You are on page 1of 13

1

รายวิชาสังคมศึกษา รหัส ใบความรููท่ี 8.3 แผนการจัดการเรียน


ส 42102 ภูมิศาสตร์ รููท่ี 8
เทคโนโลยีกับการสำารวจสิ่งแวดลูอม เรื่อง RS ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
ทางภูมิศาสตร์

RS (Remote Sensing Techniques)


ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร สำา ร ว จ ร ะ ย ะ ไ ก ล (RemoteSensing)
การสำา รวจระยะไกลเป็ นการสำา รวจจากระยะไกล โดยเครื่องมือวัดไม่มีการ
สัมผัสกับสิ่งที่ตูองการตรวจวัดโดยตรง กระทำา การสำา รวจโดยใหูเครื่องวัดอยู่
ห่างจากสิ่งที่ตูองการตรวจวัด โดยอาจติดตั้งเครื่องวัดเช่น กลูองถ่ายภาพ ไวู
ยั ง ที่ สู ง บนบอลลู น บนเครื่อ งบิ น ยาวอวกาศ หรือ ดาวเที ย ม แลู ว อาศั ย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟู าที่แผ่ หรือสะทูอนมาจากสิ่งที่ตูองการสำารวจเป็ นสื่อในการ
วัด การสำารวจโดยใชูวิธีน้ ี เป็ นการเก็บขูอมูลที่ไดูขูอมูลจำานวนมาก ในบริเวณ
กวูางกว่าการสำารวจภาพสนาม จากการใชูเครื่องมือสำารวจระยะไกล โดยเครื่อง
มือสำารวจไม่จำาเป็ นที่ตูองสัมผัสกับวัตถุตัวอย่าง เช่น เครื่องบินสำารวจเพื่อถ่าย
ภาพในระยะไกล การใชูดาวเทียมสำารวจทรัพยากรทำาการเก็บขูอมูลพื้ นผิวโลก
ในระยะไกล
2
จากภาพเป็ นการแสดงภาพถ่ า ยทางอากาศบริ เ วณจุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย และทำาการซูอนทับกับขูอมูลขอบเขตอาคารและการใชูประโยชน์
ของที่ดิน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบระหว่างขูอมูลระยะไกลกับขูอมูลภาคสนามแลูว
จะเห็นไดูว่า ขูอมูลจากการสำา รวจระยะไกลจะใหูรายละเอียดของขูอมูลนูอย
กว่ า การสำา รวจภาคสนาม แต่ จ ะใหู ช อบเขตของการสำา รวจที่ ก วู า งกว่ า และ
ขูอมูลที่ไดูจะเป็ นขูอมูลที่ไดูจากการเก็บตัวอย่างเพียงครั้งเดียว เมื่อกล่าวถึง
เทคโนโลยีการสำารวจระยะไกล มีองค์ประกอบที่จะตูองพิจารณาคือ

 คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ซึ่ ง เป็ นสื่ อที่ ใ ชู เ ชื่ อมระหว่ า งเครื่อ งวั ด กั บ วั ต ถุ ที่
ตูองการสำารวจ
 เครื่อ งมื อ วั ด ซึ่ ง เป็ นตั ว กำา หนดช่ ว งคลื่ นแม่ เ หล็ ก ไฟฟู าที่ จ ะใชู ใ นการ
ตรวจวัด ตลอดจนรูปลักษณะของขูอมูลที่จะตรวจวัดไดู
 ยานที่ใช้ติดตั้งเครื่องมือวัด ซึ่งเป็ นตัวกำาหนดระยะระหว่างเครื่องมือวัด
กั บสิ่ง ที่ตูองการวั ด ขอบเขตพื้ นที่ท่ีเ ครื่องมื อ วั ดสามารถครอบคลุ มไดู
และช่วงเวลาในการตรวจวัด
 การแปลความหมายของข้อ มูลที่ ได้ จากการวัด อันเป็ นกระบวนการใน
การแปลงขูอมูลความเขูม และรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าที่วัดไดู
อ อ ก เ ป็ น ขู อ มู ล ที่
ตู อ ง ก า ร สำารวจวัดอีก
ต่ อ ห นึ่ ง ซึ่ ง จะกล่ า ว
ใ นบท ถั ด ไป
3

