You are on page 1of 28

รายงานเร่ื อง การทำนาสมัย

เก่ากับสมัยใหม่
ความหมายของการทำนา
การทำนา หมายถึง การปลูกข ้าวและการ
ดูแลรักษาต ้นข ้าวในนา ตัง้ แต่ปลูกไปจนถึง
เก็บเกีย่ ว การปลูกข ้าวในแต่ละท ้องถิน่ จะ
แตกต่างกันไปตามสภาพของดินฟ้ าอากาศ
และสงั คมของท ้องถิน ่ นัน
้ ๆ ในแหล่งทีต ่ ้อง
อาศย ั น้ำจากฝนเพียงอย่างเดียว ก็ต ้องกะ
ระยะเวลาการปลูกข ้าวให ้เหมาะสมกับชว่ ง
ทีม
่ ฝ
ี นตกสม่ำเสมอ และเก็บเกีย ่ วในชว่ งที่
ฤดูฝนหมดพอดี เนือ ่ งจากแต่ละท ้องถิน ่ มี
สภาพดินฟ้ าอากาศทีแ ่ ตกต่างกัน
การเตรียมดิน

การทำนาสมัยเก่า

การเตรียมดิน
ก่อนการทำนาจะมีการเตรียมดินอยู่ 3 ขัน

ตอน
         1. การไถดะ เป็ นการไถครัง ้ แรก
ตามแนวยาวของพืน ้ ทีก
่ ระทงนา (กรณีท ี่
แปลงนาเป็ นกระทงย่อยๆ หลายกระทงใน
หนึง่ แปลงนา) เมือ ่ ไถดะจะชว่ ยพลิกดินเพือ ่
ให ้ดินชนั ้ ล่างได ้ขึน
้ มาสม ั ผัสอากาศ
ออกซเิ จน และเป็ นการตากดินเพือ ่ ทำลาย
วัชพืช โรคพืชบางชนิด การไถดะจะเริม ่ ทำ
เมือ่ ฝนตกครัง้ แรกในปี ฤดูกาลใหม่ หลังจาก
ไถดะจะตากดินเอาไว ้ประมาณ 1 - 2
สปั ดาห์
2. การไถแปร

หลังจากทีต ่ ากดินเอาไว ้พอสมควรแล ้ว


การไถแปรจะชว่ ยพลิกดินทีก ่ ลบเอาขึน ้ การ
อีกครัง้ เพือ ่ ทำลายวัชพืชทีข ่ น ึ้ ใหม่ และ
เป็ นการย่อยดินให ้มีขนาดเล็กลง จำนวน
ครัง้ ของการไถแปรจึงขึน ้ อยูก่ บ ั ชนิดและ
ปริมาณของวัชพืช ลักษณะดินและระดับน้ำ
ในพืน ้ ทีข
่ น
ึ้ อยูก่ บ
ั ปริมาณน้ำฝนด ้วย แต่โดย
ทัว่ ไปแล ้วจะไถแปรเพียงครัง้ เดียว
3. การคราด
 เพือ
่ เอาเศษวัชพืชออกจากกระทงนา และย่อยดินให ้
มีขนาดเล็กลงอีก จนเหมาะแก่การเจริญของข ้าว ทัง้
ยังเป็ นการปรับระดับพืน
้ ทีใ่ ห ้มีความสม่ำเสมอ เพือ

