You are on page 1of 28

สารบัญ

สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียนและคณลั
ุ กษณะอันพึงประสงค์ หน้ า 1
ทําไมต้ องเรียน ภาษาไทย หน้ า 2
เรียนรู้อะไรในวิชาภาษาไทย หน้ า 2
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หน้ า 3
คณภาพผ้
ุ ูเรียน หน้ า 3
ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง หน้ า 4
โครงสร้ างหลักสตร
ู หน้ า 13
คําอธิบายรายวิชาสาระพืน้ ฐาน หน้ า 14
คําอธิบายรายวิชาสาระเพิม่ เติม หน้ า 20
อภิธานศัพท์ หน้ า 21
1

สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน และคณลั


ุ กษณะอันพึงประสงค์

หลักสู ตรสถานศึกษาขั้ นพื้ นฐานโรงเรี ยนโคกสี พิทยาสรรพ์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้ น


พื้นฐาน มุ่งให้ผเู้ รี ยนเกดสมรรถนะสํ
ิ าคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและสงสาร ่ มีวฒั นธรรมในการใช้ภาษา

ถายทอดความคิ ด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลขาวสารและ ่
ประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ งการเจรจาตอรองเพื ่ ่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งตาง ่ ๆ การเลือกรับหรื อไมรั่ บข้อมูลขาวสารด้
่ วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิ ดสังเคราะห์ การคิด อยาง ่
สร้างสรรค์ การคิดอยางมี ่ วิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อ
ี่ ั
การตัดสิ นใจเกยวกบตนเองและสั ่
งคมได้อยางเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแกปั้ ญหาและอุปสรรคตาง ่ ๆ ที่เผชิญ
่ กต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
ได้อยางถู
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกนและแกไขปั ั ้ ญหา

และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้ นตอตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการตาง ่ ๆ ไปใช้ในการดําเนิน
่ ่ ่อง การทํางาน และการอยูร่ ่ วมกนในสั
ชีวิตประจําวัน การเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู้อยางตอเนื ั งคมด้วยการสร้าง
เสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหวา่งบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งตาง ่ ๆ อยางเหมาะสม
่ การปรับตัวให้ทนั

กบการเปลี ่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึ่ งประสงค์ที่ส่ งผลกระทบ

ตอตนเองและผู อ้ ื่น
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ นตาง ่ ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การทํางาน การ
แกปั้ ญหาอยางสร้
่ างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
2

ทําไมต้ องเรียนภาษาไทย

ภาษาไทยเป็ นเอกลัก ษณ์ ข องชาติ เ ป็ นสมบัติ ท างวัฒ นธรรมอัน กอให้ ่ เ กดความเป็


ิ นเอกภาพ และ
เสริ มสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่ องมือในการติดตอสื ่ ่ อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ
และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกนั ทําให้สามารถประกอบกจธุ ิ ระ การงาน และดํารงชีวิตรวมกนในสั
่ ั งคมประชาธิ ปไตย
่ นติสุข และเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหลงข้
ได้อยางสั ่ อมูลสารสนเทศตางๆ ่ เพื่อพัฒนา

ความรู้ พัฒนากระบวนการคิ ดวิเ คราะห์ วิ จ ารณ์ และสร้ า งสรรค์ใ ห้ท ัน ตอการเปลี ่ ย นแปลงทางสั ง คม และ

ความกาวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมัน่ คงทางเศรษฐกจิ
นอกจากนี้ ยงั เป็ นสื่ อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุ นทรี ยภาพ เป็ นสมบัติล้ าํ ค่

ควรแกการเรี ยนรู ้ อนุรักษ์ และสื บสานให้คงอยูค่ ูช่ าติไทยตลอดไป

เรียนร้ ู อะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ตอ้ งฝึ กฝนจนเกดความชํ านาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร การเรี ยนรู้อยางมี่
ประสิ ทธิภาพ และเพื่อนําไปใช้ในชีวิตจริ ง
 การอ่าน การอานออกเสี
่ ยงคํา ประโยค การอาน ่ บทร้อยแกว้ คําประพันธ์ชนิดตางๆ ่ ่
การอานใน
ใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่ งที่อาน ่ เพื่อนําไป ปรับใช้ในชีวติ ประจําวัน
 การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่ อสาร โดยใช้ถอ้ ยคําและรู ปแบบตางๆ ่ ของการเขียน

ซึ่ งรวมถึงการเขียนเรี ยงความ ยอความ ่
รายงานชนิ ดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียน
เชิงสร้างสรรค์
 การฟัง การดู และการพดู การฟั งและดูอยางมี ่ วิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก

พูดลําดับเรื่ องราวตางๆ ่ นเหตุเป็ นผล การพูดในโอกาสตางๆ
อยางเป็ ่ ทั้ งเป็ นทางการและไมเป็
่ นทางการ และ
การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ
 หลักการใช้ ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกบั

โอกาสและบุคคล การแตงบทประพั นธ์ประเภทตางๆ ่ และอิทธิพลของภาษาตางประเทศในภาษาไทย

 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณคา่
ของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรี ยนรู้และทําความเข้าใจบทเห่ บทร้องเลนของเด็ ่ ก เพลงพื้นบ้านที่

เป็ นภูมิปัญญาที่มีคุณคาของไทย ซึ่ งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึ กคิด คานิ
่ ยม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี เรื่ องราวของ
สังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกดความซาบซึ ิ ้ งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ได้สั่งสมสื บทอดมา
จนถึงปัจจุบนั
3

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้


สาระที่ ๑ การอาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอานสร้่ างความรู้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดั สิ นใจ แกปั้ ญหาในการ

ดําเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอาน

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ่
ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ยอความ ่
และเขียนเรื่ องราวในรู ปแบบตางๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยาง ่ มีประสิ ทธิภาพ

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด


มาตรฐาน ท ๓.๑ ่ วิ จ ารณญาณ และพู ดแสดงความรู้ ความคิ ด และ
สามารถเลื อ กฟั ง และดู อ ยางมี
่ อยางมี
ความรู้สึกในโอกาสตางๆ ่ วจิ ารณญาณและสร้างสรรค์

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ ่ นคุณคาและ
เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็ ่
นํามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง
4

คณภาพ
ุ ผู้เรียน

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
 อ่านออกเสี ยงบทร้อยแกวและบทร้
้ อยกรองเป็ นทํานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปล
ความ และขยายความเรื่ องที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่ องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอความคิด
่ ่
ใหมจากการอานอยางมี ่ เหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอ่
ความ และเขียนรายงานจากสิ่ งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินคา่ และนําความรู้ความคิดจากการอานมาพั ่ ฒนาตน
พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ และ นําความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้แกปั้ ญหาในการดําเนินชีวิต
มีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน ่
 เขียนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ยอความจากสื ่ ่ อที่มี
รู ป แบบและเนื้ อ หาที่ ห ลากหลาย เรี ย งความแสดงแนวคิ ดเชิ ง สร้ า งสรรค์โ ดยใช้โ วหารตางๆ ่ เขี ย นบันทึ ก
รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเอง
ในรู ปแบบตางๆ่ ทั้ งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้ งประเมินงานเขียนของผูอ้ ื่นและนํามาพัฒนางานเขียนของ
ตนเอง
 ตั้ งคําถามและแสดงความคิดเห็นเกยวกบเรื
ี่ ั ่ องที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู
วิเคราะห์วตั ถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความนาเชื ่ ่ อถือของเรื่ องที่ ฟังและดู ประเมินสิ่ งที่ ฟังและดูแล้ว
นําไปประยุกต์ใช้ในการดําเนิ นชีวิต มีทกั ษะการพูดในโอกาสตาง ่ ๆ ทั้ งที่เป็ นทางการและไมเป็ ่ นทางการโดยใช้
ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหมอยางมี ่ ่ เหตุผล รวมทั้ งมีมารยาทใน
การฟัง ดู และพูด
 เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิ พลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาํ และกลุ่มคําสร้าง
ประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แตงคํ ่ าประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง รายและฉั ่ นท์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมกบั
่ กต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคําในภาษาไทย อิทธิ พลของ
กาลเทศะและใช้คาํ ราชาศัพท์และคําสุ ภาพได้อยางถู

ภาษาตางประเ ทศในภาษาไทยและภาษาถิ่ น วิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น การใช้ภ าษาจากสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์และสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์
 วิเ คราะห์ วิจ ารณ์ วรรณคดี แ ละวรรณกรรมตามหลัก การวิจ ารณ์ วรรณคดี เ บื้ อ งต้น รู้ แ ละเข้า ใจ

ลักษณะเดนของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกบการเรี ั ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์
และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนําข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง
5

ตัวชี้วดั และสาระการเรียนร้ ูแกนกลาง


ม.๔-ม.๖ ๑. อานออกเสี
่ ยงบทร้อยแกว้ และ บท ่
 การอานออกเสี ยง ประกอบด้วย
ร้อยกรองได้อยางถู่ กต้อง ไพเราะ และ ้
- บทร้อยแกวประเภทตางๆ ่ เชน่ บทความ นว
เหมาะสมกบเรื ั ่ องที่อาน
่ นิยาย และความเรี ยง
- บทร้อยกรอง เชน่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ราย

และลิลิต

๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่ อง  การอาน ่ จับใจความจากสื่ อตางๆ ่ เชน่