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า(ElectromagneticRadiation)
คลื่นแม่เหล็กไฟฟู าเป็ นรูปแบบหนึ่ งการถ่ายเทพลังงาน จากแหล่งที่มี
พลังงานสูงแผ่รงั สีออกไปรอบๆ โดยมีคุณสมบัติที่เกี่ยวขูองกับ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟู า คือ ความยาวคลื่น (l) โดยอาจวัดเป็ น nanometer (nm)
หรือ micrometer (mm) และ ความถี่คลื่น (f) ซึ่งจะวัดเป็ น hertz (Hz) โดย

คุณสมบัติท้ ังสองมีความสัมพันธ์ผ่านค่าความเร็วแสง ในรูป c = fl


พลังงานของคลื่น พิจารณาเป็ นความเขูมของกำาลังงาน หรือฟลักซ์ของ
การแผ่รงั สี (มีหน่วยเป็ น พลังงานต่อหน่วยเวลาต่อหน่วยพื้ นที่ = Joule s-1
m-2 = watt m-2) ซึ่งอาจวัดจากความเขูมที่เปล่งออกมา (radiance) หรือ
ความเขูมที่ตกกระทบ (irradiance)

จากภาพเป็ นการแสดงช่วงความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟู า ซึ่งเครื่อง


4
มือวัด (Sensor) ของดาวเทียมหรืออุปกรณ์ตรวจวัดจะออกแบบมาใหูเหมาะ
สมกับช่วงความยาวของคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าในช่วงคลื่นต่างกัน เช่น

 ช่ ว งรัง สี แ กมมา (gamma ray : l < 0.1 nm) และช่ ว งรัง สี เ อ็ ก ซ์ (x-
ray : 0.1 nm < l < 300 nm) เป็ นช่ ว งที่ มี พ ลั ง งานสู ง แผ่ ร ัง สี จ าก
ปฏิกิรย
ิ านิ วเคลียร์ หรือจากสารกัมมันตรังสี
 ช่ วงอั ลตราไวโอเลต เป็ นช่ วงที่มีพลังงานสูง เป็ นอัน ตรายต่อ เซลสิ่ ง มี
ชีวิต
 ช่วงคลื่นแสง เป็ นช่วงคลื่นที่ตามนุ ษย์รบ
ั รููไดู ประกอบดูวยแสงสีม่วง ไล่
ลงมาจนถึงแสงสีแดง
 ช่ ว งอิ น ฟราเรด เป็ นช่ ว งคลื่ นที่ มี พ ลั ง งานตำ่ า ตามนุ ษย์ ม องไม่ เ ห็ น
จำาแนกออกเป็ น อินฟราเรดคลื่นสั้น และอินฟราเรดคลื่นความรูอน
o Near Infrared (NIR) ความยาวคลื่นจะอยู่ในช่วงระหว่าง 0.7 ถึง
1.5 µm.
o Short Wavelength Infrared (SWIR) ความยาวคลื่ นจะอยู่ ใ นช่ ว ง
ระหว่าง 1.5 ถึง 3 µm.
o Mid Wavelength Infrared (MWIR) ความยาวคลื่ นจะอยู่ ใ นช่ ว ง
ระหว่าง 3 ถึง 8 µm.
o Long Wavelength Infrared (LWIR) ความยาวคลื่ นจะอยู่ ใ นช่ ว ง
ระหว่าง 8 ถึง 15 µm.
o Far Infrared (FIR) ความยาวคลื่นจะมากกว่า 15 µm.
 ช่ ว งคลื่ นวิ ท ยุ (radio wave) เป็ นช่ ว งคลื่ นที่ เ กิ ด จากการสั ่น ของผลึ ก
เนื่ องจากไดูรบ
ั สนามไฟฟู า หรือเกิดจากการสลับขั้วไฟฟู า สำาหรับในช่วง
ไมโครเวฟ มีการใหูช่ ือเฉพาะ เช่น
o P band ความถี่อยู่ในช่วง 0.3 - 1 GHz (30 - 100 cm)
5
o L band ความถี่อยู่ในช่วง 1 - 2 GHz (15 - 30 cm)
o S band ความถี่อยู่ในช่วง 2 - 4 GHz (7.5 - 15 cm)
o C band ความถี่อยู่ในช่วง 4 - 8 GHz (3.8 - 7.5 cm)
o X band ความถี่อยู่ในช่วง 8 - 12.5 GHz (2.4 - 3.8 cm)
o Ku band ความถี่อยู่ในช่วง 12.5 - 18 GHz (1.7 - 2.4 cm)
o K band ความถี่อยู่ในช่วง 18 - 26.5 GHz (1.1 - 1.7 cm)
o Ka band ความถี่อยู่ในช่วง 26.5 - 40 GHz (0.75 - 1.1 cm

