You are on page 1of 54

หมอกพิษ

บทเรียนจากโครงการถานหินตีจิตซึ่งใหญที่สุดในพมา

© Yuzo Uda

เพียง 13 ไมลจากทะเลสาบอินเลซึ่งมีชื่อเสียงของพมา เปนที่ตั้งของเหมืองถานหินแบบเปดและโรงไฟฟา


พลังงานถานหินขนาดใหญสุดของประเทศ ซึ่งกำลังทำลายสิ่งแวดลอม ในแตละวันมีการขุดแรลิกไนตมากถึง
2,000 ตัน ทั้งๆ ที่เปนถานหินที่กอมลพิษมากสุด จากนั้นมีการลำเลียงถานหินไปเผาผลาญที่โรงไฟฟาที่ตั้งอยู
ใกลเคียง กอใหเกิดเถาปลิวพิษจำนวน 100-150 ตันตอวัน ไฟฟาที่ผลิตไดจากโรงไฟฟาจะจายใหกับโครงการ
เหมืองแหงอื่น เปนลักษณะของภาคพลังงานในพมา ที่การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติไมไดเปนไปเพื่อ
การพัฒนาของประชาชน แตเปนการขายใหกับผูใหราคาสูงสุด ในปจจุบันพมาอยูระหวางวางแผนพัฒนาแหลง
ถานหินแหงอื่น ๆ อีกมากมาย รวมทั้งการสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินใหมเพิ่มเติม

Kyoju Action Network Pa-Oh Youth Organization


ตีพิมพป 2554

ติดตอ : pyorg.net@gmail.com
เว็บไซต : www.pyo-org.blogspot.com
ภาพทั้งหมดถายโดย PYO เวนแตแจงไวตางหาก

เกี่ยวกับ PYO
องคกรเยาวชนชาวปะโอ (Pa-Oh Youth Organization-PYO) กอตั้งขึ้นเมื่อป 2541 และมุงทำงานเพื่อสงเสริม
สันติภาพและความยุติธรรมโดยการสรางความเขมแข็งใหเยาวชน

องคกรเยาวชนชาวปะโอไดตีพิมพรายงาน “ขโมยอนาคต” (Robbing the Future) เมื่อเดือนมิถุนายน 2552


หลังจากการวิจยั เปนเวลาสองปในพืน้ ทีเ่ หมืองเหล็กขนาดใหญสดุ ของพมา และทีโ่ รงถลุงเหล็กหมายเลข 5 ทีป่ างเพชร
ในรัฐฉาน และยังคงจับตาสถานการณและใหความรูชุมชนในพื้นที่เกี่ยวกับผลกระทบของโครงการเหมืองที่มีตอ
สิ่งแวดลอมและสังคม

Contact: kyoju2010@gmail.com

Kyoju Action Network


Kyoju Action Network (KAN) กอตั้งขึ้นในป 2553 โดยมีเปาหมายเพื่อสงเสริมศักยภาพของชุมชนใหสามารถ
คุมครองทรัพยากรธรรมชาติของตนเองได คำวา “Kyoju” ในภาษาปะโอหมายถึง “สดชื่นและสีเขียว”
Table of Contents
เกริน่ นํา .............................................................................................................................................................. 5
บทสรุป .............................................................................................................................................................. 7
บทที่ I อุตสาหกรรมถานหินของพมา .................................................................................................................. 8
ทรัพยากรมาก แตขาดแคลนพลังงาน ................................................................................................................... 9
เหมืองถานหินในพมา ............................................................................................................................................ 9
ตาราง แหลงถานหินทีส่ าํ คัญในพมาตามขอมูลของรัฐบาลพมา ........................................................................... 10
แผนทีก่ ารสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินในพมา ................................................................................................... 12
ลําดับขัน้ การปลอยกากของเสียในโรงไฟฟาพลังงานถานหิน ............................................................................... 13
โรงไฟฟาพลังงานถานหินในพมา ........................................................................................................................... 13
แผนการสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินในพมา ...................................................................................................... 13
บทที่ II โครงการเหมืองถานหินตีจติ ..................................................................................................................... 14
บานตีจติ และพืน้ ทีข่ า งเคียง .................................................................................................................................... 17
ตอนเหนือแมนา้ํ บาลู .............................................................................................................................................. 17
ทะเลสาบอินเล ...................................................................................................................................................... 18
แผนทีโ่ ครงการเหมืองถานหินตีจติ และทะเลสาบอินเล ......................................................................................... 19
การทําเหมืองถานหินทีต่ จี ติ ................................................................................................................................... 20
แผนทีโ่ ครงการเหมืองถานหินและโรงไฟฟาตีจติ .................................................................................................. 23
ผูล งทุน ................................................................................................................................................................... 23
โรงไฟฟาถานหินตีจติ .............................................................................................................................................. 24
สถานการณดา นพลังงานของประชาชนในพืน้ ที่ ................................................................................................... 25
ไฟฟาจากตีจติ สงใหกบั โรงถลุงเหล็กพินเพชร ....................................................................................................... 25
บทที่ III ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและชุมชน ...................................................................................................... 26
การบังคับโยกยาย .................................................................................................................................................. 28
การเวนคืนทีด่ นิ ...................................................................................................................................................... 32
สายพานลําเลียงไฟฟาเปนภัยคุกคามตอชุมชน .................................................................................................... 33
กฎหมายมีอยู แตขาดหลักนิตธิ รรม ...................................................................................................................... 34
ภัยคุกคามตอทีท่ าํ กิน ............................................................................................................................................. 35
คนตกงานมากขึน้ .................................................................................................................................................. 35
มลพิษดานอากาศทีค่ กุ คามสุขภาพ ....................................................................................................................... 37
เถาปลิวคืออะไร? .......................................................................................................................................... 39
ควันจากโรงไฟฟาทําใหเกิดฝนกรด................................................................................................................ 40
แมเมาะ: บทเรียนจากโรงไฟฟาพลังงานถานหินใหญสดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ................................... 41
มลพิษดานนํา้ และการขาดแคลนนํา้ ...................................................................................................................... 42
มลพิษดานเสียง ...................................................................................................................................................... 44
การทําลายวัฒนธรรม ............................................................................................................................................. 44
สรุปและขอเสนอแนะ .......................................................................................................................................... 47
ภาคผนวก ............................................................................................................................................................. 48
ประชากรซึง่ อาศัยอยูใ นรัศมีหา ไมลรอบเหมืองถานหินและโรงไฟฟา .................................................................. 51
ชาวบานทีถ่ กู บังคับใหโยกยายในป 2546 เนือ่ งจากโครงการเหมืองถานหินตีจติ ................................................ 52
โรงไฟฟาพลังงานถานหินตีจิต
เกริ่นนำ
บานตีจิตตั้งอยูบริเวณทะเลสาบอินเลซึ่งเปนแหลงตนน้ำที่มีชื่อเสียงของพมา หมูบานแหงนี้เปนที่ตั้ง
ของเหมืองถานหินแบบเปดขนาดใหญสุดของประเทศ รวมทั้งโรงไฟฟาพลังงานถานหินขนาดใหญสุดเชนกัน
ถานหินที่กองไวสำหรับโรงไฟฟามีความสูงกวาบานของชาวบาน การระเบิดเหมืองเปนเหตุใหเจดียในพื้นที่
พังทลายลง แหลงน้ำก็ปนเปอนดวยมลพิษจนไมอาจใชการไดอีก ทางการไดเวนคืนพื้นที่หลายรอยเอเคอร
และมีการโยกยายสองหมูบานบริเวณใกลเคียงโดยไมไดใหความชวยเหลือกับชาวบานแตอยางใด ชาวบาน
ในพื้นที่ไมมีสวนรวมในโครงการ ทั้งๆ ที่โครงการนี้สงผลกระทบอยางรุนแรงตอชีวิตของพวกเขา และที่ผาน
มายังไมมีการศึกษาใหเขาใจถึงผลกระทบดานสุขภาพในระยะยาวอยางเพียงพ
พมาเปนประเทศที่ขาดแคลนพลังงานอยางตอเนื่อง แตก็ยังคงสงออกแหลงพลังงานมหาศาลไปยัง
ประเทศเพื่อนบาน ในปจจุบันประมาณ 3% ของไฟฟาในประเทศผลิตไดจากถานหิน โดยไฟฟาสวนใหญ
ไดถูกใชสำหรับกิจการเหมืองแรหรือนิคมอุตสาหกรรม ไมไดเปนประโยชนตอประชาชนทั่วไปเลย ดังเชน
แผนการเปดเหมืองถานหินที่ภาคตะวันออกของรัฐฉานเพื่อสงออกมายังประเทศไทย และการกอสราง
โรงไฟฟาพลังงานถานหินขนาดใหญสุดของเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพื่อจายไฟใหกับนิคมอุตสาหกรรมของ
คนไทยในภาคใตของพมา
ในขณะที่พมาเรงพัฒนาการทำเหมืองถานหินและสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินมากขึ้น จึงมีความ
สำคัญอยางเรงดวนที่ตองพิจารณาประสบการณที่เกิดขึ้นที่หมูบานตีจิต ชุมชนในพื้นที่ซึ่งกำลังจะมีการทำ
โครงการเกี่ยวกับถานหินก็ควรทำความเขาใจถึงผลกระทบจากโครงการเหลานี้และเตรียมการเพื่อปกปอง
5
ตนเอง ในเวลาเดียวกัน บริษทั จากประเทศเพือ่ นบานซึง่ มีแผนการลงทุนในโครงการดานถานหินในพมา ก็ควร
ตระหนักถึงผลกระทบดานสังคมและสิ่งแวดลอมจากกิจการของพวกเขา
CHINA

SHAN
r STATE
ive

Salween River
MANDALAY
nR

DIVISION Taunggyi Hopone


wi
ind
Ch

Nam Hkok
Inle
) Lake
Lweje
Dathwegyauk Tigyit Hsi Sai
Kyobin Pinlaung
600 MW
Paluzawa
) n River KARENNI THAILAND
Kalewa Namma
Thinbaung
Salwee

Mahu Taung Sam Laung

Kehsi mahsam
Kyauktaga

Inbyin Mai Khot


Myeni
)
)
er
ddy Riv

Tigyit
6 369 MW
Irrawa

120 MW
r
Rive
ung
Sita

Htantabin Coal deposits discovered


)
) Coal deposits being mined

Rangoon
Division ) Coal thermal power plant
270 MW 2 x 540 MW

) ŽĂůƚŚĞƌŵĂůƉŽǁĞƌƉůĂŶƚƵŶĚĞƌĐŽŶƐƚƌƵĐƟŽŶ

) Coal thermal power plant under plan

4,000 MW
) Dawei
River

Theidaw
Maw Taung

6 MW
)
Kaw Thaung
บทสรุป
• แมวาพมาจะอุดมไปดวยแหลงทรัพยากรดานพลังงาน แตรัฐบาลทหารก็เอาแตสงออกทรัพยากร
เหลานี้ และปลอยใหประชาชนขาดแคลนพลังงานอยางตอเนื่อง การใชประโยชนจากทรัพยากร
ธรรมชาติรวมทั้งการทำเหมืองแร กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคมรวมทั้งชุมชน
ในพื้นที่อยางรุนแรง ในขณะที่บริษัทซึ่งเปนผูลงทุนไมไดแสดงความรับผิดชอบตอชุมชนที่ไดรับ
ผลกระทบ
• มีแหลงถานหินขนาดใหญกวา 16 แหงในพมา โดยคิดเปนปริมาณถานหินรวมกันกวา 270 ลานตัน
ตีจิตเปนเหมืองถานหินแบบเปดใหญสุดของพมา สามารถผลิตถานหินไดเกือบ 2,000 ตันตอวัน
• เหมืองถานหินและโรงไฟฟาตีจิตตั้งอยูหางจากทะเลสาบอินเลที่มีชื่อเสียงของพมาเพียง 13 ไมล
โดยทะเลสาบแหงนี้เปนแหลงมรดกที่สำคัญของอาเซียน มีการปลอยน้ำเสียจากเหมืองแรและ
โรงไฟฟาเขาสูทะเลสาบผานแมน้ำบาลู โดยที่ไมมีการศึกษาถึงผลกระทบของโครงการที่มีตอ
ทะเลสาบและไมมีการเปดเผยขอมูลตอสาธารณะ
• มีการขนสงถานหินจากเหมืองไปยังโรงไฟฟาพลังงานถานหิน ซึ่งยังเดินเครื่องอยูเพียงแหงเดียว
ในพมาที่บานตีจิต ในแตละปโรงไฟฟาแหงนี้ใชถานหิน 640,000 ตันและสามารถผลิตไฟฟาได
600 กิกะวัตตหรือที่กำลังผลิต 120 เมกะวัตต ในแตละวันจะมีการผลิตเถาปลิวที่เปนพิษ 100-
150 ตัน ไฟฟาสวนใหญที่ผลิตไดจากโรงไฟฟาก็จะถูกจายใหกับโรงถลุงเหล็กซึ่งเปนของบริษัทจาก
รัสเซียและอิตาลี 7
• โครงการเหมืองแรและโรงไฟฟาเริ่มดำเนินการตั้งแตป 2545 โดยบริษัท China National Heavy
Machinery Corporation (CHMC) และกลุมบริษัท Eden Group และ Shan Yoma Nagar
ของพมา
• ชาวบานที่บานไหลคาและตองโพลาซึ่งอยูขางเคียงไดถูกทางการบังคับใหโยกยายออก และมีการ
เวนคืนที่นากวา 500 เอเคอร ครอบครัวชาวนาที่ถูกบังคับโยกยายตองสูญเสียที่ดินและอดอยาก
หิวโหย พวกเขาตองหาเลีย้ งชีพดวยการตัดไมเพือ่ ขายเปนฟน หรือไมกต็ อ งอพยพออกจากพืน้ ทีเ่ พือ่
ใหมชี วี ติ รอด การระเบิดเหมืองก็สงผลใหเจดียในพื้นที่พังทลาย
• มลพิษดานอากาศและน้ำสงผลคุกคามตอการเกษตรและสุขภาพประชาชนเกือบ 12,000 คน
ซึ่งอาศัยอยูในรัศมีหาไมลจากโครงการ สุดทายพวกเขาก็อาจจะตองอพยพออกไปที่อื่น จนถึง
ปจจุบัน ครึ่งหนึ่งของประชาชนในพื้นที่ประสบกับปญหาผื่นคันตามผิวหนัง
• องคกรเยาวชนชาวปะโอไดจับตาสถานการณของโครงการนี้ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2553 และ
เรียกรองใหบริษทั และรัฐบาลชะลอการดำเนินงานจนกวาจะมีการประเมินผลกระทบดานสิง่ แวดลอม
สังคม และสุขภาพ ทางหนวยงานขอใหชุมชนในพื้นที่ไมลงนามในเอกสารจนกวาจะไดรับขอมูล
และใหตอตานการคอรัปชั่นและการใชทรัพยากรที่จะสงผลกระทบตอการดำรงชีพและทรัพยากร
ธรรมชาติของชุมชน
บทที่: 1
อุตสาหกรรมถานหินของพมา
ทรัพยากรมาก แตขาดแคลนพลังงาน
พมาเปนประเทศที่มีประชากรหลากหลายชาติพันธุจำนวนรวมกัน 59.12 ลานคน1 เกษตรกรรม
ยังคงเปนแหลงรายไดหลักของ 70% ของประชากรทั้งหมด2 เผด็จการทหารไดปกครองประเทศตั้งแตป
2505 ในปจจุบัน ทหารยังคงอยูในอำนาจเพราะเปนผูสนับสนุนพรรคสหเอกภาพและการพัฒนา (United
Solidarity and Development Party - USDP) ซึ่งชนะการเลือกตั้งที่ผานมาในป 2553 ในขณะที่มี
ขอกลาวหามากมายวามีการโกงการเลือกตั้ง
แมวาพมาจะอุดมดวยทรัพยากรดานพลังงาน แตประชาชนกลับประสบปญหาขาดแคลนพลังงาน
อยางตอเนื่อง และตองพึ่งพาไมฟน ถานและพลังงานชีวมวลเปนหลัก รัฐบาลเผด็จการทหารไดลงนาม
ในความตกลงหลายฉบับกับบริษัทจากตางชาติเพื่อสงออกทรัพยากรดานพลังงานไปยังประเทศเพื่อนบาน
อยางเชน จีน บังคลาเทศ ไทย และอินเดีย3 แมวาการขายทรัพยากรเหลานี้ โดยเฉพาะกาซธรรมชาติ
จะเปนแหลงรายไดสำคัญของงบประมาณประเทศในชวงหนึ่งทศวรรษที่ผานมา แตระบบการศึกษาและ
สาธารณสุขทั้งประเทศก็อยูในอันดับที่เลวรายสุดของโลก
การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติโดยผานการทำเหมืองแร การตัดไม และโครงการเขื่อน
สรางผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชนในพื้นที่ และทำใหเกิดความตึงเครียดมากขึ้นในพื้นที่ซึ่งมีการสูรบ
เนื่องจากไมมีหลักนิติธรรมในพมา บริษัทซึ่งลงทุนในโครงการเหลานี้จึงสามารถดำเนินการโดยไมตอง
รับผิดชอบใดๆ ตอชุมชนที่ไดรับผลกระทบ ทำใหโครงการเหลานี้สงผลกระทบอยางมากตอการดำรงชีพ
และนำไปสูการละเมิดสิทธิมากมาย สงผลโดยตรงใหคนอพยพออกไปตางประเทศ กลาวคือเยาวชน
หลายแสนคนไดทะลักจากพรมแดนพมาเขาสูประเทศเพื่อนบาน และยังสงผลใหเกิดความเสี่ยงมากขึ้น 9