ที่อาน ่
- ขาวสารจากสื ่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และ
๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่าน แหลงเรี่ ยนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน
ในทุกๆ ด้านอยางมี ่ เหตุผล - บทความ
๔. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อาน ่ และ - นิทาน
ประเมินคาเพื ่ ่อนําความรู้ ความคิดไปใช้ - เรื่ องสั้ น
ตัดสิ นใจแกปั้ ญหาในการดําเนินชีวติ - นวนิยาย
๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น - วรรณกรรมพื้นบ้าน
โต้แย้งกับเรื่ องที่อาน ่ และเสนอความคิด - วรรณคดีในบทเรี ยน
่ ่ เหตุผล
ใหมอยางมี - บทโฆษณา
๖. ตอบคําถามจากการอานประเภท ่ ่
ตางๆ - สารคดี
ภายในเวลาที่กาหนด ํ - บันเทิงคดี
่ ่ องตางๆ
๗. อานเรื ่ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผัง - ปาฐกถา
ความคิด บันทึก ยอความ ่ และรายงาน - พระบรมราโชวาท
๘. สังเคราะห์ความรู้จากการอาน ่ สื่ อ - เทศนา
สิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และแหลง่ - คําบรรยาย
เรี ยนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการ - คําสอน
เรี ยน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ - บทร้อยกรองรวมสมั ่ ย
- บทเพลง
- บทอาเศียรวาท
- คําขวัญ
๙. มีมารยาทในการอาน ่  มารยาทในการอาน ่
6

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ่
ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ยอความ และเขียนเรื่ องราวในรู ปแบบ

ตางๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยางมี่ ประสิ ทธิ ภาพ
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้ ู แกนกลาง
ม.๔-ม.๖ ๑. เขียนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ ได้ ตรง  การเขียนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ เชน่
ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยง - อธิบาย
ถูกต้อง มีขอ้ มูล และสาระสําคัญชัดเจน - บรรยาย
- พรรณนา
- แสดงทรรศนะ
- โต้แย้ง
- โน้มน้าว
- เชิญชวน
- ประกาศ
- จดหมายกจธุ ิ ระ
- โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ
- รายงานการประชุม
- การกรอกแบบรายการตางๆ ่
๒. เขียนเรี ยงความ  การเขียนเรี ยงความ

๓. เขียนยอความจากสื ่ อที่มีรูปแบบ และ ่
 การเขียนยอความจากสื ่ เชน่
่ อตางๆ
เนื้ อหาหลากหลาย - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
- เรื่ องสั้ น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ
และวรรณกรรมพื้นบ้าน
๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรู ปแบบ  การเขียนในรู ปแบบตางๆ ่ เชน่

ตางๆ - สารคดี
- บันเทิงคดี
๕. ประเมินงานเขียนของผูอ้ ื่น แล้วนํามา  การประเมินคุณคางานเขี ่ ่ เชน่
ยนในด้านตางๆ
พัฒนางานเขียนของตนเอง - แนวคิดของผูเ้ ขียน
- การใช้ถอ้ ยคํา
- การเรี ยบเรี ยง
- สํานวนโวหาร
- กลวิธีในการเขียน
๖. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า  การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิง  การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ
วิชาการ และใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ
7

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้ ู แกนกลาง


่ ถูกต้อง
อ้างอิงอยาง
่ ยนรู้ที่
๗. บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนําไปพัฒนา  การเขียนบันทึกความรู้จากแหลงเรี
่ ่าเสมอ
ตนเองอยางสมํ หลากหลาย
๘. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ ่ วจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส


สามารถเลือกฟังและดูอยางมี
่ ๆ อยางมี
ตาง ่ วจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้ ู แกนกลาง
ม.๔-ม.๖ ๑. สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจาก  การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็น
เรื่ องที่ฟังและดู จากเรื่ องที่ฟังและดู
๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ  การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความ
ความนาเชื ่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู ่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู
นาเชื
อยางมี่ เหตุผล ่ วจิ ารณญาณ
 การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอยางมี
๓. ประเมินเรื่ องที่ฟังและดู แล้วกาหนดํ ํ
 การประเมินเรื่ องที่ฟังและดูเพื่อกาหนดแนวทาง
แนวทางนําไปประยุกต์ใช้ในการดําเนิน นําไปประยุกต์ใช้
ชีวิต
๔. มีวจิ ารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและ
ดู
๕. พูดในโอกาสตางๆ ่ พูดแสดงทรรศนะ ่ เชน่
 การพูดในโอกาสตางๆ
โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ ่ ่ประชุมชน
- การพูดตอที
ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม - การพูดอภิปราย
- การพูดแสดงทรรศนะ
- การพูดโน้มน้าวใจ
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด
8

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ


ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้ ู แกนกลาง
ม.๔-ม.๖ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา  ธรรมชาติของภาษา
และลักษณะของภาษา  พลังของภาษา
 ลักษณะของภาษา
- เสี ยงในภาษา

- สวนประกอบของภาษา
- องค์ประกอบของพยางค์และคํา
๒. ใช้คาํ และกลุ่มคําสร้างประโยคตรงตาม  การใช้คาํ และกลุม่ คําสร้างประโยค
วัตถุประสงค์ - คําและสํานวน
- การร้อยเรี ยงประโยค
- การเพิม่ คํา
- การใช้คาํ
- การเขียนสะกดคํา
๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแกโอกาส ่ กาลเทศะ  ระดับของภาษา

และบุคคล รวมทั้ งคําราชาศัพท์อยาง  คําราชาศัพท์
เหมาะสม

๔. แตงบทร้ อยกรอง  กาพย์ โคลง ราย ่ และฉันท์


๕. วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาตางประเทศ ่
และ  อิทธิพลของภาษาตางประเทศและภาษาถิ ่น
ภาษาถิ่น
๖. อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคําใน  หลักการสร้างคําในภาษาไทย
ภาษาไทย
๗. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อ  การประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และ สื่ อ
สิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์
9

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ ่ นคุณคาและ


เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็ ่
นํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้ ู แกนกลาง
ม.๔-ม.๖ ๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและ  หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและ
วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วรรณกรรมเบื้องต้น
- จุดมุ่งหมายการแตงวรรณคดี
่ และวรรณกรรม
- การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- การพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและ
วรรณกรรม

๒. วิเคราะห์ลกั ษณะเดนของวรรณคดี  การวิเคราะห์ลกั ษณะเดน่ของวรรณคดีและ

เชื่อมโยงกบการเรี ยนรู้ทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมเกยวกบ ี่ ั เหตุการณ์ประวัติศาสตร์และ
และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต วิถีชีวติ ของสังคมในอดีต
๓. วิเคราะห์และประเมินคุณคา่ด้าน ่
 การวิเคราะห์และประเมินคุณคาวรรณคดี และ
วรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรม
ในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของ - ด้านวรรณศิลป์
ชาติ - ด้านสังคมและวัฒนธรรม
๔. สังเคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดีและ  การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรมเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริ ง
๕. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบาย  วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึง
ภูมิปัญญาทางภาษา ั ฒนธรรม
- ภาษากบวั
- ภาษาถิ่น
่ าและบอกคุณคาบทอาขยาน
๖. ทองจํ ่ ตามที่  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่

กาหนด ่
และบทร้อยกรองที่มีคุณคาตาม ํ
- บทอาขยานตามที่กาหนด
ความสนใจและนําไปใช้อา้ งอิง - บทร้อยกรองตามความสนใจ
10

โครงสร้ างหลักสตรกล่
ู ุมสาระภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

สาระพืน้ ฐาน
ท 31101 ภาษาไทย 1 ่ ิ
หนวยกต ่ ิ
1.0 หนวยกต 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ท 31102 ภาษาไทย 2 ่ ิ
หนวยกต ่ ิ
1.0 หนวยกต 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ท 32101 ภาษาไทย 3 ่ ิ
หนวยกต 1.0 หนวยกต่ ิ 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ท 32102 ภาษาไทย 4 หนวยกต่ ิ 1.0 หนวยกต ่ ิ 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ท 33101 ภาษาไทย 5 หนวยกต ่ ิ ่ ิ
1.0 หนวยกต 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ท 33102 ภาษาไทย 6 ่ ิ
หนวยกต ่ ิ
1.0 หนวยกต 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์

สาระเพิม่ เติม
ท 31201 การใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ่ ิ
จํานวน 1.5 หนวยกต 60 ชัว่ โมง

ท 31202 การอานวรรณกรรมยอดเยี ย่ ม ่ ิ
จํานวน 1.5 หนวยกต 60 ชัว่ โมง
ท 32201 ภาษาไทยเพื่อสร้างมนุษย์สัมพันธ์ ่ ิ
จํานวน 1.5 หนวยกต 60 ชัว่ โมง
ท 32202 ภาษาไทยที่ใช้ในสื่ อมวลชน ่ ิ
จํานวน 1.5 หนวยกต 60 ชัว่ โมง
ท 33201 ศิลปะการเขียนร้อยกรอง จํานวน 1.5 หนวยกต่ ิ 60 ชัว่ โมง

ท 33202 การพิจารณาคุณคางานประพั นธ์ จํานวน 1.5 หนวยกต ่ ิ 60 ชัว่ โมง
11

คําอธิบายรายวิชา กล่ ุมสาระภาษาไทย สาระพืน้ ฐาน


ท 31101 ภาษาไทย 1 จํานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา

อานออกเสี ยงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้อยางถู ่ กต้องไพเราะ และเหมาะสมกบเรื ั ่ องที่อ่าน ตีความ
แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอยางมี ่ เหตุผล คาดคะเน
เหตุ การณ์ จากเรื่ องที่ อ่านและประเมิ นคาเพื่ ่อ นําความรู้ ความคิ ดไปใช้ตดั สิ นใจแกปั้ ญหาในการ ดําเนิ นชี วิต
วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกบเรื ั ่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหมอยางมี ่ ่ เหตุผล ตอบคําถามจากการ
่ ประเภทตางๆ
อาน ่ ภายในเวลาที่ กาหนด
ํ ่ ่ องตางๆ
อานเรื ่ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิ ด บันทึ ก ยอความ ่ และ
รายงาน สังเคราะห์ ความรู้ จากการอานสื ่ ่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิ เล็กทรอนิ กส์ และแหลงเรี ่ ยนรู้ ต่างๆ มาพัฒนาตน
พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู้ ทางอาชี พ มี มารยาทในการอานเขี ่ ยนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ ได้ตรงตาม
วัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอ้ มูลและสาระสําคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนยอความจากสื ่ ่อ
ที่มีรูปแบบ และเนื้ อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียนของตนเองในรู ปแบบตางๆ ่ ประเมินงานเขียนของผูอ้ ื่น แล้ว
นํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้
ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอยางถู ่ กต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้า เพื่อนําไปพัฒนาตนเอง อยางสมํ ่ ่าเสมอ มีมารยาทในกา
เขียน
สรุ ปแนวคิ ด และแสดงความคิ ดเห็ นจากเรื่ อ งที่ ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิ ด การใช้ภาษา และความ
่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอยางมี
นาเชื ่ เหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนํ
ํ าไประยุกต์ใช้ในการ
ดําเนิ นชีวิต มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสตางๆ ่ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ
และเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิ บายธรรมชาติของ
ภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาํ และกลุ่มคํา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษา
เหมาะสมแกโอกาส ่ กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้ งคําราชาศัพท์อยางเหมาะสม ่ ่
แตงบทร้ อยกรอง วิเคราะห์

