You are on page 1of 12

Confidential Bangkok 003066 Friday, 4 December 2009, 8:28

ลับ กรุงเทพ 003066 วันศุกรที่ 4 ธันวาคม 2552, 8:28 น.

Subject : Russia looks to reinvigorate bilateral relations with Thailand, again


หัวขอ : รัสเซียเอาใจใสเพื่อฟนฟูใหมตอความสัมพันธทวิภาคีกับประเทศไทย, อีกครั้ง

Classified By : DCM James F. Entwistle, reasons 1.4 (b) and (d).


จําแนกโดย : รองเอกอัครราชทูต เจมส เอฟ. เอนตวิสเซิล, เหตุผล 1.4 (บี) และ (ดี)

1. (C) Summary : The Thai - Russia bilateral relationship blossomed earlier this decade after years of
stagnation during the Cold War but has had little forward momentum since then, despite a November 27
visit to Bangkok by Russian Deputy Prime Minister Sobyanin and Thai pledges that the Prime Minister
and Foreign Minister will travel to Russia in 2010. The resurgence earlier in the decade occurred as a
result of a flurry of high-level visits, first by then Prime Minister Thaksin Shinawatra to Russia in 2002
and a reciprocal visit by former President Vladimir Putin to Thailand in 2003. For its part, Russia has
advocated the construction of a regional energy facility in Thailand to be supplied by Russia, aspired to
become a dialogue partner for the East Asia Summit (EAS), and expand arms exports in Southeast Asia.
Thailand enjoys a rapid expansion of Russian tourists visiting Thailand but has to deal with an unwanted
side effect - the presence of Russian organized crime networks around the popular beach destinations of
Pattaya and Phuket. The biggest headline grabber of 2008 - 09 has likely been the arrest of Russian arms
dealer Viktor Bout, whose extradition to the U.S. remains under review by an Appellate Court.
1. สรุป : ความสัมพันธทวิภาคีของไทย - รัสเซียเบงบานตนทศวรรษนี้ ภายหลังหลายปแหงความซบเซาระ
หวางสงครามเย็น แตมีแรงผลักดันไปขางหนาเล็กนอยตั้งแตตอนนั้น, ทั้งการเยือนกรุงเทพเมื่อวันที่ 27
พฤศจิกายน โดยรองนายกรัฐมนตรีรัสเซีย โซเบียนิน และการใหสัญญาของไทยที่วา นายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศจะเดินทางไปรัสเซียในป พ.ศ. 2553 การฟนฟูเมื่อตนทศวรรษเกิด
ขึ้นจากผลลัพธของการเยือนระดับสูงระยะสั้นๆ, ครั้งแรกโดยนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร ไปรัสเซียในป
พ.ศ. 2545 และการเยือนกลับโดยอดีตประธานาธิบดี วลาดีมีร ปูติน สูประเทศไทยในป พ.ศ. 2546 สําหรับ
ครั้งนั้น, รัสเซียใหความสนับสนุนการกอสรางโรงงานผลิตพลังงานสวนภูมิภาคในประเทศไทยซึ่งถูกจัด
เตรียมโดยรัสเซีย, ปรารถนาที่จะเปนหุนสวนการสนทนาสําหรับการประชุมเอเชียตะวันออก (EAS), และ
ขยายการสงออกอาวุธในเอเชียอาคเนย ประเทศไทยสนุกสนานกับการขยายตัวอยางรวดเร็วของนักทองเที่ยว
รัสเซียที่เยือนประเทศไทย แตตองจัดการกับผลกระทบในดานที่ไมตองการ - พฤติกรรมของเครือขายขบวน
การอาชญากรรมรัสเซียรอบชายหาดเปาหมายที่ไดรับความนิยมของพัทยาและภูเก็ต ขาวพาดหัวที่ใหญที่สุด
ที่ชวงชิง [พื้นที่ขาว] แหงป พ.ศ. 2551 - 2552 นาจะเปนการจับกุมตัวแทนคาอาวุธรัสเซีย วิกเตอร บูท, ซึ่ง
การสงผูรายขามแดนไปสหรัฐยังคงอยูภายใตการทบทวนโดยศาลอุทธรณ
2. (C) Comment: The Thai - Russia bilateral relationship saw a period of re-engagement from 2002 - 03
during fugitive former Prime Minister Thaksin Shinawatra’s outward-looking administration (2001 - 06),
with Thaksin pursuing possible arms purchases from Russia in barter deals to boost Thai exports of
agricultural products and to lessen Thai military dependence on U.S. systems. However, since Thaksin’s
ouster in a bloodless coup in 2006, Thailand has primarily been inwardly focused. For his part, Thaksin
