You are on page 1of 2

วิ ว ั ฒนาการของจิ ตรกรรมไทยร่ ว มสม ั ยก ้ าวไปพร ้ อมๆกับความเจริ ญและวิ วัฒนาการทางด ้ านต่างๆ ทีอยู่รอบตัวมนุษย์ ในกรณีที

วัฒนธรรมของสั งคมใดสั งคมหนึงมีการเปลียนแปลงไปตามระบบสั งคมงานจิ ตรกรรมซึ งเป็ นส่ วนหนึงของวัฒ นธรรมก็ได ้ รับผลกระทบ
ต่อการเปลียนแปลงของสั งคมเช่ นเดียวกัน
แม ้ ว่าส่ วนหนึ งของการแสดงออกของงานจิ ตรกรรมร่วมสมัยในประเทศไทยจะได ้ รับอิ ทธิ พลจากความเคลือนไหวของศิะซึ ลปง
เป็ นสากล แต่ก็ยังมีแ นวความคิ ดทีเป็ นอิสระ ไม่มีความผูกพันต่อสิ งใด โดยเฉพาะจิ ตรกรมีโอกาสแสดงแนวความคิ ดสร ้ างสรรค์ในแนว
ใหม่ มีการทดลองเทคนิ ควิ ธ ีก ารทีเหมาะสมกับแนวความคิ ดของแต่ละบุค คลในบางกรณีงานจิ ตรกรรมร่วมสมัยอาจอาศั ยเค ้ าโครงของ
แนวความคิ ดด ้ านจิ ตรกรรมไทยแบบประเพณีมาสร ้ างสรรค์แ นวทางใหม่ของจิ ตรกรรมร่วมสมั ยด ้ วยก็ไดการศึ
้ กษาศิ ลปะเป็ นสิ งควบคู่มา
กับความเจริญและวิ วัฒนาการของจิ ตรกรรมไทยร่วมสมัย

เนืองจากงานจิ ตรกรรมร่วมสมัยมิ ได ้ มีแ นวทางตามแบบตระกูลช่ างเขี ยนแบบเดียวกับงานจิ ตรกรรมไทยแบบประเพณี เช่ น ตระกูล


ช่ างนนทบุรี ตระกูลช่ างเพชรบุรี ซึ งสร ้ างสรรค์งาน
ตามการวางโครงการและแนวความคิ ดของครูช ่ าง แต่จ ิ ตรกรรมไทยร่วมสมัยนั น จิ ตร
กรผลิ ตงานสร ้ างสรรค์ตามแนวทางของตนดังนั น การศึ กษาหาความรู ้ และวิ วัฒนาการด ้ านงานศิ ลปะในลัก ษณะสากลและวิ เคราะห์
วิ จารณ์ลัก ษณะงานจึ งเป็ นสิ งจําเป็ น

การจัดตั งสถาบันการสอนทางศิ ลปะในประเทศไทยเริ มในสมัยรัชกาลที ๖ โดยเริ มมีก ารตั ง "โรงเรี ยนเพาะช่ าง" ขึ นในพ.ศ.
๒๔๕๖ เพือจัดการและให ้ การศึ ก ษาในวิ ชาการด ้ านศิ ลปะหลายสาขา และตั งโรงเรียนประณีตศิ ลปกรรม (โรงเรียนศิ ลปากรแผนกช่ าง)
ใน พ.ศ. ๒๔๗๖ ต่อมาได ้ เปลียนเป็ นมหาวิทยาลัยศิ ลปากรใน พ .ศ. ๒๔๘๖ โดยมีศาสตราจารย์ศ ิ ลป พีระศรี(Corrado Feroci, ค.ศ.
๑๘๙๒-๑๙๖๒) ชาวอิ ตาลี เป็ นผู ้ วางรากฐานในการศึ กษาเกียวกับวิ ชาช่ างสาขาจิ ตรกรรมและประติ มากรรมทั งในแบบของศิ ลปะสากล
และศิ ลปะแบบประเพณีไทย มีจุดประสงค์เพือผลิ ตศิ ลปิ นผู ้ ทีทํางานศิ ลปะอย่างแท ้ จริง
วิ วัฒนาการของจิ ตรกรรมร่วมสมัยของไทยเมือพิ จารณาช่ วงระยะเวลาของการสร ้ างสรรค์ผลงานซึ งเริ มตั งแต่สมัยรัชกาล
ที ๖ ประมาณพ.ศ. ๒๔๗๗ เป็ นต ้ นมาจนถึ งปั จจุบันมีความก ้ าวหน ้ าเป็ นอย่างมากเมือเปรียบเทียบกับจิ ตรกรรมร่วมสมัยของชาติ อ ืนๆ
โดยเฉพาะชาติ ในแถบเอเชี ยด ้ วยกั น ลักษณะการสร ้ างสรรค์ไม่จํากัดกรรมวิ ธ ีและเทคนิ คมีทั งสี นํา สี ฝุ ่ น สี ชอล์ก
(chalk) สี
นํามัน สี อะครีล ิ ก(acrylic) และเทคนิ คประสมอืนๆ ด ้ วยศิ ลปิ นแต่ละบุคคลต่างก็มีว ิ วัฒนาการในการสร ้ างสรรค์งานจิ ตรกรรมของตนเอง

ในการพัฒ นางานจิ ตรกรรมร่วมสมัยนั นการแลกเปลียนความรู ้ การแสดงงานสร ้ างสรรค์และการวิจารณ์งานเป็ นองค์ประกอบสํ าคัญ


ของการพัฒนาการสร ้ างสรรค์ของแต่ละบุคคลการส่ งเสริ มคุณค่าของงานจิ ตรกรรมร่วมสมัยให ้ ได ้ มาตรฐาน จําเป็ นต ้ องมีการแสดงผล
งานต่อ สาธารณชน ดังนั น สถานทีแสดงงาน หรือหอศิ ลป์มีความจํ าเป็ นอย่างยิ งต่อวิวัฒ นาการของงานจิ ตรกรรมร่วมสมัย รวมทั งการ
เผยแพร่และการจัดประกวดผลงานจิ ตรกรรมก็เช่ นเดียวกัน เพราะทําให ้ ได ้ เห็นผลงานในแนวความคิ ดต่างๆ เปรียบเทียบกัน ซึ งเป็ นการ
กระตุ ้ นให ้ ผู ้ ผลิ ตงานสร ้ างสรรค์มีพลังในการสร ้ างสรรค์ต่อเนืองกั
และมี
น ความตั งใจในการสร ้ างสรรค์ผลงาน
ใหม่ให ้ มีคุณค่ายิ งขึ น

You might also like