You are on page 1of 57

ระบบโครงสร้างกระดูก

และข้อต่อ
(The Skeleton and Articulation)
กระดูก (Bone)
• กระดูกประกอบด้วย
– น้ำ 25%
– ส่ วนประกอบอินทรีย์ ได้ แก่ ostoid และเซลล์
กระดูก 25%
– ส่ วนประกอบอนินทรีย์ ส่ วนใหญ่ เป็ นแคลเซียม
ฟอสเฟต 50%
โครงสร้ างของกระดกู ยาว
Epiphyseal plate
Metaphysis
ส่ วนปลายของ dyaphysis

Diaphysis
ก้ านกระดูก

Epiphysis
ส่ วนปลายของกระดูก
โครงสร้างระด ับ Microscopic
• กระดูกแข็ง (Compact / Cortical bone)
– มีระบบ Harversian หรือ Osteon ภายในบรรจุ
เส้ นเลือด เส้ นประสาท ท่ อน้ำเหลือง
• กระดูกพรุ น (Cancellous / Trabecular / Spongy
bone)
– มองด้ วยตาเปล่ ามีลักษณะพรุ น
– ภายในบรรจุไขกระดูก (Bone marrow)
Copyright © The McGraw-Hill Companies, Inc.  Permission required for reproduction or display.
เซลล์กระดูก (Bone Cells)
• Osteogenic
– พบอยู่ระหว่ าง endosteum และ periosteum
– สร้ างเซลล์ กระดูกชนิดต่ างๆ
• Osteoblasts
– พบในบริเวณที่มีเมตาบอลิซ่ มึ ของกระดูกสูง
– เป็ นเซลล์ สร้ างกระดูก
เซลล์ กระดูก (Bone Cells)
• Osteocytes
– เซลล์ กระดูกเจริญพันธุ์
– คงสภาพเนือ้ เยื่อกระดูกสุขภาพดี
– ควบคุมการเคลื่อนไหวขของแคลเซียมและฟอสเฟต
• Osteoclasts
– ทำหน้ าที่ทำลายเซลล์ กระดูก ซ่ อม และปรั บสภาพใหม่
การสร้ างกระดูก (Ossification)
• การสร้างกระดูกแบ่งเป็น 2 แบบ
– Intramembranous ossification
• เป็ นการสร้ างเนือ้ กระดูกจากการรวมตัวของกลุ่มเซลล์
ชนิดมีเซนไคม์ (mesenchymal cells)
• ทำให้ เกิดจุดการสร้ างกระดูกปฐมภูมิ (primary ossification
center)
• มีการสะสมแคลเซียม
การสร้ างกระดูก (Ossification)
• การสร้างกระดูกแบ่งเป็น 2 แบบ (ต่ อ)
– Endochondral ossification
• เริ่ มจากส่วนกลางของกระดูกซึง่ เป็ นจุดการสร้ างกระดูกปฐมภูมิ
• มีจดุ การสร้ างกระดูกทุติยภูมิ (secondary ossification center)
ที่บริ เวณปลายกระดูก
• มาบรรจบกันที่แนวแผ่นอิพิไฟเซียล (epiphysial plate)
หน้าทีข
่ องกระดูก
• เป็นโครง (Framework) ให้ กับร่ างกาย
• เป็ นจุดเกาะ (Attachment) ของกล้ ามเนือ้ (Muscle) และ
เอ็นกล้ ามเนือ้ (Tendon)
• ทำให้ ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้
• ป้องกันอวัยวะภายใน
• เป็ นที่อยู่ของไขกระดูก
• เป็ นคลังสำรองเกลือแร่ โดยเฉพาะ แคลเซียมฟอสเฟต
ชนิดของกระดูก
• แบ่ งตามรูปร่ าง
– กระดูกยาว (Long bone)
– กระดูกสัน้ (Short bone)
– กระดูกแบน (Flat bone)
– กระดูกที่มีรูปร่ างเฉพาะ (Irregular bone)
– กระดูก Sesamoid (Sesamoid bone)
โครงร่างของร่างกาย
• กระดูกทงหมดในร่
ั้ างกายมีทงส ิ้ 206 ชิน้
ั้ น
• สามารถจัดกลุ่มได้ เป็ น 2 กลุ่ม
– กระดูกแกนกลาง (Axial Skeleton)
• อยู่ตามแนวแกนกลางของลำตัว
– กระดูกระยางค์ (Appendicular Skeleton)
• ยึดกับกระดูกแกนกลาง
• ระยางค์ แขน และระยางค์ ขา
กระดูกแกนกลาง (Axial Skeleton)
• มีจำนวนทงส ิ้ 80 ชิน้
ั้ น
– กระดูกศีรษะ (Skull) 28 ชิน้ ; กะโหลก (Cranium) 8
ชิน้ กระดูกใบหน้ า (Facial bone) 14 ชิน้
– กระดูกไฮออยด์ (Hyoid bone) 1 ชิน้
– กระดูกสันหลัง (Vertebrae) 33 ชิน้
– กระดูกทรวงอก (Thoracic cage) 13 ชิน้ ; กระดูก
หน้ าอก (Sternum) 1 ชิน้ กระดูกซี่โครง (Rib) 24 ชิน้
กระดูกศีรษะ (Skull)
• กระดูกกะโหลก (Cranium)