อิทธิ พลของภาษาตางประเทศและภาษาถิ ่น อธิ บายและวิเคราะห์หลักการสร้างคําในภาษาไทย วิเคราะห์และ
ประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตาม
หลักการวิจารณ์เบื้องต้น

วิเคราะห์ลกั ษณะเดนของวรรณคดี ั
เชื่อมโยงกบการเรี ยนรู้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอ
ดีดวิเคราะห์และประเมินคุณคาด้ ่ านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม
ของชาติ สังเคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง รวบรวมวรรณกรรม

พื้นบ้าน และอธิบายภูมิปัญญาทางภาษา ทองและบอกคุ ่
ณคาบทอาขยานตามที ํ
่กาหนดและบทร้ อยกรองที่มีคุณคา่
ตามความสนใจและนําไปใช้อา้ งอิง

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
ท 31102 ภาษาไทย 2 จํานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
12

คําอธิบายรายวิชา

อานออกเสี ้
ยงบทร้อยแกวและบทร้ อยกรองได้อยางถู ่ กต้องไพเราะและเหมาะสมกบเรื ั ่ องที่อ่าน ตีความ
แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอยางมี ่ เหตุผล คาดคะเน
เหตุ การณ์ จากเรื่ องที่ อ่านและประเมิ นคาเพื
่ ่อ นําความรู้ ความคิ ดไปใช้ตดั สิ นใจแกปั้ ญหาในการดําเนิ นชี วิต
วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกบเรื ั ่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหมอยางมี่ ่ เหตุผล ตอบคําถามจากการ
อาน่ ประเภทตางๆ ่ ภายในเวลาที่ กาหนด
ํ ่ ่ องตางๆ
อานเรื ่ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิ ด บันทึ ก ยอความ ่ และ
รายงาน สังเคราะห์ความรู้จากการ
่ ่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ และแหลงเรี
อานสื ่ ยนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู้ ทาง
อาชีพ มีมารยาทในการอ่าน
เขี ยนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อ ง มี ขอ้ มูล และ

สาระสําคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนยอความจากสื ่ อที่มีรูปแบบ และเนื้ อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียนของ
ตนเองในรู ปแบบตางๆ ่ ประเมินงานเขียนของผูอ้ ื่น แล้วนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษา
ค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอ้ มูลสารสนเทศอ้างอิงอยางถู ่ กต้อง บันทึกการศึกษา
ค้นคว้า เพื่อนําไปพัฒนาตนเอง
่ ่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน
อยางสมํ
สรุ ปแนวคิ ด และแสดงความคิ ดเห็ นจากเรื่ อ งที่ ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิ ด การใช้ภาษา และความ
่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอยางมี
นาเชื ่ เหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนํ
ํ าไประยุกต์ใช้ในการ
ดําเนินชีวิต มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสตางๆ ่ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ
และเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิ บายธรรมชาติของ
ภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาํ และกลุ่มคํา สร้ างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษา
เหมาะสมแกโอกาส ่ กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้ งคําราชาศัพท์อยางเหมาะสม่ ่
แตงบทร้ อยกรอง วิเคราะห์
อิทธิ พลของภาษาตางประเ ่ ทศและภาษาถิ่น อธิ บายและวิเคราะห์หลักการสร้างคําในภาษาไทย วิเคราะห์และ
ประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
ท 32101 ภาษาไทยจํานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
13

คําอธิบายรายวิชา

การอานออกเสี ยง ประกอบด้วย บทร้อยแกวประเภทตางๆ ้ ่
่ ได้แกบทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แกโคลง ่ ฉันท์ กาพย์ กลอน ราย ่ และลิลิต การอานจั
่ บใจความจากสื่ อตางๆได้ ่ แก่

ขาวสารจากสื ่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และแหลงเรี ่ ยนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้ น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คํา
บรรยาย คําสอน บทร้อยกรองรวมสมั ่ ย บทเพลงบทอาเศียรวาท คําขวัญ มารยาทในการอาน ่
การเขียนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ ได้แกอธิ ่ บาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกจธุ ิ ระ โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการตางๆ ่ การเขียนเรี ยงความ การเขียนยอความจากสื ่ ่ อตางๆ ่ นิพนธ์ และวรรณคดี
่ ได้แกกวี
เรื่ องสั้ น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบตางๆ ่ เชน่ สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณคางานเขี ่ ่ เชน่ แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอ้ ยคํา การเรี ยบเรี ยง สํานวน
ยนในด้านตางๆ
โวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียนบันทึกความรู้
จากแหลงเรี ่ ยนรู้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา
และความนาเชื ่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอยางมี ่ วจิ ารณญาณ การประเมินเรื่ องที่ฟังและดู

เพื่อกาหนดแนวทางนํ าไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสตางๆ ่ เชนการพู
่ ดตอที ่ ่ประชุมชน การพูดอภิปราย การ
พูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสี ยงในภาษา สวนประกอบของภาษา ่
องค์ประกอบของพยางค์และคํา การใช้คาํ และกลุ่มคําสร้างประโยค คําและสํานวน การร้อยเรี ยงประโยค การเพิม่
คํา การใช้คาํ การเขียนสะกดคํา ระดับของภาษา คําราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ราย ่ และฉันท์ อิทธิ พลของ

ภาษาตางประเทศและภาษา ถิ่น หลักการสร้างคําในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และ สื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์
หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแตง่
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้ อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ

วิเคราะห์ลกั ษณะเดนของวรรณคดี ี่ ั การณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวติ ของ
และวรรณกรรมเกยวกบเหตุ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณคาวรรณคดี ่ และวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและ
วัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากบวั ั ฒนธรรม และ ภาษา
ถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)

ท 32102 ภาษาไทยจํานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง


14

คําอธิบายรายวิชา

การอานออกเสี ยง ประกอบด้วย บทร้อยแกวประเภทตางๆ้ ่
่ ได้แกบทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แกโคลง ่ ฉันท์ กาพย์ กลอน ราย ่ และลิลิต การอานจั
่ บใจความจากสื่ อตางๆได้่ แก่

ขาวสารจากสื ่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และแหลงเรี ่ ยนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้ น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คํา
บรรยาย คําสอน บทร้อยกรองรวมสมั ่ ย บทเพลงบทอาเศียรวาท คําขวัญ มารยาทในการอาน ่
การเขียนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ ได้แกอธิ่ บาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกจธุ ิ ระ โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการตางๆ ่ การเขียนเรี ยงความ การเขียนยอความจากสื ่ ่ อตางๆ ่ นิพนธ์ และวรรณคดี
่ ได้แกกวี
เรื่ องสั้ น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบตางๆ ่ เชน่ สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณคางานเขี ่ ่ เชน่ แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอ้ ยคํา การเรี ยบเรี ยง สํานวน
ยนในด้านตางๆ
โวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียนบันทึกความรู้
จากแหลงเรี ่ ยนรู้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา
และความนาเชื ่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอยางมี ่ วจิ ารณญาณ การประเมินเรื่ องที่ฟังและดู

เพื่อกาหนดแนวทางนํ าไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสตางๆ ่ เชนการพู
่ ดตอที ่ ่ประชุมชน การพูดอภิปราย การ
พูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสี ยงในภาษา สวนประกอบของภาษา ่
องค์ประกอบของพยางค์และคํา การใช้คาํ และกลุ่มคําสร้างประโยค คําและสํานวน การร้อยเรี ยงประโยค การเพิม่
คํา การใช้คาํ การเขียนสะกดคํา ระดับของภาษา คําราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ราย ่ และฉันท์ อิทธิพลของ

ภาษาตางประเทศและภาษาถิ ่น หลักการสร้างคําในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และ สื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์
หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแตง่
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้ อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ

วิเคราะห์ลกั ษณะเดนของวรรณคดี ี่ ั การณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวติ ของ
และวรรณกรรมเกยวกบเหตุ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณคาวรรณคดี ่ และวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม
และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากบวั ั ฒนธรรม และ
ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
ท 33101 ภาษาไทยจํานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
15

คําอธิบายรายวิชา

การอานออกเสี ้
ยง ประกอบด้วย บทร้อยแกวประเภทตางๆ ่
่ ได้แกบทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แกโคลง ่ ่ และลิลิต การอานจั
ฉันท์ กาพย์ กลอน ราย ่ บใจความจากสื่ อตางๆได้
่ แก่

ขาวสารจากสื ่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และแหลงเรี่ ยนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้ น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คํา
บรรยาย คําสอน บทร้อยกรองรวมสมั ่ ย บทเพลงบทอาเศียรวาท คําขวัญ มารยาทในการอาน ่
การเขียนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ ได้แกอธิ่ บาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกจธุ ิ ระ โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการตางๆ ่ การเขียนเรี ยงความ การเขียนยอความจากสื
่ ่ นิพนธ์ และวรรณคดี
่ ได้แกกวี
่ อตางๆ
เรื่ องสั้ น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบตางๆ ่ เชน่ สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณคางานเขี ่ ่ เชน่ แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอ้ ยคํา การเรี ยบเรี ยง สํานวน
ยนในด้านตางๆ
โวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงาน

เชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียนบันทึกความรู้จากแหลงเรี ่ ยนรู้ที่หลากหลาย มีมารยาทใน


การเขียน
การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา
และความนาเชื ่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอยางมี
่ วจิ ารณญาณ การประเมินเรื่ องที่ฟังและดู

เพื่อกาหนดแนวทางนํ าไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสตางๆ ่ เชนการพู
่ ่ ่ประชุมชน การพูดอภิปราย การ
ดตอที
พูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสี ยงในภาษา สวนป ่ ระกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคํา การใช้คาํ และกลุ่มคําสร้างประโยค คําและสํานวน การร้อยเรี ยงประโยค การเพิม่
คํา การใช้คาํ การเขียนสะกดคํา ระดับของภาษา คําราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ราย ่ และฉันท์ อิทธิพลของ

ภาษาตางประเทศและภาษาถิ ่น หลักการสร้างคําในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และ สื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์
หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้ องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแตง่
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้ อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ

วิเคราะห์ลกั ษณะเดนของวรรณคดี ี่ ั การณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวติ ของ
และวรรณกรรมเกยวกบเหตุ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณคาวรรณคดี่ และวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม
และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากบวั ั ฒนธรรม และ
ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)

ท 33102 ภาษาไทยจํานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง


16

คําอธิบายรายวิชา

การอานออกเสี ้
ยง ประกอบด้วย บทร้อยแกวประเภทตางๆ ่ ได้แกบทความ ่ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แกโคลง ่ ฉันท์ กาพย์ กลอน ราย ่ และลิลิต การอานจั ่ บใจความจากสื่ อตางๆได้
่ แก่

ขาวสารจากสื ่ ยนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้ น นวนิยาย
่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และแหลงเรี
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี
ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คําบรรยาย คําสอน บทร้อยกรองรวมสมั ่ ย บทเพลงบทอาเศียรวาท คํา
ขวัญ มารยาทในการอาน ่
การเขียนสื่ อสารในรู ปแบบตางๆ ่ ได้แกอธิ่ บาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกจธุ ิ ระ โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการตางๆ ่ การเขียนเรี ยงความ การเขียนยอความจากสื
่ ่ อตางๆ ่ นิพนธ์ และวรรณคดี
่ ได้แกกวี
เรื่ องสั้ น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบตางๆ ่ เชน่ สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณคางานเขี ่ ยนในด้านตางๆ่ เชน่ แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอ้ ยคํา การเรี ยบเรี ยง สํานวน
โวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียนบันทึกความรู้
จากแหลงเรี ่ ยนรู้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟัง
และดู การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความนาเชื ่ ่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอยางมี


วิจารณญาณ การประเมินเรื่ องที่ฟังและดูเพื่อกาหนดแนวทางนํ าไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสตางๆ ่ เชนการ

พูดตอที่ ่ประชุมชน การพูดอภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และ
การพูดธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสี ยงในภาษา สวนประกอบของภาษา ่ องค์ประกอบ
ของพยางค์และคํา การใช้คาํ และกลุม่ คําสร้างประโยค คําและสํานวน การร้อยเรี ยงประโยค การเพิม่ คํา การใช้คาํ
การเขียนสะกดคํา ระดับของภาษา คําราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ราย ่ และฉันท์ อิทธิพลของภาษาตางประเทศและ

ภาษาถิ่น หลักการสร้างคําในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์หลักการ
วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแตงวรรณคดี ่ และวรรณกรรม การ
พิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การ
วิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกั ษณะเดนของวรรณคดี ่ ี่ ั
และวรรณกรรมเกยวกบ
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณคาวรรณคดี ่ และวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
17

คําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สาระการเพิม่ เติม


ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ท 31201 การใช้ ภาษาเพือ่ การสื่ อสาร จํานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
การใช้ประโยคซับซ้อนในการเขียนบทความ เรี ยงความ การเขียนเชิงวิชาการ การเขียนเพื่อความ
่ ่ ดและ
บันเทิง การเลือกใช้ถอ้ ยคําในการเขียน การพูด การวางแผนการเขียนและการพูด การคิดไตรตรองกอนพู
เขียน การใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์การทํางาน การใช้ถอ้ ยคําสร้างพลังความรู้สึก

ท 32202 การอ่ านวรรณกรรมยอดเยีย่ ม จํานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง


คําอธิบายรายวิชา
วรรณกรรมประเภทเรื่ องสั้ น สารคดี นวนิยาย ที่ได้รับรางวัลยอดเยีย่ ม การวิจารณ์วรรณกรรมทางด้าน

วรรณศิลป์ เนื้ อเรื่ อง การใช้ภาษาในวรรณกรรม คุณคาทางสั งคม ศิลปกรรม และแนวความคิดในการดําเนิน

ชีวิต การเขียนบทวิจารณ์ จากการอานวรรณกรรมยอดเยี ย่ ม

ท 32201 ภาษาไทยเพือ่ สร้ างมนษยสั ุ มพันธ์ จํานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
การพูดในโอกาสตาง ่ ๆ ด้วยการใช้ถอ้ ยคําและกริิ ยาทาทางในการสร้
่ างมนุษยสัมพันธ์ การเขียน
จดหมายสวนตั่ ว การเขียนโน้มน้าวใจโดยเลือกใช้ถอ้ ยคําสร้างความรู้สึกที่ดี มรรยาทการเขียนและการพูดสร้าง
มนุษยสัมพันธ์
ท 32202 ภาษาไทยทีใ่ ช้ ในสื่ อมวลชน
คําอธิบายรายวิชา
ความหมายของคํา ความหมายของประโยคที่ใกล้เคียงหรื อที่ใช้สับสนภาษาในสื่ อมวลชน การ

ปรับเปลี่ยนตําแหนงการขยายประโยค ทําให้ความหมายของประโยคคงเดิมหรื อเปลี่ยนไป
ท 33201 ศิลปะการเขียนร้ อยกรอง จํานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
ความรู้ในเรื่ องฉันทลักษณ์ ตามลักษณะคําประพันธ์ประเภทกลอน โคลง ราย ่ กาพย์ และฉันท์ การ
ใช้คาํ ศัพท์ในการประพันธ์ และภาษากวี ความคิดและการใช้ถอ้ ยคําในการแตงคํ ่ าประพันธ์ การรวบรวมคํา
ประพันธ์ จากวรรณคดี และวรรณกรรมตามรู ปแบบคําประพันธ์
ท 33202 การพิจารณาคณค่ ุ างานประพันธ์ จํานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
การแสดงความคิดเห็น การวิเคราะห์ การประเมินคา่ การเลาเรื ่ ่ อง การยอเรื
่ ่ อง การถายทอด


ความคิด ความรู ้จากการอานวรรณกรรมร้ อยแกว้ การเขียนศึกษาค้นคว้า การเลือกใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงข้อความ
จดบันทึกข้อมูลนําวิธีการของแผนภาพความคิดประกอบงานเขียนในรู ปแบบตาง ่ ๆ การใช้ภาษาแสดงความคิด
ตามหลักการใช้ภาษา การคิดไตรตรอง ่ และลําดับความคิดในการเขียน
18

อภิธานศัพท์

กระบวนการเขียน
กระบวนการเขียนเป็ นการคิดเรื่ องที่จะเขียนและรวบรวมความรู้ในการเขียน กระบวนการเขียน มี ๕ ขั้ น
ดังนี้
๑. การเตรี ยมการเขียน เป็ นขั้ นเตรี ยมพร้อมที่จะเขียนโดยเลือกหัวข้อเรื่ องที่จะเขียน บนพื้นฐาน
ของประสบการณ์ กาหนดรู ํ ปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใช้วิธีการอานหนั ่ งสื อ สนทนา
จัดหมวดหมู่ความคิด โดยเขียนเป็ นแผนภาพความคิด จดบันทึกความคิดที่จะเขียนเป็ นรู ปหัวข้อเรื่ องใหญ่ หัวข้อ
่ และรายละเอียดคราวๆ
ยอย ่
๒. การยกร่ างข้ อเขียน เมื่อเตรี ยมหัวข้อเรื่ องและความคิดรู ปแบบการเขียนแล้ว ให้นาํ ความคิดมาเขียน

ตามรู ปแบบที่กาหนดเป็ ่ อเขียน โดยคํานึ งถึงวาจะเขี
นการยกรางข้ ่ ยนให้ใครอาน ่ จะใช้ภาษาอยางไรให้่ เหมาะสม
ั ่ องและเหมาะกบผู
กบเรื ั อ้ ื่น จะเริ่ มต้นเขียนอยางไร
่ มีหวั ข้อเรื่ องอยางไร
่ ลําดับความคิดอยางไร ่ เชื่อมโยงความคิด

อยางไร
๓. การปรั บปรงข้ ุ อเขียน เมื่อเขียนยกรางแล้่ วอานทบทวนเรื
่ ่ องที่เขียน ปรับปรุ งเรื่ องที่เขียนเพิ่มเติม
ความคิดให้สมบูรณ์ แกไขภาษา้ ่ นําข้อเสนอแนะมาปรับปรุ งอีกครั้ ง
สํานวนโวหาร นําไปให้เพื่อนหรื อผูอื้ ่นอาน
๔. การบรรณาธิการกิจ นําข้อเขี ยนที่ ปรั บปรุ งแล้วมาตรวจทานคําผิด แกไขให้ ้ ถูกต้อง แล้วอาน ่
ตรวจทานแกไขข้้ อเขียนอีกครั้ ง แกไขข้ ้ อผิดพลาดทั้ งภาษา ความคิด และการเว้นวรรคตอน
๕. การเขียนให้ สมบรณ์ ู ้
นําเรื่ องที่ แกไขปรั บปรุ งแล้วมาเขี ยนเรื่ องให้สมบูรณ์ จัดพิมพ์ วาดรู ป
ประกอบ เขียนให้สมบูรณ์ดว้ ยลายมือที่สวยงามเป็ นระเบียบ เมื่อพิมพ์หรื อเขียนแล้วตรวจทานอีกครั้ งให้สมบูรณ์
่ ดทํารู ปเลม่
กอนจั