สะดวกในการควบคุม ดูแลการให ้น้ำ
การทำนาหยอด
         การทำนาหยอด เป็ นวิธก
ี ารปลูกข ้าวทีอ ั น้ำฝน หยอด
่ าศย
เมล็ดข ้าวแห ้ง ลงไปในดินเป็ นหลุมๆ หรือโรยเป็ นแถวแล ้วกลบฝั ง
เมล็ดข ้าว เมือ ่ ฝนตกลงมาดินมีความชน ื้ พอเหมาะ เมล็ดก็จะงอก
เป็ นต ้น นิยมทำในพืน ้ ทีข
่ ้าวไร่ หรือนาในเขตทีก ่ ารกระจายของฝน
ไม่แน่นอน แบ่งเป็ น 2 สภาพ ได ้แก่
         - นาหยอดในสภาพข ้าวไร่ พืน ้ ทีส ่ ว่ นใหญ่มักเป็ นทีล
่ าดชน ั
เชน ่ ทีเ่ ชงิ เขาเป็ นต ้น ปริมาณน้ำฝนไม่แน่นอน สภาพพืน ่ ว่ น
้ ทีส
ใหญ่ไม่สามารถเตรียมดินได ้ จงึ จำเป็ นต ้องหยอดข ้าวเป็ นหลุม
         - นาหยอดในสภาพทีร่ าบสูง เชน ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคเหนือ สว่ นใหญ่เป็ นทีร่ าบเชงิ เขาหรือหุบเขา การหยอด
อาจหยอดเป็ นหลุมหรือใชเครื ้ อ่ งมือหยอด หรือโรยเป็ นแถวแล ้ว
คราดกลบ นาหยอดในสภาพนีใ้ ห ้ผลผลิตสูงกว่านาหยอดใน
สภาพไร่มาก
การหว่านข้าวแห้ง
่ งระยะเวลาของการหว่านได ้ 3
แบ่งตามชว วิธ ี คือ
         การหว่านหล ังขีไ ้
้ ถ ใชในกรณี ทฝ ี่ นมาล่าชา้
และตกชุก มีเวลาเตรียมดินน ้อย จึงมีการไถดะเพียง
ครัง้ เดียวและไถแปรอีกครัง้ หนึง่ แล ้วหว่านเมล็ดข ้าว
ลงหลังขีไ้ ถ เมล็ดพันธุอ ์ าจเสยี หายเพราะหนู และ
อาจมีวช ั พืชในแปลงนามาก
         การหว่านคราดกลบ เป็ นวิธท ี น
ี่ ยิ มมากทีส ่ ด

จะทำหลังจากทีไ่ ถแปรครัง้ สุดท ้ายแล ้วคราดกลบ จะ
ได ้ต ้นข ้าวทีง่ อกสม่ำเสมอ
         การหว่านไถกลบ มักทำเมือ ่ ถึงระยะเวลาที่
ต ้องหว่าน แต่ฝนยังไม่ตกและดินมีความชน ื้ พอควร
หว่านเมล็ดข ้าวหลังขีไ้ ถแล ้วไถแปรอีกครัง้ เมล็ดข ้าว
ทีห่ ว่านจะอยูล ่ ก
ึ และเริม
่ งอกโดยอาศย ั ความชน ื้ ในดิน
         การหว่านข้าวงอก (หว่าน
น้ำตม)
เป็ นการหว่านเมล็ดข้าวที่ถูกเพาะให้รากงอกก่อนที่จะนำไปหว่านในที่ที่มี
น้ำท่วมขัง เพราะหากไม่เพาะเมล็ดเสี ยก่อน เมื่อหว่านแล้วเมล็ดข้าวอาจเน่า
เสี ยได้ การเพาะข้าวทอดกล้า ทำโดยการเอาเมล็ดข้าวใส่ กระบุง ไปแช่น้ำ
เพื่อให้เมล็ดที่มีน ้ำหนักเบาหรื อลีบลอยขึ้นมาแล้วคัดทิ้ง แล้วนำเมล็ดถ่าย
ลงในกระบุงที่มีหญ้าแห้งกรุ ไว้ หมัน่ รดน้ำเรื่ อยไป อย่าให้ขา้ วแตกหน่อ
แล้วนำไปหว่านในที่นาที่เตรี ยมดินไว้แล้ว วิธีการการปลูกข้าวโดยการ
หว่านข้าวแห้งหรื อหว่านสำรวย
         การใส่ ปุ๋ย ข้าวที่ปลูกในช่วงฝนแล้ง เป็ นการปลูกข้าวล่าช้ากว่าฤดูกาล
มาก จึงมีความจำเป็ นที่จะต้องใส่ ปุ๋ยช่วยเร ่งให้ตน้ ข้าวมีการเจริ ญเติบโตได้
เต็มที่ จึงจะทำให้ได้ผลผลิตสูงใกล้เคียงกับการทำนาดำตามฤดูกาลปกติ
การทำนาดำ