has continued to travel regularly to Moscow, including a December 2 - 3 visit, meeting quietly with Putin.
With Thailand’s foreign policy centered primarily on ASEAN, the U.S., and China, there is little space for
Russia to be an influential player. Putin’s continued willingness to host Thaksin in Moscow -- the Russian
government refused to confirm the visit to the Thai Embassy in Moscow, even as Thaksin’s brother was
announcing it to the Thai media and Thaksin’s lawyer and lieutenants were discussing freely with us --
certainly will win Russia few favors with the current Thai government.
2. ขอคิดเห็น : ความสัมพันธทวิภาคีไทย - รัสเซียดูเหมือนอยูในชวงแหงการผูกพันใหมจากป พ.ศ. 2545 -
2546 ระหวางการบริหารงานที่นาอัศจรรยของอดีตนายกรัฐมนตรีที่หลบหนี ทักษิณ ชินวัตร (พ.ศ. 2544 -
2549), โดยทักษิณลุลวงตอความเปนไปไดในการซื้ออาวุธจากรัสเซียในการคาตางตอบแทนเพื่อสงเสริมการ
สงออกสินคาเกษตรของไทย และบรรเทาระบบการพึ่งพิงการทหารของไทยตอสหรัฐ อยางไรก็ตาม, ตั้งแต
การขับไลทักษิณในการรัฐประหารที่ปราศจากเลือดในป พ.ศ. 2549, ประเทศไทยเริ่มเขาสูการถูกจับจองจาก
ภายใน สํ า หรั บ เขา, ทัก ษิ ณ เดิ น ทางอย า งตอ เนื่อ งไปมอสโกตามปกติ , รวมทั้ ง การเยื อ นเมื่ อวั น ที่ 2 - 3
ธันวาคม, พบปะอยางเงียบๆกับปูติน ดวยนโยบายดานการตางประเทศของประเทศไทยซึ่งมีศูนยกลางเริ่ม
ดวยสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (ASEAN), สหรัฐ, และจีน, มีพื้นที่เล็กนอยสําหรับ
รัสเซียที่จะเปนผูเลน ปูตินตอนรับอยางตอเนื่องแบบเจาบานกับทักษิณในมอสโก -- รัฐบาลรัสเซียปฏิเสธที่
จะยืนยันการเยือนตอสถานเอกอัครราชทูตไทยในมอสโก, แมวานองชายของทักษิณประกาศเรื่องนี้ตอสื่อ
ไทย และทนายความและตัวแทนของทักษิณกําลังโตเถียงอยางอิสระกับพวกเรา -- แนนอนวาจะเปนชัยชนะ
จากการชวยเหลือไมกี่อยางของรัสเซียกับรัฐบาลไทยในปจจุบัน
3. (C) Comment, cont: That said, there is an interesting well-spring of enduring pro-Russian sentiment
among many Thai based on historical ties between the Siamese and Russian royal families : King
Chulalongkorn and Tsar Nicholas II exchanged reciprocal visits in 1909 - 1910; and the Tsar provided
what many Thai consider a critical boost to Siam’s independence in the face of British and French
pressure on Siam’s borders and sovereignty. Queen Sirikit’s 2007 State visit to Russia reminded many
Thai of this century-old emotional bond. Some commentators suggest a Thai reluctance to offend Russia
by extraditing Viktor Bout to the U.S., manifested in the initial August Lower Court ruling denying the
extradition request, may have been grounded in part in this enduring sentiment. End Summary and
Comment.
3. ขอคิดเห็น, ตอ : ที่พูดกันวา, มีความนาสนใจซึ่งมีตนกําเนิดมาจากการระลึกถึงรัสเซียกอนหนานี้ที่ยังคง
อยูทามกลางคนไทยจํานวนมากซึ่งมีพื้นฐานมาจากสายสัมพันธทางประวัติศาสตรระหวางราชวงศสยามกับ
รัสเซีย : กษัตริยจุฬาลงกรณ [รัชกาลที่ 5] และซารนิโคลัสที่ 2 ทรงเยือนซึ่งกันละกันในป พ.ศ. 2452 - 2453;
และซารทรงตระเตรียมสิ่งตางๆมากมายซึ่งคนไทยพิจารณาวาเปนความชวยเหลือที่จําเปนตอเอกราชของ
สยามในการเผชิญหนากับการกดดันของสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสตอเขตแดนและอํานาจอธิปไตยของ
สยาม การเยือนรัฐของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์เมื่อป พ.ศ. 2550 สูรัสเซียยังคงมีผลตอคนไทยจํานวนมากตอ
ความผูกพันทางอารมณซึ่งเกาแกยาวนานของศตวรรษนี้ นักวิจารณบางคนแนะนําวา คนไทยไมเต็มใจที่จะ
สรางความขุนเคืองตอรัสเซียโดยการสงผูรายขามแดน วิกเตอร บูท ไปสหรัฐ, ซึ่งแสดงใหเห็นในคําตัดสิน
ของศาลชั้นตนตนเดือนสิงหาคมซึ่งปฏิเสธการรองขอสงผูรายขามแดน, อาจจะเปนพื้นฐานที่มีสวนมาจาก
การระลึกที่ยังคงอยูนี้ จบสรุปและขอคิดเห็น