ความยาวช่วงคลื่นและความเขูมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟู า ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
ของแหล่งกำา เนิ ดคลื่นแม่เ หล็ กไฟฟู า เช่น ดวงอาทิ ตย์ มี อุณหภูมิ 6,000 K
จะแผ่พลังงานในช่วงคลื่นแสงมากที่สุด วัตถุต่างๆ บนพื้ นโลกส่วนมากจะมี
อุณหภูมิประมาณ 300 K จะแผ่พลังงานในช่วงอินฟราเรดความรูอนมากที่สุด
คลื่นแม่เหล็กไฟฟู าเมื่อเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศ จะถูกโมเลกุลอากาศ และ
ฝ่ ุนละอองในอากาศดูดกลืน และขวางไวูทำา ใหูคลื่นกระเจิงคลื่นออกไป คลื่น
ส่วนที่กระทบถูกวัตถุจะสะทูอนกลับ และเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศมาตกสู่
อุปกรณ์วัดคลื่น
6
เนื่ องจากวัตถุต่างๆ มีคุณสมบัติการสะทูอนคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าที่ช่วงคลื่น
ต่างๆ ไม่เหมือนกัน ดังนั้ นเราจึงสามารถใชูคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าในการสำา รวจ
จากระยะไกลไดู รูปต่อไปนี้ แสดงลักษณะการสะทูอนแสงเปรียบเทียบระหว่าง
วั ตถุ ต่างชนิ ดกั น ที่ ช่ว งคลื่ น ต่ างๆ กั น ความสามารถในการสะทู อ นแสงของ
วัตถุต่างๆ บนพื้ นโลกสามารถสรุปไดูดังนี้

• นำ้ าสะทู อ นแสงในช่ ว งแสงสี น้ ำ าเงิ น ไดู ดี และดู ด กลื น คลื่ นในช่ ว งอื่ นๆ
และใหูสังเกตว่านำ้าจะดูดกลืนคลื่น IR ช่วง 0.91 mm ในช่วงนี้ ไดูดีมาก
• ดินสะทูอนแสงในช่วงคลื่นแสงไดูดีทุกสี
• พืช สะทู อนแสงช่ว งสีเขี ยวไดู ดี และสะทูอนช่ว งอิ นฟราเรดไดู ดีกว่ านำ้ า
และดินมาก