          เป็ นการปลูกข้าวโดยเพาะเมล็ดให้งอกและเจริ ญเติบโตในระยะหนึ่ ง แล้วย้ายไป


ปลูกในที่หนึ่ง สามารถควบคุมระดับน้ำ วัชพืชได้ การทำนาดำแบ่งได้เป็ น 2 ขั้นตอน
คือ
          การตกกล้ า เพาะเมล็ดข้าวเปลือกให้มีรากงอกยาว 3 - 5 มิลลิเมตร นำไปหว่านใน
แปลงกล้า ช่วงระยะ 7 วันแรก ต้องควบคุมน้ำไม่ให้ท่วมแปลงกล้า และจะสามารถถอน
กล้าไปปักดำได้เมื่อมีอายุประมาณ 20 - 30 วัน
          การปักดำ ชาวนาจะนำกล้าที่ถอนแล้วไปปั กดำในแปลงปั กดำ ระยะห่ างระหว่าง
กล้าแต่ละหลุมจะมีความแตกต่างกันขึ้นกับลักษณะของดิน คือ ถ้าเป็ นนาลุ่มปักดำระยะ
ห่าง เพราะข้าวจะแตกกอใหญ่ แต่ถา้ เป็ นนาดอนปักดำค่อนข้างถี่ เพราะข้าวจะไม่ค่อย
แตกกอ
การเก็บเกีย
่ ว

หลังจากทีข ่ ้าวออกดอกหรือออกรวงประมาณ 20
วัน ชาวนาจะเร่งระบายน้ำออก เพือ ่ เป็ นการเร่งให ้
ข ้าวสุกพร ้อมๆ กัน และทำให ้เมล็ดมีความชน ื้ ไม่
สูงเกินไป จะสามารถเก็บเกีย ่ วได ้หลังจากระบาย
น้ำออกประมาณ 10 วัน ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
สำหรับการเก็บเกีย ่ ว เรียกว่า ระยะพลับพลึง คือ
สงั เกตทีป
่ ลายรวงจะมีสเี หลือง กลางรวงเป็ นสต ี
องอ่อน การเก็บเกีย ่ วในระยะนีจ้ ะได ้เมล็ดข ้าวทีม ่ ี
ความแข็งแกร่ง มีน้ำหนัก และมีคณ ุ ภาพในการส ี
การนวดข้าว
การเก็บร ักษา
 เมล็ดข ้าวทีน ื้
่ วดฝั ดทำความสะอาดแล ้วควรตากให ้มีความชน
ประมาณ 14% จึงนำเข ้าเก็บในยุ ้งฉาง ยุ ้งฉางทีด ่ คี วรมีลก
ั ษณะ
ดังต่อไปนี้
 อยูใ ่ นสภาพทีม ่ อี ากาศถ่ายเทได ้สะดวก การใชลวดตาข่ ้ ายกัน้ ให ้
มีรอ ่ งระบายอากาศกลางยุ ้งฉางจะชว่ ยให ้การถ่ายเทอากศดียงิ่
ขึน
้ คุณภาพเมล็ดข ้าวจะคงสภาพดีอยูน ่ าน อยูใ่ กล ้บริเวณบ ้าน
และติดถนน สามารถขนสง่ ได ้สะดวก เมล็ดข ้าวทีจ ่ ะเก็บไว ้ทำ
พันธุ์ ต ้องแยกจากเมล็ดข ้าวบริโภค โดยอาจบรรจุกระสอบ มีป้าย
บอกวันบรรจุ และชอ ื่ พันธุแ
์ ยกไว ้สว่ นใดสว่ นหนึง่ ในยุ ้งฉาง เพือ ่
สะดวกในการขนย ้ายไปปลูก ก่อนนำข ้าวเข ้าเก็บรักษา ควรตรวจ
สภาพยุ ้งฉางทุกครัง้ ทัง้ เรือ ่ งความะอาดและสภาพของยุ ้งฉาง ซงึ่
อาจมีรอ ่ งรอยของหนูกด ั แทะจนทำให ้นกสามารถรอดเข ้าไปจิก
กินข ้าวได ้ รหู รือร่องต่าง ๆ ทีป ่ ิ ดไม่สนิทเหล่านีต ้ ้องได ้รับการ
ซอ ่ มแซมให ้เรียบร ้อยก่อน
ข้อดีของการทำนาสม ัยเก่า