ตอปญหาการคามนุษยในพื้นที่

เหมืองถานหินในพมา
ตามขอมูลกระทรวงการเหมืองแรของพมา มีแหลงถานหินขนาดใหญกวา 16 แหงในพมา โดยคิด
เปนเชื้อเพลิงถานหินกวา 270 ลานตัน สวนใหญเปนแรในระดับที่เรียกวาซับบิทูมินัส และอยูที่ภาคเหนือ
(โปรดดูตาราง)
โครงการเหมืองถานหินไดรับการบริหารโดยวิสาหกิจเหมืองแรที่ 3 (Mining Enterprise No. 3 -
ME-3) ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจภายใตกระทรวงการเหมืองแร รวมกับบริษัททั้งในประเทศและตางประเทศ
ทางกระทรวงฯ รายงานวาในป 2554 รัฐวิสาหกิจจะดำเนินการในกิจการเหมืองแร 2.81% ของประเทศ
สวนอีก 43.87% เปนการรวมทุนกับบริษัทเอกชน และอีก 53.32% จะเปนการดำเนินงานของบริษัท
เอกชนในประเทศ4 ทำใหมีเหมืองแรอยางนอย 82 แหงทั่วประเทศ5
กิจการรวมทุนกับบริษทั ตางชาติมกั เกีย่ วของกับการสงออกทรัพยากรถานหินไปยังประเทศเพือ่ นบาน
ไทยเปนประเทศผูนำเขารายใหญของถานหินจากพมา บริษัทสระบุรีถานหินจำกัดไดรับสัมปทานในการทำ
เหมืองถานหินที่มอตองในภาคตะนาวศรี และสงออกถานหินมายังประเทศไทย และยังจะมีการสงออก
ถานหินจากเหมืองไมคด (มองกก) ในภาคตะวันออกของรัฐฉานมายังประเทศไทยเชนกัน ถานหินมักถูกใช
กับกิจการของตางชาติหรือกิจการรวมทุน อยางเชน เหมืองทองแดงโมนีวาหรือโรงงานเหล็กกลาพินเพชร
(โปรดดูหัวขอเกี่ยวกับโรงไฟฟาพลังงานถานหิน) โดยถานหินเปนเชื้อเพลิงที่ปอนใหกับพื้นที่อุตสาหกรรม
ไมเปนที่ชัดเจนวาทรัพยากรถานหินของพมาตกถึงมือผูบริโภคและครัวเรือนที่ประสบปญหาขาดแคลน
เชื้อเพลิงและพลังงานอยางตอเนื่องหรือไม
แหลงถานหินที่สำคัญในพมาตามขอมูลของรัฐบาลพมา6
ลำดับ พื้นที่ เมือง รัฐ/ภาค ลานตัน ประเภทของถานหิน

1 Paluzawa/Chaungzone Kalewa/Mawleik ภาคสะกาย 89.00 ซับบิทูมินัส


2 Kalewa Kalewa ภาคสะกาย 87.78 ซับบิทูมินัส

3 Dathwegyauk Tamu ภาคสะกาย 33.91 ซับบิทูมินัส


4 MahuTaung Kani ภาคสะกาย 0.80 ลิกไนต
5 Kyauktaga Natmauk ภาคมาเกว 0.54 ซับบิทูมินัส
6 Myeni Paung ภาคมาเกว 0.25 ซับบิทูมินัส
7 Thinbaung Khin Oo ภาคสะกาย 0.08 ลิกไนต
8 Kyobin Kawlin ภาคสะกาย 0.03 ซับบิทูมินัส
9 Lweje Moemauk รัฐกะฉิ่น แหลงใหญ -

10 10 ตีจิต ปนหลวง รัฐฉาน 20.20 ลิกไนต

11 Kehsi mahsam Kehsi mahsam รัฐฉาน 37.007 ซับบิทูมินัส


12 Namma ลาเสียว รัฐฉาน 2.80 ลิกไนต
13 Sam laung (Sam Lau) Tibaw รัฐฉาน 1.60 ลิกไนต
14 Inbyin Kalaw รัฐฉาน 0.22 ซับบิทูมินัส
15 มอตอง ภาคตะนาวศรี ภาคตะนาวศรี 3.60 ซับบิทูมินัส
16 Theindaw /Kawmabyin ตะนาวศรี ภาคตะนาวศรี 2.00 ซับบิทูมินัส
รวม 277.81
* เหมืองถานหินไมคด (มองกก) ที่ภาคตะวันออกของรัฐฉาน ไมไดถูกรวมในแหลงถานหินที่สำคัญ 16 แหง
แมวาจะเปนแหลงถานหินใหญสุดแหลงหนึ่งของรัฐ

ถานหิน: เชื้อเพลิงฟอสซิลที่สกปรกมากสุด
ถานหินเปนเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เกิดขึ้นจากซากพืชที่ทับถมกันเปนเวลาหลายลานป8 ถานหินเปน
เชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีคารบอนมากสุด และเปนตนกำเนิดถึงกวา 70% ของคารบอนไดออกไซด มากกวากาซ
ธรรมชาติเมื่อเทียบกับแตละหนวยพลังงานที่ผลิตได9 คารบอนไดออกไซดมีอันตรายตอสุขภาพของมนุษย
และสงผลกระทบอยางรุนแรงตอการเปลี่ยนแปลงดานสภาพภูมิอากาศ
บริษัท (ถาทราบ) สถานภาพ
การทำเหมือง

r
ive
nR
wi
ind
Tun Thwin, Htoo ยังดำเนินการอยู

Ch
Lweje
Thit & ME-3 Dathwegyauk
Kyobin
Paluzawa
MEC ยังดำเนินการอยู

i er
Kalewa Namma

n Riv
Thinbaung

Salwee
Mahu Taung Sam Laung

Kyauktaga Kehsi mahsam

Inbyin Mai Khot


Myeni

er
ddy Riv
Tigyit

ME-3, Ayeyarwaddy ยังดำเนินการอยู


Irrawa
Myitpyar, Bamboo

r
Rive
ung
Result Co. Ltd.

Sita
Shan Yoma Nagar, ยังดำเนินการอยู 11
Eden Group,Shwe
Than Lwin

ME-3, Coal deposits discovered

AAA International ยังดำเนินการอยู Coal deposits being mined

River

สระบุรี, MEC ยังดำเนินการอยู


Theidaw
Maw Taung

ลิกไนต: ถานหินที่สกปรกมากสุด
ถานหินมีสี่ประเภทใหญๆ ตั้งแตถานหินแข็งและดำอยางเชน แอนทราไซตและบิทูมินัส ไปจนถึง
ประเภทสีน้ำตาลและนุมอยางเชน ซับบิทูมินัสและลิกไนต10 ถานหินสีน้ำตาลและนุมอยางลิกไนตเปน
ถานหินประเภทที่กอมลพิษสูงสุด ทั้งการปลอยคารบอนไดออกไซดในปริมาณมากสุดตอหนึ่งหนวยพลังงาน
เมือ่ เปรียบเทียบกับถานหินประเภทอืน่ ลิกไนตยงั มีโอกาสเผาไหมตวั เองไดสงู มากกวาถานหินประเภทอืน่ ดวย
แผนที่การสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินในพมา
Kalewa (600 เมกะวัตต)
กำหนดแลวเสร็จ: ไมทราบ
บริษัทผูสราง: China Guodian
Corporation และ Tun Thwin
Mining Co., Ltd.12

r
ive
ไมคด (มองกก)

nR
พลังงานไฟฟา: มีแผนจายไฟฟา

wi
(369 เมกะวัตต)

ind
ใหกับโครงการเหมืองทองแดง
Ch
ขนาดใหญที่เปนของตางชาติ กำหนดแลวเสร็จ: ไมทราบ
ที่เมืองโมนีวา13 บริษทั ผูเ ดินเครือ่ ง: อิตาเลียนไทย
ดิเวล็อปเมนท จำกัด (มหาชน)
)
ประเทศไทย

n River
Kalewa
พลังงานไฟฟา: สงออกไปยัง

Salwee
จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย17

Mai Khot

) )
er
ddy Riv

Tigyit
Irrawa

Htantabin (270 เมกะวัตต) ทวาย (4-6,000 เมกะวัตต)18


กำหนดแลวเสร็จ: ไมทราบ
r
Rive

กำหนดแลวเสร็จ: 255614
บริษัทผูเดินเครื่อง: อิตาเลียนไทย
ung

บริษัทผูเดินเครื่อง: Huaneng
Sita

Lancangjiang Hydropower Co.,


Htantabin ดิเวล็อปเมนท จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
Ltd of China และ Htoo Trading ) บริษทั จากจีน เกาหลี และญีป่ นุ ก็ใหความสนใจ
Co., Ltd. of Burma
)
ในโครงการนี้
พลังงานไฟฟา: ไฟฟาอยางนอย 200
Rangoon พลังงานไฟฟา: จายไฟใหกบั นิคมอุตสาหกรรม
Division

เมกะวัตตจะจายใหกับโรงงานซึ่งอยู ขนาดใหญรวมทั้งโรงถลุงเหล็กและโรงงาน
ในเขตนิคมอุตสาหกรรมสามแหง ปโตรเคมี
ที่กรุงยางกุง15
) Dawei
ยางกุง (540 เมกะวัตต x 2)
มีแผนจะพัฒนาโรงไฟฟาทั้งสอง
แหงแตยังไมไดเปดเผยขอมูลวา
จะจายไฟฟาใหกับอะไร16
Kawthoung (6 เมกะวัตต)
ยังไมมีโครงการในตอนนี้
แตบริษัทสระบุรีถานหินจาก
) KƉĞƌĂƟŶŐ
) ประเทศไทยเปนผูดำเนินการ
) hŶĚĞƌĐŽŶƐƚƌƵĐƟŽŶ
Kaw Thaung โครงการเหมืองถานหินใกลกบั
เมืองมอตอง20
) WůĂŶŶĞĚ
ลำดับขั้นการปลอยกากของเสียในโรงไฟฟาพลังงานถานหิน
ในการใชถานหินเพื่อผลิตไฟฟา มักจะนำถานหินมาบดและเผาในเตาเพื่อตมน้ำ ความรอนจากเตา
จะทำใหน้ำในหมอตมเปนไอ จากนั้นจะใชไอน้ำเพื่อปนกังหันที่ไปหมุนแกนเครื่องปนไฟฟา โรงไฟฟา
พลังงานถานหินเปนโรงไฟฟาที่ใชไอน้ำเดินเครื่อง หลังจากการเผาถานหินในเตา จะกอใหเกิดกากมลพิษ
ที่เรียกวา เถาปลิว ซึ่งจะตองมีการกำจัดทิ้ง (โปรดดูหัวขอ “เถาปลิวคืออะไร?”) ควันที่เกิดจากไฟในเตาก็จะ
แพรออกสูอากาศผานปลองควันไฟ และในควันประกอบดวยกาซพิษที่เปนอันตรายตอสุขภาพมนุษยและ
เปนสาเหตุของภาวะโลกรอน
13
โรงไฟฟาพลังงานถานหินในพมา
ในชวงที่ผานมาพมามีโรงไฟฟาพลังงานถานหินหลายโรง ตั้งแตขนาด 30 เมกะวัตตที่สรางขึ้นสมัย
ตกเปนอาณานิคมของอังกฤษ โดยสรางที่อะโลน กรุงยางกุง แตตองปดไปในป 2533 ในป 2551 มีไฟฟา
เพียง 3.32% ในพมาที่ผลิตจากถานหิน11 สวนใหญจะใชในกิจการเหมืองแรประเภทอื่น และมักไมคอยตก
ถึงมือผูบริโภคทั่วไป โรงไฟฟาพลังงานถานหินที่มีแผนการสรางในพมาจะจายไฟใหกับโครงการซึ่งเปนของ
ตางชาติเปนสวนใหญ รวมทั้งนิคมอุตสาหกรรม หรือไมก็สงออกไปยังประเทศเพื่อนบาน (โปรดดูแผนที่)

โรงไฟฟาถานหินใหญสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและอยูในพมา
บริษัทอิตาเลียนไทย ดิเวล็อปเมนท จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปน
บริษัทกอสรางขนาดใหญของไทยกับพมาไดลงนามในสัญญามูลคา
หลายพันลานเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 สำหรับ
การพัฒนาโครงการทาเรือน้ำลึกที่เมืองทวาย ซึ่งครอบคลุมถึงการ
กอสรางโรงไฟฟาถานหินขนาดใหญสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
โดยจะมีกำลังการผลิต 4,000 เมกะวัตต ที่ผานมามีการประทวง
แผนการนี้ และมีการฟองคดีตอศาลเปนเหตุใหมีการชะลอการ
กอสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินทีม่ าบตาพุด รวมทัง้ โรงงานปโตรเคมี
ที่จังหวัดระยองของไทย การสรางโรงงานที่ทวายเปนสิ่งที่นาสนใจ
สำหรั บ ประเทศไทย เพราะมี ก ารกำกั บ ดู แ ลด า นสิ่ ง แวดล อ ม แผนภูมแิ สดงโครงการโรงไฟฟาพลังงานถานหิน
นอยกวา และการโยกยายประชาชนออกนอกพืน้ ทีก่ ท็ ำไดงา ยกวา19 ที่จะมีการกอสรางในเมืองทวาย
บทที่: 2
โครงการเหมืองถานหินตีจิต
พริกกำลังเฉาตายทามกลางแสงแดดใกลกับบานตีจิต

สวนพริกนอกบานตีจิต
บานตีจิตและพื้นที่ขางเคียง
ตีจิตมีประชากรเกือบ 3,000 คนและตั้งอยูบนถนนสายหลักระหวางเมืองตองจี ปนหลวง และ
เนปตอ ในเขตปนหลวง ทางตอนใตของรัฐฉาน โดยอยูหางจากทะเลสาบอินเลไปทางตะวันตกเฉียงใต
13 ไมล และหางจากเมืองกาลอไปทางใต 22 ไมล ทั้งสองพื้นที่ตางเปนแหลงทองเที่ยวที่สำคัญ ชาวบาน
จะเปนชาวไทใหญ ปะโอ ตองโย และพมา และสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ ชาวบานสวนใหญซึ่งมีอายุ
มากกวา 40 ปจะไมรูภาษาพมา
ชาที่ปลูกในบานตีจิตและปนหลวงเปนชาที่มีชื่อเสียงมากในพมา ทั้งพื้นที่นี้ยังเปนแหลงเพาะปลูก
มันสำปะหลังเพื่อสงออกไปยังเมืองตางๆ อยางเชน ยางกุง มัณฑะเลยและตองจี พืชไรหมุนเวียนที่ปลูก
ประกอบดวยขาว มันสำปะหลัง กะหล่ำปลี กระเทียม พริก และชา ซึ่งตองใชน้ำจากแมน้ำบาลูและแมน้ำ
ที่ไหลมาจากนองทารา พื้นที่นี้ประกอบดวยหมูบาน 25 แหงและมีประชากรเกือบ 12,000 ในรัศมีหาไมล
รอบบานตีจิต บานตีจิตตั้งอยูในเขตตนน้ำทะเลสาบอินเลขนาด 1,422 ตารางไมล และตั้งอยูไปดานทิศ
ตะวันตกของทะเลสาบ 13 ไมล (21 กิโลเมตร)21

ตอนเหนือแมน้ำบาลู
แมน้ำบาลูหรือที่เรียกวาแมน้ำอินเด มีตนกำเนิดมาจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของเขตปนหลวง
และไหลเปนระยะทาง 40 ไมลลงสูด า นทิศตะวันตกของทะเลสาบอินเล22 โดยเปนหนึง่ ในสามของแมนำ้ สายหลัก
ที่ไหลลงสูทะเลสาบที่มีชื่อเสียงแหงนี้ ชาวบานที่อยูสองขางทางแมน้ำไมเพียงใชน้ำจากแมน้ำเพื่อการเกษตร
และการขนสง แตใชเพือ่ อาบน้ำดวย ปรกติแลวเกษตรกรจะทำฝายจากไมไผขนาดเล็กกัน้ ตามลำน้ำ เพือ่ สงน้ำ 17

ไปยังนาขาวของตน อยางไรก็ตาม ที่ผานมารัฐบาลไดสรางเขื่อนผลิตไฟฟาขนาด 29 เมกะวัตต ซึ่งอยู


ตอนเหนือของแมนำ้ บาลู โดยเปนการรวมทุนกับบริษทั NEO Energy Oasis Development Company23
เขื่อนแหงนี้ตั้งอยูหางไมถึงหนึ่งไมลจากเจดียฉวยอินเด และเจดียผองเตาอูในทะเลสาบอินเล ไมเปนที่ชัดเจน
วาเขื่อนแหงนี้จะสงผลกระทบตอระดับน้ำในทะเลสาบอยางไร เนื่องจากที่ผานมายังไมมีการทำการประเมิน
ผลกระทบอยางเปดเผย

ปลาที่จับมาจากแมน้ำในพื้นที่ซึ่งนำมาวางขายที่ตีจิต แมน้ำบาลูไหลลงสูทะเลสาบอินเล
© Yuzo Uda

ทะเลสาบอินเล
ทะเลสาบอินเลเปนทะเลสาบน้ำจืดใหญเปนอันดับสองของพมา และเปนแหลงทองเที่ยวที่สำคัญ
แหงหนึ่งของประเทศ ทั้งยังมีสถานะเปนอุทยานมรดก (Heritage Park) ของอาเซียน ทะเลสาบอินเล
มีชื่อเสียงเนื่องจากวิธีการพายเรือที่เปนเอกลักษณของชาวประมงอินทาซึ่งอยูในพื้นที่ โดยพวกเขาจะผูกขา
ขางหนึ่งกับกรรเชียงเรือ
มีการประเมินคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพของทะเลสาบวาอยูสูงมาก และเปนแหลงอาศัย
สำคัญของสิ่งมีชีวิตใกลสูญพันธุจำนวนมากรวมทั้งปลาเกาชนิดที่ไมสามารถพบไดที่อื่นในโลก24 ทะเลสาบ
ยังเปนที่อยูอาศัยของนกนานาพันธุ โดยมีการเก็บขอมูลนก 254 ชนิดในพื้นที่นี้25 ที่บริเวณทะเลสาบอินเล
มีหมูบานอยูประมาณ 400 แหง โดยมีประชากรรวมกันประมาณ 170,000 คน
แมจะมีแมน้ำและลำธาร 29 สายไหลลงสูทะเลสาบอินเล แตแมน้ำบาลู ทันตอง และนันกาตก็ถือ
เปนแมน้ำสายหลักที่ไหลลงสูทะเลสาบแหงนี้26 บริเวณชะวากทะเลของแมน้ำบาลู ถือเปนแหลงอาศัย
สำคัญสุดแหงหนึ่งของสัตวน้ำในทะเลสาบอินเล27
ขนาดพื้นผิวน้ำและคุณภาพน้ำในทะเลสาบลดลงอยางตอเนื่อง อันเปนผลมาจากการปลูกสวนผัก
ลอยน้ำจำนวนมากที่ใชปุยเคมีและยาฆาแมลง28 ปญหารุนแรงขึ้นในชวงฤดูรอนป 2553 เมื่อระดับน้ำลดลง
สูจุดต่ำสุดในรอบ 50 ป29 การเพิ่มขึ้นของมลพิษและการลดลงอยางรวดเร็วของพื้นผิวน้ำ ทำใหเกิด
ความกังวลอยางมากตออนาคตของทะเลสาบแหงนี้
แผนที่โครงการเหมืองถานหินตีจิตและทะเลสาบอินเล

Hopone

Taunggyi
ung
e Ya
Shw

Creek
Heho Pinpet

Nam Kat
Aung Ban Yaungshwe
Kalaw
Ka
la
w
Cr
ee
k

Inle Lake

k
cree
bet
Tha
Upper Balu Ywama
k

Hydro power Dam


ee
Cr

29 MW
lu

Indein
Ba

Phaung Taw Oo Banyin


B

Coal Power
Plant
)
Tigyit
Coal Mine
Upper Balu Creek

Sai kao
kaong

Naung Thara

Legend

City / Village
) Coal power plant
Airport
Coal mine
River
Pinpet iron & steel factory
Road
Dam
Railway
Water pipe
Lake
tĂƚĞƌƉŽůůƵƟŽŶ
Pagoda
การทำเหมืองถานหินที่ตีจิต
ตี จิ ต เป น เหมื อ งถ า นหิ น แบบเป ด ขนาดใหญ สุ ด ของพม า มี ก ำลั ง ผลิ ต เกื อ บ 2,000 ตั น ต อ วั น
ตัวเหมืองใหญจะเปนเหมืองแบบเปดครอบคลุมพื้นที่กวา 50,000 เอเคอรและมีแผนจะขยายออกไป มีการ
ทำเหมืองใตดินสำหรับถานหินจำนวนไมมากนัก โดยการขุดเปนอุโมงคขนาดสี่ตารางฟุตใตพื้นที่เกษตรกรรม

เหมืองเปดที่ตีจิต
เหมืองเปด
ในป 2545 เริ่มมีการขุดเพื่อเตรียมเหมืองเปด มีการใชเครื่องจักรกลหนักเพื่อไถพุมไมหรือไมยืนตน
และมี ก ารตั ก หน า ดิ น ออก เป น การทำลายพื้ น ที่ เ กษตรกรรมขนาดใหญ จากนั้ น คนงานก็ ใช ไ ดนาไม
เพื่อระเบิดพื้นดินและทำเปนแองดินแบบเปด จะมีการระเบิดอยางตอเนื่องจนกวาจะกลายเปนหลุมลงไป
ผลจากการระเบิดทำใหบานเรือนที่บานตีจิตเกิดอาการแตกราว

ขอมูล: โครงการเหมืองถานหินตีจิต
คนพบเปนครั้งแรก 2532
เตรียมการเพือ่ ทำเปนเหมืองเปด 2545
ศักยภาพของแหลงแร 20.7 ลานตัน30
ขนาดของเหมืองจนถึงปจจุบัน 544 เอเคอร
ประเภทของถานหิน ลิกไนตและซับบิทูมินัส31
วิธีการทำเหมือง เหมืองเปดและเหมืองใตดิน
ปริมาณแรที่ขุดได 1,750 ถึง 2,000 ตันตอวัน
ขนาดของแหลงแร ความยาว 2 ไมลและลึก 6-62 ฟุต32
การใชประโยชนจากถานหิน มีการขนสงถานหินไปที่โรงไฟฟาพลังงานถานหินตีจิต
โดยการใชรถบรรทุกและการใชสายพานลำเลียงขนาด
6 กิโลโวลต (KV)
ประมาณเงินลงทุนขุดแรจนถึง 10 ลานเหรียญสหรัฐฯ
ปจจุบัน
เหมืองใตดิน
กอนที่จะเตรียมเพื่อทำเปนเหมืองเปด ทหารพมาไดมาที่นี่และเริ่ม
ขุดอุโมงคใตที่นาของชาวบานใกลกับบานนองทาราและตีจิต ไมมีใครกลา
รองเรียนเพราะตางก็กลัวทหาร เมื่อทหารไดขมขูชาวนาจนมากพอแลว
และไดทำลายที่นาที่สำคัญไปแลว พวกเขาก็นำคนงานจากภาคกลางของ
พมามาขุดหาถานหินในอุโมงค หลังจากขุดเอาถานหินมาไดใตพื้นที่ปลูกชา
และนาขาว คนงานจะนำถานหินมากองไวขางกับที่นา ซึ่งทำใหคุณภาพ
ของดินลดลงและทำใหชาวบานไมสามารถเพาะปลูกพืชได ในปจจุบัน ยังมี
การทำเหมืองใตดินอยูทางตอนเหนือของวัดที่บานโพลนตัน ทางตะวันออก
ของบานพาราเพรน ทางตะวันออกของเขตเมืองนองทาราและในหมูบาน
จูงพลวง