Frontal bone Parietal bone

Temporal bone

Occipital bone
กระดูกศีรษะ (Skull)
• กระดูกใบหน้ า (Facial bone)

Ethmoid bone Sphenoid bone

Nasal bone
Maxilla
Zygomatic
bone

Mandible
กระดูกสันหลัง (Vertebrae)
กระดูกทรวงอก (Thoracic cage)
Manubrium
Rib

Body

Xyphoid
process

Sternum
กระดูกระยางค์ (Appendicular Skeleton)
• มีจำนวนทงส ิ้ 126 ชิน้
ั้ น
• กระดูกเชื่อมต่ อระยางค์ แขน (Shoulder girdle) ;
กระดูกไหปลาร้ า (Clavicle) กระดูกสะบัก (Scapula)
• กระดูกเชื่อมต่ อระยะยางค์ ขา (Pelvic girdle) ; กระดูก
เชิงกราน (Pelvis)
• กระดูกแขน (Upper extremities)
• กระดูกขา (Lower extremities)
กระดูกไหปลาร้ า (Clavicle)
กระดูกสะบัก (Scapula)
กระดูกต้นแขน (Humerus)
กระดูกแขนท่อนล่าง (Forearm)

กระดู กเร กระดู กอาว


เดี ยส (Radius) น่า (Ulna)
กระดูกข้ อมือและฝ่ ามือ (Wrist and Hand)
กระดูกเชิงกราน (Pelvis)
ilium sacrum

acetabulum

ischium pubis Obturator foramen


กระดูกต้ นขา (Femur)
กระดูกสะบ้า (Patella)
กระดูกขาท่อนล่าง (Shank)

Fibula Tibia
กระดูกทาล ัส (Talus)
กระดูกส้ นเท้ า (Calcaneum)
กระดูกเท้า (Tasal)
กระดูกฝ่ าเท้ าและนิว้ เท้ า
(Metatasal and Phalanges)
โค้งของฝ่าเท้า (Arches of Foot)

• โค้งตามยาว (Longitudinal Arch)


– โค้ งตามยาวด้ านนอก (Lateral Longitudinal Arch)
– โค้ งตามยาวด้ านใน (Medial Longitudinal Arch)
โค้งของฝ่าเท้า (Arches of Foot)
• โค้งตาม
ขวาง(Transverse
Arch)
ข้ อต่ อ (Articulation / Joint)
• แบ่งตามโครงสร้างได้เป็น 3 กลุ่ม
– ข้ อต่ อ Fibrous หรือ Synarthroses ไม่ สามารถเคลื่อนที่ได้
Sutures: พบที่กระโหลกศีรษะเท่ านัน้
Gomphosis: ยึดระหว่ างฟั นกับกราม
Synchondrosis: epiphyseal plates
ข้ อต่ อ (Articulation / Joint)
• แบ่งตามโครงสร้างได้เป็น 3 กลุ่ม (ต่ อ)
– ข้ อต่ อ Cartilaginous หรือ Amphiarthroses สามารถ
เคลื่อนไหวได้ บ้าง
Syndesmosis: ส่ วนปลายของกระดูกทิเบียและฟิ บูล่า
Symphysis: เชื่อมต่ อกันด้ วยกระดูกอ่ อน (Fibrocartilage)
ประเภทของข้ อต่ อตามโครงสร้ าง
• แบ่งตาม
โครงสร้างได้
เป็น 3 กลุ่ม (ต่ อ)
– ข้ อต่ อ Synovial /
Diarthroses สามารถ
เคลื่อนไหวได้ อสิ ระ
ตามลักษณะ
โครงสร้ างของข้ อต่ อ
คุณสมบ ัติของข้อต่อ Synovial
• มีกระดูกอ่ อนหุ้มผิวหน้ าของข้ อต่ อ (Articular
Cartilage)
• มีแคปซูลหุ้มข้ อต่ อ (Joint Capsule)
• มี Synovial membrane หุ้มข้ อต่ อด้ านในแต่ ไม่ ห้ มุ
กระดูกอ่ อน
คุณสมบัตขิ องข้ อต่ อ Synovial
• มีน้ำไขข้ อ (Synovial fluid) ทำหน้ าที่
– นำสารอาหารมาเลีย้ งข้ อต่ อ
– เป็ นสารหล่ อลื่นข้ อต่ อ
– สร้ างความมั่นคงให้ กับข้ อต่ อ
หน้ าที่ของกระดกู อ่ อนหุ้มผิวหน้ าข้ อต่ อ
• กระจายน้ำหน ักบนผิวหน้าของข้อต่อ