Thai - Russian bilateral re-engagement


ไทย - รัสเซีย ความผูกพันทวิภาคีใหม

4. (C) 2002 - 03 was the seminal period for the renewal of Thai - Russia relations, Professor Kantassa
Thunjitt from Thammasat University’s Russian Studies Program told us recently. Despite warm relations a
century ago between Imperial Russia and Siam, the relationship had been largely dormant during the Cold
War era and afterwards until Thaksin made an official visit to Russia in October 2002, with Putin
reciprocating in October 2003, when Thailand hosted APEC. Kantassa highlighted Putin’s audience with
King Bhumibol during his visit as particularly significant. Bangkok Post Senior Reporter Achara
Ashayagachat told us recently that Thaksin had looked to Russia to expand market opportunities. Achara
also believed that Thaksin sought to balance Thailand’s relationships with both the U.S. and China
through engaging Russia, while simultaneously looking at ways to maximize profits.
4. ป พ.ศ. 2545 - 2546 เปนชวงเติบโตสําหรับการกลับสูความสัมพันธของไทย - รัสเซีย, ศ. กัณฐัศศา ทัน
จิตต จากโครงการรัสเซียศึกษาแหง ม.ธรรมศาสตร บอกพวกเราเมื่อเร็วๆนี้ ทั้งๆที่ความสัมพันธอันอบอุน
เมื่อศตวรรษที่ ผานมาระหวางจั กรพรรดิรัสเซียและสยาม, ความสัมพั น ธร ะงับลงอยางมากระหวางยุค
สงครามเย็น และตอมาจนกระทั้งทักษิณทําการเยือนอยางเปนทางการสูรัสเซียในเดือนตุลาคม 2545, โดย
ปูตินเยือนกลับในเดือนตุลาคม 2546, เมื่อประเทศไทยเปนเจาภาพความรวมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟก
(APEC) กัณฐัศศาเนนย้ําถึงการเขาเฝาอยางเปนทางการของปูตินตอพระเจาอยูหัวภูมิพลระหวางการเยือน
ของเขาเสมือนเปนนัยยะที่เฉพาะเจาะจง ผูสื่อขาวอาวุโสของบางกอกโพสต อัจฉรา อัชฌายกชาติ บอกพวก
เราเมื่อเร็วๆนี้วา ทักษิณเอาใจใสตอรัสเซียเพื่อขยายโอกาสทางการตลาด อัจฉรายังคงเชื่อวา ทักษิณแสวงหา
เพื่อถวงดุลความสัมพันธของประเทศไทยตอทั้งสหรัฐและจีนผานการผูกพันกับรัสเซีย, ขณะเดียวกันยังจอง
มองไปที่หนทางสูการทํากําไรสูงสุด
5. (C) While Thaksin and Putin visits prompted a flurry of diplomatic re-engagement at the most senior
levels, the Ministry of Foreign Affairs (MFA) Department of European Affairs official Wacharin
Vongvivatachaya told us that Thai - Russian relations peaked during Queen Sirikit’s State visit to Russia
in July 2007. During the Queen’s trip, she visited Moscow and St. Petersburg, met Putin and then First
Deputy Prime Minister Dmitry Medvedev, and was deeply impressed by the Mariinsky Ballet. As a result,
the RTG arranged for the Mariinsky to visit in December 2007 to perform for King Bhumibol’s 80th
birthday. The ballet performed once during a closed session for the King and the palace, and twice for sold
out Thai audiences. Wacharin commented that these performances had led to yearly participation of
Russian opera and ballet troupes at the annual September Bangkok International Festival of Dance, which
the Queen has attended the past two years.
5. ขณะการเยือนของทักษิณและปูตินพรอมตอการผูกพันทางการทูตใหมระยะสั้นๆที่ระดับอาวุโสสูงสุด,
เจาหนาที่กรมยุโรป กระทรวงการตางประเทศ วัชรินทร วงศวิวรรธไชย บอกพวกเราวา ความสัมพันธไทย -
รัสเซียขึ้นถึงจุดสูงสุดระหวางการเยือนรัฐของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์สูรัสเซียในเดือนกรกฎาคม 2550
ระหวางการเดินทางของพระราชินี, พระองคทรงเยือนมอสโกและเซนตปเตอรสเบิรก, ทรงพบปะกับปูติน
และรองนายกรัฐมนตรีอันดับที่ 1 ในตอนนั้น ดมีตรี เมดเวเดฟ, และทรงประทับพระทัยอยางลึกซึ้งตอ
บัลเลตมาริอินสกี้ ดวยเหตุนี้, รัฐบาลไทยเตรียมการสําหรับการเยือนของมาริอินสกี้ในเดือนธันวาคม 2550
เพื่อแสดงสําหรับวันเฉลิมพระชนมพรรษาปที่ 80 ของพระเจาอยูหัวภูมิพล บัลเลตแสดง 1 รอบสําหรับการ
แสดงแบบปดตอพระเจาอยูหัวและพระราชวัง, และ 2 รอบถูกขายหมดสําหรับผูชมไทย วัชรินทรวิจารณวา
การแสดงนี้นําไปสูการมีสวนรวมประจําปของคณะผูแสดงบัลเลตและอุปรากรรัสเซียในงานมหกรรม
ศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติประจําปในเดือนกันยายน, ซึ่งพระราชินีทรงสนพระทัยเมื่อ 2 ปที่ผาน
มา
6. (SBU) The latest Russian effort to reinvigorate the bilateral relationship came November 27, with the
visit of Russian Deputy Prime Minister Sergey Sobyanin to Bangkok to meet with Prime Minister Abhisit
Vejjajiva and to convene the Fourth Thai - Russian Joint Commission Meeting with FM Kasit. Sobyanin
looked to increase trade and investment, signaled Russia’s willingness to cooperate with Thailand in
research and development in the oil and natural gas sector, and underscored Russia’s desire to cooperate
with Thailand on security and culture issues, according to a statement posted on the Thai MFA’s website.
As a sign of recent drift in Thai - Russian relations, however, the Joint Commission meeting, intended to
convene every two years, came after an eight year hiatus.
6. ความพยายามลาสุดของรัสเซียที่จะฟนฟูความสัมพันธทวิภาคีมาถึงเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน, ดวยการ
เยือนของรองนายกรัฐมนตรีรัสเซีย เซอรเกย โซเบียนิน สูกรุงเทพเพื่อพบปะกับนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวช
ชาชีวะ และรวมการประชุมความรวมมือไทย - รัสเซียครั้งที่ 4 กับรัฐมนตรีวากระทรวงการตางประเทศ กษิต
[ภิรมย] โซเบียนินเอาใจใสตอการเพิ่มการคาและการลงทุน, สงสัญญาณความเต็มใจของรัสเซียที่จะรวมมือ
กับประเทศไทยในการวิจัยและพัฒนาในสวนของน้ํามันและกาซธรรมชาติ, เนนย้ําถึงความปรารถนาของ
รัสเซียที่จะรวมมือกับประเทศไทยในประเด็นความมั่นคงและวัฒนธรรม, อางถึงแถลงการณที่แจงบนเว็บ
ไซดของกระทรวงการตางประเทศ เสมือนเปนสัญลักษณของแนวทางในปจจุบันตอความสัมพันธไทย -
รัสเซีย, อยางไรก็ตาม, การประชุมความรวมมือ, ตั้งใจที่จะประชุมทุก 2 ป, ซึ่งมาถึงหลังจากชองวาง 8 ป
7. (SBU) DPM Sobyanin also extended an invitation to Abhisit to visit Russia in early 2010, according to
the MFA statement. Wacharin told us December 2 that Abhisit plans to accept this invitation and will
likely travel to Moscow in the first half of next year, and that FM Kasit would separately travel to
Moscow for the Fifth Joint Commission Meeting.
7. รองนายกรัฐมนตรี โซเบียนิน ยังคงเสนอคําเชิญตออภิสิทธิ์เพื่อเยือนรัสเซียในตนป พ.ศ. 2553, อางถึง
แถลงการณของกระทรวงการตางประเทศ วัชรินทรบอกพวกเราเมื่อวันที่ 2 ธันวาคมวา อภิสิทธิ์วางแผนที่จะ
ตอบรับคําเชิญนี้ และนาจะเดินทางสูมอสโกในครึ่งแรกของปหนา, และวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ
ตางประเทศ กษิต จะแยกเดินทางสูมอสโกสําหรับการประชุมความรวมมือครั้งที่ 5