กระบวนการคิด
การฟั ง การพูด การอาน ่ และการเขียน เป็ นกระบวนการคิด คนที่จะคิดได้ดีตอ้ งเป็ นผูฟ้ ั ง ผูพู้ ด ผูอ้ ่าน
และผูเ้ ขียนที่ดี บุคคลที่จะคิดได้ดีจะต้องมีความรู้และประสบการณ์พ้ืนฐานในการคิด บุคคลจะมีความสามารถใน
การรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริ ง วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินคา่ จะต้องมีความรู้และประสบการณ์พ้ืนฐาน

ที่นาํ มาชวยในการคิ ดทั้ งสิ้ น การสอนให้คิดควรให้ผเู้ รี ยนรู้จกั คัดเลือกข้อมูล ถายทอด ่ รวบรวม และจําข้อมูล
่ สมองของมนุษย์จะเป็ นผูบ้ ริ โภคข้อมูลขาวสาร
ตางๆ ่ และสามารถแปลความข้อมูลขาวสาร ่ และสามารถนํามาใช้
อ้างอิง การเป็ นผูฟ้ ั ง ผูพ้ ดู ผูอ้ ่าน และผูเ้ ขียนที่ดี จะต้องสอนให้เป็ นผูบ้ ริ โภคข้อมูลขาวสารที่ ่ดีและเป็ นนักคิดที่ดี
ด้วย กระบวนการสอนภาษาจึงต้องสอนให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูร้ ับรู้ขอ้ มูลขาวสารและมี ่ ่
ทกั ษะการคิด นําข้อมูลขาวสารที ่
ได้จากการฟั งและการอานนํ ่ ามาสู่ การฝึ กทักษะการคิด นําการฟั ง การพูด การอาน ่ และการเขี ยน มาสอนใน
รู ปแบบ บูรณาการทักษะ ตัวอยาง ่ เช่ น การเขี ยนเป็ นกระบวนการคิ ดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การ
สังเคราะห์ การประเมิ นคา่ การสร้ างสรรค์ ผูเ้ ขียนจะนําความรู ้ และประสบการณ์ สู่ การคิ ดและแสดงออกตาม
ความคิดของตนเสมอ ต้องเป็ นผูอ้ านและผู ่ ่
ฟ้ ังเพื่อรับรู้ขาวสารที ่จะนํามาวิเคราะห์และสามารถแสดงทรรศนะได้
19

กระบวนการอ่ าน
การอานเป็่ นกระบวนการซึ่ งผูอ้ ่านสร้างความหมายหรื อพัฒนา การตีความระหวางการอานผู ่ ่ อ้ ่านจะต้อง
รู้ หัวข้อ เรื่ อง รู้ จุดประสงค์ของการอาน ่ มี ความรู้ ทางภาษาที่ ใกล้เคี ยงกบภาษาที ั ่ ใช้ในหนังสื อ ที่ อ่าน โดยใช้
ประสบการณ์เดิมเป็ นประสบการณ์ทาํ ความเข้าใจกบเรื ั ่ องที่อา่ น กระบวนการอานมี ่ ดงั นี้
๑. การเตรียมการอ่ าน ผูอ้ ่านจะต้องอานชื ่ ่อเรื่ อง หัวข้อยอยจากสารบั
่ ญเรื่ อง อานคํ ่ านํา ให้ทราบ
จุดมุ่งหมายของหนังสื อ ตั้ งจุดประสงค์ของการอานจะอานเพื ่ ่ ่อความเพลิดเพลินหรื ออานเพื ่ ่อหาความรู้ วาง

แผนการอานโดยอานหนั ่ ่
งสื อตอนใดตอนห นึ่ งวาความยากงายอยางไร ่ ่ หนังสื อมี ความยากมากน้อยเพียงใด
รู ปแบบของหนังสื อเป็ นอยางไร ่ เหมาะกบผู ั อานประเภท
้่ ใด เดาความวาเป็ ่ นเรื่ องเกยวกบอะไร
ี่ ั เตรี ยมสมุ ด
ดินสอ สําหรับจดบันทึกข้อความหรื อเนื้ อเรื่ องที่สาํ คัญขณะอาน ่
๒. การอ่ าน ผูอ้ ่านจะอานหนั ่ งสื อให้ตลอดเลมหรื ่ อเฉพาะตอนที่ตอ้ งการอาน ่ ขณะอานผู ่ อ้ ่านจะใช้
ความรู ้จากการอานคํ ่ า ความหมายของคํามาใช้ในการอาน ่ รวมทั้ งการรู้จกั แบงวรรคตอนด้
่ ่ วจะมี
วย การอานเร็
่ ่ ผอู ้ านเข้
สวนชวยให้ ่ าใจเรื่ องได้ดีกวาผู ่ อ้ านช้
่ า ซึ่ งจะสะกดคําอานหรื ่ ่ อนไปย้อนมา ผูอ้ ่านจะใช้บริ บทหรื อ
ออานย้

คําแวดล้อมชวยในการตี ความหมายของคําเพื่อทําความเข้าใจเรื่ องที่อาน ่
๓. การแสดงความคิดเห็น ผูอ้ านจะจดบั ่ นทึกข้อความที่มีความสําคัญ หรื อเขียนแสดง ความคิดเห็น
ตีความข้อความที่อ่าน อานซํ ่ ้ าในตอนที่ไมเข้ ่ าใจเพื่อทําความเข้าใจให้ถกู ต้อง ขยายความคิดจากการอาน ่
จับคู่กบเพื
ั ่อนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตั้ งข้อสังเกตจากเรื่ องที่อ่าน ถ้าเป็ นการอานบทกลอนจะต้ ่ องอาน ่
ทํานองเสนาะดังๆ เพื่อฟังเสี ยงการอานและเกดจิ ่ ิ นตนาการ
๔. การอ่ านสํ ารวจ ผูอ้ ่านจะอานซํ ่ ้ าโดยเลือกอานตอนใดตอนหนึ
่ ่ ง ตรวจสอบคําและภาษา ที่ใช้
สํารวจโครงเรื่ องของหนังสื อเปรี ยบเทียบหนังสื อที่อ่านกบหนั ั งสื อที่เคยอาน ่ สํารวจและเชื่อมโยงเหตุการณ์ใน
เรื่ องและการลําดับเรื่ อง และสํารวจคําสําคัญที่ใช้ในหนังสื อ
๕. การขยายความคิด ผูอ้ ่านจะสะท้อนความเข้าใจในการอาน ่ บันทึ กข้อคิดเห็ น คุ ณคาของเรื ่ ่ อง
เชื่อมโยงเรื่ องราวในเรื่ องกบชี ั วิตจริ ง ความรู้สึกจากการอาน ่ จัดทําโครงงานหลักการอาน ่ เชน่ วาดภาพ เขียน
บทละคร เขียนบันทึกรายงานการอาน ่ อานเรื่ ่ องอื่นๆ ที่ผเู้ ขียนคนเดียวกนแตง ั ่ อานเรื ่ ่ องเพิ่มเติม เรื่ องที่เกยวโยง
ี่
กบเรืั ่ องที่อาน ่ เพื่อให้ได้ความรู้ที่ชดั เจนและกว้างขวางขึ้ น

การเขียนเชิงสร้ างสรรค์
การเขียนเชิ งสร้างสรรค์เป็ นการเขียนโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์ และจิ นตนาการในการเขียน เชน่
การเขียนเรี ยงความ นิ ทาน เรื่ องสั้ น นวนิ ยาย และบทร้ อยกรอง การเขียนเชิ งสร้างสรรค์ผูเ้ ขีย นจะต้อ งมี
ความคิ ดดี มี จินตนาการดี มี คลังคําอยาง่ หลากหลาย สามารถนําคํามาใช้ ในการเขียน ต้องใช้เทคนิ ค
่ สละสลวย
การเขียน และใช้ถอ้ ยคําอยาง

การดู
การดูเป็ นการรับสารจากสื่ อภาพและเสี ยง และแสดงทรรศนะได้จากการรับรู้สาร ตีความ แปลความ
่ จากสื่ อ เชน่ การดูโทรทัศน์ การดูคอมพิวเตอร์ การดูละคร การดูภาพยนตร์ การดู
วิเคราะห์ และประเมินคุณคาสาร
20

หนังสื อการ์ ตูน (แม้ไมมี่ เสี ยงแตมี่ ถอ้ ยคําอานแทนเสี


่ ยงพูด) ผูด้ ูจะต้องรั บรู้ สาร จากการดูและนํามาวิเคราะห์
ตีความ และประเมินคุณคาของสารที ่ ่เป็ นเนื้ อเรื่ องโดยใช้หลักการพิจารณาวรรณคดีหรื อการวิเคราะห์วรรณคดี
เบื้ องต้น เชน่ แนวคิดของเรื่ อง ฉากที่ประกอบเรื่ องสมเหตุสมผล กริิ ยาทาทาง ่ และการแสดงออกของตัวละครมี
ความสมจริ งกบบทบาทั โครงเรื่ อง เพลง แสง สี เสี ยง ที่ ใช้ประกอบการแสดงให้อารมณ์แกผู่ ด้ ูสมจริ งและ
สอดคล้องกบยุ ั คสมัยของเหตุการณ์ที่จาํ ลองสู่ บทละคร คุณคาทางจริ ่ ่
ยธรรม คุณธรรม และคุณคาทางสั งคมที่มี
อิทธิ พลตอผู่ ด้ ูหรื อผูช้ ม ถ้าเป็ นการดูข่าวและเหตุการณ์ หรื อการอภิปราย การใช้ความรู้หรื อเรื่ องที่เป็ นสารคดี
การโฆษณาทางสื่ อจะต้องพิจารณาเนื้ อหาสาระวาสมควรเชื ่ ่ อถื อได้หรื อไม่ เป็ นการโฆษณาชวนเชื่ อหรื อไม่
ความคิ ดสําคัญและมี อิทธิ พลตอการเรี ่ ยนรู ้ มาก และการดูละครเวที ละครโทรทัศน์ ดูข่าวทางโทรทัศน์จะเป็ น
ประโยชน์ได้รับความสนุกสนาน ต้องดูและวิเคราะห์ ประเมินคา่ สามารถแสดงทรรศนะของตนได้อยางมี ่ เหตุผล

