You are on page 1of 51

บทความทางวิชาการ

เรื่อง
สุนทรียภาพกับการเรียนรู้

เสนอ
ดร. ชฎาภรณ์ โฆษิ ตานนท์ สงวนแกูว

โดย
นางนั นทิกาญจน์ ธนากรวัจน์
5351600027
2

รายงานนี เ้ ป็ นส่วนหนึ่ งของวิชาคอมพิวเตอร์


สำาหรับบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร
เกษม

สุนทรียภาพกับการเรียนรู้

เมื่อกล่าวถึง สุนทรีภาพ คนส่วนใหญ่มักนึ กพาดพิงไปที่


คำาว่า สุนทรียศาสตร์ หากพิจารณารายละเอียดของความ
หมายทัง้ สองคำานี้ ต่างมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน โดยตัง้ อย่บ
่ น
พื้นฐานในเรื่องของความงามและความพึงพอใจ จากแนวคิดดัง
กล่าว พบว่าเมื่อมนุษย์เกิดความพึงพอใจต่อสรรพสิ่งบนโลก ไม่
ว่าจะเป็ นความพึงพอใจที่มีอย่่ในธรรมชาติ หรือมีต่อบุคคลใด
3

บุคคลหนึ่ ง และอาจจะมีต่อสถานบันต่าง ๆ ในสังคม ความ


ร้่สึกดังกล่าวมาจากความชอบ ความชื่นชม อันเป็ นความร้่สึกพื้น
ฐานซึ่งสามารถพัฒนาต่อไปจนเกิดเป็ นความสนใจอยากเข้าไป
ทำาความคุ้นเคยและอยากเรียนร้่ในรายละเอียดต่าง ๆ จากความ
สนใจที่เกิดขึ้นความร้่ดังกล่าวนี้ เป็ นสิ่งผ่กพันอย่่ในจิตใจของ
มนุษย์ทุกคน ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามพื้นฐานประสบการณ์
ในชีวิต และตามศักยภาพทางการรับร้่ของแต่ละบุคคล

ภาพที่ 1.1 การเคลื่อนที่ของวัตถุในมุมมองที่แตกต่างกัน

ความเป็ นมาและความหมายของสุนทรีศาสตร์
นิ ยามแห่งความงามนั น
้ ได้ถ่กตัง้ เป็ นประเด็นทางการ
ศึกษามายาวนานนั บศตวรรษ จนในที่สุดได้ถ่กจัดให้เป็ นการ
ศึกษาในร่ปแบบของทฤษฎีแห่งคุณค่าหรือคุณ
4

วิทยา(Axiology) ซึ่งเป็ นพื้นฐานสำาคัญของศักยภาพแห่งความ


เป็ นมนุษย์ อันเป็ นประกอบด้วย ความจริง
(ตรรกศาสตร์) ความดี (จริยศาสตร์) และความงาม
(สุนทรียศาสตร์)
ในทำานองเดียวกันการทำาความเข้าใจถึงความหมายของ
ความงามนั น
้ จำาเป็ นต้องเข้าใจถึงหลักปรัชญาของสุนทรียศาสตร์
ซึ่งประกอบด้วยแนวคิดของนั กปรัชญาสองกลุ่ม โดยกลุ่มแรกชื่อ
ว่า ความงามนั น
้ เป็ นสิ่งที่ข้ ึนอย่่กับผ้่รับร้่ (Subjective) และอีก
กลุ่มเชื่อว่าความงามนั น
้ มีค่าที่เที่ยงแท้ (absolute, objective)
อย่างไรก็ตาม มีผ้่ร้่หลายท่านได้ให้ความหมายคำาว่า
สุนทรียศาสตร์ไว้มากมาย จนในที่สุด อเล็กซานเดอร์ กอททรีบ
โบมการ์เด้น (Alexander Gottrib Baumgaten) นั กปรัชญาชาว
เยอรมัน ได้ตีพิมพ์ผลงานเรื่องสะท้อนของกวีนิพนธ์ (The
Aestheteca) โดยอธิบายถถึงการรับร้่ความร้่สึกด้วยประสาท
สัมผัส ซึ่งเป็ นสิ่งที่เขาค้นพบในบทกวีนิพนธ์ และความร้่เช่นนี้
สามารถขยายไปส่่การรับร้่เรื่องราวในศิลปะสาขาอื่น ๆ ได้
นอกจากนี้เขายังพิจารณาคำาว่า Aesthesis ในภาษากรีกซึ่งหมาย
ถึงการกำาหนดร้่ เพื่อประกอบเป็ นฐานความคิดนำ าไปส้่ที่มา
ของคำาว่า สุนทรียศาสตร์ (Aesthetic) โดยนำ ามาใช้เป็ นครัง้ แรก
ในหนั งสือดังกล่าว จากนั น
้ จึงเริ่มใช้คำาว่า Aesthetic เพื่อ
อธิบายเรื่องราวของการรับร้่ทางประสาทสัมผัส จนได้รับการ
ยกย่องให้เป็ นบิดาแห่งสุนทรียศาสตร์ โดยกำาหนดประเด็นใน
5

การอธิบายความหมายของคำาว่า สุนทรียศาสตร์ (Aesthetic)


ดังนี้
1. สุนทรียศาสตร์ เป็ นความร้่จากประสบการณ์
(Conceptual Knowledge) ซึ่งเป็ นการนำ าเอาเหตุผลมาตัดสิน
ความงาม
2. สุนทรียศาสตร์ เป็ นความร้่โดยตรง (intuitive
Knowledge) ทีเ่ กิดขึ้นอย่างฉับพลัน หรือเรียกว่าการหยัง่ ร้่
ซึ่งเป็ นความร้่ที่ส่งกว่าปกติและเป็ นการนำ าความร้่ที่ใช้มาตัดสิน
ความงาม โดยไม่จำาเป็ นต้องอาศัยเหตุผลอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง

อเล็กซานเดอร์ กอททรีบ โบมการ์เด้น (Alexander Gottrib


Baumgaten)
ผ้่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งสุนทรียศาสตร์
6

แม้ว่าความงามได้ถ่กกำาหนดให้เกิดมาตรฐานทางการ
ศึกษา โดยจัดให้อย่่ในศาสตร์แขนงอภิปรัชญา ภายใต้กรอบ
ความคิดของทฤษฎีคุณวิทยา อย่างไรก็ตามการทำาความเข้าใจ
เรื่องความงามนั น
้ กล่าวได้ว่า สุนทรียศาสตร์ยังคงเป็ นเพียง
แนวทางหนึ่ งในการสัมผัส ซึ่งความงาม เพราะความงดงามที่
บังเกิดขึ้นภายในจิตใจของมนุษย์แต่ละคนนั น
้ แท้จริงแล้วต่าง
ถ่กกลัน
่ กรองออกมาจากความร้่สึกอันละเอียดอ่อน ซึ่งจำาเป็ น
ต้องเปิ ดโอกาสให้ใจได้สัมผัสกับสรรพสิ่งบนโลก ด้วยการสะสม
ประสบการณ์ทางการรับร้่ความงาม จากความรึคิดและการกระ
ทำาทัง้ มวลของมนุษย์เอง

ความหมายของสุนทรียภาพ
ดังที่ได้กล่าวมาในเบื้องต้นว่าสุนทรียศาสตร์ หมายถึง
ศาสตร์ที่มีเนื้ อหาในเรื่องของการศึกษามาตรฐานแห่งความงาม
ซึ่งมาจากการรับร้่ทางประสาทสัมผัส เป็ นผลเกิดสภาวะทางใจ
ในเรื่องของความร้่สึกปิ ติ อิม
่ เอม และสะเทือนอารมณ์ ด้วย
ความร้่ดังกล่าวนี้ แม้มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล แต่ก็
สามารถพัฒนาให้เกิดเป็ นความคุ้นเคย และส่งผลให้กลายเป็ น
ความซาบซึ้งต่อความงามของสรรพสิ่งได้ อย่างไรก็ตามด้วย
ภาวะที่เป็ นนามธรรมเช่นนี้ล้วนยากต่อการทำาความเข้าใจ ดังนั น

สรรพสิ่งที่เป็ นสาระแห่งความงามจึงถ่กกำาหนดด้วย คำาว่า สุนทรี
ยะ และคำาว่าสุนทรียะ ในภาษาบาลีนัน
้ หมายถึง สุนทรียศาสตร์
7

อย่างไรก็ตาม ภาวะแห่งความซาบซึ้งต่อความงามของ
สรรพสิ่ง คือ การร้่ถึงคุณค่าในความงามโดยปราศจากการหวัง
ผลตอบแทนใดๆ เหตุดังกล่าวนี้ ถือได้ว่าเป็ นความร้่สึกบริสุทธิ ์ ดัง
เช่น เอมมาน่เอล คานท์ (Immanuel Kant) นั กปรัชญาชาว
เยอรมันนี กล่าวได้ว่า “บางครัง้ เราก็มีความร้่สึกมีความสุข
เพื่อความสุขเท่านั น
้ ”

เอมมาน่เอล คานท์ (Immanuel Kant) นั กปรัชญาชาว

เยอรมันนี

ดังนั น
้ การทำาความเข้าใจประสบการณ์ที่กล่าวมาในเบื้อต้น
นอกจากความสำาคัญตามหลักการของสุนทรียศาสตร์ ซึ่งเป็ นก
รอบความคิดพื้นฐานต่อการเข้าใจถึงปรากฏการณ์ที่เป็ น
นามธรรมในเรื่องของอารมณ์ความร้่สึกทางความงามแล้ว
ประสบการณ์สุนทรียะยังประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้
8