Russia interested in economic ties ...


รัสเซียสนใจในสายสันพันธทางธุรกิจ ...

8. (SBU) After visiting Thailand for the ASEAN Regional Forum (ARF) Ministerial Meeting in Phuket
July 22 - 24, and having an audience with King Bhumibol Adulyadej in Hua Hin to reaffirm Russia’s
historical ties with Thailand, Russian Foreign Minister Sergey Lavrov delivered a keynote speech at
Chulalongkorn University July 24 in which he outlined Russia’s key economic goals for further
cooperation and integration with the Thai economy. Lavrov highlighted Russia’s eastern territories as
holding natural resources -- such as oil, gas, and coal -- that could become the means to further engage
with countries like Thailand. As such, one of Russia’s critical goals was to promote energy cooperation
between Russia and Thailand; Lavrov announced Russia’s interest in developing a regional facility in
Thailand for storing, processing and trading Russian oil and gas.
8. ภายหลังการเยือนประเทศไทยเพื่อการหารือระดับภูมิภาคอาเซียน (ARF) การประชุมระดับรัฐมนตรีเมื่อ
วันที่ 22 - 24 กรกฎาคม, และการเขาเฝาอยางเปนทางการตอพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชที่หัวหินเพื่อย้ําถึง
จุดยืนสายสัมพันธทางประวัติศาสตรของรัสเซียกับประเทศไทย, รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ
รัสเซีย เซอรเกย ลัฟรอฟ แสดงสุนทรพจนหลักที่ ม.จุฬาลงกรณ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคมซึ่ งรางภาพถึ ง
เปาหมายทางเศรษฐกิจสําคัญของรัสเซียสําหรับความรวมมือในอนาคต และการผสมผสานกับเศรษฐกิจไทย
ลัฟรอฟเนนย้ําถึงดินแดนตะวันออกของรัสเซียซึ่งอุดมไปดวยทรัพยากรทางธรรมชาติ -- เชน น้ํามัน, กาซ,
และถานหิน -- วา สามารถกลายเปนปจจัยตอความสัมพันธในอนาคตกับประเทศตางๆเชนเดียวกับประเทศ
ไทย ตัวอยางเชน, 1 ในเปาหมายที่จําเปนของรัสเซียคือประชาสัมพันธตอความรวมมือดานพลังงานระหวาง
รัสเซียและประเทศไทย; ลัฟรอฟประกาศถึงความสนใจของรัสเซียในการพัฒนาโรงงานสวนภูมิภาคในประ
เทศไทยเพื่อการเก็บรักษา, การผลิต และการคาน้ํามันและกาซของรัสเซีย
9. (C) MFA official Wacharin downplayed the significance of Lavrov’s proposal for a regional oil facility
in Thailand, explaining to us that it was currently only a Russian idea. She commented that this plan was
first proposed by the Russians under Thaksin’s administration; the MFA in 2008 had previously told us
that then Samak government continued to push the idea, even though the Thai state-owned energy firm
PTT doubted its economic viability. Wacharin stressed that the energy policy of Prime Minister Abhisit
Vejjajiva’s government was markedly different from that of its Thaksin-associated predecessors. She said
that while the Royal Thai Government (RTG) continued to study the proposal further, there were many
technical issues that needed to be reviewed, such as transportation costs.
9. เจาหนาที่ของกระทรวงการตางประเทศ วัชรินทร ไมแยแสตอนัยสําคัญของขอเสนอของลัฟรอฟสําหรับ
โรงงานน้ํามัน สวนภูมิภาคในประเทศไทย, โดยอธิบายตอพวกเราวา มันเปนเพียงความคิ ดของรัสเซีย
ในตอนนี้ เธอวิ จารณ วา แผนการนี้ถูกเสนอครั้ งแรกโดยชาวรัสเซีย ภายใตการบริหารงานของทั ก ษิณ ;
กระทรวงการตางประเทศในป พ.ศ. 2551 บอกพวกเรากอนหนานี้วา รัฐบาลสมัคร [สุนทรเวช] ผลักดัน
ความคิดอยางตอเนื่อง, แมวาบริษัทพลังงานที่รัฐเปนเจาของของไทย ปตท. (PTT) สงสัยตอความอยูรอดทาง
เศรษฐกิจของมัน วัชรินทรเนนวา นโยบายดานพลังงานของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มี
วัตถุประสงคที่แตกตางจากของเดิมที่เชื่อมโยงกับทักษิณ เธอพูดวาขณะที่รัฐบาลไทย (RTG) ศึกษาอยาง
ตอเนื่องถึงขอเสนอในอนาคต, มีปจจัยทางเทคนิคจํานวนมากที่จําเปนตองทบทวน, เชน คาขนสง