ระบบเหมืองใตดินซึ่งทำลายนาขาว
แผนที่โครงการเหมืองถานหินและโรงไฟฟาตีจิต

tion
ay sta
Railw

23

ผูลงทุน
แต เ ดิ ม มี ก ารทำสั ญ ญาเหมื อ ง
แหงนีโ้ ดยบริษทั China National Heavy
Machinery Corporation (CHMC), Shan
Yoma Nagar Company,33 ME-3, Shwe
Than Lwin Company, Eastern
Development Company, Eden
Company, A-One Company และ
Special Region (6) Business Group34
หลังจากขุดแรไปไดสองป บริษัท Shwe
Than Lwin, A-1 และ Special Region
(6) Business Group ได ถ อนตั ว จาก
แผนปายแสดงโครงการตีจิตของบริษัท Eden Company
โครงการ เนือ่ งจากไมสรางผลกำไรมากพอ
ตอนนั้นมีขาวลือวาบริษัท Shan Yoma
Nagar Company ก็จะโอนหุนสวนที่เหลือใหกับบริษัท Eden Company ในเดือนเมษายน 2553 แต
จนถึงปจจุบันยังไมมีการยืนยันขอมูลอยางเปนทางการ35 ในเว็บไซตของบริษัท CHMC ระบุวาทางบริษัท
มีเหมืองเปดอยูในพมา แตไมมีขอมูลยืนยันถึงสถานการณทำสัญญาของบริษัท
โรงไฟฟาถานหินตีจิต
ปจจุบันตีจิตเปนโรงไฟฟาพลังงานถานหินเพียงโรงเดียวที่ยังเดินเครื่องอยูในพมา ในเดือนกันยายน
2544 พลเอกรองอาวุโสหมองเอ ซึ่งเปนตัวแทนรัฐบาลไดมาที่นี่ และเปนคนเลือกสถานที่กอสรางโรงไฟฟา
24 มีการแจงใหทหารในพื้นที่ยึดที่นากวา 100 เอเคอร และไมไดใหคาชดเชยแตอยางใด บริษัท CHMC จากจีน
และบริษัท Eden Group จากพมาเปนผูกอสรางโรงไฟฟาภายใตการกำกับดูแลของกระทรวงพลังงาน
การกอสรางเริ่มขึ้นเมื่อเดือนกันยายน 2545 และแลวเสร็จในเดือนเมษายน 254836
โรงไฟฟาแหงนี้มีกังหันผลิตไฟฟาขนาด 60 เมกะวัตตสองหนวย สามารถผลิตไฟฟาได 600 กิกะวัตต
ชั่วโมง (Gwh) ตอป และใชถานหินจำนวน 640,000 ตันตอป ซึ่งมาจากเหมืองถานหินตีจิตที่อยูหางออกไป
1.5 ไมล37 มีการจายไฟฟาไปที่สถานียอยที่เมืองกาลอ ตามขอมูลของสำนักขาว Mizzima News จะมีการ
ปอนไฟฟา 65 เมกะวัตตเขาสูสายสงเพื่อจายใหกับโรงถลุงเหล็กพินเพชร (โปรดดูตาราง)38 ไฟฟาจาก
โรงไฟฟาแหงนี้ยังจายใหกับโรงงานซีเมนตที่นาคาซึ่งอยูใกลเคียง39 จึงสรุปไดวาไฟฟาจากโรงไฟฟาตีจิต
จายใหกับบริษัทซึ่งก็นำไปใชเพื่อใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติตอไป
ขอมูล: โรงไฟฟาถานหินตีจิต
บริษัทผูเดินเครื่องโรงไฟฟา China National Heavy Machinery Corporation Company
(CHMC), Eden Group of Myanmar and Myanmar Electric
Power Enterprise (MEPE)
จำนวนเงินลงทุน 42.93 ลานเหรียญ40
ไฟฟาที่ผลิตได กำลังผลิต 120 เมกะวัตต 600 กิกะวัตตชั่วโมง (Gwh)ในแตละป
การใชถานหิน 640,000 ตันตอป41
ปริมาณเถาปลิวทีเ่ ปนกากของเสีย 100 - 150 ตันตอวัน42
แหลงน้ำ แมน้ำบาลูซึ่งไหลลงสูทะเลสาบอินเล
สถานการณดานพลังงานของประชาชนในพื้นที่
แมวาทางโครงการจะจายไฟฟาบางสวนใหกับบานตีจิต แตชาวบานตองสูญเสียที่ดินและหนทาง
ทำมาหากิน ทั้งยังไดรับผลกระทบดานสุขภาพ จากการเขามาของเหมืองทำใหพวกเขาเสี่ยงที่จะถูกเวนคืนที่
การจายไฟฟาใหในระยะสั้นจึงไมมีประโยชนแตอยางใด
โรงพยาบาลที่บานโฮโพนมีไฟฟาใชอยางจำกัดและมีใหใชเปนชวงๆ สวนศูนยกลางแพทยที่ตองจี
ตองใชไฟฟาปนสำหรับการผาตัด และคนไขตองจายเงินเพิ่มสำหรับคาไฟ ในขณะที่โรงถลุงเหล็กกลา
พินเพชรและฟารมไกขนาดใหญ ซึ่งเปนของบริษัทตางชาติที่ตั้งอยูระหวางเมืองโฮโพนกับตองจี ตางมี
ไฟฟาใช 24 ชั่วโมงในแตละวัน โดยไดรับไฟฟาจากสถานียอยกาลอที่รับไฟจากโรงไฟฟาตีจิต

ตาราง: ไฟฟาจากตีจิตสงใหกับโรงถลุงเหล็กพินเพชร
จะมีการพัฒนาแหลงแรเหล็กใหญสุดของพมาที่ภูเขาพินเพชร ซึ่งอยูหางจากกรุงตองจี เมืองหลวง
ของรัฐฉานออกไป 10 กิโลเมตร และอยูหางจากบานตีจิต 40 ไมล การอพยพโยกยายจะทำใหประชาชน
7,000 คนพลั ด ที่ น าคาที่ อ ยู และต อ งมี ก าร
ทำลายภู เขาทั้ ง ลู ก โรงถลุ ง เหล็ ก ขนาดใหญ
อยูระหวางการกอสรางที่พินเพชร ทามกลาง
ขาวลือหนาหูวาแหลงแรแหงนี้ไมไดมีแตเพียง
แรเหล็ก แตยังมียูเรเนียมดวย ที่ผานมามีการ
เวนคืนทีน่ าอันอุดมสมบูรณกวา 7,000 เอเคอร
เพือ่ ใชเปนพืน้ ทีโ่ รงงาน ซึง่ มีชอ่ื อยางเปนทางการ
วาโรงถลุงเหล็กพินเพชรที่ 5 ในการเดินเครื่อง
โรงงาน จะตองใชไฟฟา 65 เมกะวัตตที่ไดจาก
โรงไฟฟาถานหินตีจิต โรงถลุงเหล็กพินเพชร
ตั้งอยูในพื้นที่ซึ่งยังคงมีการสูรบอยู ทหารพมา
ซึ่งลาดตระเวนรักษาความปลอดภัยในพื้นที่
ไดทรมานและสังหารชาวบานทั้งในป 2552
และในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ 2553 โครงการ
พินเพชรเปนการรวมทุนระหวางบริษัทจาก
รั ส เซี ย อิ ต าลี และพม า 43 โรงงานพิ น เพชร
ยั ง นำเข า ถ า นหิ น กว า 13,000 ตั น ต อ วั น
เป น เวลา 75 ป โดยมาจากเหมื อ งถ า นหิ น
เกสีมั่นสาม ทางภาคกลางของรัฐฉาน44 โรงถลุงเหล็กพินเพชรที่อยูระหวางการกอสราง
บทที่: 3
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชุมชน
ชาวนาและลูกๆ ที่ตองหาทางแกปญหาน้ำปนเปอนมลพิษ
“กอนที่บริษัทยักษใหญจะเขามา เกือบทุกคนในหมูบานจะมีเกวียนเทียมวัวและควายเปนของตนเอง
เราไมตองกังวลกับการหาอาหารมาเลี้ยงพวกมัน เพราะแถวนี้มีอาหารอุดมสมบูรณ แตเมื่อตอง
28 โยกยายออกไป เราสูญเสียที่ดินและยังหาอาหารมาเลี้ยงสัตวไดยากขึ้น พวกเราสวนใหญจึงตองขาย
สัตวเลี้ยงไปรวมทั้งควายดวย” (บทสัมภาษณหมายเลข 2)

การบังคับโยกยาย
หมูบานทั้งสองแหงถูกโยกยายใหกับโครงการเหมือง และมีอีกหลายหมูบานที่เสี่ยงจะถูกโยกยายเพื่อ
ใชเปนพื้นที่ทิ้งกากของเสียหากมีการขยายพื้นที่เหมืองออก ไมมีใครทราบวาจะมีการขยายเหมืองออกไป
กวางขวางเพียงใด

บานตองโพลา
บานตองโพลาประกอบดวย 24 ครัวเรือน พวกเขาถูกบังคับใหโยกยายออกโดยหนวยยายากา
(State Peace and Development Council หรือ SPDC ระดับหมูบาน) เมื่อป 2546 ตอนที่เริ่มเตรียม
การจะขุดเหมืองถานหิน ชาวบานไมไดรับความชวยเหลือสำหรับการโยกยายแตอยางใด มีการใหคาชดเชย
แตนอยมาก เพื่อจะประหยัดคาใชจายในการโยกยาย ชาวบานบางสวนเลือกที่จะอยูในที่นาของตนเองซึ่งอยู
ใกลกับหมูบานเดิม สวนชาวบานที่โยกยายออกตองไปอยูทางทิศตะวันออกของหมูบานเดิมตามปาเขา
โดยหนวยงานในพื้นที่ตั้งชื่อหมูบานใหมวา ไมเซนตอง แตชาวบานยังยืนยันที่จะเรียกวาเปนบานตองโพลา
เหมือนเดิม (ชื่อเดิมของหมูบาน) ชาวบานอาจตองยายออกไปอีกในเร็วๆ นี้ เพราะมีกากของเสียจากการ
ทำเหมืองถานหินกองอยูเปนจำนวนมากขึ้น และตั้งอยูใกลกับบานที่ตั้งขึ้นมาใหม
“ตอนที่โยกยาย ผูหญิงบางคนรองหมรองไหจนเปนลม แมวาจะผานไปหลายเดือนหลังจากโยกยาย
ชาวบานก็ยังสับสนจับตนชนปลายไมถูก เพราะไดสูญเสียที่ดิน และไมรูวาจะทำอะไรตอไปดี”
(บทสัมภาษณหมายเลข 2)

“ตอนนั้นเปนฤดูฝน พวกเราขอชะลอการยายออกไปกอน แตพวกเขาปฏิเสธ บริษัทพวกนั้นอางวา


ตองทำโครงการทันที และเราตองยายออกไป ระหวางการโยกยายเราตองเผชิญกับอุปสรรคมากมาย
เราตองรื้อถอนบานเรือนระหวางฝนตก ถนนเต็มไปดวยโคลนเลน ทำใหการขนยายขาวของเปนไป
ดวยความยากลำบากมาก พวกเขาใหคาชดเชยกับเรามากสุด 150,000 จาด (ไมถึง 150 เหรียญ)
ตอครัวเรือน บานที่หลังเล็กก็จะไดนอยกวานั้น มันไมพอแมแตคาใชจายในการขนยายไปที่ใหม
พวกเราถูกบังคับใหยายออกในชวงฤดูฝน ทำใหไมสามารถสรางบานใหมได เราไดแตปลูกกระทอม
และอาศัยอยูในกระทอมเหลานั้น ทางบริษทั สัญญาวาจะสรางสถานีอนามัย หองสมุด และโรงเรียน
ใหกบั เรา แตกไ็ มเคยทำสักที พวกเขาบอกวาจะขุดบอน้ำให แตในความเปนจริงพวกเขาแคซอมแซม
บอน้ำเกาที่มีอยูแลว บางคนบอกวาเราอาจตองโยกยายอีก แตคราวนี้คิดวาขอใหตายไปเสียดีกวา
ที่จะตองไปจากที่นี่” (บทสัมภาษณหมายเลข 4)

บานไหลคา
ในป 2546 บานไหลคาซึ่งมีประชากร 200 คนไดถูกบริษัทเหมืองถานหินตีจิตบังคับใหโยกยาย 29
ทางบริษัทไมไดเตรียมพื้นที่ใหมใหแตอยางใด ชาวบานจากหมูบานขางเคียงทั้งที่ตีจิตและพยินทา ตองให
ความชวยเหลือชาวบานไหลคาที่ตองอพยพไปอาศัยอยูดานเหนือของวัดบานตีจิต หนวยงานในพื้นที่ไดเขา
มาเวนคืนที่ดินของชาวบานที่บานตีจิตและทายาโคน เพื่อจัดสรรเปนพื้นที่ใหมใหกับชาวบานจากไหลคา

บานตีจิตจะกลายเปนเหมืองถานหิน
ตอนที่เจาหนาที่มารังวัดพื้นที่แหลงถานหินที่ตีจิต พื้นที่รังวัดครอบคลุมพื้นที่ครึ่งหนึ่งของบานตีจิต
แตไมมีการโยกยายหมูบานออกไป เนื่องจากเจาอาวาสวัดตีจิตไดรองขอตอหนวยงานในพื้นที่และกองทัพ
ภาคตะวันออก อยางไรก็ตาม ในปจจุบันพื้นที่ทำเหมืองอยูหางจากหมูบานเพียงแค 40 เมตร ชาวบานไดรับ
ผลกระทบจากมลพิษดานอากาศ มลพิษดานน้ำและเสียง อันเนื่องมาจากการทำเหมืองทุกวัน และอาจถูก
บังคับใหตองโยกยายออกไปในเวลาไมนานจากนี้

กองกากของเสียที่ขยายตัวมากขึ้น
กองกากของเสียขนาดใหญจากเหมืองถานหินขยายตัวใกลเขาไปที่หมูบานทายาโกนมากขึ้นเรื่อยๆ
หมูบานแหงนี้มีประชากรอยูเกือบ 400 คน กากของเสียเหลานี้มีขนาดใหญจนสูงกวาหมูบาน (โปรดดูรูป)
ถาฝนตกหนักในชวงฤดูฝน อาจเกิดเหตุการณโคลนถลมทับทำลายหมูบานได ที่ผานมาหนวยราชการ
พยายามผลักดันใหชาวบานอพยพออกหลายครั้ง เริ่มจากการบังคับใหไมกี่ครอบครัวยายออกไป แตคนใน
หมูบานก็ยังสามัคคีกันและปฏิเสธที่จะยายออก
กากของเสียจากเหมืองถานหินที่กองอยูใกลกับบานของชาวบานที่ตองโพลา

โรงไฟฟาที่ตั้งอยูเปนฉากหลังหมูบานทายาโกน
เหมืองเปดที่รุกคืบเขาไปยังที่นาของบานตีจิต

ชาวนากำลังรดน้ำ สวนฉากหลังเปนกากของเสียจากเหมืองที่กองสูงขึ้นเรื่อยๆ
โรงไฟฟาที่ตั้งอยูชายขอบของทุงนา

“ที่ ตั้ ง ของโรงไฟฟ า เคยเป น ที่ น าที่ ส วนของชาวบ า นตี จิ ต มาก อ น ดิ น แถวนั้ น อุ ด มสมบู ร ณ แ ละ
เหมาะกับการเกษตรมาก เราสามารถปลูกพืชตามฤดูกาลไดหลายครั้งตลอดทั้งป แตเนื่องจาก
โรงไฟฟาแหงนี้เปนของรัฐบาล พวกเขาก็เวนคืนที่ดินเราไปโดยไมใหคาชดเชยใดๆ ตอนนี้เราไมมีที่ดิน
32 เพื่อการเลี้ยงชีพ ภรรยาผมตองหาเลี้ยงครอบครัวดวยการขายผัก โดยรับจากตลาดดานเหนือไปขาย
ที่ตลาดดานใต” (บทสัมภาษณหมายเลข 3)

การเวนคืนที่ดิน
ในปจจุบันพื้นที่เหมืองถานหินและโรงไฟฟาครอบคลุมที่นาที่สวนกวา 500 เอเคอรของชาวบาน
ที่บานตีจิต ตองโพลา พยินทา ไหลคา บามินโกน บริษัท Shan Yoma Nagar และ Shwe Than Lwin
companies รวมมือกับราชการในทองถิน่ กดดันและคุกคามใหชาวบาน “ขาย” ทีน่ าในราคาถูก ในบางกรณี
ทางกระทรวงการเหมืองแรก็เขามายึดที่ดินเอาไปเฉยๆ เมื่อไมมีที่ดิน ชาวบานก็ตองขายสัตวเลี้ยงและ
อยูอยางหิวโหย

“เราเคยทำนาหาเอเคอร กอนที่บริษัทจะเขามา เรามีขาวเหลือจากการทำนาทุกป ไมตองกังวลเรื่อง


