You are on page 1of 28

การจัดการเรี ยนการสอน

โดย..
นายเจษฎา ภานุมาศ รหัส 537190051
นายนันทพล ภู่ห้อย รหัส 537190053
นายปรัชญา พฤกษากร รหัส 537190054
น.ส.วราภรณ์ อัครวิจิตร รหัส 537190080
น.ส.อนันต์ ภา เกษรบัว รหัส 537190087
น.ส.อังคณา นิติเศรษฐ รหัส 537190088
ป.บัณฑิตครู รุ่น 13 หมู่ 2
การจัดการเรี ยนการสอน

การสอน เป็ นงานหลักของครู ซึ่ งปัจจุบนั ถือว่าครู เป็ นวิชาชีพชั้นสู ง


ที่บุคคลในวิชาชีพนี้ ต้องได้รับการศึกษาอบรมมาโดยเฉพาะเพื่อให้มี
ความเชี่ยวชาญในการปฏิบตั ิหน้าที่ สามารถเลือกศึกษา อบรมมาโดย
เฉพาะ เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบตั ิหน้าที่
การจัดการเรี ยนการสอน

• ครู ที่มีประสิ ทธิผล (Effective Teacher) นอกจากจะมีความรู ้ใน


ศาสตร์ของการสอน และมีศิลปะของการสอนแล้ว ยังต้องมีคุณลักษณะ 4
ประการ ต่อไปนี้
1. การประยุกต์ทฤษฎีและการวิจยั การสอนไปใช้
2. การสะสมประสบการณ์การสอน
3. การคิดวินิจฉัยไตร่ ตรองและแก้ปัญหา
4. การเรี ยนรู้การสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการบูรณาการความรู้กบั
ประสบการณ์เข้าด้วยกัน
องค์ ประกอบในการจัดการเรียนการสอน

ในการจัดการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิภาพนั้น จำเป็ นต้องมี


องค์ประกอบในหลายๆ ส่ วนด้วยกัน ผูส้ อนจึงควรนำ มาใช้ในการ
จัดการเรี ยนการสอน โดยมีองค์ประกอบดังนี้
องค์ ประกอบในการจัดการเรียนการสอน

เทคนิคการสอน   คือ กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริ มกระบวนการสอน


ขั้นตอนการสอน วิธีการสอน หรื อการดำเนินการทางการสอนใดๆ เพื่อ
ช่วยให้การสอนมีคุณภาพและประสิ ทธิภาพมากขึ้น เช่น ในการ
บรรยาย ผูส้ อนอาจใช้เทคนิคต่างๆ ที่สามารถช่วยให้การบรรยายมี
คุณภาพและประสิ ทธิภาพมากขึ้น
องค์ ประกอบในการจัดการเรียนการสอน

ทักษะการสอน คือ ความสามารถในการปฏิบตั ิการสอนด้านต่างๆ


อย่างชำนาญซึ่ งครอบคลุมการวางแผนการเรี ยนการสอน การออกแบบ
การเรี ยนการสอน การจัดการเรี ยนการสอน การใช้วธิ ีสอน เทคนิคการ
สอน รู ปแบบการเรี ยนการสอน ระบบการสอน สื่ อการสอนการ
ประเมินผลการเรี ยนการสอน รวมทั้งการใช้ทฤษฎีและหลักการเรี ยนรู ้
และการสอนต่าง ๆ
องค์ ประกอบในการจัดการเรียนการสอน

นวัตกรรมการสอน คือ สิ่ งใหม่ที่ทำขึ้น ซึ่ งอาจอยูใ่ นรู ปของความ


คิดหรื อการกระทำ หรื อสิ่ งประดิษฐ์ต่างๆ ดังนั้น นวัตกรรมการสอนจึง
หมายถึงแนวคิด วิธีการ หรื อสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่สามารถนำมาใช้ใน
การจัดการเรี ยนการสอน
องค์ ประกอบในการจัดการเรียนการสอน

