ปณิธาน และวัตถุประสงค์
-มีภาพถ่ายการประชุมทบทวนปรัชญา/
ปณิธาน และวัตถุประสงค์
-มีรายชื่อข้าราชการตํารวจเข้าร่วม
ประชุมทบทวน
-2-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 1 ด้าน 1.2 มีแผนการ 1. มีแผนการดําเนินงานครอบคุลม -มีการประชุมจัดทําแผนการดําเนินงาน
คุณภาพของผูส้ ําเร็จ ดําเนินงานสอดคล้องกับ ภารกิจ/พันธกิจหลักของหน่วยเป็น -มีรายงานการประชุมจัดทําแผนการ
การศึกษา/ปรัชญา/ ภารกิจ/พันธกิจหลักของ ลายลักษณ์อักษร ดําเนินงาน
ปณิธาน/วัตถุประสงค์ หน่วยและสอดคล้องกับ -มีภาพการประชุมจัดทําแผนการ
มาตรฐานการศึกษา ดําเนินงาน
-มีแผนการดําเนินงานของ ศฝร.ศชต.
เป็นลายลักษณ์อักษร
2. บุคลากรมีส่วนร่วมในการจัดทํา -มีหนังสือเชิญข้าราชการตํารวจร่วม
แผนการดําเนินงาน ประชุมจัดทําแผน
-มีรายชื่อข้าราชการตํารวจเข้าร่วม
ประชุมจัดทําแผน
-มีภาพประกอบการประชุมจัดทํา
แผนการดําเนินงาน
3. แผนการดําเนินงานสอดคล้องกับ -เอกสารที่แสดงให้เห็นความสอดคล้อง
นโยบายของหน่วย ของแผนการดําเนินงานกับนโยบายของ
ศฝร.ศชต. เช่น ยุทธศาสตร์ในด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
4. มีการเผยแพร่แผนการดําเนินงาน -มีหนังสือแจกจ่ายแผนให้แต่ละกอง
สู่บุคลากรในหน่วยงาน กํากับการ และประชาสัมพันธ์ให้
ข้าราชการตํารวจทราบ
5. มีการทบทวนแผนการดําเนินงาน -มีหนังสือเชิญประชุมเพื่อทบทวน
แผนการดําเนินงาน
-มีรายงานการประชุมทบทวน
-มีภาพถ่ายการประชุมทบทวน
-3-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 1 ด้าน 1.3 ระดับความ พึง 1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้ 1. หนังสือ/รายงานการประชุมกําหนด
คุณภาพของผูส้ ํา พอใจของผู้ใช้ผู้สําเร็จ ผู้สําเร็จการศึกษาอบรม ≤ 1.50 แบบสอบถาม
เร็จารศึกษา/ปรัชญา/ การศึกษาอบรม 2. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้ 2. แบบสอบถามผู้บังคับบัญชา
ปณิธาน/วัตถุประสงค์ ผู้สําเร็จการศึกษาอบรม > 1.50- 3. แบบสอบถามเพื่อนร่วมงาน
2.50 4. แบบสอบถามประชาชนในพื้นที่
3. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้ 5. หนังสือแจกจ่ายแบบสอบถาม
ผู้สําเร็จการศึกษาอบรม > 2.50- 6. หนังสือตอบรับแบบสอบถาม
3.50 7. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ค่าเบี่ยงเบน
4. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้ มาตรฐาน(S.D) ในภาพรวม และจําแนก
ผู้สําเร็จการศึกษาอบรม > 3.50- ตามข้อคําถามต่าง ๆ หรือใช้ข้อมูลการ
4.50 สัมภาษณ์ผู้ใช้บริการมาพิจารณาให้
5. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้ คะแนนร่วมกับผลการสํารวจ
ผู้สําเร็จการศึกษาอบรม > 4.50
1.4 ร้อยละของผู้สาํ เร็จ 1. ผู้สําเร็จการศึกษาอบรมที่มี 1. คําสั่งเกี่ยวกับการสอบ
การศึกษาอบรมทีม่ ี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 80 2. ผลการสอบวัดผล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขึ้นไป ≤ ร้อยละ 10 3. เอกสารแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2. ผู้สําเร็จการศึกษาอบรมที่มี ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 80
ขึ้นไป > ร้อยละ 10-15
3. ผู้สําเร็จการศึกษาอบรมที่มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 80
ขึ้นไป > ร้อยละ 15-20
4. ผู้สําเร็จการศึกษาอบรมที่มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 80
ขึ้นไป > ร้อยละ 20-25
5. ผู้สําเร็จการศึกษาอบรมที่มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 80
ขึ้นไป > ร้อยละ 25
-4-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 1 ด้าน 1.5 การพัฒนาผู้ศึกษา 1. มีการวางแผน/โครงการ การ 1. หนังสือเชิญประชุมวางแผน
คุณภาพของผูส้ ํา อบรมเพื่อให้มีคณ
ุ ลักษะ บริหารและการพัฒนาการเรียนการ 2. รายงานการประชุมวางแผน พร้อม
เร็จารศึกษา/ปรัชญา/ ตามที่หลักสูตรประจํา สอน ภาพการประชุม
ปณิธาน/วัตถุประสงค์ กําหนด 3. แผน/โครงการ/แนวทาง การบริหาร
และการพัฒนาการเรียนการสอน
2. มีการดําเนินการจัดการเรียนการ 1. ตารางการเรียนการสอน
สอนตามแผน/โครงการของ 2. แผนการสอน