เ ค รื่ อ ง มื อ ต ร ว จ วั ด (Sensor)
เครื่ องมื อ วั ด ในเทคโนโลยี ร ี โ มทเซนชิ ง คื อ เ ครื่ องมื อที่ วั ด พลั ง ง าน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟู า เครื่องมื อซึ่ง เป็ นที่ รูจักกั น ดีคือ กลู องถ่ายรู ป กลูอ งถ่ าย
วี ดี โ อ และเรดาร์ โดยเครื่อ งมื อ วั ด จะประกอบดู ว ยส่ ว นสำา คั ญ สามส่ ว นคื อ

ส่ ว นรั บ คลื่ นแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า (receiver) เป็ นส่ ว นที่ ทำา หนู า ที่ ร ับ และขยาย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟู าใหูมีความเขูมเพียงพอที่จะทำาใหูอุปกรณ์วัดสามารถรับรููไดู
ตั ว อย่ า งของส่ ว นเครื่อ งมื อ นี้ คื อ เลนส์ ข องกลู อ ง และส่ ว นรับ คลื่ นวิ ท ยุ
(antenna) ซึ่ ง อาจเป็ นเสู น เหมื อ นเสาวิ ท ยุ หรือ เป็ นจานกลม (แบบจานรับ
สัญญาณดาวเทียม) ทั้งนี้ รูปแบบ ขนาด และวัสดุท่ีใชูของอุปกรณ์ส่วนนี้ จะขึ้น
อยู่กับช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าที่ตูองการตรวจวัด และรายละเอียดของขูอมูล
7
ของสิ่งที่ตูองการสำารวจ เช่นในช่วงคลื่นแสง ส่วนที่รบ
ั มักจะเป็ นเลนส์ที่ทำา
จากผลึก quartz โดยมีขนาดและรูปทรงขึ้นอยู่กับว่าตูองการกำา ลังขยายภาพ
เท่าใด ในช่วงคลื่นวิทยุ ส่วนที่รบ
ั มักจะเป็ นจานวิทยุ หรือเสาวิทยุ โดยมีขนาด
ใหญ่ หรือ เล็ กขึ้ นอยู่ กับ ว่ าสิ่ ง ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ที่ ตู อ งการใหู ม องเห็ น มี ข นาดเท่ าใด

ส่ ว น ที่ ทำา ก า ร วั ด พ ลั ง ง า น ข อ ง ค ลื่ น แ ม่ เ ห ล็ ก ไ ฟ ฟ้ า (Detector)


เป็ นส่วนที่แปลงพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าที่ตูองการวัด ใหูอยู่ในรูป
แบบที่เครื่องมือวัดจะเปรียบเทียบค่าไดู ซึ่งการวัดพลังงานอาจใชู

• ปฏิ กิ ร ิย าเคมี โดยการเคลื อ บสารที่ ทำา ปฏิ กิ ร ิย ากั บ แสง (เช่ น silver
nitrate) ลงบนแผ่ น ฟิ ล์ ม ซึ่ ง ขนาดของปฏิ กิ ร ิย าเคมี ที่ เ กิ ด กั บ สารที่
เคลือบจะแปรผันตามความเขูมของแสงที่ตกกระทบ
• การเปลี่ย นพลังงานเป็ นสัญ ญาณไฟฟู า โดยใชู อุ ปกรณ์ ประเภทสารกึ่ ง
ตั ว นำา (semiconductor) ซึ่ ง จะใหู ค วามเขู ม ของสั ญ ญาณไฟฟู าแปรผั น
ตามความเขูมแสงที่ตกกระทบ
• นอกจากนั้ นส่วน detector อาจเป็ นแผ่นมีมิติกวูาง-ยาว เช่นแผ่นฟิ ล์ม
ซึ่งสามารถบันทึกภาพไดูท้ ังภาพในครั้งเดียว หรืออาจเป็ น scanner ซึ่ง
มักจะประกอบขึ้นจากแถวของอุปกรณ์รบ
ั แสง ที่จะบันทึกภาพดูวยการก
วาดอุ ป กรณ์ ร ับ แสงนี้ ไปที่ ล ะส่ ว นของภาพ (คลู า ยกั บ การทำา งานของ
เครื่อ งถ่ า ยเอกสาร ที่ จ ะค่ อ ยๆ กวาดภาพจากหั ว กระดาษไปยั ง ทู า ย
กระดาษจึงจะไดูภาพทั้งภาพ)