... And a political voice in the region


... และเสียงทางการเมืองในภูมิภาค

10. (C) Watcharin said that the MFA viewed Russia as eager to become a major player in the Asia Pacific
region. Russian Embassy diplomat Andrey Dmitrichenko told us that Russia had previously taken a more
active approach in engaging ASEAN in hopes of facilitating Russian participation in the East Asian
Summit (EAS) as a dialogue partner. However, Russia currently was now willing to wait, not pushing its
case; Dmitrichenko suggested that it was more realistic for Russia to become a dialogue partner at the
same time that the U.S. was invited to become a dialogue partner. Dmitrichenko noted that Russia had
acceded to the Treaty of Amity and Cooperation (TAC) in 2004, held an ASEAN - Russia Summit in
Kuala Lumpur in 2005, and looked forward to the second ASEAN - Russia Summit in Vietnam, which
would follow on the establishment of an ASEAN Center in Moscow in late 2009.
10. วัชรินทรพูดวา กระทรวงการตางประเทศมองรัสเซียเสมือนเปนผูที่กระตือรือรนที่จะเปนผูเลนหลักใน
ภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟก นักการทูตของสถานเอกอัครราชทูตรัสเซีย อังเดร ดมีตรีเชนโก บอกพวกเราวา
รั ส เซี ย ก อ นหน า นี้ ก ระตื อ รื อ ร น เพื่ อ ใกล ชิ ด ผู ก พั น กั บ สมาคมประชาชาติ แ ห ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต
(ASEAN) โดยหวังการสนับสนุนตอการมีสวนรวมของรัสเซียในการประชุมเอเชียตะวันออก (EAS) เสมือน
เปนหุนสวนการสนทนา อยางไรก็ตาม, รัสเซียในปจจุบันเต็มใจที่จะรอ, ไมผลักดันตอกรณีนี้; ดมีตรีเชนโก
แนะนําวา มันมีความเปนไปไดอยางมากสําหรับรัสเซียที่จะกลายเปนหุนสวนการสนทนาในเวลาเดียวกับที่
สหรัฐถูกเชิญใหเปนหุนสวนการสนทนา ดมีตรีเชนโกระบุวา รัสเซียยอมรับตอสนธิสัญญาไมตรีและความ
รวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (TAC) ในป พ.ศ. 2547, เตรียมการสําหรับการประชุมสมาคมประชาชาติ
แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต - รัสเซียในกัวลาลัมเปอร [มาเลเซีย] ในป พ.ศ. 2548, และมองไปในอนาคต
สําหรับการประชุมสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต - รัสเซียครั้งที่ 2 ในเวียดนาม, ซึ่งจะ
ตามมาดวยการจัดตั้งศูนยสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตในมอสโกปลายป พ.ศ. 2552
11. (C) The opinions of non-official Thais we talked to about the Russian diplomatic push was in general
rather dismissive. Professor Rom Phiramontri, Director for the Center of Russian Studies at
Chulalongkorn University, commented that in general Russia has had very little influence in Asia,
particularly in Thailand. In his opinion, Russia was attempting to gain more influence with Thailand,
geographically in the center of ASEAN, in an attempt to expand influence throughout the region,
especially economically. Professor Kantassa of Thamssat similarly told us that Russia was trying to play a
larger role in Southeast Asia, noting it has attempted to raise its status in the region by offering itself as an
alternative to the U.S. and China.
11. ความคิดเห็นของคนไทยที่ไมใชเจาหนาที่ซึ่งพวกเราพูดคุยเกี่ยวกับการผลักดันทางการทูตของรัสเซียซึ่ง
โดยสรุปคอนขางไมสนใจ ศ. รมย ภิรมนตรี, ผูอํานวยการศูนยรัสเซียศึกษาแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
วิจารณวา โดยทั่วไปรัสเซียมีอิทธิพลนอยมากในเอเชีย, โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศไทย ในความคิดเห็น
ของเขา, รั สเซี ย กําลั ง พยายามที่ จ ะเพิ่ มอิ ทธิ พลทั่ว ภู มิภ าค, โดยเฉพาะดา นเศรษฐกิจ ศ. กัณ ฐัศ ศา แห ง
ธรรมศาสตรบอกเชนเดียวกันกับพวกเราวา รัสเซียกําลังพยายามที่จะแสดงบทบาทมากขึ้นในเอเชียอาคเนย,
ระบุวาพยายามที่จะเพิ่มสถานะในภูมิภาคโดยการเสนอตัวเองเสมือนเปนทางเลือกตอจากสหรัฐและจีน

