You are on page 1of 260

ขอบคุ ณ ที่ เ ลื อ กใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ข องแคนนอน

EOS DIGITAL 550D เปนกลองดิจติ อลแบบ DSLR ทีม่ คี ณ


ุ สมบัตดิ เี ยีย่ ม ใชเซนเซอร CMOS
ความละเอียด 18.0 ลานพิกเซล ประมวลผลดวยโพรเซสเซอร ‘DiGiC 4’ มีจุดโฟกัส 9
จุด จับภาพใหคมชัดไดอยางแมนยำและรวดเร็ว ถายภาพตอเนื่องไดเร็วถึง 3.7 เฟรม
ตอวินาที มีระบบ Live View และสามารถถายภาพยนตรคณ ุ ภาพสูงระดับ Full HD(Full
High-Definition)
กลองรนุ นีย้ งั เพียบพรอมดวยคุณสมบัตทิ มี่ ปี ระโยชนตอ การถายภาพอีกมากมาย พรอม
ดวยระบบอุปกรณเสริมพิเศษจากระบบ EOS ที่ตอบสนองตอการใชงานถายภาพได
อยางหลากหลายรูปแบบ

ทดลองใชเพือ่ สรางความคนุ เคย


จุดเดนประการหนึ่งของกลองดิจิตอลก็คือการเห็นภาพที่ถายแลวไดในทันที ดังนั้นเมื่อคุณกำลัง
ทำความเขาใจกับกลองดวยการอานคมู อื ฉบับนี้ คุณสามารถทดลองปรับตัง้ ควบคุม และทดลองถาย
ภาพตามทีค่ มู อื นีแ้ นะนำเพือ่ ดูผลไดในทันที ซึง่ จะชวยใหคณ
ุ เขาใจการใชกลองไดเร็วขึน้ อีกมาก
อยางไรก็ตาม เพือ่ ปองกันความผิดพลาดในการนำกลองไปถายภาพจริงและอุบตั เิ หตุ
อืน่ ๆ ควรอาน “คำเตือนเกีย่ วกับความปลอดภัย” (น.233, 234) และ “ขอควรระมัดระวังในการใช”
(น.12,13) กอนนำกลองไปใช

ทดลองถายภาพกอนการใชจริง และขอบเขตของความรับผิดชอบ
หลังจากถายภาพ ดูภาพ และตรวจสอบแลววาภาพไดถกู บันทึกลงในการดแลว หากหลังจากนัน้
กลองหรือการดบันทึกขอมูลเกิดความบกพรอง และไมสามารถบันทึกภาพลงในการดได หรือไม
สามารถถายโอนภาพจากการดไปสคู อมพิวเตอรได แคนนอนไมอาจรับผิดชอบตอความเสียหายใดๆ
เกีย่ วกับภาพและความไมสะดวกทีเ่ กิดขึน้

ลิขสิทธิ์
กฎหมายเกีย่ วกับลิขสิทธิใ์ นบางประเทศอาจมีขอ หามเกีย่ วกับการถายภาพคน ตลอดจนสิง่ ตางๆ ที่
เปนสิทธิสว นบุคคลหรือลิขสิทธิท์ างปญญา เชน การถายภาพผลงานสิง่ ประดิษฐ การจัดตบแตง
สถานที่ ภาพ ฯลฯ ซึง่ ขอหามนีอ้ าจรวมไปถึงการถายภาพเพียงเพือ่ ความสุขสวนตัวเทานัน้

กลองรนุ นีใ้ ชไดเฉพาะการดชนิด SD, SDHC และ SDXC ซึง่ คมู อื จะอางถึงการด
เหลานีด้ ว ยคำวา “การด” เทานัน้
* กลองรนุ นีไ้ มมกี ารดมาใหในกลองบรรจุ โปรดซือ้ การดตางหาก
µรวจสอบอุปกรณ
กอนนำกลองออกมาใช ควรตรวจสอบภายในกลองวามีอุปกรณครบถวนตามรายการ
ตอไปนี้หรือไม และหากมีการสูญหาย ใหติดตอกับตัวแทนจำหนายที่ทานซื้อกลองมา

Battery Pack Battery Charger


ตัวกลอง LP-E8 LC-E8/LC-E8E*
(พรอมยางครอบชอง (พรอมฝาปด)
เล็งภาพและฝาปด)

สายคลองคอ สายตอเชื่อม สายสัญญาณวิดโี อ


EW-100DB III AVC-DC400ST

EOS DIGITAL CD-ROM คมู อื การใชกลอง


Solution Disk คูมือการใชซอฟทแวร (หนังสือ)
(ซอฟทแวร)

แทนชารจรนุ LC-E8 หรือรนุ LC-E8E เปนอุปกรณทจี่ ดั มาให (ถาเปนรนุ LC-E8E จะมีสาย


ไฟมาให)
ถาซื้อชุด KIT(กลองพรอมเลนส) เลนสจะถูกใสรวมอยูในกลอง
รุนของเลนสจะขึ้นอยูกับชุด KIT ที่ซื้อ ซึ่งจะมีคูมือสำหรับเลนสแนบมาดวย
โปรดตรวจสอบใหดีวาอุปกรณเหลานี้มีอยูครบถวน
ÊÑญลักษณและเครือ่ งหมายทีใ่ ชในคมู อื
สัญลักษณในคูมือฉบับนี้
หมายถึง วงแหวนควบคุมหลัก
หมายถึง ปุมเลือกแบบทิศทาง
หมายถึง ปุมยืนยันการปรับตั้ง
หมายถึง ระยะเวลาในการตอบสนองของฟงกชั่น
ภายหลังจากที่ยกนิ้วออกจากปุมปรับฟงกชั่นนั้นๆ
เปนเวลา 4, 6, 10 และ 16 วินาที
* ในคูมือฉบับนี้ สัญลักษณและเครื่องหมายที่เปนตัวแทนของปุม วงแหวนควบคุม และการปรับ
ตั้งตางๆ จะมีความเกี่ยวของกับสัญลักษณและเครื่องหมายที่อยูบนตัวกลองและที่ปรากฏในจอ
LCD
แสดงฟงกชั่นที่สามารถปรับตั้งไดดวยการกดปุม
ซึ่งผูใชสามารถปรับเปลี่ยนคาได
เมื่อเครื่องหมายนี้ปรากฏอยูที่มุมขวาบนของหนา หมายความวา จะปรับ
ตัง้ ฟงกชนั่ นัน้ ไดเมือ่ ถายภาพดวยโปรแกรมใน Creative Zone (น.20)
น มีขอมูลเพิ่มเติมแสดงอยูในหนาที่อางอิงถึง
คำแนะนำและเคล็ดลับเพื่อใหถายภาพไดดีขึ้น
คำแนะนำในการแกไขปญหา
คำเตือน เพื่อชวยปองกันปญหาในการถายภาพ
ขอมูลเพิ่มเติม

สมมติฐาน
การอธิบายวิธปี รับตัง้ ควบคุมการทำงาน ตัง้ อยบู นสมมติฐานวา กลองไดเปดสวิตซไวที่
ตำแหนง แลว (น.27)
การปรับตัง้ ทุกๆ ระบบในเมนูและ Custom Functions ไดถกู ตัง้ ไวทคี่ า มาตรฐาน
(ไมมกี ารเปลีย่ นแปลงจากคาทีต่ งั้ ไวเมือ่ เปดกลองครัง้ แรก)
เพือ่ ใชภาพเปนเพียงตัวอยางในการอธิบาย รูปภาพของกลองทุกๆ ภาพทีแ่ สดงอยใู นคมู อื
จะติดเลนส EF-S 18-55mm f/3.5-5.6 IS ทัง้ หมด
ºทในคมู อื
สำหรับผใู ชทเี่ ปนนักถายภาพมือใหม บทที่ 1 และ 2 จะอธิบายวิธปี รับตัง้
ควบคุมกลองตั้งแตขั้นพื้นฐาน และวิธีใชกลองอยางถูกวิธี
บทนำ
พืน้ ฐานความเขาใจในการใชกลอง
ทำความรูจักกับกลอง
การถายภาพขั้นตนและการดูภาพที่ถายแลว
ถายภาพในรูปแบบตางๆ โดยใชระบบอัตโนมัตทิ งั้ หมด
เทคนิคการถายภาพในขั้นกาวหนา
ความรพู นื้ ฐานในการถายภาพในสถานการณตา งๆ
ความรูเพิ่มเติมในขั้นกาวหนา
เทคนิคการถายภาพในขัน้ กาวหนา
การถายภาพโดยใช ระบบ Live View
ถายภาพดวยการเล็งภาพจากจอ LCD
การถายภาพยนตร
ใชกลองอยางคลองตัว
สะดวกสบายดวยฟงกชนั่ ทีป่ รับไดในเมนู
การแสดงภาพที่ถายแลว

การพิมพ และถายโอนภาพไปยังคอมพิวเตอร
ปรับกลองใหทำงานในลักษณะที่ตองการ

อางอิง

ทายเลม : คูมือเริ่มใชกลองอยางรวดเร็ว และคูมือการใช Software


Êารบาญ
บทนำ
ตรวจสอบอุปกรณ................................................................................................................... 3
สัญลักษณและเครือ่ งหมายทีใ่ ชในคมู อื ............................................................................... 4
บทในคมู อื ................................................................................................................................ 5
สารบาญอยางยอ.................................................................................................................. 10
เรือ่ งทีค่ วรระมัดระวัง............................................................................................................ 12
เริม่ ใชกลองอยางรวดเร็ว...................................................................................................... 14
สวนตางๆ ของตัวกลอง......................................................................................................... 16
ทำความรูจักกับกลอง
การประจุไฟแบตเตอรี.......................................................................................................... 24
การใสและถอดแบตเตอรี..................................................................................................... 26
การเปดสวิตซกลอง ............................................................................................................. 27
การตัง้ วันทีแ่ ละเวลา........................................................................................................... 29
เลือกภาษา .......................................................................................................................... 30
วิธใี สและนำการดออกจากกลอง....................................................................................... 31
วิธใี สและถอดเลนส............................................................................................................. 33
เกีย่ วกับระบบ Image Stabilizer (IS) ............................................................................... 35
พืน้ ฐานการปรับควบคุมกลอง........................................................................................... 36
การใชจอภาพในการปรับตัง้ ควบคุมอยางรวดเร็ว….............................……..... 38
การปรับตัง้ ควบคุม MENU ................................................................................. 40
การฟอรแมทการด.............................................................................................................. 42
ปรับเปลีย่ นการแสดงผลของจอ LCD .............................................................................. 44
การถายภาพขัน้ เบือ้ งตน และการดูภาพทีถ่ า ยแลว
ถายภาพในแบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ...................................................................... 46
เทคนิคการถายภาพดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ.............................................. 48
ยกเลิกการทำงานของแฟลชอัตโนมัติ (Disable Flash)............................................ 49
ระบบถายภาพบุคคล (Portraits) ................................................................................ 50
ระบบถายภาพทิวทัศน (Landscapes)..................................................................... 51
ระบบถายภาพระยะใกล (Close-ups) ...................................................................... 52
ระบบถายภาพสิง่ ทีเ่ คลือ่ นที่ (Moving Subject)....................................................... 53
ระบบถายภาพบุคคลกับแสงกลางคืน (Portraits at Night)..................................... 54
สรางสรรคภาพดวยระบบอัตโนมัต.ิ ............................................................................ 55
การเลนดูภาพทีถ่ า ยแลว............................................................................................. 58
Êารบาญ

เทคนิคการถายภาพในขั้นกาวหนา
Program AE.................................................................................................................60
การปรับความไวแสง (ISO) .....................................................................................62
การใชแฟลชทีต่ ดิ ตัง้ ในตัว .............................................................................................64
การปรับเปลีย่ นระบบออโตโฟกัส (AF) .....................................................................66
การเลือกพืน้ ทีโ่ ฟกัส........................................................................................................68
การปรับภาพใหชดั โดยการปรับเอง (Manual) ......................................................69
การถายภาพแบบตอเนือ่ ง..........................................................................................70
การใชระบบหนวงเวลาถายภาพ (Self-timer).................... .....................................71
การปรับตัง้ คุณภาพและความละเอียดของภาพ...............................................................72
การเลือก Picture Style ........................................................................................75
ความรูเพิ่มเติมในขั้นกาวหนา
การถายภาพแอ็คชัน่ ...................................................................................................78
การควบคุมความชัดลึก .............................................................................................80
ตรวจสอบชวงความชัด.......................................................................................................82
บันทึกภาพดวยการปรับตัง้ เอง .....................................................................................83
ระบบปรับภาพชัดลึกอัตโนมัติ (Automatic Depth-of-Field AE).....................85
การเลือกระบบวัดแสง..................................................................................................86
การชดเชยแสง......................................................................................................87
ระบบถายภาพครอมอัตโนมัต.ิ ............................................................................................89
ปรับตัง้ คาของ Picture Style .....................................................................................91
การบันทึกคาของ Picture Style.................................................................................94
การเลือก Color Space .......................................................................................................96
ระบบล็อคคาแสง (AE Lock) .....................................................................................97
ระบบล็อคคาแสงแฟลช (FE Lock)............................................................................98
การปรับตัง้ สมดุลสีขาว (White Balance)...............................................................99
การปรับแกสมดุลสีขาว.............................................................................................101
ระบบ Auto Lighting Oprimizer.......................................................................................103
ระบบปรับแสงทีข่ อบภาพอัตโนมัต.ิ .................................................................................104
ปองกันภาพสัน่ ...................................................................................................................106
Êารบาญ

การถายภาพโดยใชระบบ Live View


การถายภาพโดยใชระบบ Live View ....................................................................... 108
ปรับตัง้ ฟงกชนั่ เพือ่ ถายภาพ .............................................................................................. 111
ปรับภาพใหชดั ดวยระบบออโตโฟกัส .............................................................................. 113
ปรับภาพใหชดั ดวยการหมุนปรับเอง .............................................................................. 120
การถายภาพยนตร
การถายภาพยนตร ………………………..............………………....………. 124
ปรับตัง้ ฟงกชนั่ ………………………………….................……………..........……130
ใชกลองอยางคลองตัว
การปรับควบคุมทีค่ ลองตัว................................................................................................ 138
ปดสัญญาณเสียงเตือน ............................................................................................... 138
เตือนความจำเรือ่ งการด.............................................................................................. 138
ตัง้ เวลาในการแสดงภาพ ........................................................................................... 138
ตัง้ เวลาปดกลองเมือ่ ไมไดใช ....................................................................................... 139
ปรับความสวางของจอ LCD ...................................................................................... 139
การตัง้ หมายเลขลำดับไฟลภาพ ..................................................................................140
หมุนภาพอัตโนมัต.ิ ........................................................................................................142
DISP. ตรวจสอบฟงกชนั่ ทีไ่ ดปรับตัง้ ไว........................................................................143
ปรับระบบและฟงกชนั่ ใหกลับสรู ะบบมาตรฐาน.......................................................144
การเปดและปดการแสดงผลของจอ LCD .................................................................146
เปลีย่ นสีของจอภาพ.....................................................................................................146
ควบคุมการทำงานของแฟลช ......................................................................................... 147
ระบบทำความสะอาดเซนเซอรอตั โนมัต.ิ ............................................................ 150
การแนบ Dust Delete Data............................................................................................. 151
ทำความสะอาดเซนเซอรโดยผใู ช ................................................................................... 153
การแสดงภาพที่ถายแลว
คนหาภาพทีต่ อ งการดวยความรวดเร็ว............................................................ 156
ขยายดูภาพ ........................................................................................................ 158
หมุนภาพ ................................................................................................................. 159
สนุกกับภาพยนตร ................................................................................................. 160
ดูภาพยนตร .......................................................................................................... 162
ตัดตอตอนตนและตอนทายของภาพยนตร ........................................................... 164
Êารบาญ
เลนภาพอัตโนมัติ (สไลดโชว) ........................................................................................... 165
ดูภาพจากจอโทรทัศน ...................................................................................................... 167
ปองกันภาพถูกลบ ................................................................................................. 170
การลบภาพ ............................................................................................................ 171
เปลีย่ นรูปแบบของการแสดงภาพ .................................................................................. 173
การพิมพภาพ
เตรียมการพิมพภาพ .............................................................................................................. 176
สัง่ พิมพ ...................................................................................................................... 178
การเลือกสวนทีต่ อ งการบนตำแหนงของภาพ .................................................................. 183
พิมพจา กกลองโดยตรงดวย Digital Print Order Format (DPOF) .........................185
การพิมพภาพโดยตรง ดวย DPOF .................................................................................... 188
ปรับกลองใหทำงานในลักษณะที่ตองการ
เขาสกู ารปรับ Custom Functions ......................................................................................190
ปรับตัง้ คาใน Custom Function ........................................................................................192
การบันทึกคาใน My Menu .................................................................................................198
การปรับตัง้ ขอมูลลิขสิทธิภ์ าพ .............................................................................................199
อางอิง
เมือ่ ระบบออโตโฟกัสทำงานไมไดผล .............................................................................. 202
การใชพลังงานจากปลัก๊ ไฟผนัง ....................................................................................... 203
การใชสายลัน่ ชัตเตอร ........................................................................................................ 204
แฟลชภายนอก .................................................................................................................. 206
Using Eye-Fi Cards .......................................................................................................... 208
ตารางแสดงฟงกชนั่ ทีใ่ ชงานได ......................................................................................... 210
การปรับตัง้ เมนู ................................................................................................................... 212
แผนผังของระบบอุปกรณ ................................................................................................... 216
Troubleshooting Guide ................................................................................................ 218
ความหมายของรหัสแสดงความผิดพลาด......................................................................... 224
รายละเอียดของกลอง ......................................................................................................... 225
ดัชนี ...................................................................................................................................... 237
ทายเลม : คูมือเริ่มใชกลองอยางรวดเร็ว และคูมือการใช Software
Êารบาญอยางยอ
ถายภาพ
ถายภาพดวยระบบอัตโนมัติ น.45 - 57 (ระบบบันทึกภาพอยางงาย)
ถายภาพตอเนื่อง น.50, 53, 70 ( บันทึกภาพตอเนือ่ ง)
ถายภาพตัวเองกับเพื่อนๆ น.71 ( ระบบหนวงเวลาถายภาพ)
ภาพถายที่หยุดการเคลื่อนไหว
ภาพแอ็คชันที่แสดงการเคลื่อนไหว น.78 (Tv Shutter-Priority AE)
ถายภาพใหฉากหลังดูนุมนวล
ถายภาพใหฉากหลังคมชัด น.80 (Av Shutter-Priority AE)
ปรับความเขมสวางของภาพ น.87 (ระบบชดเชยแสง)
ถายภาพในสภาพแสงนอย น.46, 62, 64 ( ถายภาพดวยแฟลช)
ถายภาพโดยไมใชแฟลช น.49 ( ถายภาพโดยปดแฟลช)
ถายภาพพลุ น.84 (ชัตเตอร B, bulb)
ถายภาพดวยการเล็งดวยจอ LCD น.108 ( การใชระบบ Live View)
ถายภาพยนตร น.124 ( การใชระบบ ภาพยนตร)

คุณภาพของภาพ
เลือกผลพิเศษใหเหมาะสม
กับลักษณะของภาพ น.75 (เลือก Picture Style)
พิมพภาพที่ตองการในขนาดใหญ น.72 ( )
ตองการถายภาพเปนจำนวนมาก น.72 ( )

โฟกัสภาพ
การเลือกจุดโฟกัส น.68 ( เลือกจุดโฟกัส)
การถายภาพสิ่งที่เคลื่อนที่ น.53, 67 (AI Servo AF)

เลนดูภาพ
การเลนดูภาพที่ถายแลว น.58 ( เลนดูภาพ)
คนหาภาพที่ตองการดวยความรวดเร็ว น.156 ( แสดงภาพขนาดดัชนี)

ปองกันภาพที่สำคัญถูกลบไป
โดยไมไดตั้งใจ น.170 ( ปองกันภาพถูกลบ)
ลบภาพที่ไมตองการ น.171 ( ลบภาพ)
ดูภาพที่จอโทรทัศน น.167 (Video OUT)
ปรับความสวางของจอ LCD น.139 (ความสวางของจอภาพ)

พิมพภาพ
พิมพภาพดวยวิธีงายๆ น.175 (ระบบ Direct Print)
àรื่องที่ควรระมัดระวัง
การดูแลรักษากลอง
กลองเปนอุปกรณที่ประกอบดวยชิ้นสวนที่ซับซอนและละเอียดออน การทำตกหรือเกิดการกระทบ
กระแทกอยางรุนแรงจะทำใหเกิดความเสียหายตอชิ้นสวนเหลานี้
กลองรนุ นีไ้ มไดออกแบบใหกนั น้ำและไมสามารถใชงานใตน้ำได หากทานทำกลองตกน้ำโดยอุบตั เิ หตุ
ใหรบี เช็ดกลองดวยผาแหง และรีบสงกลองไปทีศ่ นู ยบริการของแคนนอนทีใ่ กลทสี่ ดุ และหากกลอง
ตกลงไปในน้ำทะเล ใหเช็ดกลองดวยผาชุบน้ำบิดหมาดๆ
ไมควรวางกลองทิง้ ไวใกลๆ กับแหลงทีม่ สี นามแมเหล็กไฟฟาทีม่ พี ลังงานสูง เชน แมเหล็กและมอเตอร
ตลอดจนบริเวณใกลกบั แหลงคลืน่ วิทยุความถีส่ งู เชน เสาสงวิทยุขนาดใหญ บริเวณทีม่ พี ลังงานจาก
สนามแมเหล็กไฟฟาจะทำใหกลองทำงานผิดปกติหรืออาจทำลายขอมูลของไฟลภาพได
ไมควรทิง้ กลองไวในทีซ่ งึ่ มีอณ
ุ หภูมสิ งู มาก เชน ภายในรถทีจ่ อดตากแดดไว ซึง่ ทำใหกลองทำงานผิด
ปกติหรือมีชนิ้ สวนทีเ่ สียหาย
กลองมีแผงวงจรอีเลคทรอนิคสที่มีความละเอียดออนมาก ไมควรถอดชิ้นสวนประกอบใดๆ ดวย
ตัวทานเอง
เมือ่ มีฝนุ เกาะอยบู ริเวณเลนส ชองเล็งภาพ กระจกสะทอนภาพ โฟกัสสกรีน ทานสามารถใชลกู ยาง
เปาลมเพือ่ เปาฝนุ ใหหลุดออกไป ไมควรใชน้ำยาทีเ่ จือปนสารเคมีเปนตัวทำละลายหรือสารทีท่ า นไมแน
ใจในการเช็ดตัวกลองและเลนส สำหรับสิง่ สกปรกทีเ่ ปาไมออก ใหนำไปทำความสะอาดทีศ่ นู ยบริการ
ของแคนนอน
หามใชนวิ้ มือสัมผัสบริเวณจุดสัมผัสอีเลคทรอนิคส เพือ่ ปองกันจุดสัมผัสเกิดการสึกกรอน ซึง่ อาจทำให
กลองทำงานผิดปกติ
เมือ่ นำกลองออกจากทีๆ่ มีอากาศเย็นไปสทู ๆี่ มีอณ
ุ หภูมอิ นุ ขึน้ โดยฉับพลัน จะเกิดการควบแนนของ
หยดน้ำหยดเล็กๆ ขึน้ ทัง้ ภายนอกและชิน้ สวนภายในของตัวกลอง เพือ่ ปองกันการควบแนน ควรจะนำ
กลองใสในถุงพลาสติกทีม่ รี ะบบปดผนึกไดแนนกอนทีจ่ ะนำกลองออกไป และทิง้ ไวในอุณหภูมทิ สี่ งู
กวาสักครูหนึ่งกอนที่จะนำกลองออกไปใชงาน
หากกลองมีความชืน้ เกิดขึน้ จากการควบแนน ไมควรรีบใชกลองในทันที เพือ่ ปองกันความเสียหายที่
อาจจะเกิดขึ้น ใหถอดเลนส การด และแบตเตอรีออกจากตัวกลอง และใหรอจนกวาไอน้ำและหยด
น้ำจะระเหยไปหมด จึงใชงานไดตามปกติ
หากไมไดใชกลองเปนเวลานานๆ ควรถอดแบตเตอรีออก และเก็บกลองไวในทีแ่ หง เย็น และมีอากาศ
ถายเท และเมือ่ เก็บกลองไวในทีจ่ ดั เก็บแลว ใหนำกลองออกมากดชัตเตอรบา งเปนระยะ เพือ่ ตรวจ
สอบวากลองยังทำงานไดตามปกติ
หลีกเลีย่ งการเก็บกลองไวในบริเวณทีม่ ไี อระเหยของสารเคมี เชน ในหองมืดสำหรับลางอัดรูป และใน
หองแล็บทางเคมี
เมือ่ ไมไดใชกลองเปนเวลานานมาก กอนนำกลองไปใช ควรทดสอบฟงกชนั่ การทำงานของระบบตางๆ
และเมือ่ ตองถายภาพงานทีม่ คี วามสำคัญมาก ควรนำกลองไปตรวจสอบทีศ่ นู ยบริการหรือตรวจสอบ
ดวยตัวของทานเอง วาฟงกชนั่ ทุกๆ อยางทำงานเปนปกติ
àรือ่ งทีค่ วรระมัดระวัง
จอภาพ LCD
ถึ ง แม ว า จอ LCD ของกล อ งจะผลิ ต ด ว ยเทคโนโลยี ที่ มี ค วามแม น ยำสู ง ทำให ม องเห็ น ภาพที่
ถายไดจริงถึง 99.99% แตก็อาจจะมีพิกเซลจำนวนหนึ่งในพิกเซล 0.01% ที่เหลือที่ไมสามารถ
แสดงผลที่ ถู ก ต อ งได โดยมั ก จะปรากฎเป น จุ ด เล็ ก ๆ ที่ มี สี ดำหรื อ สี แ ดง หรื อ อาจเป น สี อื่ น ซึ่ ง
ไม ใ ช ค วามผิ ด ปกติ และไม มี ผ ลเสี ย ต อ ภาพ
ถ า จอ LCD ไม ไ ด ทำการแสดงผลเป น เวลานาน เมื่ อ เป ด กล อ งและแสดงผล อาจจะเห็ น ความ
บกพร อ งในการแสดงผลในลั ก ษณะของความพร า มี ร ายละเอี ย ดที่ ข าดหายไปบางส ว น ซึ่ ง
จะเกิ ด ขึ้ น เพี ย งชั่ ว ครู เ ท า นั้ น และจอภาพก็ จ ะแสดงผลได ดี เ ช น เดิ ม ความผิ ด ปกติ นี้ มั ก จะเกิ ด
ขึ้ น เมื่ อ จอภาพไม ไ ด แ สดงผลใดๆ ติ ด ต อ กั น หลายๆ วั น
ในที่ ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ สู ง หรื อ ต่ำ มาก จอ LCD อาจจะแสดงผลช า กว า ปกติ หรื อ เปลี่ ย นเป น สี ดำ
ซึ่ ง จะหายเป น ปกติ เ มื่ อ ใช ง านในอุ ณ หภู มิ ห อ ง
การด
เพื่อรักษาการดและขอมูลที่เก็บอยูในการด อานขอความตอไปนี้โดยละเอียด
การ ด บั น ทึ ก ข อ มู ล ภาพเป น อุ ป กรณ ที่ ล ะเอี ย ดอ อ นมาก ไม ค วรทำตกหล น ทำให บิ ด งอ หรื อ
เป ย กน้ำ หรื อ วางไว บ นพื้ น ที่ มี ค วามสั่ น สะเทื อ น ซึ่ ง อาจทำให ข อ มู ล ภาพเสี ย หาย
ไม ค วรเก็ บ หรื อ วางการ ด ไว ใ กล กั บ บริ เ วณที่ มี ส นามแม เ หล็ ก ไฟฟ า ที่ มี พ ลั ง งานสู ง เช น เครื่ อ ง
รับโทรทัศน ลำโพง หรืออุปกรณที่มีแมเหล็กขนาดใหญ และเลี่ยงการเก็บหรือวางไวในบริเวณ
ที่ มี ไ ฟฟ า สถิ ต เพราะอาจทำให ข อ มู ล ในการ ด เสี ย หาย
ไม ค วรทิ้ ง การ ด ตากแดด หรื อ วางไว ใ กล กั บ แหล ง ความร อ น ซึ่ ง อาจทำให ชิ้ น ส ว นของการ ด
เสี ย หายและใช ง านต อ ไปไม ไ ด
เมื่ อ ถอดการ ด ออกจากกล อ ง ควรเก็ บ ในที่ บ รรจุ
ไม ค วรเก็ บ การ ด ไว ใ นที่ ซึ่ ง มี ฝุ น มาก ร อ น และมี ค วามชื้ น สู ง
จุดสัมผัส
จุดสัมผัสอีเลคทรอนิคสของเลนส
เมื่ อ ถอดเลนส อ อกจากกล อ ง ควรใส ฝ าป ด ด า นท า ยของเลนส ทั น ที
เพื่ อ ป อ งกั น การขู ด ขี ด ที่ ผิ ว เลนส แ ละจุ ด สั ม ผั ส อี เ ลคทรอนิ ค ส
ขอควรระวังหลังจากใชกลองตอเนื่องมาเปนเวลานาน
เมื่อทานไดถายภาพดวยระบบตอเนื่องหรือใชระบบ Live View มาเปนเวลานาน
ตั ว กล อ งจะมี ค วามร อ นสะสมเกิ ด ขึ้ น แม ว า เรื่ อ งนี้ จ ะไม ใ ช ค วามผิ ด ปกติ แต ก ารจั บ ถื อ ตั ว กล อ ง
ที่ ร อ นเป น เวลานานๆ อาจจะทำให ท า นเกิ ด ความระคายเคื อ งผิ ว หนั ง
เกี่ยวกับรอยเปอนซึ่งติดอยูกับผิวหนาของเซนเซอร
นอกจากเม็ ด ฝุ น จากภายนอกตั ว กล อ งจะสามารถเล็ ด รอดเข า มาภายในแล ว สารหล อ ลื่ น ของชิ้ น
ส ว นภายในตั ว กล อ งอาจจะสร า งรอยเป อ นบนผิ ว หน า เซนเซอร ไ ด แม จ ะเป น กรณี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได ย าก
ก็ ต าม ซึ่ ง สามารถมองเห็ น เป น จุ ด ซึ่ ง ยั ง ปรากฏให เ ห็ น อยู ห ลั ง จากที่ ร ะบบทำความสะอาด เซน
เซอร โ ดยอั ต โนมั ติ ไ ด ทำความสะอาดไปแล ว ขอแนะนำให ส ง กล อ งไปทำความสะอาดที่ ศู น ย
บริ ก ารของแคนนอน
àริ่มใชกลองอยางรวดเร็ว
ใสแบตเตอรี (น.26)
เมื่อตองการเปลี่ยนแบตเตอรี
ดู ที่ ห น า 24

ติดตั้งเลนส (น.33)
เมื่อติดตั้งเลนส EF-S ใหทาบเครื่องหมาย
บนเลนสใหตรงกับดัชนีสีขาวที่ตัวกลอง ถา
เปนเลนสอื่นๆ ใหทาบกับดัชนีที่เปนสีแดง

ปรับสวิตซบนกระบอกเลนสไปที่
ตำแหนง <AF> (น.33)

เปดฝาปดชองใสการด
และเสียบการด (น.31)
หันฉลากของการดเขาหาตัว
แลวเสียบลงในชองจนสุด

ปรับสวิตซไปที่ตำแหนง <ON>
(น.27)
จอ LCD จะแสดงหนาจอเพือ่ ปรับตัง้ วัน
และเวลา ดูรายละเอียด น.29
àริม่ ใชกลองอยางรวดเร็ว

หมุนวงแหวนเลือกระบบไปที่
(Full Auto) (น.46)
กลองจะปรับตั้งการทำงานของทุกๆ ระบบ
ที่จำเปนใหโดยอัตโนมัติ

เล็งภาพและโฟกัส (น.37)
เล็ ง ภาพผ า นช อ งมองภาพ และให ช อ งมอง
ภาพอยูในตำแหนงกึ่งกลางของวัตถุที่ตองการ
ถ า ยภาพ กดปุ ม ชั ต เตอร ล งเพี ย งครึ่ ง หนึ่ ง และ
กลองจะทำการโฟกัสที่วัตถุ
ถ า มี ค วามจำเป น แฟลชในตั ว กล อ งจะเป ด การ
ทำงานโดยอัตโนมัติ

ถายภาพ (น.37)
กดชัตเตอรลงจนสุด กลองจะถายภาพนัน้ ไว
อยางสมบูรณ

ดูภาพที่ถายแลว (น.138)
ภาพที่ ถ า ยแล ว จะแสดงอยู ที่ จ อภาพเป น
เวลาประมาณ 2 วินาทีและดับไป ถาตอง
การดูภาพนัน้ อีก ใหกดปมุ (น.58)
การแสดงขอมูลและคาตางๆ บนจอภาพจะดับไปทันที
เมื่อคุณแนบดวงตาเขากับชองมองภาพ
ถาตองการถายภาพโดยดูจากจอ LCD ดูหนา 107
หากตองการลบภาพที่ถายแลว อาน “การลบภาพ” (น.171)
Ê‹วนตางๆ ของตัวกลอง
ชิ้นสวนที่เปนตัวหนาหมายถึงชิ้นสวนที่จะอธิบายในเนื้อหาของบท การถายภาพขั้นพื้นฐาน และ
การเลนดูภาพ
วงแหวนเลือกระบบ (น.20) แฟลชในตัว / ไฟชวยหาโฟกัส (น.64/147)
สวิตซปด /เปด (น.27) ดัชนีสำหรับเลนส EF (น.33)
ปมุ ปรับตัง้ ดัชนีสำหรับเลนส EF-S (น.33)
ความไวแสง (น.62) จุดสัมผัสแฟลช
วงแหวน Hot shoe (น.206)
หลัก (น.4) เครื่องหมาย
ปมุ ชัตเตอร ระนาบความชัด (น.52)
(น.37) ชองรอยสาย
คลองคอ (น.23)
ไฟลดตาแดง/
ไฟระบบหนวง
เวลา (น.67/71) ไมโครโฟน
(น.134)
เซนเซอรรีโมท ปมุ แฟลช
คอนโทรล(น.106,204) (น.64)
กริป
ฝาปด
กระจกสะทอนภาพ ชองเสียบ
(น.106,153) จุดสัมผัส (น.13) ปมุ ปลดล็อคเลนส
เมาทใสเลนส (น.34)
สลักล็อคเลนส ปมุ ตรวจสอบ
ความชัดลึก (น.82)
ชองเสียบไมโครโฟนภายนอก
(น.134)
ชองเสียบสายลัน่ ชัตเตอร
(น.205)
ชองเสียบ AV / Digital
(น.169,176)
ชองตอพวงสัญญาณ
ฝาปดกลอง (น.33) HDMI mini OUT (น.167)
Ê‹วนตางๆ ของตัวกลอง

ยางรองชองเล็งภาพ (น.205) วงแหวนปรับแกสายตา (น.36)


ถายภาพดวย Live View/
เลนสของชองเล็งภาพ ถายภาพยนตร (น.108/124)
เซนเซอรเปด-ปดจอ LCD
(น.146)
ปมุ ล็อคคาแสง / คาแสงแฟลช /
แสดงขอมูลการ ภาพดัชนี /ลดขนาดภาพ
ถายภาพ/ปมุ จัดการตัด (น.97/98/156/158,183)
สวนภาพ
(น.44,110,126,143,173) เลือกจุดโฟกัส /
ขยายภาพ
(น.68/158,183)
ปมุ เมนู (น.40)
บันทึกเสียง
จอ LCD (น.162)
(น.40,139) ฝาปดชองใส
การด(น.31)

ชองรับแสง/ ชองเสียบไฟ
ปมุ ชดเชยแสง (น.83/87) กระแสตรง
(น.203)
ไฟแสดงสถานะ
ชองสกรูยดึ ขาตัง้ กลอง ของการด (น.32)
ปมุ ปรับควบคุมแบบเร็ว/ กระเดือ่ งล็อคฝาปด
ปมุ พิมพภาพโดยตรง (น.38/181) (น.26)
ปมุ เลนดูภาพ (น.58) ฝาปดชองใสแบตเตอรี
ปมุ ปรับตัง้ (น.40) (น.26)
ปมุ เลือกแบบทิศทาง(น.40) ปมุ ลบภาพ (น.171)
เลือกสมดุลสีขาว (น.99)
เลือก Picture Style (น.75)
เลือกระบบขับเคลือ่ น (น.70,71)
เลือกระบบออโตโฟกัส (น.66)
ชองเสียบการด(น.31)
Ê‹วนตางๆ ของตัวกลอง
การแสดงผลการปรับตั้งควบคุม

คาการชดเชยแสง ชองรับแสง
ปริมาณการชดเชยแสง(น.87) เข็มชีท้ ศิ ทางของวงแหวนควบคุมหลัก (น.77)
ระดับการถายภาพครอม(น.89) ความไวแสง(ISO) (น.62)
ความไวชัตเตอร ชดเชยแสงแฟลช (น.88)
Picture Style (น.75) เนนรายละเอียดในสวนสวาง
(น.194)
ระบบบันทึกภาพ
ถายภาพครอมอัตโนมัติ
คุณภาพในการ (น.103)
บันทึก (น.72)
ระบบขับเคลือ่ น (น.70,71)
ถายครั้งละเฟรม
ถายภาพตอเนือ่ ง
หนวงเวลาถายภาพ/
รีโมทคอนโทรล
หนวงเวลา 2 วินาที
ถายภาพตอเนือ่ งหลัง
จากหนวงเวลา
สัญลักษณการปรับควบคุมแบบเร็ว (น.38) จำนวนภาพทีถ่ า ยไดอกี
ระบบสมดุลสีขาว (น.99) จำนวนภาพที่ถายไดอีกเมื่อใช
สมดุลสีขาวอัตโนมัติ ระบบถายภาพครอมสมดุลสีขาว
นับถอยหลังเมือ่ ใชระบบหนวงเวลา
แสงแดด แสดงระยะเวลาเมือ่ ถายดวยชัตเตอร B
ในรมเงา
มีเมฆครึม้ ระบบวัดแสง (น.86)
หลอดไฟทังสเตน ระบบวัดแสงเฉลีย่ ทัง้ ภาพ
หลอดฟลูออ ระบบวัดแสงเฉพาะสวน
เรสเซนต(สีขาว) ระบบวัดแสงเฉพาะจุด
สมดุลสีขาวแบบกำหนดเอง ระบบวัดแสงเฉลีย่ เนนกลางภาพ
ปรับแกสมดุลสีขาว (น.101)
ถายภาพครอมสมดุลสีขาว(น.102) ระบบออโตโฟกัส (น.66)
สถานะการถายโอนสัญญาณของระบบ ระบบ One-shot AF
Eye-Fi * (น.208) ระบบ AI Focus AF
ระดับพลังงานแบตเตอรี (น.28) ระบบ AI Servo AF
ระบบ แมนนวล (MF)
* จะแสดงขอมูลถาใช Eye-Fi card
ขอมูลและสัญลักษณตา งๆ จะปรากฏขึน้ ก็ตอ เมือ่ มีการปรับตัง้
Ê‹วนตางๆ ของตัวกลอง
การแสดงผลของชองมองภาพ
พืน้ ทีว่ ดั แสงเฉพาะจุด ไฟแสดงจุดโฟกัสทีท่ ำงาน
โฟกัสสกรีน จุดโฟกัส

ความไวแสง
ปรับแก
สมดุลสีขาว

ล็อคคาแสง / ไฟยืนยันความชัด
กำลังล็อคคาแสง

จำนวนภาพทีถ่ า ยตอเนือ่ ง
แฟลชพรอม / ไดมากทีส่ ดุ
เตือนการทำงานของ FE
Lock ที่อาจผิดพลาด ถายภาพในระบบสีเอกรงค
ความไวชัตเตอร
High Speed Sync
ล็อคคาแสงแฟลช /
เนนรายละเอียดในสวนสวาง
กำลังล็อคคาแสงแฟลช สเกลบอกคาแสง
ระดับการชดเชยแสง
ชดเชยแสงแฟลช ชวงการถายภาพครอม
สถานะการทำงานของระบบลดตาแดง
ชองรับแสง
ความไวชัตเตอร การดเต็ม (FuLL)
FE Lock (FEL) การดผิดปกติ (Err)
กำลังทำงาน (buSY) ไมมีการด (Card)
อยใู นระหวางการประจุไฟแฟลช ( buSY)

ขอมูลและสัญลักษณตา งๆ จะปรากฏขึน้ ก็ตอ เมือ่ มีการปรับตัง้


Ê‹วนตางๆ ของตัวกลอง
วงแหวนเลือกระบบ
วงแหวนเลือกระบบแบงเปนกลมุ คือ กลมุ โปรแกรมขัน้ พืน้ ฐาน(Basic Zone) โปรแกรมขัน้
กาวหนา(Creative Zone) และโปรแกรมถายภาพยนตร

Creative Zone
โปรแกรมตางๆ ในกลมุ นี้ จะชวยใหปรับตัง้ และควบคุม
การทำงานของกลองไดมากขึน้
Program AE (น.60)
Shutter-priority AE (น.78)
Aperture-priority AE (น.80)
Manual (น.83)
Automatic depth-of-field
AE (น.85)

Basic Zone
โปรแกรมอัตโนมัตทิ กี่ ลองจะควบคุมการปรับตัง้ ใหทงั้ หมด
ผใู ชเพียงกดชัตเตอรเพือ่ ถายภาพเทานัน้
(น.46)
(น.55)
ถายภาพยนตร (น.123)

(น. 49) เมือ่ ไมตอ งการใชแฟลช


(น.50) สำหรับการถายภาพบุคคล
(น.51) สำหรับการถายภาพทิวทัศน
(น.52) สำหรับการถายภาพสิง่ ของเล็กๆ ในระยะใกล
(น.53) สำหรับการถายภาพภาพกีฬาและภาพเคลือ่ นไหว
(น.54) สำหรับการถายภาพบุคคลกับแสงกลางคืน
Ê‹วนตางๆ ของตัวกลอง
เลนส
เลนสที่ไมมีสเกลบอกระยะโฟกัส
วงแหวนโฟกัส (น.69,120) สวิตซเลือกระบบโฟกัส (น.33)
วงแหวนซูม (น.34)
รองสำหรับติดตัง้ ฮดู ความยาวโฟกัสของซูม (น.34)
(น.231)

เกลียวสำหรับติดตัง้ ฟลเตอร
ดานหนาของเลนส (น.231)

สวิตซของระบบปองกันภาพสัน่ (น.35)
ดัชนีสำหรับติดตัง้ เลนส (น.33) จุดสัมผัส (น.13)

เลนสที่มีสเกลบอกระยะโฟกัส
สวิตซเลือกระบบโฟกัส (น.33)
รองสำหรับติดตัง้ ฮดู
(น.231)
ความยาวโฟกัสของซูม (น.34)
สเกลแสดงระยะโฟกัส

เกลียวสำหรับติดตัง้ ฟลเตอร
ดานหนาของเลนส (น.231)

วงแหวนซูม (น.34)
วงแหวนโฟกัส (น.69,120) จุดสัมผัส (น.13)
สวิตซของระบบปองกันภาพสัน่ (น.35) ดัชนีสำหรับติดตัง้ เลนส (น.33)
Ê‹วนตางๆ ของตัวกลอง
เครื่องประจุไฟ LC-E8
สำหรับประจุไฟ Battery Pack LP-E8 (น.24)

ปลัก๊ ไฟ
ชองใสแบตเตอรี
ไฟแสดงสถานะการประจุไฟ
ไฟแสดงสถานะการ
ประจุไฟเต็มแลว

เครือ่ งประจุไฟรนุ นี้ ถูกออกแบบใหวางในแนวตัง้ หรือวางราบกับพืน้

คำเตือนเพื่อความปลอดภัย :
เพือ่ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการเกิดประกายไฟและไฟฟาลัดวงจร
ใหอา นและปฏิบตั ติ ามคมู อื อยางละเอียดและใชงานดวยความระมัดระวัง
สำหรับการใชกบั ปลัก๊ ไฟทีม่ ลี กั ษณะตางจากประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถจะใชตวั แปลงเพือ่ เสียบสายไฟของเครือ่ ง
ใหเขากับรูปแบบของปลัก๊ ในแตละประเทศได

เครื่องประจุไฟ LC-E8E
สำหรับประจุไฟ Battery Pack LP-E8 (น.24)
ชองใสแบตเตอรี
ไฟแสดงสถานะการประจุไฟ
ไฟแสดงสถานะการ
ประจุไฟเต็มแลว

สายไฟ

ชองเสียบสายไฟ
·Ó¤ÇÒÁÃŒ¨Ù ¡
Ñ ¡Ñº¡ÅŒÍ§
ในบทนี้ จะอธิบายการเตรียมกลองสำหรับนำออกไปใชงาน
และความรูพื้นฐานในการปรับควบคุมกลองในขั้นเบื้องตน
วิธรี อ ยสายคลองคอ
สอดปลายสายเขากับชองรอยสายคลองคอ
โดยสอดผานทางดานลาง จากนั้นสอดผาน
แถบรั ด ดั ง ภาพ แล ว จึ ง สอดสายผ า นหั ว
เข็มขัด จากนั้นปรับสายที่อยูในบริเวณดัง
กลาวใหตึงและมีความยาวพอเหมาะ และ
ตรวจสอบดูวาสายไดยึดกับกลองดีแลว
ฝาครอบชองเล็งภาพจะติดตั้งมากับ
สายคลองคอ (น.205)

ฝาครอบชองเล็งภาพ
¡ารประจุไฟแบตเตอรี
ถอดฝาครอบออกตามทิศทางของลูกศร

ใสแบตเตอรีเขากับรองของแทนประจุไฟ
ใสแบตเตอรีตามลำดับขัน้ ตอนโดยมีทศิ ทางตามศรชี้
และตรวจดูวาแบตเตอรีเขาที่อยางแนนหนา
เมือ่ ตองการถอดแบตเตอรีออก ใหทำตามขัน้ ตอนโดย
ใชลำดับและทิศทางยอนกลับ
การประจุไฟแบตเตอรี
สำหรับรุน LC-E8
ดึงขาของปลัก๊ ออกมาตามทิศทางของลูกศร
และเสียบเขากับปลัก๊ ไฟทีผ่ นัง

สำหรับรุน LC-E8E
เสียบตอสายไฟเขากับชองเสียบของเครือ่ งประจุไฟ
จากนัน้ เสียบปลายอีกดานหนึง่ เขากับปลัก๊ ไฟทีผ่ นัง

เครือ่ งประจุไฟจะทำการประจุไฟทันที โดยไฟแสดง


สถานะจะติดสวางเปนสีสม
เมือ่ แบตเตอรีถกู ชารจจนเต็มแลว ไฟแสดงสถานะ
จะเปลี่ยนเปนสีเขียว
การประจุไฟจนเต็ม จะใชเวลาประมาณ 2 ชม. ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 23 Cํ / 73 Fํ โดยระยะ
เวลาในการประจุไฟจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิในเวลานั้นและระดับพลังงานที่ตองประจุ
เพือ่ ความปลอดภัย เมือ่ ประจุไฟในอุณหภูมติ ่ำ (6 Cํ -10 Cํ / 43 Fํ -50 Fํ ) จะใชเวลา
นานกวาปกติ (นานถึง 4 ชัว่ โมง)
¡ารประจุไฟแบตเตอรี

เคล็ดลับการใชแบตเตอรีและเครื่องประจุไฟ
ประจุไฟแบตเตอรีกอ นนำกลองไปใช 1 วัน หรือประจุไฟในวันทีจ่ ะใช
ถึงแมวา จะไมไดใชกลอง หรือเก็บกลองไวในทีจ่ ดั เก็บ แบตเตอรีจะมีการคายประจุออกไป
อยางชาๆ ทีละนอย ทำใหพลังงานในแบตเตอรีคอ ยๆ ลดระดับลงไป

ภายหลังจากประจุไฟเต็มแลว ถอดแบตเตอรีออกจากเครือ่ งประจุไฟ และถอดสาย


ไฟของเครือ่ งประจุไฟออกจากปลัก๊ ไฟ
ถอดแบตเตอรีออกจากตัวกลอง เมือ่ ไมไดใชกลองเปนเวลานาน
ถาแบตเตอรีถกู ใสไวในตัวกลองทีเ่ ก็บและไมไดใชงานเปนเวลานาน ประจุไฟฟาใน
แบตเตอรีจะคายออกทีละนอยๆ ทำใหอายุการใชงานของแบตเตอรีสนั้ ลง ควรถอดแบตเตอรี
ออกจากกลองกอนจะนำกลองไปเก็บ และควรจะเก็บแบตเตอรีโดยใชฝาครอบไว การนำ
แบตเตอรีไปเก็บไวเปนเวลานานหลังจากการประจุไฟเต็มก็จะทำใหประสิทธิภาพของ
แบตเตอรีเสือ่ มลงไดเร็วขึน้
เครือ่ งประจุไฟนีส้ ามารถนำไปใชในประเทศตางๆ ได
เครือ่ งประจุไฟรนุ นีอ้ อกแบบใหใชงานไดกบั ระบบไฟฟากระแสสลับทีม่ แี รงดันไฟฟาตัง้ แต
100 V จนถึง 240 V และมีความถีใ่ นชวง 50/60 Hz ซึง่ ครอบคลุมระบบการจายไฟฟาของ
ทุกๆ ประเทศ หามดัดแปลงหรือถอดชิน้ สวนใดๆ โดยเฉพาะหมอแปลงทีอ่ ยใู นเครือ่ งประจุไฟ
เพราะจะทำใหเครื่องประจุไฟเกิดความเสียหาย

ถาแบตเตอรีใชงานไดไมนานหลังจากเพิง่ ประจุไฟเต็ม แสดงวาแบตเตอรีเสือ่ มแลว


ควรซือ้ แบตเตอรีกอ นใหม

หามนำแบตเตอรีรุนอื่นๆ มาประจุไฟ ยกเวนแบตเตอรีของกลอง(Battery Pack LP-E8)


Battery Pack LP-E8 ออกแบบมาเพือ่ ใชกบั อุปกรณรนุ ทีแ่ คนนอนเจาะจงเทานัน้ การนำไปประจุ
ไฟดวยเครื่องชารจชนิดอื่น หรือใชกับอุปกรณอยางอื่นจะทำใหเกิดความเสียหายทั้งตอ
แบตเตอรีและอุปกรณ ซึ่งอยูนอกเหนือขอบเขตในการรับประกันสินคาของแคนนอน
¡ารใสและถอดแบตเตอรี
การใสแบตเตอรี
ใสแบตเตอรี LP-E8 ทีป่ ระจุไฟเต็มแลวเขากับชองใสของตัวกลอง
เปดฝาปดชองใสแบตเตอรี
ดันสลักของฝาปดไปตามทิศทางของลูกศร
ในภาพและเปดฝาออก

ใสแบตเตอรีเขาสชู อ งใส
หันแบตเตอรีดานที่เปนจุดสัมผัสเขาดานใน
ใชนิ้วดันเขาจนสุด กระทั่งแบตเตอรีถูกล็อค
จนแนนภายในชอง
ปดฝากลับเขาที่
ปดฝาเขาที่เดิมจนมีเสียงของสลักล็อคดังขึ้น

การถอดแบตเตอรี
เปดฝาปดและนำแบตเตอรีออก
ผลักสลักล็อคแบตเตอรีตามทิศทางของลูกศร
และนำแบตเตอรีออก
เพื่อปองกันการลัดวงจร ควรใสฝาครอบ
แบตเตอรีไวเสมอหลังจากที่นำออกจากกลอง

หลังจากเปดฝาปดชองใสแบตเตอรีออกแลว ควรใชความระมัดระวัง ไมดนั ฝาปดแรงมากจนพับ


ไปในดานตรงขาม เพราะจะทำใหบานพับของฝาปดชำรุด
¡ารเปดสวิตซกลอง
เมือ่ ผลักสวิตซเพือ่ เปดการทำงานของกลอง จอภาพจะแสดงเมนูสำหรับปรับตัง้ วันทีแ่ ละเวลา
อานรายละเอียดการปรับตั้งวันที่และเวลาในหนา 29
กลองถูกเปดการทำงาน
กลองถูกปด และไมสามารถปรับ
ควบคุมใดๆ ใหปรับมาที่ตำแหนงนี้
เสมอเมื่อไมไดใชกลอง

เกี่ยวกับระบบทำความสะอาดเซนเซอรโดยอัตโนมัติ
ทุกๆ ครัง้ ทีส่ วิตซเปด/ปด ถูกปรับไปที่ หรือ ระบบทำความสะอาด
พื้นผิวของเซนเซอรจะเริ่มทำงานโดยอัตโนมัติ และในขณะที่กำลังทำความสะอาด
สัญลักษณ จะปรากฏบนจอ LCD และแมวา ระบบจะยังทำงานคางอยู ผู
ใชก็ถายภาพไดเพียงแตะชัตเตอรเบาๆ (น.37) เพื่อใหกลองพรอมถายภาพทันที
หากผใู ชปรับสวิตซปด เปด / สลับกันอยางรวดเร็ว สัญลักษณ
จะไมปรากฏขึน้ บนจอ LCD ซึง่ ไมถอื เปนความผิดปกติ

เกี่ยวกับระบบปดการทำงานอัตโนมัติ
เพื่อความประหยัดพลังงานของแบตเตอรี กลองจะปดการแสดงผลและการทำงาน
โดยอัตโนมัตหิ ลังจากไมมกี ารปรับควบคุมใดๆ ติดตอกันเปนเวลา 30 วินาที เมือ่ ตอง
การใชกลองอีก ผูใชเพียงแตแตะชัตเตอรเบาๆ จอภาพจะกลับมาแสดงผลและกลอง
จะกลับสูการทำงานตามปกติ
ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนระยะเวลาในการปดการทำงานของกลองไดจากการปรับตั้ง
ในเมนู [ Auto Power Off ] (น.139)

เมือ่ สวิตซถกู ปรับไปทีต่ ำแหนง ในขณะทีก่ ลองกำลังบันทึกขอมูลลงในการด สัญลักษณ


[Recording.....] จะปรากฏขึน้ บนจอภาพ และกลองจะปดการทำงานภายหลังจากทีไ่ ดบนั ทึก
ไฟลของภาพนั้นลงในการดจนเสร็จสมบูรณ
¡ารเปดสวิตซกลอง

การตรวจสอบระดับพลังงาน
เมือ่ ปรับสวิตซไปทีต่ ำแหนง จอ LCD จะแสดงระดับพลังงานแบงออกเปน 4 ระดับ

พลังงานเต็ม
พลังงานลดลงเล็กนอย แตยังมีเหลือ
อยูพอสมควร
พลังงานใกลจะหมดในไมชา
พลังงานหมด ควรประจุไฟใหม

อายุการใชพลังงานของแบตเตอรี (จำนวนภาพที่ถายได)
อุณหภูมิ ที่ 23 C
ํ / 73 Fํ ที่ 0 C
ํ / 32 Fํ
ไมใชแฟลช ประมาณ 550 ภาพ ประมาณ 470 ภาพ
ใชแฟลช 50% ประมาณ 440 ภาพ ประมาณ 400 ภาพ
ตัวเลขในตารางขางตนไดมาจากการทดสอบดวยแบตเตอรี LP-E8 ที่ประจุไฟเต็มโดยไม
ไดใชระบบ Live View และทดสอบตามการทดสอบมาตรฐานของสมาคมกลองและการ
ถายภาพ(CIPA)
Battery Grip BG-E8 เปนอุปกรณเสริมพิเศษทีช่ ว ยใหถา ยภาพไดมากขึน้ เพราะสามารถ
ติดตั้งแบตเตอรี LP-E8 ได 2 กอน หรือใชแบตเตอรีขนาด AA จำนวน 6 กอน ซึ่งจะทำให
ปริมาณภาพที่ถายได ที่อุณหภูมิ 23 ํC / 73 ํF เพิ่มขึ้นเปน 470 ภาพ เมื่อไมใชแฟลช และ
270 ภาพ เมื่อถายภาพดวยแฟลชครึ่งหนึ่งของจำนวนภาพที่ถาย

จำนวนภาพทีถ่ า ยไดจริงอาจนอยกวาทีแ่ สดงไวในตาราง


โดยขึน้ อยกู บั สภาพแวดลอมและลักษณะการใชงาน ดังตอไปนี้
แตะปมุ ชัตเตอรลงครึง่ หนึง่ บอยๆ หรือเปนเวลานาน
มักจะใชระบบ AF จับภาพบอยๆ โดยไมไดถา ยภาพ
เปดดูภาพบอยๆ หรือใชจอ LCD ปรับตัง้ บอยๆ
เมือ่ ใชกบั เลนสทมี่ รี ะบบลดภาพสัน่ (IS)
การทำงานของเลนสนนั้ อาศัยแบตเตอรีของกลอง ซึง่ เลนสบางตัวอาจจะใชพลังงานมาก
และทำใหจำนวนภาพที่ถายไดมีปริมาณลดลง
อายุการใชงานของแบตเตอรีเมือ่ ใชระบบ Live View ดูหนา 109
¡ารตัง้ วันทีแ่ ละเวลา
เมือ่ เริม่ เปดกลองใชครัง้ แรก หรือเมือ่ มีการปรับตัง้ วันทีแ่ ละเวลาใหม(reset) หนาจอ LCD จะแสดง
รูปแบบของการปรับตั้งวันที่และเวลาในระบบนาฬิกาและปฏิทินของกลอง ใหปฏิบัติตามคำ
แนะนำในขัน้ ตอนที่ 3 และ 4 เพือ่ ตัง้ วันทีแ่ ละเวลาใหถกู ตอง โดยขอมูลเกีย่ วกับวันทีแ่ ละเวลา
จะแนบไปกับไฟลภาพทุกๆ ภาพ สำหรับการตรวจสอบในภายหลัง จึงควรปรับตัง้ วันทีแ่ ละเวลา
ใหถกู ตอง
แสดงรายการของเมนู
กดปุม เพื่อใหกลองแสดง
รายการปรับตั้งในเมนูที่จอ LCD

ใชแถบ [ ] และเลือก [Date/Time]


ใชปมุ เพือ่ เลือกแถบ [ ]
ใชปมุ เพือ่ เลือกรายการ
[Date/Time] จากนัน้ กดปมุ
ตั้งวันที่และเวลา
ใชปมุ เพือ่ ปรับตัง้ ตัวเลขวันทีแ่ ละ
เวลาใหตรง
กดปมุ ซึง่ กรอบ < > จะปรากฏขึ้น
ใชปมุ เพือ่ ปรับตัวเลข จากนัน้
กดปุม และกลับสูกรอบปกติ
ออกจากเมนู
ใชปมุ เพือ่ เลือ่ นแถบสวางไปที่
[OK] จากนัน้ กดปมุ
กลองจะจำวันที่และเวลาที่ตั้งไวแลว
กดปุม เพื่อใหจอภาพกลับสู
การแสดงผลปกติ
นาฬิกาและปฏิทนิ จะเริม่ ทำงานทันที ภายหลังจากทีก่ ดปมุ ในขัน้ ตอนที่ 4
เมือ่ เก็บกลองไวในทีเ่ ก็บโดยถอดแบตเตอรีออกเปนเวลานาน หรือเมือ่ แบตเตอรีหมดพลังงานลง
วันทีแ่ ละเวลาจะถูกปรับตัง้ ใหม(reset) ถาเกิดเหตุการณนขี้ นึ้ ใหปรับตัง้ วันทีแ่ ละเวลาใหม
àลือกภาษา
แสดงรายการของเมนู
กดปมุ เพือ่ ใหกลองแสดงราย
การปรับตั้งในเมนูที่จอ LCD

เลือกแถบ[ ] และเลือก [Language ]


กดปมุ เพือ่ เลือกแถบ [ ]
กดปมุ เพือ่ เลือกรายการ
[Language ] (รายการที่ 3 จากบน)
จากนั้นกดปุม

เลือกภาษาที่ตองการ
กดปมุ เพือ่ เลือกภาษาทีต่ อ งการ
จากนัน้ กดปมุ
เมื่อตั้งแลว ภาษาของรายการจะเปลี่ยนไป
กดปุม เพือ่ ใหจอภาพกลับสู
การแสดงผลปกติ
ÇÔธใี สและนำการดออกจากกลอง
ไฟลภาพทีถ่ า ยจะถูกบันทึกลงในการด ซึง่ เปนอุปกรณทผี่ ใู ชตอ งซือ้ เพิม่
ตรวจสอบแผนการดวาสวิตซปอ งกันการถูกบันทึกของการดไดถกู ปรับใหถกู ตำแหนง
เพือ่ ใหการดแผนนัน้ สามารถบันทึกและลบได

การใสการดลงในชอง
เปดฝาปดชองใสการด
เลื่อนฝาปดชองใสการดตามทิศทาง
ของลูกศรเพื่อเปดฝาออก

สวิตซปองกันการบันทึกของการด ใสการด
หันฉลากของการดเขาหาตัว แลวดันเขาใน
ชองใสการดจนสุดทางจนการดถูกยึดเขาที่

ปดฝา
ปดฝาตามทิศทางของลูกศร และดันจนมี
เสียงเบาๆ
เมื่อปรับสวิตซเปด/ปดกลองไปที่
ตัวเลขบอกจำนวนภาพทีส่ ามารถถายไดทงั้
หมดสำหรับการดแผนนีจ้ ะปรากฏขึน้ บนจอ
LCD
จำนวนภาพทีถ่ า ยไดทงั้ หมด

จำนวนภาพทีถ่ า ยไดทงั้ หมดขึน้ อยกู บั ความจุทยี่ งั คงเหลืออยขู องการด, คุณภาพในการบันทึก,


ความไวแสง ฯลฯ
เมือ่ ปรับเมนู [ Release shutter without card] ใหเปน [Disable] จะชวยปองกันไม
ใหผใู ชลมื ใสการดในตัวกลอง (น.138)
ÇÔธใี สและนำการดออกจากกลอง

การถอดการด
เปดฝาปดชองใสการด
ปรับสวิตซเปด/ปด การทำงานไปที่
ตรวจสอบวา ตัวอักษร “Recording......”
ไมไดปรากฏบนจอ LCD
ตรวจสอบดูวา ไฟแสดงสถานะของ
การดไมไดติดสวางอยู
นำการดออกจากชองใส
ดันการดเบาๆ เขาไปอีกเล็กนอยจนสุดทาง
และปลอยนิ้ว การดจะหลุดจากการล็อค
ดึงการดออกตรงๆ จากนั้นปดฝา