การตีความ
การตีความเป็ นการใช้ความรู้และประสบการณ์ของผูอ้ ่านและการใช้บริ บท ได้แก่ คําที่แวดล้อมข้อความ

ทําความเข้าใจข้อความหรื อกาหนดความหมายของคํ าให้ถกู ต้อง
พจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ความหมายวา่ การตี ความหมาย ชี้ หรื อกาหนด ํ
ความหมาย ให้ความหมายหรื ออธิบาย ใช้หรื อปรับให้เข้าใจเจตนา และความมุ่งหมายเพื่อความถูกต้อง

การเปลีย่ นแปลงของภาษา
่ การเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา คําคําหนึ่ งในสมัยหนึ่ งเขียนอยางหนึ
ภาษายอมมี ่ ่ ง อีกสมัยหนึ่ งเขียนอีก

อยางหนึ ่ ง คําวา่ ประเทศ แตเดิ่ มเขียน ประเทษ คําวา่ ปั กษ์ใต้ แตเดิ
่ มเขียน ปั กใต้ ในปั จจุบนั เขียน
่ ่ ยน ลุ่มฦก ภาษาจึงมีการเปลี่ยนแปลง ทั้ งความหมายและการเขียน บางครั้ งคํา
ปั กษ์ใต้ คําวา่ ลุ่มลึก แตกอนเขี
บางคํา เชน่ คําวา่ หลอน ่ เป็ นคําสรรพนามแสดงถึงคําพูด สรรพนามบุรุษที่ ๓ ที่เป็ นคําสุ ภาพ แตเดี
่ ๋ยวนี้ คาํ วา่
หลอน ่ มีความหมายในเชิงดูแคลน เป็ นต้น

การสร้ างสรรค์
การสร้ างสรรค์ คือ การรู ้ จกั เลือกความรู้ ประสบการณ์ที่มีอยู่เดิ มมาเป็ นพื้ นฐานในการสร้ างความรู้
ความคิดใหม่ หรื อสิ่ งแปลกใหมที่ ่ มีคุณภาพและมี ประสิ ทธิ ภาพสู งกวาเดิ ่ ม บุคคลที่ จะมี ความสามารถในการ
สร้างสรรค์จะต้องเป็ นบุคคลที่มีความคิดอิสระอยูเ่ สมอ มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง มองโลกในแงดี่ คิดไตรตรอง ่
ไมตั่ ดสิ นใจสิ่ งใดงายๆ
่ การสร้างสรรค์ของมนุษย์จะเกยวเนื ี่ ่องกนกบความคิ
ั ั ด การพูด การเขียน และการกระทํา
เชิงสร้างสรรค์ ซึ่ งจะต้องมีการคิดเชิงสร้างสรรค์เป็ นพื้นฐาน
ความคิดเชิงสร้างสรรค์เป็ นความคิดที่พฒั นามาจากความรู้และประสบการณ์เดิม ซึ่ งเป็ นปั จจัยพื้นฐาน
ของการพูด การเขียน และการกระทําเชิงสร้างสรรค์
การพูดและการเขียนเชิ งสร้ างสรรค์เป็ นการแสดงออกทางภาษาที่ใช้ภาษาขัดเกลาให้ไพเราะ งดงาม
เหมาะสม ถูกต้องตามเนื้ อหาที่พดู และเขียน
การกระทําเชิ ง สร้ า งสรรค์เป็ นการกระทําที่ ไ มซํ่ ้ าแบบเดิมและคิดค้นใหมแปลกไปจากเดิ
่ ม และเป็
ประโยชน์ที่สูงขึ้ น
21

ข้ อมลูสารสนเทศ
ข้อ มู ล สารสนเทศ หมายถึ ง เรื่ อ งราว ข้อ เท็จ จริ ง ข้อ มู ล หรื อ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส ามารถ สื่ อ
ความหมายด้วยการพูดบอกเลา่ บันทึกเป็ นเอกสาร รายงาน หนังสื อ แผนที่ แผนภาพ ภาพถาย ่ บันทึ กด้วย
็ ่ องราวตางๆ
เสี ยงและภาพ บันทึกด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นการเกบเรื ่ บันทึกไว้เป็ นหลักฐานด้วยวิธีต่างๆ

ความหมายของคํา
คําที่ใช้ในการติดตอสื่ ่ อสารมีความหมายแบงได้
่ เป็ น ๓ ลักษณะ คือ

๑. ความหมายโดยตรง เป็ นความหมายที่ ใ ช้พูด จากนตรงตามความหมาย คํา หนึ่ งๆ นั้ น อาจมี
ความหมายได้หลายความหมาย เชน่ คําวา่ กา อาจมีความหมายถึง ภาชนะใสนํ ่ ้ า หรื ออาจหมายถึง นกชนิ ดหนึ่ ง
ตัวสี ดาํ ร้อง กา กา เป็ นความหมายโดยตรง
๒. ความหมายแฝง คําอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มักเป็ นความหมายเกยวกบ ี่ ั
ความรู ้สึก เชน่ คําวา่ ขี้ เหนียว กบั ประหยัด หมายถึง ไมใช้
่ จ่ายอยางสุ
่ รุ่ ยสุ ร่ าย เป็ นความหมายตรง แตความรู่ ้สึก
่ ั ประหยัดเป็ นสิ่ งดี แตขี่ ้ เหนียวเป็ นสิ่ งไมดี่
ตางกน
๓. ความหมายในบริ บท คําบางคํามีความหมายตรง เมื่อรวมกบคํ ่ ั าอื่นจะมีความหมายเพิ่มเติมกว้างขึ้ น
หรื อแคบลงได้ เชน่ คําวา่ ดี เด็กดี หมายถึง วานอนสอนงาย
่ ่ เสี ยงดี หมายถึง ไพเราะ ดินสอดี หมายถึง เขียน
ได้ดี สุ ขภาพดี หมายถึง ไมมี่ โรค ความหมายบริ บทเป็ นความหมายเชนเดี ่ ยวกบความหมายแฝง

คณค่
ุ าของงานประพันธ์
เมื่ อ ผูอ้ ่ านอานวรรณคดี
่ ห รื อ วรรณกรรมแล้ว จะต้อ งประเมิ น งานประพัน ธ์ ให้เห็ น คุ ณ คาของงาน ่
ประพันธ์ ทําให้ผอู้ ่านอานอยางสนุ่ ่ ่
ก และได้รับประโยชน์จาการอานงานประพั ่
นธ์ คุณคาของงานประพั นธ์
แบงได้่ เป็ น ๒ ประการ คือ
๑. คณคุ่ าด้ านวรรณศิลป์ ถ้าอานบทร้ ่ อยกรองกจะพิ็ จารณากลวิธีการแตง่ การเลือกเฟ้ นถ้อยคํามาใช้ได้
ไพเราะ มีความคิดสร้างสรรค์ และให้ความสะเทือนอารมณ์ ถ้าเป็ นบทร้อยแกวประเภทสารคดี ้ รู ปแบบการ
เขียนจะเหมาะสมกบเนื ่
ั ้ อเรื่ อง วิธีการนําเสนอนาสนใจ เนื้ อหามีความถูกต้อง ใช้ภาษาสละสลวยชัดเจน การ
นําเสนอมีความคิดสร้างสรรค์ ถ้าเป็ นร้อยแกวประเภทบั ้ นเทิงคดี องค์ประกอบของเรื่ องไมวา ่ ่ เรื่ องสั้ น นวนิยาย
นิ ทาน จะมีแกนเรื ่ ่ อง โครงเรื่ อง ตัว ละครมี ค วามสัม พัน ธ์ ก ัน กลวิธี ก ารแตงแปลกใหม่ ่

นาสนใจ ปมขัด แย้ง ในการแตงสร้ ่ า งความ สะเทือนอารมณ์ การใช้ถอ้ ยคําสร้างภาพได้ชดั เจน คําพูดใน
เรื่ องเหมาะสมกบบุ ั คลิกของ ตัวละครมีความคิดสร้างสรรค์เกยวกบชี ี่ ั วติ และสังคม
๒. คณค่ ุ าด้ านสั งคม เป็ นคุณคาทางด้ ่ านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ศิลปะ ชีวิตความ
เป็ นอยูข่ องมนุษย์ และคุณคาทางจริ ่ ยธรรม คุณคาด้ ่ านสังคม เป็ นคุณคาที ่ ่ผอู้ ่านจะ เข้าใจชีวิตทั้ งในโลกทัศน์
22

่ ี่ องกบการ
และชี วทัศน์ เข้าใจการดําเนิ นชีวิตและเข้าใจเพื่อนมนุ ษย์ดีข้ ึน เนื้ อหายอมเกยวข้ ั ่ จรรโลงใจแก่
ชวย
่ ชวยพั
ผูอ้ าน ่ ฒนาสังคม ชวยอนุ
่ ่
รักษ์สิ่ งมีคุณคาของชาติ ่ ยมอันดีงาม
บา้ นเมือง และสนับสนุนคานิ