อาหารเลย หลังจากหวานขาวแลว เราก็ปลูกมันสำปะหลัง มะเขือเทศ และพืชผักอื่นๆ แตละปเรามี
รายไดประมาณ 300,000 จาด (300 เหรียญ) แตพวกเขาจายเปนคาชดเชยที่ดินใหเราแค 30,000
จาด (30 เหรียญ) ทั้งๆ ที่เปนที่นาซึ่งมีน้ำเขาตลอดทุกฤดูกาล เงินแคนี้เราจะเอาไปทำอะไรได?
ตอนนี้พวกเขาขุดที่ดินของเราทั้งวันทั้งคืน ผมมีที่เหลืออยูเพียงแคนี้เอง และไมมีที่อื่นจะไป ตอนนี้
ไมมีอะไรกิน ผมไมสามารถเพาะปลูกในที่นาในปหนาไดเพราะมีคำสั่งมาแลวใหตองยายออกไป”
(บทสัมภาษณหมายเลข 4)
“ตอนที่บริษัทเขามาเวนคืนที่นาเพื่อเอาไปทำเหมืองถานหิน พวกเขารวมมือกับหนวยราชการระดับ
หมูบาน พวกเขาเรียกประชุมชาวบานและกดดันใหทุกคนลงชื่อ ชาวบานไมรูวาลงชื่อไปเพื่ออะไร
แตหลังจากลงชื่อไปแลว พวกเขาอางวาที่ดินของเราทุกคนในหมูบานตกเปนของบริษัทไปแลว และ
พวกเขาจะจายคาชดเชยใหเราเอเคอรละ 20,000 จาด (20 เหรียญ) และเราจะไดรับอนุญาตให
เพาะปลูกไดเฉพาะชวงฤดูฝนเทานั้น ชาวบานบางคนตกใจมาก เอาแตตีอกชกหัวและรองไห สวนคน
อื่นๆ ไมยอมรับคาชดเชย เพราะเปนเงินที่นอยเกินกวาจะเอาไปทำอะไรได ทางการพอใจมาก และ
บอกวา ‘ถาพวกคุณไมเอาเงิน ก็เทากับเราไดที่ดินไปฟรีๆ’” (บทสัมภาษณหมายเลข # 04)

แมวาจะมีการจายคาชดเชยเพียงเล็กนอยใหกับที่ดิน แตก็ทำใหเกิดความสับสนกับชาวบาน เพราะ


ที่ผานมาพวกเขาแบงปนกันทำกินในที่ดินเหลานี้

“ตอนแรกที่พวกเขามอบเงินคาชดเชยใหเรา เราเองก็สับสนมาก เพราะไมรูวาที่ดินตรงไหนเปน


ของใคร ตามวัฒนธรรมของเรา เราจะชวยกันทำกินในที่ดินเหลานี้พรอมกับลูกและหลาน เราไมเคย
จำกัดขอบเขตอยางชัดเจนของที่ดิน” (บทสัมภาษณหมายเลข # 09)

สายพานลำเลียงไฟฟาเปนภัยคุกคามตอชุมชน
ถานหินจากเหมืองจะถูกขนยายมาที่โรงไฟฟาผานสายพานลำเลียงยาว 1.5 ไมล ซึ่งใชไฟฟาขนาด 33
6 กิโลโวลต (KV) เปนตัวขับ ทางการประกาศวาถาสายพานสะดุดเพราะมีวัวหรือควายไปชน เจาของวัวหรือ
ควายจะถู ก ฟ อ งร อ งดำเนิ น คดี
นับแตมีประกาศเชนนั้น ชาวบาน
ก็ไมกลาปลอยสัตวเลี้ยงอยางเชน
วัวและควายใหไปหากินเองตาม
ทุ ง นา แม ว า สายพานลำเลี ย ง
ถานหินจะมีหลังคาปด แตสายพาน
ลำเลี ย งในส ว นที่ เ ป น การขนดิ น
มาถมไม มี ห ลั ง คา สายพานที่ มี
ไฟฟาวิ่งและติดตั้งอยูใกลกับถนน
ในชุ ม ชน เป น อั น ตรายต อ เด็ ก ๆ
และคนที่ สั ญ จรไปมา รวมทั้ ง
สัตวเลี้ยงดวย
ตาราง: กฎหมายมีอยู แตขาดหลักนิติธรรม
ตามพระราชบัญญัติการเหมืองแรป 2537 กำหนดใหผูทำเหมืองตองขออนุญาตจากเจาของ
ที่ดินกอนจะทำโครงการได ซึ่งไมใชสิ่งที่เกิดขึ้นที่บานตีจิต ไมมีการแจงใหชาวบานทราบแตอยางใด
เกี่ยวกับโครงการที่กำลังเกิดขึ้น พวกเขาไมทราบวาจะเกิดอะไรขึ้น บางทีราชการยังเขามาขมขู
ดวยซ้ำ

ดานลางเปนเนื้อหาจากหมวด 5 มาตรา 14
ผูไดรับสัมปทานทำเหมืองแรในพื้นที่ใตการควบคุมของกระทรวง หรือพื้นที่ซึ่งไมไดอยู
ภายในเขตสงวนเพื่อการเหมืองแร (Mineral Reserve Area) หรือเขตเหมืองอัญมณี
(Gemstone Tract) จะสามารถดำเนินการผลิตไดก็ตอเมื่อมีการประสานงานและมีความ
ตกลงกับบุคคลหรือหนวยงานซึ่งมีสิทธิในการทำกิน สิทธิในการครอบครอง สิทธิในการใช
และมีกรรมสิทธิ์ สิทธิในการไดรับประโยชน สิทธิในการไดรับมรดกตกทอด หรือสิทธิที่จะ
โอนถายกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกลาว45

ในเวลาเดียวกัน ตามกฎกระทรวงวาดวยการเหมืองแรแหงพมาป 2539 เพือ่ ทีจ่ ะไดสมั ปทาน


ทำเหมือง ตองมีการนำเสนอแผนการคุมครองสิ่งแวดลอม มาตรา F ของกฎกระทรวงระบุไววา
34
แมวาจะยังไมมีการตราพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอม แตก็มีขอกำหนดใหโครงการเหมือง
ขนาดใหญตองจัดทำการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอม (Environmental Impact
Assessment - EIA) โดยใหถือเปนสวนหนึ่งของการสำรวจความเปนไปไดของโครงการ
กรณีที่เปนบริษัทตางชาติก็อาจปฏิบัติตามมาตรฐานของธนาคารโลก หรือมาตรฐานที่ไมได
ต่ำกวามาตรฐานที่มีอยูในประเทศของตนเอง46

ที่ผานมาไมมีการเปดเผยผลการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และไมมีทางทราบไดวา
มีการยื่นแผนคุมครองสิ่งแวดลอมตอกระทรวงการเหมืองแรสำหรับโครงการเหมืองถานหินตีจิต
หรือไม
ภัยคุกคามตอที่ทำกิน
เหมืองถานหินที่เปนระบบเปดจะมีการทำลายที่ทำกินดวยการใชเครื่องจักรกลหนักตลอด 24 ชั่วโมง
นอกจากนี้ทางบริษัทยังทำเหมืองใตดินซึ่งอยูดานใตสวนชาในหมูบานนองทารา พวกเขาขุดโพรงขนาด
หนาตัด 4 ตารางเมตรเปนอุโมงคลงไปใตสวน ทำใหชาวบานตางหวาดกลัวเสมอวาดินจะถลม
ถานหินที่ขุดออกมาก็จะถูกนำมากองไวขางๆ และกองไวบนที่ทำกินของชาวบาน กอนจะมีการขนสง
ไปยังโรงไฟฟา ถานหินเหลานี้ทำลายคุณภาพของดินและยังปดกั้นน้ำไมใหไหลเขาที่นา มีการปลอยน้ำเสีย
และกากขี้เถาทิ้งลงในลำคลอง และน้ำที่ปนเปอนเหลานี้จะไปทำลายดินในที่ทำกิน
“ดินในที่นาของดิฉันแข็งมากในตอนนี้ และไถไดยาก เพราะพวกเขา (บริษัท) เอาน้ำจากเหมือง
ถานหินมาทิ้งในแมน้ำตีจิต ในชวงฤดูฝน น้ำจะทวมที่นา และพัดพาเอาเศษตะกอนถานหินเขาสูที่ดิน
ของเรา กากตะกอนถ า นหิ น เหล า นี้ ท ำให ดิ น ของเราแข็ ง และไถยาก และให ผ ลผลิ ต น อ ยลง”
(บทสัมภาษณหมายเลข # 07)

คนตกงานมากขึ้น
ชาวนาจาก 6 หมูบานตองสูญเสียที่ดินและตองหาทางเลี้ยงชีพดวยวิธีการอื่น ชาวบานบางคน
ยังไดรับอนุญาตใหทำกินในที่ดินบางสวนที่ถูกเวนคืนได ในขณะที่เหมืองยังขยายมาไมถึง แตพวกเขาก็กังวล
กับอนาคตมาก
บริษัทอางวาโครงการถานหินทำใหชาวบานมีงานทำ แตทั้งโครงการมีการจางคนงานแค 500 คน
ในขณะที่มีชาวบานซึ่งตองสูญเสียที่ทำกินกวา 1,000 คนและลูกจางสวนใหญของเหมืองและโรงไฟฟา 35

ก็ไมใชคนในทองถิ่น มีการจางผูชายในพื้นที่เพียงไมกี่คนเพื่อเปนคนขับรถบรรทุก
เพือ่ หาเลีย้ งชีพตนเอง หลายครอบครัวตองตัดไมเพือ่ ขายเปนไมฟน ซึง่ ยิง่ สงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม
ขางเคียง ผูหญิงบางคนพยายามหางานทำดวยการขายผัก สวนชายหนุมก็อพยพไปที่อื่นเพื่อหางานทำ

ถานหินที่ถูกนำมากองไวใกลกับนาขาว
การขาดแหลงรายไดของชาวบานทำใหไมสามารถสงลูกเขาเรียนหนังสือ เพือ่ หาทางชวยใหครอบครัว
อยูได เด็กๆ ก็ตองไปหางานทำกับพอแม หรือไมก็ตองอยูบานเลี้ยงนอง หรือทำงานบานอื่นๆ

“บริ ษั ท ได เวนคื น ที่ ท ำกิ น ทั้ ง หมดด า นทิ ศ ตะวั น ตกของหมู บ า น (บ า นบามิ น โกน) แต พ วกเขา
ยังอนุญาตใหชาวบานทำกินในที่ดินเหลานี้กอนที่เหมืองจะขยายมาถึง ขาราชการคนกอนไมยอมให
ชาวบานทำกินในที่ดินผืนนี้เลย แตคนใหมอนุญาตใหเราทำกินได แมจะอนุญาตใหเราใชที่ดินได
แตพวกเราก็ไมตองการเสียเงินเพื่อซื้อปุยมาใช เพราะพวกเขาอาจมาทำลายที่ดินของเราเวลาใดก็ได
พอไมลงปุย ผลผลิตที่ไดก็ต่ำมาก ในปกอนๆ เรามักมีขาวเหลือกิน และยังมีเหลือพอที่จะขายเปน
เงินไดดวย แตปหนา พวกเขาไมอนุญาตใหเราทำกินตอไป เราจึงตองเก็บเศษไมมาขายเปนฟน แตถา
ตนไมหมดไปในอนาคต เราก็ไมรูวาจะไปทำอะไรกินดี” (บทสัมภาษณหมายเลข # 09)

“เราเคยมีน้ำและระบบชลประทานรอบหมูบานที่อุดมสมบูรณ (บานทายาโกน) แตในการทำกิน


ตอนนี้เราไมมีที่ทำกินของเราเองแลว ที่แยกวานั้น กองเถาถานหินก็ขยับเขามาใกลหมูบานมากขึ้น
เรือ่ ยๆ เราไมรจู ะทำอะไรดี ตอนทีท่ ดี่ นิ เราถูกยึดไป เราไมมอี ะไรเหลือแลว เราไมรจู ะทำมาหาเลีย้ งชีพ
อยางไร ทุกๆ วัน ที่ดินของเราก็ถูกกลบทับดวยดินที่มาจากเหมืองถานหิน ผมเองก็ไมรูวาที่ดิน
สำหรับทำกินของผมอยูตรงไหน เพราะมันถูกกองถานหินวางทับไปจนหมด ตอนนี้ผมมีงานทำ
อยางเดียวคือการออกไปหาไมฟน ดานตะวันออกของภูเขาเพือ่ นำไปขาย ทีห่ มูบ า นไมมงี านอยางอืน่ ทำ
36 แถวนี้ไมมีงานทำเลย” (บทสัมภาษณหมายเลข # 05)

ชาวบานตองไปตัดไมเพื่อขายเปนฟน
มลพิษดานอากาศที่คุกคามสุขภาพ

รถบรรทุ ก ขนถ า นหิ น ตลอดทั้ ง วั น ทำให เ กิ ด ฝุ น ควั น และกลายเป น มลพิ ษ ในหมู บ า น ฝุ น เหล า นี้
ยังแพรไปในแหลงน้ำ บานเรือน และสวนผัก ทั้งยังคุกคามตอสุขภาพความเปนอยูของชาวบาน เด็กๆ ที่
บานตองโพลาตองเดินทางผานเขตเหมืองทุกวัน เพื่อไปโรงเรียนที่ตีจิต พวกเขาตองเดินทามกลางฝุนควัน
ในชวงฤดูฝนก็ตองเดินย่ำโคลนไป 37

มีการนำกากของเสียจากถานหินและโรงไฟฟามาทิ้งในที่ทำกินซึ่งตั้งอยูระหวางบานคยินทาและ
บานตองโพลา ทางทิศตะวันออกของโรงไฟฟา ขี้เถาเหลานี้เปนอันตรายตอสุขภาพ (โปรดดูตารางวาดวย
“เถาปลิว”) ในเวลาเดียวกันกองถานหินที่โรงไฟฟาก็เริ่มเผาผลาญตัวเองตามธรรมชาติ ปลอยกาซพิษเขาสู
บรรยากาศ และเปนที่ทราบกันวา โรงไฟฟาพลังงานถานหินจะปลอยสารปรอท ซีลีเนียม และสารหนูเขาไป
ในอากาศ ซึ่งเปนอันตรายอยางมากตอสุขภาพของคนและสิ่งแวดลอม

“บางครั้งถานหินก็ลุกไหมดวยตนเองในที่เก็บใกลๆ
กับโรงไฟฟา จากนั้นก็จะปลอยกลิ่นเหม็นๆ ออกมา
เปนกลิ่นที่เหม็นกวายางไหม เหม็นไปจนถึงหมูบาน
ใกลเคียง ชาวบานที่ทนกลิ่นไมได ก็จะยายออกไป
ในที่ๆ ปลอดภัยกวา” (บทสัมภาษณหมายเลข # 11)