ขณะทีไ่ ฟบอกสถานะของการดติดสวางหรือกระพริบ หมายถึงไฟลภาพกำลังถูกบันทึก


หรือการดกำลังถูกอานขอมูล กำลังลบไฟล หรือไฟลภาพกำลังถูกถายโอนออกไป ใน
ขณะทีไ่ ฟบอกสถานะนีก้ ำลังติดสวางหรือกระพริบ ไมควรทำสิง่ ตางๆ ตามรายการดาน
ลาง เพราะอาจทำใหขอ มูลภาพเสียหาย และอาจทำใหเกิดความเสียหายตอการดและ
ตัวกลองดวย
เปดฝาปดชองใสการด
เปดฝาปดชองใสแบตเตอรี
เขยาหรือกระแทกกลองอยางแรง
ถาการดแผนนัน้ เคยถูกใชถา ยภาพแลว หมายเลขภาพจะไมเริม่ ตนจาก 0001 (น.140)

ไมควรใชนิ้วมือหรือวัตถุที่เปนโลหะสัมผัสบริเวณจุดสัมผัสของการด
ถามีขอความเตือนเกี่ยวกับความบกพรองผิดปกติของการดปรากฏบนจอ LCD ใหลองถอด
การดออกและเสียบการดเขาไปใหม ถายังมีขอ ความเตือนปรากฏอยู ใหใชการดแผนอืน่ ๆ และ
ถาสามารถถายโอนขอมูลภาพของการดแผนที่มีปญหาลงในคอมพิวเตอรได ใหถายโอนไฟล
ทัง้ หมดใหเรียบรอย จากนัน้ ทำการฟอรแมทการดใหม (น.42) การดทีม่ ปี ญ
 หาก็อาจจะกลับมา
ทำงานไดตามปกติ
ÇÔธใี สและถอดเลนส
การใสเลนส
ถอดฝาปดของกลองและเลนส
ถอดฝาป ด ด า นท า ยเลนส และฝาป ด เมาท
ของกลองออกโดยหมุนตามทิศทางของลูกศร

ใสเลนส
สอดทายเลนสเขาหาเมาทของกลอง โดยให
ดั ช นี บ นกระบอกเลนส ต รงกั บ ดั ช นี สี ข าว
บนตัวกลอง แลวจึงหมุนตามทิศทางของลูก
ศร จนมีเสียงดัง “คลิ๊ก”

ปรับสวิตซที่กระบอกเลนสไปที่ <AF>
(ออโตโฟกัส)
ถาสวิตซนถี้ กู ปรับไวที่ <MF> (แมนนวล
โฟกัส) ระบบออโตโฟกัสจะไมทำงาน

ถอดฝาปดหนาเลนสออก

การปองกันฝุนเขาสูภายในตัวกลอง
ควรถอดเปลี่ยนเลนสในบริเวณที่มีฝุนละอองนอย
เมื่ อ เก็ บ กล อ งโดยไม ไ ด ส วมเลนส ไ ว กั บ กล อ ง ตรวจสอบให แ น ใ จว า ได ใ ช ฝ าป ด เมาท
ของกลองแลว
เปาหรือปดฝุนที่ฝาปดตัวกลองกอนปดเสมอ
ธใี สและถอดเลนส

เกี่ยวกับการซูม
เมื่อตองการซูม ใชนิ้วมือหมุนวงแหวนซูมของเลนส
หากตองการซูมเพือ่ จัดภาพใหเหมาะสม ใหซมู
กอนที่จะโฟกัส เพราะการซูมหลังจากที่โฟกัส
ได แ ล ว อาจจะทำให ค วามชั ด คลาดเคลื่ อ น
ไปเล็กนอย

การถอดเลนส
ขณะที่ ก ดปุ ม ปลดล็ อ คเลนส ค า งอยู ให ห มุ น
กระบอกเลนสตามทิศทางของลูกศร
หมุนเลนสไปจนสุดทาง แลวจึงดึงออกตรงๆ
เมื่อถอดเลนสออกจากกลองแลว ใหใชฝาปด
ทายเลนสปดไวเพื่อปองกันฝุน

หามใชเลนสสองดูดวงอาทิตยโดยตรง เพราะจะเกิดอันตรายอยางมากตอดวงตา
ในขณะที่วงแหวนโฟกัสมีการหมุนในขณะเลนสกำลังคนหาความชัด หามใชนิ้ว
สัมผัสวงแหวน

การเทียบคาความยาวโฟกัส ขนาดของเซนเซอร
เพราะเซนเซอร มี ข นาดเล็ ก กว า ฟ ล ม (22.3x14.9 มม./0.88x0.59 นิว้ )
35mm ดังนัน้ ภาพทีเ่ ห็นและถายไดจงึ มี
ขนาดใหญขนึ้ เหมือนเลนสทใี่ ชมคี วาม ขนาดของฟลม 35mm
ยาวโฟกัสสูงขึน้ อีก 1.6 เทา(1.6x) (36x24 มม./1.42x0.94 นิว้ )
กีย่ วกับระบบเลนส Image Stabilizer(IS)
เมื่อใชเลนสที่ติดตั้งระบบลดภาพสั่น(IS) เลนสจะชวยลดการสั่นไหวที่มีผลทำใหภาพ
ไมชดั การอธิบายขัน้ ตอนการปรับตัง้ นี้ ใชเลนส EF-S 18-55mm f/3.5-5.6 IS มาเปน
ตัวอยาง
*IS เปนตัวยอของระบบ Image Stabilizer
ปรับสวิตซ IS ไปที่
ปรับสวิตซเปด/ปด การทำงานของกลองไปที่

ใชนวิ้ แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ลงไปครึง่ หนึง่


ระบบชวยลดภาพสัน่ หรือ IS จะเริม่ ทำงาน
ถายภาพ
เมื่อภาพที่เห็นจากชองเล็งภาพดูนิ่งแลว
จึงกดชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ

ระบบ Image Stabilizer จะมีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง เมือ่ ใชถา ยภาพสิง่ ทีเ่ คลือ่ นที่
ระบบ Image Stabilizer จะมีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง เมือ่ ใชถา ยภาพในขณะทีก่ ำลังยืน
อยบู นพืน้ ทีซ่ งึ่ มีความสัน่ มาก หรือพืน้ ทีท่ มี่ กี ารเคลือ่ นไหวมาก เชน ในขณะลองอยใู นเรือลำเล็กๆ

ระบบ Image Stabilizer จะทำงานแมวา จะปรับสวิตซเลือกระบบโฟกัสไปที่ <AF> หรือ <MF>


เมือ่ ตัง้ กลองไวบนขาตัง้ กลอง ซึง่ ไมมคี วามจำเปนตองใชระบบ Image Stabilizer
ควรปรับสวิตซของระบบ IS ไวที่ <OFF> เพือ่ ใหประหยัดพลังงาน
ระบบ Image Stabilizer จะทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ แมวา จะตัง้ กลองไวบนขาตัง้ กลองแบบ
ขาเดีย่ ว(monopod) ก็ตาม
เลนส IS บางรนุ ออกแบบใหผใู ชเลือกปรับระบบการทำงานของ IS ไดหลายแบบ อยางไรก็ดี เลนส
EF-S 18-55mm f/3.5-5.6 IS และ EF-S 18-135mm f/3.5-5.6 IS จะปรับการทำงานของระบบ IS ให
โดยอัตโนมัติ
¾×นé ฐานการปรับควบคุมกลอง
ปรับภาพในชองเล็งภาพใหคมชัด
หมุนปรับลูกบิดปรับแกสายตา
หมุนปรับลูกบิดไปทางซายและขวา เพื่อให
กรอบเล็ ง ของจุ ด โฟกั ส ทั้ ง 9 จุ ด มี ค วาม
คมชัดที่สุด
ถายังไมสามารถปรับแกสายตาไดจนเห็นภาพในชองเล็งภาพทีค่ มชัดได แนะนำใหใช Dioptric
Adjustment Lens E ซึง่ มีใหเลือก 10 ระยะ(เปนอุปกรณเสริมพิเศษ)

การจับถือกลอง
เพือ่ ใหภาพคมชัด พยายามถือกลองใหมนั่ คงและนิง่ ทีส่ ดุ เพือ่ ไมใหภาพสัน่

การถือกลองถายภาพแนวนอน แนวนอน การถือกลองถายภาพแนวตัง้


1. ใชมอื ขวาจับกริปของกลองใหมนั่ คง ถนัดมือ
2. ใชมือซายประคองใตเลนส
3. แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ดวยนิว้ ชีข้ องมือขวา
4. แนบแขนและขอศอกเขากับลำตัวโดยไมเกร็ง
5. แนบกลองกับใบหนาและมองผานชองเล็งภาพ
6. เพือ่ ใหยนื ไดมนั่ คง แยกเทาขางหนึง่ ออกไปดานหนา ปลายเทาเปด
สำหรับการเล็งภาพดวยจอ LCD ของกลองแทนการใชชอ งเล็งภาพ ดูหนา 107
¾×นé ฐานการปรับควบคุมกลอง

การใชปุมชัตเตอร
การทำงานของปมุ ชัตเตอรแบงเปนสองจังหวะ คือเมือ่ แตะลงไปเบาๆ ครึง่ หนึง่ กลองจะโฟกัส
วัดแสง และแสดงผล เมือ่ กดลงจนสุด ชัตเตอรจะลัน่ เพือ่ ถายภาพนัน้
เมื่อแตะปุมชัตเตอรเบาๆ (กดลงครึ่งหนึ่ง)
ระบบออโตโฟกัสจะเริ่มทำงาน มีการแสดงผลของ
คาแสง(ชัตเตอร/ชองรับแสง) จากระบบวัดแสงที่
เลือก คาแสงจะแสดงอยูทางดานลางสุดของจอ
LCD ภายในชองเล็งภาพ

เมื่อกดชัตเตอรลงจนสุด
ชัตเตอรจะลั่น และกลองจะบันทึกภาพนั้นไว

ปองกันภาพสั่น
ความสัน่ ของมือทีจ่ บั กลอง ตลอดจนความสัน่ ของพืน้ ทีซ่ งึ่ ยืนถายภาพอยมู กั จะมีผลทำ
ใหภาพที่ถายมีความสั่นและพรามัว และทำใหภาพลดความคมชัดลงไป โดยขึ้นอยูกับ
ความสั่นที่เกิดขึ้นมากหรือนอย เพื่อปองกันภาพสั่น ใหปฏิบัตดังนี้

ถือกลองใหกระชับมือ ดวยทาทางทีม่ นั่ คง ดังทีแ่ นะนำกอนหนานี้


แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ครึง่ หนึง่ เพือ่ ใหระบบออโตโฟกัสทำงาน แลวจึงกดชัตเตอร
ลงจนสุด

หากผใู ชกดปมุ ชัตเตอรลงจนสุดทันที โดยไมแตะปมุ ชัตเตอรเพือ่ ใหกลองหาโฟกัสเสียกอน หรือ


แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ครึง่ หนึง่ แลวกดลงจนสุดทันทีแทบจะพรอมๆ กัน กลองจะหยุดชะงักไป
ครูหนึ่งกอนที่ชัตเตอรจะลั่นเพื่อถายภาพนั้น
ในขณะที่กลองแสดงรายการตางๆ ของเมนู เลนดูภาพ หรือกำลังประมวลผลและบันทึกไฟล
ขอมูลลงในการด ผใู ชสามารถสัง่ ใหกลองกลับไปพรอมถายภาพตอไปไดทนั ทีเมือ่ ใชนวิ้ แตะปมุ
ชัตเตอรเบาๆ ครึง่ หนึง่
ารใชจอภาพในการปรับตั้งอยางรวดเร็ว
ผูใชสามารถจะเลือกสิ่งที่ตองการปรับตั้งและปรับเปลี่ยนฟงกชั่นใหทำงานในแบบที่
ตองการจากจอ LCD เรียกการปรับตัง้ แบบนีว้ า “Quick Control Screen”
แสดงระบบตางๆ ที่จอภาพ
เมื่อตองการใชจอ LCD ในการปรับตั้ง
กดปุม
จอภาพจะแสดงฟงกชั่นตางๆ

เลือกฟงกชนั่ ทีต่ อ งการปรับตัง้


กด เพื่อเลือกฟงกชั่น
เมือ่ ใชระบบบันทึกภาพพืน้ ฐาน (ยกเวน )
ผูใชสามารถเลือกระบบขับเคลื่อน(น.70)
และปรับตั้งคุณภาพในการบันทึกภาพ (น.72)
หนาจอของระบบบันทึกภาพพื้นฐาน
ฟงกชั่นที่ถูกเลือกแลวจะปรากฎบนแถบแสง
ทีห่ นาจอ
หมุน เพือ่ เปลีย่ นเปนแบบทีต่ อ งการ

หนาจอของระบบบันทึกภาพสรางสรรค
ถายภาพ
กดชัตเตอรจนสุดเพื่อถายภาพ
ารใชจอภาพในการปรับตัง้ อยางรวดเร็ว

รายละเอียดในสวนตางๆ ของจอปรับตั้งอยางรวดเร็ว
ชองรับแสง (น.80) ความไวแสง (น.62)
ความไวชัตเตอร (น.78) เพิม่ รายละเอียดในสวนสวาง*
(น.194)
ชดเชยแสง / ชดเชยแสงแฟลช (น.88)
ถายภาพครอม (น.89)
ระบบบันทึกภาพ * (น.20) ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ
คุณภาพในการบันทึกภาพ (น.72) (น.103)

Picture Style (น.75) ระบบขับเคลือ่ น (น.70)


สมดุลสีขาว (น.99) ระบบวัดแสง (น.86)
ระบบออโตโฟกัส (น.66)

ฟงกชนั่ ทีม่ เี ครือ่ งหมายดอกจันจะไมสามารถปรับตัง้ ไดดว ยจอปรับตัง้ อยางรวดเร็ว

การแสดงฟงกชนั่ ทีถ่ กู ปรับตัง้


เมื่อใชจอภาพในการปรับตั้งอยางรวดเร็ว เลือก
ฟงกชั่นที่ตองการปรับตั้ง และกดปุม
จอภาพจะเปลี่ยนไปแสดงรายการของฟงกชั่นที่
เลือก (ยกเวนความไวชัตเตอรและชองรับแสง)
หมุน เพื่อเลือกคาหรือรูปแบบที่ตองการ
หรือกดปุม เพือ่ ปรับตัง้ คาก็ได
กดปมุ เพือ่ ยืนยันการปรับตัง้ และยอน
กลับสูหนาจอของการปรับตั้งอยางรวดเร็ว
ารปรับตัง้ ควบคุมเมนู MENU
ผูใชสามารถปรับฟงกชั่นตางๆ ไดจากรายการของเมนู เชน คุณภาพของภาพ ตั้งวัน
ทีแ่ ละเวลา ฯลฯ โดยสามารถดูการปรับตัง้ ไดจากจอ LCD โดยใชปมุ หรือ
ปมุ ควบคุมแบบทิศทาง ในการเลือกรายการ และปมุ ดานหลังของกลอง

ปมุ

ปมุ ยืนยันการปรับตัง้

จอภาพ LCD ปมุ ควบคุมแบบทิศทาง

รายการในเมนู
ระบบบันทึกภาพพืน้ ฐาน ระบบบันทึกภาพยนตร

* ในโปรแกรมพื้นฐาน(Basic Zone) และโหมดการถายภาพยนตร


แถบรายการและเมนูเหลานีจ้ ะแสดงแตกตางกัน

ระบบบันทึกภาพกาวหนา แสดงภาพ ปรับตัง้ การทำงาน


ทีถ่ า ยแลว
ถายภาพ My Menu
แถบรายการ

การปรับตัง้
รายการตัวเลือก
ารปรับตัง้ ควบคุมเมนู

วิธีปรับตั้งเมนู
แสดงรายการตางๆ ในเมนู
กดปมุ เพือ่ แสดงรายการตางๆ

เลื่อนแถบเพื่อเลือกรายการ
กดปุม เพือ่ เลือกรายการ
ผใู ชสามารถหมุนวงแหวน เพือ่ เลือก
รายการ
เลือกรายการที่ตองการ
กดปุม เพือ่ เลือกรายการ
จากนั้นกดปุม

เลือกคาทีต่ อ งการปรับตัง้
กดปมุ หรือ เพือ่ เลือกคาที่
ตองการ (คาการปรับตั้งที่ตองการอาจตองใช
ทั้ง หรือ ในการปรับตัง้ )
รายการที่เลือกในปจจุบันจะเปนสีน้ำเงิน

ยืนยันการปรับตั้ง
กดปุม เพือ่ ยืนยัน
ออกจากการปรับตั้ง
กดปมุ เพื่อออกจากการปรับตั้ง
ในเมนู และกลับสูการถายภาพตามปกติ

การอธิบายเกีย่ วกับฟงกชนั่ ของเมนูตา งๆ ในทีน่ ี้ ตัง้ อยบู นสมมติฐานวา ผใู ชไดกดปมุ


< > เพือ่ แสดงรายการของเมนูบนจอภาพแลว
รายละเอียดของฟงกชั่นของเมนูตางๆ ไดแสดงรายการรวมไวที่หนา 212
¡ารฟอรแมทการด
ถาการดที่นำมาใชเปนการดแผนใหมที่ไมเคยใชมากอนหรือเคยใชกับกลองตัวอื่น หรือใชเก็บขอมูลสวนตัว
จากเครื่องคอมพิวเตอร ควรฟอรแมทดวยฟงกชั่นฟอรแมทของกลองเสียกอนที่จะนำมาใชเก็บขอมูลภาพ
การฟอรแมทการด จะลบขอมูลทุกๆ อยางทีเ่ ก็บอยใู นการด ซึง่ แมแตไฟลภาพที่
ถูกปองกันการลบภาพไวก็จะถูกลบไปดวย ควรตรวจสอบใหดีวาไมมีไฟลหรือ
ขอมูลทีส่ ำคัญทีต่ อ งการเก็บไว หากไมแนใจ ใหถา ยโอนขอมูลทีอ่ ยใู นการดไปเก็บ
ไวในคอมพิวเตอร ฯลฯ กอนทำการฟอรแมทการด
เลือก [Format]
ภายในรายการของแถบ [ ] เลือก
[Format] แลวกดปุม

ฟอรแมทการด
เลือก [OK] จากนัน้ กดปมุ
การดจะถูกฟอรแมท
เมื่อฟอรแมทการดเสร็จแลว จอภาพจะกลับ
มาแสดงเมนูอีกครั้งหนึ่ง

หากตองการฟอรแมทในระดับละเอียด
ใชปมุ ลบภาพ แลวเลือก
[Low level format] ซึ่งมีสัญลักษณ
แลวเลือก [OK]
¡ารฟอรแมทการด

จัดการ [Format] ในกรณีดงั ตอไปนี้


เมือ่ นำการดใหมมาใช
เมือ่ นำการดทีถ่ กู ฟอรแมทจากกลองตัวอืน่ หรือจากคอมพิวเตอรมาใช
เมือ่ การดนัน้ เก็บภาพหรือขอมูลไวจนเต็มความจุ
เมื่อกลองแสดงผลวาการดมีความผิดปกติ (น.224)

เกีย่ วกับการฟอรแมทในระดับละเอียด (Low-level Format)


ใชคำสั่งนี้เมื่อพบวาการบันทึก หรือการอานขอมูลของการดใชเวลานานมากกวาปกติ
การฟอรแมทแบบนี้ กลองจะฟอรแมททุกสวนทีส่ ามารถเก็บขอมูลไดทงั้ หมดของการด
ซึ่งจะใชเวลาฟอรแมทนานกวาแบบปกติอีกเล็กนอย
ในขณะที่ระบบฟอรแมทนี้กำลังทำงานอยู ผูใชสามารถยกเลิกการทำงานกลางคันได
โดยเลือก [Cancel] ซึง่ ระบบฟอรแมทแบบปกติจะทำงานตอไปจนการฟอรแมทเสร็จสิน้
สมบูรณ และสามารถใชการดเก็บขอมูลของไฟลภาพไดตอ ไปตามปกติ

เมื่อมีการฟอรแมทการด เฉพาะขอมูลของระบบการจัดการไฟลเทานั้นที่จะถูกเปลี่ยนแปลงไป
ขอมูลที่เก็บไวในการดจะยังไมถูกลบออกไปอยางบริบูรณและอาจกูกลับคืนมาไดอีก(ดวย
ซอฟทแวรบางชนิด) ใหระมัดระวังเรื่องนี้เมื่อขาย มอบการดใหกับบุคคลอื่น หรือทิ้งแผนการด
ดังนัน้ เมือ่ ไมตอ งการใชการดอีกหรือตองการจะทิง้ ไป ควรจะฟอรแมทในระดับละเอียด หรือตัด
ทำลายแผนการดใหเสียรูปไปเพือ่ ไมใหขอ มูลในการดรัว่ ไหล
กอนทีจ่ ะใชการด Eye-Fi แผนใหม ตองติดตัง้ ซอฟทแวรภายในการดลงในคอมพิวเตอรเสียกอน
จากนั้นจึงใชกลองฟอรแมทการดนี้

ความจุของการดทีแ่ สดงอยบู นจอภาพในขณะทีฟ่ อรแมทอาจจะต่ำกวาความจุทรี่ ะบุไวบนฉลาก


ของการด
อุปกรณนสี้ นับสนุนเทคโนโลยี exFAT โดยไดรบั การอนุญาตจากไมโครซอฟท
»รับเปลีย่ นการแสดงผลของจอ LCD
จอ LCD ของกลองสามารถแสดงผลของขอมูลและคาทีป่ รับตัง้ ไวสำหรับถายภาพ รายการของเมนู
ภาพ ฯลฯ

ขอมูลการถายภาพ
ขอมูลการถายภาพจะปรากฏทันทีทเี่ ปดสวิตซกลอง
เมื่อผูใชแนบตาเขาใกลกับชองเล็งภาพ เซนเซอร
ตรวจจับ(น.17,146) จะปดการแสดงผลของจอภาพ
LCD โดยอัตโนมัติ เพือ่ ปองกันมิใหแสงสวางของจอ
LCD รบกวนตอการมองภาพ และจอ LCD จะกลับสู
การแสดงผลตามปกติทันทีที่ผูใชละสายตาจาก
ชองเล็งภาพ

ระหวางทีจ่ อภาพกำลังแสดงเมนูหรือแสดงภาพดังทีแ่ สดงดานลาง เมือ่ ใชนวิ้ แตะชัตเตอรเบาๆ


จอภาพสามารถกลับสูการแสดงผลของการปรับตั้งเพื่อถายภาพ(ในภาพบน) และถาย
ภาพไดทันที
กดปมุ เพือ่ เปดหรือปดการแสดงขอมูลการถายภาพ
หากผใู ชมองชองเล็งภาพในขณะสวมแวนกันแดด จอ LCD อาจไมดบั ลงโดยอัตโนมัติ
ในกรณีนี้ ใหกดปมุ เพือ่ ปดการแสดงผลของจอ LCD
เมือ่ ใชกลองใกลๆ กับแหลงกำเนิดแสงฟลูออเรสเซนต จอ LCD อาจดับลงเองโดยอัตโนมัติ
ถาเกิดเหตุนี้ ใหนำกลองออกหางจากแหลงกำเนิดแสงนัน้ เสีย

เมนู ภาพที่ถายแลว

หนาจอนี้จะปรากฏขึ้นเมื่อกดปุม แสดงภาพทีถ่ า ยไวแลวเมือ่ กดปมุ


และเมือ่ กดปมุ ซ้ำ ก็จะ และเมือ่ กดปมุ ซ้ำ ก็จะกลับไป
กลับไปสกู ารแสดงผลในหนาจอเดิม สกู ารแสดงผลในหนาจอเดิม
¡Òö‹ÒÂÀÒ¾¢Ñé¹àº×éͧµŒ¹
áÅСÒôÙÀÒ¾·Õ趋ÒÂáÅŒÇ
ในบทนี้ จะอธิ บ ายการเกี่ ย วกั บ การถ า ยภาพด ว ยระบบถ า ยภาพขั้ น เบื้ อ ง
ตน(Basic Zone) เพือ่ ผลของภาพถายทีด่ ี และวิธกี ารเลนดูภาพทีถ่ า ยมาแลว
เมื่อใชระบบถายภาพขั้นเบื้องตน สิ่งที่ผูใชตองทำก็เพียงแตเล็งไปยังสิ่งที่ตอง
การถาย และกลองจะทำการปรับคาตางๆ ใหโดยอัตโนมัติ (น.210) และเพือ่
ปองกันภาพเสียจากการปรับตั้งที่ผิดพลาดของผูใช ผูใชจะไมสามารถเปลี่ยน
คาในระบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ และฟงกชั่นที่ปรับตั้งไมไดจะแสดงใหเห็น
เปนสีเทาจางๆ บนจอภาพ

ระบ
ขนั้ เ บถาย
บอื้ ภาพ
งตน
เกีย่ วกับระบบ Auto Lighting Optimizer(ระบบปรับแสงอัตโนมัต)ิ
ในระบบถายภาพขั้นเบื้องตน ระบบ Auto Lighting Optimizer(ระบบปรับแสงอัตโนมัติ) ซึ่ง
เปนฟงกชั่นพิเศษจะปรับความเขมสวางและความเปรียบตางของแสงในภาพใหโดยอัตโนมัติ
และสามารถตั้งระบบนี้เปนระบบมาตรฐานในระบบถายภาพสรางสรรคดวยเชนกัน (น.103)
ายภาพในแบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ
ปรับวงแหวนเลือกระบบไปที่

กรอบพืน้ ทีจ่ ดุ โฟกัส เล็งจุดโฟกัสจุดใดจุดหนึง่ ไปทีว่ ตั ถุ


จุดโฟกัสทุกๆ จุดมีหนาทีค่ น หาความชัด ซึง่ จุด
ทีม่ วี ตั ถุอยใู กลกวาจุดอืน่ ๆ จะเปนจุดทีจ่ บั ภาพ
วัตถุได
การใชจุดโฟกัสที่กึ่งกลางของเฟรมจะชวยให
โฟกัสไดงายขึ้น

โฟกัส
แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ครึง่ หนึง่ เลนสจะหมุนเพือ่
ปรับภาพใหชัด
จุดที่อยูภายในกรอบสี่เหลี่ยมของจุดที่หาโฟกัสได
จะติดสวางเปนสีแดงในชวงสั้นๆ พรอมกับเสียง
สัญญาณเตือน “บี๊บ” ไฟยืนยันความชัด
ที่มุมลางดานขวาของชองเล็งภาพจะสวางขึ้นดวย
หากจำเปน แฟลชที่ติดตั้งในตัวกลองจะยกตัว
ขึ้นและทำงานโดยอัตโนมัติ

ไฟสัญญาณยืนยันความชัด
ถายภาพ
กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ
ภาพที่ถายแลวจะแสดงบนจอ LCD เปนเวลา
นานประมาณ 2 วินาที
เมื่อแฟลชในตัวกลองยกตัวขึ้นเองและทำงาน
แลว ผใู ชสามารถใชนวิ้ กดใหแฟลชลงสตู ำแหนง
เดิมหลังจากที่ถายภาพเสร็จ
ายภาพในแบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ

FAQ ปญหาที่ผูใชมักจะเกิดขอสงสัยกันบอยๆ
ไฟสัญญาณยืนยันความชัด กระพริบ และกลองโฟกัสไมได
เล็งจุดโฟกัสไปยังบริเวณทีม่ คี วามแตกตางของแสงและเงามากๆ และแตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ
ลงครึง่ หนึง่ (น.202) และถาอยใู กลกบั วัตถุมากเกินไป ใหถอยออกหางมากขึน้ และ
ทดลองโฟกัสใหมอกี ครัง้
บางครัง้ จุดโฟกัสหลายจุดติดสวางพรอมๆ กัน
หมายความวา จุดโฟกัสทุกจุดทีต่ ดิ สวางนัน้ สามารถจับความชัดไดพรอมกัน โดยจุดโฟกัส
เหลานีค้ รอบคลุมวัตถุทอี่ ยใู นระยะเดียวกัน ผใู ชจงึ ถายภาพไดทนั ที
เสียง “บีบ๊ ” ดังขึน้ เบาๆ และเปนจังหวะถีๆ ่ (ไฟสัญญาณยืนยันความชัด
ก็ไมติดสวางขึ้น)
แสดงวากลองกำลังจับภาพวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นทีด่ ว ยระบบโฟกัสแบบตอเนือ่ ง(ซึง่ ไฟ
สัญญาณยืนยันความชัด จะไมตดิ ขึน้ ) ผใู ชสามารถกดชัตเตอรเพือ่ ถายภาพได
ทันทีเมือ่ พอใจ และไดภาพวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นทีอ่ ยางชัดเจน

เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ แตกลองก็ไมโฟกัสให


เมือ่ สวิตซทกี่ ระบอกเลนสถกู ปรับไวที่ <MF> (แมนนวลโฟกัส) กลองจะไมหาความชัดให
โดยอัตโนมัติ ใหตรวจสอบสวิตซของเลนส และปรับมาที่ <AF>
แมจะถายภาพในตอนกลางวัน แตแฟลชในตัวกลองก็ยกตัวขึน้ มาทำงาน
เมือ่ ถายภาพยอนแสง แฟลชจะยกตัวขึน้ ทำงานเพือ่ ลบเงาเขมบริเวณดานหนาของวัตถุ
และชวยใหวตั ถุมรี ายละเอียดทีด่ ขี นึ้
ในสภาพแสงนอยๆ แฟลชในตัวกลองยกตัวขึน้ และยิงแสงกระพริบถีๆ ่ ออกไป
เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอร แฟลชจะยกตัวขึน้ และยิงแสงกระพริบถีๆ่ ออกไปเพือ่ ชวยระบบโฟกัส
ในการคนหาโฟกัส เรียกวา “ไฟชวยหาโฟกัส”(AF assist beam) ซึง่ ไฟแฟลชนีจ้ ะทำงานได
ดีในระยะหางไมเกิน 4 เมตร / 13.1 ฟุต
ถึงแมแฟลชจะทำงานแลว แตภาพก็ยงั ดูมดื
วัตถุทถี่ า ยภาพนัน้ อยไู กลกวาระยะการทำงานของแฟลช สิง่ ทีจ่ ะถายภาพนัน้ ควรจะอยู
ภายในระยะหางไมเกิน 5 เมตร / 16.4 ฟุต จากกลอง
เมือ่ ใชแฟลช พืน้ ทีข่ องภาพทางดานลางดูมดื อยางผิดปกติ
วัตถุทถี่ า ยภาพนัน้ อยใู กลกบั กลองมากจนเกินไป จนกระบอกเลนสทยี่ นื่ ออกไปจากตัว
กลองบดบังแสงของแฟลชทีฉ่ ายออกไป วัตถุทจี่ ะถายภาพโดยใชแฟลชนัน้ ไมควรอยใู กล
กวา 1 เมตร / 3.3 ฟุต และถาใชฮดู เลนส ใหถอดออกเสียกอนทีจ่ ะใชแฟลชถายภาพใกลๆ
ทคนิคการถายภาพดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ
การจัดองคประกอบภาพใหม

ในฉากของสถานที่บางแหง การจัดใหจุดเดนอยูทางดานซายหรือขวาของภาพจะทำใหภาพเกิด
ความสมดุล และมีองคประกอบภาพที่สวยงามมากขึ้น
เมื่อใชระบบ Full Auto ซึ่งกลองจะปรับตั้งคาใหทั้งหมดโดยอัตโนมัตินั้น เมื่อแตะชัตเตอร
เบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง ใหกลองจับความชัดและยังคงแตะคางไว โฟกัสจะล็อค ผูใชสามารถเบนกลองไป
ทางซายหรือขวาเพื่อจัดใหตัวแบบอยูคอนไปทางดานใดดานหนึ่งของเฟรม จากนั้นจึงกดชัตเตอร
จนสุดเพื่อถายภาพ เทคนิคนี้เรียกวา “การล็อคโฟกัส”(Focus Lock) ซึ่งทำงานไดในระบบถาย
ภาพขั้นพื้นฐานทุกๆ ระบบ ยกเวนระบบถายภาพสิ่งที่เคลื่อนไหว (Sports)

การถายภาพสิ่งที่กำลังเคลื่อนที่

เมือ่ ใชระบบถายภาพอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ ( Full Auto) เมือ่ วัตถุมกี ารเคลือ่ น


ที่(ระยะระหวางกลองกับวัตถุเปลี่ยนแปลงไป) ในขณะที่โฟกัสหรือโฟกัสไดแลว ระบบ
AI Servo AF ซึง่ เปนระบบทีส่ ามารถจับความชัดอยางตอเนือ่ งไปยังวัตถุทเี่ คลือ่ นทีจ่ ะเริม่
ทำงานโดยอัตโนมัติ และชวยจับภาพใหชัดตราบเทาที่ผูใชยังคงเล็งภาพวัตถุใหอยูภาย
ในเฟรมและใชนิ้วแตะชัตเตอรคางไวครึ่งหนึ่ง การโฟกัสจะยังคงทำงานอยางตอเนื่อง
ตลอดเวลา และเมื่อถึงจังหวะที่ตองการถายภาพ ก็เพียงกดปุมชัตเตอรลงจนสุด
Âกเลิกการทำงานของแฟลชอัตโนมัติ
สถานทีบ่ างแหงจะหามใชแฟลชถายภาพ ใชระบบยกเลิกการทำงานของแฟลชอัตโนมัต(ิ Flash off)
< > ระบบนีย้ งั เหมาะกับการถายภาพภายใตแหลงกำเนิดแสงอืน่ ๆ ทีต่ อ งการใหภาพแสดง
ผลพิเศษของแหลงกำเนิดแสงแบบนัน้ เชน การถายภาพในบรรยากาศทีม่ แี สงเทียน

กลเม็ดเคล็ดลับ
เมือ่ ใชเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งมุมกวาง
เมือ่ ใชเลนสซมู ควรจะซูมทีช่ ว งมุมกวาง เพราะชวงมุมกวางจะชวยใหความชัดลึกเพิม่ มาก
ขึน้ ชวยใหวตั ถุทอี่ ยใู นระยะใกลจนถึงระยะไกลมีความชัดมากกวาการใชเลนสในชวงอืน่ ๆ
และเลนสชวงมุมกวางยังชวยทำใหภาพทิวทัศนดูมีความกวางมากขึ้นดวย

เมือ่ ถายภาพทิวทัศนรว มกับแสงไฟตอนกลางคืน


เมือ่ เลือกใชระบบถายภาพทิวทัศนแลว แฟลชในตัวกลองจะไมทำงาน ซึง่ จะเหมาะสำหรับ
การถายภาพเพือ่ เก็บแสงสีของทิวทัศนในเวลากลางคืน ในสภาพแสงทีน่ อ ย ควรจะใชขาตัง้
กลองเสมอเพือ่ ปองกันภาพสัน่ และเมือ่ ตองการถายภาพบุคคลรวมดวย ใหเปลีย่ นไปใชระบบ
ถายภาพบุคคลกับแสงกลางคืน(Night Portrait) และใชขาตัง้ กลองดวยเชนกัน
Ãะบบถายภาพบุคคล
ระบบถายภาพบุคคล (Portrait) เปนระบบทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ใหฉากหลังของภาพนมุ
เบลอมากทีส่ ดุ ชวยใหตวั แบบดูโดดเดนมากในภาพ นอกจากนีย้ งั ชวยปรับโทนสีผวิ และผมใหแล
ดูนมุ นวลกวา เมือ่ เทียบกับการถายบุคคลดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ (Full Auto)

กลเม็ดเคล็ดลับ
ยิง่ ตัวแบบอยไู กลจากฉากหลัง ฉากหลังก็จะยิง่ มีความนมุ เบลอมากขึน้
ถาจัดใหตำแหนงของตัวแบบอยไู มไกลจากฉากหลังมากนัก ฉากหลังในภาพก็จะมีความชัด
และเห็นรายละเอียดจนแยงความนาสนใจไปจากจุดเดน ควรจะจัดใหวตั ถุอยหู า งไกลจาก
ฉากหลังมากๆ ฉากหลังก็จะยิง่ ดูนมุ เบลอ และตัวแบบดูโดดเดน นอกจากนี้ ควรจะ ถายภาพ
บุคคลกับฉากหลังทีม่ สี พี นื้ เรียบๆ ทีเ่ ปนสีเดียวกัน หรือบริเวณทีม่ สี เี ขม
เมือ่ ใชเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งเทเลโฟโต
ถามีเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งความยาวโฟกัสปลายสุดของเลนสเพือ่ ใหภาพบุคคลดูแนนพอดี
กับขนาดเฟรม โดยมีฉากหลังพอประมาณ(ดังภาพตัวอยางดานบน) และถาเห็นวาตัวแบบ
ยังมีขนาดเล็กจนเกินไป ก็อาจจะตองเขาใกลมากขึน้ เพือ่ ใหไดขนาดทีพ่ องาม
โฟกัสทีใ่ บหนา
ตรวจสอบจุดโฟกัสทีท่ าบกับบริเวณใบหนาของแบบ วากระพริบเปนสีแดงหรือไม

ถากดปมุ ชัตเตอรจนสุดและคางไว กลองจะถายภาพดวยระบบถายภาพตอเนือ่ ง ประมาณ 3.7


เฟรมตอวินาที เพือ่ เลือกภาพบุคคลทีด่ จี ากหลายๆ ภาพทีม่ ใี บหนาและการแสดงออกตางๆ กัน
หากมีความจำเปน แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึน้ และทำงานโดยอัตโนมัติ
Ãะบบถายภาพทิวทัศน
ควรใชระบบถายภาพทิวทัศน(Landscape) เมือ่ ตองการถายภาพในทีก่ วางโดยตองการ
ใหทกุ สวนของภาพ ตัง้ แตระยะใกลจนถึงไกลมีความคมชัดทัง้ หมด สีเขียวและสีน้ำเงินทีป่ รากฏใน
ภาพจะสดขึน้ เมือ่ เทียบกับการใชระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ

กลเม็ดเคล็ดลับ
เมือ่ ใชเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งมุมกวาง
เมือ่ ใชเลนสซมู ควรจะซูมทีช่ ว งมุมกวาง เพราะชวงมุมกวางจะชวยใหความชัดลึกเพิม่ มาก
ขึน้ ชวยใหวตั ถุทอี่ ยใู นระยะใกลจนถึงระยะไกลมีความชัดมากกวาการใชเลนสในชวงอืน่ ๆ
และเลนสชวงมุมกวางยังชวยทำใหภาพทิวทัศนดูมีความกวางมากขึ้นดวย
เมือ่ ถายภาพทิวทัศนรว มกับแสงไฟตอนกลางคืน
เมือ่ เลือกใชระบบถายภาพทิวทัศน แฟลชในตัวกลอง
จะไมทำงาน ซึง่ จะเหมาะสำหรับการถายภาพเพือ่ เก็บแสงสี
ของทิวทัศนในเวลากลางคืน ในสภาพแสงทีน่ อ ย ควรจะใช
ขาตั้งกลองเสมอเพื่อปองกันภาพสั่น และเมื่อตองการถาย
ภาพบุคคลรวมดวย ใหเปลีย่ นไปใชระบบถายภาพบุคคลกับ
แสงกลางคืน(Night Portrait) และใชขาตัง้ กลองดวย
เชนกัน (น.54)
Ãะบบถายภาพระยะใกล
เมือ่ ตองการถายภาพสิง่ ของเล็กๆ เชน ดอกไมขนาดเล็กๆ ใหมขี นาดพอดีกบั เฟรม ใหเลือกใชระบบ
ถายภาพระยะใกล(Close-up) และเมือ่ ตองการใหภาพสิง่ เล็กๆ มีขนาดใหญดชู ดั เจนใน
เฟรม ใหเปลีย่ นไปใชเลนสมาโคร(เปนอุปกรณเสริมพิเศษ)

กลเม็ดเคล็ดลับ
เลือกฉากหลังทีเ่ ปนสีเรียบๆ
ฉากหลังทีเ่ ปนสีเรียบๆ จะชวยใหสงิ่ ของเล็กๆ อยางเชนดอกไม ดูโดดเดนขึน้
ขยับกลองเขาใกลวตั ถุมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะทำได
ตรวจสอบระยะโฟกัสใกลทสี่ ดุ ของเลนสทใี่ ช ซึง่ เลนสบางรนุ จะแสดงระยะโฟกัสใกลสดุ ของมัน
ไวบนกระบอกเลนสดว ย เชน < 0.25m/0.8ft > ระยะโฟกัสใกลสดุ ของเลนสกค็ อื ระยะ
ทีว่ ดั จากระนาบความชัด ซึง่ แสดงอยบู นตัวกลอง ไปถึงวัตถุ และถาเคลือ่ นกลองเขา
ไปใกลวตั ถุมากเกินไป กลองจะโฟกัสไมได สัญลักษณ จะกระพริบเตือน
ในสภาพแสงนอยหรือสลัว แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึน้ และทำงานโดยอัตโนมัติ และถาถาย
ภาพในระยะใกลมาก บริเวณดานลางของภาพจะสลัวกวาบริเวณอื่น ใหเคลื่อนกลองออก
หางอีกเล็กนอย

เมือ่ ใชเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งเทเลโฟโตมากทีส่ ดุ


การซูมไปที่ชวงเทเลโฟโตมากที่สุดจะชวยใหวัตถุขนาดเล็กๆ มีขนาดใหญที่สุดเทาที่
จะเปนไปได
Ãะบบถายภาพสิง่ ทีเ่ คลือ่ นที่
เมือ่ ตองถายภาพสิง่ ทีก่ ำลังเคลือ่ นทีห่ รือกำลังเคลือ่ นไหว เชน เด็กๆ ทีก่ ำลังวิง่ เลน หรือยานพาหนะ
ทีก่ ำลังวิง่ ใชระบบถายภาพสิง่ ทีเ่ คลือ่ นที(่ Sports)

กลเม็ดเคล็ดลับ
ใชเลนสเทเลโฟโต
แนะนำใหใชเลนสเทเลโฟโต เพือ่ ใหถา ยภาพไดขนาดทีด่ ชู ดั เจน พอดีเฟรม
เลือกใชจดุ โฟกัสจุดกึง่ กลาง
เล็งจุดโฟกัสจุดกึง่ กลางของเฟรมไปยังวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นที่ จากนัน้ แตะชัตเตอรเบาๆ เพือ่ ให
กลองโฟกัส ในขณะทีร่ ะบบออโตโฟกัสกำลังทำงานอยนู นั้ เสียง “บีบ๊ ” จะดังขึน้ เปนจังหวะสัน้ ๆ
และเบา และถากลองไมสามารถจับความชัดได สัญญาณไฟยืนยันความชัด
จะกระพริบเตือน
เมือ่ ตองการถายภาพในจังหวะทีต่ อ งการ ใหกดชัตเตอรลงจนสุด และถากดชัตเตอรคา งไว
กลองจะบันทึกภาพอยางตอเนื่อง(ความเร็วสูงสุดประมาณ 3.7 ภาพตอวินาที) ซึ่งระบบ
ออโตโฟกัสก็จะยังทำงานอยางตอเนือ่ งอยตู ลอดเวลา

ในสภาพแสงนอย ซึง่ อาจทำใหภาพสัน่ ได ตัวเลขแสดงความไวชัตเตอรทปี่ รากฏตรงมุม


ลางดานซายของชองเล็งภาพจะกระพริบเตือน ใหพยายามถือกลองใหนงิ่ ทีส่ ดุ
Ãะบบถายภาพบุคคลกับแสงกลางคืน
เมือ่ ตองการถายภาพบุคคลในเวลากลางคืน โดยตองการเก็บแสงของฉากหลังใหแลดูเปน
ธรรมชาติ เลือกใช ระบบถายภาพบุคคลกับแสงกลางคืน(Night Portrait)

กลเม็ดเคล็ดลับ
ใชเลนสชว งมุมกวาง และขาตัง้ กลอง
เมือ่ ใชเลนสซมู ควรเลือกใชชว งมุมกวางเพือ่ ใหเก็บบรรยากาศกวางๆ ของแสงสีในฉากหลัง
ได และควรใชขาตัง้ กลองเพือ่ ปองกันไมใหภาพสัน่
จัดใหตวั แบบยืนอยหู า งจากกลองในระยะไมเกิน 5 เมตร/16.4 ฟุต
ในสภาพแสงนอยๆ แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึน้ เองและใหแสงกับตัวแบบโดยอัตโนมัตเิ พือ่
ใหตวั แบบแลดูสดใส ระยะการทำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพของแฟลชในตัวกลองจะอยใู นระยะ
ไมเกิน 5 เมตรจากกลอง
ถายซ้ำอีกครัง้ ดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ(Full Auto)
ภาพสัน่ ... มักจะเกิดขึน้ เพราะการเปดรับแสงเปนเวลานานเมือ่ ถายภาพรวมกับแสงสีกลาง
คืน แนะนำใหใชระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ ถายซ้ำอีกครัง้ หากไมแนใจวาภาพที่
ถายมีความคมชัดหรือไม

แนะนำใหตวั แบบยืนใหนงิ่ อยเู ปนเวลานานกวาปกติ แมแฟลชจะยิงแสงออกไปแลว


ถาใชระบบหนวงเวลาถายภาพ(Self Timer) ไฟสัญญาณเตือนของระบบหนวงเวลาถายภาพ
จะสองสวางภายหลังจากที่ไดถายภาพอยางสมบูรณแลว
ถายภาพดวยระบบอัตโนมัตแิ บบสรางสรรค
ระบบถายภาพอัตโนมัติสมบูรณแบบ จะจัดการปรับตั้งทุกๆ อยางใหทั้งหมด
ขณะทีร่ ะบบบันทึกภาพอัตโนมัตแิ บบสรางสรรค < > จะเปดโอกาสใหผใู ชปรับ
ความสวางของภาพ ชวงความชัด โทนสี(Picture Style) ฯลฯ สวนคามาตรฐานของระบบ
นี้จะเหมือนกับระบบถายภาพแบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ
*CA เปนตัวยอของ Creative Auto (ระบบอัตโนมัติแบบสรางสรรค)
หมุนวงแหวนเลือกระบบไปที่ < >
จอภาพของระบบบันทึกภาพอัตโนมัติแบบ
สรางสรรคจะปรากฎบนจอ LCD
กดปุม
สามารถใช เพื่อเลือกฟงกชั่น
สำหรับรายละเอียดเกีย่ วกับฟงกชนั่ ตางๆ ดูได
ทีห่ นา 56- 57

ปรับคาตามที่ตองการ
ใช เพือ่ เลือกฟงกชนั่
คำอธิบายยอๆ เกีย่ วกับฟงกชนั่ นัน้ จะแสดงอยู
ทางดานลางของจอภาพ
หมุนวงแหวน เพือ่ ปรับคาตามที่
ตองการ
กดปุ ม ชั ต เตอร ล งครึ่ ง หนึ่ ง เพื่ อ กลั บ ไปขั้ น
ตอนที่ 2
ถายภาพ
กดชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ

เมื่อเปลี่ยนระบบบันทึกภาพ หรือเมื่อระบบปดพลังงานของกลองอัตโนมัติทำงาน (น.139)


หรือเมื่อปรับสวิตซเปดปดกลองไปที่ <OFF> การปรับตั้งคาในระบบบันทึกภาพอัตโนมัติ
แบบสรางสรรคจะกลับไปเปนคามาตรฐาน อยางไรก็ตาม คุณภาพในการบันทึก ระบบ
หนวงเวลาถายภาพ และการเลือกถายภาพดวยรีโมทจะไมเปลี่ยนแปลง
ายภาพดวยระบบอัตโนมัตแิ บบสรางสรรค

ชัตเตอรและชองรับแสง

จำนวนภาพทีถ่ า ยได

ตรวจสอบระดับพลังงาน

การใชแฟลช
(Auto flash), (Flash on) หรือ < > (Flash off)
ถาเลือก < > (Flash off) ดู “ยกเลิกการทำงานของแฟลชอัตโนมัติ” หนา 49

ปรับใหฉากหลังของภาพชัดหรือเบลอ

เมื่อเลื่อนขีดดัชนีไปทางดานซาย ฉากหลังของภาพจะเบลอมากขึ้น และถาเลื่อน


ขีดดัชนีไปทางขวา ฉากหลังของภาพจะดูชัดมากขึ้น ถาตองการใหฉากหลังเบลอ
ดู “การถายภาพบุคคล” หนา 50
ความชัดและเบลอของฉากหลังขึ้นอยูกับเลนสที่ใชและวิธีถายภาพในขณะนั้น ดัง
นั้นฉากหลังของภาพอาจไมเบลอมากนัก และเมื่อถายภาพโดยใชแฟลช จะไม
สามารถปรับตั้งการทำงานนี้ได
ปรับความสวางของภาพ

เมื่อเลื่อนขีดดัชนีไปทางซาย ภาพจะเขมขึ้น
ถาเลื่อนขีดดัชนีไปทางขวา ภาพจะสวางขึ้น
ายภาพดวยระบบอัตโนมัตแิ บบสรางสรรค
ผลพิเศษของภาพ

นอกจากผลทีเ่ กิดขึน้ ตามมาตรฐาน ผใู ชสามารถปรับตัง้ ผลพิเศษสำหรับการถายภาพบุคคล


ทิวทัศน หรือภาพขาวดำ (น.75 : Picture Style)
(Standard): ผลของภาพในลักษณะมาตรฐาน เหมาะสำหรับภาพทัว่ ๆ ไป
(Smooth skin tones): เหมาะสำหรับการถายภาพผูหญิงและเด็กใน
ระยะใกล
(Vivid blues and greens): สำหรับการถายภาพทิวทัศนทนี่ า ประทับใจ
(Monochrome image): สำหรับสรางสรรคภาพขาวดำ
ถายภาพครัง้ ละภาพ ถายภาพตอเนือ่ ง หรือหนวงเวลา

(ถายภาพตอเนือ่ งความเร็วต่ำ ): ถายภาพตอเนือ่ งดวยความเร็ว 3.7 ภาพ


ตอวินาที
(หนวงเวลา 10 วินาที/ใชรโี มท): ดู “การใชระบบหนวงเวลาถายภาพ”
หมายเหตุ ใน น.71 และสามารถถายภาพโดยใชรโี มทได (น.204)
(หนวงเวลา 10 วินาที/ถายภาพตอเนือ่ ง): หลังจากกดชัตเตอร 10 วินาที
กลองจะถายภาพชุดตามจำนวนทีต่ งั้ ไวอยางตอเนือ่ ง ใชปมุ เพือ่ ตัง้
จำนวนภาพทีต่ อ งการถายดวยระบบหนวงเวลา (2 ถึง 10 ภาพ)
* เมือ่ กดปมุ ผใู ชสามารถแสดงรายการของ [Drive mode] ที่
จอภาพ และสามารถจะเลือกไดจากรายการที่ปรากฎ
คุณภาพของภาพที่ถาย

เมื่อตองการปรับตั้งคุณภาพในการบันทึกภาาพดู “ปรับตั้งคุณภาพของภาพที่ถาย
” น.72-74 โดยกดปมุ เพือ่ ใหรายการปรับตัง้ [Quality] ปรากฎบนจอ LCD
และเลือกปรับตั้งไดจากรายการดังกลาว
¡ารเลนดูภาพที่ถายแลว
วิธเี ลนดูภาพทีถ่ า ยแลวมีขนั้ ตอนงายมากดังทีไ่ ดอธิบายไวตอ ไปนี้ สำหรับรายละเอียดมากขึน้ อาน
ไดจากหนา 155
เลนดูภาพ
เมือ่ กดปมุ ภาพลาสุดทีถ่ กู ถายไวจะ
ปรากฏบนจอ LCD

เลือกภาพ
เมือ่ ตองการดูภาพ เริม่ จากภาพหลังสุดทีถ่ า ย
ใชปมุ ในการเปลีย่ นภาพ
เมือ่ ตองการดูภาพ เริม่ จากภาพแรกสุดทีถ่ า ย
ใชปมุ ในการเปลีย่ นภาพ
ใชปมุ เพือ่ เปลีย่ นรูปแบบการแสดงภาพ

แสดงภาพเดี่ยว แสดงภาพ+คุณภาพของไฟล

แสดงภาพพรอม histogram แสดงภาพพรอมขอมูลการถายภาพ


ออกจากระบบเลนดูภาพ
กดปมุ เพือ่ ออกจากระบบเลนดูภาพ
และกลับสูการแสดงขอมูลการถายภาพ
à·¤¹Ô¤¡Òö‹ÒÂÀÒ¾
¢Ñ鹡ŒÒÇ˹ŒÒ
เพือ่ ปองกันภาพเสียหรือไมสมบูรณ ในระบบถายภาพขัน้ เบือ้ งตน ผใู ชจงึ ไมสามารถ
ปรับควบคุมและปรับตั้งฟงกชั่นบางอยางได และเมื่อเลือกใชโปรแกรม
ผูใชสามารถปรับตั้งฟงกชั่นสำหรับสรางสรรคภาพในรูปแบบตางๆ ไดมากขึ้น
เมือ่ ใช (Program AE) กลองจะตัง้ คาความไวชัตเตอรและ
ชองรับแสงที่เหมาะสมใหโดยอัตโนมัติ
ความแตกตางระหวางระบบถายภาพขั้นเบื้องตน กับ
ไดอธิบายไวในหนา 210
หมายถึง โปรแกรม(Program)
หมายถึง ระบบถายภาพอัตโนมัติ (Auto Exposure)
เพือ่ ใหภาพมีระดับความเขมสวางทีพ่ อเหมาะพอดี กลองจะเลือกคาการเปดรับแสง(ชัตเตอร/ชอง
รับแสง) ใหโดยอัตโนมัติ เรียกวา Program AE
หมุนวงแหวนเลือกระบบไปที่

โฟกัสไปยังวัตถุ
มองผานชองเล็งภาพ และเล็งจุดโฟกัสที่เลือกไว
ไปยังวัตถุ แลวแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง

จุดทีอ่ ยภู ายในกรอบสีเ่ หลีย่ มของจุดทีห่ าโฟกัสได


จะติดสวางเปนสีแดงในชวงสัน้ ๆ พรอมกับเสียง
สัญญาณเตือน “บีบ๊ ” ไฟยืนยันความชัด
ที่มุมลางดานขวาของชองเล็งภาพจะสวางขึ้น
ดวย(เมื่อใชระบบ One Shot AF + ระบบเลือกจุด
โฟกัสอัตโนมัต)ิ
กลองจะตัง้ ความไวชัตเตอรและชองรับแสงที่
พอเหมาะพอดีกับคาแสงขณะนั้นใหโดยอัตโนมัติ
และแสดงคาไวในชองเล็งภาพและจอ LCD
ตรวจสอบความไวชัตเตอรและชองรับแสง
คาการเปดรับแสงที่กลองเลือกไวให(ความไว
ชัตเตอรและชองรับแสง) จะแสดงโดยไมกระพริบ

ถายภาพ
จัดองคประกอบภาพและกดชัตเตอรลงจนสุด
กลเม็ดเคล็ดลับ
การปรับเปลีย่ นความไวแสง และใชแฟลชในตัว
เพือ่ ความเหมาะสมกับวัตถุและสภาพแสงบริเวณทีถ่ า ย ผใู ชสามารถปรับเปลีย่ นความไวแสง
(น.62) หรือใชแฟลชในตัวกลอง (น.64) เมือ่ ใชระบบบันทึกภาพ แฟลชในตัวกลอง
จะไมทำงานโดยอัตโนมัติ เมือ่ แสงนอย ใหกดปมุ เพือ่ ใหแฟลชยกตัวขึน้ ทำงาน

ปรับเปลีย่ นคาแสงทีก่ ลองตัง้ มาใหได (Program Shift)


หลังจากใชนวิ้ แตะปมุ ชัตเตอรลงครึง่ หนึง่ ผใู ชสามารถปรับคาแสง(ชัตเตอร/ชองรับแสง) ใหเปน
คาทีต่ อ งการได โดยหมุนวงแหวน เรียกวา “การปรับเปลีย่ นคาแสง” และหลังจากที่
ถายภาพแลว การปรับเปลีย่ นคาแสงทีท่ ำขึน้ ก็จะถูกยกเลิกไปเอง
การปรับเปลีย่ นคาแสงดวยวิธนี จี้ ะไมทำงานเมือ่ ถายภาพดวยแฟลช

ในกรณีทถี่ า ยภาพในสภาพแสงนอยมากหรือสวางจามากเกินไป ตัวเลขแสดง


ความไวชัตเตอรและชองรับแสงในชองเล็งภาพจะกระพริบเตือน
ในสภาพแสงนอยเกินไป(30” 3.5 กระพริบ)
ใหปรับความไวแสงใหสงู ขึน้ (น.62) หรือใชแฟลช(น.64)
ในสภาพแสงสวางจามากเกินไป(4000 22 กระพริบ)
ใหปรับความไวแสงใหลดลง
ความแตกตางของ <P> กับ (ระบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ)
เมื่ อ ใช ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ จะถู ก ปรั บ ตั้ ง ให โ ดยอั ต โนมั ติ เช น ระบบออโต โ ฟกั ส
ระบบขั บ เคลื่ อ น และแฟลชในตั ว เพื่ อ ป อ งกั น ภาพเสี ย จำนวนฟ ง ก ชั่ น ที่ ผู ใ ช ป รั บ
ตั้ ง ได เ องจะถู ก จำกั ด แต เ มื่ อ ใช ร ะบบ <P> เฉพาะชัตเตอรและชองรับแสงเทานั้น ที่
กลองจะตั้งใหโดยอัตโนมัติ ผูใชสามารถปรับเลือกระบบออโตโฟกัส ระบบขับเคลื่อน
และแฟลชในตั ว และฟ ง ก ชั่ น อื่ น ๆ (น.210)
รับตัง้ ความไวแสง
การปรับความไวแสง หรือ ISO หมายถึงการปรับการตอบสนองตอแสงของเซนเซอร
เพื่อใหเหมาะกับสภาพแสงในขณะที่ถายภาพ ซึ่งในระบบถายภาพอัตโนมัติสมบูรณ
แบบนั้น กลองจะตั้งความไวแสงใหโดยอัตโนมัติ(ปรับตั้งเองไมได) (น.63)
กดปุมปรับความไวแสง <ISO>
[ISO speed] จะปรากฏขึน้ บนจอภาพ

ปรับคาความไวแสง
หมุนวงแหวน หรือใชปมุ
เพื่อเลือกความไวแสงที่ตองการ
เมือ่ หมุนวงแหวน ผใู ชสามารถสังเกต
คาความไวแสงไดจากขอมูลที่แสดงไวในชอง
เล็งภาพ
เมื่อเลือก “AUTO” กลองจะตั้งความไวแสงให
โดยอัตโนมัติ (น.63)
คำแนะนำในการปรับความไวแสง
ความไวแสง ลักษณะการถายภาพ ระยะการทำงานของแฟลช
(ไมใชแฟลช)
ภายใตแสงแดดนอกรมเงา ยิง่ ปรับความไวแสงสูงขึน้ เทาใด
ทองฟาหลัว หรือบรรยากาศในตอนเย็น ระยะการทำงานของแฟลชก็จะ
ภายในทีม่ ดื ในรม หรือตอนกลางคืน ไกลขึน้ เทานัน้ (น.64)

ใน [ Custom Functions(C.Fn)] ถา [Highlight tone priority] ไดถกู ตัง้ เปน


[1: Enable] ความไวแสงทีป่ รับตัง้ ไดจะอยใู นชวง ISO 200-6400 (น.194)
เมือ่ ใชความไวแสงสูง หรือถายภาพในอุณหภูมสิ งู ภาพอาจจะดูหยาบมากขึน้ และการ
เปดรับแสงเปนเวลานานมาก ก็อาจทำใหภาพปรากฎเม็ดสีที่มีความหยาบได
เมือ่ ถายภาพดวยความไวแสงสูงๆ สัญญาณรบกวน (ปรากฎเปนเสนสัญญาณรบกวน
ทางแนวนอน จุดสี ฯลฯ) อาจเกิดขึน้ ในภาพได

ใน [ Custom Functions(C.Fn)] เมื่อตั้ง [ISO expansion] เปน [1: On], “H”


(สามารถปรับความไวแสงสูงสุดไดเปน ISO 12800 (น.192)
  รับตั้งความไวแสง

เกี่ยวกับ “AUTO” (ตั้งความไวแสงอัตโนมัติ)


เมื่อเลือกปรับตั้งความไวแสงที่ “AUTO” กลองจะแสดง
ความไวแสงที่ เ ลื อ กให ท ราบเมื่ อ ใช นิ้ ว แตะปุ ม
ชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง ดังรายละเอียดดานลาง ซึ่ง
ความไวแสงที่ ก ล อ งเลื อ กให นั้ น จะเป น ระดั บ ที่
เหมาะสมกั บ สภาพแสงที่ ถ า ยภาพในเวลานั้ น

ระบบถายภาพ ความไวแสงทีป่ รับตัง้ ได


ISO 100 - 3200
ISO 100 - 6400
ตายตัวที่ ISO 100
ดวยแฟลช ตายตัวที่ ISO 400
*1: ขึน้ อยกู บั คาความไวแสงสูงสุดทีไ่ ดปรับตัง้ ไว
*2: หากการใชแฟลชแบบ fill flash ทำใหภาพมีความสวางเกินไป ความไวแสงจะถูกตัง้ เปน ISO 100 หรือ
สูงกวาโดยอัตโนมัติ
*3: หากใชระบบบันทึกภาพ < P / A-DEP > และใชระบบถายภาพอัตโนมัติ <ยกเวนระบบ >
ถานำแฟลชภายนอกมาใชและปรับหนาแฟลชเปนแบบสะทอน(bounce flash) ความไวแสงที่กลองจะ
เลือกใหจะอยภู ายในชวง ISO 400-1600 และถาปรับความไวแสงสูงสุดเปน [400] หรือ [800] ความไวแสง
สูงสุดจะถูกปรับตั้งอยูภายในชวงนี้
เมือ่ ตัง้ เปน “AUTO” กลองจะแสดงคาความไวแสงในระดับเต็มสต็อป จาก ISO 100, 200,
400, 800, 1600 และ 3200 อยางไรก็ตาม ความไวแสงทีใ่ ชจริงจะละเอียดกวาคาทีแ่ สดงไว
ซึง่ ผใู ชจะพบคาความไวแสงทีล่ ะเอียดไดในขอมูลการถายภาพของภาพทีถ่ า ยแลว เชน ISO
125 หรือ 640 เปนตน

การปรับตั้งความไวแสงสูงสุดสำหรับ Auto ISO


สำหรับระบบปรับตั้งความไวแสงอัตโนมัติ(Auto ISO) ผูใชสามารถปรับตั้งความไวแสงสูง
สุดไดภายในชวง 400-6400
ในแถบ เมื่อเลือก [ISO Auto] แล ว กดปุ ม
เพื่อเลือกความไวแสงที่ตองการ แลวกดปุม
¡ารใชแฟลชที่ติดตั้งในตัว
เมือ่ ถายภาพภายในหอง ในอาคาร ในสภาพแสงนอย หรือยอนแสง ใหกดปมุ แฟลช เพือ่
ยกแฟลชในตัวกลองขึน้ ทำงาน และเมือ่ ถายภาพดวยระบบ <P> กลองจะปรับคาความ
ไวชัตเตอรใหอยใู นระหวาง 1/60 - 1/200 วินาทีใหโดยอัตโนมัติ เพือ่ ปองกันภาพสัน่

กดปุม
เมื่ อ ใช ร ะบบถ า ยภาพสร า งสรรค ผู ใ ช
สามารถกดปุม เพื่อใหแฟลชยกขึ้น
ทำงานไดตลอดเวลา
ในขณะที่แฟลชในตัวกลองกำลังประจุไฟให
พรอมทำงาน สัญลักษณ “ ”
จะปรากฏขึน้ ในชองเล็งภาพ และสัญลักษณ
จะปรากฏขึน้ บนจอ LCD
แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ
ทีม่ มุ ลางดานซายภายในชองเล็งภาพ ตรวจ
สอบวามีสญ ั ลักษณ ติดสวางอยู
ถายภาพ
เมือ่ โฟกัสไดแลว กดชัตเตอรลงจนสุด แฟลช
จะยิงออกไป และชัตเตอรทำงานเพื่อถาย
ภาพนั้น

ระยะการทำงานของแฟลชที่มีประสิทธิภาพ [ระยะ เมตร / ฟุต]


ความไวแสง
มุมกวาง: 18mm เทเลโฟโต: 135mm
¡ารใชแฟลชทีต่ ดิ ตัง้ ในตัว

กลเม็ดเคล็ดลับ
เมื่อวัตถุอยูไกลมาก ปรับความไวแสง(ISO) ใหสูงขึ้น
เมือ่ ปรับความไวแสงใหสงู ขึน้ ผใู ชสามารถใชแฟลชถายภาพในระยะไกลขึน้ ได
เมื่อถายภาพดวยแฟลชและมีแสงแดดจามาก ปรับความไวแสง(ISO) ใหต่ำลง
หากคาความไวแสงในชองเล็งภาพกระพริบเตือน ใหปรับความไวแสงใหต่ำลง
ถอดฮูดออก แลวถอยหางจากวัตถุที่จะถายภาพดวยแฟลชในระยะ 1 เมตรขึ้นไป
ถาเลนสมฮี ดู ติดตัง้ อยู และเมือ่ ถายภาพดวยแฟลชในระยะใกลกบั วัตถุมากจนเกินไป สวนลาง
ของภาพอาจจะดูมดื หรือสลัวกวาบริเวณอืน่ ๆ ดังนัน้ สำหรับภาพทีม่ คี วามสำคัญ ใหตรวจ
สอบภาพที่ถายแลวดวยจอ LCD เพื่อดูวาภาพที่ถายดวยแฟลชนั้นมีความเขมสวางที่สวย
งามในทุกๆ บริเวณ(ไมมืดหรือสลัวลงที่สวนลางของภาพ)

การใชระบบลดตาแดง
ไฟที่ออกแบบมาเพื่อลดจุดแดงที่เกิดขึ้นในดวงตาของคนที่ถูกถายภาพดวยแฟลชชวยใหภาพ
บุคคลทีถ่ า ยดูสวยงามขึน้ ได ระบบนีจ้ ะทำงานกับระบบบันทึกภาพไดทกุ แบบ ยกเวน < >

ในรายการของเมนู เลือก [Red-eye reduc.]