ส่ ว น ที่ ทำา ก า ร บั น ทึ ก ค่ า พ ลั ง ง า น ที่ วั ด ไ ด้ (Recorder)


อาจเป็ นตัวแผ่นฟิ ล์มเองในกรณี การใชูแผ่นฟิ ล์มเป็ นส่วนทำาการวัดพลังงาน
แต่ถูาเป็ นการวัดโดยแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟู าส่วนนี้ อาจจะเป็ นแถบแม่เหล็ก
8
(เช่นเดียวกับที่ใชูในกลูองถ่ายวีดีโอ) หรืออาจใชูหน่วยเก็บความจำาอื่น เช่น
ฮ า ร์ ด ดิ ส ก์ ห รื อ RAM เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ที่ ใ ชู ใ น เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
ในส่ ว นของเครื่อ งมื อ วั ด ยั ง มี ส่ ว นที่ จ ะตู อ งพิ จ ารณาอี ก ส่ ว นหนึ่ ง คื อ แหล่ ง
กำา เนิ ดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าที่ใชูในการสำา รวจ โดยจำา แนกไดูเป็ นสองกลุ่ม
คือ

 Active sensor เ ป็ น ร ะ บ บ ที่ เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด เ ป็ น แ ห ล่ ง กำา เ นิ ด