ตั้งแตปที่แลว ชาวบานที่อยูใกลโรงไฟฟาเริ่มประสบ
ปญหาผื่นคันมากขึ้น ในตอนนี้ประมาณครึ่งหนึ่งของชาวบาน
ที่อาศัยอยูใกลเคียงปวยเปนโรคผิวหนัง (โปรดดูรูป) เจาของ
โรงงานไมไดใหความชวยเหลือตอผูปวยแตอยางใด
สวนผักหลายแหงที่ตั้งอยูรอบเหมืองและโรงไฟฟาถูกเถาถานหินปกคลุม เมื่อชาวบานรองเรียนกับ
บริษทั วากะหล่ำปลีของพวกเขาเสียหาย บริษทั ก็จะสงทหารยศรอยเอกมาเจรจากับชาวบาน ทหารจะบอกกับ
ชาวบานวา “ยาฆาแมลงมันก็ติดอยูบนผิวของผัก และพวกคุณก็ตองลางผักและกินผักอยูดี ฉันใดก็ฉันนั้น
คุณก็สามารถลางเถาถานหินที่ติดอยูบนกะหล่ำปลีออกไปได ไมเห็นจะเปนปญหาเลย”
ดูเหมือนบริษัทจะจางเจาหนาที่อนามัยหนึ่งคนเพื่อทำงานในหมูบานขางเคียง แตจากคำบอกเลาของ
38 ชาวบานคนหนึ่ง ตำแหนงของเจาหนาที่มีไวเพื่อโชวคนอื่นเทานั้น

“ทหารไดสงเจาหนาที่อนามัยมาคนหนึ่ง จำไมไดวามียศพันตรีหรือรอยเอก บางครั้งเขาก็มาที่


หมูบานและสอบถามเกี่ยวกับสุขภาพ บริษัทจางเขาไวเพื่อสรางภาพที่ดีของตนเอง แตจริงๆ ก็ไมได
ใหบริการดานสุขภาพอะไร พวกเขาเพียงแตตองการสรางภาพใหโครงการเทานั้น” (บทสัมภาษณ
หมายเลข #15)

ผลกระทบดานสุขภาพเนื่องจากเหมืองและโรงไฟฟาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นในระยะยาว และอาจไมเห็นผล
จนกวาหลายปผานไป หรือจนกระทั่งคนรุนตอไป เจาหนาที่ที่สถานีอนามัยของรัฐที่เราติดตอขอขอมูล
เพื่อเขียนรายงานบอกวา พวกเขาไมมีอำนาจที่จะใหขอมูลเกี่ยวกับสถานการณที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได

สุขภาพของคนงานที่เหมืองและโรงไฟฟา
คนงานไมมีประกันอุบัติเหตุหรือประกันสุขภาพแตอยางใด พวกเขาเคยใชเศษผาปดจมูกและปาก
ระหวางการทำงาน แตพอพบวาหายใจลำบาก ก็ไมทำเชนนั้นอีก มีขอกำหนดใหพวกเขาตองไปตรวจเลือด
ทุกเดือน และถาพบวาคนงานคนไหนที่ปวยเปนโรคดีซาน ก็จะถูกปลดทันทีและบริษัทจะจางคนใหมมาแทน
ทางองคกรเยาวชนชาวปะโอยังไดขอมูลวาเกิดอุบัติเหตุหลายครั้งเนื่องจากดินถลมที่เหมือง ตั้งแตป 2543
เปนตนมา คนงานหาคนใกลกับบานพาราเพรนเสียชีวิต และชาวบานอีกเจ็ดคนที่ดานตะวันออกของเขต
นองทาราก็เสียชีวิตเชนกัน
เถาปลิวกับถนนในพื้นที่
ในชวงที่โรงไฟฟาเดินเครื่องในปแรก มีการนำเถาปลิวซึ่งเปนพิษจากโรงไฟฟามาถมทับ
กากของเสียที่มาจากเหมืองถานหิน ซึ่งกองอยูใกลๆ กับหมูบานที่ยังมีประชาชนอาศัยอยู ในชวง
หลายปที่ผานมา เถาปลิวเหลานี้ไดฟุงกระจายไปตามถนนในพื้นที่ เด็กที่เดินเทาไปโรงเรียนและ
ชาวบานที่เดินไปทำนาและเดินไปตลาดก็ตองไดรับสารปรอท สารตะกั่ว และสารหนูจากเถาปลิว
เหลานี้ตลอดเวลา พิษจากเถายังทำลายแหลงน้ำใตดินดวย (โปรดดูหัวขอ “เถาปลิวคืออะไร?”)
39

เถาปลิวคืออะไร?47
เถาปลิวเปนกากของเสียจากการ
เผาถานหินในโรงไฟฟา มักจะมีการนำ
มากองทิ้งหรือเก็บไวในสระน้ำ เถาปลิว
ประกอบดวยสารปรอท สารตะกั่ว และ
สารหนู ซึง่ เปนโลหะหนักทีม่ พี ษิ เถาปลิว
อาจเกิดจากการทำเหมืองเปด และอาจ
ปลิ ว มาจากรถบรรทุ ก ที่ ข นส ง ขี้ เ ถ า
เราสามารถสูดเอาเถาปลิวเขาไปในปอด
และอาจป ว ยเป น โรคทางเดิ น หายใจ
รุนแรงได เถาปลิวยังอาจเปนพาหะนำ
โลหะหนั ก ไปปนเป อ นแหล ง น้ ำ ทั้ ง
บนดินและใตดิน รวมทั้งน้ำดื่มซึ่งตั้งอยู
ใกลกับบริเวณซึ่งเปนที่ทิ้งกากของเสีย
โรงไฟฟาพลังงานถานหิน
ซึ่งปลอยกาซซัลเฟอรไดอ็อกไซดและ
40
ไนโตรเจนอ็อกไซด

ควันจากโรงไฟฟาทำใหเกิดฝนกรด48
“ฝนกรด” เปนคำกวางๆ ที่ใชเพื่ออธิบายถึงสารที่เปนกรดซึ่งตกลงมาจากทองฟา โรงไฟฟาพลังงาน
ถานหินจะปลอยกาซซัลเฟอรไดอ็อกไซดและไนโตรเจนอ็อกไซดออกมา กาซเหลานี้เปนสาเหตุสำคัญที่ทำให
เกิดฝนกรด ปลองควันที่โรงไฟฟาจะปลอยกาซซัลเฟอรไดอ็อกไซดและไนโตรเจนอ็อกไซดออกมา ซึ่งทำ
ปฏิกิริยากับน้ำในบรรยากาศ อ็อกซิเจนและสารเคมีอื่นๆ ทำใหเกิดสารประกอบที่เปนกรดหลายรูปแบบ
เมื่อสารพิษเหลานี้ตกลงมาเปนฝนกรด ก็จะสงผลกระทบตอทะเลสาบและลำน้ำ ทำลายพืชและปาไม
และเปนอันตรายตอสุขภาพประชาชน อุปกรณที่เรียกวาเครื่องดักฝุน (scrubber) ซึ่งติดอยูที่ปลองควัน
อาจชวยลดการปลอยกาซซัลเฟอรไดอ็อกไซดจากโรงไฟฟาได แตไมเปนที่ชัดเจนวาที่โรงไฟฟาตีจิตมีอุปกรณ
ดังกลาวติดตั้งอยูหรือไม
แมเมาะ: บทเรียนจากโรงไฟฟาพลังงานถานหินใหญสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต49
“ในตอนตน เราคิดวาจะไมเกิดปญหาอะไร แตผานไปไมกี่ป ชาวบานเริ่มปวยเปนมะเร็งที่คอ วัวและ
ควายของเราก็ตายไปเพราะกินหญา บางครั้งก็มีฝนกรดตกลงมาและทำลายพืชผลที่เราเพาะปลูก”
มะลิวัลย นาควิโรจน เลขาธิการเครือขายสิทธิผูปวยจากสิ่งแวดลอมที่อำเภอแมเมาะ

โรงไฟฟาแมเมาะทีภ่ าคเหนือของไทยถือเปนโรงไฟฟาพลังงานถานหินขนาดใหญสดุ ในเอเชียตะวันออก


เฉียงใต โดยใชถานหินจากเหมืองลิกไนตเปดที่มีกำลังผลิต 40,000 ตันตอวัน และโรงไฟฟาแหงนี้มีกำลัง
ผลิตรวมกัน 2,625 เมกะวัตต
โรงไฟฟาแมเมาะปลอยกาซซัลเฟอรเขาสูบ รรยากาศประมาณ 1.6 ลานตันในแตละวัน โดยภาพรวมแลว
มีคนที่ตองอพยพโยกยายออกไปเนื่องจากโรงไฟฟาและเหมืองกวา 30,000 คน หลายพันคนเกิดอาการ
โรคทางเดินหายใจรุนแรง และชาวบานเกือบ 300 คนเสียชีวิตไปแลวจากปญหาทางเดินหายใจ มะเร็งปอด
และเลือดเปนพิษ ประชาชนในรัศมีเจ็ดกิโลเมตรรอบโรงไฟฟาปวยดวยอาการตางๆ ทั้งการหายใจลำบาก
คลื่นไส วิงเวียนศีรษะ อาการอักเสบที่ตาและโพรงจมูก
เถาปลิวและฝนกรดจากโรงไฟฟายังปนเปอนพืชผลของชาวบาน ทำใหเฉาและตายไป เมื่อเดือน
ตุลาคม 2546 สำนักงานนโยบายและแผนดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ตรวจพบวามีปริมาณ
สารหนู โครเมียม และแมงกานีสอยูสูงมากในทุกแหลงน้ำเกือบทุกแหงใกลกับโรงไฟฟา
ชาวบานที่แมเมาะไดตอสูเพื่อสิทธิของตนเองแมจะตองประสบปญหามากมาย เมื่อเดือนพฤษภาคม
2547 ศาลจังหวัดมีคำสั่งใหโรงไฟฟาถานหินจายคาชดเชยเปนเงินจำนวน 142,500 เหรียญใหกับชาวบาน 41

สำหรับความเสียหายดานพืชผล เงินชดเชยเพียงจำนวนนอยสะทอนถึงความตระหนักถึงอันตรายของ
โรงไฟฟาที่มีตอชีวิตของชาวบาน และไมคุมคากับชีวิตที่สูญเสียไปและความเสียหายที่เกิดขึ้น

คนไขซึ่งปวยเปนโรค
ทางเดินหายใจ อำเภอ
แมเมาะ ประเทศไทย
© Greenpeace /
Shailendra Yashwant
มลพิษดานน้ำและการขาดแคลนน้ำ
ดินที่ถูกตักมาจากเหมืองถานหินและนำมากองไวสูงขึ้นราวกับเปนเทือกเขา และปดกั้นการไหล
ของน้ำ ในชวงฤดูฝน น้ำฝนที่ตกลงมาจะแชขังทำใหเกิดเปนแองน้ำขนาดใหญ น้ำเหลานี้ยังคอยๆ กัดเซาะ
กองเศษดินและกองถานหินที่โรงไฟฟา และไหลลงไปยังแมน้ำตีจิต ไรนาที่อยูดานหลังกองดินก็ถูกน้ำ
สกปรกเหลานี้ไหลทวม
เถาปลิวพิษจากโรงไฟฟาก็ถูกนำมาทิ้งกองรวมกับกากของเสียจากเหมืองอื่นๆ หรือไมก็ปลิวกระจาย
ไปตามทองถนนในพื้นที่ และยังปนเปอนแหลงน้ำซึ่งบางสวนก็ไหลลงสูทะเลสาบ
ในขณะที่เหมืองถานหินลึกขึ้นเรื่อยๆ สารพิษเหลานี้ก็ปนเปอนจนถึงชั้นของแหลงน้ำใตดิน และน้ำ
ที่โผลขึ้นมาในเหมือง มีการสูบน้ำใตดินเหลานี้ไปทิ้งที่แมน้ำตีจิต ทำใหเกิดการปนเปอนกับแมน้ำ และแมน้ำ
เต็มไปดวยเถาปลิวและน้ำเสียจากเหมือง ชาวบานใกลๆ แมน้ำที่เคยใชน้ำเพื่ออาบก็ทำเชนนั้นไมไดตอไป
แตยังคงตองใชน้ำปนเปอนเหลานี้เพื่อการเกษตร ซึ่งยอมจะสงผลกระทบตอพืชผลของตนเอง
เนื่องจากปริมาณกากของเสียจากเหมืองสะสมในแมน้ำในระดับสูงมาก ทำใหดินในที่ทำกินแข็ง
ชาวบานบอกวาสงผลใหผลผลิตนอยลงไป

“ตอนที่น้ำในเหมืองถานหิน และที่บอใกลกับวัดพะโยนตันแหงเหือดไป เราก็ไมรูวาตนกำเนิดของน้ำ


ในแองน้ำนั้นจะมาจากเหมืองถานหินหรือไม บอน้ำในหมูบานตีจิตก็แหงไปเหมือนกัน เราไดน้ำ
กลับมาก็ตอนที่เจาอาวาสวัดตีจิตไปสูบน้ำจากบนภูเขามาเติมที่สระน้ำจนเต็ม” (บทสัมภาษณ
42 หมายเลข # 06)

สารปนเปอนที่ไมมีการสำรวจและควบคุมไหลอยางตอเนื่องลงสูทะเลสาบอินเล ผานแมน้ำตีจิตและ
แมน้ำบาลู เมื่อพิจารณาจากระดับน้ำในทะเลสาบที่ลดลงเมื่อเร็วๆ นี้ นาจะแสดงวามีการปนเปอนเพิ่มมาก
ขึ้น การทำเหมืองตีจิตจึงเปนอันตรายที่คุกคามความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศและความอยูรอดของสิ่งมี
ชีวิตในทะเลสาบอินเล
บางครั้งมีการผันน้ำจากแมน้ำบาลูเพื่อไปใชที่โรงไฟฟา และยังมีการปลอยน้ำรอนจากโรงไฟฟาเขาไป
ยังที่นาของชาวบานดวย
ตะกอนถานหินและกากของเสียที่ไหลไปตามแมน้ำบาลูลงสูทะเลสาบอินเล ยังไปหมักหมมกันอยู
ดานหลังเขื่อนโมบี และมีการแพรลงไปดานปลายน้ำตอไป ผานเขตเมืองโมบีและลอยกอ เขื่อนผลิตไฟฟา
ขนาด 29 เมกะวัตตที่อยูระหวางการกอสรางตอนเหนือน้ำบาลู ก็จะเปนตัวดักจับสารมลพิษที่มาจาก
เหมืองถานหินตีจิต จากนั้นก็ปลอยลงไปดานทายน้ำเมื่อมีการเปดประตูเขื่อน
แองน้ำที่เกิดขึ้นบริเวณที่ทิ้งกากของเสียจากเหมืองถานหิน น้ำในแองมีลักษณะนิ่งและปนเปอน

แหลงน้ำในชุมชนแหงเหือดลง เมื่อมีการขุดลงไปจนถึงชั้นของน้ำใตดิน
และมีน้ำที่ผุดขึ้นมาจากในเหมือง
มลพิษดานเสียง
การขุดเหมืองจะทำกันทั้งวันทั้งคืน เสียงที่เกิดขึ้นจึงสงผลกระทบตอทั้งเด็กและคนชรา แรงระเบิด
จากเหมืองและเสียงจากโรงไฟฟา ก็สงผลกระทบตอเด็กนักเรียน ทำใหไมมีสมาธิในการเรียน

“เสียงจากโรงไฟฟาดังขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในชวงกลางคืน เชนเดียวกับมนุษย อีกาและควายก็คง


นอนไมหลับ และมักจะสงเสียงรองแปลกๆ ในชวงกลางคืน กอนจะมีการสรางโรงไฟฟา สัตวเหลานี้
ไมเคยสงเสียงรองแปลกๆ เชนนี้มากอนเลย” (บทสัมภาษณหมายเลข # 12)

แรงสั่นสะเทือนจากการระเบิดเหมือง ทำใหเกิดการแตกราวที่บานเรือน โรงเรียน และวัดวาอาราม


เศษหินที่กระเด็นมาจากแรงระเบิดก็ทำใหหลังคาเปนรูและบางทีก็ตกกระเด็นใสชาวบาน

การทำลายวัฒนธรรม
เจดียโบราณที่ตีจิตกำลังทรุดโทรม
และใกลจะลมเนื่องจากแรงระเบิดที่เหมือง
ซึ่ ง ทำให เ กิ ด ความสั่ น สะเทื อ น เป น
44 ปรากฏการณที่ทำใหชาวบานไมพอใจ เพื่อ
หลีกเลี่ยงการเผชิญหนาระหวางชาวบาน
กั บ คนงานของบริ ษั ท เจ า อาวาสวั ด ตี จิ ต
ตองเขาไปไกลเกลี่ยและหาทางแกปญหา
ในเวลาตอมาชาวบานไดรวบรวมเศษซาก
เจดีย และนำไปวางไวในที่เดิม และทำรั้ว
ลอมรอบไว
“ตอนที่เจดียเกือบลมลง ชาวบาน
เกือบจะทะเลาะกับคนงานบริษัท
ชาวบานสวนใหญโกรธมาก บางคนรองหมรองไห พวกเรามักจะไปฉลองและทำพิธีตามประเพณี
ที่เจดีย มีคนมารวมงานจำนวนมาก เปนชวงเวลาที่ญาติพี่นองมารวมตัวกัน ตอนนี้เราไมมีสถานที่
ที่จะรวมตัวกันไดแลว พระภิกษุรูปหนึ่งบอกวา เราควรบูรณปฏิสังขรณพระเจดียขึ้นมาใหม เพราะวา
ที่ดินบริเวณนั้นดูเหมือนจะไมแข็งแรงพอที่จะค้ำเจดียไวตอไป” (บทสัมภาษณหมายเลข # 10)

ทางบริษัทสัญญาวาจะชวยบูรณะเจดียถาที่ดินบริเวณนั้นเริ่มอยูตัวและมั่นคง แตที่ผานมายังคงมีแรง
สั่นสะเทือนจากการระเบิดเหมืองตลอดเวลา ทำใหที่ดินไมอยูตัว ไมวาจะมีการบูรณะเจดียขึ้นมาใหมหรือไม
ก็ตาม ชาวบานเชื่อวาโครงการเหมืองทำใหเจาที่เกิดความโกรธเคืองและอาจทำใหเกิดอาเพศได
“หลั ง จากพระเจดี ย ล ม ลง พระฝ น เห็ น ชาย
คนหนึ่งจาก ‘สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนา
หมูบาน’ ตายลง ไมนานหลังจากนั้นเขาก็ตาย
ลงจริงๆ ตอนนี้พระฝนอีกวามีผูชายอีกสองคน
กำลั ง จะตาย และตอนที่ ค นงานพยายามขุ ด
ตนไทรออกไป รถที่ใชขุดก็ไมสามารถขยับได
แตเมือ่ เอาตนไทรปลูกกลับเขาไป ก็สามารถขยับ
รถได อี ก ทำให มี งู เข า มาอาศั ย อยู ใ นต น ไทร
ตอไปไดอีก” (บทสัมภาษณหมายเลข # 10)

45
ชาวบานติดปายประทวงบริษัททำเหมืองโปแตชที่จังหวัดอุดรธานี ประเทศไทย

46
ถาประชาชนกลาพูด โครงการก็อาจจะหยุด
ในเดือนพฤษภาคม 2543 บริษัท Golden Triangle Hydro Electric Power Pte Ltd เริ่มกอสราง
โรงไฟฟาพลังงานถานหินขนาด 12 เมกะวัตตทางตอนเหนือของเมืองทาขี้เหล็กในรัฐฉาน ใกลกับพรมแดน
ประเทศไทย ชาวบานในเขตประเทศไทยตางกังวลกับผลกระทบดานมลพิษจากโรงไฟฟา และไดรวมตัว
จัดตั้งกลุมเพื่อปกปองชุมชนของตนเอง พวกเขาไดรวมตัวและขัดขวางไมใหรถบรรทุกขนสงอุปกรณเพื่อ
สรางโรงไฟฟาผานไปได มีการเขียนจดหมายประทวงไปที่รัฐบาล และมีการติดปายตอตานโครงการที่
บริเวณสะพานตรงพรมแดน กิจกรรมเหลานี้ทำใหประชาชนตื่นตัวเกี่ยวกับผลกระทบจากโรงไฟฟาพลังงาน
ถานหิน ผลจากการประทวงทำใหการกอสรางโรงไฟฟาตองยุติลงเมื่อเดือนเมษายน 254450
ตลาดที่บานตีจิต
47
สรุป
ถายังปลอยใหเหมืองถานหินตีจิตเดินหนาตอไป ประชาชนเกือบ 12,000 คนซึ่งอาศัยอยูในรัศมี
หาไมลจากเหมือง และคนงานตองประสบปญหาสุขภาพและปญหาในการหายใจ เชนเดียวกับชาวบาน
ที่อำเภอแมเมาะทางภาคเหนือของไทย ชาวบานตองสูญเสียหนทางการทำมาหากินและที่ดินไปทุกวัน
ทำใหยากจนลงและตองโยกยายถิ่นฐาน น้ำปนเปอนจากเหมืองถานหินที่ไหลลงสูแมน้ำบาลู จะกอมลพิษ
ตอทะเลสาบอินเลซึ่งมีความสำคัญตอพมา เราจึงขอเรียกรองให
สำหรับรัฐบาลและบริษัท
1. ยุติโครงการเหมืองถานหินและใหมีการสำรวจผลกระทบดานสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดลอม
อยางเหมาะสม
2. รวมมือกับผูชำนาญการดานสิ่งแวดลอมเพื่อสำรวจมลพิษทางน้ำที่เกิดขึ้นตอทะเลสาบอินเล
อันเนื่องมาจากเหมืองถานหินตีจิต
3. มีการจายคาชดเชยอยางเหมาะสมใหกับชาวบานที่ไดรับผลกระทบไปแลว
สำหรับชุมชนในพื้นที่
1. หลี ก เลี่ ย งการลงชื่ อ ในเอกสารโดยไม มี ค วามเข า ใจอย า งถ อ งแท และหากไม มี ก ารชดเชย
อยางเหมาะสม
2. ตอตานการคอรัปชั่นและการใชประโยชนจากทรัพยากรซึ่งเปนอันตรายตอการดำรงชีพและ
ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน
Endnotes
1
“Myanmar population hits over 59 mln in 2009” 1 กรกฎาคม 2553 http://english.peopledaily.com.cn/90001/
90777/90851/7049436.html, เขาถึงเมื่อ 15 กันยายน 2553
2
เพิ่งอาง
3
jynfoltrsm;pk usyf (100) wefrD; tm;udk;ae&qJ (rsKd;0if;aZmf) 14 pufwifbm 2010? acwfòydif*sme,f? www.
khitpyaing.org/index.php?route=detail&id=4464 เขาถึงเมื่อ 15 กันยายน 2553
4
Development in Myanmar Energy Sector, Energy Planning Department, Ministry of Energy, Union of Myanmar,
SEF-2, Ho Chi Minh City in Viet Nam, 22 ตุลาคม 2551 at http://www.adb.org/Documents/Events/Mekong/
Proceedings/SEF2-Annex6.4-Myanmar-Presentation.pdf, เขาถึงเมื่อ 28 มิถุนายน 2553
5
“More private companies cooperate with Myanmar gov't in mineral extraction,” http://news.xinhuanet.com/
english2010/business/2010-07/06/c_13385989_4.htm, เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
6
Coal Sub-sector เขาถึงเมื่อ 23 กันยายน 2553 at http://www.energy.gov.mm/coalsubsector.htm
7
“Iron and steel industry being improved….” NLM, pg#4, 22 มีนาคม 2553
8
Coal, the NEED project, http://www.need.org/needpdf/infobook_activities/SecInfo/CoalS.pdf (เขาถึงเมื่อ
28 กรกฎาคม 2553)
9
Coal power is the biggest culprit, WWF, http://wwf.panda.org/about_our_earth/aboutcc/cause/coal/
10
What is Coal? World Coal Institute http://www.worldcoal.org/coal/what-is-coal/ (เขาถึงเมื่อ 28 กรกฎาคม 2553)
11
Country report: Progress of power development plans and transmission interconnection projects, Myanmar,
Greater Mekong sub-region, eighth of regional power trade coordination committee (RPTCC-8), eighth meeting
of focal group (FG-8), seventh meeting of planning working group (PWG-7), Luang Prabang, Lao PDR, 25-27
พฤศจิกายน 2551
12
48 “Chinese corporation, local company to implement Mawlaik hydropower, Kalewa coal-fired thermal power
plant projects,” NLM, 28 May 2010, “Electric power projects to improve public living status,” NLM, 28 ตุลาคม
2553
13
Future project (Gas/Coal), http://www.aseanenergy.org/energy_sector/electricity/myanmar/future_electricity_
projects.htm เขาถึงเมื่อ 12พฤศจิกายน 2553 เมื่อเดือนมิถุนายน 2553 Norinco ผูผลิตอาวุธรายใหญของจีนไดลงนามในความ
ตกลงเพื่อความรวมมือกับรัฐบาลพมา สำหรับโครงการเหมืองโมนีวา เพียงไมกี่สัปดาหหลังจากขายปนใหญใหกับรัฐบาลเผด็จการ
โปรดดู rH&k mG a=u;eDowWK wl;azmfa&;twGuf w&kw-f jrefrm vufrw f ;kd yGJ (ode;f vif;), Myanmar Times (ภาษาพมา)
S x
at http://www.myanmar.mmtimes.com/2010/property/473/buss02.html, เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553 และ
“Norinco sold Burma arms pre-copper deal,” Democratic Voice of Burma, 29 มิถุนายน 2553
14
Improve Electricity for Yangon Industry at http://www.mmtimes.com/2010/news/515/n51501.html, เขาถึงเมื่อ
27 สิงหาคม 2553
15
นิคมอุตสาหกรรมเหลานี้ไดแก Hlaing Tharyar, Shwe Pyi Thar และ Shwe Lin Pan. Improve Electricity for Yangon
Industry at http://www.mmtimes.com/2010/news/515/n51501.html, เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
16
“ก็ตอเมื่อประชาชนพึ่งพาความเขมแข็งของตนเองได จึงจะถือวาประเทศเราทันสมัยและพัฒนาแลว ความสำเร็จของโครงการ
พัฒนาจะสะทอนถึงความสัมพันธระหวางประชาชนในประเทศ และสงเสริมใหจิตวิญญาณแหงสหภาพรุงเรืองขึ้น” พลเอกอาวุโส
ตานฉวย ระหวางกลาวปราศรัยในงาน Special Projects Implementation Committee Meeting, NLM, 7 มีนาคม 2553 at
http://myanmargeneva.org/10nlm/mar/n100307.htm, เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
17
Summary of Thailand power development plan 2010-2030, http://www.egat.co.th/thai/files/Report%20PDP
2010-Apr2010_English.pdf, เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
18
“Thai company signs Myanmar port deal,” Agence France-Presse, 4 พฤศจิกายน 2553, Ital-Thai project documents, and
xm;0,f a&eufqdyfurf; pDrHudef;onf ta&S@ESifh taemufpD;yGm;a&; p=uFefY ta&;ygvmrnf jzpf&m æw&kwf æ æ”
(òzd;armifarmif)?, The Myanmar post
19
“An Industrial Project That Could Change Myanmar,” New York Times, 26 November 2010.
20
NLM, 7 มีนาคม 2553 http://myanmargeneva.org/10nlm/mar/n100307.htm, เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
21
tif;av;uefESifh rdkif (20) 0ef;usif pdrf;vef;pdkjynfa&; jrifuGif;rsm;? Kyaymon News (The Mirror), 30 กันยายน 2553
หนา 20
22
ที่บานอินเด แมน้ำบาลูแยกออกเปนสองสาย สายที่ไหลไปทางใตจะไหลไปดานทิศตะวันตกของเจดียผองเตาอู และสายที่ไหล
ไปทางเหนือจะไหลไปใกลกับบานยอมา จากนั้นก็ไหลลงสูทะเลสาบ
23
“ก็ตอเมื่อประชาชนพึ่งพาความเขมแข็งของตนเองได จึงจะถือวาประเทศเราทันสมัยและพัฒนาแลว” New Light of Myanmar
(NLM), 7 มีนาคม 2553, หนา 6
24
tif;av;uefY urBmwGif rsKd;pdwfopf jzpfvmzG,f&Sdaom zm;oHk;rsKd; awG@&Sdxm;? Weekly Eleven News Journal,
Vol-3 No-51, หนา 9 2551
25
http://birding.sstmyanmar.com/inle-wetland-bird-sanctuary-ecotourism-asean-heritage-site-myanmar-
and-southeast-asia
26
tif;av;uefESifh rdkif (20) 0ef;usif pdrf;vef;pdkjynfa&; jrifuGif;rsm;? Kyaymon News (The Mirror), หนา 11, 20 30
กันยายน 2553
27
&Srf;jynfe,fawmifydkif;wGif ig;pm;oHk;r_ jrifhwufum tif;av;uefa'orS ig;zrf;,l&&Sdr_ av#mhenf;? http://www.
news-eleven.com/index.php?option=com_content&view=article&id=4495:2010-08-26-09-18-43&catid=45:2009-
11-10-07-45-41&Itemid=113eleven.com/index.php?option=com_content&view=article&id=4495:2010-08-26-09-
18-43&catid=45:2009-11-10-07-45-41&Itemid=113 เขาถึงเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2553
28
ในชวง 65 ปนับแต 2478-2543 พื้นที่สุทธิของทะเลสาบอินเลลดจาก 69.10 ตารางกม.² เหลือ 46.69 ตารางกม ถือวาพื้นที่น้ำ
หายไป 32.4% Roy C. Sidle, Alan D. Ziegler and John B. Vogler (เมษายน 2550) “Contemporary changes in open
water surface area of Lake Inle, Myanmar”. Sustainability Science 2 (1): 55–65 doi:10.1007/s11625-006-0020-7.
ISSN 1862-4065. http://www.springerlink.com/content/a2t64l5768505464/
29
“พื้นที่ผิวน้ำของทะเลสาบอินเลลดลงจาก 40 เหลือ 27 ตารางไมล ชวงฤดูรอน” Reported by Nay Pyi Taw News Crew,
Eleven Media Group, เขาถึงเมื่อ 16 กันยายน 2553 http://eversion.elevenmediagroup.net/index.php?option=com_
content&view=article&id=674:water-surface-area-of-inlay-lake-shrunk-from-40-square-miles-to-27-in-summer& 49
catid=43:biweekly-eleven-eversion&Itemid=110
30
“More Equipment arrives for Shan State coal mine,” Myanmar Times, 4 พฤษภาคม 2547 at http://www.
myanmar.gov.mm/myanmartimes/no211/MyanmarTimes11-211/012.htm, เขาถึงเมื่อ สิงหาคม 2553
31
“Construction project of Tikyit coal-fire power station inspected in Pinlaung,” NLM, 20 กรกฎาคม 2546, เขาถึงเมื่อ
27 สิงหาคม 2553 at http://mission.itu.ch/MISSIONS/Myanmar/03nlm/n030710.htm,
32
เพิ่งอาง
33
“Tigyit coal-fire power station that will fulfill the electricity needs,” NLM, 16 กันยายน 2546, http://www.
myanmar.gov.mm/Article/Article2003/sep/Sept16b.htm, About CHMC introduction http://www.chmc2003.com:
8640/gsjj.htm เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
34
“MEPE plans coal-fired power station,” Myanmar Times, 24 กันยายน 2544 http://www.myanmar.gov.mm/
myanmartimes/no82/myanmartimes5-82/News/new.htm, เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
35
สัมภาษณ # 12
36
“Of the two turbines of Tikyit coal-fired power plant, one is generating electricity at full capacity as it was
completed in 2004, The other one will start generating power beginning เมษายน last week,” NLM, 16 เมษายน
2548 เขาถึงเมื่อ 20 กันยายน 2553 at http://www.myanmar.gov.mm/NLM-2005/เมษายน05/enlm/เมษายน16_h2.html
37
Country report: Progress of Power Development Plans and Transmission Interconnection Projects, Myanmar,
Greater Mekong Sub-region eighth meeting of regional power trade coordination committee (PRTCC-8), eighth
meeting of focal group (FG-8) and seventh meeting of planning working group (PWG-7), Luang Prabang, Lao
PDR, 25-27 พฤศจิกายน 2551
38
“Russian business presence becoming stronger in Burma,” Mizzima News at http://www.mizzima.com/news/
inside-burma/1422-russian-business-presence-becoming-stronger-in-burma-.html, เขาถึงเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2553
39
“$21m Cement Factory Underway,” Myanmar Times, 8-14 สิงหาคม 2548 at http://www.myanmar.gov.mm/
myanmartimes/no278/MyanmarTimes14-278/b002.htm เขาถึงเมื่อ 28 สิงหาคม 2553
40
“Tigyit coal-fire power plant station that will fulfill the electricity needs,” New Light of Myanmar, 16 กันยายน
2546 at http://www.myanmar.gov.mm/Article/Article2003/sep/Sept16b.htm, NLM, 16 เมษายน 2005 http://
www.myanmar.gov.mm/NLM-2005/เมษายน05/enlm/เมษายน16_h2.html เขาถึงเมื่อ 27 สิงหาคม 2553
41
Country report: Progress of Power Development Plans and Transmission Interconnection Projects, Myanmar,
Greater Mekong Sub-region eighth meeting of regional power trade coordination committee (PRTCC-8), eighth
meeting of focal group (FG-8) and seventh meeting of planning working group (PWG-7), Luang Prabang, Lao
PDR, 25-27 พฤศจิกายน 2551
42
“tif;av;uef rdik f (20) ywf0ef;usif pdr;f vef;odak jya&;twGuf opfawmrsm; xde;f odr;f a&;ESihf wDuspf ausmufr;D aoG;jym”
owif; aqmif;yg;? (&Jvif;atmif- tif;av;), NLM, 24 กรกฎาคม 2551
43
โปรดดู PYO’s report Robbing the Future (มิถุนายน 2552) and update briefer Save our Mountain Save our Future
(ตุลาคม 2553) at http://pyo-org.blogspot.com
44
“Iron and steel industry being improved…”, NLM, 22 มีนาคม 2553, p#4: เขาถึงเมื่อ 20 กันยายน 2553 at http://
myanmargeneva.org/NLM2010/eng/3Mar/n100322.pdf
45
The Myanmar Mines Law, The State Law and Order Restoration Council (The State Law and Order Restoration
Council Law No 8/94), 6 กันยายน 2537 เขาถึงเมื่อ at http://www.mining.com.mm/ 10 พฤศจิกายน 2553
46
STATUS AND CURRENT ISSUES OF MINING REGULATORY REGIME IN MYANMAR, Soe Mra, Director General,
Department of Mines, Ministry of Mines at http://www.freewebs.com/myanmarmines/regulatory.htm เขาถึงเมื่อ
30 พฤศจิกายน 2553
47
“Bokoshe: The Toxic Truth” เขาถึงเมื่อ 25 กันยายน 2553 at http://www.oklahomalovesgreen.com/page.html,
“Is coal ash poisoning Charlotte area drinking water? by Rhiannon Bowman (published 09.07.10) เขาถึงเมื่อ
25 กันยายน 2553 http://charlotte.creativeloafing.com/gyrobase/is_coal_ash_poisoning_charlotte_area_drinking_
water_/Content?oid=1041443, “Coal Ash Contaminates Groundwater and Drinking Water Sites in 21 States”
50 http://current.com/news/92665216_coal-ash-contaminates-groundwater-and-drinking-water-sites-in-21-states.
htm
48
“What is acid rain and what causes it?” เขาถึงเมื่อ 25 กันยายน 2553 http://www.policyalmanac.ort/environment/
archive/acid_rain.shtml
49
“The Grievous Mae Moh Coal Power Plant,” 2 กุมภาพันธ 2551 http://developmentdebacles.blogspot.com/2008
/02/grievous-mae-moh-coal-power-plant.html
50
“Tachilek Power Plant: Skepticism over work halt,” The Nation, 20 ธันวาคม 2544 www.burmalibrary.org/TinKyi/
archives/2001-12/msg00008.html, เขาถึงเมื่อ 28 มิถุนายน 2553 “Chronology of Thai Anti-power Plant Struggle
Against Burma,” Bangkok Post, 24 มิถุนายน 2544
ภาคผนวก 1
ประชากรซึ่งอาศัยอยูในรัศมีหาไมลรอบเหมืองถานหิน
ลำดับ หมูบาน ครัวเรือน ประชากร กลุมชาติพันธุ
1 Bar Min Kone (เหนือ) 75 452 ปะโอ
2 Bar Min Kone (ใต) 33 186 ปะโอ
3 ตองโพลา (หมูบานใหม) 27 149 ปะโอ
4 Thar Yar Kone 77 395 ปะโอ
5 Pyan Sar 36 185 ปะโอ
6 Sae Khaung 210 1,173 ปะโอ, ฉาน, ตองโย
7 Naung Mon 101 580 ปะโอ, ตองโย
8 Tha Pnew Mau 57 287 ปะโอ, ฉาน
9 Pharar Bwar (ใต) 104 540 ปะโอ, ฉาน
10 Pharar Bwar (เหนือ) 32 138 ปะโอ, ฉาน
11 Pharar Prain 47 186 ปะโอ, ฉาน
12 Pharar Prain 65 321 ปะโอ, ฉาน 51