หลักสูตร 3. บันทึกการสอนเป็นรายวิชา
3. มีการตรวจสอบการดําเนินการ -รายงานการประชุม หรือเอกสารที่
จัดการเรียนการสอนตามแผน/ เกี่ยวกับติดตามตรวจสอบการ
โครงการ ดําเนินการจัดการเรียนการสอนตาม
แผน/โครงการ/แนวทาง
4. มีการประเมินผลการจัดการเรียน -ผลการประเมินการจัดการเรียนการ
การสอนที่เป็นระบบ สอน หรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. มีการนําผลการประเมินการจัด 1. หนังสือเชิญประชุม
เรียนการสอนไปใช้เพื่อปรับปรุงการ 2. รายงานการประชุมปรับปรุงการเรียน
เรียนการสอน การสอน พร้อมภาพการประชุม
1.6 ระดับความคิดเห็น 1. ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้สําเร็จ 1. หนังสือ/รายงานการประชุมกําหนด
ของผู้สําเร็จการศึกษา การศึกษาอบรม ≤ 1.50 แบบสอบถาม
อบรม 2. ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้สําเร็จ 2. แบบสอบถามความคิดเห็น
การศึกษาอบรม > 1.50-2.50 3. หนังสือแจกจ่ายแบบสอบถาม
3. ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้สําเร็จ 4. หนังสือตอบรับแบบสอบถาม
การศึกษาอบรม > 2.50-3.50 5. ค่ า เฉลี่ ย ความคิ ด เห็ น ค่ า เบี่ ย งเบน
4. ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้สําเร็จ มาตรฐาน (S.D) ในภาพรวมและจําแนก
การศึกษาอบรม > 3.50-4.50 ตามข้อคําถามต่าง ๆ ทั้งนี้อาจใช้ข้อมูล
5. ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้สําเร็จ การสัมภาษณ์ ผู้สํา เร็ จการศึก ษาอบรม
การศึกษาอบรม > 4.50 มาพิ จ ารณาให้ ค ะแนนร่ ว มกั บ ผลการ
สํารวจก็ได้
-5-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 2 2.1 จํานวนงานวิจัย งาน 1. ผลงานวิ จั ย หรือ งานนวั ตกรรม 1.แผน/โครงการจัดทํางานวิจัย งาน
ด้านการวิจัย/งาน นวัตกรรม ผลงานทาง เฉลี่ย ≤ 0.5 เรื่อง/คน นวัตกรรม ผลงานทางวิชาการหรือ งาน
สร้างสรรค์ วิชาการ หรืองาน 2. ผลงานวิ จั ย หรือ งานนวั ตกรรม สร้างสรรค์
สร้างสรรค์ต่อาจารย์ เฉลี่ย > 0.5-1.0 เรื่อง/คน
ประจํา/ครูฝึก 3. ผลงานวิ จั ย หรือ งานนวั ตกรรม 2.คําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานเกี่ยวกับการ
เฉลี่ย > 1.0-1.5 เรื่อง/คน ทํางานวิจัย งานนวัตกรรม ผลงานทาง
4. ผลงานวิ จั ย หรือ งานนวั ตกรรม วิชาการ หรืองานสร้างสรรค์
เฉลี่ย > 1.5-2.0 เรื่อง/คน 3. จํานวนผลงานวิจัย งานนวัตกรรม
5. ผลงานวิ จั ย หรือ งานนวั ตกรรม ผลงานทางวิชาการ และงานสร้างสรรค์
เฉลี่ย > 2.0 เรื่อง/คน ต่อจํานวนครู/อาจารย์ทั้งหมด

2.2 ร้อยละของ 1. งานวิจัย งานนวัตกรรม ผลงาน -จํ า นวนผลงานวิ จั ย งานนวั ต กรรม


งานวิจัย/งานนวัตกรรม ทางวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์ที่มี ผลงานทางวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์
ผลงานทางวิชาการ หรือ ผู้นําไปใช้ประโยชน์ ≤ ร้อยละ 80 ที่มีผู้นําไปใช้ประโยชน์ -หลักฐานที่แสดง
งานสร้างสรรค์ที่นําไปใช้ 2. งานวิจัย งานนวัตกรรม ผลงาน ให้ เ ห็ น ว่ า มี ก ารนํ า เอางานวิ จั ย งาน
ประโยชน์ต่อจํานวน ทางวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์ที่มี นวัตกรรม หรืองานสร้างสรรค์ เช่น สถิติ
งานวิจัย/งานนวัตกรรม ผู้ นํ า ไปใช้ ป ระโยชน์ > ร้ อ ยละ การ เข้ า อ่ า นบทความใน website
ผลงานทางวิชาการ หรือ 80-85 หรื อ หลั ก ฐานการนํ า บทความทาง
งานสร้างสรรค์ทั้งหมด 3. งานวิจัย งานนวัตกรรม ผลงาน วิ ช า ก า ร กิ จ ก ร ร ม ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร
ทางวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์ที่มี ทางวิชาการแก่ชุมชน
ผู้นําไปใช้ประโยชน์ >ร้อยละ 85-90
4. งานวิจัย งานนวัตกรรม ผลงาน
ทางวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์ที่มี
ผู้นําไปใช้ประโยชน์ >ร้อยละ 90-95
5. งานวิจัย งานนวัตกรรม ผลงาน
ทางวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์ที่มี
ผู้นําไปใช้ประโยชน์ > ร้อยละ 95
-6-
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน
มาตรฐานที่ 2 2.3 งบประมาณ 1. งบประมาณสนั บ สนุ น งานวิ จั ย งาน 1. งบประมาณที่ ศฝร.ศชต.