จากนัน้ กดปมุ และเลือก [Enable] จากนัน้
กดปมุ เพือ่ ยืนยันอีกครัง้
เมื่อใชแฟลชถายภาพ หลังจากที่แตะปุมชัตเตอร
เบาๆ ลงครึง่ หนึง่ ไฟของระบบลดตาแดงจะทำงาน
เมือ่ กดชัตเตอรลงจนสุด แฟลชจะยิงแสงออกไปเพือ่
ถายภาพนั้น

ระบบลดตาแดงจะไดผลดีทสี่ ดุ เมือ่ ตัวแบบมองมาทีไ่ ฟลดตาแดง หรือเมือ่ ในบริเวณนัน้


มีความสวางมากพอ หรือเมือ่ เขาไปถายใกลๆ กับตัวแบบ
เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ ขอมูลทีแ่ สดงอยดู า นลาง
ของชองเล็งภาพจะดับไป และเพือ่ ใหระบบลดตาแดงทำงานได
ผลดีทสี่ ดุ ใหกดชัตเตอรหลังจากทีข่ อ มูลตางๆ ดับไปแลว
ผลการทำงานของระบบลดตาแดงแปรเปลีย่ นไปตามลักษณะของตัวแบบแตละคน
¡ารปรับเปลี่ยนระบบออโตโฟกัส
ผใู ชสามารถเปลีย่ นรูปแบบการทำงานของระบบออโตโฟกัสเพือ่ ใหเหมาะสมกับสถานการณในการถายภาพ
แบบตางๆ ทีแ่ ตกตางกัน และเมือ่ ใชระบบโปรแกรมพืน้ ฐาน กลองจะเลือกระบบออโตโฟกัสทีเ่ หมาะสมให
โดยอัตโนมัติ
ปรับสวิสตบนเลนสไปที่ระบบ <AF>

กดปุม
รายการ [AF mode] จะปรากฏบนจอ LCD
เลือกรูปแบบของระบบออโตโฟกัส
ใชปมุ เลือ่ นแถบแสงไปยังระบบที่
ตองการเลือก แลวกดปุม
โฟกัสไปทีว่ ตั ถุ
เล็งจุดโฟกัสใหทาบไปทีว่ ตั ถุ แตะชัตเตอรเบาๆ
ลงครึ่งหนึ่ง เพื่อใหกลองหาความชัด ซึ่งกลอง
จะใชระบบโฟกัสที่เลือกไวในการคนหา ความ
ชัด

เลือก One Shot AF เมือ่ ถายภาพวัตถุทอี่ ยนู งิ่


ระบบนีเ้ หมาะทีจ่ ะใชกบั วัตถุทอี่ ยนู งิ่ กับที่ เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ กลองจะหาความชัด
เพียงครัง้ เดียวและหยุดเมือ่ จับภาพไดชดั
เมือ่ โฟกัสไดแลว จุดซึง่ อยภู ายในกรอบโฟกัสทีส่ ามารถจับความชัดไดจะสวางเปนสีแดงใน
ชวงสัน้ ๆ และไฟสัญญาณยืนยันความชัด จะติดสวางขึน้ ภายในชองเล็งภาพ
เมือ่ ใชระบบวัดแสงแบบเฉลีย่ หลายสวน (น.86) กลองจะปรับตัง้ คาการเปดรับแสงใหในเวลา
เดียวกับทีห่ าความชัดได
เมือ่ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ คางไว กลองจะล็อคโฟกัสไวทจี่ ดุ เดิม ชวยใหผใู ชจดั องค
ประกอบภาพใหมไดตามทีต่ อ งการ
AF ¡ารปรับเปลีย่ นระบบออโตโฟกัส

หากกลองไมสามารถหาโฟกัสโดยอัตโนมัตไิ ด ไฟสัญญาณยืนยันความชัด < > ในชองเล็ง


ภาพจะกระพริบ เมื่อเปนเชนนี้ จะไมสามารถถายภาพไดแมจะกดชัตเตอรลงจนสุด ใหลองจัด
องคประกอบภาพใหมแลวโฟกัสอีกครัง้ หรืออาน “เมือ่ ระบบออโตโฟกัสทำงานไมไดผล” (น.202)
หากเมนู ไดถูกตั้งเปน [Disable] สัญญาณเสียงเตือนจะไมดงั แมจะโฟกัส
ภาพไดแลว

เลือก AI Servo AF เมือ่ ถายภาพวัตถุทเี่ คลือ่ นที่


ระบบนีเ้ หมาะทีจ่ ะใชกบั กรณีทวี่ ตั ถุมกี ารเคลือ่ นทีต่ ลอดเวลา เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรและ
เล็งไปยังวัตถุ ระบบโฟกัสอัตโนมัตจิ ะจับภาพวัตถุทเี่ คลือ่ นทีน่ นั้ อยตู ลอดเวลา
คาการเปดรับแสงจะถูกปรับตั้งในจังหวะเวลาที่ถายภาพ
เมือ่ ใชระบบเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัติ (น.68) กลองจะเลือกใชจดุ โฟกัสกึง่ กลางของเฟรมใน
การจับภาพกอน และในขณะทีก่ ำลังจับภาพ หากวัตถุเคลือ่ นทีอ่ อกไปจากจุดโฟกัสกึง่ กลาง
กลองจะใชจดุ โฟกัสอืน่ ๆ ในการจับภาพตามการเคลอื่ นทีข่ องวัตถุ ตราบเทาทีจ่ ดุ โฟกัสทัง้ หมด
ยังคงครอบคลุมวัตถุชนิ้ นัน้ อยู
เมือ่ ใชระบบ AI Servo AF สัญญาณเสียงเตือนจะไมดงั และไฟสัญญาณยืนยันความชัด
< > ก็จะไมตดิ สวางขึน้ แมวา กลองจะจับภาพไดชดั แลว

เลือก AI Focus AF เมือ่ ตองการปรับเปลีย่ นระบบ AF โดยอัตโนมัติ


ระบบนี้จะสลับการทำงานของ One-shot AF และ AI Servo AF ใหโดยอัตโนมัติเมื่อ
วัตถุทหี่ ยุดนิง่ เริม่ เคลือ่ นที่
หลังจากที่กลองโฟกัสไดแลวดวยระบบ One-shot AF เมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ กลอง
จะตรวจจับการเคลื่อนที่นั้น และเปลี่ยนระบบโฟกัสอัตโนมัติไปเปน AI Servo AF ให
โดยอัตโนมัติ
เมือ่ ใชระบบ AI Focus AF และกลองหาความชัดไดดว ยระบบ Servo จะมีเสียงบีบ๊ เตือนเบาๆ
อยางไรก็ตามไฟสัญญาณยืนยันความชัด < > ก็จะไมตดิ สวางขึน้
¡ารเลือกจุดโฟกัส
ในระบบบั น ทึ ก ภาพขั้ น พื้ น ฐาน จุ ด โฟกั ส ทุ ก ๆ จุ ด จะทำงานร ว มกั น ทั้ ง หมด ซึ่ ง จุ ด ที่ ค น หา
วัตถุที่อยูใกลกลองที่สุดไดจะเปนจุดที่กลองเลือกใหทำงาน ซึ่งบางที วัตถุที่จุดโฟกัสจับภาพ
และปรั บ ความชั ด ให นั้ น อาจจะไม ใ ช เ ป า หมายสำคั ญ ที่ ต อ งการถ า ยภาพก็ ไ ด
เมื่ อ ใช ร ะบบ < P > Program AE, < Tv >, < Av > และ < M > ผูใชสามารถเลือก
จุดโฟกัสจุดใดจุดหนึ่งที่ตองการไดเอง
กดปุม
จุดโฟกัสจะปรากฏขึ้นบนจอ LCD ของกลอง
และภายในชองเล็งภาพ
ถาจุดโฟกัสทั้งหมด ติดสวางขึ้นพรอมๆ กัน
หมายถึงการปรับตั้งเปนระบบเลือกอัตโนมัติ
เลือกจุดโฟกัส
ใชปมุ ควบคุมแบบทิศทาง ในการเลือก
จุดที่ตองการ
ขณะทีม่ องในชองเล็งภาพ ผใู ชสามารถจะเลือกจุด
โฟกัสทีต่ อ งการโดยใชวงแหวนควบคุมหลัก
จุดทีเ่ ลือกจะเปนจุดเดียวทีต่ ดิ สวางเปนสีแดง

ปมุ จะทำหนาทีส่ ลับการทำงานระหวาง


จุดโฟกัสที่เลือกเฉพาะจุดกึ่งกลาง กับระบบ
เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ(9 จุด)

โฟกัสไปยังวัตถุ
เล็งจุดโฟกัสไปยังวัตถุทเี่ ปนเปาหมาย แตะปมุ
ชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อใหกลองหาความชัด
¡ารเลือกจุดโฟกัส

กลเม็ดเคล็ดลับ
เมือ่ ถายภาพบุคคลในระยะใกลๆ ควรใชระบบ One-shot AF และโฟกัสไปทีด่ วงตา
เมือ่ โฟกัสทีด่ วงตาของตัวแบบแลว สามารถใชนวิ้ แตะชัตเตอรคา งไวเพือ่ ล็อคโฟกัส แลวจัดองค
ประกอบภาพใหม ใบหนาของตัวแบบก็จะยังคงมีความคมชัด

หากพบวัตถุทรี่ ะบบออโตโฟกัสจับความชัดไดยาก ใหเลือกใชจดุ โฟกัสกึง่ กลาง


จุดโฟกัสกึง่ กลางมีประสิทธิภาพในการจับความชัดเหนือกวาจุดใดๆ และเมือ่ ใชเลนสไวแสง
ทีม่ ชี อ งรับแสงกวาง ตัง้ แต f/ 1.0 ถึง f/2.8 กลองจะโฟกัสไดอยางละเอียดแมนยำมากดวยจุด
โฟกัสกึง่ กลาง
เพือ่ ใหงา ยขึน้ ในการจับภาพวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นที่ ใหปรับระบบเลือกจุดโฟกัสไปเปน
แบบเลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ และตัง้ ระบบโฟกัสเปนแบบ AI Servo AF
ในชวงเริม่ ตน ใหทาบจุดโฟกัสกึง่ กลางไปยังวัตถุเสียกอน เมือ่ วัตถุมกี ารเคลือ่ นทีอ่ อกไปจุดกึง่
กลาง โฟกัสจุดอืน่ ๆ ก็จะทำหนาทีจ่ บั ความชัดตอไปโดยอัตโนมัติ

แมนนวลโฟกัส(MF)
ปรับสวิตซเลือกระบบโฟกัสที่เลนสไปที่
<MF>
โฟกัสไปยังวัตถุ
ปรับภาพใหชัดดวยการหมุนวงแหวนโฟกัสเอง
ดวยมือของผูใช จนวัตถุมีความคมชัดเมื่อมอง
ผานชองเล็งภาพ

เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ ขณะทีก่ ำลังปรับความชัดดวยระบบแมนนวลโฟกัส จุดโฟกัสที่


ทาบอยกู บั สวนใดสวนหนึง่ ของวัตถุซงึ่ คมชัดในขณะนัน้ จะกระพริบ และไฟยืนยันความชัด < >
ก็จะติดขึ้นในชองเล็งภาพ
¡ารถายภาพแบบตอเนือ่ ง
ผใู ชสามารถถายภาพตอเนือ่ งไดดว ยความเร็ว 3.7 เฟรมตอวินาที เหมาะสำหรับการถายภาพสิง่
ทีเ่ คลือ่ นที่ เชน เด็กๆ ทีก่ ำลังวิง่ มาหาคุณ เพือ่ เลือกเก็บภาพทีไ่ ดจงั หวะและอารมณสนุกสนานมาก
ทีส่ ดุ
กดปุม
เลือก
ใชปมุ เพือ่ เลือก
จากนั้นกดปุม
ถายภาพ
ชัตเตอรจะลั่นเพื่อถายภาพตอเนื่องเมื่อกดปุม
ชัตเตอรคางอยู

กลเม็ดเคล็ดลับ
เลือกระบบโฟกัสอัตโนมัตใิ หเหมาะกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ
สำหรับวัตถุทเี่ คลือ่ นที่
เมื่อเลือกระบบโฟกัสเปนแบบ AI Servo AF กลองจะโฟกัสอยางตอเนื่องในขณะที่ระบบ
บันทึกภาพตอเนื่องทำงานอยู
สำหรับวัตถุทอี่ ยนู งิ่
เมือ่ เลือกระบบโฟกัสเปนแบบ One-Shot AF กลองจะโฟกัสครัง้ เดียว เมือ่ ภาพชัดแลว ระบบ
ถายภาพตอเนือ่ งก็จะถายภาพโดยกลองจะไมหาความชัดอีก
สามารถใชแฟลชถายภาพตอเนื่องได
แฟลชจะใชเวลาครูหนึ่งในการประจุไฟสำหรับถายภาพในเฟรมตอไป นั่นจะทำใหความเร็ว
ในการถายภาพตอเนือ่ งลดลง
เมือ่ เมนู [High ISO speed noise reduction] ซึง่ อยใู น [ Custom Functions
(C.Fn) ] (น.193) ถูกปรับตัง้ ไวเปน [2:Strong] ความเร็วในการถายภาพตอเนือ่ งจะลดลงมาก
เมือ่ ใชระบบ AI Servo AF ความเร็วในการถายภาพตอเนือ่ งอาจลดต่ำลงเล็กนอย โดยขึน้ อยกู บั
ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุและเลนสที่ใช
ความเร็วในการถายภาพตอเนื่องอาจจะลดลงเมื่อถายภาพในที่รม และในสภาพแสงนอย
Ãะบบหนวงเวลา
กดปุม

เลือกระบบหนวงเวลา
ใชปมุ เพือ่ เลือกแบบทีต่ อ งการ
แลวกดปมุ เพือ่ ยืนยันการปรับตัง้
หนวงเวลา 10 วินาที
สามารถใชรีโมทคอนโทรลได(น.204)
หนวงเวลา 2 วินาที (น.106)
หนวงเวลา 10 วินาที และถายภาพ
ชุดตอเนื่องภายหลังจากนั้น
ใช ปุ ม เพื่ อ เลื อ กจำนวน
ภาพที่ ต อ งการถ า ยต อ เนื่ อ งหลั ง
จากหน ว งเวลาแล ว (เลื อ กได ตั้ ง แต
2-10 ภาพ)
ถายภาพ
มองในชองเล็งภาพ โฟกัส และกดชัตเตอร
ลงจนสุด
ผู ใ ช ส ามารถตรวจสอบการทำงานของระบบ
หนวงเวลาไดจากไฟเตือนดานหนาของกลอง
และการนับถอยหลังที่จอ LCD
กอนชัตเตอรจะลัน่ 2 วินาที ไฟสัญญาณเตือน
จะติดสวางคางอยู และเสียง “บี๊บ” จะดังถี่ๆ

เมือ่ เลือกใช ชวงเวลาระหวางภาพตอภาพของภาพตอเนือ่ งนัน้ อาจจะใชเวลา


นานกวาปกติเล็กนอย โดยขึน้ อยกู บั คุณภาพของไฟลทปี่ รับตัง้ ไว และการใชแฟลช
หลังจากทีถ่ า ยภาพดวยระบบหนวงเวลาแลว ตรวจสอบดูภาพจากจอภาพ LCD วามีความคมชัด
และมีคา แสงทีเ่ หมาะสมหรือไม (น.58)
เมือ่ ใชระบบหนวงเวลา และไมไดมองภาพในชองเล็งภาพในขณะทีก่ ดชัตเตอร ควรติดตัง้ ฝาครอบ
ชองเล็งภาพ (น.205) เพือ่ ชวยปองกันแสงลอดจากชองเล็งภาพของกลองเขาสเู ซนเซอรรบั แสง
และทำใหภาพเสีย
เมือ่ ใชระบบหนวงเวลาสำหรับถายภาพตนเองเพียงผเู ดียว ใหใชระบบล็อคโฟกัส (น.48) โดยเล็ง
ไปยังวัตถุที่อยูในระยะใกลเคียงกับที่จะยืนอยู
เมือ่ ตองการยกเลิกระบบหนวงเวลาขณะทีร่ ะบบกำลังทำงานอยู ใหกดปมุ
¡ารปรับตั้งคุณภาพและความละเอียดของภาพ
ผูใชสามารถปรับตั้งความละเอียดของภาพ(จำนวนพิกเซล)ได โดยตั้งความละเอียดของภาพ
เปน 17.9, 8.0 หรือ 4.5 ลานพิกเซล และตัง้ ระดับการบีบอัดไฟลได
เลือก [QUALITY]
ภายในแถบ เลือก [Quality]
จากนั้นกดปุม
แถบรายการ [Quality] จะปรากฏขึน้ บนจอ

เลือกคุณภาพในการบันทึกภาพ
เพื่ออางอิง ในรายการปรับตั้งนี้จะมีตัวเลข
จำนวนพิกเซล (***M), ขนาดภาพเปนพิกเซล
(****X****) และจำนวนภาพที่ถายได [***]
เลือกระดับคุณภาพที่ตองการ แลวกด

คำแนะนำในการปรับตั้งคุณภาพ
คุณภาพ พิ ก เซล ขนาดไฟล จำนวนภาพ ปริมาณภาพที่
(MB) ที่ถายได ถายตอเนือ่ งได
ประมาณ
คุณภาพสูง 17.9 ลานพิกเซล
(18M)
คุณภาพ ประมาณ
8 ลานพิกเซล
ปานกลาง (8M)
ประมาณ
คุณภาพต่ำ 4.5 ลานพิกเซล
(4.5M)
ประมาณ
คุณภาพสูง 17.9 ลานพิกเซล
(18M)
* ทดสอบดวยมาตรฐานการทดสอบของแคนนอน โดยใชการดความจุ 4GB ที่ ISO 100 และ Picture Style
แบบ Standard
* ขนาดไฟล จำนวนภาพทีถ่ า ยได และปริมาณภาพทีถ่ า ยตอเนือ่ งได ขึน้ อยกู บั ลักษณะของวัตถุ
ยีห่ อ การด ความไวแสง Custom Functions และการปรับตัง้ อืน่ ๆ
¡ารปรับเลือกคุณภาพและความละเอียดของภาพ

FAQ ปญหาที่ผูใชมักจะเกิดขอสงสัยกันบอยๆ
การเลือกคุณภาพของไฟลใหเหมาะสมกับขนาดกระดาษทีต่ อ งการพิมพ
ภาพดานซายเปนภาพที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระดับ
ขนาดกระดาษ คุณภาพทีส่ มั พันธกบั ขนาดของกระดาษทีใ่ ชพมิ พ อยางไร
ก็ตาม ถาตองการตัดสวนภาพ ควรจะตัง้ ระดับคุณภาพเปน
แบบคุณภาพสูง เชน , , หรือ

17.8x12.7 cm / 7.0x5.0 in.


14.8x10 cm / 5.8x3.9 in.
ความแตกตางระหวางสัญลักษณ และ ?
สัญลักษณทงั้ สองแบบนีแ้ สดงความแตกตางของระดับการบีบอัดไฟลทแี่ ตกตางกัน ซึง่ จะมี
ผลตอขนาดของไฟลภาพ โดยถึงแมวา จะถายดวยพิกเซลเทาๆ กัน แตภาพทีถ่ า ยดวย
ซึง่ มีคณ
ุ ภาพสูงกวา(บีบอัดต่ำกวา) ก็จะมีขนาดไฟลใหญกวาภาพทีถ่ า ยดวย ซึง่ จะมี
คุณภาพต่ำลงเล็กนอย แตจำนวนภาพทีเ่ ก็บลงในการดก็จะเก็บภาพไดจำนวนมากขึน้
ถายไดจำนวนมากกวาจำนวนทีต่ ารางนีแ้ สดงไว
เพราะขนาดของไฟลนนั้ แปรเปลีย่ นไปได โดยขึน้ อยกู บั สภาพการถายภาพและการปรับตัง้ ดังนัน้
จึงอาจเปนไปไดวาจะถายภาพไดจำนวนมากกวาที่ตารางไดแสดงไว หรืออาจจะถายไดนอย
กวาก็เปนเรือ่ งทีเ่ ปนไปไดเชนกัน คาทีแ่ สดงในตารางนี้ เปนเพียงคาเฉลีย่ หรือคาโดยประมาณ
กลองจะแสดงปริมาณภาพทีถ่ า ยตอเนือ่ งไดมากทีส่ ดุ หรือไม?
ปริมาณภาพทีถ่ า ยตอเนือ่ งไดมากทีส่ ดุ จะถูกแสดงอยทู มี่ มุ ลางดานขวาของชองเล็งภาพ แตคา
ทีแ่ สดงนัน้ เปนตัวเลขหลักเดียว ซึง่ แสดงหมายเลข 0-9 ดังนัน้ ปริมาณทีม่ ากกวา 9 ก็จะแสดง
เปน “9” เทานัน้ และตองไมลมื วา กลองจะแสดงตัวเลขนีแ้ มจะไมมกี ารดอยใู นตัวกลอง จึงควร
ระมัดระวังอยาลืมใสการดในตัวกลองเมือ่ ใชกลองถายภาพเสมอ

เมื่อไร จึงควรตั้งคุณภาพเปน ?
ไฟลแบบ ตองนำออกไปประมวลผลดวยคอมพิวเตอรสว นตัว สำหรับรายละเอียดใน
เรือ่ งนี้ อาน “เกี่ยวกับ ” และ “เกี่ยวกับ ” ในหนาถัดไป และนอกจากไฟล
แบบ ก็จะเปนไฟลสกุล JPEG ซึง่ เปนไฟลทใี่ ชในกลองดิจติ อลทัว่ ๆ ไป
¡ารปรับเลือกคุณภาพและความละเอียดของภาพ

เกี่ยวกับ
เปนขอมูลดิจติ อลของภาพถายทีย่ งั ไมถกู ดัดแปลง เปลีย่ นแปลง และปรุงแตง เปนขอมูลกอน
ทีจ่ ะถูกประมวลผลและแปลงไปเปนไฟลชนิดอืน่ ๆ เชน แมวา ไฟลแบบ จะตอง
อาศัยซอฟทแวรจดั การภาพ เชน Digital Photo Pro เพือ่ เปดดูภาพจากหนาจอคอมพิวเตอร แตไฟล
แบบนี้ก็มีความยืดหยุนมากในการจัดการปรับแตง ตลอดจนแกไขความผิดพลาดในขั้นตอนการ
ถายภาพไดดกี วา จึงเหมาะทีจ่ ะตัง้ คุณภาพของไฟลเปนแบบ เมือ่ ตองถายภาพสำคัญ
หรือเมือ่ ตองการนำภาพไปสรางสรรคดว ยการปรับแตงทีล่ ะเอียดออน
เกี่ยวกับ
จะบันทึกทัง้ ไฟลแบบ และ ในเวลาเดียวกัน และไฟลทงั้ สองชนิดก็จะถูก
บันทึกลงในการด โดยไฟลแบบ เปนไฟลทผี่ า นการประมวลผลเรียบรอยแลว ซึง่ สามารถจะเปด
และดูภาพจากคอมพิวเตอรไดทนั ที(แมจะใชซอฟทแวรดภู าพทัว่ ๆ ไป) และสามารถพิมพไดทนั ที
เชนกัน กลองจะบันทึกไฟลทงั้ สองชนิดลงในการดดวยเลขลำดับไฟลเดียวกัน และอยภู ายในโฟลเดอร
เดียวกัน ซึง่ ผใู ชจะจำแนกชนิดของไฟลทงั้ สองชนิดนีไ้ ดโดยสังเกตจาก “สกุล” ซึง่ ไฟลแบบ
จะมีสกุล “CR2” และไฟลแบบ จะมีสกุล “JPG”

เลขลำดับไฟล สกุล

และการตัง้ [ Custom Functions (C.Fn)] เปน


[High ISO speed noise reduction]
เมือ่ ปรับตัง้ [ Custom Functions (C.Fn)] เปน [High ISO speed noise reduction]
(น.193) (Standard/Low/Strong/Disable) ซึ่งการปรับตั้งจะปรับปรุงสัญญาณรบกวนใน
ภาพที่ถาย แตเมื่อเลนดูภาพที่หนาจอของกลองหรือตอกลองกับจอโทรทัศน) ภาพจะถูกแสดง
โดยไมมีการลดสัญญาณรบกวน รวมทั้งเมื่อสั่งพิมพภาพจากกลองโดยตรง(Direct Printing)
(อาจเห็นสัญญาณรบกวนในภาพ) ผูใชสามารถตรวจสอบผลการลดสัญญาณรบกวนใน
ภาพ หรือพิมพภาพที่ลดสัญญาณรบกวนแลวดวย Digital Photo Professional (ใหมาพรอม
กับตัวกลอง)
ซอฟทแวรอนื่ ๆ ของผผู ลิตซอฟทแวรในเชิงพาณิชยอาจไมสามารถเปดภาพแบบ RAW ได แนะนำให
ใชซอฟทแวรที่ใหมาพรอมกับตัวกลอง
¡ารเลือก Picture Style
ดวย Picture Style ผูใชสามารถปรับตั้งผลพิเศษใหกับภาพตามที่ตองการ เพื่อใหเหมาะกับลักษณะ
ของภาพที่ถาย หรือในแบบที่ตองการสื่อออกมาในภาพนั้นๆ
กดปุม
จอภาพจะแสดงรายการของ [Picture Style]

เลือก Picture Style ทีต่ อ งการ


ใชปมุ ในการปรับเลือก
และกด
ถายภาพ
โฟกัส และกดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ
ภาพที่ถายนั้นจะถูกสรางสรรคดวยผลของ
Picture Style ในแบบที่เลือกไว

ผลพิเศษจาก Picture Style

ปรับสีของภาพใหสด ใหภาพคมชัดสูง เปนรูปแบบทีเ่ หมาะกับการถายภาพทัว่ ๆ ไป

ปรับสีผิวของบุคคลในภาพใหนุมนวลและมีโทนที่เปนธรรมชาติ มีความคมชัดเล็กนอย
เหมาะสำหรับใชถา ยภาพผหู ญิงและเด็กในระยะใกลๆ และ Picture Style แบบนีจ้ ะถูกเลือก
โดยอัตโนมัตเิ มือ่ หมุนวงแหวนเลือกระบบไปทีร่ ะบบถายภาพบุคคล(Portrait)
และโดยการปรับ [Color Tone] ผใู ชสามารถปรับเปลีย่ นโทนของสีผวิ ได (น.92)

เหมาะสำหรับการถายภาพทิวทัศนทตี่ อ งการใหสนี ้ำเงินและสีเขียวดูเขมและสดขึน้ มีความ


คมชัดสูงมาก Picture Style แบบนีจ้ ะถูกเลือกโดยอัตโนมัตเิ มือ่ หมุนวงแหวนเลือกระบบไป
ที่ระบบถายภาพทิวทัศน(Landscape)
¡ารเลือก Picture Style

เหมาะสำหรับผทู ตี่ อ งการปรับแตงและประมวลผลของภาพเองโดยใชคอมพิวเตอรเทานัน้


ลักษณะสีของภาพจะเปนสีสนั ทีไ่ มสดใสนัก และใหสที เี่ ทีย่ งตรง

เปน Picture Style อีกชนิดหนึง่ ทีเ่ หมาะสำหรับผทู ตี่ อ งการปรับแตงและประมวลผลของ


ภาพเองโดยใชคอมพิวเตอร ใชสำหรับการถายภาพที่มีการควบคุมอุณหภูมิสีของแหลง
กำเนิดแสงใหตรงกับ 5200 K ซึง่ ผใู ชตอ งปรับสีอยางละเอียดใหตรงกันกับสีของวัตถุตน ฉบับ
เอง ซึง่ สีของไฟลตน ฉบับกอนปรับแตงจะดูหมองและซีดจางกวาจริง
( : Monochrome image)
ใชสำหรับถายภาพขาวดำ
นอกเหนือจากไฟลสกุล ไฟลทถี่ า ยดวย Picture Style แบบ Monochrome จะไม
สามารถเปลี่ยนกลับเปนภาพสีได ถาหากไมแนใจวาจะตองการไดภาพสีหรือขาวดำ
ตรวจสอบเสียกอนวา Picture Style ไมไดถกู ตัง้ ไวเปน Monochrome และเมือ่ ตัง้ เปน
[Monochrome] สัญลักษณ <B/W> จะปรากฏขึ้นในชองเล็งภาพ

ผใู ชสามารถจะบันทึก Picture Style พืน้ ฐาน เชน [Portrait], [Landscape] แลวปรับแตงให
ตรงตามลักษณะทีต่ อ งการ (น.91) และบันทึกไวในหนวยความจำของกลอง โดยสามารถ
บันทึกได 3 ชุด(User Def. 1-3) สำหรับคา User Def. ทีไ่ มไดปรับตัง้ ไว จะมีลกั ษณะเดียวกับ
Picture Style แบบ Standard
¤ÇÒÁÃŒÙà¾ÔèÁàµÔÁ
ã¹¢Ñ鹡ŒÒÇ˹ŒÒ
ในบทนี้ จะอธิบายการปรับตั้งอยางละเอียด เพิ่มเติมจากเนื้อหาของบทที่ผาน
มา เพื่อแนะนำวิธีการสรางสรรคภาพใหกวางขวางขึ้น
สวนแรกของบทนี้จะอธิบายวิธีใชระบบ <Tv> <Av> <M> และ
<A-DEP> บนวงแหวนเลือกระบบ ผูใชสามารถใชระบบบันทึกภาพ
เหลานีไ้ ดทกุ แบบรวมกับฟงกชนั่ ทีอ่ ธิบายในบทที่ 3 ยกเวน <A-DEP>
ในสวนหลังของบทนี้ จะเริ่มตนดวยเรื่อง “การเลือกระบบวัดแสง” ซึ่ง
จะอธิบายวิธีปรับคาแสงของภาพและการใช Picture Style ซึ่งฟงกชั่น
ตางๆ ที่อธิบายในสวนนี้ สามารถจะใชกับระบบ <P> (Program AE)
ซึง่ อธิบายไวในบทที่ 3

เกี่ยวกับการทำงานของวงแหวนควบคุมหลัก
สัญลักษณ ซึ่งแสดงอยูรวมกับคาความไว
ชัตเตอร ชองรับแสง และระดับการชดเชยแสง เปน
เครื่องบอกใหทราบวา ผูใชสามารถปรับคาดังกลาว
ไดโดยใชวงแหวนควบคุมหลัก เพื่อปรับ
เปลี่ยนคาตามที่ตองการ
¡ารถายภาพแอ็คชั่น
ผใู ชสามารถถายภาพทีห่ ยุดการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ หรือสรางภาพทีม่ องเห็นการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ
ดวยระบบบันทึกภาพ <Tv> (Shutter-priority AE) ซึง่ เลือกโดยปรับทีว่ งแหวนเลือกระบบ
* <Tv> หมายถึง Time value

หยุดการเคลื่อนที่ แสดงการเคลื่อนที่
(ดวยความไวชัตเตอรสงู : 1/2000 วินาที) (ดวยความไวชัตเตอรต่ำ : 1/30 วินาที)

ปรับระบบบันทึกภาพไปที่ <Tv>

ปรับความไวชัตเตอรที่ตองการ
อาน “กลเม็ดเคล็ดลับ” สำหรับคำแนะนำใน
การปรับความไวชัตเตอร
หมุนวงแหวนควบคุมหลัก ไปทางขวา
เมือ่ ตองการปรับความไวชัตเตอรใหสงู ขึน้ และ
หมุนไปทางซายเมื่อตองการปรับใหต่ำลง
ถายภาพ
เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ และกดลงจนสุดเพื่อ
ถายภาพ ภาพนั้นจะถูกถายไวดวยความไว
ชัตเตอรที่ปรับตั้งไว

การแสดงคาของความไวชัตเตอร
จอ LCD จะแสดงคาความไวชัตเตอรในแบบเศษสวน แตการแสดงความไวชัตเตอรภายในชองเล็ง
ภาพจะแสดงเฉพาะสวนหรือตัวหาร และการแสดงผล “0” “5” จะหมายถึง 0.5 วินาที “15” จะหมาย
ถึง 15 วินาที
<Tv> ¡ารถายภาพแอ็คชัน่

กลเม็ดเคล็ดลับ
ตองการภาพทีห่ ยุดนิง่ ของวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นที่
ปรับตัง้ ความไวชัตเตอรใหสงู เชน 1/4000 วินาที จนถึง 1/500 วินาที
ตองการภาพของเด็กหรือสัตวเลีย้ งทีก่ ำลังวิง่ ซึง่ แสดงความเคลือ่ นไหว
ตัง้ ความไวชัตเตอรในระดับกลางๆ เชน 1/250 วินาที จนถึง 1/30 วินาที มองจากชองเล็งภาพ
แลวแพนกลองตามการเคลือ่ นทีไ่ ปดวย และกดชัตเตอรเพือ่ ถายภาพในจังหวะทีต่ อ งการ ถาใช
เลนสเทเลโฟโต พยายามประคองกลองใหนงิ่ มากทีส่ ดุ เพือ่ ปองกันภาพสัน่

ควรตัง้ ความไวชัตเตอรเทาใด เพือ่ ถายภาพสายน้ำและสายน้ำตกใหดนู มุ นวล


ใชความไวชัตเตอรต่ำๆ เชน 1/15 วินาทีหรือต่ำกวานั้น และควรใชขาตั้งกลองเสมอเพื่อ
ปองกันภาพสัน่
ขณะทีป่ รับความไวชัตเตอร ปรากฏวาตัวเลขแสดงชองรับแสงกระพริบ
เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรลงครึง่ หนึง่ กลองจะแสดงคาแสง(ชัตเตอร/ชองรับแสง)
ในชองเล็งภาพ ซึง่ เมือ่ ผใู ชปรับเปลีย่ นคาความไวชัตเตอร คาของชองรับ
แสงก็จะเปลี่ยนไปดวยเพื่อรักษาคาแสง(ปริมาณแสงที่จะผานเขาสู
เซนเซอร)ใหอยูในระดับพอดีเชนเดิม และเมื่อปรับความไวชัตเตอร
จนกระทัง่ เกินกวาทีข่ นาดชองรับแสงของเลนสทใี่ ชจะรักษาคาแสงเดิม
ไวได ตัวเลขแสดงชองรับแสงจะกระพริบเตือนเพือ่ บอกวา คาความไว
ชัตเตอรทปี่ รับนี้ ไมสามารถจะทำใหคา แสงของภาพพอดีได
ถาการปรับตัง้ จะทำใหภาพมืดเกินไป คาของชองรับแสงขนาดกวางสุดจะกระพริบ ใหหมุน
วงแหวนควบคุม เพือ่ ปรับใหชตั เตอรต่ำลง หรือปรับความไวแสง(ISO) ใหสงู ขึน้
จนตัวเลขนัน้ หยุดกระพริบ
และถาผลของการปรับตัง้ จะทำใหภาพสวางเกินไป คาของชองรับแสงขนาดแคบสุดจะ
กระพริบ ใหหมุนวงแหวนควบคุม เพือ่ ปรับตัง้ ชัตเตอรใหสงู ขึน้ หรือลดความ
ไวแสง (ISO) ใหต่ำลงจนตัวเลขนัน้ หยุดกระพริบ

ใช Tv รวมกับแฟลชในตัว
เมื่อใชแฟลชในตัวรวมกับระบบนี้ กำลังไฟของแฟลชจะถูกตั้งใหเหมาะกับชองรับแสงที่
กลองเลือกใหโดยอัตโนมัติ และผใู ชสามารถปรับตัง้ ความไวชัตเตอรไดในชวงระหวาง 1/200
วินาทีจนถึง 30 วินาที
¡ารควบคุมความชัดลึก
เมือ่ ตองการภาพทีม่ ฉี ากหลังเบลอ หรือตองการภาพทีค่ มชัดตัง้ แตวตั ถุใกลกลองไปจนถึงฉากหลัง
ใหหมุนปรับเลือกระบบบันทึกภาพเปนระบบ <Av> (Aperture-priority AE) เพือ่ ปรับควบคุม
ความชัดลึกของภาพ(ระยะความชัดทีเ่ กิดในภาพ)
* <Av> หมายถึง Aperture value ซึง่ เปนขนาดของชองรับแสงทีอ่ ยภู ายในกระบอกเลนส

คมชัดตั้งแตฉากหนาจนถึงฉากหลัง ฉากหลังเบลอ
(ดวยการเปดชองรับแสงแคบ f/32) (ดวยการเปดชองรับแสงกวาง f/5.6)

ปรับระบบบันทึกภาพไปที่ <Av>

ปรับชองรับแสงขนาดที่ตองการ
ยิ่งปรับชองรับแสงแคบ(ตัวเลขมาก) ความ
ชัดลึกในภาพก็จะยิ่งมากขึ้น
หมุนวงแหวนควบคุมหลัก ไปทางขวา
เมื่อตองการปรับชองรับแสงใหแคบลง และ
หมุนไปทางซายเมื่อตองการปรับใหกวางขึ้น
ถายภาพ
เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ และกดลงจนสุดเพื่อ
ถายภาพ ภาพนั้นจะถูกถายไวดวยชองรับ
แสงขนาดที่ปรับตั้งไว

การแสดงขนาดชองรับแสง
ยิ่งตัวเลขแสดงชองรับแสงมากขึ้น หมายถึงชองรับแสงที่แคบลงมากขึ้น และตัวเลขแสดงขนาด
ชองรับแสงนีจ้ ะขึน้ อยกู บั คุณสมบัตขิ องเลนสทนี่ ำมาใชกบั กลองดวย และถากลองไมมเี ลนสตดิ ตัง้
อยู ตัวเลข “00” ก็จะปรากฏขึ้นในชองบอกคาของชองรับแสง
¡ารควบคุมความชัดลึก

กลเม็ดเคล็ดลับ
เมือ่ ใชชอ งรับแสงแคบมากในสภาพแสงนอยๆ ภาพอาจจะสัน่
การใชชอ งรับแสงแคบมากๆ จะทำใหความไวชัตเตอรลดต่ำลงมาก และยิง่ ในภาพแสงนอย
ความไวชัตเตอรอาจจะต่ำลงถึง 30 วินาทีหรือนานกวา ในกรณีนี้ ควรปรับความไวแสง(ISO)
ใหสงู ขึน้ และควรพยายามถือกลองใหนงิ่ หรือใชขาตัง้ กลอง

ความชัดลึกมากๆ ไมไดเกิดจากชองรับแสงแคบๆ เทานัน้ แตยงั ขึน้ อยกู บั ความยาว


โฟกัสของเลนส และระยะหางจากกลองจนถึงวัตถุ
เลนสมมุ กวางมีคณ ุ สมบัตใิ นการใหความชัดลึกมาก(ความชัดลึก - ชวงทีอ่ ยหู นาและหลัง
ของจุดโฟกัสซึง่ ยังคงมีความชัด) ไมจำเปนตองใชชอ งรับแสงแคบมากๆ เพือ่ ใหความชัดครอบ
คลุมทุกๆ ระยะของภาพ ตัง้ แตฉากหนา(ใกลๆ กับกลอง) ไปจนถึงฉากหลัง ในทางกลับกัน
เลนสเทเลโฟโตจะมีคณ ุ สมบัตใิ นการใหความชัดตืน้
ยิ่งถายภาพในระยะใกลวัตถุมากเทาใดก็จะยิ่งชัดตื้น เมื่อถอยออกหางจากวัตถุมากขึ้น
ความชัดลึกก็จะยิง่ เพิม่ ขึน้

ขณะทีป่ รับชองรับแสง ปรากฏวาตัวเลขแสดงความไวชัตเตอรกระพริบ


เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอร กลองจะแสดงคาแสง(ชัตเตอร/ชองรับแสง) ในชอง
เล็งภาพ ซึ่งเมื่อผูใชปรับเปลี่ยนขนาดชองรับแสง คาของความไว
ชัตเตอรกจ็ ะเปลีย่ นไปดวยเพือ่ รักษาคาแสง(ปริมาณแสงทีจ่ ะผานเขา
สู เ ซนเซอร ) ให อ ยู ใ นระดั บ พอดี เ ช น เดิ ม และเมื่ อ ปรั บ ช อ งรั บ แสง
จนแคบกวาทีค่ วามไวชัตเตอรทมี่ จี ะรักษาคาแสงเดิมไวได ตัวเลขแสดง
ความไวชัตเตอรจะกระพริบเตือนเพือ่ บอกวา ขนาดชองรับแสงทีป่ รับนี้
ไมสามารถจะทำใหคา แสงของภาพใหพอดีได
ถาการปรับตัง้ จะทำใหภาพมืดเกินไป คาของความไวชัตเตอรต่ำทีส่ ดุ “ 30” ” (30 วินาที)
จะกระพริบ ใหหมุนวงแหวนควบคุม ไปทางซาย เพือ่ ปรับใหชอ งรับแสงกวางขึน้
หรือปรับความไวแสง(ISO) ใหสงู ขึน้ จนตัวเลขนัน้ หยุดกระพริบ
และถาผลของการปรับตัง้ จะทำใหภาพสวางเกินไป คาของความไวชัตเตอรสงู ทีส่ ดุ “ 4000 ”
(1/4000 วินาที) จะกระพริบ ใหหมุนวงแหวนควบคุม ไปทางขวา เพือ่ ปรับใหชอ ง
รับแสงแคบลง หรือปรับความไวแสง(ISO) ใหต่ำลงจนตัวเลขนัน้ หยุดกระพริบ
¡ารควบคุมความชัดลึก

ใช Av รวมกับแฟลชในตัว
เมือ่ ใชแฟลชในตัวรวมกับระบบนี้ กำลังไฟของแฟลชจะถูกตัง้ ใหเหมาะกับชองรับแสงทีผ่ ใู ชปรับ
ตัง้ ไวโดยอัตโนมัติ สวนชัตเตอรทกี่ ลองเลือกใหจะถูกตัง้ อยใู นชวงระหวาง 1/200 วินาทีถงึ 30
วินาที ตามความเหมาะสมกับสภาพแสงในขณะนั้น
ในสภาพแสงนอย ตัวแบบจะถูกบันทึกภาพดวยแสงแฟลช สวนฉากหลังนัน้ จะถูกบันทึกดวยคา
แสงตามทีเ่ ปนอยจู ริง ซึง่ ตัวแบบและฉากหลังจะมีความเขมสวางทีแ่ ลดูเปนธรรมชาติ โดยระบบ
สัมพันธแฟลชกับความไวชัตเตอรต่ำแบบอัตโนมัต(ิ automatic slow-speed sync) ซึง่ กรณีทใี่ ช
มือถือกลอง ใหพยายามถือกลองใหนงิ่ เพือ่ ปองกันภาพสัน่ หรือใชขาตัง้ กลอง
หากไมตอ งการใหระบบสัมพันธแฟลชกับความไวชัตเตอรต่ำแบบอัตโนมัตทิ ำงาน ใหเลือก
[ Custom Functions(C.Fn)] เลือกเมนูรายการ [Flash sync. speed in Av mode]
เลือก [1: 1/200-1/60 sec. auto] หรือเลือก [2: 1/200 sec. (fixed)] เพือ่ ตัง้ ชัตเตอรไวที่ 1/200
วินาทีเมือ่ ใชแฟลช (น.192)

การตรวจสอบความชัดลึก
เมือ่ กดปมุ ตรวจสอบความชัดลึก กลองจะหรีช่ อ งรับแสงลง
เปนขนาดจริงตามทีป่ รับตัง้ ไว ซึง่ ผใู ชสามารถตรวจดูความ
ชัดในบริเวณตางๆ ของภาพดวยการมองจากชองเล็งภาพ

ผใู ชสามารถตรวจสอบชวงความชัดไดจากจอภาพเมือ่ ใชระบบ Live View โดยสามารถปรับ


เปลีย่ นขนาดชองรับแสงและกดปมุ ตรวจสอบชวงความชัดเพือ่ ดูผลไดทนั ที (น.112)
¶‹ายภาพดวยการปรับตั้งเอง(Manual)
ในระบบนี้ ผใู ชสามารถปรับชองรับแสงและความไวชัตเตอรดว ยตนเอง และเมือ่ ใชรว มกับแฟลช
คาแสงของแฟลชจะถูกปรับตัง้ โดยอัตโนมัตเิ พือ่ ใหสอดคลองกับขนาดชองรับแสงทีเ่ ลือก และผใู ช
สามารถปรับความไวชัตเตอรไดในชวงระหวาง 1/200 วินาทีจนถึง 30 วินาที หรือชัตเตอร B
* <M> หมายถึง Manual

ปรับระบบบันทึกภาพไปที่ <M>

ปรับชองรับแสงและความไวชัตเตอร
เมือ่ ตองการปรับความไวชัตเตอร ใชวงแหวน
เพือ่ หมุนปรับ
คาแสงพอดี เมือ่ ตองการปรับชองรับแสง กดปมุ
แลวใชวงแหวน เพือ่ หมุนปรับ

เลือกคาแสง และถายภาพ
ภายในชองเล็งภาพ จะมีสเกลแสดงระดับแสง
ปรากฏอยู ซึง่ ขีดกลางก็คอื คาแสงทีพ่ อดี และ
สเกลสามารถแสดงระดับแสงที่มากหรือนอย
กวาคาทีพ่ อดีได +/-2 สตอป
เมื่อมีการปรับชัตเตอรและชองรับแสง ขีดซึ่ง
แสดงระดับแสงจะมีการขยับไปตามการปรับ
ซึ่งผูใชสามารถจะเลือกตัดสินใจไดวาจะถาย
ภาพดวยคาแสงระดับใด ถาระดับแสงมากกวา
คากลางเกินกวา +/- 2 สต็อป ทีด่ า นซายหรือ
ขวาสุ ด ของขี ด แสดงระดั บ แสงจะปรากฏ
สัญลักษณ หรือ

ถ า [ Auto Lighting Optimizer] (น.103) ได ตั้ ง ไว ที่ ตำแหน ง อื่ น ที่ ไ ม ใ ช [Disable]
ภาพจะยังคงดูสวาง แมจะตั้งคาการเปดรับแสงใหภาพดูเขมหรือมืด
¶‹ายภาพดวยการปรับตัง้ คาเอง

ชัตเตอร B(Bulb)
ในขัน้ ตอนที่ 2 เมือ่ หมุนวงแหวน เพือ่ ปรับความไว
ชัตเตอรเปน <BULB> หรือเรียกวา ชัตเตอร B เมือ่ ปรับ
เปนชัตเตอร B นี้ มานชัตเตอรจะเปดคางอยูเมื่อใชนิ้ว
กดปมุ ชัตเตอรจนสุดและคางไว และจะปดเมือ่ ผใู ชยกนิว้
ออกจากปมุ ชัตเตอร ชัตเตอร B เหมาะสำหรับใชถา ยภาพ
ทีต่ อ งการเปดรับแสงนานๆ เชน ภาพพลุ และเวลาทีเ่ ปด
ชัตเตอรคา งอยนู นั้ จะแสดงทีจ่ อภาพ LCD ควรใชสายลัน่
ชัตเตอร เพือ่ ใหภาพคมชัด

การเปดรับแสงนานๆ ดวยชัตเตอร B ทำใหภาพมีสญ ั ญาณรบกวนมากกวาภาพปกติ ภาพจะดู


หยาบ หรือมีจดุ หยาบๆ กระจายอยทู วั่ ภาพ
ผใู ชสามารถลดความบกพรองนีโ้ ดยตัง้ [ Custom Functions (C.Fn)] โดยเลือกรายการ
[Long exp. noise reduction] และตัง้ คาเปน [1:Auto] หรือ [2:On] (น. 193)

เมื่อถายภาพดวยชัตเตอร B แนะนำใหใชสายลั่นชัตเตอรและรีโมท (น.204, 205) เพื่อ


ใหภาพคมชัด
ผใู ชสามารถเลือกใชรโี มทควบคุม(อุปกรณเสริมพิเศษ น.204) เพือ่ ถายภาพดวยชัตเตอร B เมือ่
กดปมุ สงสัญญาณบนตัวรีโมท กลองจะเริม่ เปดรับแสงทันที หรือหลังจากนัน้ 2 วินาที และเมือ่
กดปมุ สงสัญญาณอีกครัง้ กลองจะปดรับแสงทันที เพือ่ สิน้ สุดการถายภาพดวยชัตเตอร B
Ãะบบปรับภาพชัดลึกอัตโนมัติ
เมือ่ เลือกระบบบันทึกภาพนี้ วัตถุทอี่ ยใู นฉากหนา(ใกลกลอง) และฉากหลัง จะมีความชัดดวยกัน
ทัง้ หมด จุดโฟกัสทุกๆ จุดจะทำงานเพือ่ ตรวจสอบวัตถุทอี่ ยใู นระยะตางๆ และกลองจะตัง้ ขนาดชอง
รับแสงใหโดยอัตโนมัติ เพือ่ ใหความชัดลึกครอบคลุมวัตถุทอี่ ยใู นระยะตางๆ
* <A-DEP> หมายถึง Auto Depth of field ซึง่ เปนระบบทีก่ ลองจะสรางความชัดลึกใหเพียง
พอกับทีต่ อ งการโดยอัตโนมัติ
ปรับระบบบันทึกภาพไปที่ <A-DEP>

โฟกัสไปทีว่ ตั ถุ
เล็งจุดโฟกัสใหทาบไปยังวัตถุ แตะชัตเตอรเบาๆ ลง
ครึง่ หนึง่
จุ ด โฟกั ส ที่ จั บ ความชั ด ของวั ต ถุ จ ะมี ไ ฟสี แ ดง
กระพริบขึน้
ถายภาพ

FAQ ปญหาที่ผูใชมักจะเกิดขอสงสัยกันบอยๆ
คาของชองรับแสงทีป่ รากฏในชองเล็งภาพกระพริบ
แสดงวาคาแสงนัน้ มีความถูกตอง แตความชัดลึกอาจจะไมเพียงพอ ใหเปลีย่ นมาใชเลนสใน
ชวงมุมกวางมากขึ้น หรือลองถอยออกหางจากวัตถุมากขึ้น แลวทำตามขั้นตอนที่ 2-3
ซ้ำอีกครัง้
คาความไวชัตเตอรทปี่ รากฏในชองเล็งภาพกระพริบ
ถาปรากฏวาตัวเลข “30” กระพริบ หมายถึงภาพทีถ่ า ยไดอาจจะมืดเกินไป ใหปรับความไว
แสง(ISO) ใหสงู ขึน้ และถา “4000” กระพริบ หมายถึงภาพทีถ่ า ยไดอาจจะสวางเกินไป ให
ปรับความไวแสง(ISO) ใหต่ำลง
ความไวชัตเตอรถกู ตัง้ มาใหต่ำเกินไป
ใชขาตัง้ กลอง
เมื่อตองการใชแฟลชดวย
สามารถใชแฟลชได แตอยางไรก็ตาม ผลของภาพที่ไดอาจจะเหมือนหรือคลายกับการใช
ระบบบันทึกภาพ <P> และอาจจะไมไดผลของความชัดลึกตามทีต่ อ งการ
¡ารเลือกระบบวัดแสง
ระบบวัดแสงตางๆ นั้น เปนลักษณะของการวัดคาความสวางของวัตถุในภาพ โดย
ทัว่ ไปแลว แนะนำใหใชระบบวัดแสงแบบเฉลีย่ (Evaluative)
เลือก [Metering mode]
ในแถบ เลือก [Metering mode] จากนัน้
กดปมุ
เลือกระบบวัดแสง
ใชปมุ เพือ่ เลือกระบบวัดแสงทีต่ อ งการ
จากนัน้ กดปมุ เพือ่ ยืนยัน

ระบบวัดแสงเฉลีย่ (Evaluative metering)


เป น ระบบวั ด แสงที่ เ หมาะสำหรั บ การถ า ยภาพแทบทุ ก
แบบ ตั้งแตการถายภาพบุคคล และการถายภาพยอนแสง
กลองจะตั้งคาการเปดรับแสงที่เหมาะสมใหโดยอัตโนมัติ
เมื่อเลือกใชระบบบันทึกภาพขั้นพื้นฐาน(Basic Zone) กลอง
จะเลือกคาการเปดรับแสงใหพอเหมาะพอดีโดยอัตโนมัติ
ระบบวัดแสงเฉพาะสวน(Partial metering)
ระบบที่ เ หมาะสำหรั บ การถ า ยภาพซึ่ ง ฉากหลั ง สว า งกว า
วัตถุมากๆ และมีลักษณะเหมือนการถายภาพยอนแสง ฯลฯ
โดยพื้นที่ซึ่งเปนสีเทาจะเปนพื้นที่ซึ่งเครื่องวัดแสงใชในการ
อานคาแสง
ระบบวัดแสงเฉพาะจุด(Spot metering)
ระบบวัดแสงแบบนี้เหมาะสำหรับวัดแสงพื้นที่เล็กๆ หรือจุด
ใดจุดหนึ่ง ระบบวัดแสงแบบนีจ้ ะใหน้ำหนักเฉลีย่ กับพืน้ ทีส่ เี ทา
กลางเฟรมมากกวาพืน้ ทีซ่ งึ่ อยรู อบนอกซึง่ ถูกนำมาเฉลีย่ รวมกัน
ระบบวัดแสงแบบนี้เหมาะสำหรับผูใชที่มีประสบการณแลว

ระบบวัดแสงแบบเฉลี่ยเนนกลางภาพ
(Center-weighted average metering)
เครื่ อ งวั ด แสงจะวั ด แสงโดยเน น หนั ก พื้ น ที่ ก ลางภาพ และ
เฉลี่ ย ร ว มกั บ พื้ น ที่ อื่ น ๆ โดยให น้ำ หนั ก เฉลี่ ย บริ เ วณกลาง
ภาพมากกว า ระบบวั ด แสงแบบนี้ เ หมาะสำหรั บ ผู ใ ช ที่ มี
ประสบการณแลว
ารปรับชดเชยแสง
ปรับตั้งคาการชดเชยแสง
การปรับชดเชยแสง เมือ่ ภาพทีถ่ า ยไดนนั้ (โดยไมใชแฟลช) มีความเขมสวางทีไ่ มนา พอใจ ระบบ
ชดเชยแสงใชไดกบั ระบบบันทึกภาพทุกๆ แบบในระบบบันทึกภาพแบบสรางสรรค ยกเวนระบบ
<M> แมวาผูใชสามารถชดเชยแสงไดในชวง +/- 5 stop โดยปรับไดขั้นละ 1/3 stop แต
การแสดงผลของระดับการชดเชยแสงที่จอ LCD และที่ชองเล็งภาพจะแสดงไดในชวง +/ - 2
stop เทานั้น หากผูใชตองการชดเชยแสงเกินกวา +/- 2 stop จะตองปฏิบัติตามคำแนะนำ
[ Exp. comp./AEB] ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ดในหน า 89
ปรับภาพใหสวางขึ้น
กดปมุ คางไว และหมุนวงแหวน
ไปทางขวา เมือ่ ตองการเปดรับแสงให
มากขึ้น(เพิ่มคาแสง)
ปรับภาพใหมืดลง
กดปมุ คางไว และหมุนวงแหวน
ไปทางซาย เมือ่ ตองการเปดรับแสงให
นอยลง(ลดคาแสง)
ดังภาพตัวอยาง คาแสง และระดับการชดเชยแสง
จะถูกแสดงทีจ่ อ LCD และภายในชองเล็งภาพ

หลังจากถายภาพแลว กดปุม คางไว


และหมุนวงแหวน เพื่อปรับคาการ
ชดเชยแสงกลับมาทีจ่ ดุ กึง่ กลาง(คาแสงพอดี)

ภาพดูเขมเกินไป ไมสดใส การชดเชยแสง ชวยใหภาพสวาง สดใสมากขึน้


หากไดปรับตั้งระดับการชดเชยแสงเกิน +/-2 stop กลองจะแสดงระดับการ
ชดเชยแสงไวที่ปลายสุดทางดานซาย < > หรือขวา < >
¡ารปรับชดเชยแสง

การชดเชยแสงแฟลช
เมื่อถายภาพดวยแฟลช และพบวาวัตถุในภาพไดรับแสงแฟลชที่ไมตรงกับความตองการ ผูใช
สามารถปรับชดเชยแสงแฟลชเพือ่ ใหแสงแฟลชพอเหมาะพอดีกบั ความตองการได ผใู ชสามารถ
ปรับชดเชยแสงแฟลชได +/-2 สต็อป ความละเอียดในการปรับขัน้ ละ 1/3 สต็อป
สั่ ง ให จ อภาพแสดงจอปรั บ ควบคุ ม อย า งรวดเร็ ว
เมือ่ จอภาพแสดงขอมูลการปรับตัง้ สำหรับถายภาพ
กดปมุ (น.38)
จอภาพจะแสดงจอสำหรับการปรับควบคุมอยาง
รวดเร็ว
เลือก
กดปมุ เพือ่ เลือก
จอภาพจะแสดงตัวอักษร [Flash exposure comp.]
ทางดานลางของจอภาพ
ปรั บ ตั้ ง ค า ระดั บ การชดเชยแสงแฟลช
หากตองการใหวตั ถุไดรบั แสงแฟลชมากขึน้ ให
หมุนวงแหวน ไปทางขวา(เพิม่ ระดับคาแสง
แฟลช) และหากตองการใหวตั ถุไดรบั แสงแฟลชนอย
ลง ใหหมุนวงแหวน ไปทางซาย(ลดระดับ
คาแสงแฟลช)
เมือ่ แตะชัตเตอรเบาๆ สัญลักษณ จะปรากฏขึน้ ในชองเล็งภาพ

หลังจากถายภาพเสร็จสิน้ แลว ใหทำซ้ำตามขัน้ ตอนที่ 1 ถึง 3 เพือ่ ปรับระดับการชดเชย


แสงแฟลชใหกลับเปน 0
ถา [ Auto Lighting Optimizer] (น.103) ไดถูกตั้งเปนแบบอื่นๆ ที่ไมใช
[Disable] ภาพอาจจะยังคงสวางแมจะมีการชดเชยแสงใหรบั แสงนอยลง หรือชดเชย
แสงแฟลชใหมคี า ต่ำลงแลวก็ตาม
ผใู ชสามารถปรับตัง้ และยกเลิกการชดเชยแสงแฟลชไดดว ยเมนู [ Flash control]
โดยเลือก [Built-in flash func. setting] โดยเลือก [Flash exp. comp] (น.149)
ผใู ชสามารถปรับชดเชยแสงไดดว ยเมนู [ Expo. comp./AEB] (น.89)
Ãะบบถายภาพครอมอัตโนมัติ
ระบบถายภาพครอมอัตโนมัตจิ ะมีคณ ุ สมบัตทิ กี่ า วหนาขึน้ จากระบบชดเชยแสง โดยกลองจะปรับ
คาแสงของแตละเฟรมเพือ่ ใหถา ยภาพทีม่ คี า แสงแตกตางกันได 3 เฟรมใหโดยอัตโนมัต(ิ +/- 2 สต็อป
โดยปรับไดขนั้ ละ 1/3 สต็อป) เพือ่ ใหผใู ชเลือกใชภาพทีถ่ า ยดวยคาแสงทีด่ ที สี่ ดุ ระบบนีเ้ รียกวา
ระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ ใชสญ ั ลักษณ AEB ซึง่ ยอมาจาก Auto Exposure Bracketing

