You are on page 1of 83

พระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม

พ.ศ. ๒๕๓๗

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วันที ่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๗


เป็นปี ที ่ ๔๙ ในรัชกาลปัจจุบัน

******************************************
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ
ว่า โดยทีเ่ ป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเภสัชกรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
ตราพระราชบัญญัติขึน
้ ไว้โดยคำาแนะนำาและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี ้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินีเ้ รียกว่า "พระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ "

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อบังคับอืน


่ ในส่วนทีม
่ ีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี ้
หรือซึง่ ขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี ้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินีแ
้ ทน

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี ้

"วิชาชีพเภสัชกรรม" หมายความว่า วิชาชีพทีเ่ กีย


่ วกับการกระทำาในการเตรียมยา การผลิตยา
การประดิษฐ์ยา การเลือกสรรยา การวิเคราะห์ยา การควบคุมและการประกันคุณภาพยา การ
ปรุงและจำาหน่ายยาตามใบสัง่ ยา ของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หรือผู้ประกอบวิชาชีพทันต
กรรม หรือผู้ประกอบการบำาบัดโรคสัตว์ รวมทัง้ การดำาเนินการปรุงยาและการขายยาตาม
กฎหมายว่าด้วยยา

"ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม" หมายความว่า บุคคลซึง่ ได้ขึน


้ ทะเบียนและรับใบ
อนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรมจากสภาเภสัชกรรม

"ใบอนุญาต" หมายความว่า ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมจากสภา


เภสัชกรรม

"สมาชิก" หมายความว่า สมาชิกสภาเภสัชกรรม

"กรรมการ" หมายความว่า กรรมการสภาเภสัชกรรม

"คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม


"พนักงานเจ้าหน้าที "่ หมายความว่า ผู้ซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ ให้ปฏิบัติการตามพระราช
บัญญัตินี ้

"เลขาธิการ" หมายความว่า เลขาธิการสภาเภสัชกรรม

"รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา ๕ ในกรณีทีบ
่ ทบัญญัติแห่งกฎหมายใดอ้างถึงการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันสาขา
เภสัชกรรม หรือผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน สาขาเภสัชกรรม ให้หมายความถึงการ
ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หรือผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้ และให้มี


อำานาจแต่งตัง้ พนักงานเจ้าหน้าที ่ กับออกกฎกระทรวงกำาหนดค่าธรรมเนียม ไม่เกินอัตราท้าย
พระราชบัญญัตินี ้ รวมทัง้ ออกกฎกระทรวงและระเบียบเพือ
่ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี ้

กฎกระทรวงและระเบียบนัน
้ เมือ
่ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

หมวด ๑
สภาเภสัชกรรม

มาตรา ๗ ให้มีสภาเภสัชกรรม มีวัตถุประสงค์ และอำานาจหน้าทีต


่ ามทีบ
่ ัญญัติไว้ในพระราช
บัญญัตินีใ้ ห้สภาเภสัชกรรมเป็นนิติบุคคล

มาตรา ๘ สภาเภสัชกรรมมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี ้

(๑) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัยและการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

(๒) ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก

(๓) ผดุงไว้ซึง่ สิทธิ ความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก

(๔) ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมให้ถูกต้องตามจรรยาบรรณ
แห่งวิชาชีพเภสัชกรรม

(๕) ช่วยเหลือ แนะนำา เผยแพร่และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอืน


่ ในเรือ
่ งที ่
เกีย
่ วกับการเภสัชกรรมและการสาธารณสุข

(๖) ให้คำาปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกีย
่ วกับการเภสัชกรรมและการสาธารณสุข

(๗) เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทย

มาตรา ๙ สภาเภสัชกรรมมีอำานาจหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

2
(๑) รับขึน
้ ทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

(๒) วินิจฉัยชีข
้ าดตามมาตรา ๔๒ วรรคสาม

(๓) รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาเภสัชศาสตร์หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพ


เภสัชกรรมของสถาบันต่างๆ เพือ
่ ประโยชน์ในการสมัครเป็นสมาชิก

(๔) รับรองหลักสูตรต่าง ๆ สำาหรับการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่าง ๆ ของ


วิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบันทีท
่ ำาการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่าง ๆ ของ
วิชาชีพเภสัชกรรม

(๕) ่ ำาการฝึ กอบรมใน (๔)


รับรองวิทยาฐานะของสถาบันทีท

(๖) ออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมสาขาต่างๆ และออกหนังสือแสดงวุฒอ
ิ ืน
่ ในวิชาชีพเภสัชกรรม

(๗) ดำาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภาเภสัชกรรม

มาตรา ๑๐ สภาเภสัชกรรมอาจมีรายได้ดังต่อไปนี ้

(๑) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน

(๒) ค่าขึน
้ ทะเบียนสมาชิก ค่าบำารุง และค่าธรรมเนียมต่างๆ

(๓) ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ทีก
่ ำาหนดใน
มาตรา ๘

(๔) เงินและทรัพย์สินซึง่ มีผู้ให้แก่สภาเภสัชกรรม

(๕) ิ ตาม (๑)


ดอกผลของเงินและทรัพย์สน (๒) (๓) และ (๔)

มาตรา ๑๑ให้รัฐมนตรีดำารงตำาแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาเภสัชกรรมมีอำานาจหน้าทีต
่ ามที ่
บัญญัติไว้
ในพระราชบัญญัตินี ้

หมวด ๒
สมาชิก

มาตรา ๑๒ ผู้สมัครเป็นสมาชิกสภาเภสัชกรรมต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี ้

(๑) มีอายุไม่ตำ่ากว่ายีส
่ ิบปี บริบูรณ์

(๒) มีความรู้ในวิชาชีพเภสัชกรรม โดยได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรในวิชา


เภสัชศาสตร์ จากสถาบันการศึกษาทีท
่ บวงมหาวิทยาลัยรับรองหรือทีส
่ ภาเภสัชกรรม
รับรอง

3
(๓) ไม่เป็นผู้ประพฤติเสียหายซึง่ คณะกรรมการเห็นว่าจะนำามาซึง่ ความเสือ
่ มเสีย
เกียรติศักดิแ
์ ห่งวิชาชีพ

(๔)ไม่เคยต้องโทษจำาคุกโดยคำาพิพากษาถึงทีส่ ุดหรือคำาสัง่ ทีช่ อบด้วยกฎหมายให้จำาคุก ใน


คดีทีค
่ ณะกรรมการเห็นว่าจะนำามาซึง่ ความเสือ
่ มเสียเกียรติศักดิแ
์ ห่งวิชาชีพ

(๕) ไม่เป็นผู้มีจิตฟั ่ นเฟื อนไม่สมประกอบ หรือไม่เป็นโรคทีก


่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับสภา
เภสัชกรรม

มาตรา ๑๓ สิทธิและหน้าทีข
่ องสมาชิกมีดังต่อไปนี ้

(๑) ขอขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ขอหนังสืออนุมัติ
หรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ
หรือขอหนังสือแสดงวุฒอ
ิ ืน
่ ในวิชาชีพเภสัชกรรม โดยปฏิบัติตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยการนัน

(๒) แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกีย
่ วกับกิจการของสภาเภสัชกรรมส่งไปยังคณะกรรมการ
เพือ
่ พิจารณา และในกรณีทีส
่ มาชิกร่วมกันตัง้ แต่ห้าสิบคนขึน
้ ไป เสนอให้คณะกรรมการ
พิจารณาเรือ
่ งใดทีเ่ กีย
่ วกับ กิจการของสภาเภสัชกรรมคณะกรรมการต้องพิจารณาและ
แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้เสนอทราบโดยไม่ชักช้า

(๓) เลือก รับเลือก หรือรับเลือกตัง้ เป็นกรรมการ

(๔) ผดุงไว้ซึง่ เกียรติศักดิแ


์ ห่งวิชาชีพและปฏิบัติตนตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา ๑๔ สมาชิกภาพของสมาชิกสิน
้ สุดลง เมือ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๒ (๑) (๒) หรือ (๕)

(๔) คณะกรรมการมีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพ เพราะเห็นว่าเป็นผู้นำามาซึง่ ความเสือ


่ ม

เสียเกียรติศักดิ ์ แห่งวิชาชีพ ตามมาตรา ๑๒ (๓) หรือ (๔)

หมวด ๓
คณะกรรมการ

4
มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม ประกอบด้วย

(๑) กรรมการโดยตำาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายกเภสัชกรรม


สมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาที ่
ได้รับความเห็นชอบ หรือได้รับอนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัย ให้จัดตัง้ ขึน
้ ตามทีท
่ บวง
มหาวิทยาลัยเสนอจำานวนห้าคน

(๒) กรรมการซึง่ ได้รับแต่งตัง้ โดยเป็นผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุขสามคน จาก


กระทรวงกลาโหมหนึง่ คน และจากกระทรวงมหาดไทยหนึง่ คน และ

(๓) กรรมการซึง่ ได้รับเลือกตัง้ โดยสมาชิกมีจำานวนเท่ากับจำานวนกรรมการใน (๑)

และ (๒) รวมกันในขณะเลือกตัง้ แต่ละคราว ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ

มาตรา ๑๖ คณะกรรมการอาจแต่งตัง้ ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นทีป


่ รึกษาได้ ให้ปรึกษาดำารงตำาแหน่งตาม
วาระ ของกรรมการซึง่ ได้รับการเลือกตัง้

มาตรา ๑๗ ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการภายในสามสิบวัน นับจากวันเลือกตัง้ กรรมการตาม

มาตรา ๑๕ (๓) เพือ


่ ดำารงตำาแหน่งนายกสภาเภสัชกรรม อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีห
่ นึง่ และ
อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีส
่ อง ตำาแหน่งละหนึง่ คน ให้นายกสภาเภสัชกรรมเลือกกรรมการ
เพือ
่ ดำารงตำาแหน่งเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์และเหรัญญิก ตำาแหน่งละหนึง่ คน
และอาจเลือกกรรมการเพือ
่ ดำารงตำาแหน่งอืน
่ ได้ตามความจำาเป็น ทัง้ นีโ้ ดยความเห็นชองของคณะ
กรรมการ ให้นายกสภาเภสัชกรรมมีอำานาจถอดถอนเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์
เหรัญญิกและผู้ดำารงตำาแหน่งอืน
่ ตามวรรคสองออกจากตำาแหน่งได้ ทัง้ นี ้ โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการ ให้นายกสภาเภสัชกรรม อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีห
่ นึง่ และอุปนายกสภา
เภสัชกรรมคนทีส
่ อง ดำารงตำาแหน่งตามวาระของกรรมการซึง่ ได้รับเลือกตัง้ เมือ
่ ผู้ดำารงตำาแหน่ง
นายกสภาเภสัชกรรมพ้นจากหน้าที ่ ให้เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก และ
ผู้ดำารงตำาแหน่งอืน
่ ตามวรรคสอบพ้นจากตำาแหน่งด้วย

มาตรา ๑๘ การเลือกตัง้ กรรมการตามมาตรา ๑๕ การแต่งตัง้ ทีป


่ รึกษาตามมาตรา ๑๖ การเลือก
กรรมการเพือ
่ ดำารงตำาแหน่งต่าง ๆ ตามมาตรา ๑๗ และการเลือกหรือการเลือกตัง้ กรรมการตาม
มาตรา ๒๒ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

มาตรา ๑๙ กรรมการตามมาตรา ๑๕ ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี ้

(๑) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

(๒) เป็นผู้ไม่เคยถูกสัง่ พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต

(๓) เป็นผู้ไม่เคยถูกศาลสัง่ ให้เป็นบุคคลล้มละลาย

5
ความใน (๑) มิให้นำามาใช้บังคับกับปลัดกระทรวงสาธารณสุข

มาตรา ๒๐ กรรมการตามมาตรา ๑๕ (๓) มีวาระอยู่ในตำาแหน่งคราวละสามปี และอาจได้รับ


เลือกตัง้ ใหม่ได้ แต่จะดำารงตำาแหน่งเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้
ให้กรรมการทีพ
่ ้นจากตำาแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าทีไ่ ปพลางก่อนจนกว่าจะมีการเลือกตัง้
กรรมการขึน
้ ใหม่

มาตรา ๒๑ นอกจากการพ้นจากตำาแหน่งตามวาระ กรรมการซีง่ ได้รับแต่งตัง้ ได้รับเลือกตัง้ หรือได้


รับเลือก พ้นจากตำาแหน่งเมือ

(๑) สมาชิกภาพสิน
้ สุดลงตามมาตรา ๑๔

(๒) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๙

(๓) ลาออก

่ ตำาแหน่งกรรมการซึง่ ได้รับเลือกตัง้ ตามมาตรา ๑๕ (๓) ว่างลงไม่เกินกึง่ หนึง่


มาตรา ๒๒ เมือ
ของจำานวนกรรมการดังกล่าวทัง้ หมดก่อนครบวาระ ให้คณะกรรมการเลือกสมาชิกผู้มีคุณสมบัติ
ตามมาตรา ๑๒ เป็นกรรมการแทนภายในสามสิบวันนับแต่วันทีต
่ ำาแหน่งกรรมการนัน
้ ว่างลง

ในกรณีทีต
่ ำาแหน่งกรรมการตามวรรคหนึง่ ว่างลงรวมกันเกินกึง่ หนึง่ ของจำานวนกรรมการซึง่ ได้รับ
เลือกตัง้ ให้มีการเลือกตัง้ กรรมการโดยสมาชิกขึน
้ แทนภายในเก้าสิบวันนับแต่วันทีจ
่ ำานวน
กรรมการดังกล่าวได้ว่างลงเกินกึง่ หนึง่

ถ้าวาระของกรรมการซึง่ ได้รับเลือกตัง้ เหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน คณะกรรมการจะให้มีการเลือก


หรือเลือกตัง้ กรรมการแทนหรือไม่ก็ได้

ให้ผู้ซึง่ เป็นกรรมการแทนนัน
้ อยู่ในตำาแหน่งได้เพียงเท่าวาระทีเ่ หลืออยู่ของกรรมการซึง่ คนแทน

มาตรา ๒๓ ให้คณะกรรมการมีอำานาจหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

(๑) บริหารและดำาเนินกิจการสภาเภสัชกรรมตามวัตถุประสงค์ทีก
่ ำาหนดในมาตรา ๘

(๒) แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณ คณะอนุกรรมการสอบสวน และคณะ


อนุกรรมการอืน
่ เพือ
่ ทำากิจการหรือพิจารณาเรือ
่ งต่าง ๆ อันอยู่ในขอบเขตแห่ง
วัตถุประสงค์ของสภาเภสัชกรรม

(๓) กำาหนดงบประมาณของสภาเภสัชกรรม

(๔) ออกข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วย

6
(ก) การเป็นสมาชิก

(ข) การกำาหนดโรคตามมาตรา ๑๒ (๕)

(ค) การกำาหนดค่าขึน
้ ทะเบียนสมาชิก ค่าบำารุง และค่าธรรมเนียมอืน
่ นอกจากนี ้
กำาหนดไว้ในอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัตินี ้

(ง) การเลือกและการเลือกตัง้ กรรมการ และการแต่งตัง้ ทีป


่ รึกษา

(จ) การประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทีป


่ รึกษา

(ฉ) การกำาหนดอำานาจหน้าทีข
่ องผู้ดำารงตำาแหน่งทีป
่ รึกษาตามมาตรา ๑๖

(ช) การกำาหนดอำานาจหน้าทีข
่ องผู้ดำารงตำาแหน่งอืน
่ ตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง

(ซ) คุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามมาตรา ๓๒

(ฌ) หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือ


่ นไขการขึน
้ ทะเบียน และการออกใบอนุญาต แบบ
และประเภทใบอนุญาต

(ญ) การกำาหนดหลักเกณฑ์การพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต

(ฎ) หลักเกณฑ์การออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญใน
การประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรม สาขาต่าง ๆ และหนังสือแสดงวุฒิอืน
่ ในวิชาชีพ
เภสัชกรรม

(ฏ) จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม

(ฐ) การจัดตัง้ การดำาเนินการ และการเลิกสถาบันทีท


่ ำาการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญ
การ ในสาขาต่าง ๆ ของวิชาชีพเภสัชกรรม

(ฑ) หลักเกณฑ์ว่าด้วยการสอบความรู้ตามอำานาจหน้าทีข
่ องสภาเภสัชกรรม

(ฒ) หลักเกณฑ์ว่าด้วยการสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีทีม


่ ีการกล่าวหาหรือการ
กล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

(ณ) ข้อจำากัดและเงือ
่ นไขในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

(ด) เรือ
่ งอืน
่ ๆ อันอยู่ในขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์ของสภาเภสัชกรรม หรืออยู่ใน
อำานาจหน้าทีข
่ องสภาเภสัชกรรมตามกฎหมายอืน
่ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๗ ข้อ
บังคับสภาเภสัชกรรมเมือ
่ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

มาตรา ๒๔ นายกสภาเภสัชกรรม อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีห


่ นึง่ อุปนายกสภาเภสัชกรรมคน
ทีส
่ อง เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก ทีป
่ รึกษา และผู้ดำารงตำาแหน่งอืน
่ มี
อำานาจหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

(๑) นายกสภาเภสัชกรรม มีอำานาจหน้าที ่

7
(ก) บริหารและดำาเนินกิจการของสภาเภสัชกรรมให้เป็นไปตามพระ
ราช
บัญญัตินี ้ หรือตามมติของคณะกรรมการ

(ข) เป็นผู้แทนสภาเภสัชกรรมในกิจการต่างๆ

(ค) เป็นประธานในทีป
่ ระชุมคณะกรรมการ

นายกสภาเภสัชกรรมอาจมอบหมายเป็นหนึง่ สือให้กรรมการอืน
่ ปฏิบัติหน้าทีแ
่ ทนตามทีเ่ ห็น
สมควรได้

(๒) อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีห
่ นึง่ เป็นผู้ช่วยนายกสภาเภสัชกรรม ในกิจการ
อันอยู่ในอำานาจหน้าทีข
่ องนายกสภาเภสัชกรรม ตามทีน
่ ายกสภาเภสัชกรรมมอบหมาย และ
เป็นผู้ทำาการแทนนายกสภาเภสัชกรรมเมือ
่ นายกสภาเภสัชกรรมไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติ
หน้าทีไ่ ด้

(๓) อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีส
่ อบ เป็นผู้ช่วยนายกสภาเภสัชกรรม ในกิจการ
อันอยู่ในอำานาจหน้าทีข
่ องนายกสภาเภสัชกรรม ตามทีน
่ ายกสภาเภสัชกรรมมอบหมาย และ
เป็นผู้ทำาการแทนนายกสภาเภสัชกรรมเมือ
่ ทัง้ นายกสภาเภสัชกรรมและอุปนายกสภา
เภสัชกรรม
คนทีห
่ นึง่ ไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้

(๔) เลขาธิการ มีอำานาจหน้าที ่

(ก) ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าทีส
่ ภาเภสัชกรรมทุกระดับ

(ข) ควบคุม รับผิดชอบในงานธุรการทัว


่ ไปของสภาเภสัชกรรม

(ค) รับผิดชอบในการดูแลรักษาทะเบียนสมาชิก ทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ


เภสัชกรรม และทะเบียนอืน
่ ๆ ของสภาเภสัชกรรม

(ง) ควบคุมดูแลทรัพย์สินของสภาเภสัชกรรม

(จ) เป็นเลขานุการคณะกรรมการ

(๕) รองเลขาธิการ เป็นผู้ช่วยเลขาธิการในกิจการอันอยู่ในอำานาจหน้าทีข


่ องเลขาธิการ
ตามทีเ่ ลขาธิการมอบหมาย และเป็นผู้ทำาการแทนเลขาธิการเมือ
่ เลขาธิการไม่อยู่ หรือไม่
สามารถปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้

(๖) ประชาสัมพันธ์ มีอำานาจหน้าทีใ่ นการประชาสัมพันธ์แนะนำาและเผยแพร่กิจการ ของ


สภาเภสัชกรรมแก่ประชาชนและองค์กรอืน

(๗) เหรัญญิก มีอำานาจหน้าทีค


่ วบคุม ดูแล รับผิดชอบ การบัญชี การเงินและการงบ

8
ประมาณของสภาเภสัชกรรม

(๘) ผู้ดำารงตำาแหน่งทีป
่ รึกษาตามมาตรา ๑๖ ให้มีอำานาจหน้าทีต
่ ามทีค
่ ณะกรรมการ
กำาหนด

(๙) ผู้ดำารงตำาแหน่งอืน
่ ตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง ให้มีอำานาจหน้าทีต
่ ามทีค
่ ณะ
กรรมการกำาหนด

หมวด ๔
การดำาเนินการของคณะกรรมการ

มาตรา ๒๕ การประชุมคณะกรรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำานวน


กรรมการ
ทัง้ หมด จึงจะเป็นองค์ประชุม

มติของทีป
่ ระชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึง่ มีเสียงหนึง่ เสียงในการลงคะแนน ถ้าคะแนน
เสียงเท่ากัน ให้ประธานในทีป
่ ระชุมออกเสียงเพิม
่ ขึน
้ อีกเสียงหนึง่ เป็นเสียงชีข
้ าด

่ ระชุมในกรณีให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๑๔๗ (๔) หรือให้พักใช้ใบ


มติของทีป

อนุญาตหรือเบิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๔๒ วรรคสาม (๔) หรือ (๕) ให้ถอ


ื คะแนนเสียงไม่
น้อยกว่าสองในสามของจำานวนกรรมการทัง้ คณะ

การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้นำาความในวรรคหนึง่ และวรรคสองมาใช้บังคับโดยอนุโลม

การประชุมคณะทีป
่ รึกษา ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

มาตรา ๒๖ สภานายกพิเศษจะเข้าฟั งการประชุมและชีแ


้ จงแสดงความเห็นในทีป
่ ระชุมคณะ
กรรมการ หรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังสภาเภสัชกรรมในเรือ
่ งใด ๆ ก็ได้

มาตรา ๒๗ มติของทีป
่ ระชุมคณะกรรมการในเรือ
่ งดังต่อไปนี ้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากสภา
นายกพิเศษก่อน จึงจะดำาเนินการตามมตินัน
้ ได้

(๑) การออกข้อบังคับ

(๒) การกำาหนดงบประมาณของสภาเภสัชกรรม

(๓) การให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๑๔ (๔)

(๔) การวินิจฉัยชีข
้ าดให้พักใช้ใบอนุญาตหรือให้เพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๔๒

วรรคสาม (๔) หรือ (๕)ให้นายกสภาเภสัชกรรมเสนอมติตามวรรคหนึง่ ต่อสภานายก


พิเศษโดยไม่ชักช้า สภานายกพิเศษอาจมีคำาสัง่ ยับยัง้ มตินัน
้ ได้ ในกรณีทีม
่ ิได้ยับยัง้ ภายใน

9
สิบห้าวันนับแต่วันทีไ่ ด้รับมติ ทีน
่ ายกสภาเภสัชกรรมเสนอ ให้ถือว่าสภานายกพิเศษให้
ความเห็นชอบมตินัน

ถ้าสภานายกพิเศษยับยัง้ มติใด ให้คณะกรรมการประชุมพิจารณาอีกครัง้ หนึง่ ภายในสามสิบวันนับ


แต่วันทีไ่ ด้รับการยับยัง้ ในการประชุมนัน
้ ถ้ามีเสียงยืนยันมติไม่น้อยกว่าสองในสามของจำานวน
กรรมการทัง้ คณะ ก็ให้ดำาเนินการตามมตินัน
้ ได้

หมวด ๕
การควบคุมการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

มาตรา ๒๘ ห้ามมิให้ผู้ใดซึง่ มิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทำาการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม


หรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อืน
่ เข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพดังกล่าว โดยมิได้ขึน
้ ทะเบียน
และรับใบอนุญาต เว้นแต่ในกรณีอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้

(๑) การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทีก
่ ระทำาต่อตนเอง

(๒) นักเรียน นักศึกษา หรือผู้รับการฝึ กอบรมซึง่ ทำาการฝึ กหัดหรือฝึ กอบรม ในความ


ควบคุมของสถาบันการศึกษาวิชาเภสัชศาสตร์ของรัฐ หรือทีไ่ ด้รับอนุญาตจากทาง
ราชการให้จัดตัง้ สถาบันทางการแพทย์ของรัฐ หรือสถาบันการศึกษาหรือสถาบันทางการ
แพทย์อน
ื่ ทีค
่ ณะกรรมการรับรอง ทัง้ นี ้ ภายใต้ความควบคุมของเจ้าหน้าทีผ
่ ู้ฝึกหัดหรือผู้
ให้การฝึ กอบรมซึง่ เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

(๓) บุคคลซึง่ กระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วน


จังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิน
่ อืน
่ ตามทีร
่ ัฐมนตรีประกาศในราช
กิจจานุเบกษา หรือสภากาชาดไทย มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในความ
ควบคุมของเจ้าหน้าทีซ
่ ึง่ เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ทัง้ นี ้ ตามระเบียบทีร
่ ัฐมนตรี
กำาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