1. ความรู้สึกทางประสาทสัมผัส ที่ได้รับทางประสาทสัมผัส
ของเสียงและแสง จากทางห่และทางตา
2. อารมณ์ อารมณ์ที่เป็ นสุข หรืออารมณ์เศรูา เกิดขึ้นได้
ด้วยวิธีการทางประสาทสัมผัส เช่น เสียงดนตรีที่บรรเลงด้วย
จังหวะซำ้า ๆ อย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดความร้่สึกของการ
เคลื่อนไหว
3. ความหมายแห่งสรรพสิ่ง บางครัง้ ความหมายที่เด่นชัด
เกิดขึ้นได้โดยทางเสียง หรือคำา เช่น บทกวีที่สามารถสื่อความ
หมายแห่งอารมณ์ ความร้่สึกมายังผ้่อ่าน
4. ความรู้สึก ประสบการณ์ทางสุนทรียะนั น
้ เป็ นสิ่งที่เต็ม
ไปด้วยความร้่สึก เช่นในกรณีของภาพที่วาดโดยเลียนแบบจาก
ธรรมชาติ ทำาให้เราร้่ได้เช่นเดียวกับที่เห็นวัตถุจริง จากการถ่ก
ลอกแบบ คล้ายกันกับที่คนรักสุนัข จะได้รับความร้่สึกเป็ นสุม
เมื่อเห็นภาพวาดของสุนัข และความร้่สึกเป็ นสุขนี้สามารถ
เทียบได้กับความร้่สึกเป็ นสุขดังเช่นที่เขาเห็นสุนัขนั น
้ จริง ๆ
5. ตัวบุคคล ซึ่งเป็ นผ้่ชี้ขาดถึงการรับร้่ประสบการณ์สุนทรี
ยะ จากการเริ่มเข้าร่วมเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันกับสิ่งที่เป็ น
สุนทรียะ อย่างไรก็ตามการเข้าร่วมดังกล่าวนี้ ตัวบุคคลมักไม่ร้่ว่า
ตนเองกำาลังเข้าร่วมกับสิ่งสุนทรียะนั น
้ ๆ
ดังนั น
้ จึงสรุปได้ว่า สุนทรียภาพ หมายถึง ความร้่สึกอัน
เกิดจากการรับร้่ทางประสาทสัมผัส ทีม
่ ีความสัมพันธ์กับ
ประสบการณ์ในชีวิต โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ ความร้่สึก
9

เช่นนี้เป็ นอารมณ์ที่เกิดขึ้นภายในใจ จากการซาบซึ้งในอรรถรส


แห่งความงาม ความไพเราะ และความสะเทือนใจ
มหาวีระ ศาสดาผ้่ก่อกำาเนิ ดศาสนาชินะหรือเชน ซึ่งอย่่ใน
ยุคก่อนพระพุทธเจ้า กล่าวว่า วัตถุแห่งความงามมิใช่เพียงแค่
สรรพสิ่งที่สัมผัสได้ หากรวมไปถึงอากาศที่ว่าง เวลาการ
เคลื่อนไหวและการไม่เคลื่อนไหว ซึ่งทัง้ หมดนี้เป็ น
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลก แนวคิดดังกล่าวนี้ จะพบ
ว่ามีการตอบคำาถามเกี่ยวกับความจริงของโลกและชีวิตโดยไม่
เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า
พระพุทธเจูา กล่าวว่า ความงามที่ส่งสุดของชีวิตคือความ
ว่างเปล่าและการหลุดพ้นจากสิ่งยึดเหนี่ ยว โดยเน้ นเรื่องความ
เข้าใจชีวิต ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับศรัทธาในศาสดาเช่นเดียวกับ
ศาสนาเชน
เหลาจือ
้ ผ้่ให้กำาเนิ ดปรัชญาเต๋า กล่าวว่า ความงามมา
จากการใช้ชีวิตเรียบง่ายตามธรรมชาติ
ขงจือ
้ ผ้่ก่อกำาเนิ ดลัทธิหย่ (ปั ญญาชน) กล่าวว่า ความงาม
มาจากพฤติกรรมของมนุษย์ที่ผ่กพันระหว่างกายและใจเข้าไว้
ด้วยกัน
โฮเมอร์ (Homer) จินตกวีชาวกรีก กล่าวว่า ความงาม
เป็ นความมหัศจรรย์แห่งชีวิต
โสเครตีส (Socrates) นั กปราชญ์ชาวกรีก กล่าวว่า ความ
งามเป็ นความเหมาะสมของสัดส่วนและร่ปทรง
10

เพลโต (Plato) นั กปราชญ์ชาวกรีก กล่าวว่า ความงาม


เป็ นแบบที่อย่่ในสากลจักรวาล ซึ่งเป็ นร่ปแบบอันนิ รันดร์ที่พระเจ้า
ประทานให้มวลมนุษย์มีเพียงศิลปิ นเท่านั น
้ ที่จะเข้าถึงแบบดัง
กล่าว และสร้างออกมาเป็ นผลงานศิลปะ
อริสโตเติล (Aristotle) นั กปราชญ์ชาวกรีก กล่าวว่า ความ
งามเป็ นแบบดังเช่นที่เพลโตกล่าว แต่มิได้อย่่ในสากลจักรวาล
หากเป็ นแบบที่อย่่ในสรรพสิ่งทัง้ มวล และไม่พ้นวิสัยการรับร้่
ของมนุษย์ โดยต้องเป็ นสิ่งที่มีทัง้ ประโยชน์ ใช้สอย และความ
งดงามควบค่่กันไป นอกจากนี้ จะต้องเป็ นสิ่งที่สร้างขึ้นจาก
จินตนาการควบค่่ไปกับธรรมชาติ
เซนต์โทมัธ ออกัสติน (St. Augustine) บาทหลวง
และนั กปรัชญา ในสมัยกลาง กล่าวว่า ความงามเป็ นสิ่งที่จะ
สร้างขึ้น ซึ่งอย่่นอกเหนื อวิสัยทัศน์ของเหตุผล (ธีรยุทธ บุญ
มี, 2545 : 47-49, 67-73)
จากแนวคิดทัง้ หมดนี้พบว่า การที่มนุษย์เกิดความพึงพอใจ
ต่อสรรพสิ่งบนโลก เป็ นเรื่องของการรับร้่ที่ละเอียดอ่อน จึงควร
ทำาความเข้าใจให้ชัดเจน เนื่ องจากความงามเป็ นนามธรรมที่
แต่ละบุคคลมีอิสระต่อความร้่สึกดังกล่าวนี้ อย่างไรก็ตาม
สุนทรียภาพที่เกิดขึ้นในแง่ของการรับร้่คุณค่าของความงามนั น

เป็ นความร้่สึกพึงพอใจโดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ กระนั น

ก็ตามความร้่สึกดังกล่าวนี้ เกิดขึ้นแตกต่างกันในแต่ละบุคคล ซึ่ง
ยากต่อการหาข้อสรุป จึงมักมีคำาถามอย่่เสมอว่า ความงามคือ
11

อะไร ความงามอย่้ตรงไหน และตัดสินอย่างไรว่างาม


ความเคลือบแคลงเช่นนี้เกิดขึ้นกับมนุษย์มานานนั บศตวรรษ
โดยเฉพาะในช่วงเวลาแห่งการพัฒนาระบบความคิดจนเกิดเป็ น
ศาสตร์แขนงต่าง ๆ ในเวลาต่อมา
สุนทรียภาพตามกระบวนการนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่อง
ของการรับร้่ภายใต้ความเชื่อว่า เมื่อร่างกายรับร้่สิ่งใดจะมีผลต่อ
จิตใจเสมอโดยมีระดับการรับร้่เป็ น 3 ระดับ คือ
1. รับร้่ภาพรวม ทำาให้เกิดความร้่สึกว่างามมาจากความ
พอใจ
2. รับร้่ด้วยเหตุผล ทำาให้เกิดการวิเคราะห์ เลือกสรรในสิ่งที่
เห็นงามจากการเรียนร้่ตามเหตุผลแห่งใจ
3. รับร้่ด้วยการสังเกตในรายละเอียด ทำาให้เกิดการ
สังเคราะห์ พบวิธีการ และมีคำาตอบต่อการอธิบายคุณค่า
ของความงาม จากความซาบซึ้งที่ต้องกระทบจิตใจ

การเรียนรู้ ( Learning )
การเรียนร้่ เป็ นกระบวนการที่มีความสำาคัญและจำาเป็ นใน
การดำารงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนร้่ตัง้ แต่
แรกเกิดจนตาย สำาหรับมนุษย์การเรียนร้่เป็ นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้
มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่นๆ ดังพระราชนิพนธ์บทความ
ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ว่า "สิง่
12

ทีท
่ ำาให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อ่ ืนๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมี
ปั ญญา ทีจ
่ ะนึ กคิดและปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์ และถ่กต้องได้"
การเรียนร้่ช่วยให้มนุษย์ร้่จักวิธีดำาเนิ นชีวิตอย่างเป็ นสุข ปรับตัว
ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่าง ๆ ได้ ความ
สามารถในการเรียนร้่ของมนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำาเร็จและ
ความพึงพอใจในชีวิตของมนุษย์ด้วย