การวิจัยด้ านการเรียนการสอน คือ การศึกษาหาคำตอบให้แก่


ปัญหาหรื อคำถามต่าง ๆ เกี่ยวกับการเรี ยนการสอนด้วยกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบที่น่าเชื่อถือต่อแปรที่เกี่ยวข้องกับ
องค์ประกอบสำคัญของการเรี ยนการสอนครอบคลุมตัวแปร เกี่ยวกับผู ้
เรี ยนผูส้ อน บริ บทของการเรี ยนการสอน กระบวนการเรี ยนการสอน
และผลผลิตของการเรี ยนการสอน
รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนทีน่ ิยม
1. รู ปแบบการจัดเรี ยนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสยั
(cognitive domain)
2. รู ปแบบการจัดเรี ยนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสยั
(affective domain)
3. รู ปแบบการจัดเรี ยนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสยั
(psycho-motor domain)
4. รู ปแบบการจัดเรี ยนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ
(process skill)
5. รู ปแบบการจัดเรี ยนการสอนที่เน้นการบูรณาการ (integration)
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
เนือ ่ งจากจำนวนรูปแบบและรายละเอียด
ของแต่ละรูปแบบมากเกินกว่าทีจ ่ ะนำเสนอไว ้ใน
ทีน
่ ไ
ี้ ด ้ทัง้ หมด จึงได ้คัดสรรและนำเสนอเฉพาะ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น ้นผู ้เรียนเป็ น
ศูนย์กลางทัง้ สน ิ้ เพียงแต่มคี วามแตกต่างกันตรง
จุดเน ้นของด ้านทีต ่ ้องการพัฒนาในตัวผู ้เรียนและ
ปริมาณของการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนรู ้
ของผู ้เรียนซงึ่ มีมากน ้อยแตกต่างกัน
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
1 . รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนทีเ่ น้น
การพ ัฒนาด้านพุทธิ
พิสย( ั cognitive domain)
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนใน
หมวดนี้ เป็ นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่
มุง่ ชว่ ยให ้ผู ้เรียนเกิดความรู ้ความเข ้าใจใน
เนือ้ หาสาระต่าง ๆ ซงึ่ เนือ ้ หาสาระนัน
้ อาจอยูใ่ น
รูปของข ้อมูล ข ้อเท็จจริง มโนทัศน์ หรือความ
คิดรวบยอด รูปแบบทีค ่ ด
ั เลือกมานำเสนอในที่
นีม
้ ี 5 รูปแบบ
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
1.1 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนมโนท ัศน์
1.2 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนตาม
แนวคิดของกานเย
1.3 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนโดย
การนำเสนอมโนท ัศน์กว้างล่วงหน้า
1.4 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนเน้นความ
จำ
1.5รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนโดยใชผ ้ ัง
กราฟิ ก
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
2. รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนทีเ่ น้น
ั (Affective Domain)
การพ ัฒนาด้านจิตพิสย
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนในหมวดนีเ้ ป็นรูป
แบบทีม ่ ง ่ ยพ ัฒนาผูเ้ รียนให้เกิดความรูส
ุ ่ ชว ้ กึ
เจตคติ ค่านิยม คุณธรรม และจริยธรรมทีพ ่ งึ
ประสงค์ ซงึ่ เป็นเรือ ่ งทีย
่ ากแก่การพ ัฒนาหรือ
ปลูกฝัง การจ ัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการ
สอนทีเ่ พียงให้เกิดความรูค ้ วามเข้าใจ ม ักไม่เพียง
พอต่อการให้ผเู ้ รียนเกิดเจตคติทด ี่ ไี ด้ จำเป็นต้อง

อาศยหล ักการและวิธก ี ารอืน ่ ๆ เพิม ่ เติม รูปแบบ
ทีค่ ัดสรรมานำเสนอในทีน ี้ ี 3 รูปแบบด ังนี้
่ ม
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
2.1 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนตาม
แนวคิดการพ ัฒนาด้าน

จิตพิสยของบลูม
2.2 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนโดย
การซกค้ั าน
2.3 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนโดยใช ้
บทบาทสมมติ
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
3. รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นการพ ัฒนา
ด้านท ักษะพิสย ั (Psycho-Motor Domain)
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนในหมวดนี ้
เป็นรูปแบบทีม ่ ง
ุ่ ชว ่ ยพ ัฒนาความสามารถของผู ้
เรียนในด้านการปฏิบ ัติ การกระทำ หรือการ
แสดงออกต่าง ๆ ซงึ่ จำเป็นต้องใชห ้ ล ักการ วิธ ี
การ ทีแ ่ ตกต่างไปจากการพ ัฒนาทางด้านจิต