(๔) การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมของทีป
่ รึกษาหรือผู้เชีย
่ วชาญของทางราชการหรือผู้
สอน ในสถาบันการศึกษาของรัฐ ซึง่ มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมของ
ต่างประเทศ ทัง้ นี ้ โดยอนุมัติของคณะกรรมการ

มาตรา ๒๙ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้คำาหรือข้อความด้วยอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศว่า เภสัชกร


เภสัชกรหญิง แพทย์ปรุงยา หรือใช้อักษรย่อของคำาดังกล่าว หรือใช้คำาแสดงวุฒิการศึกษาทาง
เภสัชศาสตร์ หรือใช้อักษรย่อของวุฒิดังกล่าว ประกอบกับชือ
่ หรือชือ
่ สกุลของตน หรือใช้คำาหรือ
ข้อความอืน
่ ใดทีม
่ ีความหมายเช่นเดียวกัน หรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ซึง่ ทำาให้ผู้อน
ื่ เข้าใจว่าตนเป็นผู้
ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ทัง้ นี ้ รวมถึงการใช้ จ้าง วาน หรือยินยอมให้ผู้อืน
่ กระทำาดังกล่าวให้
แก่ตน เว้นแต่ผู้ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรในวิชาเภสัชศาสตร์
มาตรา ๓๐ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้คำาหรือข้อความทีแ
่ สดงให้ผู้อืน
่ เข้าใจว่าตนเป็นผู้มีความรู้ความชำานาญ

10
ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ ทัง้ นี ้ รวมถึงการใช้ จ้าง วาน หรือยินยอมให้ผู้อืน

กระทำาดังกล่าวให้แก่ตน เว้นแต่ผู้ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรว่าเป็นผู้มีความรู้ความชำานาญใน
การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขานัน
้ ๆ จากสภาเภสัชกรรมหรือทีส
่ ภาเภสัชกรรมรับรองหรือ
ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมผู้มีคุณสมบัติตามทีก
่ ำาหนด ในข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

มาตรา ๓๑ การขึน
้ ทะเบียน การออกใบอนุญาต การออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้
ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ และหนังสือแสดงวุฒิอืน
่ ในวิชาชีพ
เภสัชกรรม ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

มาตรา ๓๒ ผู้ขอขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องเป็นสมาชิกแห่งสภาเภสัชกรรมและมีคุณสมบัติ
ตามทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

เมือ
่ ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมผู้ใดขาดสมาชิกภาพ ให้ใบอนุญาตของผู้นัน
้ สิน
้ สุดลง ให้ผู้ซึง่ ขาด
จากสมาชิกภาพตามวรรคสองส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายในสิบห้าวัน
นับแต่วันทีท
่ ราบการขาดจากสมาชิกภาพ

มาตรา ๓๓ ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องรักษาจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมตามที ่
กำาหนดไว้ ในข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

มาตรา ๓๔ บุคคลซึง่ ได้รับความเสียหายเพราะการประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ


เภสัชกรรม ของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม มีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนัน
้ โดยทำา
เรือ
่ งยืน
่ ต่อสภาเภสัชกรรม

กรรมการหรือบุคคลอืน
่ มีสท
ิ ธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมว่าประพฤติผิดจรรยาบรรณ
แห่งวิชาชีพเภสัชกรรม โดยแจ้งเรือ
่ งต่อสภาเภสัชกรรม

สิทธิการกล่าวหาตามวรรคหนึง่ หรือสิทธิการกล่าวโทษตามวรรคสอง สิน


้ สุดลงเมือ
่ พ้นหนึง่ ปี นับ
แต่วันทีผ
่ ู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษ รู้เรือ
่ งการประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
เภสัชกรรมดังกล่าว และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด ทัง้ นีไ้ ม่เกินสามปี นับแต่วันทีม
่ ีการประพฤติผิดจรรยา
บรรณนัน

การถอนเรือ
่ งการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษทีไ่ ด้ยน
ื่ หรือแจ้งไว้แล้วนัน
้ ไม่เป็นเหตุให้ระงับการ
ดำาเนินการตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา ๓๕ เมือ
่ สภาเภสัชกรรมได้รับเรือ
่ งการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษตามมาตรา ๓๔ หรือใน
กรณีทีค
่ ณะกรรมการมีมติว่ามีพฤติการณ์อันสมควรให้มีการพิจารณาเกีย
่ วกับจรรยาบรรณแห่ง
วิชาชีพ ของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ให้เลขาธิการเสนอเรือ
่ งดังกล่าวต่อประธาน
อนุกรรมการจรรยาบรรณโดยไม่ชักช้า

11
มาตรา ๓๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๓ (๒) ให้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณจากสมาชิก
ประกอบด้วยประธานคนหนึง่ และอนุกรรมการมีจำานวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคนมีอำานาจหน้าที ่
สืบสวน หาข้อเท็จจริงในเรือ
่ งทีไ่ ด้รับตามมาตรา ๓๕ แล้วทำารายงานพร้อมทัง้ ความเห็นเสนอ
คณะกรรมการเพือ
่ พิจารณา

คณะกรรมการอาจแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณเกินกว่าหนึง่ คณะก็ได้

มาตรา ๓๗ เมือ
่ คณะกรรมการได้รับรายงานและความเห็นของคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณ
แล้ว ให้คณะกรรมการพิจารณารายงานและความเห็นดังกล่าวแล้วมีมติอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไป
นี ้

(๑) ให้คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณสืบสวนหาข้อเท็จจริงเพิม
่ เติมเพือ
่ เสนอให้คณะ
กรรมการพิจารณา

(๒) ให้คณะอนุกรรมการสอบสวนทำาการสอบสวนในกรณีทีเ่ ห็นว่าข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าว


โทษนัน
้ มีมูล

(๓) ให้ยกข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษในกรณีทีเ่ ห็นว่าข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษนัน


้ ไม่มี
มูล

มาตรา ๓๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๓ (๒) ให้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการสอบสวนจากสมาชิก


ประกอบด้วยประธานคนหนึง่ และอนุกรรมการมีจำานวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคนมีอำานาจหน้าที ่
สอบสวน สรุปผลการสอบสวนและเสนอสำานวนการสอบสวน พร้อมทัง้ ความเห็นต่อคณะ
กรรมการเพือ
่ วินิจฉัยชีข
้ าด คณะกรรมการอาจแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการสอบสวนเกินกว่าหนึง่
คณะก็ได้

มาตรา ๓๙ ในการปฏิบัติหน้าทีข
่ องคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณและของคณะอนุกรรมการ
สอบสวน ตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้อนุกรรมการจรรยาบรรณและอนุกรรมการสอบสวนเป็นเจ้า
พนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา มีอำานาจเรียกบุคคลใด ๆ มาให้ถ้อยคำาและมีหนังสือแจ้ง
ให้บุคคลใด ๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุเพือ
่ ประโยชน์แก่การดำาเนินงานของคณะอนุกรรมการดังกล่าว

มาตรา ๔๐ ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหา หรือข้อกล่าวโทษพร้อมทัง้ ส่ง


สำาเนาเรือ
่ ง ทีก
่ ล่าวหาหรือกล่าวโทษ ให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษไม่น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนวัน
เริม
่ ทำาการสอบสวน

ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษมีสิทธิทำาคำาชีแ
้ จงหรือนำาพยานหลักฐานใด ๆ มาให้คณะอนุกรรมการ
สอบสวน

12
คำาชีแ
้ จงหรือพยานหลักฐานให้ยน
ื่ ต่อประธานอนุกรรมการสอบสวนภายในสิบห้าวันนับแต่วันทีไ่ ด้
รับแจ้งจาก
ประธานอนุกรรมการสอบสวน หรือภายในกำาหนดเวลาทีค
่ ณะอนุกรรมการสอบสวนจะขยายให้

มาตรา ๔๑ เมือ
่ คณะอนุกรรมการสอบสวนทำาการสอบสวนเสร็จสิน
้ แล้วให้เสนอสำานวนการ
สอบสวนพร้อมทัง้ ความเห็น ต่อคณะกรรมการ โดยไม่ชักช้าเพือ
่ วินิจฉัยชีข
้ าด

มาตรา ๔๒ เมือ
่ คณะกรรมการได้รับสำานวนการสอบสวนและความเห็นของคณะอนุกรรมการ
สอบสวนแล้ว ให้คณะกรรมการพิจารณาสำานวนการสอบสวนและความเห็นดังกล่าวโดยไม่ชักช้า

คณะกรรมการอาจให้คณะอนุกรรมการสอบสวนทำาการสอบสวนเพิม
่ เติมก่อนวินิจฉัยชีข
้ าดก็ได้

คณะกรรมการมีอำานาจวินิจฉัยชีข
้ าดอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้

(๑) ยกข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษ

(๒) ว่ากล่าวตักเตือน

(๓) ภาคทัณฑ์

(๔) พักใช้ใบอนุญาตมีกำาหนดเวลาตามทีเ่ ห็นสมควรแต่ไม่เกินสองปี

(๕) เพิกถอนใบอนุญาต

ภายใต้บังคับมาตรา ๒๗ คำาวินิจฉัยชีข
้ าดของคณะกรรมการตามมาตรานีใ้ ห้ทำาเป็นคำาสัง่ สภา
เภสัชกรรม พร้อมด้วยเหตุผลของการวินิจฉัยชีข
้ าด และให้ถอ
ื เป็นทีส
่ ุด

มาตรา ๔๓ ให้เลขาธิการแจ้งคำาสัง่ สภาเภสัชกรรมตามมาตรา ๔๒ ไปยังผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกผู้


ถูกกล่าวโทษ เพือ
่ ทราบโดยไม่ชักช้า และให้บันทึกข้อความตามคำาสัง่ นัน
้ ไว้ในทะเบียนผู้ประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมด้วย

มาตรา ๔๔ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๘ ห้ามมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมซึง่ อยู่ในระหว่างถูกสัง่


พักใช้ใบอนุญาต หรือซึง่ ถูกสัง่ เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมหรือแสดงด้วยวิธีใด
ๆ ให้ผู้อืน
่ เข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิ ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม นับแต่วันทีท
่ ราบคำาสัง่ สภา
เภสัชกรรมทีส
่ ัง่ พักใช้ใบอนุญาตหรือสัง่ เพิกถอนใบอนุญาตนัน

มาตรา ๔๕ ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมซึง่ อยู่ในระหว่างถูกสัง่ พักใช้ใบอนุญาตผู้ใดกระทำาการ


ฝ่ าฝื นตามมาตรา ๔๔ และถูกลงโทษจำาคุกตามมาตรา ๕๐ โดยคำาพิพากษาถึงทีส
่ ุด ให้คณะ
กรรมการสัง่ เพิกถอนใบอนุญาต ของผู้นัน
้ นับแต่วันทีศ
่ าลมีคำาพิพากษาถึงทีส
่ ุด

มาตรา ๔๖ ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมซึง่ ถูกสัง่ เพิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกได้


เมือ
่ พ้นสองปี นับแต่วันทีถ
่ ูกสัง่ เพิกถอนใบอนุญาต แต่เมือ
่ คณะกรรมการได้พิจารณาคำาขอรับใบ
อนุญาต และปฏิเสธการออกใบอนุญาต ผ้น
ู ัน
้ จะยืน
่ คำาขอรับใบอนุญาตได้อีกต่อเมือ
่ สิน
้ ระยะเวลา

13
หนึง่ ปี นับแต่วันทีค
่ ณะกรรมการปฏิเสธการออกใบอนุญาต ถ้าคณะกรรมการปฏิเสธการออกใบ
อนุญาตเป็นครัง้ ทีส
่ องแล้ว ผู้นัน
้ เป็นอันหมดสิทธิขอรับใบอนุญาตอีกต่อไป

ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันสาขาเภสัชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรค
ศิลปะ ผู้ใดซึง่ ถูกสัง่ เพิกถอนใบอนุญาตก่อนวันทีพ
่ ระราชบัญญัตินีใ้ ช้บังคับประสงค์จะยืน
่ คำาขอรับ
ใบอนุญาต
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมให้ดำาเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี ้

หมวด ๖
พนักงานเจ้าหน้าที ่

มาตรา ๔๗ ในการปฏิบัติหน้าทีใ่ ห้พนักงานเจ้าหน้าทีม


่ ีอำานาจเข้าไปในสถานทีข
่ องผู้ประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรม หรือผ้ท
ู ีม
่ ีเหตุผลสมควรเชือ
่ ว่าเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในระหว่างเวลา
ทีท
่ ำาการอย่ห
ู รือมีเหตุอันควรสงสัยว่า ทำาการอยู่เพือ
่ ตรวจใบอนุญาต ค้นหรือยึดเอกสารหลักฐาน
หรือสิง่ ของทีอ
่ าจใช้เป็นหลักฐานในการดำาเนินคดี การกระทำาความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้

ในการปฏิบัติหน้าทีข
่ องพนักงานเจ้าหน้าทีต
่ ามวรรคหนึง่ ให้บุคคลทีเ่ กีย
่ วข้องอำานวยความสะดวก
ตามสมควร

มาตรา ๔๘ ในการปฏิบัติหน้าที ่ พนักงานเจ้าหน้าทีต


่ ้องแสดงบัตรประจำาตัว บัตรประจำาตัว
พนักงานเจ้าหน้าทีใ่ ห้เป็นไปตามแบบทีก
่ ำาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๙ ในการปฏิบัติหน้าที ่ ให้พนักงานเจ้าหน้าทีเ่ ป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญา

หมวด ๗
บทกำาหนดโทษ

มาตรา ๕๐ ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๔๔ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่


เกินสามหมืน
่ บาท หรือทัง้ จำาทัง้ ปรับ

มาตรา ๕๑ ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๐ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรือปรับไม่


เกินหนึง่ หมืน
่ บาท หรือทัง้ จำาทัง้ ปรับ

มาตรา ๕๒ ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา ๓๒ วรรคสาม หรือไม่อำานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที ่


ตามมาตรา ๔๗ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึง่ พันบาท

มาตรา ๕๓ ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคำาหรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใด ๆ ตามทีเ่ รียกหรือแจ้งให้ส่งตาม


มาตรา ๓๙ ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึง่ เดือน หรือปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท หรือทัง้ จำาทัง้ ปรับ

บทเฉพาะกาล

14
มาตรา ๕๔ ผู้ใดได้ขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน สาขาเภสัชกรรม
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะอยู่แล้วในวันทีพ
่ ระราชบัญญัตินีป
้ ระกาศในราชกิจ
จานุเบกษา ให้ถอ
ื ว่าผู้นัน
้ เป็นสมาชิกสภาเภสัชกรรมตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา ๕๕ ผู้ใดได้ขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน สาขาเภสัชกรรม
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะและใบอนุญาตนัน
้ ยังคงใช้ได้ในวันทีพ
่ ระราชบัญญัติ
นี ้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้ถือว่า ผู้นัน
้ ได้ขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา ๕๖ ในระยะเริม
่ แรกทีย
่ ังมิได้เลือกตัง้ สมาชิกสภาเภสัชกรรมเป็นกรรมการ ให้คณะกรรมการ

ประกอบด้วยปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นนายกสภาเภสัชกรรมและผู้ซึง่ ได้รับแต่งตัง้ ตามมาตรา ๑๕ (๑)

และ (๒) เป็นกรรมการการแต่งตัง้ ดังกล่าวจะต้องกระทำาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวัน นับแต่วันทีพ


่ ระ
ราชบัญญัตินีใ้ ช้บังคับ

ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๑) หรือ (๒) ทำาหน้าทีเ่ ลขาธิการ รอง


เลขาธิการ และเหรัญญิก ตำาแหน่งละหนึง่ คน ทัง้ นีจ
้ นกว่าจะได้มีการแต่งตัง้ ผู้ดำารงตำาแหน่งดังกล่าว
ตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง

การเลือกตัง้ สมาชิกสภาเภสัชกรรมเป็นกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๓) ให้กระทำาให้แล้วเสร็จ


ภายในหนึง่ ร้อยแปดสิบวันนับแต่วันทีพ
่ ระราชบัญญัตินีใ้ ช้บังคับ

มาตรา ๕๗ ในระหว่างทีย
่ ังมิได้ออกกฎกระทรวง ระเบียบ หรือข้อบังคับเพือ
่ ปฏิบัติการตามพระ
ราชบัญญัตินี ้ ให้นำากฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศทีอ
่ อกตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
การประกอบโรคศิลปะ ในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับวิชาชีพเภสัชกรรมมาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ทัง้ นีต
้ ้องไม่
เกินหนึง่ ปี นับแต่วันทีพ
่ ระราชบัญญัตินีใ้ ช้บังคับ

มาตรา ๕๘ ให้ถือว่าการกระทำาผิดมรรยาทหรือข้อจำากัดและเงือ
่ นไขในการประกอบโรคศิลปะ
ตามกฎหมาย
ว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ ในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับวิชาชีพเภสัชกรรม ซึง่ ได้กระทำาก่อน
วันที ่
พระราชบัญญัตินีใ้ ช้บังคับ และยังไม่มีการดำาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการ
ประกอบโรคศิลปะ เป็นการประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมตามพระราชบัญญัตินี ้
และการดำาเนินการต่อไปให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี ้ ในกรณีทีม
่ ีการดำาเนินการกับผู้กระทำาผิด
มรรยาท หรือข้อจำากัดและเงือ
่ นไขในการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน สาขาเภสัชกรรม ตาม
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะก่อนวันทีพ
่ ระราชบัญญัตินีใ้ ช้บังคับ ให้ถือว่า

15
การดำาเนินการดังกล่าวเป็นการดำาเนินการตามพระราชบัญญัตินีแ
้ ละการดำาเนินการต่อไป ให้เป็น
ไปตามพระราชบัญญัตินี ้

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ชวน หลีกภัย
นายกรัฐมนตรี

อัตราค่าธรรมเนียมวิชาชีพเภสัชกรรม

(๑) ้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท


ค่าขึน

(๒) ค่าหนังสือรับรองการขึน
้ ทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ฉบับละ ๕๐๐ บาท

(๓) ค่าหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ฉบับ

ละ ๒,๐๐๐ บาท

(๔) ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๕๐๐ บาท

16
กฎกระทรวง

(พ.ศ.๒๕๓๙)
ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม

พ.ศ.๒๕๓๗

อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗


รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขออกกฎกระทรวงไว้ดังต่อไปนี ้
ให้กำาหนดค่าธรรมเนียม ดังนี ้

(๑) ค่าขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาต

เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ฉบับละ ๑,๕๐๐ บาท

(๒) ค่าหนังสือรับรองการขึน
้ ทะเบียน
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ฉบับละ ๑๕๐ บาท

(๓) ค่าหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตร


แสดงความรู้ความชำานาญในการ

ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท

(๔) ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๑๕๐ บาท

ให้ไว้ ณ วันที ่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๙


เสนาะ เทียนทอง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

17
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี ้ คือ โดยทีเ่ ป็นการสมควรกำาหนด
ค่าธรรมเนียมเกีย
่ วกับการขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม การ
ออกหนังสือรับรองการขึน
้ ทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม การออกหนังสืออนุมัติ หรือ
วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมและการออกใบแทนใบ
อนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมและเนือ
่ งจากมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพ

เภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ บัญญัติให้รัฐมนตรีมีอำานาจออกกฎกระทรวงกำาหนดค่าธรรมเนียมไม่


เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติดังกล่าว จึงจำาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี ้

ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยการแต่งตัง้ ทีป
่ รึกษาและการกำาหนดอำานาจหน้าที ่
ของผู้ดำารงตำาแหน่งทีป
่ รึกษา

พ.ศ.๒๕๓๘



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๓ (๔) (ง) (จ) (ฉ) มาตรา ๒๕ และ


ด้วยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษ ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม

พ.ศ.๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม ออกข้อบังคับว่าด้วยการแต่งตัง้ ทีป


่ รึกษาและการกำาหนด
อำานาจหน้าทีข
่ องผู้ดำารงตำาแหน่งทีป
่ รึกษาดังต่อไปนี ้

หมวด ๑
การแต่งตัง้ ทีป
่ รึกษา

18
ข้อ ๑. คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม อาจแต่งตัง้ ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นทีป
่ รึกษาได้ไม่เกิน ๑๑
คน

ข้อ ๒. คุณสมบัติของทีป
่ รึกษาให้เป็นไปตามทีก
่ ำาหนดในมาตรา ๑๙ โดยอนุโลมยกเว้นที ่
ปรึกษากฎหมาย

ข้อ ๓. ทีป
่ รึกษาคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม มีวาระการดำารงตำาแหน่งเช่นเดียวกับ
กรรมการสภาเภสัชกรรมทีไ่ ด้รับการเลือกตัง้ ตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึง่

ข้อ ๔. นายกสภาเภสัชกรรมอาจเสนอให้ถอดถอนทีป
่ รึกษาท่านใดท่านหนึง่ หรือทัง้ คณะ
ได้ ทัง้ นี ้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม

หมวด ๒
อำานาจหน้าทีข
่ องผู้ดำารงตำาแหน่งทีป
่ รึกษา

ข้อ ๕. ให้ผู้ดำารงตำาแหน่งทีป
่ รึกษามีอำานาจหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

๕.๑ ให้คำาปรึกษาตามทีไ่ ด้รับมอบหมายจากนายกสภา


เภสัชกรรม หรือสภาเภสัชกรรม

๕.๒ เสนอแนะและให้ข้อคิดเห็นอืน
่ ๆ ทีอ
่ ยู่ในขอบเขตวัตถุประสงค์และอำานาจ
หน้าทีข
่ องสภาเภสัชกรรม

๕.๓ ปฏิบัติภารกิจตามทีไ่ ด้รับมอบหมายจากสภาเภสัชกรรม

๕.๔ ให้เสนอคำาปรึกษา ข้อคิดเห็น หรือผลปฏิบัติภารกิจต่อสภาเภสัชกรรมโดย


ผ่านทางนายกสภาเภสัชกรรม หรือเลขาธิการสภาเภสัชกรรมแล้วแต่กรณี

หมวด ๓
การประชุมของคณะทีป
่ รึกษา

ข้อ ๖. การประชุมของคณะทีป
่ รึกษา ให้ใช้ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม ว่าด้วยการประชุม
ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ มาใช้โดยอนุโลม

ข้อ ๗. นายกสภาเภสัชกรรม อุปนายก เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ และ


เหรัญญิก จะเข้าร่วมฟั งและชีแ
้ จงข้อคิดเห็นในการประชุมของคณะทีป
่ รึกษาก็ได้ แต่มีให้นับเป็นองค์
ประชุม
ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๘

19
นายบุญอรรถ สายศร
นายกสภาเภสัชกรรม

20
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยการประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ

พ.ศ.๒๕๓๘



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๒๓ (๔) (จ) และด้วยความเห็นชอบของสภานายก

พิเศษตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม


ออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการไว้ดังต่อไปนี ้

ส่วนที ่ ๑
การประชุมคณะกรรมการ

หมวด ๑
ประธานและเลขานุการทีป
่ ระชุม

ข้อ ๑. ให้นายกสภาเภสัชกรรมเป็นประธานในทีป
่ ระชุม

ข้อ ๒. ในการประชุมคราวใด นายกสภาเภสัชกรรมไม่อยู่ในทีป


่ ระชุม หรือไม่สามารถ
ปฏิบัติหน้าทีป
่ ระธานของทีป
่ ระชุมได้ ให้อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีห
่ นึง่ หรืออุปนายกสภาเภสัชกรรม
คนทีส
่ องทีม
่ าประชุมทำาหน้าทีแ
่ ทนประธานทีป
่ ระชุมตามลำาดับ
ถ้าอุปนายกสภาเภสัชกรรม ไม่อยู่ในทีป
่ ระชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าทีป
่ ระธานของที ่
ประชุมได้ ให้กรรมการผู้มีอายุสูงสุดทีม
่ าประชุมเป็นประธานชัว
่ คราว เพือ
่ ให้ทีป
่ ระชุมดำาเนินการเลือก
ประธานเฉพาะคราวสำาหนับการประชุมครัง้ นัน

ข้อ ๓. ให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมเป็นเลขานุการทีป
่ ระชุม

ข้อ ๔. ในการประชุมคราวใด เลขาธิการสภาเภสัชกรรมไม่อยู่ในทีป


่ ระชุมหรือไม่
สามารถปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้ ให้รองเลขาธิการสภาเภสัชกรรมทำาหน้าทีเ่ ลขานุการทีป
่ ระชุม
ถ้าทัง้ เลขาธิการสภาเภสัชกรรม และรองเลขาธิการสภาเภสัชกรรมไม่อยู่ในทีป
่ ระชุม
หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้ ให้ประธานทีป
่ ระชุมเลือกกรรมการผู้หนึง่ ทำาหน้าทีเ่ ป็นเลขานุการเฉพาะ
คราวสำาหรับการประชุมครัง้ นัน

21
หมวด ๒
อำานวยหน้าทีข
่ องประธานและเลขานุการ

ข้อ ๕. ประธานในทีป
่ ระชุมมีอำานาจหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