ความหมายของการเรียนรู้
ความหมายของคำาว่า “การเรียนร้่” มีนักจิตวิทยาได้ให้
ความหมายของการเรียนร้่ไว้หลายท่านในที่นี้จะสรุปพอเป็ น
แนวทางให้เข้าใจดังนี้คือ
การเรียนร้่ หมายถึง การที่มนุษย์ได้รับร้่ถึงสิ่งแวดล้อมที่
อย่่รอบตัวเขา โดยเริ่มต้นตัง้ แต่การมีปฏิสนธิอย่่ในครรภ์มารดา
เรื่อยไป จนกระทัง่ คลอดมาเป็ นทารกแล้วอย่่รอด ซึ่งบุคคลก็ต้อง
ปรับตัวเพื่อให้ตนเองอย่่รอดกับสิ่งแวดล้อมทัง้ ภายในครรภ์
13

มารดา และเมื่อออกมาอย่ภ
่ ายนอกเพื่อให้ชีวิตดำารงอย่่รอดทัง้ นี้
ก็เพราะการเรียนร้่ทัง้ สิ้น
การเรียนร้่ มีความหมายลึกซึ้งมากกว่าการสัง่ สอน หรือการ
บอกเล่าให้เข้าใจ และจำาได้เท่านั น
้ ไม่ใช่เรื่องของการทำาตาม
แบบไม่ได้มีความหมายต่อการเรียนในวิชาต่าง ๆ เท่านั น

แต่ความหมายคลุมไปถึงการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม อัน
เป็ นผลจากการสังเกตพิจารณา ไตร่ตรอง แก้ปัญหาทัง้ ปวง
และไม่ชี้ชัดว่าการเปลี่ยนแปลงนั น
้ เป็ นไปในทางทีส
่ ังคมยอมรับ
เท่านั น
้ การเรียนร้่เป็ นการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม การ
เรียนร้่เป็ นความเจริญงอกงามเน้ นว่าการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทีเ่ ป็ นการเรียนร้่ต้องเนื่ องมาจากประสบการณ์ หรือการฝึ กหัด
และพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปนั น
้ ควรจะต้องมีความคงทน
ถาวรเหมาะแก่เหตุ เมื่อพฤติกรรมดัง้ เดิมเปลี่ยนไปส่่พฤติกรรม
ทีม
่ ุ่งหวัง ก็แสดงว่าเกิดการเรียนร้่แล้ว
การเรียนร้่ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
กิจกรรมในการแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อสถานการณ์อย่างใด
อย่างหนึ่ ง
การเรียนร้่ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันมีผล
มาจากการได้มีประสบการณ์
การเรียนร้่ หมายถึง กระบวนการที่ทำาให้เกิด
กิจกรรม หรือ กระบวนการที่ทำาให้กิจกรรมเปลี่ยนแปลงไป
โดยเป็ นผลตอบสนองจากสภาพการณ์หนึ่ ง ซึ่งไม่ใช่ปฏิกิริยา
14

ธรรมชาติไม่ใช่วุฒิภาวะ และไม่ใช่สภาพการเปลี่ยนแปลงของ
ร่างกายชัว
่ ครัง้ ชัว ์ า
่ คราวที่เนื่ องมาจากความเหนื่ อยล้าหรือฤทธิย
การเรียนร้่ หมายถึง กระบวนการที่เนื่ องมาจาก
ประสบการณ์ตรงและประสบการณ์อ้อมกระทำาให้อินทรีย์เกิดการ
เปลีย
่ นแปลงพฤติกรรมค่อนข้างถาวร
การเรียนร้่ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรใน
พฤติกรรม ซึ่งเป็ นผลของการฝึ กหัด
คิมเบิล (Kimble, 1964) "การเรียนร้่ เป็ นการ
เปลีย
่ นแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็ นผลมาจากการฝึ ก
ทีไ่ ด้รับการเสริมแรง"
ฮิลการ์ด และเบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981)
"การเรียนร้่ เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็ น
ผลมาจากประสบการณ์และการฝึ ก ทัง้ นี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยน
แปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ
์ องยา หรือสารเคมี หรือปฏิกริยาสะท้อนตามธรรมชาติของ
ฤทธิข
มนุษย์ "
คอนบาค (Cronbach) "การเรียนร้่ เป็ นการแสดงให้
เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยน แปลง อันเป็ นผลเนื่ องมาจาก
ประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา "
พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New
International Dictionary) "การเรียนร้่ คือ กระบวนการ
เพิ่มพ่นและปรุงแต่งระบบความร้่ ทักษะ นิ สัย หรือการ
15

แสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่าน
ประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึ กฝน"
ประดินันท์ อุปรมัย (2540, ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา
(มนุษย์กับการเรียนร้่) : นนทบุรี, พิมพ์ครัง้ ที่ 15, หน้ า 121) “
การเรียนร้่คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่ องมาจากการ
ได้รับประสบการณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงนั น
้ เป็ นเหตุทำาให้บุคคล
เผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม “ประสบการณ์ที่ก่อ
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม หมายถึงทัง้ ประสบการณ์
ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม
ประสบการณ์ทางตรง คือ ประสบการณ์ที่บุคคลได้พบหรือ
สัมผัสด้วยตนเอง เช่น เด็กเล็กๆ ทีย
่ ังไม่เคยร้่จักหรือเรียนร้่คำา
ว่า “ร้อน” เวลาที่คลานเข้าไปใกล้กานำ้ าร้อน แล้วผ้่ใหญ่บอกว่า
ร้อน และห้ามคลานเข้าไปหาเด็กย่อมไม่เข้าใจ และคงคลาน
เข้าไปหาอย่่อีก จนกว่าจะได้ใช้มือหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ ง
ของร่างกาย ไปสัมผัสกานำ้ าร้อน จึงจะร้่ว่ากานำ้ าที่ว่าร้อนนั น

เป็ นอย่างไร ต่อไปเมื่อเขาเห็นกานำ้ าอีกแล้วผ้่ใหญ่บอกว่า
กานำ้ านั น
้ ร้อนเขาจะไม่คลานเข้าไปจับกานำ้ านั น
้ เพราะเกิดการ
เรียนร้่คำาว่าร้อนที่ผ้่ใหญ่บอกแล้ว เช่นนี้กล่าวได้ว่า
ประสบการณ์
ตรงมีผลทำาให้เกิดการเรียนร้่ เพราะมีการเปลี่ยนแปลงทีท
่ ำาให้
เผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ในการมี
16

ประสบการณ์ตรงบางอย่างอาจทำาให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม แต่ไม่ถือว่าเป็ นการเรียนร้่ ได้แก่
์ า หรือสิ่งเสพ
1. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่ องจากฤทธิย
ติดบางอย่าง
2. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่ องจากความเจ็บป่ วยทาง
กายหรือทางใจ
3. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่ องจากความเหนื่ อยล้าของ
ร่างกาย
4. พฤติกรรมที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนต่างๆ
ประสบการณ์ทางอ้อม คือ ประสบการณ์ที่ผ้่เรียนมิได้พบ
หรือสัมผัสด้วยตนเองโดยตรง แต่อาจได้รับประสบการณ์ทาง
อ้อมจาก การอบรมสัง่ สอนหรือการบอกเล่า การอ่านหนั งสือ
ต่างๆ และการรับร้่จากสื่อมวลชนต่างๆ
จากความหมายของการเรียนร้่ข้างต้นอาจสรุปได้ว่า การ
เรียนร้่ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็ นผลจากการ
ทีบ
่ ุคคลทำากิจกรรมใดๆ ทำาให้เกิดประสบการณ์ และเกิดทักษะ
ต่างๆ ขึ้นยังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมค่อนข้างถาวร
17

ธรรมชาติของการเรียนรู้
ธรรมชาติของการเรียนร้่โดยทัว
่ ไปนั กจิตวิทยา เชื่อว่า
มนุษย์จะมีการเรียนร้่ได้ก็ ต่อเมื่อมนุษย์ได้ทำากิจกรรมใดๆ แล้ว
เกิดประสบการณ์ ประสบการณ์ที่สะสมมามากๆ และหลายๆ ครัง้
ทำาให้มนุษย์เกิดการเรียนร้่ข้ ึนและเกิดการพัฒนาสิ่งที่เรียนร้่จน
เกิดเป็ นทักษะ และเกิดเป็ นความชำานาญ ดังนั น
้ การเรียนร้่ของ
มนุษย์ก็จะอย่่กับตัวของมนุษย์เรียกว่าการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร ดังนั น
้ หัวข้อที่น่าศึกษาต่อไปคือ
18