คลื่นแม่เหล็กไฟฟู าเองดูวย ในระบบรีโมทเซนซิงที่วัดจากระยะไกลมาก
คลื่ นกำา เนิ ด ไฟฟู าที่ ใ ชู จ ะจำา กั ด อยู่ ใ นช่ ว งคลื่ นวิ ท ยุ เ ท่ า นั้ น เนื่ องจาก
ปั ญหาของแหล่งพลังงาน
 Passive sensor เป็ นระบบที่อาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าจากแหล่ งกำา เนิ ด
อื่น เช่นใชูแสงจากดวงอาทิตย์ หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟู าที่สิ่งที่ตูองการ
สำารวจแผ่รงั สีออกมาเอง (มักจะเป็ นช่วงอินฟราเรดความรูอน) ในกรณี
ที่ใชูแสงจากดวงอาทิตย์ เครื่องมือวัดจะทำางานไดูเฉพาะในเวลากลางวัน
เท่ า นั้ น นอกจากการศึ ก ษารู ป แบบของเมฆในทางอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา การ
ตรวจวั ด ยั ง ตู อ งการทู อ งฟู าที่ ป ลอดโปร่ ง ไม่ มี เ มฆ หรือ ฝนในช่ ว ง
ที่ทำาการตรวจวัดดูวย
9
ยานสำารวจ (Platform)
เพื่อใหูเครื่องมือวัดอยู่
ห่างจากสิ่งที่ตูองการ
สำารวจ จึงมักติดตั้งเครื่อง
มือวัดไวูในที่สูง ซึ่งอาจ
เป็ นการติดตั้งเครื่องมือไวู
บนเสาสูง ยอดตึก หรือ
บนภูเขา ซึ่งการติดตั้งใน
ลักษณะนี้ จะมีขูอดีคือ
สามารถตรวจวัดเฝู าระวัง
สิ่งที่สนใจไดูอย่างต่อ
เนื่ อง แต่มีขูอจำากัดที่การ
ตรวจวัดจะมีขอบเขต
พื้ นที่คงที่ตามตำาแหน่งที่
ติดตั้งเครื่องมือวัดเท่านั้ น
การติดตั้งเครื่องมือสำารวจดูวยเทคโนโลยีรโี มทเซนซิงมักติดตั้งบนพาหนะที่
ลอยไดู ซึ่งอาจเป็ นบอลลูน เครื่องบินบังคับ เครื่องบินขนาดเล็ก เครื่องบินที่
มีพิสัยการบินสูง ยานอวกาศ หรือดาวเทียม
นอกจากดาวเทียมแลูว ยานสำารวจที่เหลือจะเป็ นการบินสำารวจตามภารกิจที่
ตูองมีการกำาหนดเสูนทางบิน และระดับความสูงการบินเฉพาะ ช่วงเวลาในการ
สำารวจจะจำากัดตามความจุเชื้ อเพลิงของยานพาหนะที่เลือกใชู ดังนั้ นช่วงเวลา
และพื้ นที่สำารวจมักครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่ งตามที่กำาหนดโดยภารกิจ
การสำารวจเท่านั้ น
ส่วนการใชูดาวเทียมเป็ นยานสำารวจ จะมีขูอดีคือดาวเทียมอาศัยหลักการ
10
สมดุลระหว่างแรงหนี ศูนย์กลางและแรงดึงดูดของโลกมาเป็ นตัวรักษาวง
โคจรของดาวเทียม (แทนที่จะใชูเชื้ อเพลิงมาขับเคลื่อนไม่ใหูยานตกลงสู่พื้น
โลก) ดาวเทียมจึงไม่มีขูอจำากัดในดูานความจุเชื้ อเพลิงเพื่อใชูในการเคลื่อนที่
ของดาวเทียม และทำาใหูดาวเทียมสามารถโคจรรอบโลกอยู่ไดูนานทำาใหูการ
สำารวจสามารถครอบคลุมเวลาไดูนานเป็ นปี ๆ และสามารถเลือกพื้ นที่ท่ีจะใหู
ดาวเทียมบินสำารวจไดูครอบคลุมพื้ นที่กวูาง โดยขึ้นอยู่กับวงโคจรที่จะใหู
ดาวเทียมเคลื่อนที่
จากภาพเป็ นการแสดงลักษณะของยานสำารวจชนิ ดต่าง ๆ ที่ใชูในการติดตั้ง
เครื่องมือตรวจวัด ซึ่งมีหลายประเภท นั บตั้งแต่ การใชูรถกระเชูาเพื่อถ่ายภาพ
ในที่สงู การใชูบัลลูนเพื่อติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดอากาศ การใชูเครื่องบินใน
ระดับความสูงต่าง ๆ ทำาการถ่ายภาพ จนถึงการใชูดาวเทียมเพื่อทำาการสำารวจ
ทรัพยากรในดูานต่าง ๆ ซึง่ ยานสำารวจในลักษณะต่างกัน ย่อมมีขีดความ
สามารถในการสำารวจที่แตกต่างกัน เช่น ประเภทของขูอมูลที่ทำาการตรวจวัด
ขอบเขตของพื้ นที่ท่ีสามารถทำาการตรวจวัด ตลอดจนลายละเอียดของสิ่งที่
ตรวจวัด เป็ นตูน การสำารวจดูวยรีโมทเซนชิงมีการใชูวงโคจรของดาวเทียม 2
ลักษณะสำาคัญคือ