(๑) ควบคุมและดำาเนินการของทีป
่ ระชุมตามวาระการประชุม

(๒) รักษาความสงบเรียบร้อยในทีป
่ ระชุม

(๓) มีอำานาจและหน้าทีต
่ ามทีก
่ ฎหมายบัญญัติไว้หรือตามทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อ
บังคับนี ้

ข้อ ๖. เลขานุการมีอำานาจหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

(๑) จัดระเบียบวาระการประชุมตลอดจนรายละเอียดและเอกสารประกอบ
หรือทีเ่ กีย
่ วข้องทีจ
่ ะนำาเข้าประชุม

(๒) แจ้งนัดประชุม

(๓) แจ้งระเบียบหรือหนังสือต่อทีป
่ ระชุม หรือยืนยันมติของทีป
่ ระชุม

(๔) จัดทำารายงานการประชุม

(๕) รักษาเอกสารทัง้ ปวงทีเ่ กีย


่ วกับหรือเกีย
่ วเนือ
่ งกับการประชุม

(๖) ปฏิบัติการอืน
่ ตามทีป
่ ระธานหรือทีป
่ ระชุมมอบหมาย

หมวด ๓
การประชุม

ข้อ ๗. การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำานวน


กรรมการทัง้ หมด จึงจะเป็นองค์ประชุม

ข้อ ๘. การประชุมคณะกรรมการให้ถือเป็นการประชุมลับ ผู้อน


ื่ ทีจ
่ ะอยู่ในทีป
่ ระชุมหรือ
ณ ทีใ่ ดในระยะทีจ
่ ะฟั งการประชุมได้ ได้แก่ สภานายกพิเศษ และผู้ทีไ่ ด้รับเชิญจากทีป
่ ระชุมหรือผู้ทีไ่ ด้รับ
อนุญาตจากประธานในทีป
่ ระชุม

ข้อ ๙. ให้มีการประชุมครัง้ แรกของแต่ละวาระของคณะกรรมการ ภายในสามสิบวัน


นับแต่วันทีท
่ ราบผลการเลือกตัง้ กรรมการซึง่ ได้รับเลือกตัง้ โดยสมาชิกและให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป็นผู้เรียกประชุม

22
ข้อ ๑๐. การประชุมสภาเภสัชกรรมให้เป็นไปตามกำาหนดทีท
่ ีป
่ ระชุมมีมติไว้ หรือตามที ่
นายกสภาเภสัชกรรมจะเห็นสมควร แต่นายกสภาเภสัชกรรมอาจสัง่ งดการประชุมครัง้ ใดก็ได้ เมือ
่ เห็นว่า
ไม่มีเรือ
่ งทีส
่ มควรจะประชุม

ข้อ ๑๑. กรรมการไม่น้อยกว่า ๕ คน จะขอให้มีการประชุมก็ได้ โดยยืน


่ เป็นหนังสือต่อ
นายกสภาเภสัชกรรมหรือเลขาธิการสภาเภสัชกรรม และให้นายกสภาเภสัชกรรมนัดประชุมโดยด่วน

ข้อ ๑๒. การนัดประชุมให้ทำาเป็นหนังสือ หรือจะแจ้งนัดในทีป


่ ระชุมก็ได้ ถ้าแจ้งนัดในที ่
ประชุมให้ส่งหนังสือนัดประชุมไปยังผู้ทีม
่ ิได้มาประชุม
ให้นด
ั ประชุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวันก่อนประชุม แต่ถ้าเป็นการด่วนจะนัดประชุมล่วง
หน้าน้อยกว่านัน
้ ก็ได้

ข้อ ๑๓. การนัดประชุมให้ส่งระเบียบวาระพร้อมด้วยเอกสารทีเ่ กีย


่ วข้องไปด้วย เว้นแต่การ
ประชุมด่วน จะแจ้งระเบียบวาระการประชุมพร้อมด้วยเอกสารทีเ่ กีย
่ วข้องให้กรรมการทราบในขณะเปิ ด
การประชุมก็ได้

ข้อ ๑๔. ให้จัดระเบียบวาระการประชุมตามลำาดับดังต่อไปนี ้

(1) เรือ
่ งทีป
่ ระธานแจ้งต่อทีป
่ ระชุม

(2) รับรองรายงานการประชุม

(3) เรือ
่ งด่วน

(4) เรือ
่ งสืบเนือ
่ งจากการประชุมทีแ
่ ล้ว

(5) เรือ
่ งทีค
่ ้างพิจารณา

(6) เรือ
่ งทีเ่ สนอใหม่

(7) เรือ
่ งอืน
่ ๆ

ข้อ ๑๕. ให้เลขานุการตรวจสอบว่ากรรมการครบองค์ประชุมหรือไม่ แล้วเสนอประธาน


ทราบถ้าหากไม่ครบองค์ประชุม ให้อยู่ในดุลยพินิจของประธานทีจ
่ ะสัง่ เลือ
่ นการประชุม

ข้อ ๑๖. การประชุมต้องดำาเนินการตราระเบียบวาระ เว้นแต่ทีป


่ ระชุมจะได้ลงมติเป็นอย่าง
อืน

ข้อ ๑๗. ผู้ใดประสงค์จะกล่าวถ้อยคำาต่อทีป


่ ระชุมให้ยกมือขึน
้ เมือ
่ ประธาน
อนุญาตแล้วจึงกล่าวได้

ข้อ ๑๘.ประธานทีป
่ ระชุมมีอำานาจปรึกษาทีป
่ ระชุมในเรือ
่ งใด ๆ สัง่ พักการประชุม เลือ
่ น
การประชุม หรือเลิกการประชุมได้ตามทีเ่ ห็นสมควร

23
ข้อ ๑๙. การจดรายงานการประชุม ทีป
่ ระชุมอาจมีมติมิให้จดรายงานการประชุม
บางส่วนก็ได้

ข้อ ๒๐. การเปิ ดเผยรายงานการประชุมให้เป็นไปตามมติของทีป


่ ระชุม

ข้อ ๒๑. เมือ


่ ทีป
่ ระชุมกำาลังพิจารณาเรือ
่ งใดอยู่ ห้ามมิให้เสนอเรือ
่ งอืน
่ นอกจากเรือ
่ ง
ต่อไปนี ้

(1) ขอให้รวบระเบียบวาระการประชุมทีเ่ ป็นเรือ


่ งเดียวกัน ทำานองเดียวกัน

หรือเกีย
่ วข้องกันเพือ
่ พิจารณาพร้อมกัน

(2) ขอให้ส่งเรือ
่ งไปยังคณะอนุกรรมการเพือ
่ พิจารณา หรือขอให้บุคคลใดมา

แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็น

(3) ขอให้รวมหรือแยกประเด็นพิจารณาหรือลงมติ

(4) ขอให้เลือ
่ นการพิจารณา

(5) ขอให้เลือ
่ นการประชุม

หมวด ๔
การลงมติ

ข้อ ๒๒. ในการลงมติของทีป


่ ระชุมให้ประธานเป็นผู้เสนอประเด็นให้ทีป
่ ระชุมลงมติ

ข้อ ๒๓. การออกเสียงลงคะแนนเพือ


่ ลงมติมี ๒ วิธี คือ

(1) การออกเสียงลงคะแนนเปิ ดเผย

(2) การออกเสียงลงคะแนนลับ

ข้อ ๒๔. การออกเสียงลงคะแนนเปิ ดเผยให้ยกมือพ้นศีรษะ ส่วนการออกเสียงลง


คะแนนลับให้ใช้เขียนในกระดาษทีก
่ ำาหนดให้

ข้อ ๒๕. มติของทีป


่ ระชุมคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึง่ มี
เสียงหนึง่ ในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในทีป
่ ระชุมออกเสียงเพิม
่ อีกเสียงหนึง่ เป็น

เสียงชีข
้ าด ทัง้ นี ้ เว้นแต่มติของทีป
่ ระชุม ในกรณีให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพมาตรา ๑๔ (๔) หรือการ

ลงมติตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า


สองในสามของจำานวนกรรมการทัง้ คณะ

ข้อ ๒๖.การออกเสียงลงคะแนนให้กระทำาเป็นการเปิ ดเผย แต่ถ้ากรรมการรวมกันไม้น้อย


กว่า ๕ คน ร้องขอให้การทำาเป็นการลับจึงให้ลงคะแนนลับ

24
ข้อ ๒๗. ให้ประธานอนุกรรมการเป็นประธานทีป
่ ระชุม

ข้อ ๒๘. การประชุมคณะอนุกรรมการให้นำาความใน ส่วนที ่ ๑ ว่าด้วยการประชุม


คณะกรรมการใช้บังคับโดยอนุโลม

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๘

บุญอรรถ สายศร
นายกสภา
เภสัชกรรม

25
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยการเป็นสมาชิกสภาเภสัชกรรม

พ.ศ.๒๕๓๘



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๒๓ (๔) (ก) และด้วยความเห็นชอบของสภานายก

พิเศษตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม


ออกข้อบังคับว่าด้วยการเป็นสมาชิกของสภาเภสัชกรรมไว้ดังต่อไปนี ้

หมวด ๑
การสมัครเป็นสมาชิก

ข้อ ๑. ผู้สมัครเป็นสมาชิกสภาเภสัชกรรม จะต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๒ แห่งพระ

ราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ และต้องยืน


่ คำาขอสมัครตามแบบ สภ.๑๒ ท้ายข้อบังคับนีแ
้ ต่
เลขาธิการสภาเภสัชกรรม พร้อมด้วยหลักฐานดังต่อไปนี ้

(1) หลักฐานแสดงวุฒิในวิชาชีพเภสัชกรรม

(2) สำาเนาทะเบียนบ้าน

26
(3) ภาพถ่ายหน้าตรง ครึง่ ตัว ท่าปกติ ไม่สวมแว่นตาดำา ไม่สวมหมวก
ซึง่ ถ่ายไว้ไม่เกิน ๖ เดือน ขนาด ๑ นิว้ จำานวน ๓ ภาพ

(4) ใบรับรองแพทย์

ข้อ ๒. ภายใต้ข้อบังคับข้อ ๑ เมือ


่ เลขาธิการสภาเภสัชกรรมได้รับคำาขอพร้อมด้วยหลัก
ฐานและค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสมาชิกแล้ว ให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมพิจารณาเสนอนายกสภา
เภสัชกรรมพิจารณาอนุมัติให้รับหรือไม่รับเข้าเป็นสมาชิก
เมือ
่ นายกสภาเภสัชกรรมพิจารณารับหรือไม่รับเข้าเป็นสมาชิก ให้เลขาธิการ
สภาเภสัชกรรมแจ้งให้ผู้สมัครทราบภายในเวลาไม่เกิน ๑๕ วัน

ข้อ ๓. ผู้สมัครเป็นสมาชิกผู้ใดทีน
่ ายกสภาเภสัชกรรมพิจารณาไม่รับเป็นสมาชิกผู้นัน
้ จะ
ขอสมัครเป็นสมาชิกอีกก็ได้ โดยยืน
่ ใบสมัครต่อเลขาธิการสภาเภสัชกรรม เมือ
่ พ้นกำาหนด ๑ ปี นับแต่วัน
ทราบผลการพิจารณารับหรือไม่รับเป็นสมาชิก
การยืน
่ ใบสมัครและการแจ้งผลการพิจารณาของคณะกรรมการสภา
เภสัชกรรม
ให้นำาความในข้อ ๑ และข้อ ๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

ข้อ ๔. ผู้สมัครผู้ใดทีค
่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรมพิจารณาไม่รับเป็นสมาชิกเป็นครัง้ ที ่
สอง ผู้นัน
้ หมดสิทธิท
์ ีจ
่ ะขอสมัครเป็นสมาชิกสภาเภสัชกรรมอีกต่อไป

หมวด ๒
หนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิก

ข้อ ๕. ผ้ท
ู ีไ่ ด้รับอนุมัติเป็นสมาชิกของสภาเภสัชกรรมตามข้อบังคับนีใ้ ห้สภาเภสัชกรรม

ออกหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกให้แก่สมาชิกตามแบบ สภ.๑๓ ท้ายข้อบังคับนี ้

ข้อ ๖. ผ้ท
ู ีเ่ ป็นสมาชิกของสภาเภสัชกรรมตามบทเฉพาะกาล มาตรา ๕๔ แห่งพระราช

บัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ ผู้ใดประสงค์จะได้หนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิก ให้ยน


ื่ คำาขอตาม

แบบ สภ.๑๔ ท้ายข้อบังคับนีต


้ ่อเลขาธิการสภาเภสัชกรรมพร้อมด้วยหลักฐานดังต่อไปนี ้

(1) สำาเนาใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันสาขาเภสัชกรรมตาม
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ

(2) สำาเนาทะเบียนบ้าน

27
(3) ภาพถ่ายหน้าตรง ครึง่ ตัว ท่าปกติ ไม่สวมแว่นตาดำา ไม่สวมหมวก ซึง่
ถ่ายไว้ไม่เกิน ๖ เดือน ขนาด ๑ นิว้ จำานวน ๒ ภาพ

ข้อ ๗. เมือ
่ เลขาธิการสภาเภสัชกรรมได้รับคำาขอพร้อมด้วยหลักฐาน และค่าธรรมเนียม
หนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกแล้วให้พิจารณาเสนอนายกพสภาเภสัชกรรมอนุมัติ ให้ออกหนังสือสำาคัญ

การเป็นสมาชิกให้แก่ผู้ขอหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกให้ใช้แบบ สภ.๑๓ ท้ายข้อบังคับนี ้

หมวด ๓
บัตรประจำาตัวสมาชิก

ข้อ ๘. ผ้ท
ู ีไ่ ด้รับอนุมัติให้เป็นสมาชิกของสภาเภสัชกรรมตามข้อบังคับนีใ้ ห้สภา

เภสัชกรรมออกบัตรประจำาตัวให้แก่สมาชิกตามแบบ สภ.๑๕ ท้ายข้อบังคับนี ้

ข้อ ๙. ผ้ท
ู ีเ่ ป็นสมาชิกของสภาเภสัชกรรมตามบทเฉพาะกาลมาตรา ๔๕ แห่งพระราช

บัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ ผู้ใดประสงค์จะขอบัตรประจำาตัวสมาชิกให้ยืน


่ คำาขอตามแบบ

สภ.๑๔ ท้ายข้อบังคับนีต
้ ่อเลขาธิการสภาเภสัชกรรมพร้อมด้วยหลักฐานต่อไปนี ้

(1) สำาเนาใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันสาขาเภสัชกรรมตาม

กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ

(2) สำาเนาทะเบียนบ้าน

(3) ภาพถ่ายหน้าตรง ครึง่ ตัว ท่าปกติ ไม่สวมแว่นตาดำา ไม่สวมหมวก

ซึง่ ถ่ายไว้ไม่เกิน ๖ เดือน ขนาด ๑ นิว้ จำานวน ๒ ภาพ

ข้อ ๑๐. เมือ


่ เลขาธิการสภาเภสัชกรรมได้รับคำาขอและค่าธรรมเนียมบัตรประจำาตัวแล้ว ให้

พิจารณาออกบัตรประจำาตัวสมาชิกให้แก่ผู้ขอบัตรประจำาตัวสมาชิกให้ใช้แบบ สภ.๑๔ ท้ายข้อบังคับนี ้

ข้อ ๑๑. บัตรประจำาตัวสมาชิกให้มีอายุ ๕ ปี

ข้อ ๑๒. สมาชิกทีบ


่ ัตรประจำาตัวหมดอายุ ให้ยืน
่ คำาขอทำาบัตรประจำาตัวใหม่และให้นำา
ความในข้อ ๙ และข้อ ๑๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

หมวด ๔
ใบแทนหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิก

28
ข้อ ๑๓. สมาชิกผู้ใดทีท
่ ำาหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกสูญหายหรือถูกทำาลายในสาระ

สำาคัญ ให้ยืน
่ คำาขอรับใบแทนหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกได้ตามแบบ สภ.๑๖ ท้ายข้อบังคับนีต
้ ่อ
เลขาธิการสภาเภสัชกรรมพร้อมด้วยหลักฐานดังต่อไปนี ้

(1) หนังสือแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน (ตำารวจ) กรณีสูญหาย หรือ

หนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกทีถ
่ ูกทำาลายสาระสำาคัญ แล้วแต่กรณี

(2) สำาเนาทะเบียนบ้าน

(3) ภาพถ่ายหน้าตรง ครึง่ ตัว ท่าปกติ ไม่สวมแว่นตาดำา ไม่สวมหมวก

ซึง่ ถ่ายไว้ไม่เกิน ๖ เดือน ขนาด ๑ นิว้ จำานวน ๒ ภาพ

ข้อ ๑๔. เมือ


่ เลขาธิการสภาเภสัชกรรมได้รับคำาขอและค่าธรรมเนียมหนังสือสำาคัญการเป็น
สมาชิกแล้ว
ให้เสนอนายกสภาเภสัชกรรมเพือ
่ พิจารณาอนุมัติให้ออกใบแทนหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกให้แก่ผู้ขอ

ใบแทนหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกให้ใช้แบบ สภ.๑๓ ท้ายข้อบังคับนีโ้ ดยมีคำาว่า “ใบ


แทน” ประทับด้านบนด้วยอักษรสีแดง

หมวด ๕
ทะเบียนสมาชิกสภาเภสัชกรรม

ข้อ ๑๕. เมือ


่ มีผู้เป็นสมาชิกสภาเภสัชกรรมตามหมวด ๒ ข้อ ๕ ให้เลขาธิการสภา
เภสัชกรรมรับผิดชอบการจดบันทึกในทะเบียนสมาชิกสภาเภสัชกรรม และให้ติดรูปถ่ายของผู้นัน
้ ไว้ใน
ทะเบียนสมาชิก

ข้อ ๑๖. เมือ


่ สมาชิกภาพของสมาชิกผู้ใดสิน
้ สุดลงให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมรับผิดชอบ
คัดชือ
่ สมาชิกผู้นัน
้ ออกจากทะเบียนสมาชิกสภาเภสัชกรรม และรายงานให้ทีป
่ ระชุมคณะกรรมการสภา
เภสัชกรรมทราบ

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๘

บุญอรรถ สายศร
นายกสภาเภสัชกรรม

29
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยการกำาหนดค่าขึน
้ ทะเบียนสมาชิกและค่าธรรมเนียม

พ.ศ.๒๕๓๘



อาศัยอำานายตามความในมาตรา ๒๓ (๔) (ค) และด้วยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษ

ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม ออก


ข้อบังคับว่าด้วยการกำาหนดค่าขึน
้ ทะเบียนสมาชิก และค่าธรรมเนียม นอกจากทีก
่ ำาหนดไว้ในอัตราท้าย
พระราชบัญญัติดังต่อไปนี ้

ข้อ ๑. ค่าจดทะเบียนสมาชิก รายละ ๕๐๐ บาท

ข้อ ๒. ค่าธรรมเนียม

(1) ค่าสมัครสอบความรู้เพือ
่ ขอขึน
้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรม

- สมัครสอบครบ ๘ วิชา รวม ๒,๐๐๐ บาท

- เฉพาะวิชาเภสัชกรรมภาคปกติ วิชาละ ๕๐๐ บาท

- เฉพาะวิชาทีส
่ อบอืน
่ ๆ วิชาละ วิชาละ ๒๕๐ บาท

(2) ค่าหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิก ตามมาตรา ๕๐๐ฉบับละ ๑๐๐ บาท

(๓) ค่าใบแทนหนังสือสำาคัญการเป็นสมาชิกสภาเภสัชกรรม ฉบับละ ๑๐๐


บาท

(๔) ค่าใบแปลใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ฉบับละ ๓๐๐

บาท(๕) ค่าคำาขอเปลีย
่ นชือ
่ ตัว ชือ
่ สกุล หรือเพิม
่ อภิไธย ครัง้ ละ ๑๐๐ บาท(๖)

ค่าบัตรประจำาตัวเมือ
่ ขอใหม่ ฉบับละ ๑๐๐ บาท(๗)
ค่าหนังสือรับรองสำาเนาหนังสือต่าง ๆ ฉบับละ ๑๐๐ บาท

30
ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๘

บุญอรรถ สายศร
นายกสภาเภสัชกรรม

ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยตราของสภาเภสัชกรรม

พ.ศ.๒๕๓๘



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๒๓ (๔) (ด) และด้วยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษ

ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม ออก


ข้อบังคับว่าด้วยตราของสภาเภสัชกรรมดังต่อไปนี ้

ข้อ ๑. ตราของสภาเภสัชกรรมมีรูปลักษณะดังนี ้

31
้ งต้นมีอักษรไทยและตัวเลข “พ.ศ.๒๕๓๗”
เป็นรูปงูพันถ้วย ซ้อนเฉลงอยู่บนโล่รูปกลมรี เบือ

เบือ
้ งล่างมีอักษรโรมันและตัวเลข “A.D. 1994” ทีข
่ อบด้านบนของโลมีข้อความว่า “สภา

เภสัชกรรม” และทีข
่ อบด้านล่างมีข้อความว่า “The Pharmacy Council”
ข้อ ๒. ตราของสภาเภสัชกรรมเป็นเอกสิทธิข
์ องสภาเภสัชกรรม

ข้อ ๓. การทำาหรือการใช้ตราของสภาเภสัชกรรมเป็นเครือ
่ งหมาย เครือ
่ งประดับ เครือ
่ ง
ประกอบสิง่ ใด หรือเพือ
่ วัตถุประสงค์ใด ๆ ต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากสภาเภสัชกรรม
ก่อน

ข้อ ๔. ผู้ฝ่าฝื นทำาหรือใช้ตราของสภาเภสัชกรรมตามนัยแห่งข้อ ๓ ถือเป็นผู้ละเมิดสิทธิ


ของสภาเภสัชกรรม

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๘

บุญ
อรรถ สายศร
นายกสภา
เภสัชกรรม

ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

32
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวนในกรณีทีม
่ ีการกล่าวหาหรือกล่าวโทษผู้ประกอบวิชชีพ
เภสัชกรรม

พ.ศ.๒๕๓๘



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๒๓ มาตรา (๔) (ฒ) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพ

เภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม โดยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษ จึงออก


ข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวนในกรณีมีการกล่าวหาหรือกล่าวโทษว่ามีผู้ประพฤติผิด
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมดังต่อไปนี ้
เพือ
่ ให้ได้ความจริงและยุติธรรม การสืบสวนหรือสอบสวนผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
ซึง่ ถูกกล่าวหาหรือกล่าวโทษว่าประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
และวิธีการทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับนี ้

หมวด ๑
การสอบสวนพิจารณา

ส่วนที ่ ๑
กำาหนดเวลาสอบสวน

ข้อ ๙. การรวบรวมพยานหลักฐาน การประชุมพิจารณา ตลอดจนการสรุปผลการ


สอบสวนและเสนอสำานวนการสอบสวน พร้อมทัง้ ความเห็นต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม ต้องให้แล้ว
เสร็จภายในหกสิบวัน
ในกรณีทีไ่ ม่สามารถดำาเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำาหนดเวลาดังกล่าว ให้ขอขยายเวลา
ต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรมได้ตามความจำาเป็นก่อนวันครบกำาหนด

ข้อ ๑๐. เมือ


่ คณะอนุกรรมการได้พิจารณาเรือ
่ งทีก
่ ล่าวหาหรือกล่าวโทษแล้วให้คณะ
อนุกรรมการแจ้งผู้ถูกกล่วหา ให้ทราบข้อกว่าหาว่าผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมกรณีใด และผู้
ถูกกล่าวหามีสท
ิ ธิท
์ ีจ
่ ะได้รับแจ้งสรุปพยานหลักฐานทีส
่ นับสนุนข้อกล่าวหา และมีสิทธิท
์ ีจ
่ ะให้ถอ
้ ยคำาหรือ
ชีแ
้ จง ตลอดจนอ้างพยานหลักฐานหรือนำาพยานมาสืบแก้ข้อกล่าวหาได้
การบันทึกการสอบสวนให้เป็นไปตามทีค
่ ณะอนุกรรมการสอบสวนกำาหนด

ข้อ ๑๑. ในกรณีทีผ


่ ู้ถูกกล่าวหาให้ถ้อยคำารับสารภาพว่าได้กระทำาผิดตามข้อกล่าวหา ให้
คณะอนุกรรมการบันทึกถ้อยคำารับสารภาพรวมทัง้ สาเหตุการกระทำาผิดไว้ทัง้ นีค
้ ณะอนุกรรมการจะทำาการ
สอบสวนต่อไปหรือไม่ก็ได้

33
“การสืบสวน” หมายความว่า การแสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐาน ซึง่ คณะกรรมการ
สภาเภสัชกรรมหรือ คณะอนุกรรมการสอบสวน มีอำานาจและหน้าทีต
่ ามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ
เภสัชกรรม ทัง้ นี ้ เพือ
่ ทีจ
่ ะทราบรายละเอียดแห่งความผิด

“การสอบสวน” หมายความว่า การรวบรวมหลักฐาน และการดำาเนินการทัง้ หลายอืน



ซึง่ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม หรือคณะอนุกรรมการสอบสวนมีอำานาจและหน้าทีต
่ ามกฎหมายว่าด้วย
วิชาชีพเภสัชกรรม หรือตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรมทัง้ นีเ้ พือ
่ จะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด

“ผู้ถูกกล่าวหา” หมายความว่า บุคคลผู้ถูกกล่าวหารือถูกกล่าวโทษว่ากระทำาผิด


จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม หรือกระทำาผิดกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเภสัชกรรม

“ข้อกล่าวหา” หมายความว่า ข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษบุคคลผู้ถูกกล่าวหา


หรือถูกกล่าวโทษว่ากระทำาผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม หรือกระทำาผิดกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ
เภสัชกรรม

“คณะอนุกรรมการ” หมายความว่า คณะอนุกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๓๘

ของพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗

ข้อ ๒. การนับเวลาตามข้อบังคับนี ้ สำาหรับเวลาเริม


่ ต้นให้นับวันถัดจากวันแรกแห่งเวลา
นัน
้ เป็นวันเริม
่ นับเวลา แต่ถ้าเป็นกรณีขยายเวลาให้นับวันต่อจากวันสุดท้ายแห่งเวลาเดิม เป็นวันเริม
่ เวลาที ่
ขยายออกไป ส่วนเวลาสิน
้ สุดนัน
้ ถ้าวันสุดท้ายตรงกับวันหยุดราชการ ให้นับวันเริม
่ เปิ ดราชการใหม่เป็นวัน
สุดท้ายแห่งเวลา

ข้อ ๓. เมือ
่ คณะอนุกรรมการได้รับเรือ
่ งการกล่าวหาจากเลขาธิการสภาเภสัชกรรมแล้ว
ให้รีบดำาเนินการสอบสวนโดยไม่ชักช้า

ข้อ ๔. ในการสอบสวน ให้ประธานอนุกรรมการดำาเนินการประชุมคณะอนุกรรมการเพือ



พิจารณาเรือ
่ งทีก
่ ล่าวหาหรือกล่าวโทษ ว่ามีข้อกล่าวหาอย่างไร และวางแนวทางสืบสวนค้นหาข้อเท็จจริง
พยานหลักฐาน ตลอดจนรายละเอียดของพฤติการณ์ต่าง ๆ อันเกีย
่ วกับเรือ
่ งทีก
่ ล่าวหาหรือกล่าวโทษ
และองค์ประกอบความผิดตามข้อกล่าวหาเพือ
่ ทีจ
่ ะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด

ข้อ ๕. การประชุมคณะอนุกรรมการต้องมีอนุกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึง่ หนึง่ ของ


จำานวนอนุกรรมการทัง้ หมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
ในกรณีทีป
่ ระธานคณะอนุกรรมการ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ให้ทีป
่ ระชุมเลือก
อนุกรรมการคนหนึง่ คนใดทำาหน้าทีป
่ ระธานแทน

ข้อ ๖. ในการสอบสวนบุคลทีเ่ ป็นผู้ถูกกล่าวหาและพยานให้ทำาการสอบปากคำาและจดคำา

ให้การตามแบบ สส.๑ ท้ายข้อบังคับนี ้

ช่อ ๗. การนำาเอกสารหรือวัตถุพยานใช้เป็นพยานหลักฐานในสำานวนการสอบสวนให้
คณะอนุกรรมการทำาบันทึกไว้ด้วยว่า ได้มาอย่างไร จากผู้ใด และเมือ
่ ใด

34
เอกสารทีใ่ ช้เป็นพยานหลักฐานในสำานวนการสอบสวนให้ใช้ต้นฉบับ ถ้ามีความจำาเป็นไม่
อาจนำาต้นฉบับมาได้จะใช้สำาเนาทีป
่ ระธานคณะอนุกรรมการหรือผู้มีหน้าทีร
่ ับผิดชอบรับรองว่าเป็นสำาเนาที ่
ถูกต้องตรงกับต้นฉบับก็ได้
ถ้าหาต้นฉบับเอกสารไม่ได้ ด้วยเหตุประการใดก็ตาม ให้นำาสำาเนาหรือพยานบุคคลมาส
อบแทนก็ได้

ข้อ ๘. เมือ
่ การสอบสวนแล้วเสร็จ ให้คณะอนุกรรมการสรุปผลการสอบสวนพร้อมความ
เห็น เสนอต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม เพือ
่ วินิจฉัยชีข
้ าด

หมวด ๓
การสอบสวนพิจารณา

ข้อ ๙. การรวบรวมพยานหลักฐาน การประชุมพิจารณา ตลอดจนการสรุปผลการ


สอบสวนและเสนอสำานวนการสอบสวน พร้อมทัง้ ความเห็นต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม ต้องให้แล้ว
เสร็จภายในหกสิบวัน
ในกรณีทีไ่ ม่สามารถดำาเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำาหนดเวลาดังกล่าว ให้ขอขยายเวลา
ต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรมได้ตามความจำาเป็นก่อนวันครบกำาหนด

ข้อ ๑๐. เมือ


่ คณะอนุกรรมการได้พิจารณาเรือ
่ งทีก
่ ล่าวหาหรือกล่าวโทษแล้วให้คณะ
อนุกรรมการแจ้งผู้ถูกกล่าวหา ให้ทราบข้อกล่าวหาว่าผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมกรณีใด และ
ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิท
์ ีจ
่ ะได้รับแจ้งสรุปพยานหลักฐานทีส
่ นับสนุนข้อกล่าวหา และมีสท
ิ ธิท
์ ีจ
่ ะให้ถ้อยคำาหรือ
ชีแ
้ จง ตลอดจนอ้างพยานหลักฐานหรือนำาพยานมาสืบแก้ข้อกล่าวหาได้
การบันทึกการสอบสวนให้เป็นไปตามทีค
่ ณะอนุกรรมการสอบสวนกำาหนด

ข้อ ๑๑. ในกรณีทีผ


่ ู้ถูกกล่าวหาให้ถ้อยคำารับสารภาพว่าได้กระทำาผิดตามข้อกล่าวหา ให้
คณะอนุกรรมการบันทึกถ้อยคำารับสารภาพรวมทัง้ สาเหตุการกระทำาผิดไว้ทัง้ นี ้ คณะอนุกรรมการจะได้
ทำาการสอบสวนต่อไปหรือไม่ก็ได้

ข้อ ๑๒. ในกรณีทีผ


่ ู้ถูกกล่าวหามิได้ให้ถ้อยคำารับสารภาพให้คณะอนุกรรมการดำาเนินการ
สอบสวนเพือ
่ รวบรวมพยานหลักฐษนทีเ่ กีย
่ วข้องกับข้อกล่าวหาต่อไป

ข้อ ๑๓. ในกรณี ผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมรับทราบข้อกล่าวหาให้คณะอนุกรรมการส่งบันทึก


ข้อกล่าวหาทางไปรษณีย์ลงทะเบียนไปให้ผู้ถูกกล่าวหา เมือ
่ ล่วงพ้นสิบห้าวันนับแต่วันทีค
่ ณะอนุกรรมการ
ได้ดำาเนินการดังกล่าว ให้ถอ
ื ว่าผู้ถูกกล่าวหาได้ทราบข้อกล่าวหาแล้ว และให้คณะอนุกรรมการดำาเนินการ
สอบสวนต่อไป
ส่วนที ่ ๒
การพิจารณาพยานหลักฐาน

35
ข้อ ๑๔. เมือ
่ คณะอนุกรรมการได้รวบรวมพยานหลักฐานทีเ่ กีย
่ วข้องกับข้อกล่าวหาแล้ว
เสร็จ ในระหว่างการดำาเนินการพิจารณาหากพบว่าข้อกล่าวหาได้เปลีย
่ นแปลงไปหรือเพิม
่ ใหม่ ให้คณะ
อนุกรรมการแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ และผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิท
์ ีจ
่ ะได้รับแจ้งสรุปพยานหลักฐานที ่
สนับสนุนข้อกล่าวหาทีไ่ ด้เปลีย
่ นแปลงหรือเพิม
่ ใหม่ได้

ข้อ ๑๕. เมือ


่ ผู้ถูกกล่าวหาได้รัรบทราบข้อกล่าวหาทีเ่ ปลีย
่ นแปลงหรือเพิม
่ ใหม่แล้วให้ผู้ถูก
กล่าวหายืน
่ คำาชีแ
้ จงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือให้ถอ
้ ยคำาเพือ
่ แก้ข้อกล่าวหาภายในสิบห้าวัน

ส่วนที ่ ๓
การสอบปากคำาและบันทึกคำาให้การ

ข้อ ๑๖. ก่อนเริม


่ สอบปากคำาผู้ถูกกล่าวหาและพยานให้คณะอนุกรรมการสอบสวนแจ้งให้
ผู้ถูกกล่าวหาและพยานทราบว่าอนุกรรมการมีฐานะเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา การให้
ถ้อยคำาอันเป็นเท็จต่อคณะอนุกรรมการอาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา

ข้อ ๑๗. ในการสอบปากคำาตาม ข้อ ๑๖ ห้ามมิให้คณะอนุกรรมการทำาหรือจัดทำาการใด


ๆ ซึง่ เป็นการจูงใจ มีคำามัน
่ สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอืน
่ เพือ
่ ให้บุคคลนัน
้ ให้
ถ้อยคำาตามทีค
่ ณะอนุกรรมการต้องการ

ข้อ ๑๘. ในการสอบสวน ห้ามมิให้บุคคลอืน


่ เข้าร่วมทำาการสอบสวนเว้นแต่ในกรณีทีผ
่ ู้ถูก
กล่าวหาหรือพยานอยู่ต่างท้องทีแ
่ ละคณะอนุกรรมการไม่สามารถไปดำาเนินการสอบสวนได้ ให้ประธาน
คณะอนุกรรมการรายงานคณะกรรมการสภาเภสัชกรรมเพือ
่ ขอให้แต่งตัง้ สมาชิกสภาเภสัชกรรมในท้องที ่
นัน
้ ไม่น้อยกว่าสามคนเป็นคณะอนุกรรมการสอบสวนเฉพาะกิจ เพือ
่ ทำาการสอบสวนผู้ถูกกล่าวหาแล้ว
รายงานให้สภาเภสัชกรรมทราบภายในสามสิบวัน ให้อำานาจการสอบสวนของคณะอนุกรรมการสอบสวน
เฉพาะกิจสิน
้ สุดลงเมือ
่ ปฏิบัติภาระกิจเสร็จสิน
้ ลงเรียบร้อยแล้ว
คณะอนุกรรมการสอบสวนเฉพาะกิจดังกล่าว มีฐานะเป็นอนุกรรมการสอบสวนตาม

มาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗


ข้อ ๑๙ ในกรณีทีก
่ ารสอบสวนพาดพิงไปถึงผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมผู้อืน
่ ให้คณะ
อนุกรรมการพิจารณาในเบือ
้ งต้นว่าผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมผู้นัน
้ มีส่วนร่ว่มกระทำาผิดจรรยาบรรณใน
เรือ
่ งทีส
่ อบสวนด้วยหรือไม่
ส่วนที ่ ๔
การรายงานการสอบสวน

ข้อ ๒๐ เมือ
่ คณะอนุกรรมการทำาการสอบสวนเสร็จสิน
้ ให้เสนอสำานวนการสอบสวนพร้อม
ทัง้ ความเห็นต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม โดยไม่ชักช้าเพือ
่ วินิจฉัยชีข
้ าด
ในรายงานการสอบสวนให้มีสาระสำาคัญดังนี ้

36
(๑) สรุปข้อเท็จจริง และพยานหลักฐานว่ามีอย่างใดบ้าง ในกรณีทีไ่ ม่ได้สอบสวน
พยานให้รายงานเหตุผลทีไ่ ม่ได้สอบสวนด้วย

(๒) ในกรณีทีผ
่ ู้ถูกกล่าวหาให้ถ้อยคำาสารภาพ ให้รายงานด้วยว่ารับสารภาพ
เพราะจำานนต่อหลักฐาน หรือไม่เพราะเหตุใด

(๓) การวินิจฉัยเปรียบเทียบพยานหลักฐานทีส
่ นับสนุนข้อกล่าวหาและพยานหลัก
ฐานทีห
่ ักล้างข้อกล่าวหา ว่าควรรับฟั งพยานหลักฐานฝ่ ายใด โดยอาศัยเหตุผลอย่างไร ผิดจรรยาบรรณ
หรือไม่

รายงานการสอบสวนให้ทำาตามแบบ สส.๒ ท้ายข้อบังคับนี ้ โดยถือเป็นส่วนหนึง่ ของ


สำานวนการสอบสวน เมือ
่ คณะอนุกรรมการสอบสวนได้ทำารายงานสอบสวนเสร็จสิน
้ แล้วให้เสนอสำานวน
การสอบสวนต่อคณะกรรมาการสภาเภสัชกรรม จึงถือว่าการสอบสวนแล้วเสร็จ

ข้อ ๒๑. ในกรณีทีป


่ รากฏว่าการสอบสวนตอนใดทำาไม่ถูกต้องตามข้อบังคับนี ้ ซึง่ อาจ
ทำาให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ผู้ถูกกล่าวหา ให้คระกรรมการสภาเภสัชกรรมสัง่ แก้ไขหรือดำาเนินการให้ถูก
ต้องโดยเร็ว หากการสอบสวนตอนนัน
้ ไม่ใช่สาระสำาคัญอันจะทำาให้เสียความเป็นธรรมคณะกรรมการสภา
เภสัชกรรม จะสัง่ ให้แก้ไขหรือไม่ก็ได้

ข้อ ๒๒. หลักเกณฑ์ทีข


่ ้อบังคับนีม
้ ิได้ครอบคลุมถึง ให้ใช้ประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณา
ความอาญาว่าด้วยการสืบสวนมาบังคับใช้โดยอนุโลม

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๘

นายบุญอรรถ สายศร
นายกสภาเภสัชกรรม

37
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

ว่าด้วยการเลือกและการเลือกตัง้ กรรมการ (ฉบับที ่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๒๓ (๔) (ง) และด้วยความเห็นชอบของสภานายก

พิเศษตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ คณะกรรมการสภา

เภสัชกรรมออกข้อบังคับว่าด้วยการเลือกและการเลือกตัง้ กรรมการ (ฉบับที ่ ๒) ไว้ดังต่อไปนี ้


ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ แห่งข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยการเลือกและการ

เลือกตัง้ กรรมการ พ.ศ. ๒๕๓๗ และให้ใช้ความดังต่อไปนีแ


้ ทน

“ ข้อ ๙ การลงคะแนนเลือกตัง้ ให้กระทำาโดยการทำาเครือ


่ งหมายทีห
่ มายเลขผู้สมัครรับ
เลือกตัง้ ตามทีก
่ ำาหนด จำานวนไม่เกินจำานวนตามทีผ
่ ู้ดำาเนินการเลือกตัง้ ประกาศ “

ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๑.๒ และ ๑๑.๔ ในข้อ ๑๑ แห่งข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

ว่าด้วยการเลือกและการเลือกตัง้ กรรมการ พ.ศ. ๒๕๓๗ และให้ใช้ความดังต่อไปนีแ


้ ทน

“ ๑๑.๒ บัตรเลือกตัง้ ทีไ่ ม่ได้มีการกรอกรายการเลือกตัง้ บัตรเลือกตัง้ ทีก


่ รอกรายการ
เลือกตัง้ เกินจำานวนทีผ
่ ู้ดำาเนินการเลือกตัง้ ประกาศ หรือบัตรเลือกตัง้ ทีไ่ ม่ได้กรอกรายละเอียดและลายมือ
ชือ
่ ผู้เลือกตัง้

๑๑.๔ บัตรทีส
่ ่งถึงประธานคณะอนุกรรมการอำานวยการเลือกตัง้ หลังกำาหนดเวลาสิน
้ สุด
การลงคะแนน เว้นแต่กรณีเป็นการส่งบัตรเลือกตัง้ กลับทางไปรษณีย์ ให้ถอ
ื วันทีส
่ ิน
้ สุดตามวันทีท
่ ีป
่ ระทับ
โดยทีท
่ ำาการไปรษณีย์ปลายทางทีต
่ ัง้ ของสำานักงานสภาเภสัชกรรมเป็นสำาคัญ “
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๕ แห่งข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยการเลือกและการ

เลือกตัง้ กรรมการ พ.ศ. ๒๕๓๗ และให้ใช้ความดังต่อไปนีแ


้ ทน

“ ข้อ ๑๕ การเลือกตัง้ กรรมการชุดใหม่เข้าดำารงตำาแหน่งตามวาระ ให้ดำาเนินการให้


ทราบผลก่อนกรรมการโดยการเลือกตัง้ ชุดก่อนจะพ้นวาระไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน “
ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๗ แห่งข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยการเลือกและการ

เลือกตัง้ กรรมการ พ.ศ. ๒๕๓๗ และให้ใช้ความดังต่อไปนีแ


้ ทน

“ ข้อ ๑๗ การเลือกตัง้ นายกสภาเภสัชกรรม อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีห


่ นึง่ และ
อุปนายกสภาเภสัชกรรมคนทีส
่ อง ให้กระทำาภายในสิบห้าวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตัง้ กรรมการ
โดยให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมชุดก่อนจะพ้นวาระเป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการชุดใหม่ตามมาตรา

38
๑๕ เพือ ่ ีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗
่ เลือกกรรมการทีม
เพือ
่ ดำารงตำาแหน่งดังกล่าวตำาแหน่งละหนึง่ คน โดยดำาเนินการเลือกทีละตำาแหน่งตามลำาดับ ด้วยวิธีให้
กรรมการเสนอชือ
่ และมีกรรมการอย่างน้อย สามคนรับรองการเสนอชือ
่ นัน
้ ๆ
การเลือกให้เลือกโดยลงคะแนนลับ ผู้ได้รับคะแนนสูงสุดของแต่ละตำาแหน่งเป็นผู้ได้รับ
เลือกให้เป็นนายกสภาเภสัชกรรม อุปนายกคนทีห
่ นึง่ และอุปนายกคนทีส
่ อง กรณีทีผ
่ ู้ได้รับคะแนนสูงสุดมี
คะแนนเท่ากันให้มีการลงคะแนนซำา
้ จนกว่าจะได้ผู้มีคะแนนสูงสุด
กรณีมีการเสนอชือ
่ คนเดียวสำาหรับตำาแหน่งใดให้ถือว่าผู้นัน
้ เป็นผู้ได้รับเลือกเพือ
่ ดำารง
ตำาแหน่งนัน
้ โดยไม่ต้องออกเสียงลงคะแนน
การเลือกตัง้ นายกสภาเภสัชกรรม อุปนายกคนทีห
่ นึง่ และอุปนายกคนทีส
่ อง ดังกล่าว ให้
นายกสภาเภสัชกรรมหรืออุปนายกสภาเภสัชกรรมหรือเลขาธิการสภาเภสัชกรรม ชุดทีจ
่ ะพ้นวาระคนใด
คนหนึง่ ทีไ่ ม่มีส่วนร่วมในคณะกรรมการชุดใหม่เป็นประธานในทีป
่ ระชุมเพือ
่ ดำาเนินการเลือกตัง้ ตำาแหน่ง
ต่าง ๆ ให้แล้วเสร็จ
ข้อ ๕ ให้เพิม
่ เติมข้อความดังต่อไปนี ้

“ ข้อ ๒๖ ข้อบังคับนี ้ ให้มีผลบังคับใช้ตัง้ แต่การเลือกตัง้ กรรมการในวาระที ่ ๓ (พ.ศ.


๒๕๔๓ – ๒๕๔๖) เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓

นายภาวิช ทองโรจน์
นายกสภา
เภสัชกรรม

39
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

่ งแก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๕


ว่าด้วย การจัดการศึกษาต่อเนือ


เพือ
่ เป็นการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ให้มีความรู้และ
ความสามารถในการประกอบวิชาชีพทีท
่ ันสมัยและสอดคล้องกับมาตรฐานของวิชาชีพ อันจะเป็นหลัก
ประกันและเสริมสร้างความเชือ
่ มัน
่ ในการให้บริการวิชาชีพต่อผู้รับบริการ สภาเภสัชกรรมจึงเห็นควรให้มี
การจัดระบบการศึกษาต่อเนือ
่ งแก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๘ (๑) และ ๒๓(๔) ( ด) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพ

เภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม โดยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษ จึงออก


ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม ว่าด้วย การจัดการศึกษาต่อเนือ
่ งแก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมไว้ ดังนี ้

ข้อ ๑. ข้อบังคับนีเ้ รียกว่า “ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม ว่าด้วย การจัดการศึกษาต่อเนือ


่ งแก่ผู้

ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๔๕ ”

40
ข้อ ๒. ข้อบังคับนี ้ ให้ใช้บังคับนับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ข้อ ๓. ในข้อบังคับนี ้
ผู้ประกอบวิชาชีพ หมายถึง ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
บทความวิชาการ หมายถึง บทความทางวิชาการเพือ
่ การศึกษาต่อเนือ
่ งทีเ่ รียบเรียง
แปลหรือแต่งขึน

ประชุมวิชาการ หมายถึง การประชุม การ
สัมมนา การฝึ กอบรม การประชุมเชิงปฏิบัติการหรือกิจกรรมทีใ่ ช้ชือ

อย่างอืน
่ ซึง่ มีลักษณะเป็นการประชุมวิชาการ
ผู้จัดการประชุมวิชาการ หมายถึง นิติบุคคลหรือองค์กรทีเ่ ป็นผู้รับผิดชอบจัดการประชุม
รวมทัง้ ผู้ทีไ่ ด้รับ
มอบ หมาย

ข้อ ๔. ให้นายกสภาเภสัชกรรมเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนีแ
้ ละมีอำานาจออกระเบียบและ
ประกาศเพือ
่ ปฏิบัติตามข้อบังคับนีไ้ ด้
ในกรณีทีม
่ ีปัญหาในการตีความ หรือมีกรณีทีม
่ ิได้กำาหนดไว้ในข้อบังคับนี ้ หรือในกรณีทีม
่ ี
ปัญหาในการปฏิบัติตามข้อบังคับนี ้ ให้นายกสภาเภสัชกรรม โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสภา
เภสัชกรรมเป็นผู้วินิจฉัยชีข
้ าดและถือเป็นทีส
่ ิน
้ สุด

/หมวดที ่ ๑ บททัว
่ ไป

หมวดที ่ ๑ บททัว
่ ไป

ข้อ ๕. การจัดการศึกษาต่อเนือ
่ งแก่ผู้ประกอบวิชาชีพ มีวัตถุประสงค์เพือ

41
(1) เสริมความรู้และวิทยาการใหม่ๆทีเ่ กีย่ วข้องหรือเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบ
วิชาชีพ เพือ
่ เพิม
่ ศักยภาพของผู้ประกอบวิชาชีพในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ

(2) เสริมทักษะและประสบการณ์ในการปฏิบัติวิชาชีพในด้านต่าง ๆ เพือ


่ เพิม
่ ความ
เชือ
่ มัน
่ ในการประกอบวิชาชีพ

(3) ยกระดับและพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้า และเป็นประโยชน์ต่อผู้รับ


บริการ

(4) การอืน่ ๆ ตามมติของคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม โดยออกเป็นข้อบังคับของ

สภาเภสัชกรรม

ข้อ ๖. รูปแบบการศึกษาต่อเนือ
่ งแก่ผู้ประกอบวิชาชีพ อาจจัดการได้ตามรูปแบบต่างๆ ดังนี ้

(1) การศึกษาด้วยตนเอง เป็นรูปแบบซึง่ ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษาจากบทความวิชาการ


ทีส
่ ภาเภสัชกรรมให้การรับรองไว้แล้ว หรือ ทีส
่ ภาเภสัชกรรมจะให้การรับรองในภาย
หลังตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีก
่ ำาหนดในข้อบังคับนี ้

(2) การเข้าร่วมประชุมวิชาการ เป็นรูปแบบซึง่ ผู้ประกอบวิชาชีพเข้าร่วมการประชุม


วิชาการทีส
่ ภาเภสัชกรรมให้การรับรองไว้แล้ว หรือทีส
่ ภาเภสัชกรรมจะให้การรับรอง
ในภายหลัง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีก
่ ำาหนดในข้อบังคับนี ้

(3) รูปแบบอืน่ ๆ ตามทีส


่ ภาเภสัชกรรมกำาหนด

ข้อ ๗. การจัดการศึกษาต่อเนือ
่ งแก่ผู้ประกอบวิชาชีพ อาจจัดโดยสภาเภสัชกรรมหรือโดยสถาบัน
หลักหรือสถาบันสมทบ ซึง่ ได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรม

หมวดที ่ ๒
การรับรองสถาบันหลักและสถาบันสมทบ

ข้อ ๘. หน่วยงานทีจ
่ ะได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรมให้จัดการศึกษาต่อเนือ
่ งแก่ผู้ประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมตามข้อบังคับนีต
้ ้องมีลักษณะข้อใดข้อหนึง่ ดังนี ้

(1) เป็นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา เช่น คณะเภสัชศาสตร์

(2) เป็นโรงพยาบาลระดับโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทัว


่ ไป ของกระทรวง
สาธารณสุขหรือ
โรงพยาบาลหลักของส่วนราชการอืน
่ ๆ

(3) เป็นสมาคมวิชาชีพ

42
(4) องค์กรวิชาชีพ โรงพยาบาล หรือหน่วยงานอืน
่ ๆ ทีม
่ ีลักษณะไม่เข้าข่าย (๑) (๒)
และ (๓) แต่มีศักยภาพในการจัดการศึกษาต่อเนือ
่ ง ตามข้อ ๑๐

/ข้อ ๙ สถาบันหลัก…

ข้อ ๙. สถาบันหลัก นอกจากจะต้องมีลักษณะข้อใดข้อหนึง่ ตามข้อ ๘ แล้วจะต้องมีคุณสมบัติ


ดังนี ้

(1) มีหน่วยงาน ฝ่ าย หรือคณะกรรมการทีม


่ ีหน้าทีค
่ วามรับผิดชอบเกีย
่ วกับการศึกษา

ต่อเนือ
่ ง

(2) มีระบบสารสนเทศทีพ่ ร้อมให้การสนับสนุนการจัดการศึกษาต่อเนือ่ งตามทีส่ ภา


เภสัชกรรมกำาหนด

(3) มีศักยภาพในการจัดการศึกษาต่อเนือ่ งตามทีส่ ภาเภสัชกรรมประกาศกำาหนด


(4) มีศักยภาพในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งของสถาบันสมทบ
ข้อ ๑๐. สถาบันหลักจะต้องได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรม และมีอำานาจหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

(1) รับรอง เพิกถอน หน่วยงานอืน


่ เป็นสถาบันสมทบ

(2) ออกหนังสือรับรองการได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ่ งของสถาบันหลักและสถาบันสมทบแก่


ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นรายบุคคล

(3) ออกหนังสือรับรองการได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ่ งแก่ผู้ประกอบวิชาชีพทีย่ ืน่ ขอรับรอง


กิจกรรมและกำาหนดหน่วยกิตการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ
่ งอืน
่ ๆ ด้วยตนเอง

(4) เป็นแหล่งผลิตกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ ง โดยมีการประเมินคุณภาพเชิงวิชาการจากผู้เข้าร่วม


กิจกรรมทุกครัง้ เพือ
่ ให้กิจกรรมทีจ
่ ัดขึน
้ มีมาตรฐาน

(5) รับผิดชอบในการจัดทำาระบบการรับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ่ งตามทีส่ ภา


เภสัชกรรมประกาศกำาหนด

(6) บันทึกข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งโดยเคร่งครัดและถูกต้อง และบันทึก


ข้อมูลรายชือ
่ ผู้ประกอบวิชาชีพทีไ่ ด้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งและจำานวนหน่วยกิตทีไ่ ด้รับ

43
(7) ส่งรายงานกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งและข้อมูลตาม (๕) และ (๖) แก่สภาเภสัชกรรมทุกปี

(8) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถาบันสมทบ รวมทัง้ ประเมินสถาบันสมทบเป็นระยะๆ หลัง


การรับรองเพือ
่ ให้กิจกรรมการศึกษาต่อเนือ
่ งทีจ
่ ัดขึน
้ มีมาตรฐาน

(9) หน้าทีอ่ ืน่ ๆ ตามทีค


่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรมมอบหมาย

ข้อ ๑๑. สถาบันสมทบ นอกจากจะต้องมีลักษณะข้อใดข้อหนึง่ ตามข้อ ๘ แล้วจะต้องมีคุณสมบัติ


ดังนี ้

(1) มีศักยภาพในการจัดการศึกษาต่อเนือ
่ งในรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ อย่างน้อยปี ละ ๑ ครัง้

(2) เป็นสถาบันสมทบของสถาบันหลักใดเพียงสถาบันเดียว
ข้อ ๑๒. สถาบันสมทบมีหน้าทีด
่ ังต่อไปนี ้

(1) จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งทุกปี อย่างน้อยปี ละ ๑ ครัง้

(2) บันทึกข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งโดยเคร่งครัดและถูกต้อง


และบันทึกข้อมูลรายชือ
่ ผู้ประกอบวิชาชีพทีไ่ ด้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งและ
จำานวนหน่วยกิตทีไ่ ด้รับ

(3) ส่งรายงานกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งและข้อมูลตาม (๒) แก่สถาบันหลักทุกปี

ข้อ ๑๓. สถาบันหรือหน่วยงานทีไ่ ม่เข้าข่ายตามข้อ๙ ข้อ๑๐ ข้อ๑๑ และข้อ๑๒ แต่ประสงค์จะจัด


กิจกรรมการศึกษาต่อเนือ
่ ง สามารถยืน
่ คำาขอต่อสภาเภสัชกรรมหรือสถาบันหลักเพือ
่ ให้การรับรอง
กิจกรรมและกำาหนดหน่วยกิตเป็นครัง้ ๆ ไป

ข้อ ๑๔. สถาบันหรือหน่วยงานตามข้อ ๑๓ เมือ


่ ได้มีการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ
่ งแล้ว ต้อง
มีหน้าทีด
่ ังนี ้

(1) บันทึกข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งโดยเคร่งครัดและถูกต้อง


และบันทึกข้อมูลรายชือ
่ ผู้ประกอบวิชาชีพทีไ่ ด้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งและ
จำานวนหน่วยกิตทีไ่ ด้รับ

(2) ส่งรายงานกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งและข้อมูลตาม (๑) แก่สภาเภสัชกรรม

หรือสถาบันหลักทีใ่ ห้การรับรอง

ข้อ ๑๕. หลักเกณฑ์วิธีการในการยืน


่ คำาขอต่อสภาเภสัชกรรม เพือ
่ เป็นสถาบันหลัก สถาบันสมทบ
หรือการขอจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนือ
่ งตามข้อ ๑๓ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีส
่ ภา
เภสัชกรรมประกาศกำาหนด

ข้อ ๑๖. สถาบันหลักทีไ่ ด้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรมแล้ว จะมีอายุการรับรอง ๕ ปี และ


สภาเภสัชกรรมมีสิทธิออกประกาศเพิกถอนการรับรองได้ หากสถาบันหลักไม่ปฏิบัติตามเกณฑ์ทีส
่ ภา
เภสัชกรรมประกาศกำาหนด

44
ข้อ ๑๗. สถาบันสมทบมีอายุการรับรองตลอดตามทีส
่ ถาบันหลักยังได้รับการรับรองจากสภา
เภสัชกรรมอยู่
เว้นแต่จะพ้นสภาพตามข้อ ๓๓

ข้อ ๑๘. สถาบันสมทบทีส


่ ถาบันหลักถูกเพิกถอนโดยสภาเภสัชกรรม ให้สถาบันสมทบดังกล่าว
สมัครเข้าร่วมกับสถาบันหลักอืน
่ ภายในระยะเวลา ๑ ปี นับจากวันทีส
่ ภาเภสัชกรรมออกประกาศเพิก
ถอนสถาบันหลัก โดยถือว่าการดำาเนินกิจกรรมใดๆของสถาบันสมทบในระยะเวลาดังกล่าว ได้รับการ
รับรองจากสภาเภสัชกรรม

หมวดที ่ ๓
การรับรองและกำาหนดหน่วยกิตของการศึกษาต่อเนือ
่ ง สำาหรับการศึกษาด้วยตนเอง

ข้อ ๑๙. ผู้ศึกษาบทความทางวิชาการด้วยตนเองในบทความทางวิชาการทีจ


่ ัดทำาขึน
้ โดยสถาบัน
หลักและสถาบันสมทบ ให้สถาบันหลักเป็นผู้รับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งตามทีส
่ ภา
เภสัชกรรมประกาศกำาหนด

ข้อ ๒๐. ผู้ศึกษาบทความทางวิชาการด้วยตนเองในบทความทางวิชาการทีย


่ ังไม่ได้รับการรับรอง
และกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งจากสภาเภสัชกรรมแต่ได้รับการรับรองหน่วยกิตการศึกษาต่อ
เนือ
่ งจากองค์การอืน
่ แล้ว ให้ยน
ื่ ขอรับการรับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งต่อสถาบันหลัก

ข้อ ๒๑. บทความทางวิชาการ ตามข้อ ๒๐ ทีจ


่ ะนำามาขอรับการรับรองและกำาหนดหน่วยกิตการ
ศึกษาต่อเนือ
่ ง
ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องทำาการศึกษาด้วยตนเองก่อนวันหมดอายุของบทความนัน

ข้อ ๒๒. เอกสารทีต


่ ้องส่งเพือ
่ ขอรับการรับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งสำาหรับ
บทความทางวิชาการตามข้อ ๒๐ มีดังนี ้

(1) บทความทางวิชาการทีม่ ีการเผยแพร่ ฉบับเต็ม

(2) คำาถามของบทความ
(3) เอกสารรับรองการได้หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ่ งจากองค์การนัน้ ๆ
(4) เอกสารอืน่ ตามทีส
่ ภาเภสัชกรรมกำาหนด

ข้อ ๒๓. การพิจารณารับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ


่ งของบทความทางวิชาการ
นัน
้ ให้พิจารณาตามแนวทางดังนี ้

(1) เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องหรือส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการประกอบวิชาชีพ

เภสัชกรรม ตามความหมายในมาตรา ๔ ของ พ.ร.บ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.

45
๒๕๓๗ หรือเกีย
่ วข้องกับจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ หรือเป็นเรือ
่ งทีเ่ กีย
่ วกับ
ระบบสาธารณสุข

(2) ความทันสมัยของเนือ้ หา
(3) มีการอ้างเอกสารอ้างอิงในเนือ้ หาชัดเจน พร้อมรายการเอกสารอ้างอิงท้าย
บทความ

(4) ความครอบคลุมและความต่อเนือ่ งของเนือ้ หา


ในกรณีทีบ
่ ทความทางวิชาการมีลักษณะตามเกณฑ์ข้างต้น ให้พิจารณากำาหนดจำานวนหน่วยกิต
การศึกษาต่อเนือ
่ งทีค
่ ำานวณได้ตามสูตรคำานวณทีส
่ ภาเภสัชกรรมประกาศกำาหนด

หมวดที ่ ๔
การรับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งของการเข้าประชุมวิชาการ

ข้อ ๒๔. ผู้เข้าประชุมวิชาการในการประชุมวิชาการทีจ


่ ัดขึน
้ โดยสถาบันหลักและสถาบันสมทบ

ให้สถาบันหลักเป็นผู้รับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งตามทีส
่ ภาเภสัชกรรมประกาศกำาหนด

ข้อ ๒๕. ผู้เข้าประชุมวิชาการ ในการประชุมทีไ่ ม่ได้ขอรับการรับรองและกำาหนดหน่วยกิตการ


ศึกษาต่อเนือ
่ งจากสถาบันหลักว่าเป็นการประชุมทีไ่ ด้หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ ง ให้ยืน
่ ขอรับการรับรอง
และกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งต่อสถาบันหลักโดยยืน
่ คำาขอต่อสถาบันหลักภายใน ๑๘๐ วัน นับ
แต่วันสิน
้ สุดการประชุม

ข้อ ๒๖.เอกสารทีต
่ ้องส่งเพือ
่ ขอรับการรับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งสำาหรับการ
ประชุมวิชาการตามข้อ ๒๕ มีดังนี ้

(1) กำาหนดการและรายละเอียดของการประชุม
(2) หลักฐานการเข้าประชุม
(3) เอกสารหรือหลักฐานอืน่ เช่น เอกสารประกอบการประชุม ตามทีส
่ ภาเภสัชกรรม
กำาหนด

ข้อ ๒๗. การพิจารณารับรองและกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ


่ งของการประชุมวิชาการนัน

ให้พจ
ิ ารณาตามแนวทางดังนี ้

(1) เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องหรือส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการประกอบวิชาชีพ

เภสัชกรรม ตามความหมายในมาตรา ๔ ของ พ.ร.บ.วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.๒๕๓๗


หรือเกีย
่ วข้องกับจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ หรือเป็นเรือ
่ งทีเ่ กีย
่ วกับระบบ
สาธารณสุข

46
(2) ความทันสมัยของหัวข้อประชุม
(3) ความครอบคลุมและความต่อเนือ่ ง
(4) วิทยากรมีความรู้ความสามารถเชิงวิชาการในหัวข้อทีบ่ รรยาย
(5) เวลาทีใ่ ช้มีความเหมาะสมกับหัวข้อและเนือ้ หา

หมวดที ่ ๕
การกำาหนดจำานวนหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ ง

ข้อ ๒๘. บทความทางวิชาการทีไ่ ด้รับการรับรองให้กำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ


่ งได้ ให้

กำาหนดจำานวน หน่วยกิตได้ระหว่าง ๑ -๔ หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ


่ งต่อหนึง่ บทความ ทัง้ นีใ้ ห้ใช้หลัก
เกณฑ์และวิธีการทีส
่ ภาเภสัชกรรม ประกาศกำาหนด

ข้อ ๒๙. การเข้าประชุมวิชาการนัน


้ กำาหนดให้ชัว
่ โมงบรรยาย ๑ ชัว
่ โมง เทียบเท่า ๑ หน่วยกิต

การศึกษาต่อเนือ ่ โมง เทียบเท่า ๐.๒๕ หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ


่ ง และการฝึ กปฏิบัติ ๑ ชัว ่ ง

ข้อ ๓๐. การอืน


่ ๆ ให้เป็นไปตามเกณฑ์ทีส
่ ภาเภสัชกรรมประกาศกำาหนดเพิม
่ เติม

หมวดที ่ ๖
กระบวนการได้มาซึง่ หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งของผู้ประกอบวิชาชีพ

ข้อ ๓๑. หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ


่ งอาจได้มาโดยการศึกษาด้วยตนเองตามวิธีการดังนี ้

(1) การทีผ่ ู้ประกอบวิชาชีพศึกษาบทความทางวิชาการทีส่ ถาบันหลักให้การรับรอง


และกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งแล้ว โดยต้องตอบคำาถามท้ายบทความให้ถูก
ต้องอย่างน้อยร้อยละ ๗๐ จึงจะได้รับเอกสารรับรองการได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อ
เนือ
่ งเพือ
่ เก็บไว้เป็นหลักฐาน

(2) การทีผ่ ู้ประกอบวิชาชีพศึกษาบทความทางวิชาการทีไ่ ด้รับการรับรองหน่วยกิต


การศึกษาต่อเนือ
่ งจากองค์การอืน
่ แล้ว แต่ไม่ได้ขอรับการรับรองและกำาหนดหน่วยกิต
การศึกษาต่อเนือ
่ งจากสถาบันหลักไว้ ให้ผู้ประกอบวิชาชีพยืน
่ ขอรับการรับรองและ
กำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งจากสถาบันหลักได้ในภายหลัง

ข้อ ๓๒. หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ


่ ง อาจได้มาโดยการเข้าประชุมวิชาการตามวิธีการดังนี ้

(1) การทีผ่ ู้ประกอบวิชาชีพ เข้าประชุมวิชาการทีส


่ ถาบันหลักให้การรับรองและ
กำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งไว้แล้ว ผู้ประกอบวิชาชีพจะได้รับหน่วยกิตการ
ศึกษาต่อเนือ
่ งเมือ
่ เข้าร่วมประชุมครบตามเกณฑ์ทีส
่ ถาบันหลักกำาหนดและได้รับ

47
เอกสารรับรองการได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งจากผู้จัดประชุมและเก็บเอกสาร
รับรองการได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งไว้เป็นหลักฐาน

(2) การทีผ่ ู้ประกอบวิชาชีพเข้าประชุมวิชาการทีไ่ ม่ได้ขอรับการรับรองและกำาหนด


หน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งจากสถาบันหลัก ให้ผู้ประกอบวิชาชีพยืน
่ ขอรับการรับรอง
และกำาหนดหน่วยกิตการศึกษาต่อเนือ
่ งจากสถาบันหลักได้ในภายหลัง

หมวดที ่ ๗
การพ้นสภาพจากการเป็นสถาบันหลักและสภาบันสมทบ

ข้อ ๓๓. สถาบันหลักและสถาบันสมทบ จะพ้นจากการเป็นสถาบันหลักและสถาบันสมทบในกรณี

(1) เมือ่ พ้นอายุการรับรอง ๕ ปี และไม่ยืน


่ ขอรับการรับรองต่อ

(2) มีประกาศเพิกถอนการเป็นสถาบันหลักหรือสถาบันสมทบ
(3) มีหนังสือลาออกจากการเป็นสถาบันหลักหรือสถาบันสมทบ

ประกาศ ณ วันที ่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๕

นางธิดา นิงสานนท์
นายกสภาเภสัชกรรม

ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรมหรือวุฒิบัตร
ในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบันต่าง ๆ เพือ
่ ประโยชน์ในการสมัครเป็นสมาชิก

พ.ศ. ๒๕๔๓



48
อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๙(๓) มาตรา ๑๒(๒) มาตรา ๒๓(๔)(ด) และด้วยความเห็น

ชอบของสภานายกพิเศษตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ คณะ


กรรมการสภาเภสัชกรรม ออกข้อบังคับเภสัชกรรมว่าด้วยการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาชีพ
เภสัชกรรมหรือวุฒิบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบันต่าง ๆ เพือ
่ ประโยชน์ในการสมัครเป็นสมาชิก ดัง
ต่อไปนี ้

หมวด ๑
บททัว
่ ไป
ข้อ ๑ ในข้อบังคับนี ้
ปริญญา หมายถึง ปริญญาทางเภสัชศาสตร์
ประกาศนียบัตร หมายถึง ประกาศนียบัตรทางเภสัชศาสตร์ ซึง่ เทียบเท่าระดับ
ปริญญา
วุฒิบัตร หมายถึง วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ ซึง่ เป็นการศึกษาต่อเนือ
่ งจาก
ปริญญาหรือประกาศนียบัตรทางเภสัชศาสตร์
รายวิชาทางด้าน หมายถึง รายวิชาทางเภสัชศาสตร์ทีม
่ ีเนือ
้ หาเกีย
่ วข้องกับตัวยา
ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ทีน
่ ำามาใช้เป็นยา วิทยาศาสตร์และ
วิทยาการของยา การวิจัยพัฒนาอุตสาหกรรมยาและอืน

ๆ ทีเ่ กีย
่ วข้อง
รายวิชาทางด้นผู้ป่วย หมายถึง รายวิชาทางเภสัชศาสตร์ทีม
่ ีเนือ
้ หาเกีย
่ วข้องกับการใช้ยา
ในผู้ป่วย ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และวิทยาศาสตร์การ
แพทย์ และอืน
่ ๆ
ทีเ่ กีย
่ วข้อง
รายวิชาทางด้านสังคมและการ หมายถึง รายวิชาทีเ่ กีย
่ วข้องกับทางเภสัชศาสตร์ทีม
่ ีเนือ
้ หา
บริหาร เกีย
่ วกับ พฤติกรรมทีเ่ กีย
่ วข้องทางด้านยา การ
บริหารจัดการด้านยา การคุ้มครองผู้บริโภค
เศรษฐศาสตร์และระบบวิทยาทางยา กฎหมาย
และจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพและอืน
่ ๆ
ทีเ่ กีย
่ วข้อง
การฝึ กปฏิบัติทาง หมายถึง การฝึ กปฏิบัติทางวิชาชีพในสถานทีท
่ ีม
่ ีการประกอบวิชาชีพ
วิชาชีพ แขนงต่าง ๆ หรือสถานทีอ
่ ืน
่ ๆ ทีม
่ ีกิจกรรมปฏิบัติที ่
เกีย
่ วข้องและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพโดยตรง
คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม
การรับรองปริญญา หมายถึง การรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรม
หรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความสามารถในการประกอบ

49
วิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ

หมวด ๒
การยืน
่ ขอการรับรองปริญญา
ข้อ ๒ ผ้ท
ู ีส
่ ำาเร็จการศึกษาทางเภสัชศาสตร์ หรือสถาบันการศึกษาทางเภสัชศาสตร์โดย
ผู้แทนตามกฎหมาย มีสิทธิยืน
่ คำาขอการรับรองปริญญา ต่อสภาเภสัชกรรมได้

ข้อ ๓ ให้ผู้ต้องการยืน
่ คำาขอการรับรองปริญญา ยืน
่ คำาขอตามแบบ สภ.๒๖ ท้ายข้อ
บังคับนี ้ ต่อเลขาธิการสภาเภสัชกรรม โดยให้เริม
่ นับจากวันทีท
่ ีส
่ ำานักงานเลขาธิการสภาเภสัชกรรม ได้
รับคำาขอและหลักฐานตามทีก
่ ำาหนดครอบถ้วนสมบูรณ์เป็นวันทีร
่ ับคำาขอเป็นทางการ

ข้อ ๔ ผ้ย
ู ืน
่ คำาขอการรับรองปริญญา จะต้องยืน
่ คำาของพร้อมหลักฐานดังต่อไปนี ้
(1) ใบปริญญา ประกาศนียบัตรทางเภสัชศาสตร์ หรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความ
ชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หรือตัวอย่างของหลักฐานดังกล่าว กรณีที ่
สถาบันการศึกษาเป็นผู้ยืน
่ ขอการรับรองปริญญา

(2) ใบแจ้งผลการเรียนรายวิชาตามหลักสูตร (Transcript) หรือตัวอย่างของหลัก


ฐาน
ดังกล่าว กรณีทส
ี ่ ถาบันการศึกษาเป็นผู้ยืน
่ ขอการรับรองปริญญา
(3) หลักสูตรการศึกษาและรายละเอียดทีเ่ กีย
่ วข้อง
(4) หลักฐานอืน
่ ๆ ทีข
่ อหรือมีประกาศเพิม
่ เติม

กรณีผู้สำาเร็จการศึกษาเป็นผู้ยืน
่ ขอการรับรองปริญญาด้วยตนเอง จะต้องนำาหลัก
ฐานฉบับจริงมาแสดงด้วย กรณีถ้าไม่ได้มายืน
่ ด้วยตนเองจะต้องมีหนังสือมอบอำานาจในการดำาเนินการ
แทนมาแสดงพร้อมสำาเนาบัตรประชาชนของผู้สำาเร็จการศึกษามาเป็นหลักฐาน

กรณีทห
ี ่ ลักฐานทีไ่ ม่สามารถแสดงหลักฐานตามทีก
่ ำาหนดให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมเป็น
ผู้พิจารณายกเว้นได้เฉพาะกรณีเป็นราย ๆ ไป และให้สรุปข้อเท็จจริงเสนอคณะกรรมการพิจารณาพร้อม
กับการเสนอการรับรองปริญญาดังกล่าว

หมวด ๓
เกณฑ์การรับรองปริญญา

ข้อ ๕ เมือ
่ เลขาธิการสภาเภสัชกรรม ไดรับคำาขอเป็นทางการแล้ว จะต้องเร่งพิจารณาและเสนอ
คณะกรรมการพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการครัง้ แรกหลังครบกำาหนด ๖๐ วันทำาการหลังจากทีไ่ ด้
รับคำาขอแล้ว โดยการพิจารณาให้พิจารณาตามเกณฑ์ทีก
่ ำาหนดหรือจะสอบถามความคิดเห็นจากสถาบัน
การศึกษาทางเภสัชศาสตร์ต่าง ๆ หรือตัง้ ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นคณะทำางานพิจารณาก็ได้ตามความเหมาะสม

กรณีมีเหตุผลความจำาเป็นไม่สามารถเสนอเรือ
่ งต่อคณะกรรมการพิจารณาในระยะเวลาที ่
กำาหนดในวรรคแรก ให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมเสนอต่อคณะกรรมการเพือ
่ ขยายระยะเวลาพิจารณาต่อ

50
ไปได้ตามความเหมาะสม แต่ทัง้ นีร้ ะยะเวลารวมทัง้ สิน
้ ตัง้ แต่รับคำาขอเป็นทางการต้องไม่เกิน ๑๒๐ วัน
ทำาการ

ข้อ ๖ เกณฑ์การรับรองปริญญา ในขัน


้ ตำ่าจะต้องมีโครงสร้างของหลักสูตรทางเภสัชศาสตร์ ดังนี ้

(1) รายวิชาทางวิชาชีพเภสัชศาสตร์ รวมไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และไม่น้อยกว่า


ร้อยละ ๖๕ ของรายวิชาทีศ
่ ึกษารวมตลอดหลักสูตร โดยแบ่งเป็น

- รายวิชาทางด้านผลิตภัณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ หน่วยกิต หรือไม่น้อย


กว่า ๒๕ ของรายวิชาทางวิชาชีพเภสัชศาสตร์ทีศ
่ ึกษาในหลักสูตร

- รายวิชาทางด้านผู้ป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๗ หน่วยกิต หรือไม่น้อยกว่า


ร้อยละ ๓๐ ของรายวิชาทางวิชาชีพเภสัชศาสตร์ทีศ
่ ึกษาในหลักสูตร

- รายวิชาทางด้านสังคมและการบริหาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๒ หน่วยกิต


หรือไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของรายวิชาทางวิชาชีพเภสัชศาสตร์ทีศ
่ ึกษาใน
หลักสูตร

(2) การฝึ กปฏิบัติทางวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ๕๐๐ ชัว