ธรรมชาติของการเรียนร้่ของมนุษย์มีอะไรบ้าง ในที่นี้ขออธิบาย
เป็ นข้อๆ คือ
1. การเรียนร้่คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมค่อนข้างถาวร
2. การเรียนร้่ย่อมมีการแก้ไข ปรับปรุงและเปลีย
่ นแปลง โด
ยการเปลี่ยนแปลงนั น
้ ๆ จะต้องเนื่ องมาจากประสบการณ์
3. การเปลี่ยนแปลงชัว
่ ครัง้ ชัว
่ คราวไม่นับว่าเป็ นการเรียนร้่
4. การเรียนร้่ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ งย่อมต้องอาศัยการสังเกต
พฤติกรรม
5. การเรียนร้่เป็ นกระบวนการที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม และกระบวนการเรียนร้่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่
บุคคลมีชีวิตอย่่ โดยอาศัยประสบการณ์ในชีวิต
6. การเรียนร้่ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่อาศัยวุฒิภาวะ วุฒิภาวะคือ
ระดับความเจริญเติบโตส่งสุดของพัฒนาการทางด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของบุคคลในแต่ละ
ช่วงวัยที่เป็ นไปตามธรรมชาติ แต่การเรียนร้่ไม่ใช่วุฒิภาวะ
แต่ต้องอาศัยวุฒิภาวะประกอบกัน
7. การเรียนร้่เกิดได้ง่ายถ้าสิ่งที่เรียนเป็ นสิ่งที่มีความหมายต่อ
ผ้่เรียน
8. การเรียนร้่ของแต่ละคนแตกต่างกัน
9. การเรียนร้่ย่อมเป็ นผลให้เกิดการสร้างแบบแผนของ
พฤติกรรมใหม่
19

10. การเรียนร้่อาจจะเกิดขึ้นโดยการตัง้ ใจหรือเกิดโดยบังเอิญ


ก็ได้

จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
พฤติกรรมการเรียนร้่ตามจุดมุ่งหมายของนั กการศึกษาซึ่ง
กำาหนดโดย บล่ม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนา
ผ้่เรียนใน 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านพุทธิพส
ิ ัย (Cognitive Domain) คือ ผลของ
การเรียนร้่ที่เป็ นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรม
ประเภท ความจำา ความเข้าใจ การนำ าไปใช้การวิเคราะห์
การสังเคราะห์ และประเมินผล
2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain) คือ ผลของการเรียน
ร้่ที่เปลีย
่ นแปลงด้านความร้่สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท
ความร้่สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิ ยม
3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของ
การเรียนร้่ที่เป็ นความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุม
พฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทำา การปฏิบัติงาน
การมีทักษะและความชำานาญ

องค์ประกอบสำาคัญของการเรียนรู้
ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอ
ว่าการเรียนร้่ มีองค์ประกอบสำาคัญ 4 ประการ คือ
20

1. แรงขับ (Drive) เป็ นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัว


บุคคล เป็ นความพร้อมที่จะเรียนร้่ของบุคคลทัง้ สมอง ระบบ
ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้ อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะ
ก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนำ าไปส่่การเรียนร้่ต่อไป

2. สิง่ เร้า (Stimulus) เป็ นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใน


สถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็ นตัวการที่ทำาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือ
พฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้า
จะหมายถึงคร่ กิจกรรมการสอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่
คร่นำามาใช้

3. การตอบสนอง (Response) เป็ นปฏิกิริยา หรือ


พฤติกรรมต่าง ๆ ที่แสดงออกมา เมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้น
จากสิ่งเร้า ทัง้ ส่วนทีส
่ ังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกต
เห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คำาพ่ด การคิด การรับร้่
ความสนใจ และความร้่สึก เป็ นต้น

4. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็ นการให้สิ่งที่มี


อิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทัง้ ทาง
บวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนร้่ของบุคคลเป็ นอันมาก

ธรรมชาติของการเรียนรู้
การเรียนร้่มีลักษณะสำาคัญดังต่อไปนี้
21

1. การเรียนร้่เป็ นกระบวนการ การเกิดการเรียนร้่ของ


บุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนร้่จากการไม่ร้่ไปส่่การเรียนร้่
5 ขัน
้ ตอน คือ
1.1 มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล
1.2 บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททัง้ 5
1.3 บุคคลแปลความหมายหรือรับร้่สิ่งเร้า
1.4 บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่ งต่อ
สิง่ เร้าตามที่รับร้่
1.5 บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่ง
เร้า

Sensation Perception

ประสาทรับ การรับร้่

สัมผัส

Stimulus
เกิดการเรียนร้่
สิง่ เร้า
Response Concept
Learning
การ ปฏิกิริยาตอบ ความคิดรวบ
เปลี่ยนแปลง สนอง ยอด
พฤติกรรม
22

การเรียนร้่เริ่มเกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้า (Stimulus) มากระตุ้


นบุคคล ระบบประสาทจะตื่นตัวเกิดการรับสัมผัส (Sensation)
ด้วยประสาทสัมผัสทัง้ 5 แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมอง
เพื่อแปลความหมายโดยอาศัยประสบการณ์เดิมเป็ นการรับร้่
(Perception) ใหม่ อาจสอดคล้องหรือแตกต่างไปจาก
ประสบการณ์เดิม แล้วสรุปผลของการรับร้่นัน
้ เป็ นความเข้าใจ
หรือความคิดรวบยอด (Concept) และมีปฏิกิริยาตอบสนอง
(Response) อย่างใดอย่างหนึ่ งต่อสิ่งเร้า ตามที่รับร้่ซ่ ึงทำาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแสดงว่าเกิดการเรียนร้่แล้ว
2. การเรียนร้่ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนร้่อาศัยวุฒิภาวะ
วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตส่งสุดของพัฒนาการ
ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของบุคคลแต่ละวัย
ทีเ่ ป็ นไปตามธรรมชาติ แม้ว่าการเรียนร้่จะไม่ใช่วุฒิภาวะแต่
การเรียนร้่ต้องอาศัยวุฒิภาวะด้วยเพราะการที่บุคคลจะมีความ
สามารถในการรับร้่หรือตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากหรือน้ อยเพียงใด
ขึ้นอย่่กับว่าบุคคลนัน
้ มีวุฒิภาวะเพียงพอหรือไม่
3. การเรียนร้่เกิดได้ง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนเป็ นสิ่งที่มีความ
หมายต่อผ้่เรียน
23

การเรียนสิ่งที่มีความหมายต่อผ้่เรียน คือ การเรียนในสิ่ง


ทีผ
่ ้่เรียนต้องการจะเรียนหรือสนใจจะเรียน เหมาะกับวัยและวุฒิ
ภาวะของผ้่เรียนและเกิดประโยชน์ แก่ผ้่เรียน การเรียนในสิ่งที่มี
ความหมายต่อผ้่เรียนย่อมทำาให้ผ้่เรียนเกิดการเรียนร้่ได้ดีกว่า
การเรียนในสิ่งที่ผ้่เรียนไม่ต้องการหรือไม่สนใจ
4. การเรียนร้่แตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธีการในการ
เรียน
ในการเรียนร้่สิ่งเดียวกัน บุคคลต่างกันอาจเรียนร้่ได้ไม่
เท่ากันเพราะบุคคลอาจมีความพร้อมต่างกัน มีความสามารถใน
การเรียนต่างกัน มีอารมณ์และความสนใจที่จะเรียนต่างกัน
และมีความร้่เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่จะ
เรียนต่างกัน
ในการเรียนร้่สิ่งเดียวกัน ถ้าใช้วิธีเรียนต่างกัน ผลของการ
เรียนร้่อาจมากน้ อยต่างกันได้ และวิธท
ี ี่ทำาให้เกิดการเรียนร้่ได้
มากสำาหรับบุคคลหนึ่ งอาจไม่ใช่วิธีเรียนที่ทำาให้อีกบุคคลหนึ่ งเกิด
การเรียนร้่ได้มากเท่ากับบุคคลนั น
้ ก็ได้

การถ่ายโยงการเรียนรู้
การถ่ายโยงการเรียนร้่เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ การ
ถ่ายโยงการเรียนร้่ทางบวก (Positive Transfer) และการถ่าย
โยงการเรียนร้่ทางลบ (Negative Transfer)
24

การถ่ายโยงการเรียนร้่ทางบวก (Positive Transfer) คือ


การถ่ายโยงการเรียนร้่ชนิ ดที่ผลของการเรียนร้่งานหนึ่ งช่วยให้ผ้่
เรียนเกิดการเรียนร้่อีกงานหนึ่ งได้เร็วขึ้น ง่ายขึ้น หรือดีข้ ึน
การถ่ายโยงการเรียนร้่ทางบวก มักเกิดจาก
1. เมื่องานหนึ่ ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ ง และผ้่
เรียนเกิดการเรียนร้่งานแรกอย่างแจ่มแจ้งแล้ว
2. เมื่อผ้่เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่ งกับอีก
งานหนึ่ ง
3. เมื่อผ้่เรียนมีความตัง้ ใจที่จะนำ าผลการเรียนร้่จากงาน
หนึ่ งไปใช้ให้เป็ นประโยชน์ กับการเรียนร้่อีกงานหนึ่ ง และ
สามารถจำาวิธีเรียนหรือผลของการเรียนร้่งานแรกได้อย่างแม่นยำา
4. เมื่อผ้่เรียนเป็ นผ้่ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยชอบ
ทีจ
่ ะนำ าความร้่ต่างๆ ที่เคยเรียนร้่มาก่อนมาลองคิดทดลองจนเกิด
ความร้่ใหม่ๆ
การถ่ายโยงการเรียนร้่ทางลบ (Negative Transfer) คือ
การถ่ายโยงการเรียนร้่ชนิ ดที่ผลการเรียนร้่งานหนึ่ งไปขัดขวาง
ทำาให้ผ้่เรียนเกิดการเรียนร้่อีกงานหนึ่ งได้ช้าลง หรือยากขึ้นและ
ไม่ได้ดีเท่าที่ควร การถ่ายโยงการเรียนร้่ทางลบ อาจเกิดขึ้นได้ 2
แบบ คือ
1. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผลของการ
เรียนร้่งานแรกไปขัดขวางการเรียนร้่งานที่ 2
25

2. แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการ


เรียนร้่งานที่ 2 ทำาให้การเรียนร้่งานแรกน้ อยลง
การเกิดการเรียนร้่ทางลบมักเกิดจาก
- เมื่องาน 2 อย่างคล้ายกันมาก แต่ผ้่เรียนยังไม่เกิดการ
เรียนร้่งานใดงานหนึ่ งอย่างแท้จริงก่อนที่จะเรียนอีกงานหนึ่ ง
ทำาให้การเรียนงาน 2 อย่างในเวลาใกล้เคียงกันเกิดความสับสน
- เมื่อผ้่เรียนต้องเรียนร้่งานหลายๆ อย่างในเวลาติดต่อกัน
ผลของการเรียนร้่งานหนึ่ งอาจไปทำาให้ผ้่เรียนเกิดความสับสนใน
การเรียนร้่อีกงานหนึ่ งได้

การนำ าความรู้ไปใชู
1. ก่อนที่จะให้ผ้่เรียนเกิดความร้่ใหม่ ต้องแน่ ใจว่า ผ้่
เรียนมีความร้่พ้ ืนฐานที่เกี่ยวข้องกับความร้่ใหม่มาแล้ว
2. พยายามสอน หรือบอกให้ผ้่เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมาย
ของการเรียน ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ตนเอง
3. ไม่ลงโทษผ้ท
่ ี่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่ง
หวังว่าผ้่เรียนทุกคนจะต้องเกิดการเรียนร้่ที่เท่ากันในเวลาเท่ากัน
26

4. ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ ใจว่าผ้่เรียนเข้าใจ


บทเรียนแรกได้ดีแล้วจึงจะสอนบทเรียนต่อไป
5. พยายามชี้แนะให้ผ้่เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบท
เรียนที่มีความสัมพันธ์กัน

ลักษณะสำาคัญ ที่แสดงใหูเห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึน
้ จะ
ตูองประกอบดูวยปั จจัย 3 ประการ คือ
1. มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทน ถาวร
2. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั น
้ จะต้องเป็ นผลมาจาก
ประสบการณ์ หรือการฝึ ก การปฏิบัติซ้ำาๆ เท่านั น

3. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการเพิ่มพ่นใน
ด้านความร้่ ความเข้าใจ ความร้่สึกและความสามารถทางทักษะ
ทัง้ ปริมาณและคุณภาพ

ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning)


ทฤษฎีการเรียนร้่มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก
เพราะจะเป็ นแนวทางในการกำาหนดปรัชญาการศึกษาและการจัด
ประสบการณ์ เนื่ องจากทฤษฎีการเรียนร้่เป็ นสิ่งที่อธิบายถึง
กระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะทำาให้เกิดการเรียนร้่และ
ตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
27

ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำาคัญ แบ่งออกไดู 2 กลุ่มใหญ่ๆ


คือ
1. ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่ อง (Associative Theories)
2. ทฤษฎีกลุ่มความร้่ความเข้าใจ (Cognitive Theories)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่ อง
ทฤษฎีนี้เห็นว่าการเรียนร้่เกิดจากการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง (Response)
ปั จจุบันเรียกนั กทฤษฎีกลุ่มนี้ว่า "พฤติกรรมนิ ยม"
(Behaviorism)
ซึ่งเน้ นเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มองเห็น
และสังเกตได้มากกว่ากระบวน การคิด และปฏิกิริยาภายในของ
ผ้่เรียน ทฤษฎีการเรียนร้่กลุ่มนี้แบ่งเป็ นกลุ่มย่อยได้ ดังนี้
1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theories)
1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical
Conditioning Theories)
1.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำา (Operant
Conditioning Theory)
2. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theories)
28

2.1 ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism


Theory)
2.2 ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่ อง (S-R Contiguity
Theory)

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
อธิบายถึงการเรียนร้่ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่ง
เร้าตามธรรมชาติ และสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับการ ตอบสนอง
พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวข้องมักจะเป็ นพฤติกรรมที่
เป็ นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) หรือ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
อารมณ์ ความร้่สึก บุคคลสำาคัญของทฤษฎีนี้ ได้แก่ Pavlov,
Watson, Wolpe etc.

Ivan P. Pavlov
นั กสรีรวิทยาชาวรัสเซีย (1849-1936) ได้ทำาการ
ทดลองเพื่อศึกษาการเรียนร้่ที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมโยงระหว่าง
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วาง
เงื่อนไข(Unconditioned Stimulus = UCS) และสิ่งเร้า ที่
เป็ นกลาง (Neutral Stimulus) จนเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าที่
เป็ นกลางให้กลายเป็ นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (Conditioned
Stimulus = CS) และการตอบสนองที่ไม่มีเงื่อนไข
(Unconditioned Response = UCR) เป็ นการตอบสนองที่มี
29

เงื่อนไข (Conditioned Response = CR) ลำาดับขัน


้ ตอน
การเรียนร้่ที่เกิดขึ้นดังนี้
1. ก่อนการวางเงื่อนไข
UCS (อาหาร)
UCR (นำ้ าลายไหล)
สิ่งเร้าที่เป็ นกลาง (เสียงกระดิ่ง)
นำ้ าลายไม่ไหล
2. ขณะวางเงื่อนไข
CS (เสียงกระดิ่ง) + UCS (อาหาร)
UCR (นำ้ าลายไหล)
3. หลังการวางเงื่อนไข
CS (เสียงกระดิ่ง)
CR (นำ้ าลายไหล)
หลักการเกิดการเรียนร้่ที่เกิดขึ้น คือ การตอบสนองที่
เกิดจากการวางเงื่อนไข (CR) เกิดจากการนำ าเอาสิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไข (CS) มาเข้าค่่กับสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (UCS)
ซำ้ากันหลายๆ ครัง้ ต่อมาเพียงแต่ให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS)
เพียงอย่างเดียวก็มีผลทำาให้เกิดการตอบสนองในแบบเดียวกัน
ผลจากการทดลอง Pavlov สรุปหลักเกณฑ์ของการเรียนร้่
ได้ 4 ประการ คือ
30

1. การดับส่ญหรือการลดภาวะ (Extinction) เมื่อให้ CR


นานๆ โดยไม่ให้ UCS เลย การตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะ
ค่อยๆ ลดลงและหมดไป
2. การฟื้ นกลับหรือการคืนสภาพ (Spontaneous
Recovery) เมื่อเกิดการดับส่ญของการตอบสนอง (Extinction)
แล้วเว้นระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ ง เมื่อให้ CS จะ
เกิด CR โดยอัตโนมัติ
3. การแผ่ขยาย หรือ การสรุปความ (Generalization)
หลังจากเกิดการตอบสนองที่มีเงื่อนไข ( CR ) แล้ว เมื่อให้สิ่ง
เร้าที่วางเงื่อนไข (CS) ทีค
่ ล้ายคลึงกัน จะเกิดการตอบสนอง
แบบเดียวกัน
4. การจำาแนกความแตกต่าง (Discrimination) เมื่อให้สิ่ง
เร้าใหม่ที่แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข จะมีการจำาแนกความ
แตกต่างของสิ่งเร้า และมีการตอบสนองที่แตกต่างกันด้วย

John B. Watson
นั กจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1878 - 1958) ได้ทำาการ
ทดลองการวางเงื่อนไขทางอารมณ์กับเด็กชายอายุประมาณ 11
เดือน โดยใช้หลักการเดียวกับ Pavlov หลังการทดลองเขา
สรุปหลักเกณฑ์การเรียนร้่ได้ ดังนี้
31

1. การแผ่ขยายพฤติกรรม (Generalization) มีการแผ่


ขยายการตอบสนองที่วางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้าที่คล้ายคลึงกับสิ่งเร้าที่
วางเงื่อนไข
2. การลดภาวะ หรือการดับส่ญการตอบสนอง
(Extinction) ทำาได้ยากต้องให้สิ่งเร้าใหม่ (UCS ) ทีม
่ ีผลตรง
ข้ามกับสิ่งเร้าเดิม จึงจะได้ผลซึ่งเรียกว่า Counter -
Conditioning

Joseph Wolpe
นั กจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1958) ได้นำาหลักการ
Counter-Conditioning ของ Watson ไปทดลองใช้บำาบัดความ
กลัว (Phobia) ร่วมกับการใช้เทคนิ คผ่อนคลายกล้ามเนื้ อ
(Muscle Relaxation) เรียกวิธีการนี้ว่า Desensitization

การนำ าหลักการมาประยุกต์ใชูในการสอน
1. คร่สามารถนำ าหลักการเรียนร้่ของทฤษฎีนี้มาทำาความ
เข้าใจพฤติกรรมของผ้่เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์ ความร้่สึกทัง้
ด้านดีและไม่ดี รวมทัง้ เจตคติต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น วิชาที่
เรียน กิจกรรม หรือคร่ผ้่สอน เพราะเขาอาจได้รับการวาง
เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ งอย่่ก็เป็ นได้
32