พิสยหรื อพุทธิพส ิ ย ั รูปแบบทีส่ ามารถชว ่ ยให้ผู ้
เรียนเกิดการพ ัฒนาทางด้านนี้
่ ค ัญ ๆ ซงึ่ จะนำเสนอในทีน
ทีสำ ่ มี้ ี 3 รูปแบบ
ด ังนี้
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
3.1 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนตาม
แนวคิดการพ ัฒนาท ักษะ
ปฏิบ ัติของซม ั (Simpson)
ิ พ์ซน
3.2 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนท ักษะ
ปฏิบ ัติของแฮร์โรว์
(Harrow)
3.3 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนท ักษะ
ปฏิบ ัติของเดวีส ์
(Davies)
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
4. รูปแบบการจ ัดการเรีที
น ่ ย
ิ ม เ่ น้นการพ ัฒนาท ักษะ
ยนการสอนที
กระบวนการ (Process Skill)
ท ักษะกระบวนการ เป็นท ักษะทีเ่ กีย ่ วข้องก ับวิธดำ
ี เนินการต่าง
ๆ ซงึ่ อาจเป็นกระบวนการทางสติปญ ั ญา เชน ่ กระบวนการสบ ื
สอบแสวงหาความรู ้ หรือกระบวนการคิดต่าง ๆ อาทิ การคิด
วิเคราะห์ การอุปน ัย การนิรน ัย การใชเ้ หตุผล การสบ ื สอบ การ
คิดริเริม
่ สร้างสรรค์ และการคิดอย่างมีวจ ิ ารณญาณ เป็นต้น
ปัจจุบ ันการศก ึ ษาให้
ความสำค ัญก ับเรือ ่ งนีม้ าก เพราะถือเป็นเครือ ่ งมือสำค ัญใน
การ
ดำรงชวี ต ิ ในทีน่ จี้ ะนำเสนอรูปแบบการจ ัดการเรียนการ
สอนที่
เน้นการพ ัฒนาผูเ้ รียนด้านท ักษะกระบวนการ 4 รูปแบบ
ด ังนี้
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
4.1 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนกระบวนการ
สบื สอบและ
แสวงหาความรูเ้ ป็นกลุม

4.2 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนกระบวนการ
คิดอุปน ัย
4.3 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนกระบวนการ
คิดสร้างสรรค์
4.4 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนกระบวนการ
คิดแก้ปญั หา
อนาคตตามแนวคิดของทอร์แรนซ ์
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน
่ ย
ิ ยมนการสอนทีเ่ น้นการบู
5. รูปแบบการจ ัดการเรี
รณาการ (Integration)
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนในหมวดนี้
เป็นรูปแบบทีพ ่ ยายามพ ัฒนาการเรียนรูด ้ า้ นต่าง ๆ
ของผูเ้ รียนไปพร้อม ๆ ก ัน โดยใชก ้ ารบูรณาการ
ทงทางด้
ั้ านเนือ้ หาสาระและวิธก ี าร รูปแบบใน
ล ักษณะนีกำ ้ ล ังได้ร ับความนิยมอย่างมาก เพราะมี
ความสอดคล้องก ับหล ักทฤษฎีทางการศก ึ ษาทีม
่ ง
ุ่
เน้นการพ ัฒนารอบด้าน หรือการพ ัฒนาเป็นองค์
รวม รูปแบบในล ักษณะด ังกล่าวที่
นำมาเสนอ ในทีน ี้ ี 4 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ
่ ม
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ย
ิ ม
5.1 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนทางตรง
5.2 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนโดยการ
สร้างเรือ่ ง
5.3 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนตามว ัฏจ ักร
การเรียนรู ้ 4 MAT
5.4 รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนของการ
เรียนรูแ
้ บบร่วมมือ
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอน
ทีน่ ยย
รูปแบบการจ ัดการเรี ิ นการสอนของการเรี
ม ยนรูแ
้ บบ
ร่วมมือ ย ังแยกรูปแบบ ออกเป็น 8 รูปแบบ ได้ด ังนี้
1 รูปแบบจิก ๊ ซอร์ (JIGSAW)
2 รูปแบบ เอส. ที. เอ. ดี. (STAD)
3 รูปแบบ ที. เอ. ไอ. (TAI)
4 รูปแบบ ที. จี. ที. (TGT)
5 รูปแบบ แอล. ที. (LT)
6 รูปแบบ จี. ไอ. (GI)
7 รูปแบบ ซ.ี ไอ. อาร์. ซ.ี (CIRC)
8 รูปแบบคอมเพล็กซ ์ (Complex Instruction)
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนที่
ึ ษาไทย
้ โดยน ักการศก
พ ัฒนาขึน
1. รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนท ักษะ
กระบวนการเผชญ ิ
สถานการณ์ โดย สุมน อมรวิว ัฒน์
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนนีข ้ น ึ้ มาจาก
แนวคิดทีว่ า่ การศก ึ ษาทีแ ่ ท้ควรสอดคล้องก ับการ
ดำเนินชวี ต ิ ซงึ่ ต้องเผชญ ิ ก ับการเปลีย ่ นแปลงต่าง ๆ
ซงึ่ มีทงทุ
ั้ กข์ สุข ความสมหว ังและความผิดหว ังต่าง ๆ
การศก ึ ษาทีแ ่ ท้ควรชว ่ ยให้ผเู ้ รียนได้เรียนรูท ้ จ
ี่ ะ
เผชญ ิ ก ับสถานการณ์ตา่ ง ๆ เหล่านน ั้ และ
สามารถเอาชนะ
ปัญหาเหล่านน ั้
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนที่
ึ ษาไทย
้ โดยน ักการศก
พ ัฒนาขึน
2. รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนโดยสร้างศร ัทธา
และโยนิโสมนสก ิ าร โดย สุมน อมรวิว ัฒน์
รูปแบบการจ ัดการเรียนการสอนนีพ ้ ัฒนาขึน ้
จากหล ักการทีว่ า่ ครูเป็นบุคคลสำค ัญทีส ่ ามารถจ ัด
สภาพแวดล้อม แรงจูงใจ และวิธก ี ารสอนให้ศษ ิ ย์เกิด
ศร ัทธาทีจ่ ะเรียนรู ้ การได้ฝึกฝนวิธก ี ารคิดโดยแยบคาย
และนำไปสูก ่ ารปฏิบ ัติจนประจ ักษ์จริง โดยครูทำหน้าที่
เป็นก ัลยาณมิตรชว ่ ยให้ศษ
ิ ย์ได้มโี อกาสคิด และ
แสดงออก
อย่างถูกวิธ ี จะชว ่ ยพ ัฒนาให้ศษ ิ ย์เกิดปัญญา
และแก้ปญ ั หาได้
อย่างเหมาะสม
รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ โดย
นักการศึกษาไทย
3. รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนกระบวนการคิดเป็ นเพือ่ การดำรงชีวติ
ในสั งคมไทย โดย หน่ วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา
รู ปแบบนีม้ ่ ุงช่ วยพัฒนากระบวนการคิด ให้ ผ้ ูเรียนสามารถคิดเป็ น
คือคิดโดยพิจารณาข้ อมูล 3 ด้ าน ได้ แก่ ข้ อมูลเกีย่ วกับตนเอง ข้ อมูลสั งคม
และสิ่ งแวดล้ อม และข้ อมูลทางวิชาการ เพือ่ ประโยชน์ ในการดำรงชีวติ ใน
สั งคมไทยอย่ างมีความสุ ข
รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ โดยนักการ
ศึกษาไทย
4. รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง: โมเดล
ซิปปา (CIPPA Model)หรือรู ปแบบการประสานห้ าแนวคิด โดยทิศนา
แขมมณี
รู ปแบบนีม้ ่ ุงพัฒนาผู้เรียนให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจในเรื่องทีเ่ รียน
อย่ างแท้ จริง โดยให้ ผ้ ูเรียนสร้ างความรู้ ด้วยตนเองโดยอาศัยความร่ วมมือ
จากกลุ่ม นอกจากนั้นยังช่ วยพัฒนาทักษะกระบวนการต่ าง ๆ จำนวนมาก
อาทิ กระบวนการคิด กระบวนการ
กลุ่มกระบวนการปฏิสัมพันธ์ ทางสั งคม และกระบวนการ
แสวงหาความรู้
รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ โดยนักการ
ศึกษาไทย
5. รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ตามแนวคิดทฤษฎีคอน
สตรัคติวสิ ต์ (constructivism) สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