ถายดวยคาแสงพอดี ถายดวยคาแสงนอยกวาพอดี ถายดวยคาแสงมากกวาพอดี

เลือก [Expo. comp./AEB]


ในแถบ เลือกรายการ [Expo. comp./AEB]
จากนัน้ กดปมุ
ตั้งระดับการถายภาพครอม
หมุ น วงแหวน เพื่ อ เลื อ กระดั บ การ
ถายภาพครอมอัตโนมัติ
ใชปมุ ในการปรับระดับคาแสงของการ
ถายภาพครอมที่ตองการ และหากมีการปรับตั้ง
ชดเชยแสงไว ระบบถ า ยภาพคร อ มอั ต โนมั ติ
จะเลื อ กใช ร ะดั บ แสงที่ มี ก ารชดเชยแสงไว
เปนคากลาง

กดปมุ เพือ่ ปรับตัง้


เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ กลองจะแสดงระดับการ
ถายภาพครอมไวที่จอ LCD

ถายภาพ
โฟกัส และกดชัตเตอรลงจนสุด ภาพถาย 3 ภาพ
จะถู ก บั น ทึ ก อย า งต อ เนื่ อ งกั น ตามลำดั บ นี้ :
มาตรฐาน, คาแสงลดลง และคาแสงเพิ่มขึ้น
Ãะบบถายภาพครอมอัตโนมัติ

ยกเลิกระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ
ทำตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 เพื่อปดการแสดงผลของระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ
ระบบถ า ยภาพคร อ มอั ต โนมั ติ จ ะถู ก ยกเลิ ก เมื่ อ ปรั บ สวิ ต ซ เ ป ด ป ด กล อ งไปที่ <OFF>
หรือเมื่อแฟลชพรอมจะถายภาพ

กลเม็ดเคล็ดลับ
เมือ่ ใชระบบถายภาพครอมอัตโนมัต(ิ AEB) กับระบบถายภาพตอเนือ่ ง
เมือ่ ตัง้ ระบบขับเคลือ่ นเปนแบบถายภาพตอเนือ่ ง (น.70) และกดชัตเตอรลงจนสุด ภาพ
ทัง้ 3 ภาพจะถูกถายอยางตอเนือ่ งตามลำดับคาแสงทีต่ งั้ ไวในการถายภาพครอม เริม่ จากภาพ
ทีม่ คี า แสงพอดี นอยกวาพอดี และมากกวาพอดี

เมือ่ ใชระบบถายภาพครอมอัตโนมัต(ิ AEB) กับระบบถายภาพครัง้ ละเฟรม


ผใู ชตอ งกดปมุ ชัตเตอรทลี ะครัง้ เพือ่ ถายภาพใหครบทัง้ 3 เฟรม โดยภาพทัง้ 3 จะมีคา แสงเรียง
ไปตามลำดับ เริม่ จากภาพทีม่ คี า แสงพอดี นอยกวาพอดี และมากกวาพอดี

เมือ่ ใชระบบถายภาพครอมอัตโนมัตริ ว มกับระบบชดเชยแสง


ระบบถายภาพครอมจะใชคาแสงที่มีการปรับชดเชยแสงไวเปนคาแสงพอดี และถายภาพ
อืน่ ๆ ตามลำดับโดยอางอิงจากคาแสงพอดีจากจุดทีช่ ดเชยแสงไว
เมือ่ ใชระบบถายภาพครอมอัตโนมัตริ ว มกับระบบหนวงเวลาหรือไวเลทรีโมทคอนโทรล
เมือ่ ใชระบบหนวงเวลาถายภาพ หรือไวเลทรีโมทคอนโทรล ( หรือ )
ผใู ชจะไดภาพครบทัง้ 3 เฟรมจากการกดชัตเตอรครัง้ เดียว และถาเลือก ก็จะได
ภาพเปนจำนวน 3 เทาของจำนวนภาพทีป่ รับตัง้ ไว (น.57)

ระบบถายภาพครอมอัตโนมัติจะไมทำงานรวมกับแฟลช และชัตเตอร B
ถา [ Auto Lighting Optimizer](น.103) ไมไดถกู ปรับไวที่ [Disable] การถายภาพ
ครอมจะไมไดผล
»รับตัง้ คาของ Picture Style [Sharpness] และ [Contrast]
ผใู ชสามารถปรับเปลีย่ นคาตัวแปรใน Picture Style เชน ที่
ถูกตัง้ คามาตรฐานมาโดยผผู ลิตได และสามารถทดลองถายภาพทดสอบเพือ่ ดูผลความเปลีย่ น
แปลงของการปรับตัง้ ทีไ่ ดปรับไว สำหรับการปรับตัง้ [Monochrome] อานรายละเอียดหนา 93
เลือก [Picture Style]
ในแถบ เลือกรายการ [Picture Style]
จากนัน้ กดปมุ
รายการของ Picture Style ก็จะปรากฏบนหนาจอ

เลือก Picture Style ทีต


่ อ งการปรับตัง้
เลือก Picture Style ทีต่ อ งการปรับตัง้ แลวกดปมุ
ตัวแปรตางๆ จะปรากฏบนหนาจอ

เลือกตัวแปรทีต่ อ งการปรับตัง้
เลือกตัวแปรทีต่ อ งการเปลีย่ นแปลงคา เชน
[Sharpness] แลวกดปมุ

ตัง้ คาตัวแปร
ใชปมุ ในการปรับเปลีย่ นคาตามทีต่ อ ง
การ จากนัน้ กดปมุ

กดปมุ เพือ่ บันทึกคาตัวแปรทีป่ รับ


ตั้ ง ไว และย อ นกลั บ ไปสู ห น า จอสำหรั บ เลื อ ก
Picture Style
ตัวแปรที่มีการปรับเปลี่ยนคาไปจากคามาตรฐาน
จะถูกแสดงเปนสีน้ำเงิน
¡ารปรับตัง้ คาของ Picture Style

ตัวแปร - การปรับตั้งคาและผลที่เกิดขึ้น
(ความคมชัด)
ปรับความคมชัดของภาพ
เมื่อตองการปรับภาพใหมีความคมชัดลดลง ใหปรับคาของตัวแปรนี้ไปทาง 0
ยิ่งใกล 0 ภาพก็จะนุมนวลมากขึ้น และเมื่อตองการปรับภาพใหมีความคมชัด
มากขึน้ ใหปรับคาของตัวแปรนีไ้ ปทาง 7 ยิง่ ใกล 7 ภาพก็จะคมชัดมากขึน้
(ความเปรียบตาง)
ปรับเพิ่มหรือลดความเปรียบตาง และเพิ่มหรือลดความฉูดฉาดของสี
เมื่อตองการลดความเปรียบตาง ใหปรับไปทางดานลบ เมื่อยิ่งใกลดาน -
มากขึ้นเทาใด สีและความเปรียบตางของภาพก็จะดูออนนุมลง
เมื่อตองการเพิ่มความเปรียบตาง ใหปรับไปทางดานบวก เมื่อยิ่งใกลดาน +
มากขึน้ เทาใด สีจะแลดูสดเขมมาก และความเปรียบตางก็จะจัดขึน้
(ความอิ่มตัว)
ปรับความอิ่มตัวของสี
เมื่อตองการลดความอิ่มตัวของสี ใหปรับไปทางดานลบ เมื่อยิ่งใกลดาน -
สีของภาพจะออนลง เมื่อตองการเพิ่มความอิ่มตัวของสี ใหปรับไปทางดานบวก
และเมือ่ ยิง่ ใกลดา น + มากขึน้ เทาใด สีจะเขมและสดมากขึน้
(โทนสี)
ปรับแตงสีผิว
เมื่อตองการใหสีผิวอมชมพูมากขึ้น ใหปรับไปทางดานลบ เมื่อยิ่งใกลดาน -
สีผิวก็จะยิ่งอมชมพู-แดง มากขึ้น เมื่อตองการใหสีผิวอมชมพู-แดงในระดับที่จาง
ลง ใหปรับไปทางดานบวก เมือ่ ยิง่ ใกลดา น + สีผวิ ก็จะอมเหลืองมากขึน้

เมือ่ เลือก [Default Set] ในขัน้ ตอนที่ 3 ผใู ชสามารถปรับตัวแปรทัง้ หมดของ Picture Style ให
กลับสูมาตรฐานที่ตั้งมาจากผูผลิต
การปรับตัง้ ทีไ่ ดอธิบายขางตน จะไมถกู นำไปใชกบั Picture Style ในขณะทีเ่ ลือกถายภาพดวย
ระบบบันทึกภาพสรางสรรค (Creative Auto)
¡ารปรับตัง้ คาของ Picture Style

การปรับตัง้ ใน Monochrome
ใน Monochrome ผใู ชสามารถจะปรับ [Filter effect] และ [Toning effect] เพิ่ม
เติมจาก [Sharpness] และ [Contrast] ทีไ่ ดอธิบายในหนากอน
(ผลพิเศษของฟลเตอร)
เมือ่ ใช Filter Effect กับภาพสีเอกรงค(monochrome)
ผูใชสามารถปรับใหกอนเมฆเปนสีขาวชัด หรือปรับ
ใหใบไมสีเขียวดูโดดเดนขึ้นจากผลพิเศษที่ฟลเตอร
สรางขึ้นกับภาพ

ฟลเตอร ผลพิเศษ
ภาพถายขาวดำปกติซงึ่ ไมมผี ลพิเศษ
ทองฟาสีทเี่ ปนสีน้ำเงินจะแลดูเปนธรรมชาติ กอนเมฆสีขาวดูเดนชัดมากขึน้
ทองฟาสีน้ำเงินจะมีโทนเขมขึ้นกวาจริงเล็กนอย พระอาทิตยที่กำลังตกจะดูสวางขึ้น

ทองฟาสีน้ำเงินจะมีโทนเขมจนเกือบดำ ใบไมรว งจะดูเดนและมีโทนสีสวางขึน้ มาก

สีผวิ และริมฝปากจะดูเนียนขึน้ ใบไมสเี ขียวจะดูสวางและคมชัดขึน้

การปรับ [Contrast] ไปทางดานบวก จะยิง่ ทำใหเห็นผลของการใชฟล เตอรไดชดั ขึน้

Toning Effect การปรับ Toning Effect ทำใหผูใชสามารถปรับ


เปลีย่ นภาพเอกรงคทเี่ ปนโทนสีขาวดำเปนโทนสีอนื่ ๆ
ได และชวยทำใหภาพดูนาสนใจมากขึ้น
ผใู ชสามารถเลือกรายการปรับตัง้ ไดดงั ตอไปนี้ :
[N: None] [S: Sepia] [B: Blue]
[P: Purple] [G: Green]
¡ารบันทึกคาของ Picture Style
ผูใชสามารถจะเลือกปรับเปลี่ยนคาตัวแปรตางๆ ภายใน Picture Style ที่มีใหเลือก เชน
[Portrait] หรือ [Landscape] ฯลฯ และบันทึกแยกเปน Picture Style ของตนเองไดอกี 3 แบบ
ในชื่อ [User Def. 1] [User Def. 2] หรือ [User Def. 3]
ผใู ชยงั สามารถสราง Picture Style ทีม่ กี ารกำหนดคาตัวแปรชนิดตางๆ เชน Sharpness และ
Contrast ทีม่ คี วามแตกตางกัน ตลอดจนปรับเปลีย่ น Picture Style ดวยซอฟทแวรทไี่ ดมาพรอม
กับกลองแลวนำมาบันทึกลงในกลองในภายหลัง
เลือก [Picture Style]
ในแถบ เลือกรายการ [Picture Style] จาก
นัน้ กดปมุ
รายการของ Picture Style ก็จะปรากฏบนหนาจอ

เลือก [User Def.]


เลือก [User Def.] จากนัน้ กดปมุ
รายละเอียดของการปรับตัง้ ตางๆ จะปรากฏ
บนหนาจอ

กดปุม
เมือ่ เลือก [Picture Style] แลว กด

เลือก Picture Style ตนแบบ


กดปมุ เพือ่ เลือก Picture Style ทีต่ อ ง
การแลวกด
เพื่อบันทึกการปรับเปลี่ยนคาตัวแปรที่ไดทำการ
ปรับเปลีย่ นโดยซอฟทแวรทไี่ ดมากับตัวกลองเขาไป
บันทึกในตัวกลอง ใหกดเลือก Picture Style จาก
หนาจอนี้
¡ารบันทึกคาของ Picture Style

เลือกตัวแปร(Parameters)
เลือกตัวแปรทีต่ อ งการปรับคา เชน [Sharpness]
แลวกดปมุ

ตัง้ คาตัวแปร
ใชปมุ ในการปรับตัง้ คาตัวแปรตามที่
ตองการ แลวกดปมุ
สำหรับรายละเอียดเพิม่ เติม อานในเรือ่ ง “ปรับตัง้ คา
ของ Picture Style” หนา 91-93

กดปมุ เพือ่ บันทึกคาทีต่ งั้ ไวใหม


หนาจอจะกลับไปยังหนาจอของการเลือก Picture
Style อีกครัง้
Picture Style ทีเ่ ปนตนแบบ จะถูกแสดงไวทางดาน
ขวาของ [User Def.*] เพื่ออางอิง
ชือ่ ของ Picture Style ทีถ่ กู ปรับเปลีย่ นคาตัวแปรไป
จากค า มาตรฐานแล ว และถู ก บั น ทึ ก ค า ลงใน
[User Def.*] จะแสดงดวยอักษรสีน้ำเงิน

เมือ่ Picture Style ซึง่ ถูกใชอา งอิงและไดถกู บันทึกคาไวใน [User Def.*] แลว หากมีการเปลีย่ น
Picture Style ทีใ่ ชอา งอิงใหม(ดวยขัน้ ตอนที่ 4) คาตัวแปรของ Picture Style ทีถ่ กู ปรับเปลีย่ นไว
และบันทึกเปน [User Def.*] ก็จะถูกยกเลิก
หากผใู ชไดใชคำสัง่ [Clear all camera settings] (น.144) คาทีไ่ ดปรับตัง้ ไวใน [User Def.*]
จะเปลีย่ นกลับไปสคู า มาตรฐาน

เมือ่ ตองการถายภาพดวย Picture Style ทีบ่ นั ทึกคาไว ใหทำตามขัน้ ตอนที่ 2 ในหนา 75 เพือ่ เลือก
[User Def.*] จากนัน้ จึงถายภาพ
¡ารเลือก Color Space
เพือ่ ใหเขาใจงายขึน้ Color Space หมายถึงปริมาณของสีทกี่ ลองสามารถสรางขึน้ ได ซึง่ กลองรนุ
นีอ้ อกแบบใหปรับ Color Space ไดสองแบบ คือ sRGB และ Adobe RGB และสำหรับการถาย
ภาพทัว่ ๆ ไป แนะนำใหตงั้ เปน sRGB และในระบบถายภาพขัน้ พืน้ ฐาน กลองจะตัง้ Color Space
เปน sRGB ใหโดยอัตโนมัติ
เลือก [Color space]
ในแถบ เลือกรายการ [Color space] จาก
นัน้ กดปมุ
เลือก Color space ที่ตองการ
เลือก [sRGB] หรือ [Adobe RGB] จาก
นัน้ กดปมุ

เกีย่ วกับ Adobe RGB


ระบบนี้ เ ป น ระบบที่ ใ ช กั บ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ เ ชิ ง พาณิ ช ย ( โรงพิ ม พ ) และ
อุตสาหกรรมอื่นๆ ไมแนะนำใหตั้ง Color Space แบบนี้หากผูใชไมมีประสบการณ
ในการจัดการไฟลภาพ ไมมีประสบการณกับ Adobe RGB และรายละเอียดเกี่ยว
กับ Design rule for Camera File System 2.0(Exif 2.21)
ภาพที่ตั้ง Color Space เปน Adobe RGB จะดูซีดและทึมเมื่อเปดดูดวยจอภาพ
คอมพิวเตอรซงึ่ ทำงานในแบบ sRGB หรือเมือ่ นำไปพิมพดว ยเครือ่ งพิมพทไี่ มไดสนับ
สนุน Design rule for Camera File System 2.0(Exif 2.21) ดังนัน้ เมือ่ ตัง้ เปน Adobe
RGB ก็จะตองนำมาปรับแตงดวยซอฟทแวรเฉพาะดาน กอนที่จะนำภาพไปใช

หากภาพทีถ่ า ยมานัน้ ถูกตัง้ color space เปน Adobe RGB ไฟลจะมีชอื่ นำหนาเปน “_MG_” กอน
แสดงเลขลำดับไฟลตามปกติ
เมือ่ ใช Adobe RGB ขอมูล ICC profile(ขอมูลของระบบสีของภาพ : อธิบายอยใู นแผน CD-ROM
คูมือการใชซอฟทแวร) จะไมแนบกำกับไปกับไฟลภาพดวย
Ãะบบล็อคคาแสง
ระบบล็อคคาแสง(AE Lock) เปนระบบทีถ่ กู ออกแบบมาเพือ่ ใชในกรณีทบี่ ริเวณทีโ่ ฟกัสมีคา แสงทีแ่ ตกตาง
จากบริเวณทีพ่ นื้ ทีว่ ดั แสงของกลองวัดแสงอยู หรือเมือ่ ผใู ชตอ งการถายภาพหลายๆ เฟรมดวยคาแสงเทา
กัน เมือ่ กดปมุ คาแสงทีว่ ดั ไดจะถูกล็อคไว ผใู ชสามารถเบนกลองเพือ่ จัดองคประกอบภาพใหม
และถายภาพ(ดวยคาแสงทีถ่ กู ล็อคไว) ระบบนีย้ งั เหมาะสำหรับการถายภาพยอนแสง
โฟกัสไปทีว่ ตั ถุ
แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ เพือ่ โฟกัส
คาแสงจะถูกแสดงในชองเล็งภาพและทีจ่ อ LCD

กดปุม
สัญลักษณ จะติดขึน้ ในชองเล็งภาพ เพือ่ แสดง
ใหทราบวาคาแสงไดถกู ล็อคไวแลว
แตละครัง้ ทีม่ กี ารกดปมุ กลองจะล็อคคาแสง
ในขณะที่กดปุมเอาไว

จัดองคประกอบภาพใหม และถายภาพ
หากตองการล็อคคาแสงไวตลอดเวลาเพือ่ ถายภาพ
จำนวนหลายๆ ภาพ ใหกดปมุ คางเอาไว
ตลอดเวลา และกดชัตเตอรเพือ่ ถายภาพตอๆ ไป

ผลของการล็อคคาแสง
ระบบวัดแสง รูปแบบของการเลือกจุดโฟกัส
น. 86 เลือกแบบอัตโนมัติ เลือกแบบปรับตัง้ เอง
ใชคาแสงที่จุดโฟกัสที่ทำงานอยู ใชคาแสงที่จุดโฟกัสที่ถูกเลือกไว
เปนคาในการล็อค เปนคาในการล็อค
ใชคาแสงที่จุดโฟกัสกึ่งกลางเฟรม เปนคาในการล็อค
* ถาสวิตซเลือกระบบโฟกัสที่เลนสถูกปรับไวเปน <MF> คาแสงที่จุดโฟกัสจุดกึ่งกลางจะถูกใชเปนคา
ในการล็อค
Ãะบบล็อคคาแสงแฟลช
ระบบล็อคคาแสงแฟลช(FE Lock) จะล็อคคาแสงแฟลชทีต่ ำแหนงของวัตถุในบริเวณทีก่ ำหนด
และฟงกชนั่ นีส้ ามารถใชไดกบั แฟลชภายนอกของ Canon ในอนุกรม EX ทีน่ ำมาติดตัง้
* FE หมายถึง Flash Exposure(คาแสงของแฟลช)
กดปุม เพื่อยกแฟลชในตัวกลอง
ขึ้นทำงาน
แตะปุมชัตเตอรเบาๆ และมองผานชองเล็งภาพ
สังเกตวามีสญ
ั ลักษณ ติดขึน้

โฟกัสไปทีว่ ตั ถุ

กดปุม
เล็งจุดโฟกัสไปทีว่ ตั ถุ ดวยจุดโฟกัสกึง่ กลางจากนัน้
กดปมุ
แฟลชจะยิงแสงกระพริบถี่ๆ ภายในชวงเวลาสั้นๆ
(Preflash) เพื่อคำนวณคาแสงแฟลชที่พอเหมาะ
กับตำแหนงนัน้ และจดจำไวในหนวยความจำ
ในชองเล็งภาพ จะมีสญ ั ลักษณ “FEL” ปรากฏอยู
ครหู นึง่ และมีสญ ั ลักษณ ปรากฏขึน้
ทุกครัง้ ทีก่ ดปมุ ก็จะมีแสงแฟลชกระพริบออก
ไปทุกครัง้ และคาแสงแฟลชทีต่ อ งใชในการถายภาพ
จริงก็จะถูกบันทึกไวในหนวยความจำ

ถายภาพ
จัดองคประกอบภาพตามที่ตองการ จากนั้นกด
ชัตเตอรเพือ่ ถายภาพ
แฟลชจะยิงแสงออกไปเพือ่ ถายภาพ

หากวัตถุที่จะถายภาพดวยแฟลชอยูไกล และเกินกวาระยะการทำงานของแฟลช สัญลักษณ


จะกระพริบเตือน ใหเขาใกลวัตถุใหมากขึ้น และทำตามขั้นตอนที่ 2 - 4 อีกครั้ง
¡ารปรับตั้งสมดุลสีขาว
สมดุลสีขาว(White Balance, WB) ก็คอื จุดอางอิงของสีขาวซึง่ จะปรากฏเปนสีขาวในภาพ ตามปกติ ระบบ
สมดุลสีขาวอัตโนมัติ จะเปนระบบที่ทำใหภาพสมดุลสีขาวไดโดยอัตโนมัติ แตถาพบวาระบบ
สมดุลสีขาวอัตโนมัติไมสามารถทำใหสีของภาพเหมือนจริงได ผูใชก็สามารถจะเลือกกำหนดสมดุลสีขาว
กับแหลงกำเนิดแสงแบบตางๆที่มีใหเลือก หรือเลือกแบบแมนวลโดยถายภาพอางอิงกับวัตถุที่มีสีขาว
สำหรับการถายภาพดวยระบบบันทึกภาพขัน้ พืน้ ฐาน(Basic Zone) ระบบสมดุลสีขาวอัตโนมัติ
จะถูกเลือกใหโดยอัตโนมัติ
กดปุม
รายการ [White balance] จะปรากฏขึน้
เลือกสมดุลสีขาว
ใชปมุ เพือ่ เลือกแบบของแหลงกำเนิด
แสงทีต่ อ งการ แลวกดปมุ เพือ่ ยืนยัน

ตัวอักษร “Approx. ****K” (K: Kelvin) ซึ่งแสดงให


เห็นเมือ่ เลือกสมดุลสีขาวกับแหลงกำเนิดแสง

หมายถึงอุณหภูมสิ ขี องแหลงกำเนิดแสงนัน้ ๆ

สมดุลสีขาวแบบกำหนดเอง
สมดุลสีขาวแบบกำหนดเอง(Custom White Balance) ชวยใหผใู ชสามารถสมดุลสีขาวกับแหลง
กำเนิดแสงไดอยางละเอียด ควรใชสมดุลสีขาวแบบนีเ้ มือ่ ถายภาพดวยแหลงกำเนิดแสงแบบใด
แบบหนึง่ เสมอ เชน ใชในหองสตูดโิ อซึง่ มีแหลงกำเนิดแสงทีใ่ ชอยทู กุ ๆ ครัง้
ถายภาพวัตถุที่เปนสีขาว
ถายภาพวัตถุที่เปนสีขาว ผิวเรียบ ใหมีขนาดเต็ม
เฟรม
ปรับภาพใหชัดเอง(แมนนวลโฟกัส) และปรับคา
การเปดรับแสงไวทคี่ า พอดี
ในขณะถายภาพนี้ สามารถจะตั้งสมดุลสีขาวไวที่
แบบใดแบบหนึง่ ก็ได
วงกลมแสดงพื้นที่วัดแสงเฉพาะจุด
¡ารปรับตัง้ สมดุลสีขาว

เลือก [Custom White Balance]


ในแถบ เลือก [Custom White Balance]
จากนัน้ กดปมุ
หนาจอจะแสดงตัวเลือกสำหรับการปรับตัง้

นำขอมูลสมดุลสีขาวจากภาพถายมาใช
เลือกภาพทีถ่ า ยไวในขัน้ ตอนที่ 1 แลวกด
บนจอภาพ ใหเลือก [OK] จากนั้นขอมูลสมดุลสี
ขาวจากภาพนี้จะถูกนำไปใช

จอภาพจะยอนกลับมาแสดงหนาจอเดิม ใหกดปมุ
เพือ่ กลับออกจากรายการในหนานี้
เลือกใชสมดุลสีขาวทีป่ รับตัง้ เอง
กดปมุ
ใชปมุ เพือ่ เลือก
จากนัน้ กดปมุ

หากคาแสงของภาพทีถ่ า ยในขัน้ ตอนที่ 1 มีความผิดพลาดมากเกินไป จะไมสามารถหาคาสมดุล


สีขาวไดอยางถูกตอง
ถาภาพในขัน้ ตอนที่ 1 ถูกถายโดยตัง้ Picture Style เปน [Monochrome] (น.76) ภาพนัน้ จะไม
ถูกนำมาใหเลือกในขัน้ ตอนที่ 3

สามารถใชกระดาษสีเทากลาง 18%(gray card, มีจำหนายเชิงพาณิชย) แทนกระดาษสีขาว ซึง่


จะชวยใหปรับตั้งสมดุลสีขาวไดแมนยำขึ้น
การบันทึกคาสมดุลสีขาวที่ปรับตั้งไวดวยซอฟทแวรที่ใหมากับกลองจะตองบันทึกใน
ถาทำตามขัน้ ตอนที่ 3 คาสมดุลสีขาวทีถ่ กู บันทึกไวเดิมจะหายไปและถูกแทนทีด่ ว ยคาใหม
¡ารปรับแกสมดุลสีขาว
ผูใชสามารถแกไขสมดุลสีขาวที่ปรับตั้งไวได ซึ่งการปรับแกนี้จะใหผลที่เหมือนกันกับ
การใชฟล เตอรแกส(ี Conversion Filter) ซึง่ ใชในการถายภาพเชิงพาณิชย ในแตละสีที่
แกไขไดนั้น จะปรับแกไดถึง 9 ระดับ
ระบบนี้เหมาะสำหรับนักถายภาพระดับกาวหนาที่มีประสบการณในการใชฟลเตอร
แกสี และฟลเตอรสำหรับปรับสีมากอน

การปรับแกสมดุลสีขาว
เลือก <WB Shift/BKT>
ในแถบ เลือก <WB Shift/BKT> จาก
นัน้ กดปมุ
กลองจะแสดงหนาจอ WB correction/WB
bracketing

ตั้งคาสำหรับปรับแกสมดุลสีขาว
ใชปมุ ควบคุมแบบทิศทาง เพือ่ เลือ่ น “ ”
ไปยังจุดทีต่ อ งการ
B หมายถึง Blue(น้ำเงิน), A หมายถึง Amber
(อำพัน), M หมายถึง Magenta(มวงแดง) และ G
หมายถึง Green(เขียว) ซึง่ สมดุลสีขาวจะถูกปรับไป
ทางแนวแกนของสีที่ถูกปรับตั้งใหม
ทางดานขวา แถบของ “Shift” จะแสดงสีและระดับ
การปรับแกของจุดทีถ่ กู เลือ่ นไป
ถากดปมุ คาสมดุลสีขาวทีม่ กี ารปรับแก
ทัง้ หมด [WB Shift/BKT] จะถูกยกเลิก

กดปมุ เพือ่ ออกจากการปรับตัง้ และกลับสู


หนาจอที่แสดงเมนูหลัก

ในขณะที่กำลังทำการปรับแกสมดุลสีขาว สัญลักษณ จะปรากฏที่จอ LCD และภายใน


ชองเล็งภาพ
แตละขัน้ ของการปรับแกในสี blue/amber จะมีคา เทากับ 5 หนวยไมเรด(mired) ของฟลเตอรปรับ
แกอณ
ุ หภูมสิ ี (Mired เปนหนวยทีใ่ ชบอกความหนาแนนหรือความเขมของสี ของฟลเตอรปรับแก
อุณหภูมสิ )ี
¡ารปรับแกสมดุลสีขาว

ระบบถายภาพครอมสมดุลสีขาวอัตโนมัติ
ดวยการถายภาพเพียงชอตเดียว ไฟลภาพจำนวน 3 ไฟลทมี่ โี ทนสีตา งกันจะถูกบันทึกติดตอกัน
โดยกลองจะอางอิงสมดุลสีขาวจากอุณหภูมสิ ใี นขณะนัน้ และถายครอมอุณหภูมสิ ใี นทาง blue/
amber 1 ภาพ และ magenta/green อีก 1 ภาพ ระบบนีเ้ รียกวา ระบบถายภาพครอมสมดุลสีขาว
อัตโนมัต(ิ White Balance Auto Bracketing - WB/BKT) ซึง่ สามารถปรับไดกวางถึง +/- 3 ระดับ
โดยมีความละเอียดในการปรับ ขัน้ ละ 1 ระดับ

ปรับตั้งระดับการถายภาพครอมสมดุลสีขาว
ในขัน้ ตอนที่ 2 ของการปรับแกสมดุลสีขาว เมือ่ หมุน
วงแหวน สัญลักษณ “ ” ทีป่ รากฏบนเสน
ตารางจะเปลีย่ นเปน “ ” (3 จุด) เมือ่ หมุนวง
แหวน ไปทางขวา จะเปนการถายภาพครอม
ในแกนของ B/A และถาหมุนไปทางซาย ก็จะเปน
การถายภาพครอมในแกนของ M/G
“Bracket” ทางดานขวา จะระบุทศิ ทางและระดับ
ของการปรับแกสมดุลสีขาว

ถากดปมุ คาสมดุลสีขาวทีม่ กี ารปรับแก


ทัง้ หมด [WB Shift/BKT] จะถูกยกเลิก
กดปมุ เพือ่ ออกจากการปรับตัง้ และกลับ
ไปสกู ารแสดงรายการของเมนู
ลำดับของการถายภาพครอม
ไฟลภาพจะถูกบันทึกลงในการด เรียงตามลำดับ ดังนี้
ภาพที่ 1 สมดุลสีขาวมาตรฐาน ภาพที่ 2 เบนไปทาง Blue(B) และภาพที่ 3 เบนไปทาง Amber(A)
หรือ ภาพที่ 1 สมดุลสีขาวมาตรฐาน ภาพที่ 2 เบนไปทาง Magenta(M) และภาพที่ 3 เบนไปทาง
Green(G)

ขณะทีถ่ า ยภาพครอมสมดุลสีขาว ความเร็วในการถายภาพตอเนือ่ งจะลดลง และปริมาณ


ภาพทีถ่ า ยไดกจ็ ะลดลงเหลือราว 1/3 จากระดับปกติ

เมือ่ ไฟลภาพทัง้ 3 ไฟลถกู บันทึกในการถายครัง้ เดียว ระยะเวลาในการบันทึกจึงนานกวาปกติ

“BKT” หมายถึง ถายภาพครอม(Bracketing)


ะบบ Auto Lighting Optimizer
หากภาพที่ถายมืดเขมเกินไป หรือมีความเปรียบตางต่ำเกินไป กลองสามารถปรับ
ความเขมสวางและความเปรียบตางใหดีขึ้นไดโดยอัตโนมัติ เมื่อเลือกบันทึกเปนไฟล
แบบ JPEG กลองจะปรับแกใหทนั ทีหลังจากกดชัตเตอร ถาเลือกบันทึกภาพเปนไฟล
แบบ RAW ก็อาจจะเลือกปรับแสงที่ขอบภาพดวยซอฟทแวร Digital Photo Profes-
sional ทีไ่ ดมาพรอมกับกลองก็ได คามาตรฐานที่ตั้งไวก็คือ [Standard]
เลือก [Auto Lighting Optimizer]
ในแถบ เลือก [Auto Lighting
Optimizer] จากนัน้ กดปมุ

ปรับตั้งระบบ
กดปุม เพื่อเลือกระบบ จาก
นั้นกดปุม
ถายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกไวดวยความเขมสวางและ
ความเปรียบตางที่ถูกปรับแกถาหากจำเปน

ตัวอยางการปรับแกความเขมสวาง
อาจมีสญั ญาณรบกวนปรากฎในภาพมากขึน้ โดยขึน้ อยกู บั สภาพแสงในขณะถายภาพ
หากมีการปรับตัง้ อืน่ ๆ ทีไ่ มใช [Disable] และมีการตั้งชดเชยแสง ชดเชยแสงแฟลช หรือถาย
ภาพดวยระบบแมนนวลโดยตองการใหภาพมีความเขมมากขึน้ ภาพก็จะยังแลดูสวาง หากตอง
การใหภาพดูเขม ใหปรับระบบเปน [Disable] เสียกอน

เมื่อใชระบบบันทึกภาพอัตโนมัติสมบูรณแบบ ระบบนี้จะถูกปรับตั้งเปน [Standard] โดยอัตโนมัติ


ะบบปรับแสงที่ขอบภาพอัตโนมัติ
เลนสแตละตัวมีคุณภาพแตกตางกัน ขอดอยของเลนสบางตัวอาจทำใหขอบภาพทั้ง 4
ดานอาจจะสลัวกวาบริเวณอื่นก็ได ซึ่งเรียกวา การสลัวลงที่ขอบภาพ เมื่อถายภาพ
โดยเลือกบันทึกไฟลแบบ JPEG ระบบปรับแสงที่ขอบภาพจะทำงานทันทีหลังจากที่
บันทึกภาพ และถาเลือกบันทึกภาพเปนไฟลแบบ RAW ก็อาจจะเลือกปรับแสงที่ขอบ
ภาพดวยซอฟทแวร Digital Photo Professional ทีไ่ ดมาพรอมกับกลองก็ได
คามาตรฐานทีต่ งั้ ไวกค็ อื [Enable]
เลือก [Peripheral illumin. correct.]
ในแถบ เลือก [Peripheral illumin.
correct.] จากนั้นกดปุม
ปรับตั้งการปรับแก
ตรวจสอบดูวา มีตัวอักษร [Correction
data available] ปรากฎขึน้ ทีจ่ อภาพ
หากตัวอักษร [Correction data not available]
ปรากฎขึน้ แทน ใหดู “เกีย่ วกับระบบปรับแสง
ที่ขอบภาพอัตโนมัติ” ในหนาถัดไป
กดปมุ เพือ่ เลือก [Enable]
จากนัน้ กด
ถายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกโดยมีการปรับความสวางที่
ขอบภาพแลว

ภาพที่มีการปรับแก ภาพที่ไมมีการปรับแก
 ะ บ บ ป รั บ แ ส ง ที่ ข อ บ ภ า พ อั ต โ น มั ติ

เกี่ยวกับขอมูลการปรับแกของเลนส
กลองจะมีขอมูลเกี่ยวกับการสลัวลงที่ขอบภาพของเลนสแตละรุน โดยมีขอมูลถึง 25
รนุ ในขัน้ ตอนที่ 2 ถาผใู ชเลือก [Enable] กลองจะปรับแสงทีข่ อบภาพใหโดยอัตโนมัติ
ถาหากกลองมีขอมูลของเลนสที่ใชอยูในตัวกลองแลว ผูใชจะสามารถตรวจสอบไดวา
มีเลนสรุนใดบางที่มีขอมูลอยูภายในตัวกลอง
ดวยซอฟทแวร EOS Utility (ทีไ่ ดมาพรอมตัวกลอง) นอกจากนี้ ผใู ชกส็ ามารถใหขอ มูล
ของเลนสที่กลองไมมีขอมูล เพื่อใหกลองรับทราบเพิ่มเติมไดดวย สำหรับรายละเอียด
ใหอานไดจากคูมือการใชซอฟทแวร EOS Utility (CD-ROM)

สำหรับภาพทีเ่ ปนไฟล JPEG ทีถ่ า ยไวแลว จะไมสามารถปรับแกความสลัวของขอบภาพไดใน


ภายหลัง
อาจเกิดสัญญาณรบกวนบริเวณขอบภาพก็ได โดยขึน้ อยกู บั สภาพการถายภาพนัน้ ๆ

เมือ่ ใชเลนสของผผู ลิตรายอืน่ (เลนสอสิ ระ) ควรปรับตัง้ เปน [Disable] แมวา กลองจะแสดงวา
มีขอ มูลสำหรับปรับแก [Correction data available]

ระบบปรับแสงที่ขอบภาพจะทำงาน แมวาจะใช Extender กับเลนสดวย


หากกล อ งไม มี ข อ มู ล ของเลนส ที่ นำมาใช ผลที่ ไ ด ก็ จ ะเหมื อ นกั บ การตั้ ง ระบบเป น
[Disable]
การปรั บ แก แ สงสลั ว ที่ ข อบภาพจากตั ว กล อ งจะน อ ยกว า การปรั บ แก ด ว ยซอฟท แ วร
Digital Photo Professional (ไดมาพรอมกับกลอง) เล็กนอย
ถาใชเลนสที่ไมมีการสงขอมูลเกี่ยวกับระยะถายภาพ การปรับแกแสงสลัวที่ขอบภาพ
อาจจะต่ำกวาปกติ
ยิ่งถายดวยความไวแสงสูงเทาใด การปรับแกแสงสลัวที่ขอบภาพก็จะยิ่งนอยลง
องกันภาพสัน่
เมือ่ กดชัตเตอร กระจกสะทอนภาพในตัวกลองจะยกตัวเพือ่ ใหแสงผานมานชัตเตอรไปยังเซนเซอร
กลไกการยกตัวของกระจกจะทำใหกลองสัน่ โดยเฉพาะเมือ่ ใชกบั เลนสทมี่ กี ำลังขยายสูง เชน เลนส
เทเลโฟโตและเลนสมาโคร กรณีนี้ ควรใชระบบล็อคกระจกสะทอนภาพ
เลือกการทำงานไดโดยการปรับ [Mirror lockup] ภายในแถบ [ Custom Functions
(C.Fn)] โดยตั้งใหเปน [1: Enable] (น.195)
โฟกัสไปยังวัตถุ และกดชัตเตอรลงจนสุด
กระจกสะทอนภาพจะพับขึน้ และล็อค
กดชัตเตอรจนสุดอีกครั้งเพื่อถายภาพ
เมือ่ ถายภาพแลว กระจกสะทอนภาพก็จะพับกลับลงมาสตู ำแหนงปกติ

กลเม็ดเคล็ดลับ
ใชระบบหนวงเวลา กับระบบล็อคกระจกสะทอนภาพ
เมือ่ กดชัตเตอรลงจนสุด กระจกสะทอนภาพจะยกขึน้ และล็อค ชัตเตอรจะลัน่ เพือ่ ถายภาพในอีก
2 วินาทีหลังจากนั้น
ถายภาพดวยรีโมทคอนโทรล
การใชรีโมทคอนโทรลชวยใหผูใชไมตองใชนิ้วกดปุมชัตเตอร ซึ่งเมื่อรวมกับระบบล็อคกระจก
สะทอนภาพ ก็ชว ยปองกันภาพสัน่ ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยใช Remote Controller RC-6 ซึง่
ปรับตัง้ เปนหนวงเวลา 2 วินาที เมือ่ กดปมุ สงสัญญาณ กระจกสะทอนภาพจะยกตัวขึน้ และ
ล็อคจากนั้นกลองจะถายภาพในอีก 2 วินาทีหลังจากนั้น

ไมควรเล็งกลองไปยังดวงอาทิตยโดยตรง ความรอนและแสงที่เจิดจาจากดวงอาทิตยสามารถ
ทำใหมา นชัตเตอรไหมและเสียหายได
เมื่อถายภาพดวยชัตเตอร B(bulb) ใชระบบหนวงเวลา และล็อคกระจก รวมกัน ใหใชนิ้ว
กดชัตเตอรลงจนสุดและกดคางไวตลอดเวลาที่ถายดวยชัตเตอร B เมื่อยกนิ้วออกกอนที่ระบบ
หนวงเวลาจะทำงานเสร็จสิน้ จะไดยนิ เสียงชัตเตอรลนั่ แตนนั่ ไมใชการทำงานจริง(ไมมกี ารถาย
ภาพเกิดขึ้น)

เมือ่ ล็อคกระจกสะทอนภาพ แมวา ตัง้ ระบบขับเคลือ่ นเปน (ระบบถายภาพตอเนือ่ ง) แต


การทำงานจริงจะเปนแบบถายภาพครั้งละเฟรม
เมือ่ ล็อคกระจกสะทอนภาพแลว และไมไดถา ยภาพภายใน 30 วินาที กระจกจะพับลงสตู ำแหนง
ปกติ ถาตองการล็อคกระจกใหม ใหกดชัตเตอรลงจนสุดอีกครั้ง
¡Òö‹ÒÂÀÒ¾â´ÂàÅç§ÀÒ¾
´ŒÇÂÃкº Live View
ผูใชสามารถถายภาพไดในขณะเล็งภาพจากจอ LCD ของกลอง ระบบ
นี้มีชื่อเรียกวา “Live View shooting”
ระบบ Live View เหมาะสำหรับการถายภาพสิง่ ทีอ่ ยนู งิ่ และไมมกี าร
เคลือ่ นที่

ถาผูใชถือกลองและเล็งภาพจากจอ LCD ในลักษณะเดียวกับการ


ถายภาพดวยกลองคอมแพ็ค กลองอาจจะสัน่ และทำใหภาพไมชดั
หรือพรามัว แนะนำใหใชขาตัง้ กลอง

เกีย่ วกับระบบ Remote Live View Shooting


ดวยซอฟทแวร EOS Utility ทีไ่ ดมากับตัวกลอง ผใู ชสามารถเชือ่ มตอกลองกับ
คอมพิวเตอรเพื่อถายภาพโดยการควบคุมจากระยะไกล(Remote Live View
Shooting) และเล็งดูภาพจากจอคอมพิวเตอร สำหรับรายละเอียดเรือ่ งนี้ อาน
จาก “Software Instruction Manual” ในแผน CD-ROM
ารเล็งภาพโดยใชจอ LCD
ปรับตั้งใหระบบ Live View เริ่มทำงาน
กดปมุ < >
จอภาพ LCD ของกล อ งจะปรากฏภาพแบบ
Live View
ภาพในแบบ Live View จะแสดงความเขมสวาง
ทีใ่ กลเคียงกับภาพทีจ่ ะถายได
จอ LCD จะแสดงภาพเทากับพื้นที่จริงของภาพที่
ถายได (100%)
โฟกัสไปยังวัตถุ
กอนถายภาพ โฟกัสภาพใหชัดดวยระบบออโต
โฟกัสหรือแมนนวลโฟกัส (น.113-120)
เมื่ อ ผู ใ ช แ ตะชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง กล อ ง
จะโฟกัสอัตโนมัตใิ นแบบทีป่ รับตัง้ ไว

ถายภาพ
กดชัตเตอรลงจนสุด
กลองจะถายภาพ และภาพที่ไดถายไวแลวจะ
ปรากฏบนจอ LCD
หลังจากทีก่ ลองจบสิน้ การแสดงภาพทีถ่ า ยไวแลว
กลองจะกลับสูระบบถายภาพแบบ Live View
โดยอัตโนมัติ
กดปมุ < > เมือ่ ตองการยกเลิกระบบถายภาพ
แบบ Live View
¡ารเล็งภาพโดยใชจอ LCD

ปรับตั้งใหระบบ Live View ทำงาน


ในแถบ [ Live View Function Setting]
ปรับตัง้ [Live View shoot] เปน [Enable]

อายุการใชงานของแบตเตอรีเมื่อถายภาพดวยระบบ Live View


(จำนวนภาพทีถ่ า ยไดโดยประมาณ)
ลักษณะการใชกลอง
อุณหภูมิ
ไมใชแฟลช ใชแฟลช 50%
ที่ 23 Cํ / 73 Fํ 200 180
ที่ 0 Cํ / 32 Fํ 170 150
คาทีแ่ สดงในตารางอางอิงจากการใชแบตเตอรี LP-E8 ทีป่ ระจุไฟเต็ม และทดสอบตามมาตรฐาน CIPA
(Camera & Imaging Products Association)
สามารถใชระบบ Live View ถายภาพอยางตอเนือ่ งได 1 ชัว่ โมง 30 นาที ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 23 Cํ / 73 Fํ โดยใช
แบตเตอรี LP-E8)ทีป่ ระจุไฟเต็ม)

ขณะใชระบบ Live View หามเล็งกลองไปยังดวงอาทิตย เพราะความรอนจากแสงอาทิตยจะทำ


ใหชนิ้ สวนภายในตัวกลองเกิดชำรุดเสียหาย
ขอควรระมัดระวังในการถายภาพดวยระบบ Live View อานไดจากหนา 121-122

เมือ่ ถายภาพดวยแฟลช จะไดยนิ เสียงชัตเตอรลนั่ 2 ครัง้ แตกลองจะถายภาพเพียงภาพเดียว


¡ารเล็งภาพโดยใชจอ LCD

เกี่ยวกับการแสดงขอมูล
เมือ่ กดปมุ จอภาพจะแสดงขอมูลการถายภาพในขณะนัน้ และเมือ่ กดปมุ ซ้ำ
ขอมูลจะหายไป และจะกลับไปแสดงภาพตามปกติ
จุดโฟกัส (Quick mode)
ระบบสมดุลสีขาว กรอบขยายภาพ
Picture Style
ระบบ Auto Histogram
Lighting Optimizer (คาความสวาง / RGB)
คุณภาพในการบันทึก
ถายภาพครอม
ระบบขับเคลือ่ น ถายภาพครอมดวยแฟลช
ระบบ AF จำลองคาแสง
Live mode
Face Detection
Live mode ระดับพลังงานแบตเตอรี
Quick mode Highlight tone priority
ความไวชัตเตอร
ความไวแสง(ISO)
ล็อคคาแสง
ปริมาณภาพทีถ่ า ยได
ชองรับแสง
ชดเชยแสงแฟลช
สัญญาณแฟลชพรอมทำงาน
ระดับคาแสง / ระดับการถายภาพครอม

เมื่อสัญลักษณ แสดงเปนสีขาว หมายถึงการแสดงภาพในระบบ Live View มีความ


เขมสวางใกลเคียงกับภาพทีจ่ ะถายได
เมื่อสัญลักษณ กระพริบ แสดงใหทราบวา การแสดงภาพในระบบ Live View นั้นไม
ตรงกับสภาพแสงของภาพ ซึ่งอาจเกิดจากแสงที่ใชถายภาพมีความสวางมากเกินไปหรือสลัว
เกินไป อยางไรก็ตาม ภาพทีถ่ า ยไดจะตรงกับคาการเปดรับแสงทีป่ รับตัง้ ไว
เมื่อใชแฟลช หรือตั้งชัตเตอร B(bulb) สัญลักษณ และ histogram จะกลายเปนสีเทา
จาง(เพื่อใหผูใชทราบ) และ histogram จะไมสามารถแสดงผลไดอยางปกติเมื่อถายภาพใน
สภาพแสงนอยมาก และในสภาพแสงที่จัดจามากเกินไป
รับตั้งฟงกชั่นเพื่อถายภาพ
ฟงกชนั่ ทีป่ รับตัง้ ไดโดยเฉพาะของระบบ Live Vuew จะอธิบายรายละเอียดในหนานี้

Quick Control การควบคุมอยางรวดเร็ว


ในขณะทีจ่ อภาพกำลังแสดงภาพดวยระบบ Live View ผใู ชสามารถกดปมุ เพื่ อ ปรั บ
ตัง้ คุณภาพในการบันทึกภาพ ระบบขับเคลือ่ น และระบบออโตโฟกัส และเมือ่ ถายภาพดวยระบบ
บันทึกภาพสรางสรรค ผใู ชสามารถปรับตัง้ สมดุลสีขาว Picture Style และระบบปรับความเขม
สวางอัตโนมัต(ิ Auto Lighting Optimizer)
กดปุม
ฟงกชั่นที่สามารถปรับตั้งไดจะแสดงรายการ
เปนสีน้ำเงิน
เมือ่ กดปมุ < > ระบบ Live View จะ
แสดงจุดโฟกัสใหเห็น

เลือกและปรับตัง้ ฟงกชนั่ ทีต่ อ งการ


ใช เพือ่ เลือกฟงกชนั่
การปรับตั้งฟงกชั่นที่เลือกจะปรากฏ
ทางดานลาง
หมุนวงแหวน เพือ่ ปรับเปลีย่ น
»รับตั้งฟงกชั่นเพื่อถายภาพ

เลือกปรับตัง้ เมนูของฟงกชนั่
ในทีน่ จี้ ะเปนรายละเอียดของฟงกชนั่ ตางๆ ของระบบ Live
View และเมนูตา งๆ ในแถบ [ ] [Live View function
settings] ซึ่งจะแสดงรายละเอียดทางดานลาง
ฟงกชนั่ ตางๆ ทีส่ ามารถปรับตัง้ ไดซงึ่ ปรากฏในหนาจอนี้
จะทำงานก็ตอ เมือ่ ถายภาพดวยระบบ Live View เทานัน้
และฟงกชนั่ เหลานีจ้ ะไมมผี ลใดๆ หากเล็งภาพจากชองเล็ง
ภาพในแบบปกติ
แสดงเสนกริด
เมือ่ เลือก หรือ สามารถแสดงเสนกริดสำหรับอางอิงได
ชวงเวลาในการวัดแสง
ผใู ชสามารถปรับตัง้ เวลาในการแสดงคาการเปดรับแสง (ระยะเวลาในการล็อคคาแสง)
ระบบออโตโฟกัส
ผใู ชสามารถปรับตัง้ [Live mode] (น.113), [ Live mode] (น.114), หรือ [Quick mode]
(น.118)

แมในขณะทีก่ ลองกำลังทำงานในระบบ Live View ผใู ชยงั คงสามารถปรับฟงกชนั่ ของเมนู


< > และเลนดูภาพ แตเมื่อผูใชเลือก [Dust Delete Data],
[ Sensor cleaning], [ Clear settings], [ Firmware Ver.]
ระบบ Live View จะหยุดการทำงาน
เมือ่ ใชระบบ Live View ระบบวัดแสงจะเปนระบบเฉลีย่ และปรับเปลีย่ นไมได

เมื่อใชระบบบันทึกภาพสรางสรรค สามารถตรวจสอบชวงความชัดไดดวยปุมตรวจสอบชวง
ความชัด
เมือ่ บันทึกภาพดวยระบบขับเคลือ่ นแบบตอเนือ่ ง กลองจะใชคา การเปดรับแสงของภาพแรกใน
การถายภาพลำดับถัดๆ ไป
การใชระบบบันทึกภาพ <A-DEP> จะไดผลที่ไมแตกตางจากระบบ <P>
หากไมมกี ารปรับตัง้ ควบคุมกลองในชวงเวลาหนึง่ กลองจะปดการทำงานโดยอัตโนมัติ ซึง่ ปรับ
ตัง้ ไดดว ย [ Auto power off] (น.139) และถา [ Auto power off] ไดตั้ง
เปน [Off] ระบบ Live View จะหยุดการทำงานหลังจากเวลาผานไป 30 นาที แตพลังงานของกลอง
จะยังคงเปดอยู
ดวยสายตอพวง AV(ใหมาพรอมกับกลอง) และสาย HDMI(อุปกรณเสริมพิเศษ) ผใู ชสามารถ
แสดงภาพแบบ Live View ทีจ่ อโทรทัศนได (น.167, 169)
ผใู ชสามารถใชรโี มทคอนโทรล (อุปกรณเสริมพิเศษ น.204) เพือ่ ถายภาพแบบ Live View ได
รับภาพใหชัดดวยระบบออโตโฟกัส
การเลือกระบบออโตโฟกัส
ระบบออโตโฟกัสทีก่ ลองมีใหเลือกไดแก [Live mode], [ Live mode]
(face detection, น.114), และ [Quick mode] (น.118)
หากตองการโฟกัสโดยเนนความแมนยำสูง แนะนำใหปรับสวิตซที่กระบอกเลนสไปที่
<MF> ขยายดูภาพ แลวปรับภาพใหชดั ดวยตนเอง (น.120)
เลือกระบบออโตโฟกัส
ในแถบ [ Live View function settings]
เลือก [AF mode]
เมื่อกลองทำงานในระบบ Live View แลว ผู
ใชสามารถเลือกระบบออโตโฟกัสไดดวยการ
กดปุม เพื่อเลือกระบบออโตโฟกัสได
จากหนาจอ

Live Mode:

กลองจะใชเซนเซอรรับแสงในการจับความชัดของภาพ ระบบออโตโฟกัสทำงานได
เมือ่ ใชระบบ Live View แตจะใชเวลาในการหาโฟกัสนานกวาระบบ Quick mode
และอาจจะจับความชัดไดยากกวาระบบ Quick mode ดวยเชนกัน

เริ่มดูภาพดวยระบบ Live View


กดปุม < >
กลองจะแสดงภาพดวยระบบ Live View ทีจ่ อ
LCD
จุดโฟกัส จะปรากฏขึน้
เลือ่ นจุดโฟกัส
จุดโฟกัส ผใู ชสามารถจะใช ในการเลือ่ นจุด
โฟกัสไปยังตำแหนงทีต่ อ งการ (ยกเวนบริเวณ
ขอบภาพ)
เมื่อตองการใหจุดโฟกัสกลับไปยังกึ่งกลาง
ภาพ ใหกดปุม
»รับภาพใหชดั ดวยระบบออโตโฟกัส

โฟกัสไปยังวัตถุ
เล็งจุดโฟกัสไปยังวัตถุ และแตะชัตเตอรเบาๆ
ลงครึ่งหนึ่ง
เมือ่ โฟกัสไดแลว จุดโฟกัสจะเปลีย่ นเปนสีเขียว
และมีสัญญาณเสียงดังขึ้น
หากไมสามารถหาโฟกัสได จุดโฟกัสจะเปลีย่ น
เปนสีสม
ถายภาพ
ตรวจสอบจุดโฟกัสและคาแสง จากนั้นกด
ชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ (น.108)

(Face Detection) Live Mode:


ระบบนี้จะใชวิธีหาโฟกัสเหมือนกับระบบ Live mode แตสามารถตรวจหาและโฟกัส
ไปยังใบหนาของคนที่อยูในภาพได ทำใหใบหนาของบุคคลมีความชัดเสมอ
แสดงภาพดวยระบบ Live View
กดปมุ < >
กลองจะแสดงภาพแบบ Live View ทีจ่ อ LCD
เมือ่ จับภาพใบหนาได เฟรม จะปรากฏ
ขึ้นบริเวณใบหนาที่โฟกัส
ถากลองจับภาพใบหนาของคนหลายๆ คนได
จะปรากฏ < > ขึน้ ใหใช ในการ
เลื่ อ นกรอบ < > ไปยั ง ใบหน า ของ
คนที่ตองการ
»รับภาพใหชดั ดวยระบบออโตโฟกัส

โฟกัสไปทีว่ ตั ถุ
แตะชัตเตอรเบาๆ กลองจะโฟกัสไปยังใบหนา
ของคนในภาพ โดยปรากฏเปนกรอบ
ทาบอยู
เมื่อโฟกัสไดแลว จุดโฟกัสจะเปลี่ยนสีเปนสี
เขียว และมีสัญญาณเสียงดังขึ้น
หากไม ส ามารถหาโฟกั ส ได จุ ด โฟกั ส จะ
เปลี่ยนเปนสีสม
ถากลองไมสามารถจับใบหนาบุคคลได จุด
โฟกัส จะแสดงขึ้นแทน และกลองจะใช
บริเวณกึ่งกลางเฟรมในการโฟกัส
ถายภาพ
ตรวจสอบจุดโฟกัสและคาแสง จากนั้นกด
ชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ (น.108)

หากคนอยูไกลมาก ระบบจับภาพใบหนาบุคคล(face detection) จะไมสามารถทำงาน


ได และถาเลนสไมสามารถปรับภาพใหชัดได แมจะปรับสวิตซที่เลนสไปที่ <AF> ใหใช
มือหมุนโฟกัสหยาบๆ จนชัดพอประมาณ กลองจะจับภาพใบหนาได และ จะ
ปรากฏขึ้น
กลองอาจจะจับภาพสิ่งอื่นที่ไมใชใบหนาคน โดยคิดวาเปนหนาคนก็ได
ระบบนีจ้ ะทำงานไมไดผลเมือ่ ใบหนาคนในภาพมีขนาดเล็กหรือใหญมาก ถายภาพในทีม่ ดื หรือ
สวางมาก เงยกลองมาก ตะแคงกลอง หรือเมือ่ ใบหนานัน้ ถูกบังบางสวน
เฟรม อาจจะครอบคลุมเฉพาะสวนของใบหนา

เมื่อกดปุม ระบบโฟกัสจะกลับไปทำงานในแบบ Live mode (น.113) ผใู ชสามารถปรับ


เพื่อเลื่อนจุดโฟกัส และถากดปุม อีกครัง้ กลองจะกลับมาทำงานแบบจับภาพ
ใบหนาบุคคล (Face Detection) Live mode
ถ า ระบบออโต โ ฟกั ส ทำงานไม ไ ด ผ ล เพราะหน า ของคนอยู ใ กล กั บ ขอบภาพมากเกิ น ไป
สัญลักษณ จะจางลง ถาแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ อีกครัง้ กลองจะไปใชบริเวณ
กลางภาพในการจับโฟกัส
»รับภาพใหชดั ดวยระบบออโตโฟกัส

เกี่ยวกับการทำงานของระบบออโตโฟกัสใน Live Mode


และ (Face Detection) Live Mode
การหาโฟกัสจะชากวาปกติเล็กนอย
แมระบบโฟกัสจะจับภาพไดแลว แตเมือ่ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ อีกครัง้ กลอง
จะโฟกัสใหม
ความเขมสวางของภาพอาจจะเปลี่ยนแปลงไปไดทั้งในระหวางและหลังจากออโต
โฟกัสทำงานแลว
ถาแหลงกำเนิดแสงเกิดความเปลีย่ นแปลงไปในระหวางทีร่ ะบบ Live View ทำงาน
ภาพที่ปรากฏบนจอภาพอาจมีการกระพริบและทำใหโฟกัสไดยากขึ้น หากเกิดขึ้น
ใหหยุดการทำงานของระบบ Live View แลวจึงใหระบบออโตโฟกัสทำงานแบบ
ปกติเสียกอนในแหลงกำเนิดแสงที่ใชอยูขณะนั้น
เมือ่ โฟกัสดวยระบบ Live mode และกดปมุ ภาพบริเวณจุดโฟกัสจะถูก
ขยายใหใหญขนึ้ หากพบวาการขยายภาพทำใหโฟกัสไดยากขึน้ ใหกลับสกู ารดูภาพ
แบบปกติและใชระบบออโตโฟกัสหาโฟกัสอีกครั้ง และเมื่อขยายภาพบริเวณจุด
โฟกัส จะทำใหการหาโฟกัสชาลงกวาเมื่อดูในขนาดปกติ
เมื่อใชออโตโฟกัสแบบ Live mode ในภาพขนาดปกติ แลวกดปุมขยายภาพ อาจ
จะเห็นวาโฟกัสหลุด (ภาพไมชัด)
เมือ่ ใชระบบ Live mode การกดปมุ จะไมทำใหภาพถูกขยายขึน้

เมื่อใชระบบ Live mode หรือ (จับภาพใบหนาบุคคล) และถายภาพที่มีบุคคลและ


วัตถุอื่นๆ อยูรอบ และพบวาการโฟกัสที่หนาของคนมีความคลาดเคลื่อนไป ใหใชจุดโฟกัส
กึ่งกลางเล็งไปที่หนาตาที่ตองการโฟกัส จากนั้นจึงถายภาพ
ไฟชวยหาโฟกัสในสภาพแสงนอยจะไมทำงาน
»รับภาพใหชดั ดวยระบบออโตโฟกัส

สภาพการถายภาพที่อาจทำใหโฟกัสไดยาก:
วัตถุที่มีความเปรียบตางต่ำ เชน ทองฟาสีฟา และวัตถุที่มีผิวเรียบสีเดียว ฯลฯ
วัตถุที่อยูในสภาพแสงนอย
วัตถุที่เปนริ้ว แถบ หรือมีลวดลายที่มีความเปรียบตางเฉพาะในแนวนอน
ในแหลงกำเนิดแสงทีม่ คี วามสวาง สีสนั หรือลวดลาย ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตลอดเวลา
ภาพกลางคืน หรือจุดแสง
เมื่อถายภาพดวยแสงฟลูออเรสเซนต หรือเมื่อวัตถุนั้นเองมีการกระพริบ
วัตถุที่มีขนาดเล็กมากๆ
วัตถุอยูที่บริเวณขอบของภาพ
วัตถุที่มีแสงสะทอนมาก
เมื่อจุดโฟกัสจุดเดียว ครอบคลุมวัตถุที่อยูใกลและไกล เชน เมื่อถายภาพสัตวที่อยู
ในกรง
วัตถุทมี่ กี ารเคลือ่ นทีต่ ลอดเวลาในจุดโฟกัสจุดเดียวกัน เชน กลองสัน่ หรือวัตถุมคี วาม
เบลอ
วัตถุที่เคลื่อนที่เขาหาหรือเคลื่อนออกจากกลอง
ใชระบบออโตโฟกัส ในขณะที่วัตถุอยูนอกพื้นที่หาโฟกัส
เมือ่ เกิดผลแบบ soft focus จากการใชเลนส soft focus
เมื่อใชฟลเตอรที่ใหผลพิเศษ
»รับภาพใหชดั ดวยระบบออโตโฟกัส

เมือ่ ใชระบบ One-Shot AF (น.66) กลองจะใชเซนเซอรออโตโฟกัสทีแ่ ยกตางหากในการโฟกัส กลองจะหา


โฟกัสในลักษณะเดียวกันกับการโฟกัสดวยการมองผานชองเล็งภาพ แมวิธีนี้จะทำใหโฟกัสไดรวดเร็วขึ้น
แตการแสดงภาพแบบ Live View อาจมีการหยุดชะงักชัว่ คราวหรือกระตุก ในขณะทีร่ ะบบออโต
โฟกัสกำลังทำการจับภาพใหชดั อยู

จุดโฟกัส แสดงภาพแบบ Live View


กดปมุ < >
กลองจะแสดงภาพแบบ Live View ทีจ่ อ LCD
กรอบเล็กๆ ซึ่งปรากฏที่หนาจอก็คือจุดโฟกัส
สวนกรอบขนาดใหญก็คือกรอบขยายภาพ

กรอบขยายภาพ
เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ
เมื่อกดปุม หนาจอแสดงการปรับตั้ง
แบบเร็วจะปรากฏขึ้น
ฟงกชั่นที่สามารถเลือกใชไดจะเปนสีน้ำเงิน
ใช เพือ่ เลือกจุดโฟกัส
หมุนวงแหวน เพื่อเลือกจุดโฟกัส
»รับภาพใหชดั ดวยระบบออโตโฟกัส