Trade, tourism, and organized crimeax


การคา, การทองเที่ยว และขบวนการอาชญากรรม
12. (SBU) Wacharin underscored that trade and tourism were the most important elements to the Thai -
Russia bilateral relationship. For Russia, Thailand was its number one trading partner in Southeast Asia
with trade accounting for over $1 billion annually. (Note : U.S. - Thai trade exceeds $30 billion annually.
End Note.) Wacharin stated that Russia’s main exports to Thailand were rolled steel, scrap metal,
fertilizers, unprocessed minerals, synthetic rubber, diamonds, pulp, and paper. Thailand’s main exports to
Russia were sugar, rice, gems, clothes, shoes, canned food, and furniture. Thailand’s premier multi-
national, the CP Group, had invested in Russia by establishing an animal food producing factory in
Moscow’s suburbs, Wacharin added, though there has been little Russian investment in Thailand, mainly
in small businesses.
12. วัชรินทรเนนย้ําวา การคาและการทองเที่ยวเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดตอความสัมพันธทวิภาคีไทย -
รัสเซีย สําหรับรัสเซีย, ประเทศไทยเปนหมายเลข 1 ของหุนสวนการคาในเอเชียอาคเนยดวยบัญชีการคา
มากกวา 1,000 ลานดอลลารสหรัฐตอป (หมายเหตุ : การคาสหรัฐ - ไทยมีมากกวา 30,000 ลานดอลลารสห
รัฐตอป จบหมายเหตุ) วัชรินทรบอกวา การสงออกหลักของรัสเซียสูประเทศไทยคือ เหล็กแผนมวน, เศษ
โลหะ, ปุย, สินแรที่ยังไมผานกระบวนการ, ยางสังเคราะห, เพชร, เยื่อกระดาษ, และกระดาษ การสงออก
หลักของประเทศไทยสูรัสเซียคือ น้ําตาล, ขาว, อัญมณี, เสื้อผา, รองเทา, อาหารกระปอง, และเครื่องเรือน
บรรษัทขามชาติชั้นนําของประเทศไทย, เครือเจริญโภคภัณฑ, ลงทุนในรัสเซียโดยการจัดตั้งโรงงานผลิต
อาหารสัตวในเขตชานเมืองของมอสโก, วัชรินทรเพิ่มเติมวา, อยางไรก็ตามมีการลงทุนของรัสเซียเล็กนอย
ในประเทศไทย, ซึ่งสวนใหญเปนธุรกิจขนาดเล็ก
13. (SBU) Wacharin commented that the number of Russian tourists to Thailand had steadily increased, to
300,000 Russians in 2008. Thailand was the number two destination in Asia for Russian tourists, who did
not need visas for short visits. The Tourism Authority of Thailand (TAT) reported that as of October
2009, six direct scheduled weekly flights are being operated between Moscow and Bangkok by Thai
Airways International and Aeroflot Russian Airlines. While traditionally the main destination for Russian
tourists was Pattaya, leading to Russia establishing a Honorary Consul covering Pattaya, Rayong, and
Chonburi on the eastern seaboard, in the past several years Russians had started flocking to the up-market
resorts on Phuket on the Andaman coast in large numbers, where a second honorary consulate has been
established.
13. วัชรินทรวิจารณวา จํานวนของนักทองเที่ยวรัสเซียสูประเทศไทยเพิ่มขึ้นอยางมั่นคง, เปน 300,000 คนใน
ป พ.ศ. 2551 ประเทศไทยเปนเปาหมายหมายเลข 2 ในเอเชียสําหรับนักทองเที่ยวรัสเซีย, ผูซึ่งไมจําเปนตอง
ตรวจลงตราสําหรับการทองเที่ยวระยะสั้น การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (TAT) รายงานวา เมื่อเดือน
ตุลาคม 2552, 6 ตารางการบินโดยตรงตอสัปดาหกําลังดําเนินอยูระหวางมอสโกและกรุงเทพโดยการบินไทย
และการบินแอโรฟลอตรัสเซีย ขณะที่โดยหลักแลวเปาหมายหลักสําหรับนักทองเที่ยวรัสเซียคือ พัทยา,
นําไปสูการที่รัสเซียแตงตั้งกงสุลกิตติมศัก ดิ์ซึ่งครอบคลุมพัทยา, ระยอง, และชลบุรีที่ชายฝ งทะเลภาค
ตะวันออก, ในอดีตหลายปที่ผานมาชาวรัสเซียเริ่มการชุมนุมกันที่สถานพักตากอากาศระดับสูงที่ภูเก็ตที่
ชายฝงอันดามันเปนจํานวนมาก, ที่ซึ่งกงสุลกิตติมศักดิ์ลําดับที่ 2 ถูกแตงตั้ง
14. (C) Russian organized crime circles established a presence in Thailand in the 1990s after the collapse
of the Soviet Union. A number of U.S. law enforcement agencies are involved in investigating or
monitoring cases involving Russian organized crime in Thailand in cooperation with Thai partners,
including the Federal Bureau of Investigation (FBI), Drug Enforcement Administration (DEA), and the
Department of Homeland Security’s (DHS) Immigration and Customs Enforcement (ICE). These law
enforcement agencies report that criminal networks composed of mostly Russian nationals operating in
Pattaya and Phuket are responsible for the commission of numerous crimes, including extortion, money
laundering, narcotics trafficking, real estate fraud, financial fraud, human smuggling, pandering,
counterfeiting, document fraud, cybercrime, and illegal importation of cars.
14. วงการของขบวนการอาชญากรรมรัสเซียซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยในคริสตทศวรรษที่ 1990 ภายหลัง
การลมสลายของสหภาพโซเวียต ตัวแทนดานการบังคับใชกฎหมายของสหรัฐจํานวนหนึ่งเกี่ยวของกับการ
สอบสวนหรือดูแลกรณีตางๆที่เกี่ยวของกับขบวนการอาชญากรรมรัสเซียในประเทศไทยเพื่อรวมมือกับ
หุนสวนไทย, รวมทั้งสํานักงานสอบสวนกลางแหงสหรัฐอเมริกา (FBI), สํานักงานปราบปรามยาเสพติด
(DEA), และหนวยงานดานตรวจคนเขาเมือง (ICE) ของกระทรวงความมั่นคงภายใน (DHS) ตัวแทนดานการ
บังคับใชกฎหมายเหลานี้รายงานวา เครือขายอาชญากรรมซึ่งสวนใหญประกอบดวยประชาชนรัสเซียปฏิบัติ
การณในพัทยาและภูเก็ตมีสวนรับผิดชอบตอการกระทําทางอาชญากรรมจํานวนมาก รวมทั้งการขูกรรโชก,
การฟอกเงิน, การคายาเสพติด, การฉอโกงดานอสังหาริมทรัพย, การฉอโกงทางการเงิน, การลักลอบนําคน
เขาเมือง, การลอลวงเพื่อการคาประเวณี, การปลอมแปลงเงินตรา, การปลอมแปลงเอกสาร, อาชญากรรม
คอมพิวเตอร, และการนําเขารถยนตอยางผิดกฎหมาย
15. (SBU) While much of the Russian organized criminal activity in Thailand has occurred quietly, three
specific cases generated public awareness of the phenomenon. In April 1998, Russian restaurant owner
Konstantine Povoltski was found shot dead in a car near one of his two restaurants in southern Pattaya. In
August 2003, police apprehended three Russian bank robbers when their speedboat ran out of fuel after
they held up the Bank of Ayudhya in South Pattaya, stole 2.4 million baht, and killed a Thai police officer
in the process. Rinat Koudaiarov was sentenced to death for the shooting. In February 2007, two Russian
women were found murdered on the beach of Jomtien 10 km from Pattaya, amidst speculation that it had
been a Russian OC-ordered hit.
15. ขณะที่สวนใหญของการกระทําของขบวนการอาชญากรรมรัสเซียในประเทศไทยเกิดขึ้นอยางเงียบๆ, 3
กรณีพิเศษกอใหเกิดปรากฏการณการรับรูตอสาธารณะ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2541, เจาของภัตตาคารรัสเซีย
คอนสแตนติน โปโวลซกี ถูกพบวาตายจากการถูกยิงในรถยนตใกลกับ 1 ใน 2 ของภัตตาคารของเขาใน
พัทยาใต ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2546, ตํารวจจับกุม 3 โจรปลนธนาคารรัสเซียเมื่อเรือยนตที่มีความเร็วสูง
ของพวกเขาเชื้อเพลิงหมดภายหลังที่พวกเขาซอนตัวอยูใน ธ.กรุงศรีอยุธยา ในพัทยาใต, ขโมยเงิน 2,400,000
บาท, และสังหารเจาหนาที่ตํารวจไทยที่กําลังปฏิบัติงาน ไรนาต โคอูไดอารอฟ ถูกพิพากษาประหารชีวิตจาก
การ [เปนผู] ยิง, ในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2550, 2 สตรีรัสเซียถูกพบวาถูกสังหารที่ชายหาดจอมเทียน 10
กิโลเมตรจากพัทยา ทามกลางการคาดเดาวา มันเปนคําสั่งยิงของรัสเซีย