ด้านการวิจัย/งาน สนับสนุงานวิจัย งาน นวัตกรรม ผลงานทางวิช าการ หรื องาน จั ด สรร ในการสนั บ สนุ น การ
สร้างสรรค์ นวัตกรรม ผลงานทาง สร้างสรรค์เฉลี่ย ≤ 3,000 บาท/คน ทํางานวิจัย งานนวัตกรรม ผลงาน
วิชาการหรืองาน 2. งบประมาณสนั บ สนุ น งานวิ จั ย งาน ทางวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์
สร้างสรรค์ จากภายใน นวัตกรรม ผลงานทางวิช าการ หรื องาน ตามแผน/โครงการ ตามตั ว บ่ ง ชี้
หรือภายนอกสถาบันต่อ สร้างสรรค์เฉลี่ย > 3,000-4,000 บาท/ 2.1 ในปีงบประมาณนั้น หรือ
จํานวนครู/อาจารย์ คน 2. งบประมาณได้รับการสนับสนุน
ประจํา/ครูฝึก 3. งบประมาณสนั บ สนุ น งานวิ จั ย งาน ง า น วิ จั ย จ า ก อ ง ค์ ก ร นิ ติ
นวัตกรรม ผลงานทางวิช าการ หรื องาน บุคคลภายนอก ในปีงบประมาณ
สร้างสรรค์เฉลี่ย > 4,000-5,000 บาท/ นั้น
คน 3. ข้ อ มู ล แสดงอั ต ราส่ ว นการใช้
4. งบประมาณสนั บ สนุ น งานวิ จั ย งาน งบประมาณต่ออาจารย์ประจํา/ครู
นวัตกรรม ผลงานทางวิช าการ หรื องาน ฝึก
สร้างสรรค์เฉลี่ย > 5,000-6,000 บาท/
คน
5. งบประมาณสนั บ สนุ น งานวิ จั ย งาน
นวัตกรรม ผลงานทางวิช าการ หรื องาน
สร้างสรรค์เฉลี่ย > 6,000 บาท/คน
มาตรฐานที่ 3 3.1 จํานวนหลักสูตร/ 1. หลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมทีจ่ ัด 1.จํานวนหลักสูตร/โครงการ/
ด้านการบริการ โครงการ/กิจกรรมใน การศึกษาอบรมนอกเหนือจากหลักสูตร กิจกรรมที่จดั อบรม
วิชาการ การให้บริการทาง ประจํา จํานวน 1-2 หลักสูตร/โครงการ/ ในปีงบประมาณ
วิชาการแก่บุคลากรใน กิจกรรม 2. สรุปประเมินผลหลักสูตร/
สํานักงานตํารวจ 2. หลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมทีจ่ ัด โครงการ
แห่งชาติ การศึกษาอบรมนอกเหนือจากหลักสูตร
ประจํา จํานวน 3-4 หลักสูตร/โครงการ/
กิจกรรม
3. หลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมทีจ่ ัด
การศึกษาอบรมนอกเหนือจากหลักสูตร
ประจํา จํานวน 5-6 หลักสูตร/โครงการ/
กิจกรรม
4. หลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมทีจ่ ัด
การศึกษาอบรมนอกเหนือจากหลักสูตร
ประจํา จํานวน 7-8 หลักสูตร/โครงการ/
กิจกรรม
5. หลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมทีจ่ ัด
การศึกษาอบรมนอกเหนือจากหลักสูตร
ประจํา จํานวน 9 หลักสูตร/โครงการ/
กิจกรรม
-7-
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน
มาตรฐานที่ 3 3.2 จํานวนกิจกรรม/ 1. จํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่ 1. กิจกรรม/โครงการ ที่จัดขึ้น
ด้านการบริการ โครงการ การให้บริการ ให้บริการแก่สังคมและชุมชน ≤ 5 เพื่อให้บริการแก่สังคมและชุมชน
วิชาการ วิชาการและวิชาชีพที่ กิจกรรม/ปี 2. หลักฐานการดําเนินกิจกรรม/
ตอบสนองความต้องการ 2. จํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่ โครงการ ให้บริการวิชาการที่
พัฒนาและเสริมสร้าง ให้บริการแก่สังคมและชุมชน > 6-10 สอดคล้องกับพันธกิจ
ความเข้มแข็งของสังคม กิจกรรม/ปี 3. การประเมินกิจกรรม/โครงการ
ชุมชน และประเทศชาติ 3. จํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่ 4. ข้อมูลการแสดงการนํางานวิจัย
ให้บริการแก่สังคมและชุมชน > 11-15 งานนวัตกรรม ผลงานทางวิชาการ
กิจกรรม/ปี หรืองานสร้างสรรค์ ไปใช้ใน
4. จํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่ กิจกรรม/โครงการ ที่เป็นการ
ให้บริการแก่สังคมและชุมชน > 16-20 ตอบสนองความต้องการของ
กิจกรรม/ปี ชุมชนและสังคม
5. จํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่
ให้บริการแก่สังคมและชุมชน > 20
กิจกรรม/ปี
3.3 ประสิทธิผลในการ 1. มีการวางแผน/โครงการให้บริการทาง 1.หนังสือเชิญประชุม
ให้บริการทางวิชาการแก่ วิชาการแก่ชุมชนและสังคม 2.รายงานการประชุมและ
ชุมชนและสังคม ภาพถ่าย
3.โครงการให้บริการแก่ชุมชนและ
สังคม
2. มีการดําเนินการตามที่กําหนดไว้ใน -หลักฐานที่แสดงการดําเนิน
แผน/โครงการให้บริการทางวิชาการแก่ โครงการให้บริการทางวิชาการ
ชุมชนและสังคม ประกอบด้วย หนังสือหรือเอกสาร
ประสานการปฏิบัติกับชุมชน ภาพ
การทํากิจกรรม หนังสือขอบคุณ
จากผู้นําชุมชน
3. มีการตรวจสอบการดําเนินการตาม -การรายงานผลโครงการหรือ
แผน/โครงการให้บริการทางวิชาการแก่ กิจกรรมให้บริการทางวิชาการให้
ชุมชนและสังคม ผู้บังคับบัญชาทราบ