่ โมง หรือไม่น้อยกว่า ๕ หน่วยกิต
กรณีทีจ
่ ะมีการปรับหรือเพิม
่ เติมเกณฑ์การรับรองปริญญาให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์และแนวโน้มของการพัฒนาวิชาชีพเภสัชกรรมให้ออกเป็นประกาศสภาเภสัชกรรม โดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการ

หมวด ๔
การรับรองปริญญา

ข้อ ๗ ให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมสรุป เรือ


่ งคำาขอการรับรองปริญญาเสนอคระ
กรรมการภายในระยะเวลาทีก
่ ำาหนด โดยคณะกรรมการมีอำานาจวินิจฉัยชีข
้ าดอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไป
นี ้

(1) รับรองปริญญา
(2) รับรองปริญญาโดยกำาหนดเงือ่ นไขประกอบ
(3) ไม่รับรองปริญญา
การรับรองปริญญาโดยมีเงือ
่ นไขประกอบจะทำาให้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นสมาชิกสภา
เภสัชกรรม แต่ไม่สามารถขอสอบความรู้เพือ
่ ขอขึน
้ ทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมได้ โดยเป็น
สมาชิกประเภทมีเงือ
่ นไข

ข้อ ๘ ผ้ท
ู ีไ่ ด้รบการรับรองปริญญาโดยกำาหนดเงือ
่ นไขประกอบ จะต้องดำาเนินการให้
ครบถ้วนตามทีก
่ ำาหนดเป็นเงือ
่ นไขไว้ก่อน จึงสามารถทำาหนังสือยืน
่ ต่อเลขาธิการสภาเภสัชกรรม เพือ

พิจารณาออกหนังสือรับรอง เพือ
่ เป็นหลักฐานประกอบการขอเข้าสอบความรู้เพือ
่ ขอขึน
้ ทะเบียนเป็นผู้
ประกอบวิชาชีพได้และให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมแจ้งให้นายกสภาเภสัชกรรมทราบต่อไป

51
ข้อ ๙ มติในการวินิจฉัยชีข
้ าดในเรือ
่ งการรับรองปริญญาให้ออกเป็นประกาศสภา
เภสัชกรรมและแจ้งผู้ยืน
่ คำาขอทราบ

มติของคณะกรรมการให้ถือเป็นทีส
่ ิน
้ สุด ผ้ย
ู ืน
่ คำาขอรับรองปริญญา จะอุทธรณ์ไม่
ได้ยกเว้นกรณีทีม
่ ีหลักฐานข้อมูลใหม่เสนอพิจารณาเท่านัน
้ ให้เลขาธิการสภาเภสัชกรรมสามารถรับคำาขอ
เพือ
่ พิจารณาใหม่ได้

ข้อ ๑๐ กรณีทีส
่ ภาเภสัชกรรมได้พิจารณารับรองปริญญาไปแล้วต่อมาได้ทราบในภาย
หลักว่าหลักฐานทีเ่ สนอเป็นเท็จ ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง หรือเป็นลักฐานทีท
่ ำาปลอมทัง้ หมดหรือเพียง
บางส่วนก็ตามให้สภาเภสัชกรรมเพิกถอนการรับรองและให้ถือเสมือนว่าสภาเภสชกรรมยังไม่เคยรับรอง
ปริญญาดังกล่าว

ข้อ ๑๑ ปริญญาทีส
่ ภาเภสัชกรรมรับรองแล้ว ให้ขน
ึ ้ ทะเบียนไว้เพือ
่ ใช้อ้างอิงต่อไป
และเมือ
่ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ดังกล่าวมีการปรับหลักสูตรการศึกษา หรือสภาเภสัชกรรมมีการ
ประกาศปรับหรือเพิม
่ เติมเกณฑ์การรับรองปริญญาใหม่ จะต้องเสนอขอการรับรองปริญญาต่อสภา
เภสัชกรรมใหม่

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๓

นายภาวิช ทองโรจน์
นายกสภาเภสัชกรรม

52
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

่ นไขในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๐


ว่าด้วยข้อจำากัดและเงือ



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๒๓(๔) ณ และด้วยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษ

ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรมออก

่ นไขในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ไว้ดัง


ข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยข้อจำากัดและเงือ
ต่อไปนี ้
เพือ
่ ให้การปฏิบัติของเภสัชกรผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ในการกระทำาหรือปฏิบัติการทีอ
่ าจ
เกีย
่ วข้องกับสาขาวิชาอืน
่ ๆ เกิดความชัดเจนในขอบเขตการปฏิบัติจึงได้กำาหนดข้อจำากัดในการปฏิบัติ
เฉพาะสำาหรับเภสัชกรและเงือ
่ นไขในการปฏิบัติการกระทำาหรือปฏิบัติการในเรือ
่ งต่าง ๆ ดังกล่าวดังนี ้

ข้อ ๑ การเตรียมยา การผลิตยา การประดิษฐ์ยา

53
๑.1 คัดเลือกและกำาหนดมาตรฐานคุณลักษณะเฉพาะของเภสัชเคมีภัณฑ์ทัง้ ทีเ่ ป็นตัวยา
สำาคัญและตัวยา
ประกอบ

๑.2 จัดทำามาตรฐานสำาหรับวิธีการปฏิบัติในการผลิตยา (Standard Operation


Procedure)
๑.3 พัฒนาสูตรตำารับยา

๑.4 ควบคุมตรวจสอบการผลิตยาให้เป็นไปตามมาตรฐานทีก
่ ำาหนด

ข้อ ๒ การเลือกสรรยา

๒.1 คัดเลือก ประเมินความน่าเชือ


่ ถือและเสนอรายละเอียดข้อมูลเกีย
่ วกับตำารับยาเพือ

การขึน
้ ทะเบียนตำารับยา ในการผลิตหรือนำาสัง่ เข้ายา

๒.2 จัดทำาและกำาหนดมาตรฐานคุณลักษณะเฉพาะของยาสำาหรับการคัดเลือกและจัดหา

๒.3 นำาเสนอข้อมูลด้านยาทีเ่ ก่ยวข้องกับหลักวิชาการทางเภสัชศาสตร์แก่ผู้ประกอบ


วิชาชีพทางการแพทย์สาขาต่าง ๆ เพือ
่ การเลือกสัง่ ใช้ยา

๒.4 ต้องให้ข้อมูลด้านยาทีถ
่ ูกต้องเป็นกลางและมีหลักฐานอ้างอิงทีช
่ ัดเจน เชือ
่ ถือได้และ
สอดคล้องกับระดับของการประกอบวิชาชีพหรือการประกอบโรศิลปะของผู้รับข้อมูล

ข้อ ๓ การวิเคราะห์ยา การควบคุมและประกันคุณภาพ

๓.1 คัดเลือกและพัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์ยาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

๓.2 รับรองคุณภาพและผลการตรวจวิเคราะห์ยา

๓.3 ต้องใช้วิธีการวิเคราะห์ยาทีถ
่ ูกต้องเหมาะสมและมีหลักฐานอ้างอิงทีช
่ ัดเจนเชือ
่ ถือได้

๓.4 ต้องตรวจสอบหลักฐานและผลการตรวจวิเคราะห์ว่าเป็นผลจากการปฏิบัติจริง ทีถ


่ ูก
ต้องชัดเจนก่อนลงนามรับรอง

๓.5 ต้องตรวจสอบมาตรฐานและความเทีย
่ งตรงของเครือ
่ งมืออุปกรณ์ในการตรวจวิเคระห์
ต่าง ๆ เป็นระยะอย่างต่อเนือ
่ ง

๓.6 ต้องจัดเก็บรักษาและส่งมอบยาให้ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐาน
ข้อ ๔ การปรุงยาและจ่ายยาตามใบสัง่ ยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบ
วิชาชีพทันตกรรมหรือผู้ประกอบการบำาบัดโรคสัตว์

๔.1 ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของยาทีจ
่ ะจ่ายและส่งมอบยาให้กับผู้ป่วยทีม
่ า
รับบริการ

54
๔.2 ติดตามและประเมินปัญหาเพือ
่ วางแผนและประสานงานกับผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการแพทย์สาขาอืน
่ ทีเ่ กีย
่ วข้อง ในการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดจากการใช้ยาของผู้ป่วย

๔.3 ให้คำาปรึกษาปัญหาด้านยาแก่ผู้ป่วยและประชาชนทีม
่ ารับบริการ

๔.4 ปรุงยา ผสมยา ตามคำาสัง่ (ใบสัง่ ) ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบ


วิชาชีพทันตกรรมหรือผู้ประกอบการบำาบัดโรคสัตว์

๔.5 ให้คำาปรึกษา แนะนำา และให้ข้อมูลด้านยาแก่บุคลากรทางการแพทย์สาขาต่าง ๆ

๔.6 ต้องจัดให้มีเวชภัณฑ์ทีถ
่ ูกต้องตามกฎหมายและมีคุณภาพตามหลักเกณฑ์วิธีการที ่
ดีในการผลิตยาไว้บริการ

๔.7 ต้องแสดงชือ
่ ยา ความแรง ขนาดการใช้ ทีช
่ ัดเจนทุกครัง้ ทีม
่ ีการจำาหน่าย จ่าย
หรือส่งมอบให้กับผู้มารับบริการ

๔.8 ต้องให้คำาแนะนำาเกีย
่ วกับยาทีจ
่ ่ายหรือส่งมอบให้กับผู้มารับบริการประเด็นต่าง
ๆ ดังนี ้

1) ชือ
่ ยา

2) ข้อบ่งใช้

3) ขนาดและวิธีการใช้

4) ผลข้างเคียง (Side Effect) (ถ้ามี) และอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

(Adverse Drug Reaction) ทีอ


่ าจเกิดขึน

5) ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบัติในการใช้ยาดังกล่าว

6) การปฏิบัติเมือ
่ เกิดปัญหาจากการใช้ยาดังกล่าว

๔.9 ต้องจัดทำารายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาตามแบบฟอร์มที ่
กำาหนด

๔.10 ต้องให้ข้อมูลด้านยาทีถ
่ ูกต้องเป็นกลางและมีหลักฐานอ้างอิงทีช
่ ัดเจน เชือ
่ ถือได้

๔.11 ต้องจัดทำาบันทึกประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย ในกรณีทีพ


่ บว่ายาทีผ
่ ู้ป่วยได้รับอาจ
ก่อนให้เกิดปัญหาจากการใช้ยา

ข้อ ๕ การปรุงยาและการขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา

๕.1 จำาหน่าย จ่ายหรือส่งมอบยาอันตรายยาควบคุมพิเศษ วัตถุออกฤทธิต


์ ่อจิตและ
ประสาท ยาเสพติดให้โทษด้วยตนเอง

๕.2 ให้คำาปรึกษาปัญหาด้านยาแก่ผู้ป่วยและประชาชนทีม
่ ารับบริการ

55
๕.3 ปรุงยา ผสมยา ตามใบสัง่ ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันต
กรรม หรือผู้ประกอบการบำาบัดโรคสัตว์

๕.4 ต้องแสดงตนให้สาธารณชนทราบว่าเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หรือใส่ชุด


ปฏิบัติงานตามทีส
่ ภาเภสัชกรรมกำาหนด

๕.5 ต้องปฏิบัติงานในสถานทีซ
่ ึง่ เหมาะสมต่อการประกอบวิชาชีพ

๕.6 ต้องจัดให้มีเวชภัณฑ์ทีถ
่ ูกต้องตามกฎหมายและมีคุณภาพตามหลักเกณฑ์วิธีการทีด
่ ี
ในการผลิตยาไว้บริการ

๕.7 ต้องเลือกสรรยาทีถ
่ ูกต้องเหมาะสมกับสภาวะการเจ็บป่ วยของผู้ป่วยหรือประชาชน
ทีม
่ ารับบริการเพือ
่ จำาหน่าย จ่ายหรือส่งมอบให้กับผู้มารับบริการ

๕.8 ต้องแสดงชือ
่ ยา ความแรง ขนาดการใช้ ทีช
่ ัดเจนทุกครัง้ ทีม
่ ีการจำาหน่าย จ่าย หรือ
ส่งมอบยาให้กับผู้มารับบริการ

๕.9 ต้องให้คำาแนะนำาเกีย
่ วกับยาทีจ
่ ำาหน่าย จ่าย หรือส่งมอบให้กับผู้มารรับบริการใน
ประเด็นต่าง ๆ ดังนี ้

1) ชือ
่ ยา

2) ข้อบ่งใช้

3) ขนาดและวิธีการใช้

4) ผลข้างเคียง (Side Effect) (ถ้ามี) และอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

(Adverse Drug Reaction) ทีอ


่ าจเกิดขึน

5) ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบัติในการใช้ยาดังกล่าว

6) การปฏิบัติเมือ
่ เกิดปัญหาจากการใช้ยาดังกล่าว

๕.10 ต้องจัดทำารายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาตามแบบฟอร์มทีก
่ ำาหนด

๕.11 ต้องจัดทำาบันทึกประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย ในกรณีทีผ


่ ู้ป่วยได้รับอาจก่อให้เกิด
ปัญหาจากการใช้ยา เมือ
่ เภสัชกรผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ได้มีการปฏิบัติการ
ตามสาขาวิชาชีพเภสัชกรรมในด้านต่าง ๆ ดังทีก
่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ให้ลงลายมือ
พร้อมเลขทีใ่ บประกอบวิชาชีพทีช
่ ัดเจนเพือ
่ การตรวจสอบและอ้างอิงต่อไป

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

56
ประกาศ ณ วันที ่ ๗ เมษายน พ.ศ.
๒๕๔๐
นายบุญอรรถ สายศร
นายกสภาเภสัชกรรม

ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยการรับรองหลักสูตรการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่างๆ
ของวิชาชีพเภสัชกรรม
ของสถาบันทีท
่ ำาการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการ ในสาขาต่างๆ ของวิชาชีพเภสัชกรรม

พ.ศ. ๒๕๔๓



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๙ (๔) และมาตรา ๒๓ (๔) (ด) และด้วยความเห็น


ชอบจากสภานายกพิเศษแห่งสภาเภสัชกรรม ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม

พ.ศ. ๒๕๓๗ สภาเภสัชกรรม จึงออกข้อบังคับสภาเภสัชกรรม ว่าด้วย การรับรองหลักสูตรการฝึ กอบรม


เป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่างๆ ของวิชาชีพเภสัชกรรม ไว้ดังต่อไปนี ้
ข้อ ๑ ข้อบังคับนีเ้ รียกว่า “ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม ว่าด้วย การรับรองหลักสูตรการฝึ กอบรม
เป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่างๆ ของวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบันทีท
่ ำาการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการใน

สาขาต่างๆ ของวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๓”


ข้อ ๒ ในข้อบังคับนี ้
หลักสูตร หมายถึง หลักสูตรการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่างๆ ของ
วิชา
ชีพเภสัชกรรม

57
คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบ หมายถึง คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบ
ความรู้
ตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรม ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การออกหนังสือ
อนุมัติบัตรและวุฒิบัตรแสดงความรู้
ความชำานาญในการประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่างๆ
สถาบัน หมายถึง สถาบันทีท
่ ำาการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่างๆ
ของ
วิชาชีพเภสัชกรรมและได้
รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรม
สถาบันหลัก หมายถึง สถาบันหลักตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยหลัก
เกณฑ์
การออกหนังสืออนุมัติ
บัตรและวุฒิบัตรแสดงความรู้ความ
ชำานาญในการประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่างๆ
สถาบันสมทบ หมายถึง สถาบันสมทบตามข้อบังคับสภาเภสัชกรรมว่าด้วยหลัก
เกณฑ์
การออกหนังสืออนุมัติบัตรและ
วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่างๆ
ข้อ ๓ หลักสูตรทีจ
่ ะได้รับการรับรองตามข้อบังคับนี ้ ต้องมีสาระเกีย
่ วกับ สาขาของ
วิชาชีพเภสัชกรรม คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึ กอบรม และข้อกำาหนดอืน
่ ทีเ่ กีย
่ วข้องตามข้อบังคับสภา
เภสัชกรรม และต้องมีลักษณะเพิม
่ เติม ดังนี ้

(๑) มีระยะเวลาของหลักสูตร ๔ ปี โดยให้คำานวณระยะเวลาของหลักสูตร ๑ ปี เท่ากับ


๓๐
สัปดาห์ และ ๑ สัปดาห์มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๕ วัน หรือ ไม่น้อยกว่า ๓๐
ชัว
่ โมง

(๒) มีหน่วยกิตของหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๒๐ หน่วยกิต

(๓) มีโครงสร้างหลักสูตรทีป
่ ระกอบด้วย ภาคทฤษฎี ไม่น้อยกว่า ๑๐ หน่วยกิต
และภาค
ปฏิบัติ ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต และภาคฝึ กปฏิบัติวิชาชีพรวมแล้วไม่น้อย
กว่า ๑๑๐
หน่วยกิต

58
โครงสร้างรายละเอียดหลักสูตรแต่ละสาขา ให้เป็นไปตามประกาศสภาเภสัชกรรม

(๑) สถาบันหลัก สถาบันสมทบ และสถานฝึ กปฏิบัติวิชาชีพตามหลักสูตร จะต้องได้รับ


การรับ
รองจากสภาเภสัชกรรม

(๒) กิจกรรมการฝึ กปฏิบัติวิชาชีพ ได้แก่การปฏิบัติงานตามลักษณะของสาขาของ


หลักสูตร
และครอบคลุมกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึง่ หรือหลายอย่าง ได้แก่ การสัมมนา
หรือ

Journal Club การนำาเสนอกรณีศึกษา การบริการทางวิชาชีพ การจัดทำา


โครงงานวิชาชีพ
การสอนและดูแลการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษาและเภสัชกร การจัดโครงการ
วิจัยและ
พัฒนา การตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงาน การรายงานผลการปฏิบัติงาน หรือ
กิจกรรมอืน
่ ที ่
เสริมประสบการณ์และทักษะ

(๓) การสอนและหรือการฝึ กปฏิบัติตามหลักสูตร จะต้องสอนโดยและหรืออยู่ภาย


ใต้การ
ควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ซีง่ มีคุณสมบัติตามทีก
่ ำาหนดในข้อ ๔

(๔) หลักสูตรต้องกำาหนดวิธีการประเมินผลทีช
่ ัดเจน และเมือ
่ ผ่านการฝึ กอบรมครบ
ถ้วนตาม
ทีห
่ ลักสูตรกำาหนดแล้ว จะต้องผ่านการประเมินตามทีส
่ ภาเภสัชกรรมกำาหนด
ข้อ ๔ ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทีเ่ ป็นผู้สอน หรือ ควบคุมการฝึ กปฏิบัติวิชาชีพตาม
หลักสูตรต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึง่ อย่างใดดังนี ้

(๑) ได้รับวุฒิบัตรในสาขาเภสัชกรรมหรือสาขาทีเ่ กีย


่ วข้องกับหลักสูตรจากสถาบันทีส
่ ภา
เภสัช
กรรมรับรอง

(๒) ได้รับอนุมัติบัตรในสาขาทีเ่ กีย


่ วข้องจากสภาเภสัชกรรม
ข้อ ๕ ในการพิจารณารับรองหลักสูตร ให้สถาบันหลักทีป
่ ระสงค์จะทำาการฝึ กอบรมตาม
หลักสูตรเสนอหลักสูตรมายังสภาเภสัชกรรม และให้สภาเภสัชกรรมแจ้งไปยังประธานคณะอนุกรรมการ
ฝึ กอบรมและสอบ เพือ
่ พิจารณาและเสนอผลการพิจารณามายังคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม ทัง้ นีใ้ ห้
คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบ ทำาการพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๖ เดือน นับแต่วันทีป
่ ระธานได้
รับเรือ
่ ง

59
แบบและหัวข้อของหลักสูตรทีเ่ สนอให้เป็นไปตามทีค
่ ณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบ
กำาหนด
ให้คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบ พิจารณาตามเกณฑ์ทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับสภา
เภสัชกรรมในส่วนทีเ่ กีย
่ วข้อง และให้พิจารณาคุณสมบัติของผู้สอนและหรือผ้ค
ู วบคุมการฝึ กปฏิบัติวิชาฃีพ
ตลอดจนความพร้อมของสถาบันหลักและสถาบันสมทบด้วย
ในการดำาเนินการของคณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบ ให้คณะอนุกรรมการ กำาหนด
รายละเอียดและแนวปฏิบัติเพิม
่ เติมได้โดยจัดทำาเป็นประกาศของคณะอนุกรรมการ
ข้อ ๖ สถาบันใดจะเปิ ดหลักสูตรได้ นอกจากหลักสูตรนัน
้ ได้รับการรับรองจากสภา
เภสัชกรรมแล้วและสภาเภสัชกรรมจะต้องรับรองวิทยฐานะของสถาบันทีจ
่ ะทำาการฝึ กอบรมนัน
้ ด้วย
ข้อ ๗ เมือ
่ สภาเภสัชกรรม ให้การรับรองหลักสูตรใดแล้วหากหลักสูตรนัน
้ มีการ
เปลีย
่ นแปลงในภายหลังในสาระสำาคัญตามทีค
่ ณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบกำาหนด ให้สถาบัน
หลักนำาเสนอหลักสูตรนัน
้ ต่อสภาเภสัชกรรมเพือ
่ ให้การรับรองก่อน
ข้อ ๘ ในกรณีทีม
่ ีปัญหาในการตีความหรือการปฏิบัติตามข้อบังคับนี ้ ให้คณะกรรมการสภา
เภสัชกรรมเป็นผู้วินิจฉัยและให้มีอำานาจในการออกประกาศหรือกำาหนดหลักเกณฑ์เพือ
่ ดำาเนินการตามข้อ
บังคับนี ้
ให้ขอ
้ บังคับนีม
้ ีผลบังคับใช้นับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ประกาศ ณ วันที ่ ๖ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓

นายภาวิช ทองโรจน์
นายกสภาเภสัชกรรม

60
ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การออกหนังสืออนุมัติบัตรและวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญ
ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ

พ.ศ. ๒๕๔๓



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๙(๖) และ ๒๓(๔)(ฎ) และมาตรา ๒๗ แห่งพระราช

บัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรมด้วยความเห็นชอบของสภานายก


พิเศษแห่งสภาเภสัชกรรม จึงออกข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์การออกหนังสืออนุมัติบัตรและวุฒิบัตรเพือ

แสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ ไว้ดังต่อไปนี ้

หมวด ๑
บททัว
่ ไป

61
ข้อ ๑ ในข้อบังคับนี ้

“อนุมัติบัตร” หมายความว่า หนังสือแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพ


เภสัชกรรมสาขาใดสาขาหนึง่ ซึง่ สภาเภสัชกรรมออกให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามหลักเกณฑ์ วิธี
การและเงือ
่ นไขทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับนี ้

“วุฒิบัตร” หมายความว่า หนังสือแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพ


เภสัชกรรมสาขาใดสาขาหนึง่ ซีง่ สภาเภสัชกรรมออกให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามหลักเกณฑ์วิธี
การและเงือ
่ นไขทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับนี ้

“คณะอนุกรรมการสอบความรู้” หมายความว่า คณะอนุกรรมการสอบความรู้ความ


ชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมเพือ
่ รับอนุมัติบัตรในแต่ละสาขา

“คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้” หมายความว่า คณะอนุกรรมการฝึ กอบรม


และสอบความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมเพือ
่ รับวุฒิบัตรในแต่ละสาขา

“สถาบันหลัก” หมายความว่า สถาบันทีใ่ ห้การฝึ กอบรมเป็นผู้มีความรู้ความชำานาญใน


การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่างที ่ ๆ ทีส
่ ภาเภสัชกรรมรับรอง โดยออกเป็นประกาศสภา
เภสัชกรรม

“สถาบันสมทบ” หมายความว่า สถาบันทีใ่ ห้การฝึ กอบรมเป็นผู้มีความรู้ความชำานาญใน


การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่างที ่ ๆ ทีส
่ ภาเภสัชกรรมรับรอง และอยู่ในกำากับดูแลของสถาบัน
หลัก โดยออกเป็นประกาศสภาเภสัชกรรม
ข้อ ๒ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม มีอำานาจในการ

(๑) อนุมัติหนังสืออนุมัติบัตรและหนังสือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการ
ประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ แก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ทัง้ นีต
้ ามหลักเกณฑ์และเงือ
่ นไขทีก
่ ำาหนดใน
ข้อบังคับนี ้

(๒) รับรองหลักสูตรการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่างๆ ของวิชาชีพ


เภสัชกรรม ของสถาบัน
ทีท
่ ำาการฝึ กอบรมเป็นผู้ชำานาญการในสาขาต่างๆ ของวิชาชีพเภสัชกรรม และรับรองวิทยฐานะของ
สถาบันดังกล่าว

(๓) แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการสอบความรู้เพือ


่ รับอนุมัติบัตร และหรือคณะอนุกรรมการ
ฝึ กอบรมและ
สอบความรู้เพือ
่ รับวุฒิบัตร หรือคณะอนุกรรมการอืน
่ เพือ
่ ทำาหน้าทีต
่ ามทีก
่ ำาหนดในข้อบังคับนี ้