Weapons for sale


อาวุธสําหรับการจําหนาย

16. (SBU) One area in which potential cooperation has not been fully realized is in military armaments.
Thaksin started pursuing possible deals for Russian weapons in 2003 in exchange for debts Russia had
incurred earlier in purchasing Thai rice. In 2005 Thaksin had attempted to broker a deal with Putin in
which Russia would sell a dozen Sukhoi Su-30 fighter jets to Thailand in exchange for 250,000 tons of
frozen poultry worth $500 million. In the end, however, the deal fell through; in October 2007, Thailand
signed a $1.1 billion agreement to purchase six Saab JAS-39 Gripen jets from Sweden.
16. สวนหนึ่งตอความเปนไปไดของความรวมมือซึ่งไมบรรลุอยางเต็มที่คือ ในดานยุทธภัณฑทางทหาร
ทักษิณเริ่มลุลวงตอความเปนไปไดทางการคาสําหรับอาวุธของรัสเซียในป พ.ศ. 2546 โดยการแลกเปลี่ยน
หนี้ซึ่งรัสเซียกอขึ้นกอนหนานี้จากการซื้อขาวไทย ในป พ.ศ. 2548 ทักษิณพยายามที่จะเปนนายหนาการคา
กั บ ปู ติ น ซึ่ ง รั ส เซี ย จะขายเครื่ อ งบิ น ไอพ น ขั บ ไล ซุ ค ฮอย ซู 30 จํ า นวน 1 โหลให กั บ ประเทศไทยเพื่ อ
แลกเปลี่ยนกับสัตวปกแชแข็ง 250,000 ตันมูลคา 500 ลานเหรียญสหรัฐ ในทายสุด, อยางไรก็ตาม, การคา
ลมเหลว; ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550, ประเทศไทยลงนามในขอตกลง 1,100 ลานเหรียญสหรัฐเพื่อซื้อเครื่อง
บินไอพนกริพเพน ซาบ ยาส 39 6 ลําจากสวีเดน