4. มีการประเมินผลการดําเนินการตาม -เอกสารการประเมินโครงการ
แผน/โครงการให้บริการทางวิชาการแก่
ชุมชนและสังคม
5. มีการนําผลการประเมินมาพัฒนา -รายงานการประชุมพัฒนาปรับปรุงการ
ปรับปรุงการดําเนินการตามแผน/โครงการ ดําเนินการตามโครงการให้บริการทาง
ให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชนและสังคม วิชาการแก่ชุมชนและสังคมใน
ปีงบประมาณนั้น และเพือ่ นําผลไป
ปฏิบัติในปีต่อไป
-ภาพการประชุม(ถ้ามี)
-8-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 4 4.1 ร้อยละโครงการ/ 1. ร้อยละ ≤ 1.5 1.รายงานการประชุมจัดทํา
ด้านการทํานุบํารุง กิจกรรมในการอนุรักษ์ 2. ร้อยละ > 1.5-2.0 โครงการด้านการทํานุบํารุงศิลปะ
ศิลปะและวัฒนธรรม พัฒนาและสร้างเสริม 3. ร้อยละ > 2.0-2.5 และวัฒนธรรม
เอกลักษณ์ศลิ ปะ และ 4. ร้อยละ > 2.5-3.0 2.โครงการด้านการทํานุบํารุง
วัฒนธรรมต่อจํานวนผู้ 5. ร้อยละ > 3.0 ศิลปะและวัฒนธรรม
ศึกษาอบรม 3.การดําเนินโครงการ
4.การประเมินโครงการ
5.การปรับปรุงและพัฒนา
โครงการทํานุบํารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม
4.2 การพัฒนา และการ 1. มีการวางแผนหรือโครงการพัฒนาและ 1.หนังสือเชิญประชุม
ปลูกฝังวัฒนธรรมของ การปลูกฝังวัฒนธรรม 2.รายงานการประชุม
องค์การ 3.ภาพถ่ายการประชุม
2. มีการดําเนินการตามแผนหรือโครงการ 1.แผน/โครงการ
พัฒนาและการปลูกฝังวัฒนธรรม 2.คําสั่งแต่งตั้งผู้ควบคุมการปฏิบัติ
3.เอกสารการดําเนินโครงการ
3. มีการตรวจสอบการดําเนินการตามแผน -รายงานผลการปฏิบัติ หรือ
หรือโครงการพัฒนาและการปลูกฝัง เอกสารแสดงการตรวจสอบ
วัฒนธรรม
4. มีการประเมินผลการดําเนินการตาม -เอกสารการประเมิน หรือรายงาน
แผนหรือโครงการพัฒนาและการปลูกฝัง การประชุมสรุปผลการประเมิน
วัฒนธรรม
5. มีการนําผลการประเมินมาพัฒนา -รายงานการปรับปรุงโดยนํา
ปรับปรุงการดําเนินการตามแผนหรือ สรุปผลการประเมินมาประชุม
โครงการพัฒนาและการปลูกฝังวัฒนธรรม โดยปรากฏข้อความนําผลการ
ประเมินไปดําเนินการใน
ปีงบประมาณต่อไป
-ภาพการประชุม
-9-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 4 4.3 ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการ 1. ค่าใช้จ่ายในการทํานุบํารุง 1. ค่าใช้จ่ายในการทํานุบํารุง
ด้านการทํานุบํารุง สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ศิลปวัฒนธรรม ≤ ร้อยละ 0.1 เมื่อ ศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมค่านิยม
ศิลปะและวัฒนธรรม พั ฒ นา และทํ า นุ บํ า รุ ง เปรียบเทียบกับงบดําเนินงาน และวัฒนธรรม ตามโครงการ/
ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม 2. ค่าใช้จ่ายในการทํานุบํารุง กิจกรรมตามแผนตัวบ่งชี้ที่ 4.1
เมื่ อ เป รี ยบ เ ที ย บ กั บ ศิลปวัฒนธรรม > ร้อยละ 0.1-0.2 ในปีงบประมาณ
งบดําเนินการ เมื่อเปรียบเทียบกับงบดําเนินงาน 2. งบดําเนินงานของหน่วยทั้งหมด
3. ค่าใช้จ่ายในการทํานุบํารุง ในปีงบประมาณ
ศิลปวัฒนธรรม > ร้อยละ 0.2-0.3 เมื่อ
เปรียบเทียบกับงบดําเนินงาน
4. ค่าใช้จ่ายในการทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรม > ร้อยละ 0.3-0.4 เมื่อ
เปรียบเทียบกับงบดําเนินงาน
5. ค่าใช้จ่ายในการทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรม > ร้อยละ 0.4 เมื่อ
เปรียบเทียบกับงบดําเนินงาน
-10-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 5 5.1 การพัฒนา 1. มีการกําหนดความรู้ ความเชี่ยวชาญ -หนังสือเชิญประชุม
ด้านการพัฒนา หน่วยงานสู่องค์การ หรือทรัพย์สินทางปัญญาที่องค์การ -รายงานการประชุม ซึ่งได้กาํ หนด
องค์การและบุคลากร เรียนรู้ จําเป็นต้องมี องค์การแห่งการเรียนรู้
-ภาพถ่ายการประชุม
2. มีการแสวงหาความรู้จากทุกที่ ทั้งจาก 1. ความรู้จากภายในองค์การ
แหล่งภายในองค์การและภายนอก ได้แก่(จากบุคลากรของหน่วย)
องค์การ 1.1 ครู-อาจารย์ เช่น บทความ
วิชาการ งานวิจัย งานนวัตกรรม
เป็นต้น
1.2 ครูฝึก เช่น งานนวัตกรรม
งานวิจัย เป็นต้น
2. ความรู้จากภายนอกองค์กร
ได้แก่
2.1 สถาบันการศึกษา เช่น
การศึกษาดูงาน การฝึกอบรม
2.2 ท้องถิ่น ผู้นําชุมชน ผู้นํา
ศาสนา เช่น ขนบธรรมเนียม
ประเพณี วัฒนธรรม วิชาความรู้
จากปราชญ์ชาวบ้าน หลักคําสอน
เป็นต้น
3. มีการสร้างความรู้ โดยการนําความรู้ที่ 1. การถ่ายทอดความรู้ให้กับ
แสวงหามาใช้ในการปฏิบตั ิงานในองค์การ ข้าราชการตํารวจและนําไปปฏิบัติ