• ดูดซบแรงกระแทก
ั อต่อ
• กระชบข้
• จำก ัดการลืน
่ ไถลระหว่างผิวข้อต่อ
ี ดส ี
• ป้องก ันผิวหน้ากระดูกจากการเสย
ก ัน
• เพิม
่ ความลืน
่ ให้ก ับข้อต่อ
ประเภทของข้ อต่ อตามการเคลื่อนไหว
• แบ่งตามการเคลือ
่ นไหวได้เป็น 6
กลุ่ม
– ข้ อต่ อแบบเลื่อน (Gliding / Plane Joint)
– ข้ อต่ อแบบบานพับ (Ginglymus / Hinge Joint)
– ข้ อต่ อแบบไพวอท (Pivot Joint)
– ข้ อต่ อแบบคอนดิลลอยด์ (Condyloid Joint)
– ข้ อต่ อแบบอานม้ า (Saddle Joint)
– ข้ อต่ อแบบลูกบอลและเบ้ า (Ball and Socket Joint)
ข้ อต่ อแบบเลื่อน (Gliding / Plane Joint)
• ผิวหน้าข้อต่อทงั้
สองด้านค่อนข้าง
เรียบ
• ทำให้เกิดการ
เลือ่ นไปมาระหว่าง
กระดูกได้เล็กน้อย
• เป็นข้อต่อแบบ
ไม่มแ ี กน (Non-axial
joint)
ข้ อต่ อแบบบานพับ (Ginglymus/Hinge Joint)
• เป็นข้อต่อทีม
่ ล
ี ักษณะคล้ายบานพ ับ
ประตู
• ผิวหน้าข้อต่อด้านหนึง่ มีล ักษณะกลม
• ผิวหน้าข้อต่ออีกด้านหนึง่ มีล ักษณะ
เว้ารองร ับ
• เคลือ่ นไหวได้ทศ ิ ทางเดียว
• เป็นข้อต่อแบบแกนเดียว (Uniaxial joint)
ข้ อต่ อแบบบานพับ (Ginglymus/Hinge Joint)
ข้ อต่ อแบบไพวอท (Pivot Joint)
• เป็นข้อต่อทีก ่ ระดูก
สองชน ิ้ วางชดิ ก ัน
• มีเอ็นยึดกระดูก
(Ligament) คล้ องรอบกระดูก
• เคลื่อนที่แบบหมุน (Rotation)
• เป็ นข้ อต่ อแบบแกนเดียว
(Uniaxial joint)
ข้ อต่ อแบบคอนดิลลอยด์ (Condyloid Joint)
• ผิวข้อต่อด้านหนึง่ เป็น
ทรงกลมหรือรูปไข่
• ผิวข้อต่ออีกด้านหนึง่
เป็นรูปเว้ารองร ับ
• เคลือ ่ นทีไ่ ด้ 2 ทิศทาง
• เป็ นข้ อต่ อแบบ 2 แกน (Biaxial
joint)
ข้ อต่ อแบบอานม้ า (Saddle Joint)
• ผิวหน้าข้อต่อเป็น
ล ักษณะคล้าย
อานม้า
• เคลือ ่ นทีไ่ ด้ 2
ทิศทาง
• เป็ นข้ อต่ อแบบ 2 แกน
(Biaxial joint)
ข้ อต่ อแบบลูกบอลและเบ้ า
(Ball and Socket Joint)
• ผิวข้อต่อด้านหนึง่ มี
ล ักษณะทรงกลม
คล้ายลูกบอล
• ผิวข้อต่ออีกด้านหนึง่
มีล ักษณะเป็นเบ้า
รองร ับ
• เคลือ ่ นทีไ่ ด้ตงแต่
ั้ 3
ทิศทางขึน้ ไป
การเคลื่อนไหวของข้ อต่ อ

Flexion Extension
การเคลื่อนไหวของข้ อต่ อ
Abduction

Adduction
การเคลื่อนไหวของข้ อต่ อ
Internal rotation External rotation
การเคลื่อนไหวของข้ อต่ อ
Dorsiflexion

Plantarflexion

You might also like