วงโคจรแบบค้างฟ้ า
(geostationary orbit)
ดาวเทียมจะปรากฏเหมือนอยู่
นิ่ งเมื่อสัมพัทธ์กับตำาแหน่งบน
พื้ นโลก ดาวเทียมโคจรในทิศ
11
เดียวกับการหมุนรอบตัวเองของโลก มีระนาบการโคจรอยู่ในแนว
เสูนศูนย์สูตร และมีความสูงประมาณ 36,000 กิโลเมตร
ตำาแหน่งของดาวเทียมสัมพัทธ์กับตำาแหน่งบนพื้ นโลกจะเสมือนว่าดาวเทียม
อยู่น่ิ งคูางอย่บ
ู นฟู าตลอดเวลา จึงเรียกดาวเทียมที่มีลักษณะวงโคจรเช่นนี้ ว่า
ดาวเทียมคูางฟู า (Geostationary satellite)
ดาวเทียมดูานอุตุนิยมวิทยาที่ใชูศึกษา และสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพอากาศโดยดูจากรูปทรงและการเคลื่อนตัวของเมฆ จะใชูวงโคจรลักษณะ
นี้ ตัวอย่างเช่น ดาวเทียม GMS ของประเทศญี่ปุ่น นอกจากนั้ นดาวเทียม
สื่อสารจำานวนมาก เช่น ดาวเทียมปาลาปู า ดาวเทียมของ StarTV รวมทั้ง
ดาวเทียมไทยคม ของบริษัทชินวัตร ก็
ใชูวงโคจรแบบ geostationary เช่นกัน

วงโคจรแบบใกล้แกนหมุนของโลก
(Near polar orbit)
ระนาบของวงโคจรของดาวเทียมจะ
อยู่ในทิศใกลูเคียงกับแนวแกนหมุนของโลก โดยดาวเทียมอาจอยู่ท่ีระดับ
ความสูงใดก็ไดูท่ีความเสียดทานของบรรยากาศมีนูอยจนไม่สามารถทำาใหู
ความเร็วของดาวเทียมลดลง
ดาวเทียมสำารวจส่วนมากจะมีวงโคจรในลักษณะนี้ โดยจะมีการกำาหนดระดับ
ความสูง และมุมของระนาบวงโคจรเทียบกับแนวเสูนศูนย์สูตร ที่เหมาะสม
(โดยมากจะมีความสูงประมาณ 700-1000 กิโลเมตร และมีมุมเอียงประมาณ
95 - 100 องศา จากระนาบศูนย์สูตร) ตัวอย่างเช่น ดาวเทียม Landsat
(สหรัฐอเมริกา) SPOT (ฝรัง่ เศส) ADEOS (ญี่ปุ่น) INSAT (อินเดีย)
12
RADARSAT (แคนาดา)
ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร เช่น ดาวเทียมอีรเิ ดียม ใชูวงโคจรในลักษณะนี้ แต่
จะมีระนาบวงโคจรที่เอียงออกจากแนวแกนหมุนของโลกมากกว่านี้

ความละเอียด (Resolution)

จากภาพเป็ นการเปรียบเทียบขนาดของขูอมูลที่ไดูจากการตรวจวัดจาก
ดาวเทียมดวงต่าง ๆ กับพื้ นที่สนามฟุตบอล เช่น ดาวเทียม SPOT ชนิ ด
panchromatic ใหูความละเอียดที่ 10 เมตร ดาวเทียม Landsat ใหูราย
ละเอียดที่ 30 เมตร ผููใชูจำาเป็ นที่จะตูองเลือกขูอมูลจากดาวเทียมใหูเหมาะสม
กับการใชูงาน เนื่ องจากดาวเทียมที่รายละเอียดมาก มีราคาสูง และพื้ นที่ใน
การตรวจวัดแต่ละครั้งมีขอบเขตค่อนขูางแคบ ถูาผููใชูเลือกชนิ ดของขูอมูล
ดาวเทียมไม่เหมาะสม เช่น ผูใู ชูทำาการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งปกคลุมดิน เพื่อเป็ น
ตัวแปรในแบบจำาลองทางคณิ ตศาสตร์ท่ีพัฒนาขึ้นเพื่อทำานายการเกิดนำ้าท่วม
ในลุ่มนำ้าเจูาพระยาตอนล่าง แต่ผูใชูเลือกใชูขูอมูลจากดาวเทียม IKONOS ที่
ขนาดรายละเอียด 1 เมตร ทำาใหูเสียเวลา และงบประมาณในการแปรความ
หมายขูอมูลการใชูประโยชน์ท่ีดินมากเกินความจำาเป็ น
13

You might also like