จนประสบความสําเร็จ กลายเป็นความรู้ 2. คู่มือการเรียนการสอน ตํารา
ใหม่ที่เหมาะสมกับองค์การ
4. มีการจัดเก็บความรู้ เพื่อเก็บรักษา 1. การจัดเก็บความรู้เพื่อเก็บรักษา
ความรู้ขององค์การไว้ในฐานความรู้ที่ องค์ความรู้ ได้แก่ บทความทาง
เหมาะสม รวมทั้งมีการปรับปรุงความรู้ วิชาการ งานวิจัย งานนวัตกรรม
ให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ อย่างเป็นระบบ
2. มีการประชุมปรับปรุงความรู้
5. มีการเผยแพร่ความรู้ ไปสู่บุคลากรทั่ว -การฝึกอบรม
ทั้งองค์การ โดยการเลือกแนวทางและ -website
กลไกที่ดีทสี่ ุดในการเผยแพร่ความรู้ -คู่มือการปฏิบตั ิ
-11-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 5 ด้าน 5.2 ระบบฐานข้อมูลเพื่อ 1. มีการวางแผน/โครงการจัดทําระบบ 1. หนังสือเชิญประชุมวางแผน
การพัฒนาองค์การ การบริหาร การเรียน ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารการเรียนการ 2. รายงานการประชุม และภาพ
และบุคลากร การสอน และการวิจัย สอนและการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ การประชุม
2. มีการดําเนินการตามแผน/โครงการ 1. คําสั่งตั้งคณะกรรมการ
จัดทําระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารการ รับผิดชอบการปฏิบัติ
เรียนการสอนและการวิจยั ที่มี 2. หลักฐานการบันทึกฐานข้อมูล
ประสิทธิภาพ
3. มีการตรวจสอบการดําเนินการตาม -เอกสารหรือหลักฐานการรายงาน
แผน/โครงการจัดทําระบบฐานข้อมูลเพื่อ ผลการดําเนินการเป็นระยะ
การบริหารการเรียนการสอนและการวิจัย
ที่มีประสิทธิภาพ
4. มีการประเมินผลการดําเนินการตาม -มีเอกสารการประเมินผลการ
แผน/โครงการจัดทําระบบฐานข้อมูลเพื่อ จัดทําระบบฐานข้อมูล เพื่อการ
การบริหารการเรียนการสอนและการวิจัย บริหารการเรียนการสอน และการ
ที่มีประสิทธิภาพ วิจัยที่มีประสิทธิภาพ
5. มีการนําผลการประเมินมาพัฒนา 1. หนังสือเชิญประชุม
ปรับปรุงตามแผน/โครงการจัดทําระบบ คณะกรรมการ
ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารการเรียนการ 2. รายงานการประชุมเพื่อนําผล
สอนและการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ การประเมินมาพัฒนาปรับปรุง
แผนการจัดทําระบบฐานข้อมูล
เพื่อการเรียนการสอนและการวิจยั
ที่มีประสิทธิภาพในปีงบประมาณ
ต่อไป
3. ภาพการประชุม(ถ้ามี)
5.3 ร้อยละการพัฒนา 1. บุคลากรสายงานสนับสนุนได้รบั การ 1. บัญชีรายชื่อข้าราชการตํารวจ
บุคลากรสายงาน พัฒนา ≤ ร้อยละ 50 สายสนับสนุนทั้งหมด
สนับสนุนการเรียนการ 2. บุคลากรสายงานสนับสนุนได้รบั การ 2. บัญชีรายชื่อข้าราชการตํารวจ
สอนและการศึกษา พัฒนา > ร้อยละ 50-60 สายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนา
อบรม 3. บุคลากรสายงานสนับสนุนได้รบั การ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา พร้อม
พัฒนา > ร้อยละ 60-70 แสดงรายละเอียด เช่น วัน เวลา
4. บุคลากรสายงานสนับสนุนได้รบั การ สถานที่ และหลักสูตร/โครงการที่
พัฒนา > ร้อยละ 70-80 อบรม
5. บุคลากรสายงานสนับสนุนได้รบั การ 3. บัญชีแสดงให้เห็นว่าได้รับการ
พัฒนา > ร้อยละ 80 ขึ้นไป พัฒนา
-12-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 5 ด้าน 5.4 ร้อยละของเงินเหลือ 1. เงินสุทธิเหลือจ่ายเบี่ยงเบนไปจากที่ 1. งบดําเนินการที่ใช้จ่ายจริงใน
การพัฒนาองค์การ จ่ายสุทธิต่องบประมาณ ควรจะเป็น > ร้อยละ 25 ปีงบประมาณนั้น
และบุคลากร รายจ่ายประจําปี 2. เงินสุทธิเหลือจ่ายเบี่ยงเบนไปจากที่ 2. งบประมาณรายจ่ายประจําปี
ควรจะเป็น > ร้อยละ 20-25 นั้น ได้แก่ เงินเดือน ค่าตอบแทน
3. เงินสุทธิเหลือจ่ายเบี่ยงเบนไปจากที่ ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ
ควรจะเป็น > ร้อยละ 15-20 ค่าสาธารณูปโภค เงินอุดหนุนและ
4. เงินสุทธิเหลือจ่ายเบี่ยงเบนไปจากที่ ค่าเสื่อมราคา โดยไม่รวมงบลงทุน
ควรจะเป็น > ร้อยละ 10-15 (งบครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง)
5. เงินสุทธิเหลือจ่ายเบี่ยงเบนไปจากที่ 3. เอกสารแสดงเงินสุทธิเหลือจ่าย
ควรจะเป็น ≤ ร้อยละ 10 เบี่ยงเบนในปีงบประมาณนั้น
มาตรฐานที่ 6 6.1 ระดับความพึงพอใจ 1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา 1. หนังสือ/รายงานการประชุม
ด้านหลักสูตรและ ของผู้ศึกษาอบรมต่อ อบรม ≤ 1.50 กําหนดแบบสอบถาม