13 Min Thwe Chaung 83 358 ปะโอ, ฉาน


14 Tup Kone 87 396 ปะโอ, ฉาน
15 Pak Hkaw Kone 49 191 ปะโอ, ฉาน, ตองโย, พมา
16 ตีจิต 499 2,907 ปะโอ, ฉาน, ตองโย, พมา
17 Pharar Ngak Choo 79 368 ปะโอ
18 Hti Katoo or Lwin Ywar 108 941 ปะโอ, ตองโย, พมา
19 Par Lai 42 231 ปะโอ
20 Kom Tein 40 206 ปะโอ, ตองโย
21 ไหลคา 48 274 ปะโอ, พมา
22 Loi Twe (ใต) 57 374 ปะโอ, ตองโย
23 Loi Twe (เหนือ) 36 218 ปะโอ, ตองโย
24 Ban Mart 23 124 ปะโอ
25 Moon Pin 70 412 ปะโอ, ตองโย
รวม 2,058 11,592
Appendix 2
Villagers forced to relocate in 2003 by Tigyit coal project
ลำดับ ชื่อ อายุ สมาชิก หมูบาน เงินชดเชย
ในครอบครัว (จาด)
1 Jan Phar Maw Poe 63 10 ตองโพลา 170,000
2 Jan Phar Maung Bom 48 7 ตองโพลา 120,000
3 Jan Phar Maung Joi 52 10 ตองโพลา 120,000
4 U Hin 73 3 ตองโพลา 120,000
5 U Koum 48 6 ตองโพลา 120,000
6 U Bwein 40 7 ตองโพลา 100,000
7 U Chit Maung 41 3 ตองโพลา 120,000
8 Daw Shwe Hla 62 1 ตองโพลา 120,000
9 Daw Htok 61 1 ตองโพลา 50,000
10 Chara Htak Man 57 5 ตองโพลา 120,000
11 Hla Jin 37 2 ตองโพลา 50,000
12 U Maung 63 6 ตองโพลา 100,000
52 13 U Ba 48 9 ตองโพลา 120,000
14 U Kyaw 40 6 ตองโพลา 100,000
15 U Kyaw Hla 45 6 ตองโพลา 100,000
16 Mur Phra Tok 64 2 ตองโพลา 100,000
17 Than Hla 27 1 ตองโพลา 50,000
18 Aung Thar 42 7 ตองโพลา 50,000
19 U Bel 75 2 ตองโพลา 100,000
20 U Chit Kaung 42 4 ตองโพลา 100,000
21 U Pwein 40 7 ตองโพลา 100,000
22 Ta Aung 45 3 ตองโพลา 50,000
23 Ma Own 50 6 ตองโพลา 50,000
24 U Poo ? 4 ตองโพลา 120,000
25 U Daung 75 5 ไหลคา 120,000
26 Jan Phar Lok 59 6 ไหลคา 120,000
27 Jan Phar Aung Kyi 58 10 ไหลคา 120,000
28 Jan Phar Poe Thoung 61 5 ไหลคา 120,000
29 Jan Phar Poe Yee 36 5 ไหลคา 120,000
30 Jan Phar One 52 7 ไหลคา 120,000
31 Jan Phar Yai 60 11 ไหลคา 120,000
32 Jan Mur Own Kyi 59 5 ไหลคา 120,000
ลำดับ ชื่อ อายุ สมาชิก หมูบาน เงินชดเชย
ในครอบครัว (จาด)
33 Jan Mur Bo 70 5 ไหลคา 120,000
34 Jan Phar Tun Aung 34 5 ไหลคา 120,000
35 Jan Phar Twat Jin 52 5 ไหลคา 120,000
36 Jan Phar Kan ? 5 ไหลคา ?
37 Jan Mur Pu passed 7 ไหลคา ?
38 Jan Phar Poe Min passed 4 ไหลคา ?
39 Jan Mur Own Lwin ? 8 ไหลคา ?
40 Jan Phar Baw 62 5 ไหลคา 120,000
41 Jan Phar Aung Law 52 5 ไหลคา 120,000
42 Jan Mur Bel 47 5 ไหลคา 120,000
43 Jan Phar Nge 60 9 ไหลคา 120,000
44 Jan Phar Tun Tin 52 6 ไหลคา 120,000
45 Jan Phar Nge Pay 56 6 ไหลคา 50,000
46 Jan Phar Maung Kak 61 7 ไหลคา 120,000
47 Jan Phar Maung Myo 32 6 ไหลคา 120,000
48 Jan Phar Aung Chan 39 6 ไหลคา 120,000 53

49 Jan Phar Thain Tan Oo 31 5 ไหลคา 120,000


50 Jan Phar Myo Nyein 31 4 ไหลคา 120,000
51 Jan Phar Kyaw Kyaw 26 4 ไหลคา 100,000
52 Jan Mur Pu Lu 46 2 ไหลคา 120,000
53 Jan Phar Sein Tun 46 5 ไหลคา 120,000
54 Jan Phar Aung Kyaw 53 6 ไหลคา 120,000
55 Jan Phar Sai Htoo 54 5 ไหลคา 120,000
56 Jan Phar Tun Yee 38 5 ไหลคา 120,000
57 Jan Phar Jet Thoung 51 4 ไหลคา 120,000
58 Jan Phar Maung Nu 40 4 ไหลคา 100,000
59 Jan Phar Soe Naing 33 3 ไหลคา 100,000
60 Jan Phar Ta Tun 36 3 ไหลคา 120,000
61 Jan Phar Sun Win 29 3 ไหลคา 50,000
62 Jan Phar Sein Loi 47 1 ไหลคา 120,000
63 Khun Maung Win 23 1 ไหลคา 50,000
รวม 321 (6,280 เหรียญ
สหรัฐฯ)
6,280,000
หมอกพิษ
บทเรียนจากโครงการถานหินตีจิตซึ่งใหญที่สุดในพมา

© Yuzo Uda

เพียง 13 ไมลจากทะเลสาบอินเลซึ่งมีชื่อเสียงของพมา เปนที่ตั้งของเหมืองถานหินแบบเปดและโรงไฟฟา


พลังงานถานหินขนาดใหญสุดของประเทศ ซึ่งกำลังทำลายสิ่งแวดลอม ในแตละวันมีการขุดแรลิกไนตมากถึง
2,000 ตัน ทั้งๆ ที่เปนถานหินที่กอมลพิษมากสุด จากนั้นมีการลำเลียงถานหินไปเผาผลาญที่โรงไฟฟาที่ตั้งอยู
ใกลเคียง กอใหเกิดเถาปลิวพิษจำนวน 100-150 ตันตอวัน ไฟฟาที่ผลิตไดจากโรงไฟฟาจะจายใหกับโครงการ
เหมืองแหงอื่น เปนลักษณะของภาคพลังงานในพมา ที่การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติไมไดเปนไปเพื่อ
การพัฒนาของประชาชน แตเปนการขายใหกับผูใหราคาสูงสุด ในปจจุบันพมาอยูระหวางวางแผนพัฒนาแหลง
ถานหินแหงอื่น ๆ อีกมากมาย รวมทั้งการสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินใหมเพิ่มเติม

Kyoju Action Network Pa-Oh Youth Organization

You might also like