โฟกัสไปยังวัตถุ
เล็งจุดโฟกัสไปยังวัตถุ และแตะชัตเตอรเบาๆ
ลงครึ่งหนึ่ง
ภาพจากระบบ Live View จะดับไป กระจก
สะท อ นภาพจะกลั บ สู ตำแหน ง ปกติ และ
กลองจะหาโฟกัสดวยระบบออโตโฟกัส
เมื่อโฟกัสไดแลว จะมีสัญญาณเสียงดังขึ้น
และจอภาพจะกลับมาแสดงภาพแบบ Live
View อีกครัง้
จุดโฟกัสที่ใชในการจับภาพจะเปนสีแดง

ถายภาพ
ตรวจสอบความชัดและคาแสง จากนั้นกด
ปุมชัตเตอรจนสุดแลวถายภาพ (น.108)

ผใู ชไมสามารถถายภาพไดในขณะทีร่ ะบบออโตโฟกัสกำลังทำงานอยู จะถายภาพ


ไดเมือ่ ภาพจากระบบ Live View ไดปรากฏบนจอภาพแลว
รับภาพใหชัดดวยการหมุนปรับเอง
ผูใชสามารถซูมขยายภาพเพื่อตรวจสอบ และปรับภาพใหชัดโดยใชมือหมุนปรับไดอยางแมนยำ

ปรับสวิตซที่กระบอกเลนสไปที่ <MF>
หมุนวงแหวนโฟกัสที่กระบอกเลนสเพื่อปรับภาพ
ใหชดั อยางคราวๆ

เลื่อนกรอบขยายภาพ
ใชปมุ เพือ่ เลือ่ นกรอบขยายภาพไปยัง
ตำแหนงทีต่ อ งการ
ถาตองการปรับเลือ่ นกรอบขยายภาพกลับมายังจุด
กึง่ กลาง ใหกดปมุ

ขยายภาพ
กดปมุ
พื้นที่ภายในกรอบขยายภาพจะถูกขยายใหญขึ้น
แตละครัง้ ทีก่ ดปมุ การแสดงภาพขยาย
จะเปลีย่ นไปตามลำดับ ดังนี้
ขนาดปกติ

ปรับภาพใหชัดดวยการหมุนปรับเอง
ขณะทีม่ องจากจอ LCD และดูภาพทีถ่ กู ขยาย หมุน
ปรับภาพใหชดั โดยใชวงแหวนทีก่ ระบอกเลนส
หลังจากทีป่ รับความชัดไดจนพอใจแลว กดปมุ
ล็อคคาแสง เพือ่ กลับสกู ารแสดงภาพขนาดปกติ
พืน้ ทีท่ ตี่ อ งการขยายภาพ
ขนาดทีข่ ยายภาพ ถายภาพ
ตรวจสอบความชัดและคาแสง จากนัน้ กดชัตเตอร
เพื่อถายภาพ (น.108)
เกี่ยวกับภาพที่แสดงในระบบ Live View
ในสภาพแสงนอยมาก หรือสวางจามาก ภาพที่แสดงอาจไมสะทอนใหเห็นความเขม
สวางของภาพที่ถายไดจริง
หากมีการเปลี่ยนแปลงแหลงกำเนิดแสงในระหวางแสดงภาพ ภาพอาจมีการกระพริบ
เมื่อเหตุการณนี้เกิดขึ้น ใหหยุดการทำงานของระบบ Live View แลวจึงเริ่มใชระบบนี้อีก
ครั้งกับแหลงกำเนิดแสงใหม
หากผูใชเล็งกลองไปทางอื่นอยางฉับพลัน อาจทำใหการแสดงผลความเขมสวางของภาพ
ผิดปกติชั่วครู ใหรอจนกระทั่งความเขมสวางของภาพไมเปลี่ยนแปลงไปอีกแลว จึงถาย
ภาพ
หากมีแหลงกำเนิดแสงที่สวางจามากรวมอยูในภาพ เชน ดวงอาทิตย พื้นที่สวางจะดู
ดำเขมหรือเปนสีดำในจอ LCD อยางไรก็ตาม ในภาพถายจริง สวนสวางของภาพจะมี
ความเขมสวางที่ถูกตอง
ในสภาพแสงนอย หากปรับตั้ง [ LCD brightness] ใหสวาง อาจมีสัญญาณรบกวน
ปรากฏเปนเม็ดสีตางๆ ขึ้นในภาพจากระบบ Live View อยางไรก็ตาม สัญญาณรบกวน
เหลานี้จะไมปรากฏในภาพที่ถาย
เมื่อขยายดูภาพ ความคมชัดที่ปรากฏขึ้นจะชัดกวาความเปนจริง

เกี่ยวกับสัญลักษณ
ถาใชระบบ Live View ทามกลางแสงแดดจัด หรือในบริเวณที่มีความรอนสูง สัญลักษณ
(เตือนเมื่ออุณหภูมิภายในตัวกลองสูงมาก) จะปรากฏขึ้นที่จอภาพ ถายังคงใช
ระบบ Live View ในสภาวะที่มีอุณหภูมิสูง อาจมีผลเสียตอคุณภาพของภาพ ซึ่งควร
จะหยุดใชระบบ Live View ถาหากสัญญาณเตือนปรากฏขึ้น
ถาใชระบบ Live View และปรากฏวามีสัญลักษณเตือน ปรากฏขึ้น และอุณหภูมิ
ภายในตัวกลองสูงมากๆ ระบบ Live View จะหยุดการทำงานเองโดยอัตโนมัติ และจะทำ
งานไดอีกครั้ง เมื่ออุณหภูมิภายในตัวกลองลดลง
เกี่ยวกับผลของภาพที่ถาย
เมื่อใชระบบ Live View ถายภาพอยางตอเนื่องเปนเวลานานมาก อุณหภูมิภายในตัว
กลองจะสูงขึ้น และทำใหคุณภาพของภาพดอยลง ควรจะปดการทำงานของระบบ Live
View เมื่อไมไดใชถายภาพเสมอ
กอนที่จะถายภาพดวยการเปดรับแสงเปนเวลานานมาก ควรหยุดใชระบบ Live View สัก
พักหนึ่ง และคอยประมาณ 2-3 นาทีกอนจะใชงานตอไป เพื่อปองกันการลดทอนคุณภาพ
ของภาพถาย
การใชระบบ Live View ถายภาพในที่ซึ่งมีอุณหภูมิสูง และใชความไวแสงสูง อาจทำให
เกิดสัญญาณรบกวน หรือทำใหภาพมีสีผิดปกติ
เมื่อถายภาพโดยใชความไวแสงสูง สัญญาณรบกวน (แถบแสงตามแนวนอน จุด ฯลฯ) อาจ
เกิดขึ้นในภาพได
ถาถายภาพในขณะที่ขยายดูภาพ คาแสงของภาพที่ถายอาจจะไมไดผลตามที่พอใจ ให
ปรับระบบแสดงภาพใหแสดงในขนาดปกติกอนถายภาพ และในขณะขยายดูภาพ ความ
ไวชัตเตอรและชองรับแสงจะแสดงดวยสีแดง แมวาผูใชจะถายภาพในขณะที่ขยายดูภาพ
ภาพก็จะถูกถายไวในขนาดปกติ
ถาเมนู [ Auto Lighting Optimizer] (น.103) ไดถูกตั้งเปนอยางอื่นที่ไมใช [Disable]
ภาพอาจจะยังคงดูสวาง แมวาจะชดเชยแสงใหนอยกวาพอดี หรือปรับชดเชยแสงแฟลช
ใหนอยลงกวาพอดี
เกี่ยวกับ Custom Function
ในขณะใชระบบ Live View ฟงกชั่นหลายอยางจะไมทำงานหรือไมสามารถปรับตั้งได
(น.191)
เกีย่ วกับเลนสและแฟลช
ไมสามารถใชฟงกชั่น focus preset ซึ่งมีอยูในเลนสซูเปอรเทเลได
ไมสามารถล็อคคาแสงแฟลช(FE Lock) ได ไมวา จะใชแฟลชในตัวหรือแฟลชภายนอก และ
Modeling flash และ test flash แฟลชจะไมยิงแสงออกไปเมื่อนำแฟลชภายนอกมาใช
¶‹ÒÂÀҾ¹µÃ
เมื่อปรับวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไปที่
กล อ งจะถ า ยภาพยนตร โดยไฟล
ภาพยนตรที่ถายจะเปนไฟลที่มีสกุล .MOV

การดที่สามารถถายภาพยนตรได
เมือ่ ถายภาพยนตร ควรใชการด SD ทีม่ คี วามจุสงู ในระดับ SD Speed
Class 6 หรือสูงกวา
หากใชการดที่มีความเร็วในการอาน/เขียน ต่ำ การบันทึกภาพยนตร
อาจเกิดความผิดปกติ เชนเดียวกันกับการเลนดูภาพยนตรจากการด
ทีม่ คี วามเร็วต่ำ การเลนภาพก็อาจเกิดความผิดปกติไดเชนกัน สำหรับ
การตรวจสอบความเร็วในการอาน/เขียนของการด ตรวจสอบไดจาก
เวบไซตของผูผลิตการด

เกี่ยวกับ Full HD 1080


Full HD 1080 ระบุถงึ ความเขากันไดกบั ระบบ High-Definition
ทีม่ พี กิ เซลทางแนวตัง้ 1080 พิกเซล(scanning lines)
ายภาพยนตร
เมือ่ ตองการเลนภาพยนตรทถี่ า ยไวแลว แนะนำใหตอ กลองกับโทรทัศนเพือ่ ดูภาพจาก
โทรทัศน (น.167, 169)
ถายภาพยนตรดวยระบบเปดรับแสงอัตโนมัติ
หมุนวงแหวนเลือกระบบไปที่
จะมีเสียงเกิดขึ้นจากกระจกสะทอนภาพที่ยก
ตัวขึ้นไป จากนั้นจะมีภาพปรากฏบนจอภาพ
LCD
โฟกัสไปยังวัตถุ
ก อ นถ า ยภาพยนตร เลื อ กใช ร ะบบออโต
โฟกัส หรือแมนนวลโฟกัส (น.113-120)
เมื่อแตะปุมชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลอง
จะหาโฟกั ส ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส ที่ เ ลื อ ก
ไวขณะนัน้
ถายภาพยนตร
กดปุม < > เพือ่ เริม่ ถายภาพยนตร และ
กดปมุ < > ซ้ำอีกครั้งเมื่อตองการหยุด
เมือ่ ถายภาพยนตรไปแลว สัญลักษณ “ “
จะปรากฏขึ้นที่มุมขวาดานบนของจอ LCD

ในขณะถายภาพยนตร หามเล็งกลองไปที่ดวงอาทิตย เพราะความรอนจากดวงอาทิตยอาจ


ทำลายชิน้ สวนภายในตัวกลองได
คำเตือนสำหรับการถายภาพยนตร ดูทหี่ นา 135 และ 136
ควรอานคำเตือนสำหรับการถายภาพดวยระบบ Live View ดวย รายละเอียดทีห่ นา 121
และ 122
¶‹ายภาพยนตร

ภาพยนตรที่ถูกถายตอเนื่อง 1 ชุด จะถูกบันทึกเปนไฟล 1 ไฟล


ในขณะถายภาพยนตร ดานบน ลาง ซาย และขวาของภาพที่ปรากฏบนจอภาพจะมี
ลักษณะเปนขอบกึ่งโปรงแสง ซึ่งพื้นที่กึ่งโปรงแสงนั้นจะถูกบันทึกไวในภาพยนตรดวย โดย
ขอบกึง่ โปรงแสงนี้ จะเปลีย่ นแปลงขนาดไดโดยขึน้ อยกู บั การปรับตัง้ ใน [ Movie rec.
size] (น.131) หากผูใชเลือกใชฟงกชั่น Movie crop(ตัดสวนภาพยนตร) พื้นที่ซึ่งถูกตัด
สวนออกไป(ไมไดถูกบันทึก) จะอยูภายในกรอบสีดำ
สามารถล็อคคาแสงได โดยกดปมุ (น.97) หากตองการยกเลิกการล็อคคาแสงใน
ระหวางการถายภาพยนตร ใหกดปุม
กลองจะปรับตั้งความไวแสง ความไวชัตเตอร และชองรับแสง ใหโดยอัตโนมัติ
สามารถปรับชดเชยแสงไดโดยการกดปมุ < > คางไว และหมุนวงแหวน < >
เพื่อปรับตั้ง
เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะแสดงระดับความไวชัตเตอรและชองรับแสง
(น.126) ที่บริเวณมุมลางดานซาย ซึ่งเปนคาการเปดรับแสงสำหรับถายภาพนิ่ง
สามารถบันทึกเสียงในแบบ monaural ไดดวยไมโครโฟนในตัวกลอง (น.16)
สามารถบันทึกเสียงในแบบสเตริโอไดดวยการใชไมโครโฟนภายนอก เสียบเขากับชอง
เสียบไมโครโฟน(เสนผาศก. 3.5 มม.) (น.16)
กลองจะปรับความดังของเสียงที่ถูกบันทึกโดยอัตโนมัติ
เมื่อใชแบตเตอรี LP-E8 ระยะเวลาที่ถายภาพยนตรไดนานที่สุด ที่อุณหภูมิ 23 ํC / 73 ํF
ประมาณ 1 ชั่วโมง 40 นาที และที่ 0 ํC / 32 ํF ประมาณ 1 ชั่วโมง 20 นาที
¶‹ายภาพยนตร

เกี่ยวกับการแสดงขอมูล
แตละครัง้ ทีก่ ดปมุ การแสดงขอมูลจะเปลีย่ นแปลงไป

ระยะเวลาทีถ่ า ยภาพยนตรตอ ไปได * /


เวลาทีถ่ า ยไปแลว
จุดโฟกัส [Quick mode]
Frame rate
กรอบขยายภาพ
สมดุลสีขาว บันทึกภาพยนตร
Picture Style
ปรับความเขมสวาง
อัตโนมัติ
คุณภาพของภาพยนตร

ความละเอียดของภาพยนตร

ระบบโฟกัส ระดับพลังงานของแบตเตอรี
Live mode ระบบบันทึกภาพ
Face detection อัตโนมัติ
Live mode ปรับตัง้ เอง (แมนนวล)
Quick mode

ความไวชัตเตอร ความไวแสง
ล็อคคาแสง จำนวนภาพทีถ่ า ยได
ชองรับแสง ระดับการชดเชยแสง

* สำหรับการถายภาพยนตรทตี่ อ เนือ่ งกัน 1 ชุด

หากไมมีการดในตัวกลอง ระยะเวลาที่ถายภาพยนตรไดจะปรากฏเปนสีแดง
เมื่อเริ่มถายภาพยนตรแลว ตัวเลขแสดงเวลาที่ถายภาพยนตรได จะเปลี่ยนไปเปนเวลา
ของภาพยนตรที่กำลังถาย
¶‹ายภาพยนตร

การถายภาพยนตรดวยระบบแมนนวล
ผูใชสามารถปรับชัตเตอร ชองรับแสง และความไวแสง สำหรับถายภาพยนตรได ดัง
แสดงดานลาง การถายภาพยนตรดว ยการปรับตัง้ เองนัน้ เหมาะสำหรับผใู ชทมี่ ปี ระสบ
การณเทานัน้
หมุนวงแหวนเลือกระบบไปที่
จะมี เ สี ย งกระจกสะท อ นภาพที่ ย กตั ว ขึ้ น ไป
จากนั้นจะมีภาพปรากฏบนจอภาพ LCD

เลือก [Movie exposure]


ในแถบ เลือก [Movie exposure] จาก
นัน้ กด

เลือก [Manual]
เลือก [Manual] จากนั้นกด
ปรับความไวชัตเตอรและชองรับแสง
หมุนวงแหวน เพือ่ ปรับตัง้ ความไว
ชัตเตอร คาทีป่ รับตัง้ ไดขนึ้ อยกู บั ความเร็วใน
การถาย (frame rate)
1/4000 วินาที - 1/60 วินาที
1/4000 วินาที - 1/30 วินาที
เมื่อตองการปรับชองรับแสง กดปุม
คางไว แลวหมุนวงแหวน
ปรับความไวแสง
เมื่อตองการปรับความไวแสง กดปุม
แลวหมุนวงแหวน หรือกดปมุ
เพื่อปรับตั้งความไวแสงที่ตองการ
ความไวแสงทีป่ รับตัง้ ได : 100 - 6400
ชวงความไวแสงอัตโนมัติ : 100 - 6400
¶‹ายภาพยนตร
โฟกัสและถายภาพยนตร
วิธกี ารจะเหมือนกันกับขัน้ ตอนที่ 2 และ 3
ของ “ถายภาพยนตรดวยระบบเปดรับแสง
อัตโนมัต”ิ (น.124)

เมือ่ ถายภาพยนตรดว ยการปรับตัง้ เอง(แมนนวล) จะไมสามารถล็อคคาแสงและชดเชยแสงได

ไมแนะนำใหเปลีย่ นขนาดชองรับแสงในระหวางทีก่ ำลังถายภาพยนตรอยู เพราะการเปลีย่ นชอง


รับแสงจะสังเกตเห็นในภาพยนตรที่ถายดวย
ถาใชเลนสซูมที่มีขนาดชองรับแสงเปลี่ยนแปลงไปในขณะซูม ไมควรซูมเลนสในระหวางการ
ถายภาพยนตร เพราะการซูมจะทำใหคาแสงในภาพยนตรที่ถายเกิดความเปลี่ยนแปลงและ
สังเกตเห็นได
เมื่อถายภาพยนตรดวยแสงฟลูออเรสเซนต แสงในภาพยนตรที่ถายอาจมีการกระพริบ

เมื่อถายภาพยนตรโดยใชระบบตั้งความไวแสงอัตโนมัติ(Auto ISO) กลองจะถายภาพยนตร


ดวยคาแสงทีถ่ กู ตองเหมาะสมตลอดเวลาแมวา คาแสงจะมีความเปลีย่ นแปลงไป
เมือ่ ถายภาพยนตรสงิ่ ทีเ่ คลือ่ นที่ แนะนำใหใชความไวชัตเตอร 1/30 วินาที จนถึง 1/125 วินาที
ถาใชความไวชัตเตอรสงู กวานี้ การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในภาพจะดูไมราบลืน่
ถาเลนดูภาพยนตร พรอมกับ “แสดงขอมูลการถายภาพ” (น.173) กลองจะไมแสดงขอมูลของ
ระบบบันทึกภาพ ความไวชัตเตอร และชองรับแสง ขอมูลของภาพ(Exif) จะถูกบันทึกรวมกับ
ภาพยนตร และแสดงตอนเริ่มของภาพยนตร
¶‹ายภาพยนตร

ถายภาพนิ่ง
ผูใชสามารถถายภาพนิ่งไดตลอดเวลาโดยกดปุม
ชัตเตอรลงไปจนสุด แมในขณะถายภาพยนตร

การถายภาพนิ่งในขณะถายภาพยนตร
ภาพนิ่งที่ถาย จะบันทึกไวทั้งจอภาพ รวมทั้งขอบซึ่งมีลักษณะกึ่งโปรงแสง
ถาผใู ชถา ยภาพนิง่ ในระหวางทีก่ ำลังถายภาพยนตร ภาพยนตรจะหยุดคางในขณะนัน้
ประมาณ 1 วินาที
ภาพนิ่งที่ถายจะถูกบันทึกลงในการด และการถายภาพยนตรจะกลับมาทำงานตอไป
เองโดยอัตโนมัติเมื่อจอภาพกลับมาแสดงภาพแบบ Live View อีกครั้งหนึ่ง
ภาพนิ่งและภาพยนตร จะถูกบันทึกแยกเปนไฟลตางหากจากกัน ในการดแผนเดียวกัน
ฟงกชั่นตางๆ ที่ปรับตั้งและทำงานไดในระบบถายภาพนิ่งนั้นไดแสดงไวดานลาง สวน
ฟงกชั่นอื่นๆ จะเหมือนกับฟงกชั่นสำหรับการถายภาพยนตร
-
ฟงกชนั่ การปรับตัง้
คุณภาพในการบันทึก ปรับตัง้ ไดจากเมนู [ Quality]
กลองจะตัง้ ความไวชัตเตอรและชองรับแสงใหโดยอัตโนมัติ
การปรับตัง้ คา (ผใู ชปรับตัง้ เองได หากตัง้ ระบบเปน <M> )
การเปดรับแสง แสดงคาใหเห็น เมือ่ ใชนวิ้ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่
ถายภาพครอมอัตโนมัติ ยกเลิก
ระบบขับเคลือ่ น ตัง้ ไดทกุ แบบ ยกเวนระบบหนวงเวลาถายภาพ
ระบบแฟลช แฟลชไมทำงาน
รับตั้งฟงกชั่นสำหรับถายภาพยนตร
ในสวนนี้จะอธิบายรายละเอียดในการปรับตั้งฟงกชั่นสำหรับการถายภาพยนตร

Quick Control การปรับควบคุมอยางรวดเร็ว


เมือ่ กลองกำลังแสดงภาพทีจ่ อ LCD ผใู ชสามารถกดปมุ เพื่อปรับตั้งสมดุลสี
ขาว Picture Style ระบบปรั บ ความเข ม สว า งอั ต โนมั ติ คุ ณ ภาพในการบั น ทึ ก
(ภาพนิ่ง) และความละเอียดของภาพยนตร และระบบออโตโฟกัส
กดปุม
ฟงกชั่นที่เลือกไดจะสวางขึ้นและเปนสีน้ำเงิน
เมื่อเลือก < > กลองจะแสดงจุดโฟกัส
บนจอภาพ
เลือกฟงกชนั่ และปรับตัง้
ใช เพือ่ เลือกฟงกชนั่ ทีต่ อ งการปรับตัง้
ตั ว เลื อ กและค า การปรั บ ตั้ ง ของฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ
จะแสดงไวทางดานลางของจอ
ใชวงแหวน เพือ่ หมุนปรับตัง้

คุณภาพในการบันทึกภาพทีป่ รับตัง้ ไว จะมีผลกับทุกๆ ระบบบันทึกภาพ

ปรับตัง้ ฟงกชนั่ ของเมนู


แสดงเมนูของระบบถายภาพยนตร
รายการตัวเลือกของเมนูระบบถายภาพยนตร
ในแถบ และ มีดงั ตอไปนี้
»รับตัง้ ฟงกชนั่ สำหรับถายภาพยนตร

เมนู
ความละเอียดในการถายภาพยนตร
ผใู ชสามารถปรับตัง้ ความละเอียดในการถายภาพยนตร [****x****] และความเร็ว
ของเฟรม [ ] (เฟรมทีบ่ นั ทึกตอวินาที) จะถูกแสดงอยทู ี่ [Movie rec. size] ซึ่ง
จะปรับเปลีย่ นโดยอัตโนมัตโิ ดยขึน้ อยกู บั การตัง้ [ Video system]
ความละเอียดของภาพยนตร
ถายดวยคุณภาพระดับ Full HD (Full High-Definition)
ถายดวยคุณภาพระดับ HD (High-Definition)
คุณภาพในการบันทึกระดับมาตรฐาน สัดสวนของภาพ
จะเปน 4:3
คุณภาพในการบันทึกระดับมาตรฐาน สัดสวนของภาพ
จะเปน 4:3 รูปแบบนี้จะใหผลของภาพเหมือนถายดวย
เลนสเทเลโฟโตทปี่ ระมาณ 7x ระบบนีเ้ รียกวา Movie crop
ความเร็วของเฟรม fps (จำนวนเฟรมตอวินาที)
เหมาะสำหรั บ ภู มิ ภ าคที่ เ ครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น เ ป น ระบบ NTSC
(อเมริกาเหนือ, ญีป่ นุ , เกาหลี, เม็กซิโก ฯลฯ)
เหมาะสำหรั บ ภู มิ ภ าคที่ เ ครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น เ ป น ระบบ PAL
(ยุโรป, รัสเซีย, จีน, ออสเตรเลีย ฯลฯ)
ระดับมาตรฐานในการถายภาพยนตร

หมายเหตุเกี่ยวกับระบบตัดสวนภาพ (Movie crop)


ควรใชขาตั้งกลองเพื่อปองกันภาพสั่นจากการถือกลองถายดวยมือ
เมือ่ ใชระบบ Movie crop(ตัดสวนภาพ) จะไมสามารถขยายภาพเพือ่ โฟกัสแบบแมนนวลได
เมือ่ ถายภาพยนตร แมจะปรับตัง้ ระบบออโตโฟกัสเปน [Quick mode] กลองจะเปลีย่ นใหเปน
ระบบ [Live mode] โดยอัตโนมัติ และใน [Live mode] กรอบโฟกัสจะถูกแสดงในขนาด
ใหญกวาเมือ่ ถายภาพดวยความละเอียดแบบอืน่
สัญญาณรบกวนและจุดแสงจะปรากฏมากขึ้นจนสังเกตเห็นไดมากกวาเมื่อถายดวยความ
ละเอียดแบบอืน่
กลองอาจจะโฟกัสแบบอัตโนมัตไิ ดยากขึน้ หากจุดโฟกัสทาบอยกู บั วัตถุทอี่ ยใู กลและไกลในเวลา
เดียวกัน
ไมสามารถถายภาพนิ่งได
»รับตัง้ ฟงกชนั่ สำหรับถายภาพยนตร

ระยะเวลารวมที่สามารถถายภาพยนตรได และขนาดไฟลตอนาที
ความละเอียดของ ระยะเวลารวมในการถายภาพยนตร
ภาพยนตร ขนาดไฟล
การด 4GB การด 16GB

12 นาที 49 นาที 330 MB / นาที

12 นาที 49 นาที 330 MB / นาที

24 นาที 1 ชม. 39 นาที 165 MB / นาที

หลังจากเริ่มถายภาพยนตร การถายภาพยนตรจะหยุดลงโดยอัตโนมัติเมื่อขนาด
ไฟลไดถึง 4GB หรือเมื่อถายภาพยนตรจนถึง 29 นาที 59 วินาที ถาตองการถาย
ภาพยนตรตอ ใหกดปมุ < > (กลองจะบันทึกภาพยนตรเปนไฟลใหม)
ขอบกึ่งโปรงแสงซึ่งอยูทางดานบน ลาง ซายและขวาของภาพ จะไมถูกบันทึกรวม
ในภาพยนตร
เมือ่ ใชซอฟทแวร ZoomBrowser EX/ImageBrowser (ใหมาพรอมกับกลอง) ผใู ชสามารถ
จับภาพนิง่ ไดจากไฟลภาพยนตรทถี่ า ยได และคุณภาพของภาพนิง่ ทีไ่ ด จะเปนดังนี้ :
ประมาณ 2 ลานพิกเซล ที่ [1920x1080], ประมาณ 1 ลานพิกเซล ที่ [1280x720] และ
ประมาณ 300,000 พิกเซล ที่ [640x480]
ระบบออโตโฟกัส
ระบบออโตโฟกัสจะเหมือนกับทีอ่ ธิบายไวในหนา 113-119 ผใู ชสามารถจะเลือก [Live mode],
[ Live mode] หรือ [Quick mode] แตจะไมสามารถโฟกัสติดตามวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นทีอ่ ยาง
ตอเนือ่ งได
ระบบออโตโฟกัสในขณะถายภาพยนตร
เมือ่ ตัง้ เปน [Enable] ระบบออโตโฟกัสจะทำงานในระบบถายภาพยนตรได อยางไรก็ตาม ไม
สามารถโฟกัสภาพแบบตอเนื่องในขณะถายภาพยนตรได และเมื่อใชระบบออโตโฟกัสใน
ขณะถายภาพยนตร อาจมีการหลุดโฟกัสและมีการเปลีย่ นแปลงของคาแสงไปชัว่ ขณะหนึง่
ถาตัง้ ระบบออโตโฟกัสเปน [Quick mode] ระบบออโตโฟกัสก็จะทำงานในแบบ [Live mode]
»รับตัง้ ฟงกชนั่ สำหรับถายภาพยนตร

ชัตเตอร / ล็อคคาแสง(AE Lock)


ผใู ชสามารถปรับเปลีย่ นฟงกชนั่ ทีถ่ กู กำหนดไวของปมุ ล็อคคาแสง(AE Lock) เมือ่ แตะชัตเตอร
เบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง
AF/AE Lock: (ออโตโฟกัส / ล็อคคาแสง)
เปนฟงกชนั่ ปกติ เมือ่ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ กลองจะหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ และเมือ่
กดปมุ กลองจะล็อคคาแสง
AE Lock/AF: (ล็อคคาแสง/ออโตโฟกัส)
เมือ่ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ กลองจะล็อคคาแสง และเมือ่ กดปมุ กลองจะหา
โฟกัสอัตโนมัติ รูปแบบนีเ้ หมาะสำหรับการถายภาพทีผ่ ใู ชตอ งการโฟกัสและวัดแสงตรงจุด
ที่แตกตางกันในเฟรมภาพ
AF/AF Lock, no AE Lock: (ออโตโฟกัส / ล็อคโฟกัส ไมล็อคคาแสง)
เมือ่ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ กลองจะหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ และเมือ่ กดปมุ
คางไวแลวกดชัตเตอรจนสุดเพือ่ ถายภาพ กลองจะโฟกัสทีต่ ำแหนงเดิม(ไมหาโฟกัสใหม)
รูปแบบนี้ชวยใหสะดวกเมื่อผูใชไมตองการใหกลองหาโฟกัสใหมเมื่อถายภาพนิ่งใน
ระหวางทีก่ ำลังถายภาพยนตร สวนระบบล็อคคาแสงจะไมมกี ารทำงาน
AE/AF, no AE Lock: (วัดแสง / ออโตโฟกัส ไมล็อคคาแสง)
เมือ่ แตะชัตเตอรเบาๆ กลองจะวัดแสง และเมือ่ ตองการหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ ใหกดปมุ
ในรูปแบบนีจ้ ะไมมกี ารล็อคคาแสง
ถายภาพดวยรีโมทคอนโทรล
ผใู ชสามารถใชรโี มทคอนโทรล RC-6 (อุปกรณเสริมพิเศษ, น.204) เพือ่ สัง่ เริม่ และหยุดการถาย
ภาพยนตรได นอกจากนีย้ งั ปรับตัง้ ระยะเวลาไดโดยปรับสวิตซไปที่ <2> จากนัน้ จึงกดปมุ สง
สัญญาณ แตถา ปรับสวิตซของรีโมทไปที่ < > (ถายภาพทันที) รีโมทจะมีผลในการควบ
คุมการถายภาพนิง่

การปรับตัง้ ระบบออโตโฟกัสจะมีผลตอระบบ Live View ดวย


»รับตัง้ ฟงกชนั่ สำหรับถายภาพยนตร

เมนู

Movie exposure (การเปดรับแสง)


ตามปกติ ควรปรับตัง้ รายการนีเ้ ปน [Auto]
ถาปรับตัง้ [Movie exposure] เปน [Manual] ผใู ชสามารถปรับความไวแสง ความไวชัตเตอร
และชองรับแสง เพือ่ ถายภาพยนตรไดดว ยตนเอง (น.127)

Grid display (เสนกริด)


เมือ่ เลือก หรือ ผใู ชสามารถสัง่ ใหแสดงเสนกริดได
Metering timer (ระยะเวลาในการล็อคคาแสง)
ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนระยะเวลาในการล็อคคาแสงได
Sound recording (บันทึกเสียง)
เมือ่ ตัง้ ระบบบันทึกเสียงเปน [On] กลองจะบันทึกเสียงในแบบโมโนดวยไมโครโฟน
ในตั ว หากต อ งการบั น ทึ ก เสี ย งในระบบสเตอริ โ อ ก็ ส ามารถทำได เ มื่ อ นำเอา
ไมโครโฟนภายนอกมาเสียบตอเขาดวยมินิแจ็คขนาด 3.5 มม. โดยเสียบเขาที่ชอง
เสียบ (น.16) และกลองจะปรับระดับเสียงที่จะบันทึกโดยอัตโนมัติ

Highlight tone priority (เพิ่มรายละเอียดในสวนสวาง)


ผใู ชสามารถปรับตัง้ ระบบนีไ้ ดกต็ อ เมือ่ [Movie exposure] ไดตงั้ เปน [Manual] และเมือ่ สัง่
[Enable] เปดการทำงานของระบบนี้ รายละเอียดในพืน้ ทีส่ วางจะถูกปรับปรุงใหสมบูรณขนึ้
โดยโทนความเขมสวางจะกระจายกวางออกจากชวงสีเทา 18% ไปยังสวนสวางมากขึน้ รวม
ทัง้ การไลระดับความเขมออนจากชวงสีเทาไปยังสวนสวางก็จะเนียนมากขึน้ ดวย ความไวแสง
ในการถายภาพจะถูกปรับใหอยูในชวงระหวาง ISO 200-6400 และเมื่อใชระบบนี้ ระบบ
Auto Lighting Optimizer จะถูกยกเลิก [Disable] ไปโดยอัตโนมัติ และไมสามารถปรับเปลีย่ นได
การปรับตัง้ ใหแสดงเสนตารางและการตัง้ เวลาในการล็อคคาแสง จะมีผลตอการถายภาพใน
ระบบ Live View ดวย
เมนู
ฟงกชนั่ ตางๆ ทีป่ รับตัง้ ไดจากหนาจอนี้ จะทำงานก็ตอ
เมื่อไดปรับวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไปที่
และฟ ง ก ชั่ น เหล า นี้ จ ะไม มี ผ ลเมื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก
ภาพแบบอื่นๆ

หมายเหตุเกี่ยวกับการถายภาพยนตร
การบันทึก และคุณภาพของภาพ
หากเลนสทใี่ ชมรี ะบบชวยลดภาพสัน่ (IS) ระบบชวยลดภาพสัน่ ของเลนสจะทำงานอยตู ลอดเวลา
แมผูใชจะไมไดใชนิ้วแตะชัตเตอรก็ตาม การใชพลังงานของระบบชวยลดภาพสั่นจะทำใหระยะ
เวลาทีจ่ ะถายภาพยนตรไดลดลง หรือทำใหจำนวนภาพนิง่ ทีถ่ า ยไดตอ แบตเตอรีกอ นหนึง่ ลดลง
ดวย ถาถายภาพดวยขาตั้งกลอง หรือคิดวาไมจำเปนตองใชระบบชวยลดภาพสั่น ควรจะปรับ
สวิตซของระบบนีไ้ ปที่ <OFF>

ไมโครโฟนในตัวกลองจะบันทึกเสียงในการปรับควบคุมกลองไปดวยในขณะบันทึกเสียง หากใช
ไมโครโฟนภายนอก(อุปกรณเสริมทีม่ จี ำหนายทัว่ ไป) จะชวยปองกันหรือลดเสียงอันเกิดจากการ
ทำงานของกลองได
หามนำเอาอุปกรณชนิดอื่นๆ เสียบเขากับชองเสียบไมโครโฟนภายนอก ยกเวนไมโครโฟนภาย
นอกเทานัน้
ถาหากไมสามารถถายภาพยนตรได เนือ่ งจากการดไมเหลือความจุมากพอทีจ่ ะบันทึกขอมูลได
ตอไป กลองจะแสดงระยะเวลาทีส่ ามารถถายภาพยนตรไดเปนสีแดง (น.126)

ถาใชการดทีม่ คี วามเร็วในการบันทึกต่ำๆ จะมีสญั ลักษณแสดงระดับ


หาระดับปรากฏขึน้ ทางดานขวาของจอภาพ ในขณะถายภาพยนตร
ซึง่ จะแสดงใหทราบวา มีขอ มูลในปริมาณเทาใดทีย่ งั ไมไดบนั ทึก
ลงในการด(ตกคางอยูในหนวยความจำสำรองในตัวกลอง) ยิ่งใช
การดที่บันทึกไดชา ขีดแสดงระดับก็จะยิ่งสูงขึ้นเร็วมาก และถาขีดแสดง
ระดับขึ้นจนเต็ม การถายภาพยนตรจะหยุดลงโดยอัตโนมัติ
ขีดแสดงระดับ
ถาการดมีความเร็วในการบันทึกสูง ในชวงแรกๆ ขีดแสดงระดับจะยังไมปรากฏบนจอ LCD หรือ
ถาขีดแสดงระดับปรากฏขึ้น ก็จะไมสูงขึ้นอยางรวดเร็วนัก เมื่อนำการดมาใชคราวแรก ให
ทดลองถายภาพยนตรดเู สียกอนวาการดแผนนัน้ มีความเร็วในการบันทึกทีเ่ พียงพอ ถาผใู ชถา ย
ภาพนิ่งในระหวางที่ถายภาพยนตร กลองจะหยุดถายภาพยนตร หากตั้งความละเอียดและ
คุณภาพในการถายภาพนิง่ เอาไวต่ำ กลองจะกลับมาถายภาพยนตรตอ ไปไดอยางรวดเร็ว
หมายเหตุเกี่ยวกับการถายภาพยนตร
การดอยลงของคุณภาพ เมือ่ อุณหภูมภิ ายในตัวกลองสูงขึน้
ถาผูใชถายภาพยนตรอยางตอเนื่องเปนเวลานานๆ อุณหภูมิภายในตัวกลองจะสูงขึ้น
สัญลักษณ จะปรากฏขึ้น ดังนั้นเมื่อไมไดใชกลอง ใหปดสวิตซเสีย
ถาผูใชถายภาพนิ่งในขณะที่มีสัญลักษณ ปรากฏอยู คุณภาพของภาพนิ่งจะดอยลง
แตไมมีผลใดๆ ตอคุณภาพของภาพยนตร
ถาสัญลักษณ ปรากฏขึ้น และผูใชยังคงถายภาพยนตรตอไปจนกระทั่งอุณหภูมิภาย
ในตัวกลองสูงขึ้นมากๆ กลองจะหยุดถายภาพยนตร หากกลองหยุด จะถายภาพยนตรไม
ไดจนกวาอุณหภูมิภายในตัวกลองจะลดลง ใหปดสวิตซของกลอง และพักการใชงาน
สักพักหนึ่ง

การเลนดูภาพ และการตอเชื่อมกับโทรทัศน
หากความเขมสวางเปลี่ยนแปลงไปในขณะถายภาพยนตร สวนสวางจานั้นอาจจะหยุด
นิ่งอยูครูหนึ่งในขณะเลนดูภาพ
ถาตอกลองกับโทรทัศนดวยสายแบบ HDMI (น.167) และใชกลองถายภาพยนตรที่ความ
ละเอียด [1920x1080] และ [1280x720] ภาพทีก่ ำลังถายจะแสดงในขนาดเล็กบนจอภาพ
ของโทรทัศน อยางไรก็ตาม ภาพยนตรที่ถายก็จะมีความละเอียดเทากับที่ปรับตั้งไว
หากผูใชตอกลองเขากับโทรทัศน (น.167,169) และถายภาพยนตร โทรทัศนจะไมเลน
เสียงในระหวางกำลังถาย อยางไรก็ตาม กลองจะบันทึกเสียงไดตามปกติ
㪌¡ÅŒÍ§
Í‹ҧ¤Å‹Í§µÑÇ
ปดสัญญาณเสียงเตือน (น.138)
เตือนความจำเรือ่ งการด (น.138)
ตัง้ เวลาในการแสดงภาพ (น.138)
ตั้งเวลาปดกลองเมื่อไมไดใช (น.139)
ปรับความสวางของจอ LCD (น.139)
การตัง้ หมายเลขลำดับไฟลภาพ (น.140)
หมุนภาพอัตโนมัติ (น.142)
ตรวจสอบฟงกชนั่ ทีไ่ ดปรับตัง้ ไว (น.143)
ปรับระบบและฟงกชั่นใหกลับสูระบบมาตรฐาน (น.144)
การปองกันไมใหจอ LCD ปดการแสดงผลโดยอัตโนมัติ
(น.146)
เปลีย่ นสีของจอภาพ (น.146)
ควบคุมการทำงานของแฟลช (น.147)
ระบบทำความสะอาดเซนเซอรอัตโนมัติ (น.150)
การแนบ Dust Delete Data (น.151)
ทำความสะอาดเซนเซอรโดยผูใช (น.153)
ชกลองอยางคลองตัว
ปดสัญญาณเสียงเตือน
ผใู ชสามารถปดสัญญาณเสียงเตือน “บีบ๊ ” ของกลองซึง่ จะดังขึน้ เมือ่ กลองหาความชัดได และ
ดังขึ้นเพื่อเตือนเมื่อใชระบบหนวงเวลา
ในแถบ เลือก [Beep] จากนัน้ กดปมุ
และเลือก [Disable] และกดปมุ อีกครัง้

เตือนความจำเรื่องการด
ฟงกชนั่ นีจ้ ะชวยปองกันการถายภาพโดยลืมใสการดในตัวกลอง
ในแถบ เลือก [Release shutter without
card] จากนัน้ กดปมุ และเลือก [Disable]
และกดปุม อีกครั้ง
เมือ่ ตัง้ ฟงกชนั่ นีแ้ ลว ถาไมไดใสการด และกดชัตเตอรจนสุด
เพือ่ ถายภาพ ตัวอักษรเตือน “Card” จะปรากฏขึน้ ในชอง
เล็งภาพ และชัตเตอรจะไมลนั่

ตั้งเวลาในการแสดงภาพ
หลังจากถายภาพแลว กลองจะแสดงภาพที่ถายทันที ซึ่งผูใชสามารถปรับตั้งเวลาใน
การแสดงภาพทีถ่ า ยแลวทีจ่ อ LCD ของกลอง ซึง่ ถาตัง้ เปน [Off] ก็จะไมมภี าพปรากฏ
ขึ้น และถาตั้งเปน [Hold] ภาพจะแสดงคางอยูตลอดเวลาจนกวาจะครบเวลาตัด
พลังงานอัตโนมัติ [Auto Power Off] ทีถ่ กู ตัง้ ไว และในระหวางทีม่ กี ารแสดงภาพอยู
ถาผูใชแตะปุมชัตเตอรเบาๆ หนาจอก็จะกลับไปสูการแสดงผลตามปกติ
ในแถบ เลือก [Image review] จากนัน้
กดปมุ และเลือกเวลาแสดงภาพทีต่ อ งการ
และกดปุม อีกครั้ง
ãชกลองอยางคลองตัว

ตั้งเวลาปดกลองเมื่อไมไดใช
เมือ่ ตองการประหยัดพลังงานแบตเตอรี กลองจะปดการทำงานและการแสดงผลหลังจากไมมี
การควบคุมกลองจนครบเวลาทีป่ รับตัง้ ไว ซึง่ ผใู ชสามารถจะเลือกเวลาไดจากรายการ และเมือ่
กลองปดการทำงาน ผใู ชสามารถกระตนุ ใหกลับมาทำงานไดอกี ดวยการแตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ
หรือเมือ่ กดปมุ ใดปมุ หนึง่ ไดแก ฯลฯ
ถาตัง้ เปน [Off] ผใู ชสามารถปดกลองดวยตนเองเพือ่ ประหยัดการใชพลังงาน หรือกดปมุ
เพื่อปดการแสดงผลของจอ LCD เพื่อประหยัดการใชพลังงาน
ถาตัง้ เปน [Off] และไมไดปรับควบคุมกลองเปนเวลา 30 นาทีตดิ ตอกัน การแสดงผลของ
จอ LCD จะดับลงโดยอัตโนมัติ ถาตองการใหกลองแสดงขอมูลบนจอ LCD อีก ใหกดปมุ

ในแถบ [ ] เลือก [Auto power off] จากนัน้


กดปมุ และเลือกเวลาทีต่ อ งการ และกดปมุ
อีกครัง้

ปรับความสวางของจอ LCD
ผใู ชสามารถปรับความสวางของจอภาพได เพือ่ ใหเหมาะกับการดูภาพและขอมูลในสภาพ
แสงตางๆ
ในแถบ [ ] เลือก [LCD brightness] จากนัน้
กดปมุ ซึง่ หนาจอจะแสดงสเกลการปรับความ
สวาง จากนัน้ ใชปมุ ในการเลือ่ นปรับความ
สวาง เมื่อพอใจแลว กดปุม
เมื่อตองการตรวจสอบความเขมสวาง(คาแสง)ของ
ภาพทีถ่ า ยแลว ใหปรับความสวางของหนาจอใหเปน
ระดับ 4 และพยายามบังไมใหแสงจากภายนอกสอง
เขากระทบผิวหนาของจอภาพ LCD
ãชกลองอยางคลองตัว

การตั้งหมายเลขลำดับไฟล
หมายเลขลำดับไฟลจะเหมือนกับหมายเลขภาพของฟลม แบบมวน ภาพทีถ่ า ยจะถูกกำหนดเลข
ลำดับ 4 หลักใหโดยอัตโนมัติ เริม่ จาก 0001 ไปจนถึง 9999 และบันทึกไวในโฟลเดอร ซึง่ ผใู ช
สามารถเปลี่ยนแปลงการตั้งหมายเลขลำดับของไฟลภาพได และเมื่อถายโอนภาพเขาสู
คอมพิวเตอรแลว หมายเลขลำดับไฟลกจ็ ะปรากฏในคอมพิวเตอรในรูปแบบนี้ :
IMG_0001.JPG
ในแถบ [ ] เลือก [File numbering] จากนัน้
กดปุม แลวปรับตัง้ ตามรายละเอียดที่
จะกลาวถึงตอไปนี้ และกดปมุ อีกครัง้

[Continuous]: การตั้งหมายเลขลำดับไฟลจะเปนตัวเลขตอเนื่องแบบสะสม
ที่มีความตอเนื่องกันไป แมจะเปลี่ยนไปใชการดแผนใหม(แผนอื่นๆ)
แมจะเปลีย่ นไปใชการดแผนใหม(หรือแผนอืน่ ๆ) หมายเลขลำดับไฟลจะนับตอเนือ่ ง
จากลำดับเดิม ไปจนถึง 9999 ซึ่งสะดวกในกรณีที่ผูใชตองการเก็บภาพจากหมาย
เลข 0001 ถึง 9999 ไวในคอมพิวเตอรโดยรวมอยใู นโฟลเดอรเดียวกัน
อยางไรก็ดี ถาการดแผนใหมที่นำมาใชนั้นมีไฟลภาพอยูแลว การนับลำดับจะเริ่ม
จากลำดับกอนหนาของภาพทีอ่ ยใู นการดแผนใหม ซึง่ อาจทำใหสบั สนได ดังนัน้ เมือ่
นำการ ด แผ น ใหม ม าใช ควรฟอร แ มทหรื อ ลบล า งไฟล ภ าพในการ ด แผ น นั้ น
ออกกอนเสมอ
การนับเลขลำดับไฟลหลังจากทีเ่ ปลีย่ นการด

เลขลำดับของไฟลภาพใหม
ãชกลองอยางคลองตัว

[Auto reset]: ตัง้ หมายเลขลำดับไฟลโดยเริม่ จาก 0001 ทุกครัง้ ทีน่ ำการดแผน


ใหมมาติดตั้งในตัวกลอง
ทุกๆ ครั้งที่เปลี่ยนการด ตัวเลขบอกลำดับไฟลจะเริ่มตนจาก 0001 เสมอ การตั้ง
แบบนี้จะสะดวกสำหรับการจัดการภาพโดยจำแนกจากการดแตละชิ้น
แตถงึ จะตัง้ เปน Auto reset ถาการดแผนใหมทนี่ ำมาใชนนั้ มีไฟลภาพอยแู ลว การ
นับลำดับจะเริ่มจากลำดับกอนหนาของภาพที่อยูในการดที่เพิ่งนำมาใส ซึ่งอาจ
ทำใหสบั สนได ดังนัน้ เมือ่ นำการดแผนใหมมาใช ควรฟอรแมทหรือลบลางไฟลภาพ
ในการดแผนนั้นออกกอนเสมอ
การนับเลขลำดับไฟลหลังจากทีเ่ ปลีย่ นการด

เลขลำดับของไฟลภาพใหม

[Manual reset]: ผใู ชสามารถปรับลำดับภาพใหเริม่ จาก 0001 ไดตลอดเวลา


พรอมๆ กับการสรางโฟลเดอรใหม
ผูใชสามารถสรางโฟลเดอรใหม และปรับตั้งลำดับของไฟลภาพในโฟลเดอรใหมนี้
ใหเริม่ ตนทีภ่ าพแรก(0001) ไดทนั ที ซึง่ การตัง้ แบบนีเ้ หมาะสำหรับการทีผ่ ใู ชจะแยก
กลุมงาน เชน ภาพที่ถายเมื่อวาน กับภาพที่ถายวันนี้ เปนตน และหลังจาก reset
ลำดับแลว กลองก็จะเริ่มนับลำดับของไฟลภาพแบบสะสมแบบใดแบบหนึ่งตอ
ไป(แบบ Continuous หรือ Auto reset)
เมือ่ มีการสรางโฟลเดอรใหมจนถึงโฟลเดอรลำดับที่ 999 และถึงลำดับของไฟลภาพจนถึง 9999 ผู
ใชจะถายภาพไมไดแมวาการดจะมีความจุเหลืออยู จอภาพ LCD จะแสดงขอความเตือนใหผูใช
เปลีย่ นการด ใหเปลีย่ นการดแผนใหมและจะถายภาพตอไปไดตามปกติ

สำหรับไฟลภาพที่เปนแบบ JPEG และ RAW ชื่อของไฟลจะเริ่มตนดวย “IMG_” สวนชื่อของไฟล


ภาพยนตรจะเริม่ ตนดวย “MVI_” สกุลของไฟลจะเปน “.JPG” สำหรับ JPEG และ “.CR2” สำหรับ
RAW และ “.MOV” สำหรับไฟลภาพยนตร
ãชกลองอยางคลองตัว

หมุนภาพอัตโนมัติ
ภาพที่ถายในแนวตั้งจะถูกพลิกหมุนใหแสดงบนจอ LCD และใน
จอภาพของคอมพิวเตอรใหเปนแนวตั้งตามปกติโดยอัตโนมัติ เพื่อ
ความสะดวกในการดูและตรวจสอบภาพถาย แตผใู ชกส็ ามารถปรับ
เปลีย่ นคุณสมบัตนิ ไี้ ด

ในแถบ [ ] เลือก [Auto rotate] จากนัน้


กดปมุ แลวปรับตัง้ ตามรายละเอียดทีจ่ ะกลาว
ถึงตอไปนี้ และกดปมุ อีกครัง้

ภาพทีถ่ า ยแนวตัง้ จะแสดงผลเปนแนวตัง้ ตามปกติทงั้ ทีจ่ อ LCD ของกลอง


และทีจ่ อภาพของคอมพิวเตอร
ภาพทีถ่ า ยแนวตัง้ จะแสดงผลเปนแนวตัง้ ทีจ่ อภาพของคอมพิวเตอร

ภาพทีถ่ า ยแนวตัง้ จะไมถกู พลิกหมุนโดยอัตโนมัติ

FAQ ปญหาที่ผูใชมักจะเกิดขอสงสัยกันบอยๆ
ภาพทีถ่ า ยเปนแนวตัง้ ยังไมหมุนในขณะทีก่ ลองกำลังแสดงภาพโดยอัตโนมัตหิ ลัง
จากทีถ่ า ยภาพเสร็จ
เมือ่ กดปมุ เลนดูภาพ (Playback) กลองจะแสดงภาพทีถ่ กู หมุนแลว

เมื่อปรับใหเปนแบบ แตภาพแนวตั้งก็ยังไมถูกหมุนในขณะเลนดู
ระบบหมุนภาพอัตโนมัตจิ ะไมหมุนภาพแนวตัง้ เมือ่ ระบบ [Auto rotate] ถูกตัง้ เปน [Off]
และในกรณีทภี่ าพแนวตัง้ นัน้ ถูกถายในมุมกดหรือเงยมากๆ ภาพแนวตัง้ ก็อาจจะไมถกู หมุน
โดยอัตโนมัตเิ ชนกัน ในกรณีทเี่ กิดเหตุการณแบบนี้ ใหหมุนภาพเอง อานหนา 159

ตองการหมุนภาพทีป่ รากฏบนจอ LCD ของกลอง ในกรณีทตี่ งั้ เปน


เมือ่ เปลีย่ นใหเปน แลวสัง่ เลนดูภาพ ภาพทีแ่ สดงบนจอ LCD ของกลอง
ก็จะถูกหมุน
ภาพทีถ่ า ยแนวตัง้ ไมถกู หมุนโดยอัตโนมัตเิ มือ่ ดูจากจอภาพคอมพิวเตอร
ซอฟทแวรทใี่ ชดภู าพอาจไมสนับสนุนระบบหมุนภาพอัตโนมัติ ใหดภู าพโดยใชซอฟทแวรที่
ไดมาพรอมกับกลองแทน
ãชกลองอยางคลองตัว

ตรวจสอบฟงกชนั่ ทีไ่ ดปรับตัง้ ไว


ขณะทีก่ ลองกำลังแสดงรายการในเมนู การกดปมุ จะเปนการสัง่ ใหกลองแสดงขอมูล
และการปรับตัง้ ของฟงกชนั่ ตางๆ ใหทราบ
ขณะที่กลองแสดงรายการของเมนู กดปุม
เพื่อใหกลองแสดงรายละเอียด
เมือ่ กดปมุ จะสัง่ ใหกลองกลับมาแสดง
รายการในเมนูตามปกติ
เมื่อแตะปุมชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง จอ LCD
จะกลับมาแสดงขอมูลการถายภาพอีกครัง้

แสดงรายละเอียดของรายการตางๆ
ความจุของการดที่เหลืออยู
ระบบสี (น.96)
ปรับแกสมดุลสีขาว (น.101)/
ถายภาพครอมสมดุลสีขาว (น.102)
ระบบ Live View (น.107)
ระบบแฟลชลดตาแดง (น.65)
หมุนภาพแนวตัง้ อัตโนมัติ (น.142)
ปดการแสดงผลของจอภาพโดย
อัตโนมัติ (น.146)
วันทีแ่ ละเวลา (น.29)
สัญญาณเสียงเตือน (น.138)
ปดการทำงานอัตโนมัติ (น.139)
ทำความสะอาดเซนเซอร (น.150)
ãชกลองอยางคลองตัว

ปรับระบบและฟงกชั่นใหกลับสูระบบมาตรฐาน
ฟงกชนั่ นีไ้ ดถกู ออกแบบมาเพือ่ ใหผใู ชสามารถปรับคาตางๆ ทัง้ หมดทีไ่ ดถกู เปลีย่ นไปใหกลับมาเปนคาเดิม
ทีถ่ กู ตัง้ ไวโดยผผู ลิต ฟงกชนั่ นีจ้ ะทำงานเมือ่ ใช <P> และโปรแกรมอืน่ ๆ ในระบบบันทึกภาพสรางสรรค
เลือก [Clear settings]
ในแถบรายการของ [ ] เลือก
[Clear settings] จากนัน้ กดปมุ

เลือกการปรับตั้งที่ตองการ
หากตองการปรับใหคาทั้งหมดกลับไปเปนแบบ
มาตรฐานเดิม เลือก [Clear all camera
settings] แลวกด
หากตองการปรับเฉพาะ Custom Functions ให
กลับไปเปนแบบมาตรฐานเดิม เลือก [Clear all
Custom Func.(C.Fn)] แลวกด

เลือก [OK]
เลือก [OK] และกดปุม เพื่อปรับคาทั้งหมด
ถาเลือกเปน [Clear all camera settings]
คาของระบบตางๆ จะเปนดังหนาถัดไป
ãชกลองอยางคลองตัว

การปรับตั้งในระบบถายภาพ การปรับตัง้ สำหรับการบันทึกภาพ


ระบบ AF One-Shot AF คุณภาพในการบันทึก One-Shot AF
เลือกจุดโฟกัส อัตโนมัติ Picture Style Standard
ระบบวัดแสง ระบบวัดแสงเฉลี่ย ระบบปรับความ Standard
เขมสวางอัตโนมัติ
ความไวแสง AUTO (อัตโนมัต)ิ ทำงานได /
ปรับแกความสลัว มีการเก็บขอมูลการ
ระบบขับเคลือ่ น ครั้งละเฟรม ทีข่ อบภาพ
ชดเชยแสง / ปรับแกของเลนส
ถายภาพครอม ยกเลิก
ระบบสี sRGB
0 (ศูนย) สมดุลสีขาว (Auto)
ชดเชยแสงแฟลช
ปรับแกสมดุลสีขาว ยกเลิก
Custom Functions ไมเปลีย่ นแปลง ถายภาพครอมสมดุลสีขาว ยกเลิก
เลขลำดับของไฟลภาพ ตอเนื่อง
ทำความสะอาดอัตโนมัติ ทำงาน
ขอมูลเม็ดฝุน ลบฝนุ
การปรับตั้งกลอง การปรับตัง้ ระบบ Live View
ปดพลังงานอัตโนมัติ 30 วินาที ถายภาพดวย Live View ทำงาน
สัญญาณเสียงเตือน ทำงาน แสดงเสนกริด ปด
ลั่นชัตเตอรได ระยะเวลาล็อคคาแสง 16 วินาที
ทำงาน
โดยไมมีการด ระบบ AF Live mode
ระยะเวลาเลนภาพ 2 วินาที
Histogram Brightness การปรับตัง้ ระบบถายภาพยนตร
ขามลำดับภาพดวย 10 ภาพ ความละเอียด 1920x1080
หมุนภาพอัตโนมัติ ระบบ AF Live mode
ปรับความสวางของจอ AF ในขณะ ไมทำงาน
วันที่ / เวลา ไมเปลีย่ นแปลง ชัตเตอร / ออโตโฟกัส/
ภาษา ไมเปลีย่ นแปลง ล็อคคาแสง ล็อคคาแสง
ระบบวิดโี อ ไมเปลีย่ นแปลง ควบคุมดวยรีโมท ไมทำงาน
ขอมูลลิขสิทธิ์
การเปดรับแสง อัตโนมัติ
ไมเปลีย่ นแปลง
แสดงเสนกริด ปด
สัญญาณ Eye-Fi ไมทำงาน ระยะเวลาล็อคคาแสง 16 วินาที
ปรับตัง้ My Menu ไมเปลีย่ นแปลง บันทึกเสียง อัตโนมัติ
เพิม่ รายละเอียด
ในสวนสวาง ไมทำงาน
ãชกลองอยางคลองตัว

การปองกันไมใหจอ LCD ปดการแสดงผลโดยอัตโนมัติ


การปรับตัง้ นีม้ ไี วสำหรับปองกันไมใหเซนเซอรจบั สายตาทีช่ อ งเล็งภาพปดการแสดงขอมูลการ
ถายภาพทีจ่ อ LCD เมือ่ ผใู ชแนบตาเขากับชองเล็งภาพ
เลือก [LCD auto off] จากนัน้
ในแถบ [ ] เลือก [LCD auto off] จากนัน้
กด และเลือก [Disable]
แลวกด

เปลี่ยนสีพื้นหลังของจอภาพ
ผใู ชสามารถเปลีย่ นสีพนื้ หลังของจอภาพไดตามทีต่ อ งการ
เลือก [Screen color]
ในแถบรายการของ [ ] เลือก [Screen color]
จากนัน้ กดปมุ
เลือกสีทตี่ อ งการ จากนัน้ กดปมุ
เมือ่ ออกจากเมนูแลว จอ LCD จะแสดงดวยสีพนื้
หลังในแบบทีเ่ ลือกไว
¤วบคุมการทำงานของแฟลช
ผใู ชสามารถควบคุมการทำงานของแฟลชในตัวและแฟลชภายนอกทีน่ ำมาติดตัง้ ไดดว ยการปรับ
ตัง้ จากรายการของเมนู โดยเมนู [External flash ***] จะใชควบคุมฟงกชนั่ ของแฟลชอนุกรม EX
ของ Canon ที่สามารถทำงานรวมกัน
วิธกี ารปรับตัง้ จะเปนเชนเดียวกันกับการปรับตัง้ ฟงกชนั่ ของกลอง

เลือก [Flash control]


ในแถบรายการของ เลือก [Flash control]
จากนัน้ กดปมุ
หน า จอ LCD ของกล อ งจะแสดงตั ว เลื อ กของ
รายการ Flash control

[Flash firing] (การยิงแสงของแฟลช)


ตามปกติจะปรับไวที่ [Enable] (ใหยงิ แสงได)
ถาปรับเปน [Disable] ทั้งแฟลชในตัว และ
แฟลชภายนอก(ถานำมาติดตัง้ ) ก็จะไมยงิ แสง
ออกไป การตัง้ แบบนีเ้ หมาะสำหรับการปรับตัง้ ให
แฟลชในตัวทำหนาที่เฉพาะการใหแสงชวยหา
โฟกัสเทานั้น

[Built-in flash func. setting] และ [External flash func. setting]


เมนู [Built-in flash func. setting] และ [External flash func. setting] ใชสำหรับปรับตัง้
ฟงกชั่นดังมีรายการในหนาถัดไป โดยรายการของฟงกชั่นในเมนู [External flash func.
setting] อาจมีการเปลีย่ นแปลง โดยขึน้ อยกู บั รนุ ของแฟลชภายนอกทีน่ ำมาใช
เลือก [Built-in flash func. setting] หรือ [External
flash func. setting]
หนาจอจะแสดงรายการฟงกชั่นตางๆ รายการ
ฟงกชั่นที่ไมจางลงจะเปนฟงกชั่นที่สามารถปรับ
ตัง้ ได
¤วบคุมการทำงานของแฟลช
ฟงกชนั่ ทีป่ รับตัง้ ไดของ [Built-in flash func. setting] และ
[External flash func. setting]
[Built-in flash [External flash หนา
ฟงกชั่น func. setting] func. setting]
ระบบแฟลช (ตายตัว)
ความไวชัตเตอรสมั พันธแฟลช
ถายภาพครอมดวยแฟลช(FEB)
ชดเชยแสงแฟลช
E-TTL II
ซูม*
ปรับตัง้ การทำงานแบบไรสาย*
* เกีย่ วกับ [FEB] (ถายภาพครอมดวยแฟลช), [Zoom] และ [Wireless set] อานรายละเอียดการปรับตัง้ ได
จากคูมือของแฟลช
ระบบแฟลช
เมือ่ นำแฟลชภายนอกมาใช ผใู ชสามารถปรับตัง้ ระบบแฟลชเพือ่ ใหเหมาะสมกับลักษณะการถายภาพได