การศึกษาอบรม คุณภาพการสอนของ 2. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา 2. แบบสอบถามความพึงพอใจ
ครู/อาจารย์ อบรม > 1.50-2.50 3. ผลการประเมินความพึงพอใจ
3. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา ของผู้ศึกษาอบรมที่มีต่อครู/
อบรม > 2.50-3.50 อาจารย์ ในแต่ละวิชา ซึ่งอยู่ในรูป
4. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา ค่าเฉลี่ย และค่า S.D. จําแนกตาม
อบรม > 3.50-4.50 รายวิชา
5. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา
อบรม > 4.50

6.2 ระดับความพึงพอใจ 1. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา 1. หนังสือ/รายงานการประชุม


ของผู้ศึกษาอบรมต่อสิ่ง อบรม ≤ 1.50 กําหนดแบบสอบถาม
สนับสนุนการเรียนรู้ 2. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา 2. แบบสอบถามความพึงพอใจ
อบรม > 1.50-2.50 3. ผลการประเมินความพึงพอใจ
3. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา ของผู้ศึกษาอบรม ต่อคุณภาพ
อบรม > 2.50-3.50 ของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เป็น
4. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา ค่าเฉลี่ย และค่า S.D. จําแนกตาม
อบรม > 3.50-4.50 รายวิชา
5. ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ศึกษา
อบรม > 4.50
-13-
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน
มาตรฐานที่ 6 6.3 ร้อยละของครู/ 1. ครู/อาจารย์ได้รับการพัฒนา ≤ ร้อยละ 1. เอกสารแสดงอัตาส่วนของครู/
ด้านหลักสูตรและ อาจารย์ที่ได้รับการ 60 อาจารย์ที่ได้รับการพัฒนา
การศึกษาอบรม พัฒนาต่อจํานวนครู/ 2. ครู/อาจารย์ได้รับการพัฒนา > ร้อยละ (การอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน
อาจารย์ทั้งหมด 60-70 ศึกษาต่อต้องได้รับการอบรม
3. ครู/อาจารย์ได้รับการพัฒนา > ร้อยละ รวมทั้งปีตั้งแต่ 20 ชม. ขึ้นไป และ
70-80 ต้องไม่นับคนซ้ํา)
4. ครู/อาจารย์ได้รับการพัฒนา > ร้อยละ 2. บัญชีครู/อาจารย์.ทั้งหมด
80-90
5. ครู/อาจารย์ได้รับการพัฒนา > ร้อยละ
90

6.4 ร้อยละของรายวิชา 1. วิชาที่มีเนื้อหาส่งเสริมความรู้ดา้ น 1. รายวิชาที่มีแผนการสอน


ที่มีเนื้อหาส่งเสริม จริยธรรมคุณธรรม ≤ ร้อยละ 85 ทั้งหมด
ความรู้ด้านจริยธรรม 2. วิชาที่มีเนื้อหาส่งเสริมความรู้ดา้ น 2. บันทึการสอนที่ปรากฏเนื้อหา
คุณธรรม จริยธรรมคุณธรรม > ร้อยละ 85-90 ส่งเสริมจริยธรรมคุณธรรม
3. วิชาที่มีเนื้อหาส่งเสริมความรู้ดา้ น ต่อจํานวนรายวิชา ที่อยู่ใน
จริยธรรมคุณธรรม > ร้อยละ 90-95 หลักสูตรประจํา และจํานวนวิชา
4. วิชาที่มีเนื้อหาส่งเสริมความรู้ดา้ น ทั้งหมด
จริยธรรมคุณธรรม > ร้อยละ 95-99
5. วิชาที่มีเนื้อหาส่งเสริมความรู้ดา้ น
จริยธรรมคุณธรรม > ร้อยละ 99

6.5 ร้ อยละของจํา นวน 1. จํานวนกิจกรรม/โครงการที่เน้น 1. การประชุมวางแผนจัดทํา


กิจกรรม/โครงการที่เน้น ภาคปฏิบตั ิในการสร้างเสริมคุณธรรม โครงการ/กิจกรรม
ภาคปฏิ บัติ ใ นการสร้ า ง จริยธรรม ≤ ร้อยละ 2 2. โครงการ/กิจกรรม
เสริมคุณธรรม จริยธรรม 2. จํานวนกิจกรรม/โครงการที่เน้น 3. คําสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบ
ต่อผู้ศึกษาอบรมทั้งหมด ภาคปฏิบตั ิในการสร้างเสริมคุณธรรม โครงการ/กิจกรรม
จริยธรรม > ร้อยละ 2-4 4. เอกสารหรือหลักฐานการ
3. จํานวนกิจกรรม/โครงการที่เน้น ดําเนินการโครงการ/กิจกรรม
ภาคปฏิบตั ิในการสร้างเสริมคุณธรรม 5. เอกสารประเมินโครงการ/
จริยธรรม > ร้อยละ 4-6 กิจกรรม
4. จํานวนกิจกรรม/โครงการที่เน้น 6. เอกสารสรุปผลร้อยละของ
ภาคปฏิบตั ิในการสร้างเสริมคุณธรรม จํานวนกิจกรรม/โครงการ ต่อ
จริยธรรม > ร้อยละ 6-8 จํานวนผู้ศึกษาอบรมทั้งหมด
5. จํานวนกิจกรรม/โครงการที่เน้น
ภาคปฏิบตั ิในการสร้างเสริมคุณธรรม
จริยธรรม > ร้อยละ 8
-14-
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน
มาตรฐานที่ 6 6.6 กระบวนการ 1. มีการวางแผน/โครงการการจัดการ 1. หนังสือเชิญประชุม
ด้านหลักสูตรและ จัดการเรียนการสอน เรียนการสอนเพื่อเพิ่มทักษะตามลักษณะ 2. รายงานการประชุมวางแผน/
การศึกษาอบรม เพื่อเพิ่มทักษะตาม งานในพื้นที่ให้กับผู้ศึกษาอบรม โครงการ
ลักษณะงานในพื้นที่ 3. ภาพการประชุม
ให้กับผู้ศึกษาอบรม 2. มีการดําเนินงานตามแผน/โครงการการ 1. แผน/โครงการ
จัดการเรียนการสอนเพื่อเพิม่ ทักษะตาม 2. คําสั่งแต่งตั้งคณะทํางาน