โครงงาน
โครงงานเป็ นการจัดการเรี ยนรู้ วิธีหนึ่ งที่ ส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนเรี ยนด้วยการค้นคว้า ลงมื อปฏิ บตั ิ จริ ง ใน
ลักษณะของการสํารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ผูเ้ รี ยนจะรวบรวมข้อมูล นํามาวิเคราะห์ ทดสอบเพื่อ
แกปั้ ญหาข้องใจ ผูเ้ รี ยนจะนําความรู้จากชั้ นเรี ยนมาบูรณาการในการแกปั้ ญหา ค้นหาคําตอบ เป็ นกระบวนการ
ค้นพบนําไปสู่ การเรี ยนรู้ ผูเ้ รี ยนจะเกดทั
ิ กษะการทํางานรวมกบผู ่ ั อ้ ื่น ทักษะการจัดการ ผูส้ อนจะเข้าใจผูเ้ รี ยน
เห็นรู ปแบบการเรี ยนรู้ การคิด วิธีการทํางานของผูเ้ รี ยน จากการสังเกตการทํางานของผูเ้ รี ยน
การเรี ย นแบบโครงงานเป็ นการเรี ย นแบบศึ ก ษาค้นคว้า วิธี ก ารหนึ่ ง แต่ เป็ นการศึ กษาค้น คว้าที่ ใ ช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในการแกปั้ ญหา เป็ นการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนมีเหตุผล สรุ ปเรื่ องราวอยาง ่
มีกฎเกณฑ์ ทํางานอยางมี ่ ระบบ การเรี ยนแบบโครงงานไมใชการศึ ่ ่ กษาค้นคว้าจัดทํารายงานเพียงอยางเดี ่ ยว ต้อง
มีการวิเคราะห์ขอ้ มูลและมีการสรุ ปผล

ทักษะการสื่ อสาร
ทักษะการสื่ อสาร ได้แก่ ทักษะการพูด การฟั ง การอาน ่ และการเขียน ซึ่ งเป็ นเครื่ องมือของการสง่
สารและการรับสาร การสงสาร ่ ่
ได้แก่ การสงความรู ้ ความเชื่อ ความคิด ความรู ้สึกด้วยการพูด และการเขียน

สวนการรั บสาร ได้แก่ การรับความรู้ ความเชื่อ ความคิด ด้วยการอานและการฟั
่ ง การฝึ กทักษะการสื่ อสารจึง
เป็ นการฝึ กทักษะการพูด การฟัง การอาน่ และการเขียน ให้สามารถ รับสารและสงสารอยางมี่ ่ ประสิ ทธิภาพ

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาเป็ นคุณสมบัติของภาษาที่สาํ คัญ มีคุณสมบัติพอสรุ ปได้ คือ ประการ ที่หนึ่ง ทุก
่ นระบบ ประการที่
ภาษาจะประกอบด้วยเสี ยงและความหมาย โดยมีระเบียบแบบแผนหรื อกฎเกณฑ์ในการใช้ อยางเป็
สอง ภาษามี พลังในการงอกงามมิ รู้ สิ้ นสุ ด หมายถึ ง มนุ ษ ย์ส ามารถใช้ภาษา สื่ อ ความหมายได้โ ดยไมสิ่ ้ นสุ ด
ประการที่สาม ภาษาเป็ นเรื่ องของการใช้สัญลักษณ์ ร่ วมกนหรื
ั อสมมติ ร่ วมกนั และมี การรั บรู้ สัญลักษณ์หรื อ
สมมติร่ วมกนั เพื่อสร้างความเข้าใจตรงกนั ประการที่สี่ ่ ่ อสาร ไม่
ภาษาสามารถใช้ภาษาพูดในการติดตอสื
ั ส้ ่ งสาร ไมวาหญิ
จํากดเพศของผู ่ ่ ง ชาย เด็ก ผูใ้ หญ่ สามารถผลัดกนในการสงสารและรั
ั ่ บสารได้ ประการที่ห้า

ภาษาพูดยอมใช้ ได้ท้ งั ในปั จจุ บนั อดี ต และอนาคต ไมจํ่ ากดเวลาและสถานที
ั ่ ประการที่หก ภาษาเป็ น

เครื่ องมือการถายทอดวั ิ
ฒนธรรม และวิชาความรู้นานาประการ ทําให้เกดการเปลี ่ยนแปลงพฤติกรรมและการ
สร้างสรรค์ส่ิ งใหม่

แนวคิดในวรรณกรรม
แนวคิดในวรรณกรรมหรื อแนวเรื่ องในวรรณกรรมเป็ นความคิดสําคัญในการผูกเรื่ องให้ ดําเนินเรื่ องไป
ตามแนวคิด หรื อเป็ นความคิ ดที่ สอดแทรกในเรื่ องใหญ่ แนวคิดยอมเกยวข้่ ี่ องกบมนุ
ั ษย์และสังคม เป็ นสารที่
ผูเ้ ขียนสงให้ ่
่ ผอู้ ่าน เชน่ ความดียอมชนะความชั ว่ ทําดีได้ดีทาํ ชัว่ ได้ชว่ั ความยุติธรรมทําให้โลกสันติสุข
23

คนเราพ้นความตายไปไมได้ ่ เป็ นต้น ฉะนั้ นแนวคิดเป็ นสารที่ ผูเ้ ขี ยนต้องการสงให้


่ ผูอ้ ื่ นทราบ เชน่ ความดี
ความยุติธรรม ความรัก เป็ นต้น

บริบท
บริ บทเป็ นคําที่แวดล้อมข้อความที่อ่าน ผูอ้ ่านจะใช้ความรู ้สึกและประสบการณ์มากาหนดความหมาย


หรื อความเข้าใจ โดยนําคําแวดล้อมมาชวยประกอบความรู ้และประสบการณ์ เพื่อทํา ความเข้าใจหรื อความหมาย
ของคํา

พลังของภาษา
ภาษาเป็ นเครื่ องมื อในการดํารงชี วิตของมนุ ษย์ มนุ ษย์จึงสามารถเรี ยนรู้ ภาษาเพื่อการดํารงชี วิต เป็ น
เครื่ องมือของการสื่ อสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได้ ภาษาชวยให้ ่ คนรู้จกั คิดและแสดงออกของความคิด
ด้วยการพูด การเขียน และการกระทําซึ่ งเป็ นผลจากการคิด ถ้าไมมี่ ภาษา คนจะคิดไมได้ ่ ถ้าคนมีภาษาน้อย มี

คําศัพท์นอ้ ย ความคิดของคนกจะแคบไมกว้ ่ างไกล คนที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีดว้ ย คนจะใช้ความคิดและ
แสดงออกทางความคิดเป็ นภาษา ซึ่ งสงผลไปสู ่ ่ การกระทํา ผลของการกระทําสงผลไปสู ่ ่ ความคิด ซึ่ งเป็ น
พลังของภาษา ภาษาจึ งมี บทบาทสําคัญตอมนุ ่ ษย์ ชวยให้ ่ ่ ารงสังคมให้มนุ ษย์อยู่
มนุ ษย์พฒั นาความคิด ชวยดํ
่ ั
รวมกนในสั ่
งคมอยางสงบสุ ข มีไมตรี ต่อกนั ชวยเหลื่ ั วยการใช้ภาษาติดตอสื
อกนด้ ่ ่ อสารกนั ชวยให้
่ คน
ปฏิบตั ิตนตามกฎเกณฑ์ของสังคม ภาษาชวยให้ ่ มนุษย์เกดการพั ิ ฒนา ใช้ภาษาในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การ
อภิปรายโต้แย้ง เพื่อนําไปสู่ ผลสรุ ป มนุ ษย์ใช้ภาษาในการเรี ยนรู้ จดบันทึ กความรู้ แสวงหาความรู้ และชวย ่

จรรโลงใจ ด้วยการอานบทกลอน ร้องเพลง ภาษายังมีพลังในตัวของมันเอง เพราะภาพยอมประกอบด้ ่ วยเสี ยง
และความหมาย การใช้ภาษาใช้ถอ้ ยคําทําให้เกดความรู ิ ่ ร้ ับสาร ให้เกดิความจงเกลียดจงชังหรื อเกดิ ความ
้สึกตอผู
่ ิ
ชื่นชอบ ความรักยอมเกดจากภาษาทั ้ งสิ้ น ที่นาํ ไปสู่ ผลสรุ ปที่มีประสิ ทธิภาพ

ภาษาถิ่น
ภาษาถิ่นเป็ นภาษาพื้ นเมืองหรื อภาษาที่ใช้ในท้องถิ่น ซึ่ งเป็ นภาษาดั้ งเดิมของชาวพื้นบ้านที่ใช้พดู จากนั
ในหมู่เหลาของตน
่ ่ ั
บางครั้ งจะใช้คาํ ที่มีความหมายตางกนไปเฉพาะถิ ั นคําเดียว
่น บางครั้ งคําที่ใช้พูดจากนเป็
่ ั วยังใช้สาํ เนียงที่ต่างกนั จึงมีคาํ กลาวที
ความหมายตางกนแล้ ่ ่วา่ “สําเนียง บอกภาษา” สําเนียงจะบอกวา่เป็ น
่ ็
ภาษาอะไร และผูพ้ ดู เป็ นคนถิ่นใด อยางไรกตามภาษาถิ ่นในประเทศไทยไมวาจะเป็ ่่ นภาษาถิ่นเหนื อ ถิ่นอีสาน

ถิ่นใต้ สามารถสื่ อสารเข้าใจกนได้ เพียงแตสํ่ าเนียงแตกตางกนไปเทานั
่ ั ่ ้น

ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐานหรื อบางทีเรี ยกวา่ ภาษาไทยกลางหรื อภาษาราชการ เป็ นภาษาที่ใช้ สื่ อสารกนทั
ั ว่
ประเทศและเป็ นภาษาที่ใช้ในการเรี ยนการสอน เพื่อให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการ ในการติดตอสื ่ ่ อสารสร้าง
ความเป็ นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานกคื็ อภาษาที่ใช้กนในเมื
ั ่ ั ้ งประเทศ มีคาํ และสําเนียง
องหลวง ที่ใช้ติดตอกนทั
ภาษาที่เป็ นมาตรฐาน ต้องพูดให้ชดั ถ้อยชัดคําได้ตามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรื อภาษาไทยมาตรฐาน
24