รู ปแบบนีม้ ่ ุงพัฒนาผลสั มฤทธิ์ในการเรียนคณิตศาสตร์ โดยช่ วยให้


ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่ างเข้ าใจ จากการมีโอกาสสร้ างความรู้ ด้วยตนเอง
รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ โดยนักการ
ศึกษาไทย
6. รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนการเขียนภาษาอังกฤษแบบเน้ น
กระบวนการ (Process Approach) สำหรับนักศึกษาไทยระดับอุดมศึกษา
รู ปแบบนีม้ ่ ุงพัฒนาผู้เรียนให้ สามารถเขียนภาษาอังกฤษในระดับ
ข้ อความ(discourse)ได้ โดยข้ อความนั้นสามารถสื่ อความหมายได้ อย่ าง
เหมาะสมกับสถานการณ์ และเป็ นข้ อความที่
ถูกต้ องทั้งหลักการใช้ ภาษาและหลักการเขียน นอกจากนั้น
ยังช่ วยพัฒนาความสามารถในการใช้ กระบวนการเขียนใน
การสร้ างงานเขียนทีด่ ไี ด้ ด้วย
รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ โดยนักการ
ศึกษาไทย
7. รู ปแบบการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นทักษะปฏิบัติสำหรับครู วชิ า
อาชีพ
รู ปแบบนีม้ ่ ุงพัฒนาความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับงานที่ทำ และเกิด
ทักษะสามารถทีจ่ ะทำงานนั้นได้ อย่ างชำนาญตามเกณฑ์ รวมทั้งมีเจตคติ
ทีด่ แี ละลักษณะนิสัยทีด่ ใี นการทำงานด้ วย

You might also like