[E-TTL-II] เปนระบบมาตรฐานของแฟลชอนุกรม EX ที่


เหมาะสำหรับการถายภาพดวยแฟลชอัตโนมัติ
[Manual flash] เปนระบบทีอ่ อกแบบใหผใู ชปรับตัง้ กำลัง
ไฟแฟลชได ต ามที่ ต อ งการ เหมาะสำหรั บ ผู ใ ช ที่ มี
ประสบการณ
* สำหรับระบบแฟลชแบบอืน่ ๆ อานรายละเอียดไดจาก
ชัตเตอรสมั พันธแฟลช คูมือของแฟลช
ตามปกติ จะปรับตัง้ ใหแฟลชทำงานสัมพันธกบั มานชัตเตอรชดุ แรก [1st curtain] ซึง่ แฟลช
จะยิงแสงออกไปทันทีทชี่ ตั เตอรเริม่ เปด
ถาตัง้ แฟลชใหทำงานสัมพันธกบั มานชัตเตอรชดุ ทีส่ อง [2nd curtain] แฟลชจะยิงแสงเมือ่
การทำงานของชัตเตอรใกลสนิ้ สุดลง(ใกลจะปด) ซึง่ ผใู ชสามารถสรางสรรคภาพรวมกับระบบ
แฟลชสัมพันธความไวชัตเตอรต่ำ ในลักษณะภาพทีม่ แี สงเปนเสนยาว เชน แสงไฟรถยนตและ
แสงเทียนทีล่ ากเปนเสนยาวในตอนกลางคืน และเมือ่ ใชระบบนี้ จะเห็นแฟลชยิงแสงออกไป
สองครัง้ ครัง้ แรกเมือ่ กดชัตเตอรลงจนสุด และอีกครัง้ กอนทีช่ ตั เตอรจะปดตัว อยางไรก็ตาม ถา
ใชความไวชัตเตอรสูงกวา 1/30 วินาที ระบบสัมพันธกับมานชัตเตอรชุดแรกจะทำงานโดย
อัตโนมัติ
ถาใชแฟลชภายนอก ผใู ชสามารถปรับตัง้ [Hi-speed] สำหรับรายละเอียด อานไดจากคมู อื ของ
แฟลช
¤วบคุมการทำงานของแฟลช
ชดเชยแสงแฟลช
ดู “ ชดเชยแสงแฟลช” หนา 88
E-TTL II
สำหรับการใชแฟลชถายภาพทัว่ ๆ ไป ควรตัง้ เปน [Evaluative]
ถาตัง้ เปน [Average] ระบบวัดคาแสงของแฟลชจะวัดแสงแฟลชทีเ่ ปนคาเฉลีย่ ทัว่ ทัง้ บริเวณ
ภาพ คลายกับการวัดแสงแฟลชดวยเครือ่ งวัดแสงแฟลชภายนอกตัวกลอง เมือ่ ใชระบบนี้ อาจ
จะตองชดเชยแสงแฟลชดวย(ขึ้นอยูกับสภาพในการถายภาพ) การตั้งคาแบบนี้จึงเหมาะ
สำหรับนักถายภาพที่มีประสบการณแลว
ยกเลิกการปรับตัง้ คาของระบบแฟลช
ที่หนาจอ [External flash func. setting] ใหกดปมุ เพือ่ แสดงหนาจอตัว
เลือกสำหรับการยกเลิกการปรับตัง้ คาของระบบแฟลช และเมือ่ กด [OK] คาตางๆ ทีป่ รับตัง้ ไว
สำหรับแฟลชในตัวและแฟลชภายนอกก็จะถูกยกเลิกทัง้ หมด

การปรับตัง้ Custom Functions ของแฟลชภายนอก


แสดงรายการของ Custom Function
เลือก [External flash C.Fn setting]
จากนัน้ กดปมุ

ปรับตั้ง Custom Function


กดปมุ จากนัน้ กด ขัน้ ตอนการ
ปรั บ ตั้ ง จะเหมื อ นกั บ ขั้ น ตอนการปรั บ Custom
Function ของกลอง (น.190)

หากตองการยกเลิกการปรับตัง้ Custom Function


ทั้งหมด ใหเลือก [Clear ext. flash C.Fn set.]
ในขัน้ ตอนที่ 1
Ãะบบทำความสะอาดเซนเซอรอตั โนมัติ
ทุกๆ ครัง้ ทีเ่ ปด/ปดกลอง <ON> หรือ <OFF> ระบบทำความสะอาดเซนเซอรภายในตัวกลอง
จะทำงานโดยอัตโนมัตดิ ว ยการสัน่ ทีค่ วามถีส่ งู เพือ่ ขจัดใหเม็ดฝนุ ทีต่ ดิ อยหู นาเซนเซอรหลุดลงไป
ติดในกับดักฝนุ ทางดานลาง สำหรับการใชงานปกติ ผใู ชไมจำเปนตองสนใจการทำงานของระบบ
นีเ้ ลย อยางไรก็ตาม ตัวกลองก็ออกแบบใหผใู ชสงั่ ทำความสะอาดเซนเซอรไดทนั ทีทตี่ อ งการ หรือ
จะยกเลิกการทำงานของระบบทำความสะอาดเซนเซอรอตั โนมัตเิ มือ่ เปด/ปดกลองก็ได

สั่งทำความสะอาดเซนเซอรทันที
เลือก [Sensor cleaning]
ในแถบรายการของ [ ] เลือก
[Sensor cleaning] จากนัน้ กดปมุ

เลือก [Clean now ]


เลือก [Clean now ] จากนัน้ กดปมุ
เลือก [OK] จากแถบทีป่ รากฏบนหนาจอ จากนัน้
กดปมุ
หนาจอจะมีสญ ั ลักษณทแี่ สดงวาเซนเซอรกำลังถูก
ทำความสะอาด และถึงแมจะมีเสียงชัตเตอรดงั แต
จะไมมกี ารถายภาพเกิดขึน้

เพือ่ ใหไดผลทีด่ ี ในขณะทีส่ งั่ ทำความสะอาด ควรวางกลองบนพืน้ ผิวเรียบๆ เชน โตะ โดยวางให
กลองอยูในแนวราบ
หลังจากทีก่ ลองเพิง่ ทำความสะอาดเซนเซอร แมผใู ชจะสัง่ ทำความสะอาดซ้ำอีก ผลทีไ่ ดกจ็ ะไม
ดีขึ้นกวาเดิมมากนัก และหลังจากทำความสะอาดเสร็จ คำสั่ง จะไม
สามารถสั่งทำความสะอาดซ้ำไดชั่วครู

การสั่งยกเลิกระบบทำความสะอาดฝุนอัตโนมัติ
ในขัน้ ตอนที่ 2 เลือก [ Auto cleaning ] และปรับตัง้ เปน [Disable]
ระบบทำความสะอาดฝุ น จะไม ทำงานโดยอั ต โนมั ติ อี ก เมื่ อ ปรั บ สวิ ต ซ ไ ปที่
หรือ
¡ารแนบ Dust Delete Data
ตามปกติ ระบบทำความสะอาดฝุนอัตโนมัติจะสามารถขจัดฝุนที่ซึ่งติดอยูบริเวณดานหนาของ
เซนเซอรและทีป่ รากฏในภาพใหหมดไป แตบางครัง้ เม็ดฝนุ ก็ยงั ติดอยู ผใู ชสามารถจะแนบขอมูล
ตำแหนงของเม็ดฝนุ ทีต่ ดิ อยนู เี้ พือ่ ใหซอฟทแวรของกลอง(Digital Photo Professional) ลบออกไป
ในภายหลังโดยอัตโนมัติ โดยอาศัยขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุน(Dust Delete Data) ที่แนบไป
กับไฟลภาพ

การเตรียมตัว
เตรียมวัตถุทมี่ สี ขี าวทีม่ ผี วิ เรียบ เชน แผนกระดาษแข็งสีขาวทีส่ ะอาด
ใชเลนส 50mm หรือเลนสทมี่ คี วามยาวโฟกัสสูงกวา
ปรับสวิตซของระบบโฟกัสทีเ่ ลนสเปน <MF> และตัง้ ระยะโฟกัสเปนระยะอนันต
และถาเลนสไมมีสเกลแสดงระยะโฟกัส ใหหมุนวงแหวนโฟกัสของเลนสตามเข็มนาฬิกา
ไปจนสุด

การเก็บขอมูลของเม็ดฝุน
เลือก [Dust Delete Data]
ในแถบรายการของ เลือก [Dust Delete
Data] จากนัน้ กดปมุ

เลือก [OK]
เลือก [OK] และกดปมุ และกลองจะเริม่
ทำความสะอาดฝุนที่เกาะอยูบริเวณหนาเซนเซอร
จากนัน้ หนาจอจะมีขอ ความปรากฏขึน้ ในขณะนัน้
จะมีเสียงชัตเตอรดงั ขึน้ แตกลองไมไดถา ยภาพใดๆ
¡ารแนบ Dust Delete Data

ถายภาพวัตถุสีขาวที่มีผิวเรียบ
วางวัตถุสีขาวผิวเรียบ ไมมีลวดลายใดๆ ที่ระยะ
หางออกไป 20-30 ซม.(0.7-1.0 ฟุต) เล็งกลองให
ขนาดวัตถุเต็ม เฟรม แลวกดชัตเตอรเพือ่ ถายภาพ
ควรตัง้ ระบบบันทึกภาพเปน Av และตัง้ ขนาดชอง
รับแสงเปน f/22
ภาพทีถ่ า ยนีจ้ ะไมถกู บันทึกลงในการด แตเปนการ
บันทึกขอมูลตำแหนงของเม็ดฝนุ จึงสามารถทำได
แมจะไมมกี ารดอยใู นตัวกลอง
เมื่อถายภาพแลว กลองจะเริ่มเก็บขอมูลตำแหนง
เม็ดฝุน และเมื่อไดขอมูลครบถวนแลว ก็จะมีขอ
ความปรากฏขึ้นบนจอภาพ
เลือก [OK] หนาจอจะกลับไปแสดงรายการของเมนู
ตามปกติ
ถากลองลมเหลวในการอานตำแหนงเม็ดฝุน จะมี
ขอความเตือนความผิดพลาด ใหกลับไปเริม่ ทำตาม
ขั้นตอนแรกอีกครั้ง จากนั้นเลือก [OK] แลวถาย
ภาพอีกครัง้

เกีย่ วกับ Dust Delete Data


หลังจากกลองเก็บขอมูลตำแหนงของเม็ดฝนุ (Dust Delete Data) ไดแลว ขอมูลนีจ้ ะถูกแนบไป
กับไฟลภาพแบบ JPEG และ RAW ทีถ่ า ยภายหลังจากนัน้ ดังนัน้ กอนถายภาพสำคัญทุกๆ ภาพ
ผใู ชควรจะปรับปรุงขอมูล(update) เพือ่ ใหกลองอานตำแหนงของเม็ดฝนุ ลาสุดเสียกอน
สำหรับการลบเม็ดฝนุ ออกจากภาพโดยอัตโนมัตดิ ว ยซอฟทแวรทใี่ หมาพรอมกับกลอง ใหอา น
จาก Software Instruction Manual ทีอ่ ยใู นแผน CD-ROM
ขนาดของขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุนที่แนบไปพรอมกับภาพนั้นมีขนาดเล็กมากจนไมมีผลตอ
ขนาดของไฟล
ตรวจสอบใหมนั่ ใจวา ไดใชวตั ถุสขี าวทีม่ ผี วิ เรียบและแข็ง เชน แผนกระดาษแข็งสีขาว เปนเปาใน
การถายภาพ ถาหากกระดาษแผนนัน้ มีลวดลายใดๆ มันจะถูกพบวาเปนเม็ดฝนุ และมีผลตอความ
แมนยำในการขจัดฝุนออกจากภาพของซอฟทแวร
·íาความสะอาดเซนเซอรโดยผใู ช
ผใู ชสามารถขจัดเม็ดฝนุ ทีไ่ มสามารถขจัดออกไดดว ยระบบทำความสะอาดเซนเซอรอตั โนมัติ
โดยการทำความสะอาดดวยตนเอง เชน โดยใชลกู ยางเปาลมเปาออก ฯลฯ
พืน้ ผิวของเซนเซอรมคี วามละเอียดออนและซับซอนมาก หากตองทำความสะอาด
โดยการสัมผัสกับพื้นผิวโดยตรง แนะนำใหสงทำความสะอาดโดยชางของศูนยบริการ
แคนนอน
กอนทำความสะอาดเซนเซอรดว ยวิธนี ี้ ใหถอดเลนสออกจากกลองเสียกอน
เลือก [Sensor cleaning]
ในแถบรายการของ [ ] เลือก
[Sensor cleaning] จากนัน้ กดปมุ

เลือก [Clean manually]


เลือก [Clean manually]
จากนัน้ กดปมุ

เลือก [OK]
เลือก [OK] จากนัน้ กดปมุ
กระจกสะทอนภาพจะยกตัวขึ้นและล็อคทันที และ
มานชัตเตอรจะเปดคาง

เมื่อทำความสะอาดเสร็จแลว
ปรับสวิตซของกลองไปที่ <OFF>

สำหรับแหลงพลังงานทีใ่ ชขณะทำความสะอาด แนะนำใหใช AC Adapter Kit ACK-E8 ซึง่ เปน


อุปกรณเสริมพิเศษ
ถาใชพลังงานจากแบตเตอรี ตรวจสอบใหแนใจกอนวาแบตเตอรีเต็ม และถาใชแบตเตอรีกริปที่
ใสแบตเตอรี AA/LR6 ผใู ชจะไมสามารถทำความสะอาดเซนเซอรดว ยตนเองได
·íาความสะอาดเซนเซอรโดยผใู ช

ถากระแสไฟฟาดับในขณะทำความสะอาด ชัตเตอรจะปดทันที มานชัตเตอรและเซนเซอร


ของกลองอาจเกิดความเสียหาย และขณะทีก่ ำลังทำความสะอาดเซนเซอร หามทำสิง่ ตางๆ
ดังรายละเอียดดานลาง
• ปรับสวิตซของกลองไปที่ <OFF>
• เปดฝาปดชองใสแบตเตอรี
• เปดฝาปดชองใสการด
พืน้ ผิวของเซนเซอรมคี วามละเอียดออนและซับซอนมาก ทำความสะอาดดวยความระมัดระวัง

ใชลกู ยางเปาลมแบบธรรมดา(ไมมปี ลายทีเ่ ปนขนแปรงสำหรับปด) เพราะแปรงปดอาจทำใหเกิด


รอยขีดขวนที่เซนเซอรได
หามสอดปลายของลูกยางเปาลมเลยบริเวณเมาทเลนส เพราะถาหากไฟดับ มานชัตเตอรจะปด
ทันที ซึง่ อาจทำใหมา นชัตเตอรและกระจกสะทอนภาพเสียหายได

หามใชสเปรยทบี่ รรจุลมหรือกาซใดๆ มาทำความสะอาดเซนเซอร เพราะสเปรยจะมีแรงดันสูง


มาก และอาจทำความเสียหายตอเซนเซอร และกาซทีบ่ รรจุกอ็ าจทำใหเซนเซอรเสียหายได
หากมีคราบสกปรกทีไ่ มสามารถขจัดไดดว ยลูกยางเปาลม แนะนำใหสง กลองไปทำความสะอาด
ที่ศูนยบริการของแคนนอน
¡ÒÃàÅ‹¹´ÙÀÒ¾
·Õ苶‹ÒÂáÅŒÇ
เนือ้ หาในบทนี้ จะอธิบายเกีย่ วกับคุณสมบัตทิ เี่ กีย่ วของกับการดูภาพ โดย
แนะนำใหรูจักรายละเอียดตางๆ ในการเลนดูภาพเพิ่มเติมจากบทที่ 2
“การถายภาพขั้นเบื้องตน และการดูภาพที่ถายแลว” ซึ่งไดอธิบายราย
ละเอี ย ดและขั้ น ตอนการปรั บ ตั้ ง เพื่ อ ดู ภ าพที่ ถ า ยไว แ ล ว ในบทนี้
จะอธิบายรายละเอียดสำหรับวิธีดูภาพนิ่งและภาพยนตรจากกลอง การ
ลบภาพที่ถายไวแลว และดูภาพจากจอโทรทัศน

เกีย่ วกับภาพทีถ่ า ยดวยกลองอืน่ ๆ:


กลองรนุ นีอ้ าจไมสามารถแสดงไฟลภาพทีถ่ า ยดวยกลองอืน่ ๆ บนจอ LCD ไดอยาง
เหมาะสม ตลอดจนภาพทีผ่ า นการปรับแตงดวยคอมพิวเตอรมาแลว หรือภาพที่
ถูกเปลีย่ นชือ่ ไปแลว
¤Œนหาภาพทีต่ อ งการดวยความรวดเร็ว
แสดงภาพหลายๆ ภาพพรอมกันบนหนาจอ, ภาพดัชนี(Index Display)
คนหาภาพทีต่ อ งการไดอยางรวดเร็ว ดวยการแสดงภาพไดพรอมๆ กัน ตัง้ แต 4 หรือ 9 ภาพบนหนา
จอเดียว
เลนดูภาพที่ถายไวแลว
เมือ่ กดปมุ กลองจะแสดงภาพสุดทายที่
ถายทีจ่ อ LCD

เปดการแสดงภาพแบบดัชนี
กดปมุ
หนาจอจะแสดงภาพพรอมๆ กัน 4 ภาพ ภาพที่
ดูลำดับลาสุดจะมีกรอบสวางสีน้ำเงินลอมรอบ
กดปมุ อีกครัง้ หนาจอจะแสดงภาพ
พรอมๆ กัน 9 ภาพ และถากดปมุ กลองจะ
กลับไปแสดงภาพดัชนี 4 ภาพ และแสดงภาพใหญ
ภาพเดียวตามลำดับ

เลือกภาพ
ใชปมุ สำหรับเลือกภาพทีต่ อ งการเลือก
หมุนวงแหวน เพือ่ เลือกดูภาพในหนาจอถัดไป

กดปมุ เพือ่ เลือกภาพทีต่ อ งการ และภาพ


ทีถ่ กู เลือกนัน้ จะปรากฏเปนภาพใหญ(ภาพเดียว)
¤Œนหาภาพทีต่ อ งการดวยความรวดเร็ว

การเลือกดูภาพแบบกาวกระโดด(Jump Display)
เมือ่ เลนดูภาพแบบครัง้ ละภาพ ผใู ชสามารถหมุนวงแหวน เพือ่ กาวกระโดดขาม
ลำดับภาพได
เลือกวิธีกาวกระโดด(JUMP)
ในเมนู [ Image jump w/ ] เลือกรูปแบบ
ทีต่ อ งการ [1 image/10 images/100 images/
Date/Movies/Stills] จากนัน้ กด

คนหาภาพแบบกาวกระโดด
กดปมุ เพือ่ เลนดูภาพ

เมื่อภาพเดี่ยวปรากฏขึ้น หมุนวงแหวน
กลองจะกระโดดขามลำดับภาพตามรูปแบบที่ได
ปรับตั้งไวในขั้นตอนที่ 1
ทีม่ มุ ลางดานขวา จอภาพจะแสดง วิธี JUMP และ
ตำแหนง ณ ปจจุบนั ของภาพ

กดปมุ เมือ่ ตองการเปลีย่ นวิธเี ลนดูภาพ


แบบกามกระโดด
รูปแบบการ JUMP
ลำดับของภาพที่แสดงอยู

หากตองการคนหาภาพจากวันทีถ่ า ย ใหเลือก [Date] จากนัน้ หมุนวงแหวน < > เพือ่ กาว


กระโดดไปดูภาพในวันทีต่ อ งการ
หากในการด มีทงั้ ภาพยนตร [Movies] และภาพนิง่ [Stills] สามารถเลือกแบบใดแบบหนึง่ เพือ่
ใหกลองแสดงเฉพาะภาพนิ่งหรือภาพยนตร
¢ยายดูภาพ
ผูใชสามารถขยายดูภาพจากจอ LCD ไดตั้งแตขนาด 1.5 เทาจนถึง 10 เทา
ขยายดูภาพ
ในขณะเลนดูภาพ กดปมุ เพือ่ ขยายภาพ
ภาพจะถูกขยายใหใหญขึ้น
ถากดปมุ ตอไปอีก จะสามารถขยายภาพ
ขึน้ เรือ่ ยๆ จนถึงขนาดใหญทสี่ ดุ (10x)

เมือ่ ตองการลดการขยายลง กดปมุ


และเมือ่ กดปมุ คางไว กลองจะลดการ
ขยายภาพลงจนกลับไปสกู ารแสดงภาพเดีย่ วปกติ

ตำแหนงของภาพ
ทีแ่ สดงอยใู นขณะนี้
เลื่อนดูสวนตางๆ ของภาพ
ใช เพื่ อ เลื่ อ นดู ส ว นต า งๆ ของภาพที่
ถูกขยาย
หากตองการออกจากการขยายดูภาพ ใหกดปุม
กล อ งจะแสดงภาพแบบภาพเดี่ ย วใน
ขนาดปกติ

ผูใชสามารถหมุนวงแหวน < > เพื่ อ ดู ภ าพอื่ น ๆ โดยคงอั ต ราขยายอยู


ไมสามารถขยายดูภาพได เมื่อกลองกำลังแสดงภาพที่เพิ่งถายเสร็จ
ไมสามารถขยายดูภาพยนตรได
มุนภาพ
ผู ใ ช ส ามารถหมุ น ภาพที่ แ สดงอยู ให มี ทิ ศ ทางตามที่ ต อ งการ
เลือก [Rotate]
ในแถบ [ ] เลือก [Rotate] จากนั้ น กด

เลือกภาพทีต่ อ งการ
กดปุม เพื่อเลือกภาพที่ตองการหมุน
ผูใชสามารถเลือกภาพไดจากภาพดัชนี

หมุนภาพ
แต ล ะครั้ ง ที่ ก ดปุ ม ภาพจะถูกหมุนตาม
เข็ ม นาฬิ ก า ดั ง นี้ :
เมื่ อ ต อ งการหมุ น ภาพอื่ น ๆ ให ย อ นกลั บ ไป
ทำตามขั้ น ตอนที่ 2 และ 3
เมื่ อ ต อ งการออกจากการปรั บ หมุ น ภาพ และ
กลั บ สู เ มนู กดปุ ม

ถ า ได ป รั บ ตั้ ง [ Auto rotate] ไปที่ (น.142) ก อ นที่ จ ะถ า ยภาพ


แนวตั้ ง ก็ ไ ม จำเป น ต อ งหมุ น ภาพเอง ตามที่ อ ธิ บ ายไว ข า งต น
เมื่ อ ภาพถู ก หมุ น แล ว แต ยั ง มี ทิ ศ ทางไม ถู ก ต อ งเมื่ อ นำไปเล น ดู ให ป รั บ ตั้ ง เมนู
[ Auto rotate] เป น
ไม ส ามารถหมุ น ภาพยนตร ไ ด
นุกกับภาพยนตร
มีวิธีการงายๆ สามวิธีในการเลนดูภาพยนตรที่ถาย

ดูภาพจากเครื่องรับโทรทัศน (น.167, 169)


ใชสาย AV ที่ไดมาพรอมกับกลอง หรือสาย HDMI
HTC-100 (อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ) ในการเชื่ อ มต อ
ระหว า งกล อ งกั บ โทรทั ศ น ผู ใ ช จึ ง สามารถเล น
ดู ภ าพยนตร แ ละภาพนิ่ ง ที่ ถ า ยไว จ ากจอโทรทั ศ น
ได และหากผูใชมีโทรทัศนที่มีคุณภาพระดับ HDMI
และเชื่ อ มต อ กล อ งกั บ โทรทั ศ น ก็ ส ามารถจะชม
ภาพยนตรระดับ Full HD 1920x1080 และ HD
(1280X720) เพื่ออรรถรสในการชมภาพยนตรที่มี
คุณภาพสูง

ภาพยนตร ที่ บั น ทึ ก ไว ใ นการ ด สามารถเล น ดู ไ ด เ ฉพาะกั บ เครื่ อ งเล น ที่ ส นั บ สนุ น
ไฟล ส กุ ล .MOV
อุ ป กรณ บั น ทึ ก ข อ มู ล แบบฮาร ด ดิ ส ค จะไม มี ช อ งเสี ย บสาย HDMI จึ ง ไม ส ามารถ
เชื่ อ มต อ กั บ กล อ งด ว ยสาย HDMI เพื่ อ เล น ดู ภ าพได
แม ก ล อ งจะเชื่ อ มต อ กั บ เครื่ อ งบั น ทึ ก แบบฮาร ด ดิ ส ค ด ว ยสาย USB ภาพยนตร แ ละ
ภาพนิ่ ง ก็ ไ ม ส ามารถเล น หรื อ บั น ทึ ก ในฮาร ด ดิ ส ค ไ ด

เลนดูภาพจากจอ LCD ของกลอง (น.162, 166)


ผู ใ ช ส ามารถเล น ดู ภ าพยนตร ไ ด จ ากจอ
LCD ของกลอง และสามารถตัดตอสวนตน
และท า ยของภาพยนตร ไ ด นอกจากนี้
สามารถเล น ดู ภ าพนิ่ ง และภาพยนตร ที่ อ ยู
ในการดไดโดยอัตโนมัติแบบสไลดโชว

หลั ง จากนำไฟล ภ าพยนตร ไ ปตั ด ต อ และแก ไ ขด ว ยคอมพิ ว เตอร แ ล ว จะไม ส ามารถ
นำกลับมาเลนดูในตัวกลองได
Êนุกกับภาพยนตร

เลนดูและตัดตอภาพยนตรดว ยคอมพิวเตอร
(อ า นคู มื อ การใช ซ อฟท แ วร ZoomBrowser EX/ImageBrowser ซึ่ ง เป น เอกสารแบบ PDF )
ไฟล ภ าพยนตร ที่ ถู ก บั น ทึ ก ไว ใ นการ ด สามารถถ า ยโอน
เข า สู ค อมพิ ว เตอร ส ว นตั ว และสามารถเล น ดู ห รื อ ปรั บ
แต ง โดยใช ซ อฟท แ วร ZoomBrowser EX / Image
Browser (ใหมาพรอมกับกลอง)
ผูใชยังสามารถจับภาพนิ่งออกมาจากภาพยนตรที่ถาย
ได และบั น ทึ ก ไว ต า งหากเหมื อ นเป น ภาพนิ่ ง ภาพหนึ่ ง

เมื่ อ ต อ งการเล น ดู ภ าพอย า งราบลื่ น ในคอมพิ ว เตอร ส ว นตั ว คอมพิ ว เตอร ที่ ใ ช ต อ งเป น รุ น
ที่มีสมรรถนะสูง และมีซอฟทแวร ZoomBrowser EX/ImageBrowser อานคำแนะนำการ
ใช ซ อฟท แ วร ซึ่ ง เป น เอกสาร PDF จากคู มื อ การใช ซ อฟท แ วร ใ นแผ น ซี ดี
หากต อ งการใช ซ อฟท แ วร อื่ น ๆ ในการดู ภ าพยนตร หรื อ ตั ด ต อ ภาพยนตร ตรวจสอบก อ น
ว า ซอฟท แ วร นั้ น สนั บ สนุ น ไฟล ส กุ ล .MOV ซึ่ ง สามารถดู ร ายละเอี ย ดได จ ากผู ผ ลิ ต
ซอฟท แ วร นั้ น ๆ
ลนดูภาพยนตร
สัง่ เลนดูภาพ
กดปุ ม เพื่ อ เล น ดู ภ าพที่ ถ า ยไว

เลือกภาพยนตร
กดปุม เพื่อเลือกภาพยนตรเรื่องหนึ่ง
ที่ ถ า ยไว แ ล ว
สั ญ ลั ก ษณ จะปรากฏขึ้นที่มุมบน
ดานซายของจอภาพ เพื่อบอกวาคือภาพยนตร
หากเล น ดู ภ าพแบบดั ช นี ( ภาพเล็ ก ) ภาพที่ เ ป น
ภาพยนตร จ ะมี รู ป อยู ท างด า นซ า ย ภาพยนตร
จะไม ส ามารถเล น ดู ไ ด เ มื่ อ แสดงในขนาดดั ช นี
ดั ง นั้ น กด เพื่อปรับใหการแสดงภาพ
เปนแบบภาพเดี่ยวเสียกอน

กด
ในขณะที่กลองแสดงภาพแบบภาพเดี่ยว กดปุม
แผงควบคุ ม การเล น ดู ภ าพยนตร จ ะปรากฏ
ทางด า นล า ง
เลนดูภาพยนตร
เลื อ ก (Play) จากนั้นกด
กลองจะเริ่มเลนภาพยนตร
สามารถหยุดการเลนชั่วคราว ไดดวยการกดปุม

ขณะเลนดูภาพยนตร สามารถปรับเสียงไดดวย
การหมุ น วงแหวน
สำหรั บ รายละเอี ย ดมากขึ้ น เกี่ ย วกั บ การเล น
ดูภาพ ดูหนาถัดไป
àลนดูภาพยนตร

ฟงกชนั่ นิยามของฟงกชนั่ ตางๆ ในระบบเลนดูภาพ


Exit กลับไปสูระบบเลนดูภาพแบบภาพเดี่ยว
Play กดปุม เพื่อสลับระหวางเลนกับหยุดชั่วคราว
Slow motion ปรับความเร็วในการเลนภาพใหชา ลง โดยกดปมุ
ความเร็วในการเลนภาพยนตรจะปรากฏทีม่ มุ ขวาบนของจอภาพ
First frame เลนดูภาพยนตรจากเฟรมแรก
Previous frame แตละครัง้ ทีก่ ดปมุ กลองจะเลนยอนหลังกลับไปทีละหนึง่ เฟรม
ถากดปุม คางไว ภาพยนตรจะเลนยอนกลับ

Next frame แตละครัง้ ทีก่ ดปมุ กลองจะเลนภาพยนตรแบบเฟรมตอเฟรม


ถากดปมุ คางไว กลองจะเลนเฟรมลำดับถัดๆ ไปอยางรวดเร็ว
Last frame เลนเฟรมสุดทายของภาพยนตร
Edit เลนและปรับแตงภาพ (น.164)
ตำแหนง
ระยะเวลาทีเ่ ลนภาพยนตร
Volume ผใู ชสามารถปรับระดับเสียงของไมโครโฟนในตัว (น.162) โดยหมุนวงแหวน

เมื่อใชแบตเตอรี LP-E8 ที่ประจุไฟเต็ม ระยะเวลาที่เลนดูภาพไดที่อุณหภูมิ 23 ํC/73 ํF


จะเปนดังนี้ : ประมาณ 2 ชั่วโมง 30 นาที
ในระหวางเลนดูภาพแบบภาพเดี่ยว กดปุม เพื่อแสดงขอมูลในการถาย
ภาพยนตร (น.173)
ถ า ผู ใ ช ถ า ยภาพนิ่ ง ในระหว า งที่ ถ า ยภาพยนตร ในขณะที่ เ ล น ดู ภ าพยนตร ภาพนิ่ ง
จะปรากฏคางอยูบนจอภาพประมาณ 1 วินาที
เมื่อตอกลองเขากับจอโทรทัศน (น.167, 169) เมื่อตองการเลนดูภาพและตองการปรับ
เสียง ใหปรับที่โทรทัศน (การหมุนวงแหวน < > จะไมสามารถปรับเสียงได)
ารตัดตอสวนหัวและทายของภาพยนตร
ผูใชสามารถตัดตอและปรับแตงสวนหัวและทายสุดของภาพยนตร โดยสามารถปรับเพิ่มใน 1 วินาที

เมื่อเขาสูหนาจอของการดูภาพยนตร
เลือก [ ]
หนาจอจะแสดงรายการของการตัดตอ
กำหนดสวนที่ตองการตัดตอ
เลื อ กตั ด ต อ ส ว นหั ว หรื อ ส ว นท า ย
จากนั้ น กด
กด ไปทางซ า ยหรื อ ขวา หรื อ กดค า งไว
เพื่ อ เลื่ อ นเฟรมให เ ร็ ว ขึ้ น เพื่ อ กำหนดส ว นของ
ภาพยนตร ที่ ต อ งการตั ด ต อ
หลั ง จากเลื อ กส ว นที่ ต อ งการตั ด ต อ ได แ ล ว และ
กดปุ ม จะมี แ ถบสี น้ำ เงิ น ปรากฏที่ ส ว น
บนของภาพ แสดงส ว นที่ เ หลื อ ของภาพยนตร
ตรวจสอบการตัดตอ
เลือก และกดปุม เพื่อเลนดูภาพ
ส ว นที่ เ ป น แถบสี น้ำ เงิ น
หากตองการเปลี่ยนแปลงใหยอนกลับสูขั้นตอนที่ 2
หากตองการยกเลิกการตัดตอ เลือก [ ]
และกดปุม
บันทึกภาพยนตร
เลื อ ก [ ] จากนั้ น กดปุ ม
หนาจอจะแสดงตัวเลือกในการบันทึก
ถ า ต อ งการบั น ทึ ก เป น ภาพยนตร ใ หม (ไฟล
ใหม ) เลื อ ก [New file] หรื อ ถ า ต อ งการบั น ทึ ก
ทับตนฉบับ เลือก [Overwrite] จากนั้นกด

ลำดั บ การตั ด ต อ ภาพยนตร นั้ น สามารถเลื อ กช ว งเวลาได ล ะเอี ย ดในระดั บ ขั้ น ละ 1
วิ น าที ( ระบุ ตำแหน ง ได โ ดย ) ซึ่ ง ตำแหน ง ที่ ถู ก ตั ด ต อ จริ ง อาจจะคลาดเคลื่ อ น
จากตำแหน ง ที่ กำหนดไว เ ล็ ก น อ ย
หากการ ด ไม มี พื้ น ที่ ว า งพอสำหรั บ บั น ทึ ก ไฟล ใ หม จะไม มี ตั ว เลื อ ก [New file] ให เ ลื อ ก
ฟ ง ก ชั่ น อื่ น ๆ ในการตั ด ต อ ภาพยนตร จะอยู ใ นซอฟท แ วร ZoomBrowser EX/
ImageBrowser (ซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ กล อ ง)
ไลดโชว (เลนดูภาพอัตโนมัต)ิ
ผูใชสามารถสั่งเลนดูภาพในการดโดยอัตโนมัติแบบสไลดโชวได
เลือก [Slide show]
ในแถบ [ ] เลือก [Slide show] จากนั้ น
กดปุ ม

เลือกภาพที่ตองการเลน
กดปุม เพื่อเลือกรายการ
จาก นั้นกด เพื่อเลือกรายการใดรายการ
หนึ่ ง ต อ ไปนี้ : [ All images/ Date/
Movies/ Stills] จากนั้ น กดปุ ม

ถ า เลื อ ก [ Date] ให ก ดปุ ม


ในขณะที่ ยังคงติดสวางอยู
หน า จอ [Select date] ให ก ดปุ ม
เพื่ อ เลื อ กวั น ที่ ต อ งการ จากนั้ น กดปุ ม

รายการ นิยามของรายการตางๆ ในระบบเลนดูภาพ


All images ภาพนิง่ และภาพยนตรทงั้ หมดในการดจะถูกนำมาเลน
Date ภาพนิง่ และภาพยนตรทงั้ หมดทีถ่ า ยในวันทีเ่ ลือกจะถูกเลน
Movies เลนเฉพาะภาพยนตร
Stills เลนเฉพาะภาพนิง่ ในการด
Êไลดโชว (เลนดูภาพอัตโนมัติ)

ตัง้ เวลาการแสดงภาพและตัวเลือกในการเลนซ้ำ
กดปุ ม เพื่ อ เลื อ ก [Set up] จากนั้ น
กดปุ ม
สำหรั บ ภาพนิ่ ง ตั้ ง ตั ว เลื อ กใน [Display time]
และ [Repeat] จากนั้ น กดปุ ม

[เวลาในการแสดงภาพ] [เลนซ้ำ]

เริ่มสไลดโชว
กดปุม เพื่อเลือก [Start] จากนั้นกดปุม

หลังจาก [Loading image...] ปรากฏขึ้นสอง


สามวิ น าที กล อ งจะเริ่ ม เล น สไลด โ ชว

ออกจากสไลดโชว
เมื่ อ ต อ งการเลิ ก เล น ภาพแบบสไลด โ ชว และ
กลับสูหนาจอการเลือกปรับตั้ง กดปุม

หากต อ งการหยุ ด เล น สไลด โ ชว ชั่ ว คราว กดปุ ม เพื่ อ หยุ ด ชั่ ว คราว จะมี
ปรากฏขึ้ น ที่ ส ว นบนทางด า นซ า ยของจอภาพ กด อี ก ครั้ ง ถ า ต อ งการเล น ต อ ไป
ขณะที่ กำลั ง เล น ดู ภ าพในแบบอั ต โนมั ติ สามารถเปลี่ ย นรู ป แบบการเล น ดู ภ าพด ว ย
การกดปุ ม
ในขณะเล น ดู ภ าพ สามารถปรั บ เสี ย งดั ง หรื อ ค อ ยได โ ดยหมุ น วงแหวน < >
ขณะที่ ห ยุ ด การเล น ชั่ ว คราว สามารถเลื่ อ นไปดู ภ าพต อ ๆ ไปได เ องโดยกดปุ ม
ในขณะเล น ภาพแบบสไลด โ ชว ระบบตั ด พลั ง งานอั ต โนมั ติ จ ะไม ทำงาน
ระยะเวลาในการแสดงภาพแต ล ะภาพอาจต า งกั น ขึ้ น อยู กั บ ภาพ
หากต อ งการดู ส ไลด โ ชว ที่ จ อโทรทั ศ น ดู ห น า 167, 169
ดูภาพจากจอโทรทัศน
ผูใชสามารถดูภาพยนตรและภาพนิ่งที่ถายไวจากจอโทรทัศน กอนที่จะตอเชื่อมหรือ
ถอดสายตอเชือ่ มระหวางกลองกับโทรทัศน ใหปด สวิตซของกลองและโทรทัศนเสียกอน
* ปรับระดับเสียงของภาพยนตรไดที่เครื่องรับโทรทัศน
* บางสวนของภาพยนตรอาจจะถูกตัดออกไปจากจอภาพ ขึ้นอยูกับโทรทัศนที่ใชเลน
ดูภาพจากโทรทัศนที่ไมใชระบบ HD (High-Definition)
ตองใชสายนำสัญญาณ HDMI HTC-100 (อุปกรณเสริมพิเศษ)
ตอสาย HDMI เขากับตัวกลอง
ตอเชื่อมสาย HDMI เขากับชองเสียบ
ของตั ว กล อ ง
หั น ปลั๊ ก ด า นที่ มี สั ญ ลั ก ษณ
ไปทางดานหนาของกลอง แลวเสียบเขากับชอง
เสียบ

ตอสาย HDMI ไปยังเครื่องรับโทรทัศน


ตอสาย HDMI ไปทีช่ อ งเสียบ HDMI IN ของเครือ่ ง
รั บ โทรทั ศ น
เปดเครื่องรับโทรทัศน และปรับใหรับ
สัญญาณวิดโี อ เพือ่ เลือกจุดตอเชือ่ ม

ปรับสวิตซของกลองไปที่
กดปุม
ภาพจากกล อ งจะไปปรากฏที่ โ ทรทั ศ น (จะไม มี
ภาพใดๆ ปรากฏที่จอ LCD ของกลอง)

ภาพจะแสดงบนจอโทรทั ศ น ใ นระดั บ ความ


ละเอียดที่เหมาะสมที่สุดโดยอัตโนมัติ
สามารถกดปุม เพื่อเปลี่ยนรูปแบบการ
แสดงภาพ
ดู วิ ธี สั่ ง เล น ภาพยนตร หน า 162
´Ùภาพจากจอโทรทัศน

ห า มต อ พ ว งอุ ป กรณ ช นิ ด อื่ น ๆ เข า กั บ ช อ งเสี ย บต อ พ ว งของกล อ ง <HDMI OUT>
อาจทำให ก ล อ งเสี ย หายได
โทรทั ศ น บ างรุ น อาจไม ส ามารถแสดงภาพจากกล อ งได สำหรั บ กรณี นี้ ให ใ ช ส าย
AV ต อ เชื่ อ มระหว า งกล อ งกั บ โทรทั ศ น
ชองตอพวง <A/V OUT /DIGITAL> และ <HDMI OUT> จะไมสามารถใชงานไดใน
เวลาเดี ย วกั น
เครื่องรับโทรทัศนแบบ HDMI CEC
เมือ่ ตอกลองกับเครือ่ งรับโทรทัศนทสี่ นับสนุนระบบ HDMI CEC* ดวยสายสัญญาณแบบ HDMI ผู
ใชสามารถใชเครือ่ งรับโทรทัศนเปนเหมือนรีโมทคอนโทรลเพือ่ ควบคุมการเลนดูภาพได
* ฟงกชนั่ นีช้ ว ยใหผใู ชสามารถควบคุมอุปกรณ HDMI ไดหลายชุดดวยรีโมทอันเดียว

เลือก [Ctrl over HDMI]


ในแถบ [ ] เลือก [Ctrl over HDMI] จากนั้น
กด เลือก [Enable] และกด อีกครั้ง
เมื่ อ ต อ กล อ งเข า กั บ เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น ระบบ
นำเข า สั ญ ญาณของโทรทั ศ น จ ะรั บ สั ญ ญาณ
จากช อ งต อ พ ว ง HDMI ที่ ต อ จากกล อ งโดย
อั ต โนมั ติ เมื่ อ กดปุ ม ที่ ตั ว กล อ ง ผู ใ ช
สามารถจะใช รี โ มทคอนโทรลของโทรทั ศ น ใ น
การควบคุมการเลนภาพได
เลือกภาพ
เล็งรีโมทไปที่เครื่องรับโทรทัศน และกดปุม
เพื่อเลือกภาพ จากนั้นกดปุม “Enter”
จะมีรายการเมนูปรากฏบนจอภาพ ซึ่งจะแตก
ตางกัน ขึ้นอยูกับวาเปนภาพนิ่งหรือภาพยนตร
กดปุม เพื่อเลือกตัวเลือก จากนั้นกดปุม
“Enter”
สำหรับการเลนภาพอัตโนมัติ(สไลดโชว) กดปุม
ของรีโมทเพื่อเลือกรายการ จากนั้นกดปุม
“Enter”
เลือก [Return] แลวกดปุม “Enter” รายการของ
เมนูตางๆ จะหายไป จากนั้นใช เพื่อเลือก
ภาพที่ ต อ งการ
´Ùภาพจากจอโทรทัศน

เมื่ อ ใช กั บ เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น บ างรุ น ผู ใ ช จ ะต อ งปรั บ เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น ใ ห ร องรั บ
การต อ พ ว งแบบ HDMI CEC เสี ย ก อ น ดู ร ายละเอี ย ดจากคู มื อ ของเครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น
เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น ที่ มี ร ะบบ HDMI CEC เฉพาะบางรุ น อาจจะแสดงภาพผิ ด ปกติ
ในกรณี นี้ ให ป รั บ ตั้ ง เมนู ข อง [ Ctrl over HDMI] ให เ ป น [Disable] และใช
กล อ งในการควบคุ ม การเล น ดู ภ าพ

ดูภาพจากโทรทัศนที่ไมใชระบบ HD (High-Definition)
ตอสาย AV เขากับตัวกลอง
ต อ เชื่ อ มสาย AV เข า กั บ ช อ งเสี ย บ
<A/V OUT / DIGITAL> ของตัวกลอง
หั น ปลั๊ ก ด า นที่ มี สั ญ ลั ก ษณ <Canon> มาทาง
ดานหลังของกลอง แลวเสียบเขากับชองเสียบ
<A/V OUT / DIGITAL>
ตอสาย AV ไปยังเครื่องรับโทรทัศน
ตอสาย AV ไปที่ชองเสียบ VIDEO IN และกับชอง
เสียบ AUDIO IN ของเครื่องรับโทรทัศน
เปดเครื่องรับโทรทัศน และปรับใหรับ
สัญญาณวิดโี อ เพือ่ เลือกจุดตอเชือ่ ม
ปรับสวิตซของกลองไปที่
กดปุม
ภาพจากกล อ งจะไปปรากฏที่ โ ทรทั ศ น (จะไม มี
ภาพใดๆ ปรากฏที่จอ LCD ของกลอง)
ดู วิ ธี สั่ ง เล น ภาพยนตร หน า 162

ห า มใช ส ายต อ เชื่ อ ม AV แบบอื่ น ๆ นอกจากที่ ไ ด ม าพร อ มตั ว กล อ ง อาจจะดู ภ าพ


ไมไดถาใชสายชนิดอื่น
หากระบบวิดีโอที่ตั้งไวในตัวกลองไมเขากับระบบของโทรทัศน การแสดงภาพจะ
ผิ ด ปกติ ปรั บ ตั้ ง ระบบวิ ดี โ อให ต รงกั น ด ว ยเมนู [ Video system]
องกันภาพถูกลบ
การปองกันไมใหภาพที่ถายแลวถูกลบไปโดยไมเจตนา
เลือก [Protect images]
ในแถบ [ ] เลือก [Protect images]
จากนั้ น กด
หน า จอจะแสดงตั ว เลื อ กสำหรั บ การป อ งกั น
ภาพถูกลบ

เลือกภาพทีต่ อ งการปองกันถูกลบ
กดปุม เพื่อเลือกภาพที่ตองการ
ปองกันถูกลบ จากนั้นกดปุม
เมื่อภาพถูกปองกันการลบแลว จะมีสัญลักษณ
ปรากฏขึ้นบนจอภาพ
หากตองการยกเลิกการปองกันลบภาพสำหรับ
ภาพนั้ น ๆ ให ก ดปุ ม สั ญ ลั ก ษณ
จะหายไป
หากต อ งการป อ งกั น ภาพอื่ น ๆ ถู ก ลบ ให เ ริ่ ม
ปรั บ ตั้ ง จากขั้ น ตอนที่ 2
เมื่อตองการออกจากการปรับตั้งนี้ ใหกดปุม
กลองจะกลับมาแสดงเมนูอีกครั้ง

หากผู ใ ช ฟ อร แ มทการ ด (น.42) ภาพที่ ถู ก ป อ งกั น ลบ จะถู ก ลบไปด ว ย

เมื่ อ ภาพได ถู ก ตั้ ง การป อ งกั น ลบไว แ ล ว จะไม ส ามารถลบได ด ว ยคำสั่ ง ใดๆ ในตั ว กล อ ง
หากต อ งการลบภาพนั้ น จะต อ งยกเลิ ก การป อ งกั น เสี ย ก อ น

หากผู ใ ช สั่ ง ลบภาพทั้ ง หมด (น.172) จะเหลื อ เพี ย งภาพที่ ถู ก ป อ งกั น ลบเท า นั้ น ที่ ยั ง คงอยู
เป น รู ป แบบที่ ส ะดวกเมื่ อ ต อ งการลบภาพอื่ น ๆ ที่ ไ ม ต อ งการทิ้ ง ไปในคราวเดี ย ว
ารลบภาพ
ผู ใ ช ส ามารถจะเลื อ กภาพและลบภาพที ล ะภาพ หรื อ ลบภาพทั้ ง หมด โดยภาพที่ มี ก าร
ปองกันการลบภาพไวจะไมถูกลบ (น.170)
เมือ่ ภาพใดภาพหนึง่ ถูกลบแลว จะไมสามารถกคู นื กลับมาไดอกี ควรตรวจสอบให
แนใจวาไมตองการภาพนั้นแลวกอนที่จะสั่งลบ และเพื่อปองกันภาพสำคัญไมให
ถูกลบไปโดยไมไดตงั้ ใจ ใหสงั่ ปองกันการลบภาพนัน้ เสียกอน และเมือ่ สัง่ ลบไฟล
ภาพแบบ กลองก็จะลบทั้งไฟล RAW และ JPEG ไปพรอมๆ กัน

ลบภาพครั้งละภาพ
เลนดูภาพที่ตองการลบ
กดปุม
เมนู ข องการลบภาพจะปรากฏขึ้ น ที่ ด า นล า ง
ของจอภาพ

ลบภาพ
เลื อ ก [Erase] จากนั้ น กดปุ ม ภาพที่
เลนดูอยูจะถูกลบไป

ทำเครื่องหมาย กับภาพที่ตองการลบเพื่อลบภาพเปนกลุม
ดวยการทำเครื่องหมาย ใหกับภาพตางๆ ที่ตองการลบ เพื่อสั่งลบภาพหลายๆ ภาพ
ภายในเวลาเดี ย วกั น
เลือก [Erase images]
ในแถบ [ ] เลือก [Erase images] จากนั้ น
กดปุ ม
¡ารลบภาพ

เลือก [Select and erase images]


เลือก [Select and erase images] จากนัน้
กดปุม
ภาพจะปรากฏที่จอ LCD
หากตองการเลนดูภาพครัง้ ละ 3 ภาพ กดปมุ
และถ า ต อ งการกลั บ ไปดู ภ าพ
แบบภาพเดี่ยว กดปุม

เลือกภาพที่ตองการลบ
เลือกภาพที่ตองการลบ จากนั้นกดปุม
สัญลักษณ จะปรากฏขึ้นบริเวณดาน
บนซายของภาพ
หากตองการลบภาพอื่นๆ ใหทำตามขั้นตอนที่ 3
ลบภาพ
กดปุม
เลือก [OK] จากนั้นกดปุม
ภาพที่เลือกทำเครื่องหมายไวจะถูกลบ

ลบภาพทุกๆ ภาพในการด
ผูใชสามารถลบภาพทุกๆ ภาพในโฟลเดอรหรือในการดไดในเวลาเดียวกัน เมื่อเมนู
[ Erase images] ไดถกู ตัง้ เปน [All images on card] กลองจะลบภาพทุกๆ ภาพ
ในโฟลเดอร หรือทุกๆ ภาพในการด

หากตองการลบภาพที่ปองกันการลบไว (น.42)
สดงขอมูลการถายภาพ
ในระหว า งเล น ดู ภ าพแบบภาพเดี่ ย ว ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง ให แ สดงข อ มู ล การถ า ยภาพได
โดยกดปุม และมีรายละเอียดดังที่แสดงไวทางดานลางนี้

ระดับการชดเชยแสง ปองกันภาพถูกลบ
ระดับการชดเชยแสงแฟลช เลขลำดับโฟลเดอร / ลำดับไฟล

ชองรับแสง
Histogram
ความไวชัตเตอร / (Brightness/RGB)
เวลาในการบันทึก
ระบบวัดแสง การปรับตัง้ Picture Style

ระบบบันทึกภาพ / ความไวแสง
ภาพยนตร เพิม่ รายละเอียด
ในสวนสวาง
คุณภาพในการบันทึกภาพ / ระบบสี
ความละเอียดในการบันทึก วันทีแ่ ละเวลาทีบ่ นั ทึก
ภาพยนตร
ลำดับการเลนดูภาพ / แนบขอมูลตรวจสอบภาพ
จำนวนภาพทีบ่ นั ทึก
สมดุลสีขาว ขนาดไฟล

ปรับแกสมดุลสีขาว

เมื่ อ ถ า ยภาพเป น จะแสดงข อ มู ล เฉพาะของไฟล


สำหรั บ ไฟล ภ าพยนตร สั ญ ลั ก ษณ ข องการถ า ยภาพยนตร รู ป แบบของไฟล
, ความละเอียดในการบันทึก และความเร็วของเฟรม
จะปรากฏแทนความไวชั ต เตอร แ ละช อ งรั บ แสง
สำหรั บ ภาพนิ่ ง ที่ ถ า ยในขณะที่ กำลั ง ถ า ยภาพยนตร จะมี สั ญ ลั ก ษณ ปรากฏอยู

เกี่ยวกับการเตือนพื้นที่สวางในภาพ
เมื่ อ ปรั บ ตั้ ง ให ก ล อ งแสดงข อ มู ล การถ า ยภาพ บริ เ วณที่ เ ป น ส ว นสว า งของภาพจะ
กระพริ บ ถ า พบว า มี พื้ น ที่ ส ว นสว า งซึ่ ง ไม มี ร ายละเอี ย ดมากจนเกิ น ไป ให ถ า ยภาพ
ใหมโดยตั้งระดับการชดเชยแสงไปทางคาลบ เพื่อใหภาพมีรายละเอียดมากขึ้น
áสดงขอมูลการถายภาพ

เกี่ยวกับ Histogram
histogram ที่แสดงผลความเขมสวาง(brightness) จะแสดงการกระจายตัวของความ
เขมสวางในภาพรวมและความตอเนื่องของการไลระดับ สวน histogram ที่แสดงผลแม
สี RGB จะใชสำหรับตรวจสอบความอิ่มตัวและการไลระดับของโทนสี ซึ่งผูใชสามารถ
สับเปลี่ยนการแสดงผล histogram สองแบบนี้ดวยการเลือกจาก
เมนู [ Histogram] ตัวอยาง Histogram

[Brightness] Display
histogram แบบนี้จะมีลักษณะเปนกราฟที่แสดงการกระจายของ ภาพมืดเกินไป
ระดั บ ความเข ม สว า งของภาพ ซึ่ ง โทนเข ม ที่ สุ ด จะอยู ท างซ า ยสุ ด
และโทนที่สวางที่สุดจะอยูทางขวาสุด โดยแกนตั้งจะเปนตัวแสดง
จำนวนพิกเซลของแตละโทน หากจำนวนพิกเซลมีปริมาณมากๆ ภาพปกติ
ทางดานซายของกราฟ ก็หมายถึงภาพนั้นจะมืดเกินไป และใน
ทำนองกลับกัน หากจำนวนพิกเซลมีปริมาณมากๆ ทางดานขวา
ของกราฟ ก็ ห มายถึ ง ภาพนั้ น จะสว า งเกิ น ไป และในกรณี ที่
จำนวนพิ ก เซลทางด า นขวาของกราฟมี ม ากๆ ภาพนั้ น ก็ อ าจ ภาพสวางเกินไป
จะสูญเสียรายละเอียดในสวนสวาง histogram แบบ [Brightness] จึงมีประโยชนใน
การตรวจสอบความเข ม สว า งของภาพว า จะเอนเอี ย งไปทางใด และยั ง ใช ต รวจสอบ
ภาพการกระจายของโทนดวย
[RGB] Display
คลายกับ [Brightness] แต [RGB] จะเปนกราฟที่แสดงการกระจายของระดับความเขม
สวางของแตละแมสี RGB(Red, Green, Blue) ซึ่งเปนแมสีหลักที่ประกอบรวมกันเปน
ภาพ ซึ่ ง แกนนอนของกราฟจะเป น เครื่ อ งบอกแสดงความเข ม สว า ง โดยโทนเข ม สุ ด
จะอยูทางซาย และออนที่สุดจะอยูทางขวา โดยแกนตั้งจะเปนตัวแสดงจำนวนพิกเซล
ของแตละโทน หากจำนวนพิกเซลทางดานซายมีจำนวนมากๆ สีนั้นจะดูคล้ำและไมสด
ใส และถ า จำนวนพิ ก เซลทางด า นขวามี จำนวนมากๆ สี นั้ น จะดู ส ว า งและอิ่ ม ตั ว มาก
ขึ้ น กรณี ที่ จำนวนพิ ก เซลทางด า นซ า ยของสี ใ ดสี ห นึ่ ง มี ม ากเกิ น ไป ภาพจะขาดสี นั้ น
และถ า จำนวนพิ ก เซลทางด า นขวาของสี ใ ดสี ห นึ่ ง มี ม ากเกิ น ไป สี นั้ น ก็ จ ะอิ่ ม ตั ว มาก
จนขาดรายละเอียด RGB histogram จึงใชตรวจสอบความอิ่มตัวและการไลระดับโทน
เขมออนของสีตางๆ และสมดุลสีขาวซึ่งมีผลตอความผิดเพี้ยนของสี
¡ÒþÔÁ¾ÀÒ¾
การพิมพ (น.176)
ผูใชสามารถตอเชื่อมกลองเขากับเครื่องพิมพโดยตรงเพื่อพิมพภาพที่อยูใน
การด กลองรนุ นีส้ นับสนุนการตอเชือ่ มระบบ “ PictBridge” ซึง่ เปน
มาตรฐานของ Direct Printing
Digital Printing Order Format (DPOF) (น.185)
DPOF (Digital Printing Order Format) จะเปนรูปแบบของชุดคำสัง่ ควบคุม
งานพิมพทชี่ ว ยในการพิมพภาพในการด เชน การเลือกภาพทีจ่ ะพิมพ ปรับ
ตัง้ คุณภาพงานพิมพ ฯลฯ ซึง่ ผใู ชสามารถพิมพภาพหลายๆ ภาพ ดวยการสัง่
งานครัง้ เดียว หรือใหรปู แบบคำสัง่ พิมพภาพ(Print Order) ไปยังผใู หบริการ
งานพิมพกไ็ ด
ตรียมการพิมพภาพ
การสัง่ พิมพภาพจากกลองโดยตรงนัน้ สามารถควบคุมผานตัวกลองไดทงั้ หมด โดยดูผลการ
ปรับตัง้ ควบคุมการพิมพจากจอ LCD ของกลอง

ตอเชือ่ มกลองกับเครือ่ งพิมพ


ปรับสวิตซเปด/ปดกลองไปที่
<OFF>

เตรียมเครือ่ งพิมพ
อานรายละเอียดในคมู อื ของเครือ่ งพิมพ

ตอเชือ่ มตัวกลองกับเครือ่ งพิมพ


ใชสายตอพวงทีไ่ ดมาพรอมกับกลอง
ในการเสียบสายตอพวงเขากับตัวกลองทีช่ อ งเสียบ
<A/V OUT /DIGITAL> สัญลักษณ < >
บนหัวเสียบจะตองหันมาทางดานหนาของกลอง

สำหรับการเสียบสายเขากับเครื่องพิมพ อานราย
ละเอียดในคมู อื ของเครือ่ งพิมพ
เปดเครือ่ งพิมพ
ปรับสวิตซเปด/ปดกลองไปที่ <ON>
เครือ่ งพิมพบางรนุ อาจจะมีเสียง “บีบ๊ ” เตือน
àตรียมการพิมพภาพ

เลนดูภาพ
กดปมุ เพือ่ แสดงภาพทีห่ นาจอ
ภาพจะปรากฏบนหนาจอ พรอมกับสัญลักษณ
ซึ่ ง จะอยู บ ริ เ วณมุ ม บนด า นซ า ยเพื่ อ
บงบอกวาขณะนีก้ ลองกับยังตออยกู บั เครือ่ งพิมพ

ไมสามารถสั่งพิมพไฟลภาพยนตรได
กลองรุนนี้ไมสามารถใชกับเครื่องพิมพที่สนับสนุนเฉพาะระบบ CP Direct และ Bubble Jet
Direct
ในการตอกลองกับคอมพิวเตอร หามใชสายอยางอื่นนอกจากสายที่ไดมาพรอมกับกลอง
ถามีเสียง “บีบ๊ ” เตือนในขัน้ ตอนที่ 5 เปนเสียงดังและยาว แสดงวาพบปญหาของเครือ่ งพิมพ ให
ตรวจหาความผิดพลาด โดยวิธกี ารดังนี้
1. กดปุม เพื่อเลนดูภาพในกลอง
2. กดปมุ
3. เมือ่ หนาจอแสดงรายการเกีย่ วกับการพิมพ เลือก [Print]
ขอความทีบ่ อกความผิดพลาดจะแสดงอยบู นจอ LCD ของกลอง (น.184)

ถากลองใชแบตเตอรีเปนแหลงพลังงาน ตรวจสอบวามันมีไฟอยเู ต็ม เพราะดวยแบตเตอรีทมี่ ไี ฟ


เต็ม กลองสามารถสัง่ พิมพงานไดนานติดตอกันถึง 4 ชัว่ โมง

กอนที่จะถอดสาย ใหปดสวิตซกลองและเครื่องพิมพเสียกอน การถอดนั้นใหใชนิ้วมือจับที่หัว


เสียบของสาย ไมใชทสี่ าย
สำหรับการสัง่ พิมพภาพโดยตรงจากกลองไปยังเครือ่ งพิมพ ควรใชอปุ กรณแปลงไฟ AC Adapter
Kit ACK-E8 (อุปกรณเสริมพิเศษ) สำหรับใหพลังงานกับตัวกลอง
 งพิมพ
การแสดงรายการบนหนาจอและรายการของตัวเลือกจะขึน้ อยกู บั เครือ่ งพิมพรนุ ทีใ่ ช ซึง่ อาจปรับ
เลือกบางรายการไมได สำหรับรายละเอียด อานคมู อื การใชเครือ่ งพิมพ

สัญลักษณแสดงการตอเชื่อมกับเครื่องพิมพ เลือกภาพทีต่ อ งการพิมพ


ตรวจสอบวา สัญลักษณ ไดปรากฏอยทู ี่
มุมบนดานซายแลว

ใชปมุ เพือ่ เลือกภาพทีจ่ ะพิมพ

กดปุม
หน า จอแสดงการปรั บ ตั้ ง เกี่ ย วกั บ การพิ ม พ จ ะ
ปรากฏขึ้น
หนาจอรายการปรับตัง้ เครือ่ งพิมพ ปรับตัง้ ผลพิเศษของการพิมพ (น.180)
ปดและเปดการพิมพวันที่หรือ
หมายเลขภาพลงบนภาพ
ตั้งจำนวนที่ตองการพิมพ
เลือกตัดสวนภาพ (น.183)
ตั้งขนาดกระดาษ ชนิด และการจัดวางตำแหนง
กลับสูขั้นตอนที่ 1
เริ่มการพิมพ
ขนาดกระดาษ ชนิดกระดาษ และการวางตำแหนงที่เลือกไว
* กลองอาจจะไมแสดงตัวเลือกสำหรับการตัง้ คาบางอยาง เชน การพิมพวนั ที่ ชือ่ ไฟล และการ
ตัดสวน โดยขึน้ อยกู บั เครือ่ งพิมพร นุ ทีใ่ ช

ตัง้ คุณสมบัตกิ ระดาษ [Paper settings]


เลือก [Paper setting] จากนัน้ กดปมุ
หนาจอจะแสดงรายการตัวเลือกปรับตัง้ กระดาษ
ÊÑงè พิมพ

ตั้งขนาดกระดาษ
ตัง้ ขนาดกระดาษตามทีใ่ สไวในเครือ่ งพิมพ จากนัน้
กดปมุ
หนาจอสำหรับเลือกชนิดกระดาษ(Paper type)
จะปรากฏขึ้น
ตัง้ ชนิดกระดาษ
เลือกชนิดกระดาษตามที่ใสไวในเครื่องพิมพ จาก
นัน้ กดปมุ
เมื่อใชเครื่องพิมพและกระดาษของแคนนอน ให
อานคูมือของเครื่องพิมพ ซึ่งจะระบุวาสามารถจะ
พิมพบนกระดาษชนิดใดไดบา ง
หนาจอสำหรับเลือกจัดวางตำแหนง(Page layout)
จะปรากฏขึ้น
ตั้งการจัดวางตำแหนง
เลือกการจัดวางตำแหนง แลวกดปมุ
หนาจอแสดงการปรับตัง้ เครือ่ งพิมพจะปรากฏขึน้