2. คร่ควรใช้หลักการเรียนร้่จากทฤษฎีปล่กฝั งความร้่สึก
และเจตคติที่ดีต่อเนื้ อหาวิชา กิจกรรมนั กเรียน คร่ผ้่สอนและสิ่ง
แวดล้อมอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องให้เกิดในตัวผ้่เรียน
3. คร่สามารถป้ องกันความร้่สึกล้มเหลว ผิดหวัง และ
วิตกกังวลของผ้่เรียนได้โดยการส่งเสริมให้กำาลังใจในการเรียน
และการทำากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศจากผ้่เรียน และหลีกเลี่ยง
การใช้อารมณ์หรือลงโทษผ้่เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวาง
เงื่อนไขขึ้น กรณีที่ผ้่เรียนเกิดความเครียด และวิตกกังวลมาก
คร่ควรเปิ ดโอกาสให้ผ้่เรียนได้ผ่อนคลายความร้่สึกได้บ้างตาม
ขอบเขตที่เหมาะสม

ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทำาของสกินเนอร์
(Skinner's Operant Conditioning Theory)
B.F. Skinner (1904 - 1990) นั กจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ได้ทำาการทดลองด้านจิตวิทยาการศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์
การเรียนร้่ที่มีการตอบสนองแบบแสดงการกระทำา (Operant
Behavior) สกินเนอร์ได้แบ่ง พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว้ 2
แบบ คือ
1. Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบ
สนองที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ หรือเป็ นปฏิกิริยาสะท้อน
(Reflex) ซึ่งสิ่งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เช่น การกระ
พริบตา นำ้ าลายไหล หรือการเกิดอารมณ์ ความร้่สึกต่างๆ
33

2. Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต


เป็ นผ้่กำาหนด หรือเลือกที่จะแสดงออกมา ส่วนใหญ่จะเป็ น
พฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกในชีวิตประจำาวัน เช่น กิน นอน
พ่ด เดิน ทำางาน ขับรถ ฯลฯ.
การเรียนร้่ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกิน
เนอร์ให้ความสำาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคน
เรียกว่าเป็ นทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกิน
เนอร์ให้ความสำาคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement) ว่ามีผล
ทำาให้เกิดการเรียนร้่ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุป
ไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอย่่กับผลของ
การกระทำา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทัง้ ทางบวกและ
ทางลบ

พฤติกรรม

การเสริม
การลงโทษแรง
34

ทางบวก ทางลบ
ทางบวก ทางลบ

ความถี่ของพฤติกรรมเพิ่มขึ้น
ความถี่ของพฤติกรรมลดลง

การนำ าหลักการมาประยุกต์ใชู
1. การเสริมแรง และ การลงโทษ
2. การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม
3. การสร้างบทเรียนสำาเร็จร่ป

การเสริมแรงและการลงโทษ
การเสริมแรง (Reinforcement) คือการทำาให้อัตรา
การตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอัน
เป็ นผลจากการได้รับสิ่งเสริมแรง (Reinforce) ทีเ่ หมาะสม การ
เสริมแรงมี 2 ทาง ได้แก่
1. การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement )
เป็ นการให้สิ่งเสริมแรงที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทำาให้บุคคลแสดง
พฤติกรรมถี่ข้ ึน
35

2. การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement)


เป็ นการนำ าเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทำาให้บุคคล
แสดงพฤติกรรมถี่ข้ ึน
การลงโทษ (Punishment) คือ การทำาให้อัตราการ
ตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมลดลง การ
ลงโทษมี 2 ทาง ได้แก่
1. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เป็ นการ
ให้สิ่งเร้าที่บุคคลทีไ่ ม่พึงพอใจ มีผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรม
ลดลง
2. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เป็ นการ
นำ าสิ่งเร้าที่บุคคลพึงพอใจ หรือสิ่งเสริมแรงออกไป มีผลทำาให้
บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง

ตารางการเสริมแรง (The Schedule of Reinforcement)


1. การเสริมแรงอย่างต่อเนื่ อง (Continuous
Reinforcement) เป็ นการให้สิ่งเสริมแรงทุกครัง้ ที่บุคคลแสดง
พฤติกรรมตามต้องการ
2. การเสริมแรงเป็ นครัง้ คราว (Intermittent
Reinforcement) ซึ่งมีการกำาหนดตารางได้หลายแบบ ดังนี้
2.1 กำาหนดการเสริมแรงตามเวลา (Iinterval
schedule)
36

2.1.1 กำาหนดเวลาแน่ นอน (Fixed Interval


Schedules = FI)
2.1.2 กำาหนดเวลาไม่แน่ นอน (Variable Interval
Schedules = VI )
2.2 กำาหนดการเสริมแรงโดยใช้อัตรา (Ratio
schedule) 2.2.1 กำาหนดอัตราแน่ นอน (Fixed Ratio
Schedules = FR)
2.2.2 กำาหนดอัตราไม่แน่ นอน (Variable Ratio
Schedules = VR)

การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม
การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification)
เป็ นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ มาเป็ นพฤติกรรม
ทีพ
่ ึงประสงค์ โดยใช้หลักการเสริมแรงและการลงโทษ
การแต่งพฤติกรรม (Shaping Behavior )
เป็ นการเสริมสร้างให้เกิดพฤติกรรมใหม่ โดยใช้วิธีการเสริมแรง
กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละน้ อย จนกระทัง่ เกิด
พฤติกรรมตามต้องการ

บทเรียนสำาเร็จร้ป (Programmed Instruction)


เป็ นบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือคร่ผ้่สอนสร้าง
ขึ้น ประกอบด้วย เนื้ อหา กิจกรรม คำาถามและ คำาเฉลย การ
37

สร้างบทเรียนโปรแกรมใช้หลักของ Skinner คือเมื่อผ้่เรียน


ศึกษาเนื้ อหาและทำากิจกรรม จบ 1 บท จะมีคำาถามยัว
่ ยุให้
ทดสอบความร้่ความสามารถ แล้วมีคำาเฉลยเป็ นแรงเสริมให้
อยากเรียนบทต่อๆ ไปอีก

ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike's
Connectionism Theory)
Edward L. Thorndike (1874 - 1949) นั กจิตวิทยา
การศึกษาชาวอเมริกัน ผ้่ได้ช่ ือว่าเป็ น "บิดาแห่งจิตวิทยาการ
ศึกษา" เขาเชื่อว่า "คนเราจะเลือกทำาในสิ่งก่อให้เกิดความพึง
พอใจและจะหลีกเลี่ยงสิ่งทีท
่ ำาให้ไม่พึงพอใจ" จากการทดลองกับ
แมวเขาสรุปหลักการเรียนร้่ได้ว่า เมื่อเผชิญกับปั ญหาสิ่งมีชีวิตจะ
เกิดการเรียนร้่ในการแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถ่ก (Trial and
Error) นอกจากนี้เขายังให้ความสำาคัญกับการเสริมแรงว่าเป็ นสิ่ง
กระตุ้นให้เกิดการเรียนร้่ได้เร็วขึ้น
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
1. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความสำาคัญคือ ผล
แห่งปฏิกิริยาตอบสนองใดที่เป็ นที่น่าพอใจ อินทรีย์ยอ
่ มกระทำา
ปฏิกิรย
ิ านั น
้ ซำ้าอีกและผลของปฏิกิริยาใดไม่เป็ นที่พอใจบุคคลจะ
หลีกเลี่ยงไม่ทำาปฏิกิริยานั น
้ ซำ้าอีก
2. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) มีใจความ
สำาคัญ 3 ประเด็น คือ
38

2.1 ถ้าอินทรียพ
์ ร้อมที่จะเรียนร้่แล้วได้เรียน อินทรีย์
จะเกิดความพอใจ
2.2 ถ้าอินทรียพ
์ ร้อมที่จะเรียนร้่แล้วไม่ได้เรียน จะ
เกิดความรำาคาญใจ
2.3 ถ้าอินทรีย์ไม่พร้อมที่จะเรียนร้่แล้วถ่กบังคับให้
เรียน จะเกิดความรำาคาญใจ
3. กฎแห่งการฝึ กหัด (Law of Exercise) มีใจความ
สำาคัญคือ พฤติกรรมใดที่ได้มีโอกาสกระทำาซำ้าบ่อยๆ และมีการ
ปรับปรุงอย่่เสมอ ย่อมก่อให้เกิดความคล่องแคล่วชำานิ ชำานาญ
สิง่ ใดที่ทอดทิ้งไปนานย่อมกระทำาได้ไม่ดีเหมือนเดิมหรืออาจ
ทำาให้ลืมได้
การนำ าหลักการมาประยุกต์ใชู
1. การสอนในชัน
้ เรียนคร่ควรกำาหนดวัตถุประสงค์ให้
ชัดเจน จัดแบ่งเนื้ อหาเป็ นลำาดับเรียงจากง่ายไปยาก เพื่อกระตุ้น
ให้ผ้่เรียนสนใจติดตามบทเรียนอย่างต่อเนื่ อง เนื้ อหาที่เรียนควร
มีประโยชน์ ต่อชีวิตประจำาวันของผ้่เรียน
2. ก่อนเริ่มสอนผ้่เรียนควรมีความพร้อมที่จะเรียน ผ้่
เรียนต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอและไม่ตกอย่่ในสภาวะบางอย่าง
เช่น ป่ วย เหนื่ อย ง่วง หรือ หิว จะทำาให้การเรียนมี
ประสิทธิภาพ
39