ไม่ทำให ้เกิดมลพิษแก่เกษตรกรและสง
แวดล ้อม
ข้อเสยี ของการทำนาสม ัยเก่า

มีความชาในการทำตลอดจนการเก็ บเกีย
่ ว
การทำนาสมัยใหม่

การทำนาในยุคนีจ
้ ะต ้องมีการรวมกลุม
่ ของเกษตรกร เพือ
่ การดำเนินกิจกรรม
ร่วมกันตัง้ แต่การเรียนรู ้ และการทำธุรกิจ เมือ ่ มีความแข็งแกร่งแล ้วจะนำสงิ่ ดี
ๆ เข ้าสูก ่ ลุม
่ และชุมชน เชน ่ ศูนย์สง่ เสริมและผลิตข ้าวชุมชนวัดพระแก ้ว
ต.แพรกศรีราชา อ.สรรคบุรี จ.ชย ั นาท ได ้ก่อตัง้ ด ้วยเกษตรกร ตำบลแพรก
ศรีราชา ดำเนินงานตามหลักการของกรมสง่ เสริมการเกษตร จนประสบผล
สำเร็จ และได ้สร ้างเครือข่ายประสานงานกับศูนย์ข ้าวชุมชนในตำบลอืน ่ ๆ
ของ อ.สรรค บุรี เพือ ่ เรียนรู ้ร่วมกันในรูปของโรงเรียนชาวนา และอีกหลาย
กิจกรรมทีไ่ ด ้รับการ ยืน ่ โอกาสจากหน่วยงานราชการต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข ้องเข ้า
ร่วมให ้การสนับสนุน โดยเฉพาะกิจกรรมแปลงทดสอบเพือ ่ พิสจ ู น์รป
ู แบบ
ของการทำนาทีเ่ หมาะสมกับสภาพพืน ้ ที่ เชน ่ การทำนาดำ นาหว่านน้ำตม
และทำนาแบบโยนกล ้า จากการทดสอบทีแ ่ สดงผลออกมาเชงิ ประจักษ์ ให ้
ได ้ทราบว่า การ ทำนาแบบโยนกล ้าได ้รับผลตอบ แทนทีด ่ แ ี ล ้ว การนำความ
รู ้ไปสูก่ ารปฏิบต ั ิ เพือ
่ ขยายผลสูช ่ มุ ชนต่อไป จึงเป็ นหน ้าทีข ่ องครูตด ิ แผ่นดิน
ผู ้ที่ สละเวลาและสร ้างโอกาสในการสร ้างองค์ความรู ้ ด ้วยการเข ้าร่วมมาโดย
ตลอด
การเตรียมดิน

 การเตรี ยมดินในแปลงปลูก ใช้วธิ ี การไถดะ ไถคราด ทำเทือก ระดับน้ำเล็กน้อย เพราะ


ถ้าน้ำแห้งจะสังเกตได้ยาก จากนั้นนำกล้าที่เพาะไว้ หยุดการให้น ้ำ 1-2 วัน ตามสภาพ
ของดิน เพราะถ้าต้นเปี ยกเมื่อโยนกล้าจะติดกัน เมื่อเห็นว่าต้นกล้าแห้งพอแล้วจึงดึงกล้า
ออกจากกระบะเพาะ ใส่ ในตะกร้าเพื่อการขนย้าย (ตะกร้าใส่ ผลไม้ เพราะจะมีเหล็กกั้น
การทับ) จะสามารถใส่ ได้ถึง 10 กระบะต่อ 1 ตะกร้า โยนได้ในพื้นที่ 1 ไร่ ) เพื่อเตรี ยม
โยนลงสู่ แปลงปลูกด้วยการโยนไปข้างหน้าระดับศีรษะ เพื่อให้ตน้ ข้าวหล่นลงในนา
ลักษณะตั้งตรงมากที่สุด ระบายน้ำเข้าแปลงนาให้ระดับน้ำประมาณครึ่ งลำต้นกล้า การ
ดูแลต่อไปเหมือนกับทำนาทัว่ ไประยะห่างแต่ละต้นประมาณ 20 เซนติเมตร เมื่อ โยน
จนเต็มแปลงนาแล้ว ให้โยนซ่อมในส่ วนที่ไม่ได้ระยะที่ตอ้ งการ ทิ้งไว้ 2 คืนรากจะติด
ดิน จึงเริ่ ม
การทำนาแบบโยนกล้า