มีความสําคัญในการสร้างความเป็ นปึ กแผน่ วรรณคดีมีการถายทอดกนมาเป็


่ ั นวรรณคดีประจําชาติจะใช้ภาษาที่
เป็ นภาษาไทยมาตรฐานในการสร้ างสรรค์งานประพันธ์ ทําให้วรรณคดี เป็ นเครื่ องมื อในการศึ กษาภาษาไทย
มาตรฐานได้

ภาษาพดกั
ู บภาษาเขียน
ภาษาพูดเป็ นภาษาที่ ใช้พูดจากนั ไมเป็ ่ นแบบแผนภาษา ไมพิ่ ถีพิถนั ในการใช้แตใช้ ่ สื่อสารกนได้ ั ดี

สร้างความรู้สึกที่เป็ นกนเอง ใช้ในหมู่เพื่อนฝูง ในครอบครัว และติดตอสื ่ ่ อสารกนอยางไมเป็
ั ่ ่ นทางการ การใช้

ภาษาพูดจะใช้ภาษาที่เป็ นกนเองและสุ ภาพ ขณะเดียวกนกคํั ็ านึ งวาพู ่ ดกบบุ
ั คคลที่มีฐานะตางกน่ ั การใช้ถอ้ ยคําก็
่ ั
ตางกนไปด้ วย ไมคํ่ านึงถึงหลักภาษาหรื อระเบียบแบบแผนการใช้ภาษามากนัก

สวนภาษาเขี ่ ดตอการใช้
ยนเป็ นภาษาที่ใช้เครงครั ่ ถอ้ ยคํา และคํานึ งถึงหลักภาษา เพื่อใช้ในการสื่ อสาร
ให้ถูก ต้อ งและใช้ใ นการเขี ย นมากกวาพู ่ ด ต้อ งใช้ถ ้อ ยคํา ที่ สุ ภ าพ เขี ย นให้เ ป็ นประโยค เลื อ กใช้ถ อ้ ยคํา ที่

เหมาะสมกบสถานการณ์ ในการสื่ อสาร เป็ นภาษาที่ใช้ในพิธีการตางๆ ่ เชน่ การกลาวรายงาน
่ ่
กลาวปราศรั ย
่ ดี การประชุมอภิปราย การปาฐกถา จะระมัดระวังการใช้คาํ ที่ไมจํ่ าเป็ นหรื อ คําฟุ่ มเฟื อย หรื อการเลนคํ
กลาวสดุ ่ า
จนกลายเป็ นการพูดหรื อเขียนเลนๆ ่

ภมิู ปัญญาท้ องถิ่น


ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) บางครั้ งเรี ยกวา่ ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็ นกระบวนทัศน์ (Paradigm)

ของคนในท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์ระหวางคนกบคน ั คนกบธรรมชาติ
ั เพื่อความอยูร่ อด แต่คนในท้องถิ่นจะสร้าง
ความรู ้จากประสบการณ์และจากการปฏิบตั ิ เป็ นความรู้ ความคิด ที่นาํ มาใช้ในท้องถิ่นของตนเพื่อการดํารงชีวิตที่

เหมาะสมและสอดคล้องกบธรรมชาติ ี่ ั
ผูร้ ู้จึงกลายเป็ น ปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้เกยวกบภาษา ยารักษาโรค
และการดําเนินชีวติ ในหมู่บา้ นอยางสงบสุ
่ ข

ภมิู ปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาเป็ นความรู้ทางภาษา วรรณกรรมท้องถิ่น บทเพลง สุ ภาษิต คําพังเพยในแตละ ่
ท้องถิ่น ที่ได้ใช้ภาษาในการสร้างสรรค์ผลงานตางๆ ่ เพื่อใช้ประโยชน์ในกจกรรมทางสั
ิ งคมที่ต่างกนั โดยนํา
ภูมิปัญญาทางภาษาในการสั่งสอนอบรมพิธีการตางๆ ่ การบันเทิงหรื อการละเลน่ มีการแต่งเป็ นคําประพันธ์
ในรู ปแบบตางๆ่ ทั้ งนิ ทาน นิ ทานปรั มปรา ตํานาน บทเพลง บทร้องเลน่ บทเหกลอม
่ ่ บทสวดตางๆ ่ บททํา

ขวัญ เพื่อประโยชน์ทางสังคมและเป็ นสวนหนึ ่ งของวัฒนธรรมประจําถิ่น

ระดับภาษา
25


ภาษาเป็ นวัฒนธรรมที่ ค นในสังคมจะต้อ งใช้ภาษาให้ถูก ต้องกบสถาน การณ์ แ ละโอกาสที่ ใช้ภาษา

บุคคลและประชุมชน การใช้ภาษาจึงแบงออกเป็ ่ ่
นระดับของการใช้ภาษาได้หลายรู ปแบบ ตําราแตละเลมจะแบง ่
่ ั
ระดับภาษาแตกตางกนตามลั กษณะของสัมพันธภาพของบุคคลและสถานการณ์

่ บภาษาประมวลได้ดงั นี้
การแบงระดั
่ บภาษาที่เป็ นทางการและไมเป็
๑. การแบงระดั ่ นทางการ
่ นทางการหรื อภาษาที่ เป็ นแบบแผน เชน่ การใช้ภาษาในการประชุ ม ในการกลาว
๑.๑ ภาษาที่ ไมเป็ ่
สุ นทรพจน์ เป็ นต้น
่ นทางการหรื อภาษาที่ไมเป็
๑.๒ ภาษาที่ไมเป็ ่ นแบบแผน เชน่ การใช้ภาษาในการสนทนา การใช้
ภาษาในการเขียนจดหมายถึงผูค้ ุน้ เคย การใช้ภาษาในการเลาเรื ่ ่ องหรื อประสบการณ์ เป็ นต้น
๒. การแบงระดั ่ บภาษาที่เป็ นพิธีการกบระดั ั ่ นพิธีการ การแบงภาษา
บภาษาที่ไมเป็ ่ แบบนี้ เป็ นการแบง่
ภาษาตามความสัมพันธ์ระหวางบุ ่ คคลเป็ นระดับ ดังนี้
๒.๑ ภาษาระดับพิธีการ เป็ นภาษาแบบแผน
๒.๒ ภาษาระดับกงพิ ่ ึ ธีการ เป็ นภาษากงแบบแผน
่ึ
๒.๓ ภาษาระดับที่ไมเป็ ่ นพิธีการ เป็ นภาษาไมเป็ ่ นแบบแผน
๓. การแบงระดั่ บภาษาตามสภาพแวดล้อม โดยแบงระดั ่ บภาษาในระดับยอยเป็ ่ น ๕ ระดับ คือ
๓.๑ ภาษาระดับพิธีการ เชน่ การกลาวปราศรั ่ ่ ดงาน
ย การกลาวเปิ
๓.๒ ภาษาระดับทางการ เชน่ การรายงาน การอภิปราย
่ึ
๓.๓ ภาษาระดับกงทางการ เชน่ การประชุมอภิปราย การปาฐกถา
๓.๔ ภาษาระดับการสนทนา เชน่ การสนทนากบบุ ั คคลอยางเป็
่ นทางการ
๓.๕ ภาษาระดับกนเอง ั เชน่ การสนทนาพูดคุยในหมู่เพื่อนฝูงในครอบครัว

วิจารณญาณ
่ เ หตุ ผล การมี
วิจ ารณญาณ หมายถึ ง การใช้ความรู ้ ความคิ ด ทําความเข้าใจเรื่ องใดเรื่ อ งหนึ่ งอยางมี
วิจารณญาณต้องอาศัยประสบการณ์ในการพิจารณาตัดสิ นสารด้วยความรอบคอบ และอยางชาญ่ ฉลาดเป็ นเหตุเป็ นผล

สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
หลักสู ตรสถานศึกษาขั้ นพื้ นฐานโรงเรี ยนโคกสี พิทยาสรรพ์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้ น
พื้นฐาน มุ่งให้ผเู้ รี ยนเกดสมรรถนะสํ
ิ าคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและสงสาร ่ มีวฒั นธรรมในการใช้ภาษา

ถายทอดความคิ ่
ด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลขาวสารและ
ประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ งการเจรจาตอรองเพื
่ ่อขจัดและลดปัญหา
26

ความขัดแย้งตาง ่ ๆ การเลือกรับหรื อไมรั่ บข้อมูลขาวสารด้


่ วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิ ดสังเคราะห์ การคิ ด อยาง ่
สร้างสรรค์ การคิดอยางมี ่ วิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู้หรื อสารสนเทศเพื่อ
ี่ ั
การตัดสิ นใจเกยวกบตนเองและสั ่
งคมได้อยางเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแกปั้ ญหาและอุปสรรคตาง ่ ๆ ที่เผชิญ
่ กต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
ได้อยางถู
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกนและแกไขปั
ั ้ ญหา

และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้ นตอตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการตาง ่ ๆ ไปใช้ในการดําเนิน
่ ่ ่อง การทํางาน และการอยูร่ ่ วมกนในสั
ชีวิตประจําวัน การเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู้อยางตอเนื ั งคมด้วยการสร้าง
เสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหวา่งบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งตาง ่ ๆ อยางเหมาะสม
่ การปรับตัวให้ทนั

กบการเปลี ่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึ่ งประสงค์ที่ส่ งผลกระทบ

ตอตนเองและผู อ้ ื่น
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ นตาง ่ ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การทํางาน การ
แกปั้ ญหาอยางสร้
่ างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

You might also like