3. คร่ควรจัดให้ผ้่เรียนมีโอกาสฝึ กฝนและทบทวนสิ่งที่
เรียนไปแล้ว แต่ไม่ควรให้ทำาซำ้าซากจนเกิดความเมื่อยล้าและเบื่อ
หน่ าย
4. คร่ควรให้ผ้่เรียนได้มีโอกาสพึงพอใจและร้่สึกประสบผล
สำาเร็จในการทำากิจกรรม โดยคร่ต้องแจ้งผลการทำากิจกรรมให้
ทราบ หากผ้่เรียนทำาได้ดีควรชมเชยหรือให้รางวัล หากมีข้อ
บกพร่องต้องชี้แจงเพื่อการปรับปรุงแก้ไข

ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่ องของกัทรี (Guthrie's Contiguity


Theory)
Edwin R. Guthrie นั กจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็ นผ้่กล่าว
ยำ้าถึงความสำาคัญของความใกล้ชิดต่อเนื่ องระหว่างสิ่งเร้ากับการ
ตอบสนอง ถ้ามีการเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดและแนบแน่ นเพียง
ครัง้ เดียวก็สามารถเกิดการเรียนร้่ได้ (One Trial Learning )
เช่น ประสบการณ์ชีวิตที่วิกฤตหรือรุนแรงบางอย่าง ได้แก่ การ
ประสบอุบัติเหตุที่รุนแรง การส่ญเสียบุคคลอันเป็ นที่รัก ฯลฯ

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มความรู้ความเขูาใจ
ทฤษฎีการเรียนร้่ที่มองเห็นความสำาคัญของกระบวนการคิด
ซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนร้่มากกว่าสิ่งเร้า
และการตอบสนอง นั กทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรมหรือการ
ตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั น
้ ต้องผ่านกระบวนการคิด
40

ทีเ่ กิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการ


หยัง่ เห็น (Insight) คือความร้่ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดย
การจัดระบบการรับร้่แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม
ทฤษฎีการเรียนร้่กลุ่มนี้ยังแบ่งย่อยได้อีกดังนี้
1. ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory)
2. ทฤษฎีสนามของเลวิน ( Lewin's Field Theory)

ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory)


นั กจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) ชาว
เยอรมัน ประกอบด้วย Max Wertheimer, Wolfgang
Kohler และ Kurt Koftka ซึ่งมีความสนใจเกี่ยวกับการรับร้่
(Perception ) การเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เก่าและใหม่
นำ าไปส่่กระบวนการคิดเพื่อการแก้ปัญหา (Insight)

องค์ประกอบของการเรียนรู้ มี 2 ส่วน คือ


1. การรับร้่ (Perception) เป็ นกระบวนการแปลความ
หมายของสิ่งเร้าที่มากระทบประสาทสัมผัส ซึ่งจะเน้ นความสำาคัญ
ของการรับร้่เป็ นส่วนรวมที่สมบ่รณ์มากกว่าการรับร้่ส่วนย่อยทีละ
ส่วน
2. การหยัง่ เห็น (Insight) เป็ นการร้่แจ้ง เกิดความคิด
ความเข้าใจแวบเข้ามาทันทีทันใดขณะที่บุคคลกำาลังเผชิญปั ญหา
41

และจัดระบบการรับร้่ ซึ่งเดวิส (Davis, 1965) ใช้คำาว่า Aha '


experience

หลักของการหยั่งเห็นสรุปไดูดังนี ้
2.1 การหยัง่ เห็นขึ้นอย่่กบ
ั สภาพปั ญหา การหยัง่
เห็นจะเกิดขึ้นได้ง่ายถ้ามีการรับร้่องค์ประกอบของปั ญหาที่
สัมพันธ์กัน บุคคลสามารถสร้างภาพในใจเกี่ยวกับขัน
้ ตอน
เหตุการณ์ หรือสภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพยายามหาคำาตอบ
2.2 คำาตอบที่เกิดขึ้นในใจถือว่าเป็ นการหยัง่ เห็น ถ้า
สามารถแก้ปัญหาได้บุคคลจะนำ ามาใช้ในโอกาสต่อไปอีก
2.3 คำาตอบหรือการหยัง่ เห็นที่เกิดขึ้นสามารถนำ าไป
ประยุกต์ ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้

ทฤษฎีสนามของเลวิน (Lewin's Field Theory)

Kurt Lewin นั กจิตวิทยาชาวเยอรมัน (1890 - 1947) มี


แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนร้่เช่นเดียวกับกลุ่มเกสตัลท์ ที่ว่าการ
เรียนร้่ เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการรับร้่ และกระบวนการคิด
เพื่อการแก้ไขปั ญหาแต่เขาได้นำาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มา
42

ร่วมอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ เขาเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์
แสดงออกมาอย่างมีพลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อย่่
ในความสนใจและต้องการจะมีพลังเป็ นบวก ซึ่งเขาเรียกว่า Life
space สิง่ ใดที่อย่่นอกเหนื อความสนใจจะมีพลังเป็ นลบ
Lewin กำาหนดว่า สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี 2
ชนิ ด คือ
1. สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment)
2. สิง่ แวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological
environment) เป็ นโลกแห่งการรับร้่ตามประสบการณ์ของแต่ละ
บุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างกับสภาพที่สังเกตเห็นโลก
หมายถึง Life space นั น
่ เอง
Life space ของบุคคลเป็ นสิ่งเฉพาะตัว ความสำาคัญที่มีต่อ
การจัดการเรียนการสอน คือ คร่ต้องหาวิธีทำาให้ตัวคร่เข้าไปอย่่
ใน Life space ของผ้่เรียนให้ได้

การนำ าหลักการทฤษฎีกล่ม
ุ ความรู้ ความเขูาใจ ไป
ประยุกต์ใชู
1. คร่ควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็ นกันเอง และมี
อิสระที่จะให้ผ้่เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทัง้ ที่ถ่กและผิด
เพื่อให้ผ้่เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อม่ล และเกิดการหยัง่
เห็น
43

2. เปิ ดโอกาสให้มีการอภิปรายในชัน
้ เรียน โดยใช้
แนวทางต่อไปนี้
2.1 เน้ นความแตกต่าง
2.2 กระตุ้นให้มีการเดาและหาเหตุผล
2.3 กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม
2.4 กระตุ้นให้ใช้ความคิดอย่างรอบคอบ
2.5 กำาหนดขอบเขตไม่ให้อภิปรายออกนอก
ประเด็น
3. การกำาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็ นขัน

ตอน เนื้ อหามีความสอดคล้องต่อเนื่ องกัน
4. คำานึ งถึงเจตคติและความร้่สึกของผ้่เรียน พยายามจัด
กิจกรรมที่กระตุ้นความสนใจของผ้่เรียนมีเนื้ อหาที่เป็ นประโยชน์
ผ้่เรียนนำ าไปใช้ประโยชน์ ได้ และควรจัดโอกาสให้ผ้่เรียนร้่สึก
ประสบความสำาเร็จด้วย
5. บุคลิกภาพของคร่และความสามารถในการถ่ายทอด
จะเป็ นสิ่งจ่งใจให้ผ้่เรียนมีความศรัทธาและคร่จะสามารถเข้าไป
อย่่ใน Life space ของผ้่เรียนได้
ทฤษฎีปัญญาสังคม (Social Learning Theory)
Albert Bandura (1962 - 1986) นั กจิตวิทยาชาว
อเมริกัน เป็ นผ้่พัฒนาทฤษฎีนี้ข้ ึนจากการศึกษาค้นคว้าของ
ตนเอง เดิมใช้ช่ ือว่า "ทฤษฎีการเรียนร้่ทางสังคม" (Social
44

Learning Theory) ต่อมาเขาได้เปลี่ยนชื่อทฤษฎีเพื่อความ


เหมาะสมเป็ น "ทฤษฎีปัญญาสังคม"
ทฤษฎีปัญญาสังคมเน้ นหลักการเรียนร้่โดยการสังเกต
(Observational Learning) เกิดจากการที่บุคคลสังเกตการกระ
ทำาของผ้่อ่ ืนแล้วพยายามเลียนแบบพฤติกรรมนั น
้ ซึ่งเป็ นการ
เรียนร้่ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมทางสังคมเราสามารถพบได้ใน
ชีวิตประจำาวัน เช่น การออกเสียง การขับรถยนต์ การเล่น
กีฬาประเภทต่างๆ เป็ นต้น

ขัน
้ ตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกต
1. ขัน
้ ให้ความสนใจ (Attention Phase) ถ้าไม่มีขัน
้ ตอน
นี้ การเรียนร้่อาจจะไม่เกิดขึ้น เป็ นขัน
้ ตอน ที่ผ้่เรียนให้ความ
สนใจต่อตัวแบบ (Modeling) ความสามารถ ความมีช่ ือเสียง และ
คุณลักษณะเด่นของตัวแบบจะเป็ นสิ่งดึงด่ดให้ผ้่เรียนสนใจ
2. ขัน
้ จำา (Retention Phase) เมื่อผ้่เรียนสนใจพฤติกรรม
ของตัวแบบ จะบันทึกสิ่งทีส
่ ังเกตได้ไว้ในระบบความจำาของ
ตนเอง ซึ่งมักจะจดจำาไว้เป็ นจินตภาพเกี่ยวกับขัน
้ ตอนการแสดง
พฤติกรรม
3. ขัน
้ ปฏิบัติ (Reproduction Phase) เป็ นขัน
้ ตอนที่ผ้่
เรียนลองแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ซึ่งจะส่งผลให้มีการตรวจ
สอบการเรียนร้่ที่ได้จดจำาไว้
45