 การทำนาแบบโยนกล้า เริ่ มจากการเตรี ยมกล้าข้าวเพื่อโยน กล้า ขั้นต้นนำเมล็ดพันธุ ์มา


แช่น ้ำทิ้งไว้ 1 คืน นำกระบะพลาสติกที่มีหลุมเป็ นช่องเล็ก ๆ มาวางเรี ยงเป็ นแถวก่อนเท
เมล็ดพันธุ์ขา้ วลงในกระบะของเครื่ องหยอดเมล็ด หยอด 1 รอบ เมล็ดข้าวจะหล่นลงสู่
กระบะ สังเกตให้ทวั่ เพื่อหยอดเมล็ดข้าวซ่อมในส่ วนที่บกพร่ อง เพื่อให้ได้เมล็ดในหลุม
ประมาณ 5-7 เมล็ด ถ้าใส่ นอ้ ยจะพบปัญหาจากการถอนกล้า แต่ถา้ มากเกินจะพบปัญหา
ความชื้นและดินไม่พอ เมื่อหยอดเมล็ดพันธุ์ขา้ วจนครบตามจำนวนที่ตอ้ งการ โดยขึ้น
อยูก่ บั ขนาดของกระบะ (100 กระบะต่อพื้นที่ 1 ไร่ ใช้เมล็ดพันธุ์ขา้ ว 10 กิโลกรัม) นำ
ไปวางในที่มีแดดรำไร เทดินโคลนที่ตกั ดินเลนจากคลองทิ้งน้ำ นำมาเก็บเศษวัชพืชออก
เทคลุมเมล็ดอีกครั้งให้เต็มหลุมพอดีอย่าให้ลน้ เพราะรากจะเดินเข้าหากัน เกาะติดกัน
ยากแก่การโยน ถ้าสังเกตเห็นดินแห้งให้รดน้ำให้ชุ่มชื้นพอประมาณทุกเช้า-เย็น ระยะ
เวลาการงอกและเจริ ญเติบโตประมาณ 12 วัน หรื อความยาวของต้นกล้าประมาณ 3-4
ซ.ม.
การเก็บเกีย
่ วและการนวดข้าว
เครื่องเกีย่ วนวดข้ าว

         เครื่ องเกี่ยวนวดข้าว เป็ นเครื่ องมือที่นำระบบเกี่ยวและนวดมารวมไว้ในเครื่ องเดียวกัน
ประกอบด้วย ระบบตัด ระบบนวด ระบบทำความสะอาด  ซึ่งจะทำงานต่อเนื่องกันคือเครื่ องตัดต้น
ข้าวและส่ งต้นข้าวเข้าเครื่ องนวดเพื่อแยกเมล็ดข้าว แล้วทำความสะอาดและแยกฟางข้าวจากเมล็ด
ข้าว  เมล็ดข้าวจะถูกส่ งเข้าบรรจุในกระสอบอันเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการทำงาน  ซึ่งทำงานได้
รวดเร็ วและประหยัดแรงงานมาก
         เครื่ องเกี่ยวนวดได้มีการพัฒนาสร้างโดยกองเกษตรวิศวกรรม กรมการข้าว ในราวปี พ.ศ.
๒๕๐๐-๒๕๐๖ จากนั้นราวปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้มีการนำเข้าเครื่ องเกี่ยวนวดจากประเทศญี่ปุ่นมา
ทดสอบและเผยแพร่ โดยหน่วยงานของรัฐและบริ ษทั เอกชน เครื่ องเกี่ยวนวดข้าวแบบญี่ปุ่นเป็ น
แบบเกี่ยวนวดเฉพาะรวงข้าว ทั้งประเภทนัง่ ขับและประเภทเดินตาม มีหน้ากว้างของการตัด
ตั้งแต่๐.๖๕-๑.๕๐ เมตร มีความสามารถในการทำงานเฉพาะข้าวต้นตั้งได้ถึง ๑๐-๑๕ ไร่ ต่อวัน
้ ที่
สภาพพืน
้ ที่ โดยปกติในขณะเกีย
สภาพพืน ่ วข ้าวหาก
สภาพพืน ้ ทีย
่ งั มีน้ำขังอยู ่ ดินก็จะอยูใ่ น
สภาพอ่อนตัว เครือ ่ งทัง้ สองชนิดจะไม่
สามารถทำงานได ้ โดยเฉพาะเครือ ่ งจาก
ประเทศตะวันตกจะจมลึกมาก เนือ ่ งจากน้ำ
หนักมากเกินไป (น้ำหนักเครือ ่ งเปล่า ๘-๑๐
ตัน) ในกรณีสภาพของพืน ้ ดินแห ้งและแข็ง 
เครือ
่ งแบบตะวันตกสามารถทำงานได ้ดี แต่
เครือ่ งแบบญีป ่ นจะเกิ
ุ่ ดปั ญหาเนือ ่ งจากอายุ
ของสายพานตีนตะขาบแบบยางจะสก ึ หรอ
หรือเสอ ื่ มคุณภาพเร็ว
          ๒. สภาพของต้ นข้ าว เครื่ องเกี่ยวนวดจะสามารถเกี่ยวข้าวต้นตั้งได้ดี กรณี ที่ตน