Viktor Bout
วิกเตอร บูท

17. (C) Russian arms merchant Viktor Bout was apprehended in a joint U.S. - Thai undercover DEA sting
operation March 6, 2008 and remains in Thai custody. The U.S. requested extradition in order to try Bout
in the Southern District of New York on a four-count indictment charging conspiracy to kill U.S. nationals
and officers; acquire and use anti-aircraft missiles; and provide material support to the Revolutionary
Armed Forces of Colombia (FARC), a designated foreign terrorist organization. The Thai lower court
ruled in favor of Bout, and against extradition, on August 11, 2009, with the Thai judge stating that the
FARC was engaged in a political cause, not terrorism.
17. นักคาอาวุธรัสเซีย วิกเตอร บูท ถูกจับกุมจากความรวมมือของสายลับสหรัฐ - ไทย สํานักงานปราบปราม
ยาเสพติดปฏิบัติการณจูโจมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2551 และยังคงอยูในการคุมขังของไทย สหรัฐรองขอการสง
ผูรายขามแดนเพื่อที่จะพยายามนําบูทไป [ศาล] เขตทางใตของนิวยอรกตอขอกลาวหา 4 กระทงซึ่งถูกกลาว
หาตอการสมคบคิดเพื่อสังหารประชาชนและเจาหนาที่สหรัฐ; ไดมาและใชขีปนาวุธตอตานอากาศยาน; และ
จัดเตรียมความชวยเหลือดานวัตถุใหกับกองกําลังปฏิวัติติดอาวุธโคลอมเบีย (FARC), องคกรกอการรายตาง
ชาติที่ถูกกําหนด ศาลชั้นตนไทยตัดสินในดานที่ชวยเหลือบูท, และคัดคานการสงผูรายขามแดน, เมื่อวันที่ 11
สิงหาคม 2551, โดยศาลไทยแถลงวา กองกําลังปฏิวัติติดอาวุธโคลอมเบีย (FARC) เกี่ยวของกับเหตุผลทาง
การเมือง, ไมใชการกอการราย
18. (C) Initially, the primary publicly-known Russian interest in defending Bout came from the Russian
Duma, but later, the Russian Government took a more active role in pressing Thailand not to extradite
Bout. Members of Parliament (MPs) Sergey Ivanov and Vice Chairman of the Duma Vladimir
Zhirinovsky have been active in supporting Bout from the beginning. Ivanov testified at Bout’s trial as a
defense witness, stating that if Bout were to be extradited to the U.S. it would adversely affect the Thai -
Russia bilateral relationship. Zhirinovsky has picketed the Thai embassy in Moscow for Bout’s release,
lobbied the Thai ambassador, disrupted the Thai Ambassador during public speeches, and portrayed Bout
as the victim of an anti-Russian witch hunt. The Thai DCM in Moscow, and the Thai MFA’s Russian
desk, have acknowledged to Embassies Moscow/Bangkok the diplomatic pressure the Russian MFA and
Embassy in Bangkok have placed on Bout’s behalf.
18. ในขั้นตน, ความสนใจในการปกปองบูทเปนที่รับรูตอสาธารณะในเบื้องตนของรัสเซียวามาจากสภาดูมา
ของรัสเซีย, แตตอมา, รัฐบาลรัสเซียแสดงบทบาทอยางกระตือรือรนมากกวาเพื่อสื่อตอประเทศไทยไมใหสง
ผูรายขามแดนบูท สมาชิกของรัฐสภา (MPs) เซอรเก อิวานอฟ และรองประธานสภาดูมา วลาดีมีร ซีรินอฟ
สกี กระตือรือรนที่จะชวยเหลือบูทตั้งแตเริ่มตน อิวานอฟยืนยันตอการพิจารณาคดีของบูทเสมือนเปนพยาน
ฝายจําเลย, โดยแถลงวา ถาบูทถูกสงผูรายขามแดนไปสหรัฐ มันจะมีผลกระทบในทางลบตอความสัมพันธ
ทวิภาคีไทย - รัสเซีย ซีรินอฟสกีประทวงตอสถานเอกอัครราชทูตไทยในมอสโกเพื่อการปลอยตัวบูท,
วิ่งเตนผานเอกอัครราชทูตไทย, รบกวนเอกอัครราชทูตไทยระหวางการกลาวสุนทรพจนตอสาธารณะ, และ
วาดภาพใหบูทเสมือนเปนเหยื่อของนักลาแมมดที่ตอตานรัสเซีย รองเอกอัครราชทูตไทยในมอสโก, และ
แผนกรัสเซียของกระทรวงการตางประเทศไทย, รับรูจากสถานเอกอัครราชทูตมอสโก/กรุงเทพถึงการกดดัน
ทางการทูตจากกระทรวงการตางประเทศรัสเซียและสถานเอกอัครราชทูตในกรุงเทพใหยอบรับการเปน
ตัวแทน [ดานเรือดําน้ํา] ของบูท
19. (C) Professor Rom told us he thought that U.S. - Thai relations would not be negatively affected over
the long-term if the U.S.’s appeal failed and Bout was able to return to Russia; he stressed that Thailand
had already cooperated with the U.S. by apprehending Bout at U.S. request. Professor Kantassa admitted
that Bout was a businessman who would sell weapons to anybody, but suggested that the Thai court would
take a neutral stance between the U.S. and Russia on the extradition, a sentiment we occasionally heard
from MFA contacts since Bout’s arrest (Note : the August 11 Lower Court ruling rejecting the extradition
certainly could not be characterized as "neutral"; we await the Appellate Court panel decision).
19. ศ. รมย บอกพวกเราวาเขาคิดวา ความสัมพันธสหรัฐ - ไทยจะไมถูกกระทบดานลบในระยะยาว ถาการ
อุทธรณของสหรัฐลมเหลวและบูทสามารถกลับสูรัสเซีย; เขาเนนวา ประเทศไทยรวมมือกับสหรัฐเรียบรอย
แลวจากการจับกุมบูทตามคํารองขอของสหรัฐ ศ. กัณฐัศศา ยอมรับวา บูทเปนนักธุรกิจผูซึ่งขายอาวุธใหกับ
ใครก็ได, แตแนะนําวา ศาลไทยจะตองแสดงทาทีที่เปนกลางระหวางสหรัฐและรัสเซียตอการสงผูรายขาม
แดน, [นี่เปน] ทัศนคติที่พวกเราไดยินเปนบางครั้งจากการติดตอกับกระทรวงการตางประเทศตั้งแตการถูก
จับกุมของบูท (หมายเหตุ : เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม ศาลชั้นตนตัดสินปฏิเสธการสงผูรายขามแดน แนนอนวา
ไมสามารถแสดงลักษณะ “เปนกลาง”; พวกเรารอคณะผูพิพากษาศาลอุทธรณตัดสินใจ)
20. (SBU) Note : this cable was coordinated with Embassy Moscow.
20. หมายเหตุ : เคเบิ้ลนี้เปนความรวมมือกับสถานเอกอัครราชทูตประจํามอสโก

Eric G. John
อีริค จี. จอหน

You might also like