ลักษณะงานในพื้นที่ให้กับผู้ศึกษาอบรม 3. เอกสารแสดงการดําเนินงาน
3. มีการตรวจสอบการดําเนินงานตาม -การรายงานผลการปฏิบตั ิให้
แผน/โครงการการจัดการเรียนการสอน ผู้บังคับบัญชาทราบ หรือการ
เพื่อเพิ่มทักษะตามลักษณะงานในพื้นที่ ประชุมติดตามผล
ให้กับผู้ศึกษาอบรม
4. มีการประเมินการดําเนินงานตามแผน/ -เอกสารการประเมินผลตามแผน/
โครงการการจัดการเรียนการสอนเพื่อเพิ่ม โครงการ
ทักษะตามลักษณะงานในพื้นที่ให้กับผู้
ศึกษาอบรม
5. มีการนําผลการประเมินมาพัฒนา 1. หนังสือเชิญประชุมคณะทํางาน
ปรับปรุงแผน/โครงการการจัดการเรียน 2. รายงานการประชุมพัฒนา
การสอนเพื่อเพิ่มทักษะตามลักษณะงานใน แผน/โครงการ เพื่อดําเนินการใน
พื้นที่ให้กับผู้ศึกษาอบรม ปีงบประมาณต่อไป
3. ภาพการประชุม
6.7 ร้อยละของรายวิชา 1. จํานวนรายวิชาที่มีแผนการสอนที่ได้รับ 1. เอกสารแสดงจํานวนรายวิชา
ที่มีแผนการสอนที่ได้รับ การพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัย และการ ทั้งหมด
การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ให้ นําไปใช้ ≤ ร้อยละ 80 2. แผนการสอน
ทั น ส มั ย แ ล ะ ก า ร 2. จํานวนรายวิชาที่มีแผนการสอนที่ได้รับ 3. บันทึกการสอน
นําไปใช้ การพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัย และการ
นําไปใช้ > ร้อยละ 80-85
3. จํานวนรายวิชาที่มีแผนการสอนที่ได้รับ
การพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัย และการ
นําไปใช้ > ร้อยละ 85-90
4. จํานวนรายวิชาที่มีแผนการสอนที่ได้รับ
การพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัย และการ
นําไปใช้ > ร้อยละ 90-95
5. จํานวนรายวิชาที่มีแผนการสอนที่ได้รับ
การพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัย และการ
นําไปใช้ > ร้อยละ 95
-15-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 6 6.8 มีระบบการสรรหา 1. มีการวางแผน/โครงการสรรหาและ 1. หนังสือเชิญประชุม
ด้านหลักสูตรและ และคัดเลือกครู/ คัดเลือกครู/อาจารย์พิเศษ 2. รายงานการประชุมวางแผน/
การศึกษาอบรม อาจารย์พิเศษ โครงการสรรหา
3. ภาพการประชุม
2. มีการดําเนินงานตามแผน/โครงการสรร 1. คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
หาและคัดเลือกครู/อาจารย์พเิ ศษ สรรหา
2. รายงานการประชุม กําหนด
กระบวนการสรรหา ประเมิน
และวิธีการตรวจสอบ ครู/อาจารย์
พิเศษ
3. มีการตรวจสอบแผน/โครงการสรรหา -เอกสารหรือหลักฐานรายงานตาม
และคัดเลือกครู/อาจารย์พิเศษ วิธีการตรวจสอบที่กําหนดไว้
4. มีการประเมินการดําเนินงานตามแผน/ -เอกสารหรือหลักฐานการประเนิน
โครงการสรรหาและคัดเลือกครู/อาจารย์ ตามที่กําหนดไว้
พิเศษ
5. มีการนําผลการประเมินมาพัฒนา 1. หนังสือเชิญประชุม
ปรับปรุง แผน/โครงการสรรหาและ คณะกรรมการ
คัดเลือกครู/อาจารย์พิเศษ 2. รายงานการประชุมการกําหนด
กระบวนการสรรหา เพื่อพัฒนา
ปรับปรุงในปีงบประมาณต่อไป
-16-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 6 6.9 มีระบบการเรียน 1. มีกลไกการให้ความรูค้ วามเข้าใจกับ 1. หนังสือเชิญประชุมครู/อาจารย์
ด้านหลักสูตรและ การสอนที่เน้นผู้เรียน อาจารย์ผู้สอนถึงวัตถุประสงค์และ 2. รายงานการประชุมครู/อาจารย์
การศึกษาอบรม เป็นสําคัญ เป้าหมายของการจัดการศึกษา ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายของการจัดการเรียนการ
สอน
3. ภาพการประชุม
2. มีการออกแบบการเรียนการสอน และ 1. แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
จัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ สําคัญ
2. บันทึกการสอน
3. กิจกรรมที่มอบหมายให้ผเู้ รียน
มีส่วนร่วมในการเรียน การค้นคว้า
กิจกรรมที่เน้นการทํางานเป็นกลุ่ม
หรือรายบุคคล
3. มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีหรือ -สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน
นวัตกรรมในการสอนเพื่อส่งเสริมการ คอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย
เรียนรู้ Internet
-ภาพถ่ายห้องเรียน(รวมถึงการ
เยี่ยมชมสถานที่)
4. มีการดําเนินการเรียนการสอนที่มีความ -กิจกรรมการเรียนการสอนที่
ยืดหยุ่น หลากหลายและเหมาะสม ปรากฏในแผนการสอน
5. มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการ 1. หนังสือเชิญประชุม
สอนและพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนือ่ ง 2. รายงานการประชุมสรุปผลการ
ฝึกอบรม
3. แนวทางการพัฒนาผู้เรียนใน
ปีงบประมาณต่อไป
-17-

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน


มาตรฐานที่ 7 7.1 มีระบบกลไกการ 1. มีการวางแผน/โครงการ กลไกการ 1. หนังสือเชิญประชุมวางแผน
ด้านระบบการประกัน ประกันคุณภาพ ประกันคุณภาพการศึกษา 2. รายงานการประชุมจัดทําแผน
คุณภาพภายใจ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ดําเนินการประกันคุณภาพภายใน
3. ภาพการประชุม
2. มีการดําเนินการตามแผน/โครงการ -คําสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบ
กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐาน ตัวบ่งชี้

3. มีการตรวจสอบการดําเนินการตาม 1. มีรายงานการประชุมติดตาม
แผน/โครงการ กลไกการประกันคุณภาพ ตรวจสอบหรือ
การศึกษา 2. เอกสารหรือหลักฐานการ
ติดตามผลตามแผน
4. มีการประเมินการดําเนินงานตามแผน/ 1. มีคําสั่งมอบแต่งตั้งผูร้ ับผิดชอบ
โครงการ กลไกการประกันคุณภาพ การประเมิน
การศึกษา 2. มีผลการประเมินรอบ 3 เดือน
6 เดือน 9 เดือน และรอบ 12
เดือน
3. มีการจัดทํา SSR ของแต่ละตัว
บ่งชี้
5. มีการนําผลการประเมินมาพัฒนา -มีการนําผลประเมินตนเองรอบ
ปรับปรุงแผน/โครงการ กลไกการประกัน 12 เดือน มาประชุม เพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ปรับปรุงในปีงบประมาณ ต่อไป
7.2 ประสิ ท ธิ ผ ลของ 1. มีการดําเนินการตามระบบกลไกการ -คําสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบ
ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในอย่าง มาตรฐาน และตัวบ่งชี้
ภายใน ต่อเนื่อง
2. มีการปรับปรุงการประกันคุณภาพ -มีการประชุมโดยนําผล SSR มา
การศึกษาภายในให้สอดคล้องกับพันธกิจ พิจาณาปรับปรุงการประกัน
และการพัฒนาหน่วยฝึกอบรม คุณภาพการศึกษาภายใน
3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพ -หนังสือสําเนาแจกจ่าย SAR
การศึกษาภายในต่อหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง
และสาธารณชนภายในเวลาที่กําหนด
4. มีการนําผลการประเมินไปใช้ในการ 1. หนังสือเชิญประชุม
ปรับปรุงการดําเนินงานของหน่วยอย่าง 2. รายการประชุมโดยนําผล SAR
ต่อเนื่อง มาพิจาณาปรับปรุงการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายใน
3. ภาพการประชุม
-18-
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน
มาตรฐานที่ 7 7.2 ประสิ ท ธิ ผ ลของ 5. มีนวัตกรรมด้านการประกันคุณภาพที่ 1. มีการประชุมวางแผนเพื่อการ
ด้านระบบการประกัน ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ หน่วยพัฒนาขึ้นหรือมีแนวปฏิบตั ทิ ี่ดีเพื่อ
จัดทํานวัตกรรมด้านการประชุม
คุณภาพภายใจ ภายใน เป็นแหล่งอ้างอิงให้กับหน่วยงานและ คุณภาพการศึกษา หรือการ
สถาบันอื่น ๆ ประชุมกําหนดวิธีการประเมินของ
หน่วยเพื่อเป็นการพัฒนางาน
ประกันคุณภาพภายใน
2. มีนวัตกรรมด้านการประกัน
คุณภาพการศึกษา
3. เอกสารการเผยแพร่
7.3 มี ร ะบบและกลไก 1. มีระบบการให้ความรู้และทักษะการ - โครงการให้ความรู้ด้านการ
การให้ความรู้และทักษะ ประกันคุณภาพการศึกษาแก่บุคลากรของ ประกันคุณภาพภายใน หรือ
ด้านการประกันคุณภาพ หน่วย กิจกรรมการให้ความรู้โดยวิธีต่าง
แก่บุคลากรของหน่วย ๆ เช่น การจัดทําคูม่ ือประกัน
คุณภาพของหน่วย การเผยแพร่
ความรู้ทาง Website การประชุม
ชี้แจง เป็นต้น
2. มีกลไกให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการ -มีการออกคําสั่งมอบหมายให้
ประกันคุณภาพการศึกษาของหน่วย บุคลากรรับผิดชอบตัวบ่งชี้อย่าง
ทั่วถึง
3. บุคลากรมีการใช้กระบวนการคุณภาพ -กิจกรรม 5 ส. หรือ คํารับรองการ
ในการพัฒนาคุณภาพของภารกิจหรืองาน ปฏิบัติราชการ
ของตน
4. มีระบบการติดตามประเมินผลการ 1. รายงานผลการปฏิบตั ิของ
ประกันคุณภาพในภารกิจหรืองานที่ ผู้รับผิดชอบแต่ตัวบ่งชี้
บุคลากรดําเนินการ และในส่วนที่บุคลากร 2. รายงานการประชุมติดตามการ
มีส่วนร่วมกับการประกันคุณภาพของ ปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา
หน่วย
5. มีการนําผลการประเมินไปพัฒนา -รายงานการประชุมโดยนําผลจาก
กระบวนการ ให้ความรู้และกลไกการ รายงานผลการปฏิบัติงานของ
ดําเนินงานประกันคุณภาพ ที่เกี่ยวข้องกับ บุคลากร มาพัฒนาปรับปรุง
บุคลากรอย่างต่อเนื่อง กระบวนการมีส่วนร่วมของ
บุคลากร

You might also like