4. ขัน
้ จ่งใจ (Motivation Phase) ขัน
้ ตอนนี้เป็ นขัน
้ แสดง
ผลของการกระทำา (Consequence) จากการแสดงพฤติกรรม
ตามตัวแบบ ถ้าผลที่ตัวแบบเคยได้รับ (Vicarious
Consequence) เป็ นไปในทางบวก (Vicarious Reinforcement)
ก็จะจ่งใจให้ผ้่เรียนอยากแสดงพฤติกรรมตามแบบ ถ้าเป็ นไปใน
ทางลบ (Vicarious Punishment) ผ้่เรียนก็มักจะงดเว้นการ
แสดงพฤติกรรมนั น
้ ๆ

หลักพืน
้ ฐานของทฤษฎีปัญญาสังคม มี 3 ประการ คือ
1. กระบวนการเรียนร้่ต้องอาศัยทัง้ กระบวนการทางปั ญญา
และทักษะการตัดสินใจของผ้่เรียน
2. การเรียนร้่เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ 3
ประการ ระหว่าง ตัวบุคคล (Person) สิง่ แวดล้อม
46

(Environment) และพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีอิทธิพลต่อกัน


และกัน

B
E
3. ผลของการเรียนร้่กับการแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน
สิง่ ที่เรียนร้่แล้วอาจไม่มีการแสดงออกก็ได้ เช่น ผลของการกระ
ทำา (Consequence) ด้านบวก เมื่อเรียนร้่แล้วจะเกิดการแสดง
พฤติกรรมเลียนแบบ แต่ผลการกระทำาด้านลบ อาจมีการเรียนร้่
แต่ไม่มีการเลียนแบบ

การนำ าหลักการมาประยุกต์ใชู
1. ในห้องเรียนคร่จะเป็ นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด คร่
ควรคำานึ งอย่่เสมอว่า การเรียนร้่โดยการสังเกตและเลียนแบบจะ
เกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าคร่จะไม่ได้ตัง้ วัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม

2. การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็ นการสอนโดยใช้หลักการ
และขัน
้ ตอนของทฤษฎีปัญญาสังคมทัง้ สิ้น คร่ต้องแสดง
47

ตัวอย่างพฤติกรรมที่ถ่กต้องที่สุดเท่านั น
้ จึงจะมีประสิทธิภาพใน
การแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความผิดพลาดของคร่แม้ไม่
ตัง้ ใจ ไม่ว่าคร่จะพรำ่าบอกผ้่เรียนว่าไม่ต้องสนใจจดจำา แต่ก็ผ่าน
การสังเกตและการรับร้่ของผ้่เรียนไปแล้ว

3. ตัวแบบในชัน
้ เรียนไม่ควรจำากัดไว้ที่คร่เท่านั น
้ ควรใช้ผ้่
เรียนด้วยกันเป็ นตัวแบบได้ในบางกรณี โดยธรรมชาติ
เพื่อนในชัน
้ เรียนย่อมมีอิทธิพลต่อการเลียนแบบส่งอย่่แล้ว คร่
ควรพยายามใช้ทักษะจ่งใจให้ผ้่เรียนสนใจและเลียนแบบเพื่อนที่
มีพฤติกรรมที่ดี มากกว่าผ้่ที่มีพฤติกรรมไม่ดี

บทสรุป
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน คร่ คือผ้่สัง่ สอน
ศิษย์ ผ้่ถ่ายทอดความร้่ให้แก่ศิษย์ ด้วยเหตุนี้คร่จึงเป็ นบุคคล
์ ระสาทวิชาความร้่ให้ อบรม
สำาคัญในชีวิตของเรา คอยประสิทธิป
สัง่ สอน สร้างสรรค์และพัฒนาภ่มิปัญญาและเป็ นป่ชนียบุคคล
ควรอย่างยิ่งที่จะได้รับการน้ อมเคารพจากใจศิษย์ทัง้ ปวง
ท่านเจูาคุณ พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุคโต) ทีก
่ ล่าวไว้
ในหนั งสือ “ธรรมน้ญชีวิต” ได้อ้างอิงจากหลักพระไตรปิ ฎก
โดยคร่ควรประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้
1. ปิ โย น่ ารัก คือ ใจดี มีเมตตากรุณา ใส่ใจคนและ
ประโยชน์ สข
ุ ของศิษย์ เข้าอกเข้าใจ สร้างความร้่สึกเป็ น
กันเอง ชวนใจให้ศิษย์อยากเข้าไปปรึกษาไต่ถาม
48

2. ครุ น่ าเคารพ คือ เป็ นผ้่หนั กแน่ น ยึดมัน


่ ถือหลักการ
เป็ นสำาคัญ และมีความประพฤติเหมาะสม ทำาให้เกิด
ความร้่สึกอบอุ่นใจ มัน
่ ใจเป็ นที่พ่ ึงได้และปลอดภัย
3. ภาวนิ โย น่ าเจริญใจ คือ มีความร้่จริง ทรงภ่มิปัญญา
แท้จริง และไม่หยุดนิ่ ง ฝึ กฝนตนเองอย่่เสมอ เป็ นทีน
่ ่า
ยกย่องเอาอย่าง ทำาให้ศษ
ิ ย์เอ่ยอ้างและรำาลึกถึงด้วย
ความซาบซึ้ง มัน
่ ใจและภาคภ่มิใจ
4. วัตตา รู้จักพ้ดใหูไดูผล คือ มีจิตวิทยาในการพ่ด
ร้่จักชี้แจ้งให้เข้าใจ ร้่ว่าเมื่อไรควรพ่ดอะไร อย่างไร คอย
ให้คำาแนะนำ าว่ากล่าวตักเตือน เป็ นที่ปรึกษาที่ดีได้
5. วจนั กขโม อดทนต่อถูอยคำา คือ พร้อมที่รบ
ั ฟั งคำา
ปรึกษาซักถามแม้จุกจิก ตลอดจนคำาล่วงเกินและคำาตัก
เตือนวิพากษ์วิจารณ์ต่าง ๆ อดทนฟั งได้ ไม่เบื่อหน่ าย ไม่
เสียอารมณ์
6. คัมภัญจะ กถัง กัตตา แถลงเรื่องลำา้ ลึกไดู คือ
กล่าวชี้แจงเรื่องต่าง ๆ ที่ยุ่งยากซับซ้อนลึกซึ้งให้เข้าใจ
ได้ และสอนศิษย์ให้ได้เรียนร้่เรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นไป
7. โน จัฎฐาเน นิ โยชเย ไม่ชักนำ าในอฐาน คือ ไม่
ชักจ่ง ชี้นำาไปในทางที่เสื่อมเสีย หรือเรื่องเหลวไหลไม่
สมควร
คุณสมบัติทัง้ 7 ประการนี้ เป็ นคำาตอบของคุณสมบัติของคร่
ได้เป็ นอย่างดี ที่ทำาให้เห็นว่าคร่นัน
้ ไม่ใช่เป็ นกันง่ายๆ เพราะเป็ น
49

คร่ต้องเสียสละและต้องอดทนมาก ไม่ใช่แค่มีประกาศนี ยบัตรก็


เป็ นคร่ได้ และในขณะเดียวกันทุก ๆ ธรรมชาติของสาขาวิชา
ดังนั น
้ จึงพอสรุปได้ว่า องค์ประกอบสำาคัญของสุนทรีภาพ
กับการเรียนร้่ของสังคมโลกปั จจุบัน สิ่งสำาคัญที่พอจะนำ ามา
วิเคราะห์อย่างเห็นได้ชัดคือ ทุก ๆ ธรรมชาติสาขาวิชา คร่มีความ
จำาเป็ นต้องมีกระบวนการที่ถ่ายโยงองค์ความร้่ ควบค่่กับความ
งาม หรือการผนวกสุนทรียภาพและการเรียนร้่ในการถ่ายทอด
ความร้่นัน
้ ส่่ศษ
ิ ย์

เอกสารอูางอิง

จารุณี เนตรบุตร. 2552. เอกสารประกอบการสอนวิชา GEHS


1101 สุนทรียภาพของชีวิต
บทที่ 1-2 (น.1 – 14). พิมพ์ครัง้ ที่ 1 ; ปทุมธานี, บี แอนด์
เอ็ม ก็อปปี้ เซอร์วิส.
50

โชคชัย ชยธวัช. 2547. คร่พันธ์ุใหม่ : คร่ผ้่สร้างเยาวชน ผ้่สร้าง


อนาคตของชาติ. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 ;
กรุงเทพ, สำานั กพิมพ์วรรณสาส์น.
ประดินันท์ อุปรมัย . 2540 . เอกสารการสอนชุดวิชาพื้นฐานการ
ศึกษา หน่ วยที่ 4 มนุษย์กับการเรียนร้่(น.117–155). พิมพ์ครัง้
ที่ 15:นนทบุรี,สำานั กพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พรรณี ช่ทย
ั เจนจิต. 2538. จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์
ครัง้ ที่ 4 ; กรุงเทพ, บริษท

คอมแพคท์พริ้นท์จำากัด.
อัจฉรา ธรรมาภรณ์ .2531. จิตวิทยาการเรียนร้่. ปั ตตานี : คณะ
ศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปั ตตานี, 2531.

www.ais.rtaf.mi.th
http://socialscience.igetweb.com/index.php?

mo=3&art=15154
51

You might also like