ภาพที่พิมพจะมีขอบขาวอยูโดยรอบ
ภาพจะถูกพิมพเต็มขนาดกระดาษโดยไมเหลือขอบขาว(ไรขอบ) แตถา เครือ่ งพิมพที่
ใชไมสามารถพิมพแบบไรขอบ ภาพที่พิมพไดก็จะมีขอบขาว
ขอมูลการถายภาพ* จะถูกพิมพลงบนขอบภาพ เมือ่ ใชกระดาษทีม่ ขี นาดตัง้ แต 9x13
ซม. ขึ้นไป
ตัวเลือกในการพิมพ 2, 4, 8, 9, 16 และ 20 ภาพลงบนกระดาษแผนเดียวกัน
สำหรับกระดาษขนาด A4 หรือกระดาษขนาดจดหมาย สามารถสัง่ พิมพภาพดัชนี 20
หรือ 35 ภาพลงในกระดาษแผนเดียว ดวยคำสัง่ ผาน DPOF (น.185 )
จะเปนคำสั่งพิมพที่พิมพขอมูลการถายภาพ* รวมอยูดวย
การจัดวางตำแหนงจะขึ้นอยูกับทั้งตัวเครื่องพิมพ และการปรับตั้งที่เลือกไว

* จาก Exif data(ขอมูลที่แนบมากับไฟลภาพ) ชื่อรุนของกลอง เลนสที่ใช ระบบบันทึกภาพ


ชัตเตอร ชองรับแสง ระดับการชดเชยแสง ความไวแสง สมดุลสีขาว ฯลฯ จะถูกพิมพดว ย
ÊÑงè พิมพ

ตัง้ ผลพิเศษของการพิมพ
ปรับตัง้ เมือ่ ตองการใช และถาไมตอ งการปรับตัง้ ให
มีผลพิเศษ ใหขา มไปยังขัน้ ตอนที่ 5
การแสดงผลบนจอภาพอาจมีความแตกตาง
กัน ขึน้ อยกู บั เครือ่ งพิมพทนี่ ำมาใช
เลือกตัวเลือกทีอ่ ยทู างดานขวา และกดปมุ
แลวเลือกผลพิเศษแบบทีต่ อ งการ และกดปมุ

เลือกผลพิเศษของการพิมพทตี่ อ งการ จากนัน้ กดปมุ

ถาสัญลักษณ ปรากฏใกลๆ กับสัญลักษณ


ผใู ชสามารถปรับตัง้ ผลพิเศษของการ
พิมพไดเชนกัน (น.182)
ผลพิเศษ ความหมาย
ภาพจะถูกพิมพดวยมาตรฐานสีของเครื่องพิมพ ขอมูลของภาพ(Exif Data)
จะถูกนำมาใชสำหรับการปรับแตงโดยอัตโนมัติ
ไมมกี ารปรับแตงหรือปรับแกสเี กิดขึน้ โดยอัตโนมัติ ภาพจะมีลกั ษณะเดิม
ภาพจะถูกพิมพใหมสี สี ด อิม่ ตัวมากขึน้ เนนความสดใสของสีน้ำเงินและสีเขียว
noise(สัญญาณรบกวน) ทีป่ รากฏในภาพจะถูกปรับใหลดลงไปกอนทีจ่ ะพิมพ
สัง่ พิมพภาพขาวดำ ใหเปนสีดำสนิท
สัง่ พิมพภาพขาวดำ ใหเปนสีดำอมน้ำเงินในโทนเย็น
สัง่ พิมพภาพขาวดำ ใหเปนสีดำอมเหลืองในโทนอนุ
พิมพภาพใหเหมือนจริง ทัง้ สีและคอนทราส โดยไมมกี ารปรับแตงสีอตั โนมัตกิ อ น
การพิมพ
ลักษณะของการพิมพจะเหมือนกับการปรับตัง้ แบบ Natural แตการปรับตัง้
แบบนีจ้ ะปรับตัง้ ไดละเอียดมากขึน้
ลักษณะของการพิมพจะขึ้นอยูกับทั้งตัวเครื่องพิมพ อานรายละเอียดจากคูมือ
ของเครื่องพิมพ
* หากผใู ชเปลีย่ นแปลงการปรับตัง้ ผลพิเศษของการพิมพ ผลการปรับตัง้ นัน้ จะปรากฏอยทู สี่ ว น
บนทางดานซายของจอ LCD และควรทราบวาภาพทีพ ่ มิ พอาจจะมีความแตกตางจากภาพทีเ่ ห็น
ในจอ LCD เล็กนอย ซึง่ ภาพทีแ่ สดงใหเห็นนัน้ เปนการแสดงลักษณะทีใ่ กลเคียงเทานัน้ ภาพที่
แสดงเปนตัวอยาง ก็จะปรากฏในกรณีทปี่ รับตัง้ [Brightness] และ [Adjust levels] ทีห่ นา 182 ดวย
ÊÑงè พิมพ

ปรับตั้งการพิมพวันที่และหมายเลขภาพ
ปรับตั้งเมื่อตองการเทานั้น
เลือก และกดปมุ
ปรับตัง้ ตามทีต่ อ งการ แลวกดปมุ

ตั้งปริมาณภาพที่ตองการพิมพ
ปรับตัง้ ปริมาณภาพทีต่ อ งการพิมพ
เลือก และกดปมุ
ตัง้ จำนวนทีต่ อ งการ แลวกดปมุ

เริ่มพิมพ
เลือก [Print] และกดปมุ

เมือ่ ตองการพิมพภาพอืน่ ๆ ดวยการปรับตัง้ แบบเดียวกันอยางงายๆ เพียงเลือกภาพทีต่ อ งการ


และกดปมุ ทีม่ ไี ฟสีน้ำเงินติดอยู แตการพิมพแบบนีจ้ ะตัง้ ปริมาณไดคราวละ 1 ภาพ
เทานัน้ และไมสามารถตัดขอบภาพ(trimming) ได รายละเอียดของการตัดขอบภาพ อานจาก
หนา 183
การปรับตัง้ เปน [Default] ในผลพิเศษของการพิมพ และตัวเลือกอืน่ ๆ เปนคามาตรฐานของ
เครือ่ งพิมพแตละรนุ ทีถ่ กู ปรับตัง้ มาโดยผผู ลิตเครือ่ งพิมพ ใหอา นจากคมู อื ของเครือ่ งพิมพนนั้ ๆ
วา [Default] ของมันหมายถึงอะไร
ชวงเวลาในการเริ่มตนพิมพจะแตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับขนาดของไฟล และคุณภาพในการ
บันทึก ผใู ชจงึ อาจตองคอยใหเครือ่ งพิมพเริม่ ทำงาน โดยใชเวลาสักครหู นึง่ หลังจากสัง่ พิมพแลว
เมือ่ มีการปรับแกความเอียงของภาพ (Tile correction) (น.183) อาจใชเวลาพิมพภาพนานกวา
ปกติ
เมือ่ ตองการยกเลิกการพิมพกดปมุ สัญลักษณ [Stop] จะปรากฏขึน้ จากนัน้ จึงกดปมุ
[OK] เพื่อหยุดการทำงาน
เมือ่ ผใู ชสงั่ [Clear all camera settings] (น.144) การปรับตัง้ เกีย่ วกับการพิมพทงั้ หมดจะกลับ
ไปเปนคาเริม่ ตน (คามาตรฐาน)
ÊÑงè พิมพ

ปรับแตงผลพิเศษของการพิมพ
จากขั้นตอนที่ 4 หนา 180 เมื่อเลือกปรับผลพิเศษ
ของการพิมพ(printing effect) สัญลักษณ
จะปรากฏขึน้ ติดกับ เมือ่ กดปมุ
ผูใชสามารถปรับแตงผลพิเศษของการพิมพได โดย
รายการที่ ป รั บ ได แ ละการแสดงผลจะขึ้ น อยู กั บ
รายการที่เลือกปรับแตงของขั้นตอนที่ 4

Brightness
สามารถปรับแตงความเขมสวาง(Brightness) ของภาพได
Adjust levels
เมื่อผูใชเลือก [Manual] ผูใชสามารถจะปรับการกระจายตัว
ของ histogram และปรับความเขมสวางและความเปรียบตาง
ของภาพ และดวยจอภาพทีแ่ สดงการปรับแตง Adjust levels
เมือ่ กดปมุ ผใู ชสามารถจะเปลีย่ นตำแหนงของ
และใชปมุ เพือ่ ปรับความเขมสวางของโทน
เขม(0 - 127) และปรับความเขมสวางของโทนสวาง(128 -
255) ไดอยางอิสระ

Brightener
เหมาะสำหรับใชกับภาพคนที่ถายยอนแสง ซึ่งทำใหใบหนามืดเกินไป เมื่อตั้งระบบนี้เปน
[On] ใบหนาของคนในภาพจะดูสวางขึ้นในภาพที่พิมพออกมา
Red-eye corr.
เหมาะสำหรับใชกับภาพคนที่ถายดวยแฟลช ซึ่งอาจทำใหเกิดตาแดง เมื่อตั้งระบบนี้เปน
[On] ตาของคนในภาพจะไมแดงเมือ่ พิมพภาพออกมา

สัญลักษณ [ Brightener ] และ [Red-eye corr.] จะไมปรากฏบนจอภาพ


เมือ่ เลือกรายการ [Detail set.] ผใู ชสามารถปรับตัง้ [Contrast] [Saturation] [Color
tone] และ [Color balance] และเมือ่ ตองการปรับ [Color balance] ใชปมุ ควบคุมแบบ
ทิศทาง ในการปรับ โดย B(Blue - สีน้ำเงิน) A(Amber - สีเหลืองอำพัน) M(Magenta -
สีมว งแดงเขม) และ G(Green - สีเขียว)
เมือ่ เลือก [Clear all] คาทีป่ รับตัง้ ไวทงั้ หมดจะกลับไปเปนแบบมาตรฐานของผผู ลิต
ÊÑงè พิมพ

การตัดสวนภาพ
ปรับแกความเอียง ผูใชสามารถตัดสวนภาพ และเลือกพิมพเฉพาะพื้นที่
ซึง่ ไมถกู ตัดออกไป เหมือนภาพไดถกู จัดองคประกอบ
ภาพใหม ใหตดั สวนของภาพใหเรียบรอยกอนสัง่
พิมพ และถามีการตัดสวนภาพไวกอน แลวจึงปรับ
ตัง้ สำหรับการพิมพ ก็อาจตองตัดสวนภาพใหมอกี ครัง้

จากหนาจอที่แสดงการปรับตั้งสำหรับการพิมพ เลือก [Trimming]


เลือกขนาดของกรอบตัดสวนภาพ ตำแหนง และอัตราสวน
เฉพาะพื้นที่ของภาพในกรอบจะถูกพิมพออกมา และสามารถปรับตั้งขนาดของกรอบ
ภาพทางแนวตัง้ และแนวนอนไดใน [Paper settings]
เปลีย่ นขนาดของกรอบตัดสวนภาพ
เมือ่ ผใู ชกดปมุ หรือ ขนาดของกรอบภาพจะเปลีย่ นไป ยิง่ กรอบมี
ขนาดเล็กลง ภาพทีพ่ มิ พออกมาจะเปนการพิมพดว ยอัตราขยายทีส่ งู ยิง่ ขึน้
การเลือ่ นกรอบตัดสวนภาพ
สามารถใชปมุ ควบคุมแบบทิศทาง ในการเลือ่ นกรอบตัดสวนไปยังบริเวณตางๆ
ของภาพ ทั้งทางแนวตั้งและแนวนอน เลื่อนกรอบตัดสวนนี้ไปในตำแหนงที่จะไดองค
ประกอบภาพทีผ่ ใู ชพอใจ
หมุนกรอบตัดสวนภาพ
ทุกๆ ครัง้ ทีก่ ดปมุ กรอบภาพจะถูกหมุนสลับกันระหวางแนวตัง้ และแนวนอน
การปรับตัง้ แบบนีช้ ว ยใหผใู ชสามารถพิมพภาพดวยองคประกอบภาพทีเ่ ปนแนวตัง้ จาก
ภาพที่ถายในแนวนอนได
ปรับแกความเอียงของภาพ
ดวยการหมุน ผใู ชสามารถปรับแกความเอียงของภาพได +/-10 องศา โดยปรับ
ไดละเอียดขัน้ ละ 0.5 องศา และเมือ่ มีการปรับแกความเอียงของภาพ ก็จะมีสญ ั ลักษณ
ปรากฏขึน้
กดปุม เพื่อออกจากการตัดสวนภาพ
จอภาพจะกลับไปสกู ารแสดงรายการปรับตัง้ สำหรับการพิมพ
ผูใชสามารถตรวจสอบพื้นที่ของภาพที่ถูกตัดสวนไดจากมุมบนดานซายของหนาจอที่
แสดงรายการปรับตัง้ สำหรับการพิมพ
ÊÑงè พิมพ

ภาพที่ถูกตัดสวนอาจจะไมไดพิมพออกมาตรงตามรูปแบบที่ผูใชตัดสวนไวก็ได โดยขึ้นอยูกับ
เครื่องพิมพที่ใช
ยิง่ ปรับใหกรอบตัดสวนภาพมีขนาดเล็กลงเทาใด ภาพทีพ่ มิ พออกมาก็จะดูหยาบมากขึน้ เนือ่ ง
จากผลของการขยายภาพในอัตราสวนสูงๆ
ขณะทีต่ ดั สวนภาพ ควรดูทจี่ อภาพของกลองตลอดเวลา ถาดูภาพจากจอโทรทัศน ตำแหนงและ
ขนาดของกรอบตัดสวนภาพอาจแสดงผลไดไมแมนยำมากนัก

จัดการกับความผิดพลาดของเครือ่ งพิมพ
เมือ่ ผใู ชจดั การแกปญ
 หาความผิดพลาดจากเครือ่ งพิมพ(ไมมหี มึก กระดาษหมด ฯลฯ) และสัง่
[Continue] เพือ่ ใหเครือ่ งทำงานอีกครัง้ แตเครือ่ งพิมพกย็ งั ไมทำงาน ใหลองกดปมุ บนเครือ่ ง
พิมพเพื่อสั่งใหเครื่องพิมพทำงานใหม สำหรับรายละเอียด อานจากคูมือของเครื่องพิมพ
ขอความเตือนความผิดพลาด
เมือ่ มีปญ
 หาเกิดขึน้ ในขณะทำการพิมพ จะมีขอ ความเตือนความผิดพลาดปรากฏขึน้ ทีจ่ อ LCD
ของกลอง ใหกดปุม เพื่อหยุดการพิมพ และหลังจากที่ไดแกปญหาแลว ใหสั่งการพิมพ
ใหมอกี ครัง้ สำหรับรายละเอียดในการแกปญ  หาเกีย่ วกับตัวเครือ่ งพิมพ อานจากคมู อื ของเครือ่ ง
ความผิดพลาดเกีย่ วกับกระดาษ
ตรวจสอบดูวาไดใสกระดาษในเครื่องพิมพอยางถูกตองเรียบรอยดีแลวหรือไม
ความผิดพลาดเกีย่ วกับหมึกพิมพ
ตรวจสอบระดับหมึกพิมพและถังบรรจุน้ำหมึก
ความผิดพลาดเกีย่ วกับตัวเครือ่ ง
ตรวจสอบความผิดพลาดอื่นๆ ของตัวเครื่อง นอกเหนือจากสวนของกระดาษและหมึกพิมพ
ความผิดพลาดเกีย่ วกับไฟลภาพ
ภาพทีเ่ ลือกนัน้ ไมสามารถสัง่ พิมพไดผา นระบบ PictBridge และไฟลภาพทีถ่ า ยดวยกลองตัว
อืน่ หรือภาพทีผ่ า นการปรับแตงในคอมพิวเตอรแลวจะไมสามารถพิมพได
Digital Print Order Format (DPOF)
ตั้งรูปแบบของการพิมพ วันที่ และหมายเลขลำดับภาพที่จะพิมพพรอมภาพ การปรับ
ตัง้ นีจ้ ะถูกนำไปใชกบั ไฟลภาพทุกๆ ไฟล (ไมสามารถปรับตัง้ แยกเฉพาะไฟลภาพในแต
ละไฟลได)
ปรับตัง้ ตัวเลือกในการพิมพ
เลือก [Print order]
ในแถบรายการของ [ ] เลือก [Print order]
จากนัน้ กดปมุ

เลือก [Set up]


เลือก [Set up] จากนัน้ กดปมุ

เลือกตัวเลือกทีต่ อ งการ
เลือก [Print type] [Date] [File No.]

เลือกจากตัวเลือกทีม่ อี ยใู นรายการ จากนัน้ กดปมุ


และเลือกตัวเลือกในรายการยอย
จากนัน้ กดปมุ
Print type (รูปแบบการพิมพ) Date (การพิมพวันที่ถาย) File No. (พิมพหมายเลขไฟลภาพ)
Standard พิมพภาพ 1 ภาพ ในกระดาษ 1 แผน
(แบบปกติ )
Index พิมพภาพดัชนีพรอมกันหลายๆ ภาพในกระดาษแผนเดียวกัน
รูปแบบ (ภาพดัชนี)
การพิมพ Both
(พิมพได
ทั้ ง สองแบบ)
พิมพไดทงั้ ภาพแบบปกติ และภาพดัชนี

วันที่ พิมพวนั ทีถ่ า ยภาพ ทับลงบนภาพ


หมายเลข พิมพหมายเลขลำดับของไฟล ทับลงบนภาพ
ไฟลภาพ

ออกจากการปรับตั้ง
กดปมุ
กลับไปแสดงรายการในหนา [Print order]
ลำดั บ ต อ ไป เลื อ ก [Sel.Image] หรื อ [All
Image] เพื่อสั่งการพิมพ

แมวา [Date] และ [File No.] จะถูกตัง้ เปน [On] แตเครือ่ งพิมพอาจจะไมพมิ พวนั ทีแ่ ละหมาย
เลขลำดับของไฟลภาพลงบนภาพก็ได ขึน้ อยกู บั การปรับตัง้ รูปแบบการพิมพและตัวเครือ่ งพิมพ
เมือ่ พิมพภาพดวย DPOF ผใู ชตอ งใชการดแผนเดียวกับทีไ่ ดตงั้ คำสัง่ งานพิมพแบบ DPOF เอา
ไว ระบบนีจ้ ะไมทำงานกับไฟลภาพทีถ่ า ยหลังจากการปรับตัง้ ไปแลว และไฟลภาพทีน่ ำเอามา
จากที่อื่น
เครื่องพิมพที่สนับสนุนระบบ DPOF บางรุน และผูใหบริการงานพิมพ(หรืออัดขยายภาพ)บาง
รายอาจไมสามารถพิมพภาพในลักษณะทีผ่ ใู ชกำหนดไว ถากรณีนเี้ กิดขึน้ กับเครือ่ งพิมพสว นตัว
ใหศกึ ษารายละเอียดจากคมู อื ของเครือ่ งพิมพ และตรวจสอบจากผใู หบริการงานพิมพเกีย่ วกับ
ความเขากันของระบบ
หามใสการดทีม่ กี ารปรับตัง้ คำสัง่ งานพิมพ(Print order) จากกลองตัวอืน่ หรือรนุ อืน่ เขาไปในตัว
กลองและพยายามปรับตั้งตัวเลือก เพราะมันอาจจะไมไดผล และขอมูลเกาอาจถูกลบหายไป
และเชนกัน คำสั่งงานพิมพอาจจะทำงานไมไดผลกับไฟลภาพบางชนิด

รูปแบบการพิมพและคำสัง่ งานจาก DPOF จะไมทำงานเมือ่ ใชกบั ไฟลแบบ RAW และภาพยนตร


เมือ่ สัง่ พิมพแบบดัชนี [Index] ทัง้ วันที่ [Date] และหมายเลขลำดับไฟลภาพ [File No.] จะไมสามารถ
ปรับใหเปน [On] ไดในเวลาเดียวกัน
สั่งงานพิมพแบบ DPOF
เลือกภาพอยางเจาะจง(Sel. Image)
เลือกภาพทีต่ อ งการพิมพทลี ะภาพ เมือ่ กดปมุ
หนาจอจะแสดงภาพพรอมกัน 3 ภาพ และเมือ่ ตองการกลับ
สกู ารแสดงภาพเดีย่ วตามปกติ ใหกดปมุ
หลังจากเลือกภาพไดจำนวนครบตามที่ตองการแลว ให
กดปมุ เพื่อเก็บบันทึกคำสั่งงานที่ปรับตั้งไวลง
ในการด
[Standard] [Both]
กดปมุ เพือ่ เลือกปริมาณภาพทีต่ อ งการพิมพ สำหรับ
ภาพทีก่ ำลังแสดงอยบู นหนาจอ

ปริมาณ(จำนวน)
[Index]
จำนวนภาพทั้งหมดที่ถูกเลือก กดปมุ เพือ่ ทำเครือ่ งหมาย ใหกบั ภาพที่
ตองการใหพมิ พในแบบดัชนี

เครื่องหมาย
สัญลักษณของการพิมพภาพดัชนี

เลือกภาพทัง้ หมด(All Image)


ถาเลือกคำสัง่ [Mark all on card] ภาพทุกๆ ภาพในการดจะถูกสัง่ พิมพภาพละ 1 ใบ และถา
เลือกคำสัง่ [Clear all on card] คำสัง่ พิมพภาพของภาพทัง้ หมดในการดก็จะถูกยกเลิก

ไฟลภาพทีเ่ ปน RAW จะไมถกู รวมอยใู นการพิมพดว ยในคำสัง่ พิมพ แมจะใชคำสัง่ เปน
“All image” ก็ตาม
เมือ่ ใชเครือ่ งพิมพทสี่ นับสนุนระบบ PictBridge ไมควรสัง่ พิมพภาพเกิน 400 ภาพไดในคราวเดียว
ถาสั่งพิมพเกินกวานี้ เครื่องพิมพอาจจะไมทำงาน
¾Ôมพจากกลองโดยตรงดวย DPOF
ดวยเครื่องพิมพที่สนับสนุนระบบ PictBridge ผูใช
สามารถสั่งพิมพภาพไดดวยวิธีการงายๆ ดวย DPOF

เตรียมการพิมพ
ดูหนา 176
รายละเอียดตามวิธกี าร “ตอเชือ่ มกลองกับเครือ่ งพิมพ” และทำตามจนถึงขัน้ ตอนที่ 5
ในแถบรายการของ [ ] เลือก [Print order]
เลือก [Print]
[Print] จะปรากฏอยบู นจอภาพก็ตอ เมือ่ มีการตอเชือ่ มกลองกับเครือ่ งพิมพแลว
และเครือ่ งพิมพสามารถทำงานได
เลือกกระดาษ [Paper settings] (น.178)
ปรับตัง้ “ผลพิเศษของการพิมพ” (น.180) ถาจำเปน
เลือก [OK]

กอนจะสั่งพิมพ ตรวจสอบใหมั่นใจวาเลือกขนาดกระดาษแลว
เครื่องพิมพบางรุนไมสามารถพิมพหมายเลขลำดับของไฟลภาพได
ถาตั้งใหพิมพแบบ [Bordered] วันที่จะถูกพิมพอยูในบริเวณขอบขาว(ขึ้นอยูกับเครื่องพิมพ)
ตัวเลขแสดงวันที่อาจจะดูเหมือนถูกพิมพบนพื้นสวาง หรือบนขอบขาว(ขึ้นอยูกับเครื่องพิมพ)

ใน [Adjust levels] ไมสามารถจะเลือกเปน [Manual] ได


ถามีการสัง่ หยุดพิมพ และตองการพิมพภาพทีย่ งั ไมไดพมิ พตอ ไป เลือก [Resume] แตเครือ่ ง
พิมพจะไมกลับมาทำงานอีกถาหากมีการหยุด และผใู ชไดทำสิง่ ตอไปนี้ :
• กอนทีจ่ ะสัง่ ใหทำงานตอ [Resume] ผใู ชไดปรับเปลีย่ นคำสัง่ งานพิมพ(Print order) หรือมี
การลบภาพใดๆ ทีถ่ กู สัง่ ใหพมิ พ
• กรณีทพี่ มิ พแบบดัชนี ไดมกี ารเปลีย่ นแปลงเกีย่ วกับกระดาษกอนทีจ่ ะสัง่ ใหทำงานตอ
• เมื่อความจุของการดเหลืออยูนอยมากในขณะที่เครื่องพิมพถูกสั่งใหหยุดทำงาน

หากมีปญ
 หาใดๆ เกิดขึน้ ในระหวางเครือ่ งพิมพทำงานอยู ดูรายละอียดหนา 184
»ÃѺ¡ÅŒÍ§
ãËŒ·Ó§Ò¹ã¹ÅѡɳзÕ赌ͧ¡ÒÃ
ผู ใ ช ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นลั ก ษณะการทำงานของกล อ งให มี
ลักษณะตามทีต่ อ งการ ดวยการปรับตัง้ ใน “Custom Functions”
ซึ่งการปรับตั้ง Custom Functions นี้จะปรับตั้งได และมีผลเมื่อ
เลือกใชระบบบันทึกภาพสรางสรรค(Creative Zone)

ระบบบันทึกภาพ
สรางสรรค
àขาสกู ารปรับ Custom Functions
เลือก [Custom Functions(C.Fn)]
ในแถบรายการของ [ ] เลือก [Custom
Functions (C.Fn)] จากนัน้ กดปมุ

เลือกหมายเลขของ Custom Functions


ใชปมุ เลือกหมายเลขของ Custom
Functions ทีต่ อ งการปรับตัง้ แลวกดปมุ

เลือกปรับตัง้ ตามทีต่ อ งการ


ใชปมุ เพือ่ เลือกหมายเลขของรายการ
ทีต่ อ งการ แลวกดปมุ
ทำตามขัน้ ตอนที่ 2 และ 3 อีก ถาตองการปรับ
Custom Functions รายการอืน่ ๆ
ดานลางสุดของจอภาพจะแสดงหมายเลขของ
Custom Functions และหมายเลขของตัวเลือก
ทีเ่ ลือกเอาไว

ออกจากการปรับตั้ง
กดปมุ
หนาจอจะแสดงรายการในขัน้ ตอนที่ 1

ยกเลิกการปรับเปลีย่ น C.Fn ทัง้ หมด


ในแถบรายการของ [ Clear settings] และเลือกเปน [Clear all Custom Func.(C.Fn)]
เพือ่ ยกเลิกการปรับเปลีย่ น Custom Functions ทีท่ ำไวทงั้ หมด (น.144)
àขาสูการปรับ Custom Functions

(การเปดรับแสง)

น.192

* ฟงกชนั่ C.Fn I -1 จะปรับเปลีย่ นไปเมือ่ ถายภาพยนตร


(การจัดการภาพ)
น.193

น.194

(ออโตโฟกัส/ระบบขับเคลือ่ น)
น.194
น.195

(การปรับควบคุม/อืน่ ๆ)
น.195
น.196

น.197

Custom Functions ซึ่งมีหมายเลขอยูบนพื้นสีเทา จะไมทำงานเมื่อถายภาพในขณะใชระบบ


Live View(ปรับตั้งไมได)
»รับตัง้ คาใน Custom Functions
Custom Functions ไดถกู แบงออกเปน 4 กลมุ ตามประเภทงาน
C.Fn I: Exposure(การเปดรับแสง), C.Fn II: Image(การจัดการภาพ), C.Fn III: Auto focus/
Drive(ออโตโฟกัส/ระบบขับเคลือ่ น), C.Fn IV: Operation/Others(การปรับควบคุม/อืน่ ๆ)

Exposure 
⌧  
⌫

ตัง้ เปน 1/2 สตอป เมือ่ ปรับความไวชัตเตอร ชองรับแสง ชดเชยแสง ถายภาพครอม ฯลฯ การตัง้
แบบนีจ้ ะเหมาะสำหรับผใู ชทตี่ อ งการปรับควบคุมคาแสงดวยความละเอียดต่ำกวาระดับขัน้ ละ
1/3 สตอป

กลองจะแสดงคาแสงที่จอ LCD และภายในชองเล็งภาพดังตัวอยางภาพที่แสดงอยูดานลาง

 ⌧


เพือ่ เลือกความไวแสง “H” ได (เทียบเทากับ ISO 12800)


       
  
กลองจะปรับตัง้ ความไวชัตเตอรสมั พันธแฟลชใหโดยอัตโนมัติ ในชวงระหวาง 1/200 วินาที - 30
วินาที เพือ่ ใหเหมาะสมกับความเขมสวางของแสงในบริเวณนัน้

เมื่อใชแฟลชกับระบบบันทึกภาพ aperture-priority AE (Av) กลองจะเลือกชัตเตอรในชวง


ระหวาง 1/250 -1/60 วินาที เพือ่ ปองกันไมใหชตั เตอรต่ำเกินไป เมือ่ ถายภาพดวยแฟลชในสภาพ
แสงนอย เพื่อปองกันภาพเบลออันเปนผลจากกลองสั่น อยางไรก็ตาม วัตถุจะไดรับแสงแฟลช
พอดี แตฉากหลังอาจจะเขมหรือมืดก็ได
(ตายตัว)
เมื่อใชระบบ <Av> (Aperture-priority AE) และใชแฟลชถายภาพดวย ความไวชัตเตอรจะถูก
ปรับใหเปน 1/200 วินาทีทุกๆ ครั้ง เพื่อปองกันภาพสั่นจากชัตเตอรที่ต่ำเกินไป(ฉากหลังของ
ภาพกลางคืนและภาพทีถ่ า ยในบริเวณทีม่ แี สงนอยๆ มักจะมืดเมือ่ เทียบกับการตัง้ เปน 1)
»รับตั้งคาใน Custom Functions

เมื่อเลือก 1 หรือ 2 จะไมสามารถใชแฟลช High-Speed Sync. ได เมื่อนำแฟลชภายนอกมาใช

Image 
 ⌧  
 

เมือ่ ถายภาพดวยชัตเตอรต่ำกวา 1 วินาทีหรือนานกวานัน้ ระบบลดสัญญาณรบกวน


(Noise Reduction) จะทำงานโดยอัตโนมัตเิ มือ่ กลองจับสัญญาณรบกวนในภาพได
การตัง้ เปน [Auto] เหมาะสำหรับการถายภาพเกือบทุกแบบ

เมือ่ ถายภาพดวยชัตเตอรต่ำกวา 1 วินาทีหรือนานกวานัน้ การตัง้ เปน [On] นัน้ จะไดผลดี


สำหรับการลดสัญญาณรบกวนทีก่ ลองตรวจจับไมพบเมือ่ ตัง้ ระบบเปน [Auto]

เมือ่ ปรับตัง้ เปน 1 หรือ 2 หลังจากกดชัตเตอรแลว กลองจะใชเวลาในการลดสัญญาณรบกวน


ในเวลาทีน่ านเทากับการเปดรับแสงของภาพนัน้ ๆ และผใู ชจะไมสามารถใชกลองถายภาพตอ
ไปไดจนกวากระบวนการลดสัญญาณรบกวนจะทำงานเสร็จสิน้
เมือ่ ถายภาพดวยความไวแสง ISO 1600 หรือสูงกวา และตัง้ เปน 2 สัญญาณรบกวนมักจะปรากฏ
ใหเห็นไดชดั กวาเมือ่ ตัง้ เปน 0 หรือ 1
เมื่อปรับตั้งเปน 2 และถายภาพดวยชัตเตอรต่ำมากรวมกับระบบ Live View จอ LCD จะแสดง
สัญลักษณ “BUSY” ในขณะที่ระบบลดสัญญาณรบกวนกำลังทำงาน และกลองจะไมแสดงภาพ
แบบ Live View จนกวาการลดสัญญาณรบกวนจะทำงานเสร็จสิ้น(ไมสามารถถายภาพใดๆ ได)

    


 
ลดสัญญาณรบกวนทีเ่ กิดขึน้ ในภาพ แมวา ระบบลดสัญญาณรบกวนจะทำงานกับทุกๆ ความไวแสง
แตจะเห็นผลการทำงานไดชัดกับภาพที่ถายดวยความไวแสงสูง และเมื่อถายดวยความไวแสงต่ำ
สัญญาณรบกวนทีป่ รากฏในบริเวณเงามืดของภาพก็จะลดลงดวย

เมือ่ ปรับตัง้ เปน 2 ความเร็วในการถายภาพตอเนือ่ งจะลดลงมาก


»รับตั้งคาใน Custom Functions

  


 ⌫

ฟงกชนั่ นีจ้ ะชวยปรับปรุงรายละเอียดในสวนสวางของภาพใหเพิม่ มากขึน้ โดยการขยายชวงของความ


เขมสวางใหกวางขึน้ ระหวางสีเทากลาง 18% กับสวนทีส่ วางของภาพ และปรับใหการไลโทนจากสีเทา
ไปยังสวนสวางเกิดความนมุ นวลมากขึน้
เมื่อเลือกตัวเลือก 1 [Disable] ระบบปรับความเขมสวางอัตโนมัตจิ ะทำงาน (น.103) และไมสา
มารถปรับเปลีย่ นได
เมือ่ เลือกตัวเลือก 1 สัญญาณรบกวนซึง่ เกิดขึน้ ในทีม่ ดื ของภาพจะมากกวาปกติเล็กนอย

เมือ่ เลือกตัวเลือก 1 ความไวแสง(ISO) ทีป่ รับตัง้ ไดจะอยใู นชวงระหวาง 200-6400 และมีสญ


ั ลักษณ
<D+> ปรากฏขึน้ ทีจ่ อ LCD และในชองเล็งภาพเมือ่ ปรับตัง้ ใหระบบนีท้ ำงาน

Autofocus/Drive 
  
แฟลชในตัวกลอง และแฟลชภายนอกที่นำมาติดตั้งจะยิงแสง 
ออกไปเพื่อชวยใหระบบออโตโฟกัสจับความชัดไดงายขึ้น


ไฟชวยหาโฟกัสจะไมทำงาน
⌫
เมือ่ นำแฟลชภายนอกจากระบบ EOS มาติดตัง้ มันจะสงแสงเพือ่ ชวยใหระบบออโตโฟกัส
คนหาความชัดไดงา ยขึน้ และเมือ่ ตัง้ เปน 2 แฟลชในตัวกลองก็จะไมสง แสงชวยหาความ
ชัดออกไป

แฟลชภายนอกจากระบบ EOS มีหลายรนุ แตมเี ฉพาะบางรนุ ทีม่ รี ะบบแสงชวยหาโฟกัส


ดวยแสงอินฟราเรด ซึ่งแฟลชที่มีแสงอินฟราเรดเทานั้นที่จะทำงานในฟงกชั่นนี้ได เมื่อ
เลือกตัวเลือกนี้ ก็จะปองกันไมใหแฟลชรนุ ทีใ่ ชแสงชวยหาโฟกัสดวยการยิงแสงแฟลชถีๆ่
ออกไป(เชนเดียวกับแฟลชในตัวกลอง) ยิงแสงชวยหาโฟกัสอัตโนมัติออกไป
ถาแฟลชภายนอกซึ่งเปนระบบ EOS ถูกตั้ง Custom Functions ในตัว [AF-assist beam
firing] ไดถกู ปรับตัง้ เปน [Disabled] แฟลชก็จะไมยิงแสงชวยหาโฟกัสออกไป ถึงแมวาจะตั้ง
C.Fn-7-0/2/3
»รับตั้งคาใน Custom Functions

 


ปองกันความสัน่ สะเทือนอันเกิดจากการยกขึน้ ลงของกระจกสะทอนภาพในขณะลัน่ ชัตเตอร


ซึง่ มีผลตอภาพถายทีถ่ า ยดวยเลนสซเู ปอรเทเลโฟโตและเลนสมาโคร ดูหนา 106 สำหรับราย
ละเอียดของการล็อคกระจกสะทอนภาพ

Operation/Others 
  
    

สะดวกสำหรับผูใชที่ตองการปุมสำหรับโฟกัสและวัดแสงที่แยกจากกัน กดปุม
เพื่อใหระบบออโตโฟกัสทำงาน และแตะปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งคางไว เพื่อล็อคคาแสง

เมื่อใชระบบออโตโฟกัสแบบ AI Servo AF ผูใชสามารถจะใชปุม เพื่อใหระบบ


ออโตโฟกัสหยุดทำงานชัว่ ขณะ ระบบนีอ้ อกแบบมาเพือ่ ปองกันไมใหการจับความชัดหลุด
ไปจากเปาหมายเมือ่ มีวตั ถุอนื่ ๆ เคลือ่ นเขามาอยรู ะหวางกลองกับวัตถุนนั้ สวนคาแสงที่
ใชถา ยภาพจะเปนคาแสงทีว่ ดั ไดในขณะทีก่ ดชัตเตอร

ระบบนีเ้ หมาะสำหรับใชถา ยภาพวัตถุทมี่ กี ารเคลือ่ นทีแ่ ละหยุดสลับกัน เมือ่ ใชระบบ AI


Servo AF ผใู ชสามารถกดปมุ เพือ่ หยุดการจับภาพของ AI Servo AF ได คาแสง
ทีใ่ ชถา ยภาพจะเปนคาแสงทีว่ ดั ไดในขณะทีก่ ดชัตเตอร ดังนัน้ ผใู ชจงึ สามารถรอจังหวะ
จนภาพคมชัดที่สุด และคาแสงก็จะเปนคาแสงในขณะที่ถายจริงๆ

เมือ่ ตัง้ เปน 1 หรือ 3 การแตะสวิตซของรีโมท (น.205) เพียงเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ จะไมมผี ลเกิดขึน้
»รับตั้งคาใน Custom Functions
⌫   
  
ผใู ชสามารถจะตัง้ ใหปมุ ทำหนาทีเ่ ปนปมุ สัง่ การทำงานของฟงกชนั่ ทีใ่ ชงานบอยๆ ได เพือ่
ใหเรียกใชงานไดเร็ว และทันทีทกี่ ลองพรอมสำหรับถายภาพ ก็เพียงกดปมุ

⌫⌦
กดปุม เพื่อแสดงระดับคุณภาพในการบันทึกภาพที่จอ LCD
กดปุม เพื่อเลือกระดับคุณภาพที่ตองการปรับตั้ง
จากนั้นกดปุม

เมื่อกดปุม หนาจอสำหรับปรับชดเชยแสงแฟลชจะปรากฏขึ้นเพื่อให
ผใู ชปรับไดทนั ที
 
มีลักษณะการทำงานที่เหมือนกับปุม

มีลักษณะการทำงานที่เหมือนกับปุม

มีลักษณะการทำงานที่เหมือนกับปุม
    
   
เมื่อเปดสวิตซกลอง จอ LCD จะแสดงขอมูลการถายภาพทันที (น.44)

เมื่อผูใชกดปุม เพื่อปดการแสดงผลของจอภาพและปดสวิตซ
ของกลองหลังจากนั้นเมื่อเปดกลองอีกครั้ง จอภาพก็จะยังคงดับอยู(ไม
แสดงผล) เพื่อชวยใหประหยัดพลังงาน สวนการแสดงเมนูและการเลน
ดูภาพก็จะยังคงแสดงผลไดเมือ่ ตองการ และถาผใู ชกดปมุ เพือ่
เปดการแสดงผลของจอภาพ และปดสวิตซของกลองหลังจากนั้น เมื่อ
เปดกลองอีกครั้ง ขอมูลการถายภาพก็จะแสดงผลอยูบนจอ LCD
»รับตั้งคาใน Custom Functions

   


 ⌫ 

ขอมูลสำหรับตรวจพิสูจนการเปนภาพตนฉบับหรือไม จะถูกแนบไปกับภาพโดยอัตโนมัติ และ


เมื่ อ มี ก ารแสดงข อ มู ล การถ า ยภาพของภาพที่ มี ข อ มู ล สำหรั บ พิ สู จ น ก ารเป น ภาพต น ฉบั บ
(น.173) ก็จะมีสัญลักษณ ปรากฏขึ้น
สำหรับการพิสูจนการเปนภาพตนฉบับนั้น ตองใช Original Data Security Kit(OSK-E3) ซึ่ง
เปนอุปกรณเสริมพิเศษ
ภาพที่ ถ า ยด ว ยกล อ งรุ น นี้ จะไม ส นั บ สนุ น คุ ณ สมบั ติ encryption/decryption ของ
Original Data Security Kit OSK-E3
µÑงé คาทีป่ รับตัง้ บอยใน My Menu
เพือ่ การเขาถึงการปรับตัง้ ทีร่ วดเร็ว ผใู ชสามารถเลือกเมนูและ Custom Functions ทีม่ กั จะปรับ
เปลีย่ นบอยๆ เพือ่ แยกออกมาอยางชัดเจน คนหาไดรวดเร็ว โดยบันทึกได 6 เมนู
เลือก [My Menu settings]
ในแถบรายการของ [ ] เลือก
[My Menu settings] จากนั้นกดปุม

เลือก [Register to My Menu]


เลือก [Register to My Menu]
จากนัน้ กดปมุ

บันทึกเมนูที่ตองการ
เลือกเมนูทตี่ อ งการ จากนัน้ กดปมุ
เมื่อขอความเพื่อยืนยันการเลือกปรากฏขึ้น และผู
ใชเลือก [OK] และกดปมุ เมนูนนั้ จะถูก
บันทึกไวใน My Menu
ทำตามขั้นตอนเดิมสำหรับเมนูอื่นๆ ซึ่งจะบันทึก
รายการไดไมเกิน 6 เมนู
หากตองการกลับไปยังหนาจอของขั้นตอนที่ 2
ใหกดปมุ

เกีย่ วกับการปรับตัง้ My Menu

ผใู ชสามารถสลับการเรียงลำดับของเมนูทถี่ กู บันทึกไวภายใน My Menu ได เลือก [Sort] และ


เลือกเมนูทตี่ อ งการเปลีย่ นลำดับ จากนัน้ กดปมุ และเมือ่ สัญลักษณ [ ]
ปรากฏขึน้ กดปมุ เพือ่ เลือ่ นรายการไปยังลำดับทีต่ อ งการ แลวกด

ใชสำหรับลบรายการทีน่ ำมาบันทึกไวใน My Menu โดย [Delete item/items] จะเปน


การลบทีละรายการ และ [Delete all items] จะลบรายการทั้งหมดพรอมกัน

เมือ่ เลือก [Enable] แถบ [ ] จะแสดงอยเู ปนลำดับแรกของหนาจอทีแ่ สดงเมนู


รับตั้งขอมูลลิขสิทธิ์
เมื่อผูใชตั้งขอมูลลิขสิทธิ์ภาพ กลองจะบันทึกขอมูลไปกับภาพในรูปแบบของขอมูล
Exif
เลือก [Copyright information]
ในแถบ [ ] เลือก [Copyright information]
จากนั้นกดปุม

เลือกรูปแบบที่ตองการ
กดปุม เพือ่ เลือก [Enter author’s
name] หรื อ [Enter copyright details]
จากนัน้ กด
หนาจอสำหรับปอนตัวอักษรจะปรากฏขึ้น
เลือก [Display copyright info.] เพื่อตรวจ
สอบขอมูลลิขสิทธิ์ภาพที่ตั้งไวในปจจุบัน
เลือก [Delete copyright information]
เพื่อลบขอมูลลิขสิทธิ์ภาพที่ตั้งไวในปจจุบัน

ปอนตัวอักษร
อางอิงจาก “วิธีปอนตัวอักษร” ในหนาถัดไป
เพื่อปอนขอมูลลิขสิทธิ์ภาพ
มีตัวอักษรและตัวเลข รวมทั้งสัญลักษณ 63
ตัว
ออกจากการปรับตั้ง
หลังจากปอนตัวอักษรจบครบตามตองการ
กดปมุ เพื่อออกจากการปรับตั้ง
»รับตั้งขอมูลลิขสิทธิ์

วิธีปอนตัวอักษร
เลือกพื้นที่ซึ่งตองการวางตัวอักษร
กดปุม เพือ่ เลือ่ นบริเวณทีต่ อ งการ
ปอนตัวอักษรระหวางดานบนและลาง

เลื่อนแถบกระพริบ
กดปุม เพือ่ เลือ่ นจุดทีส่ ามารถพิมพ

ปอนตัวอักษร
ในพืน้ ทีส่ ว นลาง กด ปรับเลือกขึ้น/ลง ซาย/ขวา เพื่อเลือกตัวอักษร
และกดปุม เพือ่ บันทึกตัวอักษร
ลบตัวอักษร
กดปุม เพื่อลบตัวอักษร
ออกจากการบันทึก
หลังจากบันทึกตัวอักษรจนครบถวนแลว กดปุม เพือ่ กลับไปทีห่ นาจอ
ทีป่ รากฏในขัน้ ตอนที่ 2
ยกเลิกการบันทึกตัวอักษร
เมื่อตองการยกเลิกการปอนตัวอักษร กดปุม เพือ่ กลับไปทีห่ นาจอ
ทีป่ รากฏในขัน้ ตอนที่ 2

ผูใชยังสามารถปอนตัวอักษรของขอมูลลิขสิทธิ์ภาพไดโดยใชซอฟทแวร EOS Utility


(ไดมาพรอมกับกลอง)
͌ҧÍÔ§
บทนีจ้ ะแสดงรายละเอียดและขอมูลในดานคุณสมบัตขิ องกลอง
ระบบอุปกรณเสริมพิเศษ ฯลฯ ทายบทจะมีดชั นีเรียงตามอักษร
เพื่อใหสะดวกในการคนหาไดอยางรวดเร็วจากเนื้อหาในคูมือ
ฉบับนี้
àมือ่ ออโตโฟกัสทำงานไมไดผล
ระบบออโตโฟกัสอาจทำงานไมไดผล (ไฟสัญญาณยืนยันความชัด กระพริบเตือน)
เมือ่ โฟกัสไปยังวัตถุทมี่ ลี กั ษณะนี:้
วัตถุที่ยากตอการโฟกัสดวยระบบอัตโนมัติ
วัตถุทมี่ คี วามเปรียบตางต่ำ
(ตัวอยางเชน: ทองฟาสีน้ำเงินเรียบ, กำแพงซึง่ เปนสีเรียบ ฯลฯ)
วัตถุที่อยูในภาพแสงนอย
มุมกลองที่ยอนแสง และวัตถุที่สะทอนแสงไดมากๆ
(ตัวอยางเชน: รถยนตทมี่ ผี วิ มันวาว ฯลฯ)
จุดโฟกัสที่ทาบอยูกับวัตถุที่อยูใกลและวัตถุที่อยูไกลในจุดเดียวกัน
(ตัวอยางเชน: ภาพสัตวทอี่ ยใู กลๆ ลูกกรง ฯลฯ)
วัตถุทมี่ พี นื้ ผิวเปนลวดลายแบบซ้ำซอน
(ตัวอยางเชน: กระจกที่มีรอยครูด, แปนพิมพของคอมพิวเตอร ฯลฯ)
เมือ่ พบสถานการณเชนนี้ ใหแกไขโดยทำตามคำแนะนำขอใดขอหนึง่ :
ใชระบบ One-Shot AF โฟกัสไปยังวัตถุอนื่ ทีอ่ ยใู นระยะหางจากกลองเทาๆ กับวัตถุทตี่ อ งการหาความชัด
และล็อคโฟกัสกอนที่จะจัดองคประกอบภาพตามที่ตองการ (น.48)
ปรับสวิตซเลือกระบบโฟกัสทีเ่ ลนสไปที่ <MF> และใชมอื หมุนปรับภาพใหชดั เอง

เมือ่ ใส Extender(อุปกรณเสริมพิเศษเพือ่ เพิม่ ความยาวโฟกัส) และทำใหชอ งรับแสงกวางสุด


ของเลนสแคบถึง f/5.6 หรือแคบกวา กลองจะไมสามารถหาความชัดดวยระบบออโตโฟกัสได
(ยกเวนแตจะใชระบบ Live mode / Live mode AF) ดูรายละเอียดของคูมือ
การใช Extender
หากกลองไมสามารถหาความชัดดวยระบบออโตโฟกัสแบบ Live mode / Live mode AF ได
อานหนา 117
ãชพลังงานจากปลัก๊ ไฟผนัง
เมื่อใช AC Adapter Kit ACK-E8 (อุปกรณเสริมพิเศษ) ผูใชสามารถจะใชพลังงาน
จากปลั๊กไฟเพื่อใชกับกลองได โดยไมตองกังวลวาแบตเตอรีในตัวกลองจะหมด

ตอสายไฟ
ตอสายไฟเขากับเครือ่ งแปลงไฟ(ACK-E8) มีขนั้ ตอน
ตามดังภาพทีแ่ สดง
เมือ่ เลิกใชกลองแลว ใหถอดสายไฟออกจากปลัก๊ ไฟ

ตอสายไฟเขากับ DC Coupler
ตอสายจากเครือ่ งแปลงไฟเขากับแบตเตอรีเทียม

สอดแบตเตอรีเทียมเขาไปในชองใส
เปดฝาปดชองใสแบตเตอรี และสอดแบตเตอรีเทียม
เขาในชองใส ดันจนสุดทางจนแบตเตอรีถกู ล็อค

ดันสายไฟกระแสงตรงลงในราง
เปดฝาปดรางสายไฟกระแสตรง ดันสายไฟลงในราง
ดังภาพทีแ่ สดง
ปดฝาปดชองใสแบตเตอรี

หามเสียบหรือถอดสายไฟใดๆ ในขณะทีส่ วิตซของกลองเปดอยู <ON>


¡ารถายภาพดวยรีโมท
รีโมทคอนโทรล RC-6 (อุปกรณเสริมพิเศษ)
ผูใชสามารถใชรีโมทคอนโทรลในการควบคุมการถายภาพแบบไรสาย โดยสามารถควบคุม
ไดหางจากตัวกลองไดถึง 5 เมตร/16.4 ฟุต ผูใชสามารถลั่นชัตเตอรเพื่อถายภาพไดทันที หรือ
เลือกหนวงเวลาถายภาพ 2 วินาที

ตัวรับสัญญาณจากรีโมท

ตั้งระบบหนวงเวลาถายภาพเปน (น.71)
เล็งรีโมทไปยังตัวรับสัญญาณที่อยูทางดานหนาของกลอง
แลวกดปุมสงสัญญาณ
กลองจะหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ
เมื่อหาโฟกัสไดแลว สัญญาณไฟของระบบหนวงเวลาถายภาพจะติดสวางขึ้น
และกลองจะถายภาพ

ในขณะถายภาพดวยรีโมท กลองอาจจะทำงานผิดพลาด เมื่อใชกลองในบริเวณที่มีแสง


ฟลูออเรสเซนตบางชนิด ดังนั้นควรตั้งกลองใหหางจากแหลงกำเนิดแสงประเภทนี้

สามารถใชรีโมทคอนโทรลรุน RC-1/RC-5 (อุปกรณเสริมพิเศษ) กับกลองรุนนี้ได


¡ารถายภาพดวยรีโมท

สายลัน่ ชัตเตอร RS-60E3 (อุปกรณเสริมพิเศษ)


สายลัน่ ชัตเตอรทมี่ คี วามยาว 60 ซม.(2 ฟุต) ซึง่ มีสวิตซ 2 จังหวะ ทัง้ แตะเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ พือ่ กระตนุ การ
โฟกัสและวัดแสงของกลอง และกดลงจนสุดเพื่อถายภาพ และล็อคได โดยมีชองเสียบทางดานขางของ
ตัวกลอง

ฝาปดชองเล็งภาพ(Eyepiece Cover)
เมือ่ ถายภาพโดยไมไดมองผานชองเล็งภาพ อาจมีแสงลอดเขาสภู ายในตัวกลองผานทางชองเล็งภาพได ซึง่
แสงที่ลอดผานไปนี้อาจทำใหการวัดแสงผิดพลาด หรือเกิดผลเสียตอภาพในดานอื่นๆ เพื่อปองกันปญหา
นี้ ใหใชฝาปดชองเล็งภาพ (น.23) ทีต่ ดิ มากับสายคลองคอ
ในขณะถายภาพดวยระบบ Live View และถายภาพยนตร ไมจำเปนตองใสฝาปดชอง
เล็งภาพ
ถอดยางรองชองเล็งภาพ
ถอดยางรองชองเล็งภาพดวยการดันขึน้ ไปทาง
ดานบน ดังภาพ

ติดตัง้ ฝาปดชองเล็งภาพ
เลือ่ นฝาปดชองเล็งภาพลงไปตามรอง โดยเลือ่ นลง
ทางดานลาง
áฟลชภายนอก
แฟลชสำหรับกลอง EOS โดยเฉพาะ, EX-series
ควบคุมงายๆ เพื่อใหแฟลชภายนอกทำงานเหมือนแฟลชในตัว
เมื่อติดตั้งแฟลชในอนุกรม EX(อุปกรณเสริม) เขากับกลองแลว กลองจะควบคุมแฟลชให
ทำงานแบบอัตโนมัติ เหมือนกับการนำเอาแฟลชที่มีพลังไฟมากขึ้นมาใชแทนที่แฟลชที่ติดตั้ง
มาในตั ว
สำหรับรายละเอียดของการใชแฟลช อานไดจากคูมือแฟลช และกลองรุนนี้เปนกลอง
Type-A ที่สามารถใชฟงกชั่นของแฟลชในอนุกรม EX ไดทุกๆ ระบบ

แฟลชชนิดติดตัง้ กับฐานเสียบ(Hotshoe) แฟลชสำหรับการถายภาพมาโคร(ติดตั้งที่เลนส)

สำหรับแฟลช EX-series รุนที่มีระบบการทำงานไมเขากับกลอง (น.147) เฉพาะฟงกชั่น


[Flash exp. comp] และ [E-TTL II meter.] เทานั้นที่ปรับตั้งไดใน [External flash
func. settings] และแฟลช EX-series บางรนุ สามารถปรับตัง้ [Shutter sync.] ได
เมื่อมีการปรับตั้งชดเชยแสงแฟลชที่แฟลชภายนอก สัญลักษณของระบบชดเชยแสง
แฟลชซึ่งปรากฏที่กลอง จะเปลี่ยนจาก ไปเปน
หากตั้งระบบแฟลชเปน TTL autoflash โดยตั้งใน Custom Function ของตัวแฟลช เมื่อ
ใชกับกลอง แฟลชจะยิงแสงที่ระดับเต็มกำลังไฟทุกๆ ครั้ง
áฟลชภายนอก

เมื่อใชแฟลชของ Canon ที่ไมใชแฟลช EX-series


เมือ่ ใชแฟลชในอนุกรม EZ/E/EG/ML/TL และปรับตัง้ เปน TTL หรือ A-TTL
แฟลชจะยิงแสงเต็มกำลังไฟเสมอ(โดยไมคำนวณกำลังไฟอัตโนมัต)ิ
ควรใชระบบบันทึกภาพ <M>(Manual) หรือ <Av>(Aperture-priority AE) เมื่อใชกลองกับ
แฟลชเหลานี้
เมือ่ ใชแฟลชรนุ ทีม่ รี ะบบควบคุมแฟลชแบบแมนนวล ใหปรับตัง้ ระบบแฟลชเปนแมนนวล(M)

เมื่อใชแฟลชที่ไมใชของแคนนอน
ความไวชัตเตอรสมั พันธแฟลช
กลองรนุ นีส้ ามารถทำงานไดกบั แฟลชภายนอกยีห่ อ อืน่ โดยมีระดับความไวชัตเตอร 1/200 วินาทีหรือต่ำ
กวา แตกอ นทีจ่ ะใชงานจริง ควรทดสอบการทำงานของแฟลชรวมกับกลองเสียกอนวามันสามารถทำงาน
สัมพันธกบั กลองไดอยางเหมาะสม

คำเตือนเมือ่ ถายภาพดวยระบบ Live View


แฟลชยีห่ อ อืน่ จะไมทำงานเมือ่ ถายภาพดวยระบบ Live View

เมื่อใชกลองกับแฟลช หรืออุปกรณเสริมของแฟลชที่เปนของยี่หออื่น กลองอาจจะทำงานผิด


ปกติ หรืออาจเกิดความเสียหายตอตัวอุปกรณได

หามใชแฟลชที่มีแรงดันไฟฟาสูงมากติดบน hot shoe กลอง และแฟลชอาจจะทำงานไมได


¡ารใชการด Eye-Fi
เมือ่ นำการด Eye-Fi ซึง่ มีจำหนายทัว่ ไปมาติดตัง้ กับกลอง ผใู ชสามารถถายโอนภาพทีถ่ า ยจาก
การดในตัวกลองไปสคู อมพิวเตอรไดโดยอัตโนมัติ หรืออัพโหลดไปยังผใู หบริการออนไลนผา น
ระบบ wireless LAN ซึง่ การถายโอนภาพเปนฟงกชนั่ หนึง่ ของการด Eye-Fi ซึง่ การติดตัง้ การใช
การด และการแกปญ  หาในการใชงาน ตลอดจนปญหาในการถายโอนภาพ อานรายละเอียดได
จากคมู อื การใชของผผู ลิตการด
กลองรนุ นีไ้ มรบั ประกันวาจะสนับสนุนฟงกชนั่ ของการด Eye-Fi (รวมทัง้ การถาย
โอนขอมูลแบบไรสาย) กรณีที่เกิดขอสงสัยในการใชการดชนิดนี้ กรุณาตรวจ
สอบกับผผู ลิตการด
และผูใชควรทราบดวยวา การใชการด Eye-Fi ในหลายๆ ประเทศและภูมิภาค
นัน้ จำเปนตองไดรบั การรับรอง หากไมผา นการรับรอง จะไมไดรบั อนุญาตใหใช
การด ซึง่ หากไมแนใจวาสามารถใชการดในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ได กรุณาตรวจสอบลวง
หนาเพือ่ รับทราบขอมูลจากผผู ลิต

ติดตั้งการด Eye-Fi (น.31)


เลือก [Eye-Fi settings]
ในแถบ เลือก [Eye-Fi settings]
จากนัน้ กดปมุ
เมนูนี้จะปรากฏใหเห็นก็ตอเมื่อนำการด
Eye-Fi ใสเขาไปในตัวกลอง

ปรับตั้งใหการสงสัญญาณทำงาน
กดปมุ เลือก [Eye-Fi trans.] เปน [Enable]
จากนัน้ กด
ถาตั้งเปน [Disable] การสงสัญญาณขอมูลโดย
อัตโนมัติจะไมเกิดขึ้น แมวาจะใสการดเขาไปแลว
ก็ตาม (สัญลักษณของระบบจะแสดงเปน )

แสดงขอมูลของการตอเชือ่ ม
เลือก [Connection info.] จากนัน้ กดปมุ
¡ารใชการด Eye-Fi

ตรวจสอบ [Access point SSID:]


ตรวจสอบหาจุดเชือ่ มตอ ทีแ่ สดงผลอยภู ายใน
[Access point SSID:]
ผใู ชสามารถตรวจสอบ MAC address และเวอรชนั่
firmware ของการด
กดปมุ สามครัง้ เพือ่ ออกจากเมนู

ถายภาพ
ขอมูล(ไฟล)ของภาพจะถูกถายโอนไป และ
สัญลักษณ จะเปลีย่ นจากสีเทา(ไมมกี าร
เชือ่ มตอ) ไปเปนสัญลักษณทางดานลาง
เมือ่ มีการถายโอนขอมูลภาพ สัญลักษณ
จะปรากฏขึน้ รวมกับการแสดงขอมูลรายละเอียด
(น.58)

(สีเทา) ไมมกี ารเชือ่ มตอ ไมมกี ารเชือ่ มตอกับจุดเชือ่ มตอสัญญาณ


(กระพริบ) กำลังเชือ่ มตอ กำลังเชือ่ มตอกับจุดเชือ่ มตอสัญญาณ
(แสดงอย)ู เชือ่ มตอไดแลว เชือ่ มตอกับจุดเชือ่ มตอสัญญาณไดแลว
กำลังถายโอน กำลังถายโอนขอมูลไปยังจุดเชือ่ มตอสัญญาณ

คำเตือน เมือ่ ใชการด Eye-Fi


หาก “ “ ปรากฏขึน้ หมายความวาเกิดความผิดพลาดในการรับขอมูลจากการด ใหปด กลอง
และเปดใหมอกี ครัง้
แมวา [Eye-Fi trans.] ไดตงั้ ไวเปน [Disable] การดก็จะยังคงสงสัญญาณออกมา ซึง่ ใน
โรงพยาบาล ทาอากาศยาน และในสถานทีห่ ลายๆ แหงซึง่ ไมอนุญาตใหใชเครือ่ งสงสัญญาณ
แบบไรสาย ควรถอดการด Eye-Fi ออกจากตัวกลอง
ถาไมสามารถถายโอนภาพได ใหตรวจสอบการดและการตั้งคาของคอมพิวเตอร อานราย
ละเอียดไดจากคูมือการใชของการด
ขึ้นอยูกับสภาพการตอเชื่อมของระบบ wireless LAN การถายโอนขอมูลภาพอาจจะนานขึ้น
หรืออาจถูกรบกวน
ตัวการดอาจมีความรอน ซึ่งเกิดจากการถายโอนขอมูล
กลองจะใชพลังงานจากแบตเตอรีมากขึ้น
ในระหวางการถายโอนขอมูลภาพ ระบบปดพลังงานของกลองโดยอัตโนมัติจะไมทำงาน
µารางแสดงฟงกชั่นที่ใชงานไดเมื่อใชระบบบันทึกภาพแบบตางๆ
ปรับตัง้ โดยอัตโนมัติ ผใู ชปรับตัง้ เอง ปรับตัง้ ไมได
ภาพยนตร
ระบบบันทึกภาพ
ระดับคุณภาพ ความ

ภาพนิ่ง
ไวแสง
Picture Style
ระบบสมดุลสีขาว

Auto Lighting Optimizer


ปรับแกความสลัวทีข่ อบภาพ
โดยอัตโนมัติ
ลดสัญญาณรบกวนเมือ่
เปดรับแสงนาน
µารางแสดงฟงกชนั่ ทีใ่ ชงานไดเมือ่ ใชระบบบันทึกภาพแบบตางๆ