4 (๔) มีอำานาจในการตีความหรือวินิจฉัยกรณีมีปัญหาในการปฏิบัติตามข้อบังคับ
นี ้ ดำาเนินการใดๆ เพือ
่ ให้เป็นไปตามข้อบังคับนี ้

62
หมวด ๒
หนังสืออนุมัติบัตรและวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ

ข้อ ๓ ให้สภาเภสัชกรรมออกหนังสืออนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ แก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ
่ นไขที ่
กำาหนดไว้ในข้อบังคับนี ้
ข้อ ๔ ให้สภาเภสัชกรรมออกหนังสือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ แก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทีผ
่ ่านการฝึ กอบรมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงือ
่ นไขทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับนี ้
ศักดิแ
์ ละสิทธิในวิชาชีพ ของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทีไ่ ด้รับหนังสืออนุมัติบัตรและ
วุฒิบัตร มีศักดิแ
์ ละสิทธิเท่ากัน
ข้อ ๕ สาขาของวิชาชีพเภสัชกรรม ทีส
่ ภาเภสัชกรรมมีอำานาจออกอนุมัติบัตรหรือวุฒิบัตร ได้แก่

(๑) สาขาเทคโนโลยีเภสัชกรรม

(๒) สาขาเภสัชสนเทศ

(๓) สาขาบริบาลทางเภสัชกรรม
ทัง้ นี ้ ให้สภาเภสัชกรรมโดยมติคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม สามารถปรับปรุงชือ
่ สาขา
หรือแก้ไขสาขาดังกล่าวหรือเพิม
่ เติมสาขาของวิชาชีพเภสัชกรรมได้ โดยให้ทำาเป็นประกาศสภาเภสัชกรรม

หมวด ๓
องค์กรรับผิดชอบ

ข้อ ๖ การบริหารจัดการ และการดำาเนินการในการจัดการฝึ กอบรมเพือ


่ รับวุฒิบัตรหรือ
การขอรับอนุมัติบัตรให้ดำาเนินการโดยคณะอนุกรรมการทีก
่ ำาหนดในหมวดนี ้

การบริหารจัดการและการดำาเนินการดังกล่าวให้เป็นไปตามระเบียบและหรือประกาศของ
คณะอนุกรรมการทีเ่ กีย
่ วข้อง
ข้อ ๗ ในการฝึ กอบรมและสอบความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
เพือ
่ ขอรับวุฒิบัตร ให้มีคณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้ ในแต่ละสาขาประกอบด้วยประธาน

63
คณะอนุกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขานัน
้ ๆ มีจำานวนสาขาละไม่น้อยกว่า ๗ คน แต่ไม่เกิน ๑๕ คน
ซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม
ให้ประธานเลือกอนุกรรมการ จำานวน ๑ คน เป็นเลขานุการของคณะอนุกรรมการและ
อาจแต่งตัง้ บุคคลอืน
่ เพือ
่ ทำาหน้าทีผ
่ ู้ช่วยเลขานุการด้วยก็ได้
อนุกรรมการแต่ละสาขา ให้มีวาระไม่เกินคราวละ ๓ ปี และอาจได้รับแต่งตัง้ ใหม่ได้
ข้อ ๘ อนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้ ต้องมีคุณสมบัติดังนี ้

(๑) ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม และ

(๒) ได้รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรจากสภาเภสัชกรรมในสาขาทีเ่ กีย


่ วข้อง หรือจากต่าง
ประเทศตามที ่
สภาเภสัชกรรม รับรองหรือให้ความเห็นชอบ หรือมีคุณสมบัติและผลงานตามที ่
คณะกรรมการ
สภาเภสัชกรรมกำาหนด และ

(๓) ปฏิบัติงานหรือทำาการสอนในสาขานัน
้ ๆ หรือทีเ่ กีย
่ วข้องไม่น้อยกว่า 10 ปี และ
ขณะเสนอแต่งตัง้
ยังคงปฏิบัติงานในสาขานัน
้ อยู่ ระยะเวลาดังกล่าวนัน
้ อาจให้รวมถึงระยะเวลาที ่
เข้ารับการฝึ ก
อบรมเพือ
่ ขอรับวุฒิบัตรด้วย และ

(๔) มีความสนใจใฝ่ รู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ และมีคุณธรรมเป็นทีย


่ อมรับใน
วิชาชีพนัน
้ ๆ
ตลอดจนไม่เคยถูกลงโทษหรือมีมลทินมัวหมองในเรือ
่ งจรรยาบรรณวิชาชีพ
คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม อาจกำาหนดคุณสมบัติเพิม
่ เติมของผู้ทีจ
่ ะได้รับแต่งตัง้
เป็นอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้ได้
ข้อ ๙ นอกจากการพ้นตำาแหน่งตามวาระ อนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้พ้นจาก
ตำาแหน่งเมือ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ถูกสัง่ พักหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

(๔) คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม มีมติให้พ้นจากตำาแหน่ง


ข้อ ๑๐ คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้ตามข้อ ๗ มีอำานาจและหน้าที ่ ดังนี ้

(๑) กำาหนดหลักสูตรการฝึ กอบรมเพือ


่ ขอรับวุฒิบัตรหรือพิจารณาหลักสูตรทีเ่ สนอโดย
สถาบัน
หลัก เพือ
่ เสนอต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรมเพือ
่ อนุมัติหรือให้การรับรอง

64
หลักสูตรการฝึ กอบรมทีเ่ สนอให้ครอบคลุมถึง โครงสร้างหลักสูตร การจัดการหลักสูตร
การประเมินผล การประกันและการควบคุมคุณภาพ ตลอดจนข้อมูลใด ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อการจัด
หลักสูตร

(๒) กำาหนดหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันหรือองค์กรทีใ่ ช้เป็นทีฝ


่ ึ กอบรม ตลอดจนเสนอ
ชือ
่ สถาบัน
หรือองค์กรทีใ่ ช้เป็นทีฝ
่ ึ กอบรม ต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรมเพือ
่ อนุมัติ

การรับรองสถาบันดังกล่าว ให้พิจารณาทบทวนทุก 4 ปี และอาจพิจารณาเสนอสภา


เภสัชกรรมให้ยกเลิกการรับรองได้ตามระยะเวลาทีเ่ ห็นสมควร

(๓) ดำาเนินการเพือ
่ จัดการฝึ กอบรมแก่ผู้เข้ารับการฝึ กอบรมและ และควบคุมติดตาม
ประเมินผลให้
เป็นไปตามเป้าหมาย และมีอำานาจออกคำาสัง่ หรือประกาศเพือ
่ ดำาเนินการใด ๆ ภายใต้ขอบเขตของอำานาจ
และหน้าที ่ หรือประสานงานในเรือ
่ งดังกล่าว

(๔) เสนอผลการฝึ กอบรมและหรือการสอบต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม เพือ


่ ขอ
อนุมัติวุฒิบัตร
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีค
่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรมกำาหนด

(๕) อาจแต่งตัง้ คณะทำางานหรือบุคคลเพือ


่ ทำาหน้าทีอ
่ ันอยู่ในขอบเขตอำานาจหน้าทีข
่ อง
คณะ
อนุกรรมการได้

(๖) ออกประกาศของคณะอนุกรรมการทีอ
่ ยู่ในอำานาจหน้าทีพ
่ ร้อมทัง้ กำาหนดหลักเกณฑ์
และแนว
ปฏิบัติเพิม
่ เติมได้

(๗) หน้าทีอ
่ ืน
่ ๆ ตามทีค
่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรมมอบหมาย
ข้อ ๑๑ ในการขอสอบความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม เพือ
่ ขอรับอนุมัติ
บัตร สำาหรับผู้มีสิทธิสอบตามข้อ ๑๙ ให้มีคณะอนุกรรมการสอบความรู้ ในแต่ละสาขา ซึง่ คณะ
กรรมการสภาเภสัชกรรมแต่งตัง้
จำานวนอนุกรรมการ วาระในการดำารงตำาแหน่ง คุณสมบัติของผู้ได้รับแต่งตัง้ และการพ้น
จากตำาแหน่ง ให้นำาความในข้อ ๗ ข้อ ๘ และข้อ ๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

การสอบเพือ
่ รับอนุมัติบัตรของผู้มีสิทธิสอบตามข้อ ๑๙(๓) ให้เป็นไปตามทีก
่ ำาหนดไว้ใน
ระเบียบของสภาเภสัชกรรม
ข้อ ๑๒ คณะอนุกรรมการสอบความรู้ ตามข้อ ๑๑ มีอำานาจและหน้าทีด
่ ังนี ้

(๑) ดำาเนินการสอบ ผู้ยน


ื่ คำาขอรับอนุมัติบัตรในแต่ละสาขา

(๒) เสนอผลการสอบต่อคณะกรรมการสภาเภสัชกรรมเพือ
่ พิจารณาอนุมัติ

65
(๓) อาจแต่งตัง้ คณะทำางานหรือคณะบุคคลเพือ
่ ทำาหน้าทีเ่ ฉพาะอันอยู่ในขอบเขตอำานาจ
หน้าทีข
่ อง
คณะอนุกรรมการได้

(๔) หน้าทีอ
่ ืน
่ ๆ ตามทีก
่ ำาหนดไว้ในข้อบังคับนีห
้ รือตามทีค
่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรม
อบหมาย
ข้อ ๑๓ ให้สภาเภสัชกรรมพิจารณาจัดตัง้ วิทยาลัยเภสัชกรรม ภายใน ๑ ปี นับแต่วันทีข
่ ้อบังคับ
นีม
้ ีผลใช้บังคับ เพือ
่ ทำาหน้าทีบ
่ ริหารจัดการและดำาเนินการในการจัดการฝึ กอบรมเพือ
่ รับวุฒิบัตรหรือการ
จัดการเพือ
่ การขอรับอนุมัติบัตร
เมือ
่ วิทยาลัยเภสัชกรรมจัดตัง้ ขึน
้ โดยออกเป็นประกาศของสภาเภสัชกรรมแล้วให้
อำานาจหน้าทีแ
่ ละการใด ทีก
่ ำาหนดไว้ในหมวดที ่ ๓ ตลอดจน ทีเ่ ป็นหน้าทีข
่ องคณะอนุกรรมการอืน
่ ๆ เป็น
ของวิทยาลัยเภสัชกรรม ทัง้ นีเ้ มือ
่ พ้น ๙๐ วัน หลังจากการประกาศจัดตัง้ วิทยาลัยเภสัชกรรม
การกำาหนดจำานวนวิทยาลัยเภสัชกรรม และการแบ่งโครงสร้างองค์กรของวิทยาลัย
เภสัชกรรม ให้เป็นไปตามทีค
่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรมกำาหนด
การบริหารจัดการและการกำาหนดแนวปฏิบัติอืน
่ ๆ ของวิทยาลัยเภสัชกรรม ให้ออกเป็น
ระเบียบของ
สภาเภสัชกรรม

หมวด ๔
การเข้ารับการฝึ กอบรมเพือ
่ รับวุฒิบัตร

ข้อ ๑๔ ผู้สมัครเข้ารับการฝึ กอบรมในสาขาต่าง ๆ ของวิชาชีพเภสัชกรรม เพือ


่ รับวุฒิบัตร
ต้องมีคุณสมบัติดังนี ้

(๑) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม และ

(๒) เป็นผู้ปฏิบัติงานในสาขาทีจ
่ ะขอเข้ารับการฝึ กอบรมหรือปฏิบัติงานหรือทำาการสอน
เกีย
่ วข้องกับ
สาขาทีจ
่ ะขอเข้ารับการฝึ กอบรม โดยมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานดังกล่าว เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี
หรือ

(๓) มีคุณสมบัติและผลงานตามทีค
่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรมกำาหนด โดยให้ออก
เป็นประกาศ
สภาเภสัชกรรม

66
ข้อ ๑๕ ผู้สมัครเข้ารับการฝึ กอบรม ต้องยืน
่ ใบสมัครตามแบบที ่ คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและ
สอบความรู้กำาหนด
การคัดเลือกผ้ส
ู มัคร เพือ
่ เข้ารับการฝึ กอบรมในสาขาใด ให้เป็นไปตามทีค
่ ณะ
อนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้กำาหนด
ข้อ ๑๖ การรับสมัครเพือ
่ ฝึ กอบรมนี ้ ให้คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้ประกาศรับ
สมัครอย่างน้อยปี ละ ๑ ครัง้ นับแต่ปีทีเ่ ริม
่ การฝึ กอบรมตามข้อบังคับนี ้
ในกรณีทีม
่ ีเหตุผลและความจำาเป็นทีไ่ ม่สามารถจัดการฝึ กอบรมได้ ให้คณะอนุกรรมการ
ฝึ กอบรมและสอบความรู้เสนอขอความเห็นชอบต่อสภาเภสัชกรรม
ข้อ ๑๗ ผ้ท
ู ีผ
่ ่านการคัดเลือกให้เข้าฝึ กอบรมในสาขาต่างๆ จะต้องเข้ารับการฝึ กอบรมตาม
หลักสูตร หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือ
่ นไขทีก
่ ำาหนดในแต่ละสาขา

หมวด ๕
การสอบความรู้ความชำานาญเพือ
่ รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตร

ข้อ ๑๘ ผู้มีสิทธิยน
ื่ คำาขอเพือ
่ สอบความรู้ความชำานาญ เพือ
่ ขอรับวุฒิบัตรจะต้องผ่านการฝึ ก
อบรมครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ
่ นไขทีค
่ ณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้กำาหนด
ข้อ ๑๙ ผู้มีสิทธิสอบเพือ
่ รับอนุมัติบัตร จะต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม และมีคุณสมบัติ
อย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี ้

(๑) เป็นผู้ได้รับหนังสืออนุมัติบัตรหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการ
ประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมสาขานัน
้ ๆ จากสถาบันในต่างประเทศทีส
่ ภาเภสัชกรรมรับรอง

(๒) เป็นผู้ปฏิบัติงานหรือทำาการสอนทีเ่ กีย


่ วข้องในสาขานัน
้ ๆ มาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า
๑๐ ปี

(๓) เป็นผู้ปฏิบัติงานหรือทำาการสอนทีเ่ กีย


่ วข้องในสาขานัน
้ ๆ ตามระยะเวลา
คุณสมบัติ และมี
ผลงานตลอดจนคุณภาพงานตามทีส
่ ภาเภสัชกรรมกำาหนด
ข้อ ๒๐ ให้ผู้มีสิทธิยืน
่ คำาขอตามข้อ ๑๙ ยืน
่ คำาขอตามแบบและแนบหลักฐานตามทีค
่ ณะ
อนุกรรมการทีเ่ กีย
่ วข้องกำาหนด และชำาระค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายอืน
่ ๆ
ข้อ ๒๑ วิธีการในการตรวจสอบผู้สมัคร การประเมินคุณสมบัติผู้สมัคร วิธีการสอบ การดำาเนิน
การสอบ ระยะเวลาการสอบ การตัดสินผลการสอบ และรายละเอียดอืน
่ ๆ ให้เป็นไปตามทีค
่ ณะ
อนุกรรมการทีเ่ กีย
่ วข้องกำาหนด

67
ข้อ ๒๒ ให้คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบความรู้ คณะอนุกรรมการสอบความรู้ คณะ
อนุกรรมการ และคณะทำางานอืน
่ ทีเ่ กีย
่ วข้องได้รับค่าใช้จ่ายในการดำาเนินการตามระเบียบทีส
่ ภา
เภสัชกรรมกำาหนด

หมวด ๖
แบบหนังสืออนุมัติบัตรและวุฒิบัตร

ข้อ ๒๓ ให้ใช้แบบหนังสืออนุมัติบัตรและวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ ตามแบบทีก
่ ำาหนดท้ายข้อบังคับนี ้

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันทีป


่ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น

ประกาศ ณ วันที ่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๓

นายภาวิช ทองโรจน์
นายกสภาเภสัชกรรม

68
สภ. ๒๗
วุฒิบัตร
แสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

อาศัยอำานาจตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พุทธศักราช ๒๕๓๗


สภาเภสัชกรรมออกหนังสือวุฒิบัตรให้ไว้แก่

--------------------------------------------------------------------------

ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ใบอนุญาตเลขที ่ ………… ลงวันที ่ ………. เดือน …………………… พ.ศ.

…………..

เพือ
่ แสดงว่า
เป็นผู้มีความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

สาขา …………………………………………………………….

วุฒิบัตรเลขที ่ ……………………………..

มีเกียรติศักดิแ
์ ละสิทธิแห่งวุฒิบัตรภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของ
สภาเภสัชกรรมทุกประการ

ให้ไว้ ณ วันที ่ ………………. เดือน ………………………….. พ.ศ. ……………..

………………………………………..
นายกสภาเภสัชกรรม

69
…………………………………………………….
…………………..……………………………….
ประธานคณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบ เลขาธิการสภา
เภสัชกรรม
สาขา ………………………………………………

สภ. ๒๘
อนุมัติบัตร
แสดงความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

อาศัยอำานาจตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พุทธศักราช 2537


สภาเภสัชกรรมออกหนังสืออนุมัติบัตรให้ไว้แก่

--------------------------------------------------------------------------

ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ใบอนุญาตเลขที ่ ………… ลงวันที ่ ………. เดือน …………………… พ.ศ.

…………..

เพือ
่ แสดงว่า
เป็นผู้มีความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

สาขา …………………………………………………………….

อนุมัติบัตรเลขที ่ ……………………………..

มีเกียรติศักดิแ
์ ละสิทธิแห่งอนุมัติบัตรภายใต้กฎหมายและข้อบังคับของ
สภาเภสัชกรรมทุกประการ

70
ให้ไว้ ณ วันที ่ ………………. เดือน ………………………….. พ.ศ. ……………..

………………………………………..
นายกสภาเภสัชกรรม

…………………………………………………….
……………………………………….
ประธานคณะอนุกรรมการสอบความรู้
เลขาธิการสภาเภสัชกรรม
สาขา ………………………………………………

ข้อบังคับสภาเภสัชกรรม

ว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๘



อาศัยอำานาจตามความในมาตรา ๒๓(๔) (ฎ) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม

พ.ศ. ๒๕๓๗ คณะกรรมการสภาเภสัชกรรม โดยความเห็นของสภานายกพิเศษ จึงออกข้อบังคับว่าด้วย


จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมไว้ดังต่อไปนี ้

หมวด ๑
หลักการทัว
่ ไป

71
ข้อ ๑. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมย่อมดำารงตนให้สมควรในสังคมโดยธรรมและเคารพต่อกฎหมายของ
บ้านเมือง

ข้อ ๒. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมย่อมไม่ประพฤติหรือกระทำาการใด ๆ อันเป็นเหตุให้เสือ


่ มเสีย
เกียรติศักดิแ
์ ห่งวิชาชีพ

ข้อ ๓. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมย่อมประกอบวิชาชีพด้วยเจตนาดี โดยไม่คำานึงถึงฐานะ เชือ


้ ชาติ
ศาสนา สังคม หรือลัทธิการเมือง

ข้อ ๔. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พึงสร้างทัศนคติและความเข้าใจต่อเพือ


่ นมนุษย์ และสังคม นำาความ
รู้ด้านสังคมศาสตร์
พฤติกรรมศาสตร์ มาประยุกต์ในการประกอบอาชีพ

ข้อ ๕. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม พึงพยายามแสวงหาความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการต่าง ๆ เพือ



การพัฒนาองค์กร และ
วิชาชีพให้ทันต่อยุคสมัย

หมวด ๒
การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

ข้อ ๖. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในระดับทีด
่ ี
ทีส
่ ุด

ข้อ ๗. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่จูงใจหรือชักชวนให้มารับบริการทางวิชาชีพเภสัชกรรมเพือ
่ ผล
ประโยชน์ของตน

ข้อ ๘. ผุ้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องปฏิบัติต่อผู้มารับบริการโดยสุภาพและปราศจากการบังคับขู่เข็ญ

ข้อ ๙. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่หลอกลวงหรือให้คำารับรออันเป็นเท็จหรือให้ความเห็นโดยไม่
สุจริตในเรือ
่ งใด ๆ ภายใต้อำานาจหน้าทีแ
่ ก่สาธารณชน หรือผู้มารับบริการให้หลงเข้าใจผิด เพือ

ประโยชน์ของตน

ข้อ ๑๐. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องประกอบวิชาชีพ โดยคำานึงถึงความปลอดภัยและเศรษฐานะของ


ผู้ป่วยหรือผู้มารับ
บริการ

ข้อ ๑๑. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่ใช้หรือสนับสนุนการใช้ยาตำารับลับ

ข้อ ๑๒. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่เปิ ดเผยความลับของผู้มารับบริการซึง่ ตนทราบมาเนือ


่ งจาก
การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม เว้นแต่ความยินยอมของผู้มารับบริการหรือเมือ
่ ต้องปฏิบัติตาม
กฎหมายหรือตามหน้าที ่

72
ข้อ ๑๓. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่ใช้หรือสนับสนุนให้มีการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
หรือการประกอบโรคศิลปะ โดยผิดกฎหมาย

ข้อ ๑๔. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องปฏิบัติตามข้อจำากัดและเงือ


่ นไขการประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรม ทีค
่ ณะกรรมการสภาเภสัชกรรมกำาหนดโดยเคร่งครัด

หมวด ๓
การโฆษณาการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม

ข้อ ๑๕. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่โฆษณา ใช้ จ้าง หรือยินยอมให้ผู้อืน


่ โฆษณาการประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรม ความรู้ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมของตน หรือ
ของผู้อืน

เว้นแต่

(1) การแสดงผลงานทางวิชาการ

(2) การแสดงผลงานในหน้าที ่ หรือในการบำาเพ็ญประโยชน์สาธารณะ

(3) การประกาศเกียรติคุณเป็นทางการโดยสถาบันวิชาการ สมาคม หรือมูลนิธิ


ทัง้ นี ้ ต้องละเวันการแสวงหาประโยชน์ทีจ
่ ะเกิดต่อการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมส่วนบุคคล

ข้อ ๑๖. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมอาจแสดงข้อความเกีย


่ วกับการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมของตนที ่
สถานประกอบวิชาชีพได้เพียงข้อความเฉพาะเรือ
่ งต่อไปนี ้

(1) ชือ่ นามสกุล และอาจมีคำาประกอบชือ


่ ได้เพียงคำาว่าเภสัชกร เภสัชกรหญิง หรืออักษรย่อ
ของคำาดังกล่าว ตำาแหน่งทางวิชาการ ฐานันดรศักดิ ์ ยศ และบรรดาศักดิ ์

(2) ชือ่ ปริญญา วุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติ หรือหนังสือแสดงคุณวุฒอ


ิ ย่างอืน
่ ซึง่ ตนได้รับ
จากสภาเภสัชกรรม หรือสถาบันนัน
้ ๆ

(3) สาขาของวิชาชีพเภสัชกรรม
(4) เวลาทำาการ
ข้อ ๑๗. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมอาจแจ้งความการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมเฉพาะการ
แสดงทีอ
่ ยู่ ทีต
่ ัง้ สถานประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม หมายเลขโทรศัพท์ หรือเครือ
่ งมือสือ
่ สารอืน

และหรือข้อความทีอ
่ นุญาตตามข้อ ๑๖

ข้อ ๑๘.ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมผู้ทำาการเผยแพร่หรือตอบปัญหาทางสือ
่ มวลชน ถ้าแสดงตนว่าเป็นผู้
ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ต้องไม่แจ้งสถานประกอบวิชาชีพส่วนตัวเป็นทำานองการ
โฆษณา
และต้องไม่มีการแจ้งความตามข้อ ๑๗ ในทีเ่ ดียวกันหรือขณะเดียวกันนัน
้ ด้วย

73
ข้อ ๑๙. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องระมัดระวัง มิให้การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมของตน
แพร่ออกไปในสือ
่ มวลชนเป็นทำานองโฆษณาความรู้ความสามารถ

หมวด ๔
การปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพ

ข้อ ๒๐. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องยกย่องให้เกียรติเคารพในศักดิศ


์ รีซึง่ กันและกัน

ข้อ ๒๑. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่ทับถมให้ร้ายหรือกลัน


่ แกล้งกัน

ข้อ ๒๒.ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่ชักจูงผู้มารับบริการของผู้อืน
่ มาเป็นของตน

หมวด ๕
การปฏิบัติต่อผู้ร่วมงาน

ข้อ ๒๓ ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมพึงยกย่องให้เกียรติและเคารพในศักดิศ
์ รีของผู้ร่วมงาน

ข้อ ๒๔. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมต้องไม่ทับถมให้ร้าย หรือกลัน


่ แกล้งผู้ร่วมงาน

ข้อ ๒๕. ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมพึงส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพของผู้ร่วมงาน

ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๘

นายบุญอรรถ สายศร
นายกสภาเภสัชกรรม

74
มาตรฐานร้านยา

(Standard of Drugstores)
โครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพร้านยา

(Community Pharmacy Development and Accreditation)


โดย
สภาเภสัชกรรม

(Pharmacy Council)