ข้าวล้มเครื่ องเกี่ยวนวดทั้งสองชนิดจะทำงานได้ชา้ มาก
         ๓. ขนาดของแปลงนา จะต้องมีขนาดใหญ่ไม่ควรน้อยกว่า ๓-๔ ไร่ เครื่ องจึงจะ
ทำงานโดยให้ประสิ ทธิภาพสูง
         ๔. ราคาของเครื่องสู ง จนเกษตรกรไม่สามารถซื้ อไปใช้ได้ถึงแม้วา่ จะนำไปรับจ้าง
ก็ตามเนื่องจากระยะคืนทุนยาวเกินไป
         ๕. อะไหล่ และอุปกรณ์ ทสี่ ึ กหรอเร็วจะหาได้
     ๕. อะไหล่และอุปกรณ์ทสี่ ึกหรอเร็วจะหาได้ ยาก ทั้งยัง
มีราคาแพงอีกด้วย
ข้อดีของการทำนาสม ัย
ใหม่
มีความรวดเร็วในการทำตลอดถึงการเก็บ
เกีย
่ วและประหยัดเวลากับแรงของ
เกษตรกรอีกด ้วย
ี ของการทำนาสมัย
ข ้อเสย
ใหม่
มีต ้นทุนค่อนข ้างสูงพอสมควร
ข ้อแตกต่างระหว่างการทำนาสมัยเก่ากับสมัยใหม่

การทำนาไม่วา
่ จะทำแบบไหนก็แล ้วแต่ ถ ้า
ชาวนารู ้จักการประยุกต์วธิ ี การทำนาแบบ
ใหม่ ๆ ทีจ่ ะประหยัดค่าใชจ่้ าย ลดการใช ้
สารเคมี หันมาใชสารช ้ วี ภาพจากสมุนไพรที่
มีในท ้องถิน่ บ ้านเรา ก็จะทำให ้มีผลกำไรที่
มากขึน้ มีเงินสง่ ธนาคารฯได ้อย่างสบาย
ทำให ้ชาวนา ผู ้ได ้ชอื่ ว่าเป็ นกระดูกสน
ั หลัง
ของชาติ พอจะลืมตาอ ้าปากได ้
อ ้างอิง
 http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%
A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2
 http://www.google.co.th/images?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0
%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%
E0%B8%B2&hl=th&gbv=2&tbs=isch%3A1&ei=LuhUTY_HGMzsrQf1g9TuBg&sa
=N&aq=2&aqi=g10&aql=&oq=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B
9%82%E0%B8%A2%E0%B8%99
 http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?q=
%E0%A4%C3%D7%E8%CD
%A7%E0%A1%D5%E8%C2%C7%B9%C7%B4%A2%E9%D2%C7&select=1

You might also like