หลักการและเหตุผล
ร้านยาเป็นหน่วยหนึง่ ของระบบสุขภาพทีอ
่ ยู่ใกล้ชิดประชาชน ไม่เพียงแต่ทำาหน้าทีด
่ ้านการกระ
จายยาเท่านัน
้ แต่ยังมีบทบาทสำาคัญเปรียบเสมือนเป็น “ทีพ
่ ึง่ ด้านสุขภาพของชุมชน” เป็นทางเลือกหนึง่

ของประชาชนในการใช้บริการเมือ
่ มีอาการหรือเจ็บป่ วยเบือ
้ งต้น (common illness) นอกเหนือจาก

75
การจำาหน่ายยา ร้านยายังเป็นแหล่งทีส
่ ามารถให้คำาแนะนำาในการดูแลสุขภาพตนเอง ตลอดจนการแนะนำา
และส่งต่อไปยังแพทย์ผู้เชีย
่ วชาญตามความเหมาะสม สถานการณ์ประเทศไทยมีร้านยาจำานวนมาก และ
กระจายในเขตต่างๆทัว
่ ประเทศ เป็นส่วนหนึง่ ของระบบสาธารณสุข โดยส่วนมากจะเปิ ดบริการตลอดทัง้
วัน ทำาให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพจากร้านยาได้โดยง่าย ประกอบกับร้านยาเป็นหน่วยหนึง่ ในภาค
เอกชน การบริหารจัดการหรือการดำาเนินการต่าง ๆ จึงสามารถช่วยประหยัดงบประมาณการคลังของรัฐ
ในการดูแลสุขภาพของคนไทยซึง่ มีแนวโน้มทีเ่ พิม
่ มากขึน
้ มาโดยตลอดได้
ร้านยาแผนปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ
่ งตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีรูปแบบการให้
บริการทีห
่ ลากหลายแตกต่างกัน ไม่ว่าจะพิจารณาจากทำาเลทีต
่ ัง้ การตกแต่งร้าน ราคายา การมีเภสัชกร
อยู่ปฏิบัติหน้าที ่ เป็นต้น ความแตกต่างของคุณภาพการบริการของร้านยาเป็นประเด็นหนึง่ ทีส
่ าธารณชน
ให้ความสนใจ ทัง้ นีเ้ พือ
่ ให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค หรือ ผู้ป่วย มาตรฐานร้านยาจึงถูก
พัฒนาขึน
้ จากข้อมูลหลักฐานและรูปแบบร้านยาทีพ
่ ึงประสงค์โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต
ทีม
่ ีการปรับรือ
้ ระบบสุขภาพของประเทศโดยรวม ทัง้ นีโ้ ดยมีความมุ่งหมายทีส
่ ำาคัญในการพัฒนาร้านยาให้
สามารถเป็นหน่วยบริการหนึง่ ในเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ภายใต้การสร้างหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้าซึง่ ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้ตามความจำาเป็นและมีเสรีในการ
เลือกใช้บริการได้ตามความพึงพอใจ อย่างไรก็ตามประเด็นสำาคัญในการดำาเนินการคือ ระบบตรวจสอบ
และควบคุมคุณภาพบริการ ซึง่ นับเป็นสิง่ จำาเป็นทีก
่ ่อให้เกิดบริการทีด
่ ีมีคุณภาพ
วัตถุประสงค์

1. เพือ
่ ใช้เป็นแนวทางการบริบาลทางเภสัชกรรมของร้านยา โดยมุ่งหวังให้เกิดการบริการทีม
่ ี
คุณภาพ ก่อให้เกิดผลลัพท์ทีด
่ ีต่อสุขภาพ เป็นทีย
่ อมรับและเกิดความเชือ
่ ถือจากประชาชน และสังคมโดย
รวม

2. เพือ
่ เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการประเมิน ติดตาม ตรวจสอบเพือ
่ การพัฒนาและรับรองคุณภาพ
การบริการของร้านยา

3. เพือ
่ เป็นแนวทางการพัฒนาความพร้อมของร้านยาเพือ
่ เข้าสู่การเป็ฯหน่วยบริการของเครือข่าย
ระบบบริการสุขภาพภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

พันธกิจ
ร้านยาจะเป็นทีพ
่ ึง่ ด้านสุขภาพของชุมชนโดยการจัดหาและให้บริการด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ให้คำาแนะนำาปรึกษาเพือ
่ การรักษา การป้องกัน และการสร้างเสริมสุขภาพ รวมถึงการให้ข้อมูลทีถ
่ ูกต้อง
เหมาะสม บนพืน
้ ฐานของการจัดการทีม
่ ีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับจริยธรรม โดยมีเป้าหมายให้ประชาชน
และสังคมได้มีการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเกิดความปลอดภัย

มาตรฐานร้านยา

76
ร้านยา เสมือนหนึง่ เป็น “ทีพ
่ ึง่ ด้านสุขภาพของชุมชน” เพือ
่ ให้ประสบความสำาเร็จในการให้บริการ
สุขภาพตามวัตถุประสงค์ จักต้องประกอบด้วยมาตรฐานต่าง ๆ ดังนี ้

มาตรฐานที ่ 1 สถานที ่ อุปกรณ์ และสิง่ สนับสนุนบริการ

มาตรฐานที ่ 2 การบริหารจัดการเพือ
่ คุณภาพ

มาตรฐานที ่ 3 การบริการเภสัชกรรมทีด
่ ี

มาตรฐานที ่ 4 การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และจริยธรรม

มาตรฐานที ่ 5 การให้บริการและการมีส่วนร่วมในชุมชนและสังคม

มาตรฐานที ่ 1 สถานที ่ อุปกรณ์ และสิง่ สนับสนุนบริการ


ความมุ่งหมายของมาตรฐานนีเ้ พือ
่ ให้มีองค์ประกอบทางกายภาพทีเ่ หมาะสมและสนับสนุนให้เกิด
การบริการทีม
่ ีคุณภาพ โดยมีการจัดแบ่งพืน
้ ทีเ่ ป็นสัดส่วนทีเ่ พียงพอและเหมาะสมสำาหรับการให้บริการ
แสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดระหว่างพืน
้ ทีท
่ ีต
่ ้องปฏิบัติการโดยเภสัชกร และพืน
้ ทีบ
่ ริการอืน
่ ๆ มีการจัด
หมวดหมู่ของยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการเก็บรักษาทีเ่ อือ
้ ต่อการรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตลอดจน
ต้องจัดหาอุปกรณ์ และสิง่ สนับสนุนการให้บริการทีด
่ ีแก่ประชาชน โดยมีรายละเอียดของมาตรฐานดังนี ้

1.1 สถานที ่

1.1.1 ต้องเป็นสถานทีม
่ ัน
่ คง แข็งแรง มีพืน
้ ทีเ่ พียงพอแก่การประกอบกิจกรรม มีอาณา
บริเวณแยกจากสถานทีแ
่ วดล้อมเป็นสัดส่วน

1.1.2 มีความสะอาด มีแสงสว่างเหมาะสม อากาศถ่ายเท รวมถึงมีระบบหรืออุปกรณ์


ป้องกันอัคคีภัย

1.1.3 มีการจัดการควบคุมสภาวะแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่อการรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์

1.1.4 มีบริเวณทีจ
่ ัดวางยาทีต
่ ้องปฏิบัติการโดยเภสัชกรเท่านัน
้ และเป็นทีร
่ ับรู้ของผู้รับ
บริการอย่างชัดเจน

1.1.5 มีบริเวณให้คำาแนะนำาปรึกษาทีเ่ ป็นสัดส่วน

1.1.6 มีบริเวณแสดงสือ
่ ให้ความรู้เรือ
่ งสุขภาพ ในกรณีจัดวางเอกสารหรือติดตัง้ สือ
่ ทีม
่ ุ่ง
การโฆษณาให้มีพืน
้ ทีจ
่ ัดแยกโดยเฉพาะ

1.1.7 มีป้ายสัญญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี ้

ก. ป้ายแสดงว่าเป็น “ร้านยา”

77
ข. ป้ายแสดงชือ
่ รูปถ่าย เลขทีใ่ บประกอบวิชาชีพ และเวลาปฏิบัติการของ
เภสัชกรทีก
่ ำาลังปฏิบัติหน้าที ่ ไว้ในทีเ่ ปิ ดเผย

ค. ป้ายสัญลักษณ์ทีเ่ ป็นไปตามข้อกำาหนดของใบอนุญาตและประเภทของยา

ง. ป้าย “จุดบริการโดยเภสัชกร” แสดงบริเวณทีป


่ ฏิบัติงานโดยเภสัชกร และ
กิจกรรมอืน
่ ๆ ตามความเหมาะสม เช่น “รับใบสัง่ ยา” “ให้คำาแนะนำาปรึกษาโดยเภสัชกร”

1.2 อุปกรณ์

1.2.1 มีอุปกรณ์ในการให้บริการสุขภาพทีเ่ หมาะสมเพือ


่ ประโยชน์ในการติดตามผลการ
ใช้ยา เช่น

- เครือ
่ งชัง่ นำา
้ หนัก

- ทีว
่ ัดส่วนสูง

- ทีว
่ ัดอุณหภูมิร่างกาย

- เครือ
่ งวัดความดันโลหิต

- ชุดวัดระดับนำา
้ ตาลในเลือด ฯลฯ

1.2.2 มีอุปกรณ์นับเม็ดยา จำาแนกตามกลุ่มยาทีจ


่ ำาเป็นในการให้บริการ เช่น ยาปฏิชีวนะ
กลุ่มเพนนิซิลิน ยาซัลโฟนาไมด์ ฯลฯ

1.2.3 มีอุปกรณ์เครือ
่ งใช้ในการให้บริการทีส
่ ะอาด และไม่เกิดการปนเปื้ อนในระหว่าง
การให้บริการ

1.2.4 มีตู้เย็นเก็บเวชภัณฑ์ทีเ่ ป็นสัดส่วนเพียงพอ และมีการควบคุมและบันทึกอุณหภูมิ


อย่างสมำ่าเสมอ

1.2.5 มีภาชนะบรรจุยา โดยที ่

ก. ยาทีม
่ ีไว้เพือ
่ บริการ ควรอยู่ในภาชนะเดิมทีม
่ ีฉลากครบถ้วนตามทีก
่ ฎหมาย
กำาหนด ไม่ควรมีการเปลีย
่ นถ่ายภาชนะ

ข. ภาชนะบรรจุยาทีเ่ หมาะสมสำาหรับการให้บริการต่อประชาชน ต้องคำานึงถึง


ปริมาณบรรจุ การป้องกันยาเสือ
่ มคุณภาพ เป็นต้น

1.3 สิง่ สนับสนุนบริการ

1.3.1 มีแหล่งข้อมูล ตำารา ทีเ่ หมาะสมในการใช้อ้างอิงและเผยแพร่

1.3.2 มีฉลากช่วย เอกสารความรู้ สนับสนุนการบริการอย่างเหมาะสม

78
1.3.3 มีอุปกรณ์พิเศษทีช
่ ่วยเพิม
่ ความร่วมมือในการใช้ยา (ในกรณีจำาเป็น)

มาตรฐานที ่ 2 การบริหารจัดการเพือ
่ คุณภาพ
ความมุ่งหมายของมาตรฐานนีเ้ พือ
่ เป็นการประกันว่า กระบวนการบริหารจัดการจะเป็นไปตาม
กระบวนการคุณภาพอย่างต่อเนือ
่ ง ตอบสนองความต้องการทีแ
่ ท้จริงของผู้รับบริการ และป้องกันความ
เสีย
่ งทีอ
่ าจเกิดขึน
้ จากการประกอบวิชาชีพ มาตรฐานนีค
้ รอบคลุม บุคลากร กระบวนการคุณภาพทีม
่ ุ่ง
เน้นให้ร้านยามีกระบวนการและเอกสารทีส
่ ามารถเป็นหลักประกันคุณภาพบริการ โดยมีรายละเอียดของ
มาตรฐานดังนี ้

2.1 บุคลากร

2.1.1 ผู้มีหน้าทีป
่ ฏิบัติการ

ก. เป็นเภสัชกรทีส
่ ามารถประกอบวิชาชีพ ตามใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรม โดยอยู่ปฏิบัติหน้าทีต
่ ลอดเวลาทีเ่ ปิ ดทำาการ

ข. ต้องแสดงตนให้สาธารณชนทราบว่า เป็นเภสัชกรผู้มีหน้าทีป
่ ฏิบัติการ โดยสวม
เครือ
่ งแบบตามข้อกำาหนดของสภาเภสัชกรรม

ค. มีมนุษยสัมพันธ์ และมีทักษะในการสือ
่ สารทีเ่ หมาะสม

ง. มีสุขภาพอนามัยดี ไม่เป็นแหล่งแพร่เชือ
้ แก่ผู้รับบริการ

2.1.2 ผู้ช่วยปฏิบัติการ (ถ้ามี)


ก. แสดงตนและแต่งกายให้สาธารณชนทราบว่าเป็น ผู้ช่วยเภสัชกร

ข. ปฏิบัติงานภายใต้การกำากับดูแลของเภสัชกรผู้มีหน้าทีป
่ ฏิบัติการ

ค. มีสุขภาพอนามัยดี ไม่เป็นแหล่งแพร่เชือ
้ แก่ผู้รับบริการ

2.2 กระบวนการคุณภาพ

2.2.1 มีเอกสารคุณภาพทีจ
่ ำาเป็นและเหมาะสม เช่น ใบสัง่ ยา กฎหมายข้อบังคับที ่

เกีย
่ วข้องแยกเป็นหมวดหมู่ตามประเภท มาตรฐานหรือแนวทางการดูแลผู้ป่วยทีน
่ ่าเชือ
่ ถือ (standard
practice guidelines) เป็นต้น

2.2.2 มีระบบการจัดการเอกสารคุณภาพและข้อมูลทีจ
่ ำาเป็นและเหมาะสม

2.2.3 มีการประกาศสิทธิผู้ป่วยทีค
่ วรได้รับจากการบริการ

79
2.2.4 มีการวิเคราะห์และระบุความเสีย
่ งทีอ
่ าจเกิดขึน
้ พร้อมทัง้ แนวทางการบริหาร
จัดการทีเ่ ป็นรูปธรรม เช่น ความปลอดภัยของการให้บริการ การจ่ายยาผิด เป็นต้น

2.2.5 มีการค้นหาความต้องการทีแ
่ ท้จริงของลูกค้า เช่น

ก. ระบุผู้รับบริการทีแ
่ ท้จริง

ข. ระบุความต้องการและความคาดหวัง

2.2.6 มีบันทึกการให้บริการสำาหรับผู้รับบริการทีต
่ ้องติดตามต่อเนือ
่ ง เช่น แฟ้ม
ประวัติการใช้ยา หรือ เอกสารคุณภาพ เช่น รายงานอุบัติการณ์ รายงานการเฝ้ าระวังอาการ อันไม่พึง
ประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

2.2.7 มีการตรวจสอบซำา
้ (double check) ในแต่ละขัน
้ ตอนทีเ่ กีย
่ วข้องกับผู้รับบริการ
เพือ
่ ลดความคลาดเคลือ
่ นทีอ
่ าจเกิดขึน

2.2.8 มีตัวชีว้ ัดคุณภาพทีส


่ ำาคัญ เช่น ความยอมรับหรือความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ร้อยละของการค้นหาหรือระบุปัญหาทีแ
่ ท้จริงของผู้รับบริการทีเ่ รียกหายา จำานวนผู้ป่วยทีม
่ ีการบันทึก
ประวัติการใช้ยา เป็นต้น

2.2.9 มีการเพิม
่ เติมความรู้ทีเ่ กีย
่ วข้องกับการปฏิบัติงาน

มาตรฐานที ่ 3 การบริการเภสัชกรรมทีด
่ ี
ความมุ่งหมายของมาตรฐานนีเ้ พือ
่ ให้ผู้มีหน้าทีป
่ ฏิบัติการให้บริการเภสัชกรรมบนพืน
้ ฐาน
มาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมอย่างมีคุณภาพ และก่อให้เกิดความพึงพอใจเกินความคาดหวังของผู้รับ
บริการ โดยมีรายละเอียดของมาตรฐานดังนี ้

3.1 การจัดหา การควบคุมยาและเวชภัณฑ์


การบริหารเวชภัณฑ์ทุกขัน
้ ตอน นับตัง้ แต่การจัดหา การเก็บ การควบคุม และการกระจาย
จะต้องดำาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย

3.1.1 มีเกณฑ์ในการเลือกสรรยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพทีน


่ ำามาจำาหน่าย เช่น การ

จัดหาผลิตภัณฑ์ที ่ผ่านการรับรองตามมาตรฐานการผลิตทีด
่ ี (GMP) และมาจากแหล่งที น
่ ่าเชือ
่ ถือ

3.1.2 มีการเก็บรักษาซึง่ มีเป้าหมายให้ยาคงประสิทธิภาพในการรักษาทีด


่ ี และปลอดภัย
ตลอดเวลา

3.1.3 มีบัญชีควบคุมและกำากับยาหมดอายุ

80
3.1.4 ต้องมีระบบควบคุมยาเสพติดให้โทษ วัตถุออกฤทธิ ต
์ ่อจิตและประสาท และยา
ควบคุมพิเศษอืน
่ ๆ ทีร่ ัดกุมและสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา

3.1.5 มีการสำารองยาและเวชภัณฑ์ทีจ
่ ำาเป็นต่อการปฐมพยาบาลเบือ
้ งต้น การช่วยชีวิต
ยาต้านพิษทีจ
่ ำาเป็น หรือ การสำารองยาและเวชภัณฑ์ทีส
่ อดคล้องกับความจำาเป็นของชุมชน

3.2 แนวทางการให้บริการทางเภสัชกรรม

3.2.1 มีการส่งเสริมให้มีการใช้ยาอย่างเหมาะสม เช่น การไม่จำาหน่ายยาชุด การคำานึงถึง


ความคุ้มค่าในการใช้ยา

3.2.2 ต้องระบุผู้รับบริการทีแ
่ ท้จริง และค้นหาความต้องการและความคาดหวังจากการ

ซักถามอาการ ประวัติการใช้ยา รวมถึงศึกษาจากแฟ้มประวัติการใช้ยา(ถ้ามี) ก่อนการส่งมอบยาทุกครัง้


เพือ
่ ให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเฉพาะรายตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วย

3.2.3 มีแนวทางการประเมินใบสัง่ ยา

ก. ต้องมีความสามารถในการอ่าน วิเคราะห์ และประเมินความเหมาะสมของใบสัง่


ยา

ข. มีการสอบถามและได้รับความเห็นชอบจากผู้สัง่ จ่ายยาทุกครัง้ เมือ


่ มีการดำาเนิน
การใด ๆ ทีเ่ กีย
่ วข้องกับการแก้ไข หรือ การปรับเปลีย
่ นใบสัง่ ยา

3.2.4 แนวทางการส่งมอบยา

ก. มีเภสัชกรเป็นผู้ส่งมอบยาให้แก่ผู้มารับบริการโดยตรง

ข. มีฉลากยาซึง่ ประกอบด้วย ชือ


่ สถานบริการ ชือ
่ ผู้ป่วย วันทีจ
่ ่าย ชือ
่ การค้า ชือ

สามัญทางยา ข้อบ่งใช้ วิธีใช้ ข้อควรระวัง และวันหมดอายุ

ค. ต้องอธิบายการใช้ยาและการปฏิบัติตัวของผู้มารับบริการอย่างชัดเจน ทัง้ โดย


วาจาและลายลักษณ์อักษร เมือ
่ ส่งมอบยา

ง. ไม่ควรส่งมอบยาให้เด็กทีม
่ ีอายุตำ่ากว่า 12 ปี โดยไม่ทราบวัตถุประสงค์ ใน
กรณีจำาเป็นควรมีแนวทาง และวิธีปฏิบัติทีช
่ ัดเจนและเหมาะสม

จ. ห้ามส่งมอบยาเสพติดให้โทษ และวัตถุออกฤทธิต
์ ่อจิตและประสาท ให้กับเด็กที ่

อายุตำ่ากว่า 12 ปี ในทุกกรณี

3.2.5 จัดทำาประวัติการใช้ยา (patient’s drug profile) ของผู้รับบริการทีต


่ ิดตาม
การใช้ยาอย่างต่อเนือ
่ ง

3.2.6 ติดตามผลการใช้ยาในผู้ป่วย ปรับปรุงและแนะนำากระบวนการใช้ยา ตามหลัก


วิชาและ ภายใต้ขอบเขตของจรรยาบรรณ ทัง้ นีเ้ พือ
่ มุ่งให้ผลการใช้ยาเกิดขึน
้ โดยสูงสุด

81
3.2.7 กำาหนดแนวทางและขอบเขตการส่งต่อผู้ป่วยทีเ่ ป็นรูปธรรม

3.2.8 มีแนวทางการให้คำาแนะนำาปรึกษาสำาหรับผู้ป่วยทีต
่ ิดตามอย่างต่อเนือ
่ ง

3.2.9 เฝ้ าระวังอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และราย งาน


อาการอันไม่พึงประสงค์ทีพ
่ บไปยังหน่วยงานทีร
่ ับผิดชอบ

3.2.10 ร่วมมือกับแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุขอืน
่ ๆ เพือ
่ เป้าหมายสูงสุดในการรักษา

มาตรฐานที ่ 4 การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และจริยธรรม


ความมุ่งหมายของมาตรฐานนีเ้ พือ
่ เป็นการควบคุมกำากับให้ร้านยาเกิดการปฏิบัติทีส
่ อดคล้องกับ
กฎหมายทีเ่ กีย
่ วข้อง และมุ่งหมายให้เกิดการปฏิบัติทีเ่ ป็นไปตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ โดยมีราย
ละเอียดของมาตรฐานดังนี ้

4.1 ต้องไม่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต หรืออยู่ในระหว่างการพักใช้ใบอนุญาตทีเ่ กีย


่ วข้อง

4.2 ต้องมีการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ (laws and regulations) รวมถึงการจัดทำา


รายงานเอกสารในส่วนทีเ่ กีย
่ วข้อง

4.3 ต้องไม่มียาทีไ่ ม่ตรงกับประเภททีไ่ ด้รับอนุญาต ไม่มียาทีไ่ ม่ถูกต้องตามกฎหมาย

4.4 ต้องเก็บใบสัง่ ยา และเอกสารทีเ่ กีย


่ วข้องไว้เป็นหลักฐาน ณ สถานทีจ
่ ่ายยาเป็นเวลาอย่าง

น้อย 1 ปี และทำาบัญชีการจ่ายยาตามใบสัง่ ยา

4.5 ต้องให้ความเคารพและเก็บรักษาความลับ ข้อมูลของผู้ป่วย (patient confidentiality)


โดยจัดระบบป้องกันข้อมูลและรายงานทีเ่ ป็นของผู้ป่วย

4.6 ไม่จำาหน่ายยาทีอ
่ ยู่ในความรับผิดชอบของเภสัชกร ในขณะทีเ่ ภสัชกรไม่อยู่ปฏิบัติหน้าที ่

4.7 ต้องไม่ประพฤติปฏิบัติการใด ๆ ทีส


่ ่งผลกระทบในทางเสือ
่ มเสียต่อวิชาชีพเภสัชกรรมและ
วิชาชีพอืน
่ ๆ

มาตรฐานที ่ 5 การให้บริการและการมีส่วนร่วมในชุมชนและสังคม
ความมุ่งหมายของมาตรฐานนีเ้ พือ
่ ให้ร้านยาให้บริการแก่ชุมชน ตลอดจนให้เกิดการมีส่วนร่วมกับ
ชุมชนในการดำาเนินการค้นหา และแก้ไขปัญหาทีเ่ กีย
่ วข้องด้านยาและสุขภาพของชุมชนโดยตรง โดยมี
รายละเอียดของมาตรฐานดังนี ้

5.1 มีบริการข้อมูลและให้คำาแนะนำาปรึกษาเกีย
่ วกับ สารพิษ ยาเสพติด ทัง้ ในด้านการป้องกัน
บำาบัด รักษา รวมทัง้ มีส่วนในการรณรงค์ต่อต้านยาและสารเสพติด

5.2 ให้ความร่วมมือกับราชการในการแจ้งเบาะแส หรือให้ข้อมูลทีเ่ กีย


่ วข้องกับยาและสารเสพติด

82
5.3 มีบริการข้อมูลและให้คำาแนะนำาปรึกษาเรือ
่ งยาและสุขภาพให้กับชุมชน เพือ
่ ประโยชน์ใน
การป้องกันโรค การรักษาสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และบทบาทอืน
่ ๆ ในการส่งเสริมสุขภาพ และ
สุขศึกษาของชุมชน

5.4 ส่งเสริมการใช้ยาอย่างเหมาะสมในชุมชน เช่น การร่วมในโครงการรณรงค์ด้านสุขภาพต่าง


5.5 มีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาทีเ่ กิดจากการใช้ยาทีไ่ ม่เหมาะสมในชุมชน

5.6 จะต้องไม่มีผลิตภัณฑ์ทีบ
่ ัน
่ ทอนต่อสุขภาพ เช่น บุหรี ่ สุรา เครือ
่ งดืม
่ ทีม
่ ีแอลกอฮอล์ เป็นต้น
อยู่ในบริเวณทีร
่ ับอนุญาต

83

You might also like