ภาพยนตร
ระบบบันทึกภาพ
ระบบวัดแสง
การเปดรับแสง

ภาพนิ่ง
ระบบขับเคลือ่ น
แฟลชในตัว
ระบบสี

ถายภาพดวย Live View


สำหรับการถายภาพดวยระบบแมนนวลเทานัน้
อางอิงจากฟงกชนั่ “(2) ฉากหลังเบลอ/ชัด” หนา 56
อางอิงจากฟงกชนั่ “(3) ปรับตัง้ ความเขมสวางของภาพ” หนา 56
สำหรับการถายภาพดวยระบบเปดรับแสงอัตโนมัตเิ ทานัน้
ในเมนูของระบบถายภาพยนตร สามารถปรับตัง้ [Remote control] ได
¡ารปรับตั้งเมนู
(สีแดง) หน า
คุ ณ ภาพ
สัญญาณเสียงเตือน ทำงาน / ไมทำงาน
ลั่นชัตเตอร
โดยไมมกี ารด ทำงาน / ไมทำงาน
ระยะเวลา
แสดงภาพ ไมแสดง, 2 วินาที, 4 วินาที, 8 วินาที, แสดงคางไว
ปรับแกความสลัว ทำงาน / ไมทำงาน
ของขอบภาพ
ลด
ตาแดง ไมทำงาน / ทำงาน
การยิงแสงแฟลช / ปรับตั้งฟงกชั่นของแฟลชในตัว /
ปรับตั้งฟงกชั่นของแฟลชภายนอก / ปรับ C.Fn ของแฟลช
การควบคุมแฟลช ภายนอก / ยกเลิก C.Fn ของแฟลชภายนอก
(สีแดง) หน า
ชดเชยแสง/
ถายภาพครอม ปรับไดละเอียด 1/3 stop
ปรับความ
เขมสวางอัตโนมัติ
ระบบวัดแสง

ปรับตัง้ สมดุลสีขาว
ปรับตัง้ สมดุลสีขาวเอง
ปรับแกสมดุลสีขาว
ถายภาพครอมสมดุลสีขาว
ระบบสี

แถบ และ
จะไมปรากฏเมือ่ ถายภาพดวยระบบบันทึกภาพขัน้ พืน้ ฐาน
รายการของเมนูทจี่ างลง จะไมปรากฏเมือ่ ถายภาพดวยระบบบันทึกภาพขัน้ พืน้ ฐาน
¡ารปรับตัง้ เมนู
(สีแดง) หน า
ขอมูลของ
เม็ดฝนุ แนบขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุนเพื่อลบออกจากภาพ
ความไวแสง

(สีน้ำเงิน) หน า
ปองกันภาพ
ถูกลบ ลบภาพที่ถูกปองกัน
หมุนภาพ หมุนภาพแนวตัง้
ลบภาพ
คำสัง่ การพิมพภาพ ระบุและกำหนดคาของภาพที่ตองการพิมพ(DPOF)
เลื อ กภาพและตั้ ง เวลาเแสดงภาพและสั่ ง เล น ดู ภ าพโดย
อั ต โนมั ติ แ บบสไลด โ ชว ไ ด
(สีน้ำเงิน) หน า

กระโดดขาม ดวย
1 ภาพ / 10 ภาพ / 100 ภาพ / วันที/่ ภาพยนตร / ภาพนิง่
ไมทำงาน / ทำงาน
(สีเหลือง) หน า
30 วินาที / 1 นาที / 2 นาที / 4 นาที / 8 นาที / 15 นาที / ปด
ตัดพลังงานอัตโนมัติ
หมุนภาพอัตโนมัติ
ฟอรแมท จัดการเริม่ ตนใชการด และลบขอมูลตางๆ ในการด
เลขลำดับไฟล
ตอเนือ่ ง / เริม่ นับใหมอตั โนมัติ / ปรับใหเริม่ นับใหมเอง
ปดจอ LCD
ทำงาน / ไมทำงาน
โดยอัตโนมัติ
สีของจอภาพ เลือกสีพื้นหลังของจอภาพ
ปรับตัง้ ถายโอนขอมูล Eye-Fi : ไมทำงาน / ทำงาน
Eye-Fi การเชื่อมตอกับขอมูล
* แสดงรายการก็ตอ เมือ่ มีการติดตัง้ Eye-Fi Card
¡ารปรับตัง้ เมนู
(สีเหลือง) หน า
ความสวาง
ของจอ LCD ปรับตัง้ ได 7 ระดับ
วันที่ / เวลา ปรับตัง้ วันที่ (ป / เดือน / วัน) และเวลา (ชัว่ โมง / นาที / วินาที)
ภาษา เลือกภาษา
ระบบวิดโี อ
ทำความสะอาดอัตโนมัต:ิ ทำงาน / ไมทำงาน
ทำความสะอาดทันที
ทำความสะอาดเซนเซอร ทำความสะอาดดวยตนเอง
ถายภาพดวยระบบ Live View / แสดงเสนกริด / ระยะเวลา
ปรับตั้งฟงกชั่น ในการล็อคคาแสง / ระบบออโตโฟกัส
(สีเหลือง) หน า
ปรับตัง้ กลองใหทำงานในลักษณะทีต่ อ งการ
แสดงขอมูลลิขสิทธิ์ / บันทึกชือ่ เจาของภาพ / รายละเอียด
ขอมูลลิขสิทธิ์ ของลิขสิทธิ์ / ลบขอมูลเกีย่ วกับลิขสิทธิ์
ยกเลิกการปรับตัง้ ทัง้ หมด / ยกเลิกการปรับตัง้ Custom
ยกเลิกการปรับตั้ง Functions ทั้งหมด
เพือ่ อางอิงในการใชปรับปรุง Firmware
(สีเขียว) หน า
บันทึกเมนู ฟงกชั่นตางๆ และ Custom Finctions ที่ใชบอยๆ
การปรับตัง้ My Menu เพื่อเรียกใชไดทันที
¡ารปรับตัง้ เมนู

เมนูของระบบถายภาพยนตร
(สีแดง) หน า

ความละเอียดในการถายภาพยนตร
ระบบออโตโฟกัส
ระบบออโตโฟกัส
ขณะถายภาพยนตร ไมทำงาน / ทำงาน
ออโตโฟกัส/ล็อคคาแสง / ล็อคคาแสง/ออโตโฟกัส /
ออโตโฟกัส/ล็อคโฟกัส ไมล็อคคาแสง /
ชัตเตอร / ล็อคคาแสง วัดแสง/ออโตโฟกัส ไมล็อคคาแสง
รีโมท
คอนโทร ไมทำงาน / ทำงาน

(สีแดง) หน า
การเปด
รับแสง อัตโนมัติ / แมนนวล
การแสดงเสนกริด ปด
4 วินาที / 16 วินาที / 30 วินาที / 1 นาที / 10 นาที /
ระยะเวลาในการล็อคคาแสง 30 นาที
บันทึกเสียง เปด / ปด

รายละเอียดในสวนสวาง
ไมทำงาน / ทำงาน
แสดงก็ตอ เมือ่ ตัง้ [Movie exposure] เปน [Manual]

แถบรายการ Movie 1 และ Movie 2 จะแสดงก็ตอเมื่อปรับตั้งกลองใหทำงานใน


ระบบถายภาพยนตร
จะไมแสดงรายการในแถบรายการ Shooting 3 และ Ser-up 3 และ My
Menu จะไมปรากฏขึน้ เมือ่ ใชกลองในระบบถายภาพยนตร
ในแถบรายการ Shooting 3 ตัวเลือก [Expo. comp. / AEB] จะแสดงเปน
[Exposure comp.]
รายการตางๆ เหลานีจ้ ะไมปรากฏขึน้
Red-eye Reduction; Flash control
Metering mode, WB Shift/BKT, Color space
LCD auto off, Screen color
Sensor cleaning, Live View function settings
áผนผังของระบบอุปกรณ
áผนผังของระบบอุปกรณ
àมื่อประสบปญหาในการใชกลอง
เมือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง ใหคน หาขอมูลเพือ่ แกไขปญหาจากเนือ้ หาใน
สวนนีก้ อ น แตถา ไมพบวิธแี กปญ
 หา ใหตดิ ตอผขู าย หรือศูนยบริการของ
แคนนอนทีอ่ ยใู กลทสี่ ดุ
⌫⌫
ไมสามารถประจุไฟดวยเครื่องประจุไฟที่ไดมาพรอมกับตัวกลองได
หามใชเครือ่ งประจุไฟนี้ ประจุไฟแบตเตอรีอนื่ ๆ นอกเสียจากแบตเตอรีแพ็ครนุ LP-E8 ของ
แคนนอนเทานั้น

กลองไมทำงาน แมวาสวิตซจะถูกปรับไปที่ <ON> แลว


ใสแบตเตอรีไมถกู ตอง (น.26)
แบตเตอรีหมด ประจุไฟแบตเตอรีใหม (น.24)
ตรวจสอบฝาปดชองใสแบตเตอรีวา ปดแนนสนิทดีแลว (น.26)
ตรวจสอบฝาปดชองใสการดวาปดแนนสนิทดีแลว (น.31)
ลองกดปมุ (น.44)

ไฟสัญญาณของเครื่องประจุไฟกระพริบ
เมือ่ เกิดปญหากับเครือ่ งประจุไฟแบตเตอรี วงจรปองกันจะหยุดการประจุไฟ และไฟของ
เครือ่ งประจุไฟจะกระพริบเปนแสงสีสม ในกรณีนี้ ใหถอดสายไฟของเครือ่ งประจุไฟออกจาก
ปลัก๊ ไฟ และนำแบตเตอรีออกจากเครือ่ งประจุไฟ จากนัน้ ลองติดตัง้ แบตเตอรีเขากับเครือ่ ง
ประจุไฟอีกครัง้ รอสักครหู นึง่ แลวจึงเสียบสายไฟของเครือ่ งประจุไฟเขากับปลัก๊ ไฟอีกครัง้

ไฟสั ญ ญาณบอกสถานะของการ ด กระพริ บ ตลอดเวลาแม จ ะป ด สวิ ต ซ


ของกลองแลว <OFF>
เมือ่ ปดสวิตซของกลองในขณะทีก่ ลองกำลังบันทึกขอมูลของไฟลภาพลงในการด ไฟบอก
สถานะของการดจะติดหรือกระพริบอยสู กั ครหู นึง่ หลังจากภาพนัน้ ถูกบันทึกลงในการด
เรียบรอยแลว ไฟจะดับลง และกลองจะหยุดการทำงานเอง
àมือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง

แบตเตอรีหมดเร็วมาก
ใชแบตเตอรีทเี่ พิง่ ประจุไฟใหม (น.24)
ประสิทธิภาพในการเก็บพลังงานของแบตเตอรีชนิดประจุไฟใหมไดจะเสือ่ มลงตามลำดับ
หลังจากผานการใชงานมานาน ควรซือ้ แบตเตอรีกอ นใหม
หากใชกลองถายภาพดวยระบบ Live View หรือถายภาพยนตรมาเปนเวลานาน
(น.107, 123) จำนานภาพทีถ่ า ยไดจะลดลง

กลองหยุดการทำงานไปเอง
ระบบหยุดการทำงานของกลองจะทำงานเมือ่ ไมไดใชกลองครบตามเวลาทีถ่ กู กำหนด ให
ปรับ [ Auto power off] เปน [Off] หากไมตองการใหกลองปดเอง
ถึงแมวา [ Auto power off] จะถูกตัง้ ใหเปน [Off] จอภาพของกลองจะดับลงเมือ่
ไมไดใชกลองเปนเวลานานติดตอกัน 30 นาที กดปมุ เมือ่ ตองการใหจอภาพ
LCD กลับมาทำงานอีกครัง้

⌫⌫
ถายภาพหรือบันทึกภาพลงในการดไมได
ใสการดไมถกู ตอง (น.31)
ถาการดเต็ม ใหเปลีย่ นการดใหม หรือลบภาพทีไ่ มจำเปนทิง้ ไปเพือ่ ใหการดมีทวี่ า งมาก
ขึน้ (น. 31, 171)
เมือ่ ใชระบบ One-Shot AF และสัญญาณยืนยันความชัดในชองเล็งภาพกระพริบเตือน
< > จะไมสามารถถายภาพได ใหแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ เพือ่ โฟกัสอีกครัง้ หรือ
เปลีย่ นไปใชวธิ ปี รับภาพใหชดั ดวยตนเอง(Manual) (น.37, 69)
เลือ่ นสวิตซปอ งกันการบันทึกและลบขอมูลของการดใหอยใู นตำแหนงทีบ่ นั ทึกได (น.31)
ภาพไมชัด
ปรับสวิตซทกี่ ระบอกเลนสไปที่ <AF> (น.33)
เพือ่ ปองกันภาพสัน่ พยายามกดชัตเตอรอยางนมุ นวล (น.36, 37)
หากเลนสทใี่ ชมรี ะบบ Image Stabilizer ใหปรับสวิตซ IS ทีเ่ ลนสไปที่
àมือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง

การดใชไมได
ถามีขอ ความเตือนเกีย่ วกับความผิดพลาดของการด ดูหนา 42 และ 224

ขณะถายภาพตอเนื่อง จำนวนภาพสูงสุดที่ถายไดมีปริมาณลดลง
เมนูใน [ Custom Functions(C.Fn)] [High ISO speed noise reduction] โดย
ปรับตั้งตัวเลือกตัวใดตัวหนึ่งดังนี้ [Standard], [Low] หรือ [Disable] ซึ่ ง ถ า ตั้ ง เป น
[Strong] จำนวนภาพที่ถายตอเนื่องสูงสุดจะลดลง (น.193)

เมื่อถายภาพวัตถุที่มีรายละเอียดสูงมาก (เชน ทุงหญา ฯลฯ) ขนาดของไฟลจะใหญ


ขึ้ น และจำนวนภาพถ า ยต อ เนื่ อ งจะน อ ยกว า ปริ ม าณที่ แ สดงไว ใ นหน า 72

ตัง้ ISO 100 ไมได


ในแถบ [ Custom Functions(C.Fn)] ในเมนู [Highlight tone priority] ซึ่ ง ถ า
ได ตั้ ง เป น [Enable] จะตั้ง ISO 100 ไมได และถาตั้งเปน [Disable] จะสามารถตั้ง
ISO 100 ได (น.194) และเชนเดียวกันเมื่อใชกลองในระบบถายภาพยนตร (น.134)

ตัง้ ระบบ Auto Lighting Optimizer ไมได


ในแถบ [ Custom Functions(C.Fn)] ในเมนู [Highlight tone priority] ซึ่ ง ถ า
ได ตั้ ง เป น [Enable] จะไมสามารถปรับตั้งใหระบบ Auto Lighting Optimizer
ทำงานได แตถา [Highlight tone priority] ไดถูกตั้งเปน [Disable] จะสามารถปรับ
ตั้งใหระบบ Auto Lighting Optimizer ทำงานได (น.194) และเชนเดียวกันเมื่อใช
กลองในระบบถายภาพยนตร (น.134)
เมื่อใชระบบบันทึกภาพ <Av> และใชแฟลช พบวา ความไวชัตเตอร
มีระดับต่ำลง
เมื่ อ ถ า ยภาพตอนกลางคื น เมื่ อ ฉากหลั ง มื ด เข ม ความไวชั ต เตอร จ ะลดต่ำ ลงโดย
อัตโนมัติ(ถายภาพดวยระบบแฟลชสัมพันธความไวชัตเตอรต่ำ) เพื่อใหจุดเดนและ
ฉากหลังไดรับแสงอยางพอเหมาะ หากไมตองการใชแฟลชสัมพันธความไวชัตเตอร
ต่ำ ให ป รั บ ตั้ ง ในแถบ [ Custom Functions(C.Fn)] [Flash sync. speed in
Av mode] เปน 1 หรือ 2 (น.192)
àมือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง

แฟลชในตัวไมทำงาน
ถาใชแฟลชในตัวถายภาพตอเนือ่ งอยางรวดเร็วเกินไปและไมพกั แฟลชจะหยุดทำงาน
เพือ่ ปองกันความเสียหายของตัวเอง
กลองมีเสียงดังเมื่อสั่นหรือถูกเขยา
กลไกของแฟลชในตัวกลองมีการขยับเล็กนอย ซึง่ ไมถอื เปนความผิดปกติ

ไดยนิ เสียงชัตเตอรดงั สองครัง้ เมือ่ ใชระบบ Live View


ถาใชแฟลช กลองจะมีเสียงชัตเตอรดังสองครั้งเมื่อถายภาพดวย Live View (น.109)

ระบบถายภาพยนตรหยุดทำงานเอง
ถาความเร็วในการบันทึกขอมูลลงในการดต่ำเกินไป ระบบถายภาพยนตรจะหยุด
ทำงานโดยอั ต โนมั ติ ควรนำการ ด SD ที่ มี ค วามเร็ ว ในมาตรฐาน
หรือเร็วกวา หากตองการตรวจสอบขอมูลเรื่องความเร็วของการด ใหตรวจสอบจาก
เวบไซตของผูผลิตการด
หากไฟลภาพยนตรที่ถายมีขนาดถึง 4GB หรือครบ 29 นาที 59 วินาที ตอเนื่องกัน
ระบบถายภาพยนตรจะหยุดทำงานโดยอัตโนมัติ

เมื่อเลนดูภาพยนตร แลวไดยนิ เสียงการทำงานของกลอง


เมื่ อ ผู ใ ช ห มุ น วงแหวนหรื อ ปรั บ ควบคุ ม เลนส ใ นขณะถ า ยภาพยนตร เสี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น
จากการปรับควบคุมจะถูกบันทึกลงไปในภาพยนตรดวย หากไมตองการเสียงนี้ ให
ใชไมโครโฟนภายนอก (มีจำหนายทั่วไป) (น.135)
àมือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง

⌫⌫
ภาพบนจอ LCD ดูไมสดใสเทาทีค่ วร
อาจมีฝนุ ติดทีจ่ อ LCD ใหเช็ดออกดวยผาเช็ดเลนสหรือผานมุ
ทีอ่ ณ
ุ หภูมสิ งู มากหรือต่ำมาก การแสดงผลของจอ LCD จะชาลงหรืออาจจะดูมดื คล้ำ
การแสดงผลจะกลับเปนปกติเมือ่ ใชงานในอุณหภูมหิ อ ง

หนาจอของเมนูแสดงแถบและตัวเลือกนอยลง
เมื่อใชระบบบันทึกภาพอัตโนมัติสมบูรณแบบ บางแถบรายการและตัวเลือกจะถูก
ตัดไป ใหเปลี่ยนไปเปนระบบบันทึกภาพสรางสรรค (น.40)

ลบภาพไมได
ถาภาพไดถกู ปองกันการลบ จะลบภาพนัน้ ไมได (น.170)

ชื่อของไฟลมีตัวอักษรตัวแรกสุด เปน “_”(“_MG_”)


ถาปรับระบบสีเปน Adobe RGB ตัวอักษรตัวแรกของชื่อไฟลจะนำหนาดวย “_” ถา
ไมตองการ ใหปรับระบบสีเปน sRGB (น.96)

เลขลำดับไฟลไมไดเริ่มจาก “0001”
เมื่ อ นำเอาการ ด ที่ มี ภ าพอยู แ ล ว มาใส เ ข า ในตั ว กล อ ง การลำดั บ ไฟล จ ะเริ่ ม จาก
หมายเลขภาพหลั ง สุ ด ที่ อ ยู ใ นการ ด แผ น นั้ น (น.140)
àมือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง

กลองแสดงวันที่และเวลาที่บันทึกภาพไมถูกตอง
เกิดจากการไมไดตั้งวันที่และเวลาใหถูกตอง (น.29)

ไมมีภาพปรากฏบนจอโทรทัศน
ตรวจสอบการเชื่อมตอสาย AV หรือ HDMI วาไดใสอยางดีแลวหรือไม (น.167,169)

ปรั บ ตั้ ง รู ป แบบของวิ ดี โ อให ถู ก ต อ ง (NTSC/PAL) ให ต รงกั บ รู ป แบบของโทรทั ศ น


(น.214)
ใชสาย AV ที่ไดมาพรอมกับตัวกลอง (น.169)

เครื่องอานการดตรวจไมพบแผนการด
ขึ้นอยูกับ เครื่ องอา นการ ด และระบบปฏิ บัติ การของคอมพิ วเตอร ที่ ใ ช ซึ่ งการ ดชนิ ด
SDXC นั้น เครื่องอานหรือระบบปฏิบัติการบางรุนอาจตรวจไมพบก็ได ในกรณีนี้
ให ใ ช ส ายเชื่ อ มต อ จากกล อ งเพื่ อ ถ า ยโอนภาพจากกล อ งไปสู ค อมพิ ว เตอร ด ว ย
ซอฟทแวร EOS Utility ซึ่งไดมาพรอมกับกลอง
เมนู [Eye-Fi Settings] ไมปรากฏขึ้น
เมนู [Eye-Fi Settings] จะปรากฏก็ตอเมื่อนำการด Eye-Fi ติดตั้งในตัวกลอง และ
หากการดมีแถบปองกันการบันทึก ผูใชจะไมสามารถตรวจสอบขอมูลการตอเชื่อม
ของการ ด ได หรื อ สั่ ง ยุ ติ ก ารถ า ยโอนข อ มู ล ของการ ด เมื่ อ แถบล็ อ คการบั น ทึ ก อยู ใ น
ตำแหนงล็อค

⌫

มีตัวเลือกผลพิเศษสำหรับการพิมพนอยกวาที่ระบุไวในคูมือ
การแสดงตัวเลือกในการพิมพที่จอของกลองอาจจะแตกตางกันโดยขึ้นอยูกับรุนของ
เครื่องพิมพ โดยจัดแสดงไวในรายการผลพิเศษในการพิมพ (น.180)
Ãหัสแสดงความผิดพลาด
รหัสความผิดพลาด
เมื่อเกิดปญหากับการทำงานของกลอง จะมีขอความ
แสดงความผิ ด พลาดเตื อ นที่ ห น า จอ ให ทำตาม
คำแนะนำที่ ห น า จอ

รายละเอียด
หมายเลข ขอความเตือน และการแกไขปญหา
การเชื่อมตอสัญญาณระหวางกันของกลองกับเลนสเกิดความผิดพลาด
ใหทำความสะอาดจุดสัมผัสของเลนส
ทำความสะอาดจุ ด สั ม ผั ส อี เ ลคทรอนิ ค ส ที่ ก ล อ งและเลนส และควรใช เ ลนส
ของ Canon เทานั้น (น.13, 16)
กลองไมสามารถตรวจพบการด หรือขอมูลในการด ใหสอดการดอีกครั้ง
เปลี่ยน หรือฟอรแมทการดนั้นดวยกลอง
ถอดการ ด ออกแล ว ใส ใ หม หรื อ นำการ ด แผ น อื่ น มาใช หรื อ ฟอร แ มทการ ด
(น.31, 42)
ไมสามารถบันทึกภาพไดเพราะการดเต็ม เปลี่ยนการดแผนใหม
เปลี่ ย นการ ด ใหม ลบภาพที่ ไ ม จำเป น หรื อ ฟอร แ มทการ ด
(น.31, 171, 42)
แฟลชในตัวกลองไมยกตัวขึ้นทำงาน ใหปดสวิตซของกลองแลวเปดใหม

ปรับสวิตซปดและเปดกลอง (น.27)
ไมสามารถสั่งทำความสะอาดเซนเซอรได ปดสวิตซกลองและเปดใหม
ปรับสวิตซปดและเปดกลอง (น.27)
ไมสามารถถายภาพไดเพราะเกิดความผิดพลาด ใหปดสวิตซกลองและ
เปดใหม หรือถอดแลวใสแบตเตอรีใหม
ปรั บ สวิ ต ซ ป ด และเป ด กล อ ง หรื อ ลองถอดแบตเตอรี อ อกจากกล อ งแล ว ใส เ ข า ใหม
หรื อ นำเลนส ข อง Canon มาใช (กรณี ที่ ไ ม ไ ด ใ ช เ ลนส Canon) (น.27, 26)
หากกล อ งยั ง แสดงรหั ส บอกความผิ ด พลาดอยู ให จ ดหมายเลขบอกความผิ ด พลาดที่ ก ล อ ง
แสดง และติ ด ต อ สอบถามที่ ศู น ย บ ริ ก ารของ Canon ที่ ใ กล ที่ สุ ด
Ãายละเอียดของกลอง
• ชนิด
ชนิดของกลอง: Digital, single-lens reflex, มีระบบวัดแสงและ
โฟกัสอัตโนมัติ และมีแฟลชในตัว
สือ่ บันทึกภาพ: SD Card, SDHC Card, SDXC Card
ขนาดเซนเซอร: 22.3 มม. x 14.9 มม.
เลนสที่ใชได: Canon EF และ EF-S lenses
(ความยาวโฟกัสเทียบเทากับระบบ 35mm โดยประมาณ
คูณดวย 1.6 เทาของความยาวโฟกัสทีร่ ะบุ)
เมาท: Canon EF

• เซนเซอรรับแสง
ชนิด: CMOS sensor
พิกเซลทีใ่ ชงานจริง: ประมาณ 18.00 ลานพิกเซล
อัตราสวนของดาน: 3:2
ระบบกำจัดฝนุ : กำจัดฝนุ อัตโนมัต,ิ สัง่ ทำความสะอาดเอง,
แนบขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุนไปกับภาพที่ถาย

• ระบบบันทึกขอมูลภาพ
รูปแบบของการบันทึก: Design rule for Camera File System 2.0
ชนิดของไฟลภาพ: JPEG, RAW (14-bit Canon original),
RAW+JPEG บันทึกไฟลทงั้ สองชนิดไดในเวลาเดียวกัน
ความละเอียดในการบันทึก: Large : ประมาณ 17.90 ลานพิกเซล (5184 x 3456)
Medium : ประมาณ 8.00 ลานพิกเซล (3456 x 2304)
Small : ประมาณ 4.50 ลานพิกเซล (2592 x 1728)
RAW : ประมาณ 17.90 ลานพิกเซล (5184 x 3456))

• ระบบประมวลผลภาพ
Picture Style: Standard, Portrait, Landscape, Neutral, Faithful,
Monochrome, User Def. 1 - 3
สมดุลสีขาว(WB): Auto, Preset (Daylight, Shade, Cloudy, Tungsten light,
White fluorescent light, Flash), Custom,
ปรับตัง้ อุณหภูมสิ ไี ด (2500-10000K), ปรับแกสมดุลสีขาว,
มีระบบถายภาพครอมสมดุลสีขาว
* สามารถถายโอนขอมูลของอุณหภูมิสีไปพรอมกับ
ไฟลโดยอัตโนมัติ
การลดสัญญาณรบกวน(noise): เมือ่ ถายภาพดวยการเปดรับแสงนานมาก และเมือ่ ใช
ความไวแสงสูง
ปรับแกความเขมสวางอัตโนมัต:ิ มีระบบ Auto Lighting Optimizer
ระบบเนนรายละเอียดในสวนสวาง(Highlight tone priority): มีระบบนี้
ระบบปรับแกความสลัวของขอบภาพ: มีระบบนี้
Ãายละเอียดของกลอง
• ชองเล็งภาพ
ชนิด: Eye-level pentamirror
การครอบคลุม: 95% จากพื้นที่ของภาพจริง ทั้งทางแนวตั้งและแนวนอน
อัตราขยาย: ประมาณ 0.87x (-1 m -1 เมือ่ ใชเลนส 50mm โฟกัสที่ infinity)
ระยะมอง: ประมาณ 19 มม. (จากศูนยกลางของเลนสตา)
ปรับแกสายตาในตัว: -3.0 - +1.0 m (dpt)
โฟกัสสกรีน: ติดตั้งตายตัว
กระจกสะทอนภาพ: แบบ Quick-return
ตรวจสอบความชัดลึก: มีปุมตรวจสอบความชัดลึก

• ออโตโฟกัส
ชนิด: TTL secondary image-registration, phase detection
จุดโฟกัส: 9 จุด (ใชเซนเซอรแบบกากบาททัง้ หมด)
ชวงการวัดแสง: EV -0.5 - 18 (ที่ 23 Cํ /73 Fํ , ISO 100)
ระบบโฟกัส: One-Shot AF, AI Servo AF, AI Focus AF, แมนนวลโฟกัส(MF)
ไฟชวยหาโฟกัสอัตโนมัต:ิ แฟลชในตัวจะยิงแสงกระพริบแบบตอเนื่อง

• ควบคุมการเปดรับแสง
ระบบวัดแสง: TTL วัดแสงผานเลนสทเี่ ปดชองรับแสงกวางสุด
แบงพืน้ ทีใ่ นภาพเปน 63-สวน
• ระบบวัดแสงเฉลี่ยหลายสวน (เชื่อมโยงกับจุดโฟกัสทุกจุด)
• ระบบวัดแสงเฉพาะสวน (พืน้ ทีป่ ระมาณ 9% )
• ระบบวัดแสงเฉพาะจุด (พืน้ ทีป่ ระมาณ 4%)
• ระบบวัดแสงเฉลีย่ เนนกลางภาพ
ชวงการวัดแสง: EV 1 – 20 (ที่ 23 Cํ /73 Fํ ใชเลนส EF50mmF/1.4 USM ที่ ISO 100)
ระบบบันทึกภาพ: Program AE (Full Auto, Portrait, Landscape, Close-up,
Sports, Night Portrait, Flash Off, Creative Auto,
Program), shutter-priority AE, aperture-priority AE,
depth-of-field AE, manual exposure
ความไวแสง(ISO): Basic Zone modes: ปรับความไวแสงใหอตั โนมัตใิ นชวง
ISO 100 – 3200
Creative Zone modes: ISO 100 - 6400 (ปรับไดขนั้ ละ
1 stop) หรือกลองเลือกใหโดยอัตโนมัตใิ นชวง
ISO 100 - 6400 หรือขยายความไวแสงเปน ISO 12800
ชดเชยแสง: แบบปรับตั้งเอง และถายภาพครอม(สามารถใชงานรวม
กับการปรับชดเชยแสงได)
ระดับการชดเชยแสง: +/- 5 stops ปรับไดขนั้ ละ1/3- หรือ 1/2-stop
ล็อคคาแสงอัตโนมัต:ิ อัตโนมัต:ิ ใชระบบ One-shot AF และหาโฟกัสไดแลว
รวมกับระบบวัดแสงเฉลีย่ หลายสวน
ล็อคคาแสงแบบแมนนวล: โดยกดปมุ AE Lock
Ãายละเอียดของกลอง
• ชัตเตอร
ชนิด: Electronically-controlled, focal-plane shutter
ความไวชัตเตอร: 1/4000 วินาที ถึง 1/60 วินาที (ในระบบ Full Auto),
ความไวชัตเตอรสมั พันธแฟลช 1/200 วินาที
1/4000 วินาที ถึง 30 วินาที, และชัตเตอร bulb
(ความไวชัตเตอรทปี่ รับไดทงั้ หมด)
(ความไวชัตเตอรทปี่ รับได จะขึน้ อยกู บั ระบบบันทึกภาพทีใ่ ช)

• แฟลช
แฟลชในตัว: ซอนตัว และยกตัวขึน้ ทำงานเอง
Guide No.: 13/43 (ISO 100, หนวยเมตร/ฟุต)
การครอบคลุมของแฟลช: มุมรับภาพของเลนสความยาว
โฟกัส 17mm
ระยะเวลาประจุไฟ ประมาณ 3 วินาที
แฟลชภายนอก: EX-series Speedlite (Functions settable with the camera)
ระบบวัดแสงแฟลช: E-TTL II autoflash
ชดเชยแสงแฟลช: +/- 2 stops ปรับไดขนั้ ละ 1/3 หรือ1/2 stop
ล็อคคาแสงแฟลช: ทำได
ชองเสียบสายพวงแฟลชภายนอก: ไมมี

• ระบบขับเคลือ่ น
ระบบขับเคลือ่ น: แบบครัง้ ละภาพ แบบตอเนือ่ ง,
หนวงเวลาถายภาพ 10 วินาที หรือ 2 วินาที และหนวงเวลา
10 วินาทีแลวถายแบบตอเนือ่ ง
ความเร็วสูงสุด: 3.7 เฟรมตอวินาที
จำนวนภาพตอเนือ่ งสูงสุด: JPEG Large/Fine: ประมาณ 34 shots
RAW: ประมาณ 6 shots
RAW+JPEG Large/Fine: ประมาณ 3 shots
* ไดจากการทดสอบตามมาตรฐานของ Canon (ที่ ISO 100
ใช PictureStyle แบบ Standard) ใชการดขนาด 4 GB

• Live View Shooting


ระบบโฟกัส: Live mode, Face detection Live mode
วิเคราะหดว ยการจับความเปรียบตาง(Contrast detection)
Quick mode (วิเคราะหดว ย Phase-difference detection)
แมนนวลโฟกัส (ขยายภาพในขนาด 5x/10x ได)
ระบบวัดแสง: วัดแสงเฉลี่ย ดวยเซนเซอรรับแสง
ชวงการวัดแสง: EV 0 - 20 (ที่ 23 Cํ /73 Fํ เลนส EF50mm f/1.4 USM ที่ ISO 100)
ระบบบันทึกภาพแบบเก็บเสียง: ทำได (Mode 1 และ 2)
การแสดงเสนตาราง: แสดงไดสองแบบ
Ãายละเอียดของกลอง
• การถายภาพยนตร
ระบบบีบอัดภาพยนตร: MPEG-4 AVC/H.264 Variable (average) bit rate
รูปแบบการบันทึกเสียง: Linear PCM
ชนิดของไฟล: MOV
ขนาดการบันทึกและอัตราเร็ว: 1920x1080 (Full HD) : 30p/25p/24p
1280x720 (HD) : 60p/50p
640x480 (SD) : 60p/50p
Crop 640x480 (SD) : 60p/50p
* 30p: 29.97 fps, 25p: 25.00 fps, 24p: 23.976 fps, 60p:
59.94 fps, 50p: 50.00 fps
ขนาดไฟล: 1920x1080 (30p/25p/24p) : ขนาดประมาณ 330 MB/min.
1280x720 (60p/50p) : ขนาดประมาณ 330 MB/min.
640x480 (60p/50p) : ขนาดประมาณ 165 MB/min.
Crop 640x480 (60p/50p) : ขนาดประมาณ 165 MB/min.
การโฟกัสภาพ: รูปแบบเดียวกับการโฟกัสดวยระบบ Live View
ระบบวัดแสง: วัดแสงดวยระบบเฉลี่ยหลายสวนและเฉลี่ยเนนกลางภาพ
ดวยเซนเซอรรับแสง
* กลองจะปรับตัง้ เอง โดยพิจารณาจากระบบออโตโฟกัสทีเ่ ลือกใช
ชวงการวัดแสง: EV 0 - 20 (ที่ 23 Cํ /73 Fํ เมือ่ ใชเลนส EF50mm f/1.4 USM ที่ ISO 100)
การควบคุมการเปดรับแสง: Program AE(ชดเชยแสงได) สำหรับถายภาพยนตร
หรือเปดรับแสงเอง(แมนนวล)
ความไวแสง: ปรับตัง้ อัตโนมัต:ิ ในชวง ISO 100 - 6400
เมือ่ ถายภาพดวยระบบแมนนวล: ปรับตัง้ อัตโนมัติ
ในชวง ISO 100 – 6400 (ขัน้ ละ 1 stop)
การบันทึกเสียง: มีไมโครโฟนแบบโมโน ติดตัง้ ในตัวกลอง
มีชองเสียบตอพวงกับลำโพงภายนอกแบบสเตอริโอ
การแสดงเสนตาราง: แสดงไดสองแบบ

• จอภาพ LCD
ชนิด: TFT color liquid-crystal monitor
ขนาดและความละเอียด: 3 นิว้ ความละเอียดประมาณ 1.04 ลานจุด
ครอบคลุม: พื้นที่ 100% ของภาพ
การปรับความสวาง: ปรับตัง้ ได 7 ระดับ
ภาษาทีเ่ ลือกได: 25 ภาษา (รวมภาษาไทย)

• เลนดูภาพ
รูปแบบการแสดงภาพ: ภาพเดีย่ ว, ภาพเดีย่ วพรอมขอมูลการถายภาพ (ภาพ,
คุณภาพในการบันทึก, ขอมูลการถายภาพ, histogram),
ภาพดัชนี 4 หรือ 9 ภาพ, หมุนภาพได
Ãายละเอียดของกลอง
ซูมขยายดูภาพในตัวกลอง: ประมาณ 1.5x-10x
การคนหาภาพ: เลือ่ นดูภาพตามลำดับครัง้ ละภาพ
เลือ่ นดูภาพแบบขามครัง้ ละ 10 หรือ 100 ภาพ
เลือ่ นดูภาพตามลำดับวันที,่ ลำดับภาพยนตร, ภาพนิง่
เตือนพืน้ ทีส่ ว นสวาง: พื้นที่สวนสวางในภาพจะกระพริบ
การเลนดูภาพยนตร: เลนดูไดทจี่ อ LCD ของกลอง หรือตอพวงไปเลนดูภายนอก
ดวยสาย AV หรือผานจุดตอพวง HDMI และมีลำโพงในตัว

• Direct Printing สัง่ พิมพภาพโดยตรงจากตัวกลอง


เครือ่ งพิมพทสี่ นับสนุน: เครือ่ งพิมพทมี่ รี ะบบ PictBridge
ภาพที่พิมพได: ไฟลภาพแบบJPEG และ RAW
ระบบสัง่ งานพิมพ: สนับสนุนระบบพิมพแบบ DPOF 1.1

• ปรับกลองใหทำงานตามผูใช
Custom Functions: 12 แบบ
การปรับตัง้ My Menu: มี
ขอมูลลิขสิทธิ:์ บันทึกขอมูลลิขสิทธิ์ของภาพได

• การเชือ่ มตอ
ชองตอพวง AV out แบบดิจติ อล: Analog video (สนับสนุน NTSC/PAL) / stereo audio output
ชองตอพวง USB: สำหรับตอเชื่อมกับคอมพิวเตอรและเครื่องพิมพ
(Hi-Speed USB)
ชองตอพวงแบบ HDMI: ชนิด C (ปรับความละเอียดอัตโนมัต)ิ , CEC-compatible
ชองเสียบสำหรับไมโครโฟนภายนอก: แจคสเตอริโอ 3.5 มม.
ชองเสียบสายลัน่ ชัตเตอร: ใชสายลัน่ ชัตเตอรรนุ R-60E3
สายลัน่ ชัตเตอรแบบไรสาย: ใชไดกบั รีโมทรนุ RC-6

• แหลงพลังงาน
แบตเตอรี: Battery Pack LP-E8 (1 กอน)
* สามารถใชไฟฟากระแสสลับได เมือ่ ใชอปุ กรณเสริมพิเศษ
AC Adapter Kit ACK-E8
* เมือ่ ใช Battery Grip BG-E8 ใชถา นขนาด AA 6 กอนได
อายุการใชงานแบตเตอรี: เมื่อมองภาพผานชองเล็งภาพ:
(ทดสอบตามมาตรฐาน CIPA) ถายไดจำนวน 440 ภาพ ที่ 23 Cํ /73 Fํ
และ 400 ภาพ ที่ 0 Cํ /32 Fํ
เมือ่ เล็งภาพดวยระบบ Live View :
ถายไดจำนวน 180 ภาพ ที่ 23 Cํ /73 Fํ
และ 150 ภาพ ที่ 0 Cํ /32 Fํ
Ãายละเอียดของกลอง
• ขนาดและน้ำหนัก
ขนาด (กวางXสูงXหนา): 128.8 x 97.5 x 75.3 มม. / 5.1 x 3.8 x 3.0 นิว้
น้ำหนัก: ประมาณ 530 กรัม / 18.7 oz. พรอมเลนส
และ 475 กรัม / 16.8 oz. (เฉพาะตัวกลอง)

• สภาพแวดลอมในการทำงาน
ชวงอุณหภูมใิ นการทำงาน: 0 ํC - 40 ํC / 32 ํF - 104 ํF
ความชืน้ ในการทำงาน: 85% หรือต่ำกวา

• แบตเตอรี LP-E8
ชนิด: ลิเธีย่ มไอออน ประจุไฟใหมได
แรงดันไฟฟา: 7.2 V DC
ความจุกระแสไฟ: 1120 mAh
ชวงอุณหภูมใิ นการทำงาน: ระหวางประจุไฟ : 6 ํC - 40 ํC / 43 ํF - 104 ํF
ระหวางถายภาพ : 0 ํC - 40 ํC / 32 ํF - 104 ํF
ความชืน้ ในการทำงาน: 85% หรือต่ำกวา
ขนาด (กวาง x สูง x หนา): 37.1 x 15.4 x 55.2 มม. / 1.5 x 0.6 x 2.2 นิว้
น้ำหนัก: ประมาณ 52 กรัม /1.8 oz.
• เครือ่ งชารจแบตเตอรี LC-E8
แบตเตอรีที่ใชได: Battery Pack LP-E8
ระยะเวลาประจุไฟ: ประมาณ 2 ชั่วโมง (ที่ 23 ํC / 73 ํF)
กระแสไฟเขา: 100 - 240 V AC (50/60 Hz)
กระแสไฟออก: 8.4 V DC/720 mA
ชวงอุณหภูมใิ นการทำงาน: 6 ํC - 40 ํC / 43 ํF - 104 ํF
ความชืน้ ในการทำงาน: 85% หรือต่ำกวา
ขนาด (กวาง x สูง x หนา): 69 x 28 x 87.5 มม. / 2.7 x 1.1 x 3.4 นิว้
น้ำหนัก: ประมาณ 82 กรัม / 2.9 oz.

• เครือ่ งชารจแบตเตอรี LC-E8E


แบตเตอรีที่ใชได: Battery Pack LP-E8
ระยะเวลาประจุไฟ: ประมาณ 2 ชั่วโมง (ที่ 23 ํC / 73 ํF)
กระแสไฟเขา: 100 - 240 V AC (50/60 Hz)
กระแสไฟออก: 8.4 V DC/720 mA
ชวงอุณหภูมใิ นการทำงาน: 6 ํC - 40 ํC / 43 ํF - 104 ํF
ความชืน้ ในการทำงาน: 85% หรือต่ำกวา
ขนาด (กวาง x สูง x หนา): 69 x 28 x 87.5 มม. 2.7 x 1.1 x 3.4 นิว้
น้ำหนัก: ประมาณ 82 กรัม / 2.9 oz.
Ãายละเอียดของกลอง

องศาการรับภาพ: ตามแนวทแยง: 74 ํ20’ - 27 ํ 50’


ตามแนวนอน: 64 3ํ 0’ - 23 2ํ 0’
ตามแนวตัง้ : 45 3ํ 0’ - 15 4ํ 0’
โครงสรางของเลนส: 11 ชิ้น 9 กลุม
ชองรับแสงแคบสุด: f/22 - 36
ระยะโฟกัสใกลสดุ : 0.25 เมตร / 0.82 ฟุต (จากเซนเซอรถึงวัตถุ)
อัตราขยายสูงสุด: 0.34x (ที่ 85 mm)
พืน้ ทีค่ รอบคลุม: 207x 134 - 67 x 45 มม. / 8.1 x 5.3 - 2.6 x 1.8 นิว้
ระบบ Image Stabilizer: แบบ Lens shift type
ขนาดฟลเตอร: 58 mm
ฝาปดเลนส: E-58
เสนผา ศก. และความยาว: 68.5 x 70 มม / 2.7 x 2.8 นิว้
น้ำหนัก: โดยประมาณ 200 กรัม / 7.1 oz.
ฮูด: EW-60C (แยกจำหนาย)
กลองบรรจุ: LP814 (แยกจำหนาย)

องศาการรับภาพ: ตามแนวทแยง: 74 ํ20’ - 11 ํ30’


ตามแนวนอน: 64 3ํ 0’ - 9 3ํ 0’
ตามแนวตัง้ : 45 3ํ 0’ - 6 2ํ 0’
โครงสรางของเลนส: 16 ชิ้น 12 กลุม
ชองรับแสงแคบสุด: f/22 - 36
ระยะโฟกัสใกลสดุ : ความยาวโฟกัสที่ 18mm : 0.49 เมตร /1.61 ฟุต
(องศาการรับภาพ 327 x 503 มม. / 12.9 x 19.8 นิว้ )
ความยาวโฟกัสที่ 135mm : 0.45 เมตร /1.48 ฟุต
(องศาการรับภาพ 75 x 112 มม. / 3.0 x 4.4 นิ้ว)
*ระยะโฟกัสใกลสุดขึ้นอยูกับชวงความยาวโฟกัสที่ใช
อัตราขยายสูงสุด: 0.21x (ที่ 135 mm)
ระบบ Image Stabilizer: แบบ Lens shift type
ขนาดฟลเตอร: 67 mm
ฝาปดเลนส: E-67U
เสนผา ศก. และความยาว: 75.4 x 101 มม. / 3.0 x 4.0 นิว้
น้ำหนัก: โดยประมาณ 455 กรัม /16.0 oz.
ฮูด: EW-73B (แยกจำหนาย)
กลองบรรจุ: LP1116 (แยกจำหนาย)
คุณสมบัตทิ แี่ สดงไวในรายการขางตน ไดมาจากการทดสอบตามมาตรฐานของ Canon
คุณสมบัติและการตกแตงภายนอกของกลองอาจเปลี่ยนแปลงโดยไมตองแจงใหทราบ
เมือ่ ใชเลนสยหี่ อ อืน่ และเกิดปญหากับการทำงานของกลอง ใหสอบถามทีผ่ ผู ลิตเลนสนนั้ ๆ
เครือ่ งหมายการคา
Adobe เปนเครือ่ งหมายการคาของบริษทั Adobe Systems Incorporated
Windows เปนเครือ่ งหมายการคาของบริษทั Microsoft Corporation ในสหรัฐอเมริกา
และประเทศอื่นๆ
Macintosh และ Mac OS เปนเครือ่ งหมายการคาของบริษทั Apple Inc. ในสหรัฐอเมริกา
และประเทศอื่นๆ
เครือ่ งหมาย SDXC เปนเครือ่ งหมายการคาของ SD-3C, LLC.
HDMI, สัญลักษณ HDMI และ High-Definition Multimedia Interface เปนเครือ่ งหมายการคา
หรือเครือ่ งหมายการคาทีม่ กี ารลงทะเบียนไวกบั HDMI Lincensing LLC.
ชือ่ สินคาและเครือ่ งหมายการคาอืน่ ๆ ทีป่ รากฏอยใู นคมู อื ฉบับนี้ เปนสมบัตขิ องเจาของ
สินคาเหลานั้น
กลองดิจติ อลรนุ นี้ สนับสนุน Design rule for Camera File System 2.0 และ Exif
2.21 (เรียกอีกชือ่ หนึง่ วา “Exif Print”) Exif Print เปนมาตรฐานแบบหนึง่ ทีส่ นับสนุน
การทำงานรวมกันระหวางกลองดิจติ อลกับเครือ่ งพิมพ เมือ่ ตอเชือ่ มกลองกับเครือ่ ง
พิมพ กลองจะใชขอ มูลการถายภาพเพือ่ ปรับคุณภาพของภาพใหดขี นึ้ ดวย
เกีย่ วกับการอนุญาตของ MPEG-4
“การใชผลิตภัณฑตามมาตรฐานของ MPEG-4 นี้ ไดรับอนุญาตภายใตสิทธิบัตรของ
AT&T สำหรับการใชรหัสและถอดรหัสไฟลวดิ โี อชนิด MPEG-4 ซึง่ เปนการใชรหัสวิดโี อ
สำหรับการใชงานสวนบุคคล(1) และไมเปนเชิงพาณิชย(2) โดยไดรบั อนุญาตจากผใู ห
การอนุญาตใหใชผลิตภัณ MPEG-4 ซึ่งอยูภายใตลิขสิทธิ์ของ AT&T
ไมอนุญาตหรือสนับสนุนใหนำ MPEG-4 ไปใชสำหรับงานประเภทอื่น”
* เอกสารนี้จะใชภาษาอังกฤษในการอธิบายหากจำเปน
แนะนำใหใ ชอปุ กรณเสริมพิเศษของ Canon แท เทานัน้
ผลิตภัณฑนี้ ไดถูกออกแบบใหมีคุณสมบัติอันโดดเดน และมีประสิทธิภาพในการใชงานที่ยอด
เยีย่ ม เมือ่ ใชรว มกับอุปกรณเสริมพิเศษของ Canon โดยเฉพาะ ซึง่ Canon ไมรบั ผิดชอบตอความ
เสี ย หายของผลิ ค ภั ณ ฑ เ มื่ อ ใช อุ ป กรณ เ สริ ม ที่ ไ ม ใ ช Canon และ/หรื อ ความเสี ย หายจาก
อุบัติเหตุ เชน อัคคีภัย ฯลฯ (เชน การรั่วซึมของแบตเตอรี และ/หรือ การระเบิดของแบตเตอรี
แพ็ค) โปรดระลึกวา การรับประกันจะไมครอบคลุมถึงการซอม เมือ่ เกิดความเสียหายตออุปกรณ
เสริมที่ไมใชผลิตภัณฑของ Canon แมผูใชตองการใหซอมหรือเปลี่ยนอุปกรณชิ้นดังกลาว
 
ปฏิบตั ติ ามคำแนะนำตอไปนีอ้ ยางเครงครัด และใชอปุ กรณอยางระมัดระวังและถูกวิธี เพือ่ ปองกันการเกิด
อุบัติเหตุรายแรง และความเสียหายของอุปกรณ

เพือ่ ปองกันการเกิดอัคคีภยั ความรอน การรัว่ ไหลของสารเคมี และการระเบิด ใหปฏิบตั ติ ามคำแนะ
นำเพื่อความปลอดภัยอยางเครงครัด:
• หามใชแบตเตอรี แหลงพลังงาน และอุปกรณเสริมทีไ่ มไดระบุไวในคมู อื ฉบับนี้ ไมควรทำแบตเตอรีเอง หรือ
ดัดแปลงกอนแบตเตอรีเด็ดขาด
• หามลัดวงจร ถอดชิน้ สวน หรือดัดแปลงกอนแบตเตอรี หามใชความรอน และทำการบัดกรีกอ นแบตเตอรี หาม
ทำแบตเตอรีตกลงในน้ำหรือไฟ และหามทำการทุบหรือกระแทกกอนแบตเตอรีเปนอันขาด
• ระมัดระวังอยา ใสแบตเตอรีกลับขัว้ เปนอันขาด และหามใชแบตเตอรีเกาและแบตเตอรีใหมคละกัน หรือใช
แบตเตอรีตา งชนิดคละกัน(กรณีทใี่ ช Battery Grip BG-E5)
• หามทำการประจุไฟแบตเตอรีนอกชวงของอุณหภูมทิ กี่ ำหนดไว(0 Cํ - 40 Cํ / 32 Fํ - 104 Fํ ) และหามประจุไฟ
นานเกินเวลาทีก่ ำหนด
• หามสอดวัสดุแปลกปลอมทีเ่ ปนโลหะกับจุดสัมผัสอีเลคทรอนิคสตา งๆ ของกลอง ชองเสียบอุปกรณเสริม และ
ชองเสียบสายเชือ่ มตอ ฯลฯ
เก็บแบตเตอรีใหพนมือเด็ก ถาเด็กกลืนกอนแบตเตอรีเขาไป ใหนำไปพบแพทยทันที (สารเคมีใน
แบตเตอรีเปนอันตรายตอกระเพาะอาหารและอวัยวะภายใน)
เมื่อตองการทิ้งแบตเตอรี ใหปดขั้วสัมผัสดวยเทปเพื่อปองกันการสัมผัสกับวัสดุที่เปนโลหะหรือแบตเต
อรีกอนอื่นๆ เพื่อปองกันการลัดวงจรที่อาจทำใหเกิดการระเบิดได
ในขณะประจุไฟแบตเตอรี หากมีความรอนสูง กลิน่ และควัน ใหถอดสายไฟออกจากปลัก๊ ไฟทันทีเพือ่ หยุดประจุ
ไฟ เพือ่ ปองกันการเกิดอัคคีภยั
ถาแบตเตอรีเกิดการรั่วซึม มีการเปลี่ยนสี รูปทรง หรือมีกลิ่นและควัน ใหถอดออกทันที และระวังความรอนใน
ขณะสัมผัสกอนแบตเตอรีดวย
ปองกันอยาใหสงิ่ ทีร่ วั่ ซึมจากกอนแบตเตอรีสมั ผัสถูกดวงตา ผิวหนัง เสือ้ ผา เพราะอาจทำให
ตาบอดหรือเปนอันตรายตอผิวหนัง หากเกิดการสัมผัสแลว ใหลา งบริเวณนัน้ ดวยน้ำสะอาด
โดยไมขัดถู และรีบไปพบแพทยทันที
ในขณะประจุไฟ วางเครื่องประจุไฟและแบตเตอรีใหพนมือเด็ก สายไฟอาจชอตโดยอุบัติเหตุ หรือ
เกิดไฟฟาลัดวงจรได
หามวางสายไฟหรือสายใดๆ ใกลแหลงกำเนิดความรอน เพราะอาจทำใหสายเกิดการละลายและ
เสียรูปไป ซึ่งอาจทำใหเกิดไฟฟาลัดวงจรได
ไมควรใชแฟลชถายภาพผูที่กำลังขับขี่ยวดยาน เพราะอาจทำใหมองไมเห็นชั่วขณะและเกิดอุบัติเหตุ
ไมควรใชแฟลชถายภาพใกลกับคนมากเกินไป เพราะอาจจะทำใหเสียสุขภาพตาได และเมื่อใช
แฟลชถายภาพเด็กทารก ควรถายในระยะหางกวา 1 เมตรขึ้นไป
กอนนำกลองและอุปกรณเสริมอื่นๆ ไปเก็บ ควรถอดแบตเตอรีออกเสียกอน และถอดสายไฟทุกเสน
ออกจากปลั๊ก ทั้งนี้เพื่อปองกันการเกิดไฟฟาลัดวงจร หรือการสะสมของความรอนอันอาจทำใหเกิด
อัคคีภัยได
หามใชกลองหรือประจุไฟแบตเตอรีเมือ่ ไดกลิน่ กาซ เพือ่ ปองกันการเกิดระเบิดและ
เกิดอัคคีภยั
ถาทำอุปกรณตก และวัสดุทหี่ อ หมุ แตกหรือเปดออกจนเห็นชิน้ สวนดานใน หามสัมผัสกับชิน้ สวนภาย
ในอุปกรณนั้นเด็ดขาด เพราะอาจจะถูกไฟชอตได
หามถอดชิ้นสวนหรือดัดแปลงอุปกรณ เพราะชิ้นสวนที่อยูดานในซึ่งมีแรงดันไฟฟาสูงมากอาจทำให
เกิดไฟชอตได
หามสองหรือเล็งกลองไปยังดวงอาทิตยและแหลงกำเนิดแสงที่สวางจา เพราะอาจทำใหเกิดอันตราย
ตอดวงตาได
เก็บกลองใหพนมือเด็กเล็กๆ สายคลองคออาจจะรัดคอเด็กจนหายใจไมออกได
อยาเก็บกลองและอุปกรณอื่นๆ ไวในที่ซึ่งมีฝุนมาก ที่ซึ่งมีความชื้นสูง เพื่อปองกันไฟฟาลัดวงจร
และอัคคีภัย
กอนที่จะใชกลองในเครื่องบินและโรงพยาบาล ตรวจสอบกอนวาสามารถถายภาพได คลื่นแมเหล็ก
ไฟฟาที่สงออกจากกลองอาจจะรบกวนอุปกรณการบินและอุปกรณตรวจรักษาทางการแพทย
เพื่อปองกันอัคคีภัยและไฟชอต ใหปฏิบัติตามคำแนะนำเพื่อความปลอดภัยดานลางนี้:
- เมื่อเสียบปลั๊กไฟ ใหเสียบเขาจนสุด
- หามจับปลกไฟเมื่อมือเปยกชื้น
- เมื่อถอดหรือเสียบปลั๊กไฟ ใหจับที่หัวปลั๊ก ไมจับที่สาย
- ไมขูดขีด ตัด ดัดงอสายไฟ บิดหรือผูกสายไฟหรือทับดวยวัตถุที่มีน้ำหนักมาก
- ไมตอพวงสายไฟจำนวนมากเขากับชองเสียบเดียวกัน
- ไมเสียบสายไฟ เมื่อเครื่องปองกันไฟฟารั่วหรือลัดวงจรเสียหาย
เมื่อใชงานไปแลวระยะหนึ่ง ใหถอดสายไฟออก และเช็ดฝุนที่หัวเสียบและปลั๊กไฟดวยผาแหง ถาใน
บริเวณนั้นมีฝุนมาก หรือมีความชื้นสูงมาก หรือมีน้ำมัน ฝุนบริเวณปลั๊กไฟจะชื้นและอาจทำใหไฟฟา
ลัดวงจรและเกิดอัคคีภัยได
⌫
ห า มทิ้ ง กล อ งไว ใ นรถที่ จ อดตากแดด หรื อ ใกล กั บ แหล ง ความร อ น กล อ งอาจจะร อ นจั ด และ
ทำอันตรายตอผิวหนัง
ไม ค วรยกย า ยกล อ งที่ ติ ด อยู บ นขาตั้ ง กล อ งในขณะเดิ น ไปรอบๆ การทำเช น นี้ อ าจทำให เ กิ อ อุ บั ติ เ หตุ แ ละได รั บ
บาดเจ็ บ กล อ งอาจจะตกหล น ให ต รวจสอบว า ขาตั้ ง กล อ งนั้ น แข็ ง แรงพอที่ จ ะรองรั บ กล อ งและเลนส
ไมควรทิ้งเลนส และเลนสที่ติดอยูกับกลองตากแดดโดยไมสวมฝาปดหนาเลนสเอาไว เลนสอาจ
จะรวมแสงจนเกิดการสะสมความรอนมาก จนทำใหกลองเสียหายหรือไหมได
ไมควรใชผาหอหรือหุมเครื่องชารจแบตเตอรีในขณะประจุไฟ เพราะทำใหเกิดการสะสมของความ
รอน ทำใหตัวเครื่องเสียรูป หรืออาจเกิดเพลิงไหม
ถาทำกลองตกน้ำ หรือมีน้ำและของเหลวอื่นเขาไปในกลอง ใหถอดแบตเตอรีและแบตเตอรีสำรอง
สำหรับของนาฬิกา เพื่อปองกันไฟฟาลัดวงจร
ไม ค วรเก็ บ ใช หรื อ วางแบตเตอรี ก ล อ ง แบตเตอรี สำรองสำหรั บ นาฬิ ก า ภายในบริ เ วณที่ มี ค วามร อ นสู ง ซึ่ ง
อาจทำให แ บตเตอรี รั่ ว ซึ ม และมี อ ายุ ก ารใช ง านสั้ น ลง ตั ว แบตเตอรี อ าจร อ นจั ด จนเป น ทำให ผิ ว หนั ง ไหม พ อง
หามใชทินเนอรผสมสี เบนซิน หรือสารประกอบอินทรียในการทำความสะอาดอุปกรณ การทำแบบ
นี้อาจทำใหเกิดไฟไหมและยังเปนอันตรายตอสุขภาพ
หากอุปกรณแสดงการทำงานทีผ่ ดิ ปกติ หรือตองการซอม ติดตอทีต่ วั แทนจำหนายของแคนนอน หรือทีศ่ นู ย
บริการทีอ่ ยใู กลทสี่ ดุ
Digital Camera Model DS126271 Systems
อุปกรณนี้ ประกอบดวยชิ้นสวน Part 15 ตามกฏของ FCC ซึ่งมีเงื่อนไขการใช 2 ลักษณะ คือ (1) เครื่อง
ใชนจี้ ะไมทำใหเกิดสัญญาณหรือคลืน่ ทีเ่ กิดอันตรายตอผใู ช และ (2) เครือ่ งใชนจี้ ะไมสง สัญญาณรบกวน
ที่แทรกแทรงการทำงานของเครื่องมืออื่นๆ จนทำงานผิดพลาด
หมายเหตุ: อุปกรณชิ้นนี้ไดผานการทดสอบตามขอจำกัดของการทดสอบอุปกรณใน
class B digital ที่กำหนดโดยกฏของ FCC Part 15 เพื่อปองกันการเกิด
อันตรายของอุปกรณทอี่ อกแบบมาใหใชภายในครัวเรือน อุปกรณชนิ้ นีจ้ ะสรางคลืน่ รังสี
แบบความถีว่ ทิ ยุ ซึง่ ถาไมใชงานอยางถูกวิธตี ามคำแนะนำ ก็อาจจะรบกวนความถีว่ ทิ ยุ
ได อยางไรก็ตาม ไมมกี ารรับประกันวาอุปกรณชนิ้ นีจ้ ะไมรบกวนคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุและ
เครื่องรับโทรทัศน ซึ่งผูใชสามารถตรวจสอบเองไดจากการเปดและปดการทำงานของ
อุปกรณ และผใู ชกส็ ามารถแกปญ  หาการรบกวนคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุและโทรทัศนได
โดยปฏิบตั ดิ งั ตอไปนี:้
- ปรับทิศทางของเสารับสัญญาณใหม
- ขยับอุปกรณใหออกหางจากเครื่องรับวิทยุและโทรทัศนมากขึ้น
- เสียบสายไฟของอุปกรณนี้ในวงจรไฟฟาอื่นๆ ที่ไมใชวงจรเดียวกับเครื่องรับ
วิทยุและโทรทัศน
- ปรึกษากับผแู ทนจำหนาย หรือชางซอมวิทยุ-โทรทัศนทมี่ ปี ระสบการณ
ตองใชสายทีม่ แี กนกลางเปนโลหะซึง่ ไดมาพรอมกับตัวกลองเทานัน้ เพราะสายเปนสวนประกอบชิน้ หนึง่
ของอุปกรณ ตามกฏ Part 15 ของ FCC
หามเปลีย่ นแปลง หรือดัดแปลงสวนหนึง่ สวนใดของอุปกรณ นอกจากทีไ่ ดระบุไวในคมู อื
Canon U.S.A. Inc.
One Canon Plaza, Lake Success, NY 11042, U.S.A.
Tel No. (516)328-5600

อุปกรณดจิ ติ อล Class B ตามมาตรฐาน Canadian ICES-003.

เมื่อตอเชื่อมระบบพลังงานของกลองกับปลั๊กไฟ ใชไดเฉพาะ AC Adapter


Kit ACK-E8 (rated input: 100-240 V AC 50/60 Hz, rated output:7.4 V DC)
การใชอุปกรณอื่นๆ นอกเหนือจากนี้อาจทำใหไฟฟาลัดวงจรหรือเกิดอัคคีภัย
คำแนะนำเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำคัญมาก
1. เก็บคูมือฉบับนี้ไว — คูมือฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการใชเครื่องประจุไฟรุน Battery Charger LC-E8 และ
LC-E8E
2. กอนใชเครือ่ งประจุไฟ อานคมู อื การใชและคำเตือนทัง้ หมด รวมทัง้ คำเตือนเกีย่ วกับอุปกรณเหลานี้ :เสียกอน
(1) เครือ่ งประจุไฟ, (2) แบตเตอรี, และ (3) อุปกรณทใี่ ชแบตเตอรี
3. คำเตือน — เพือ่ ลดความเสีย่ งจากอุบตั เิ หตุและการบาดเจ็บ ใหใชแบตเตอรีรนุ LP-E8 ของแคนนอนเทานัน้
หากใชแบตเตอรีรุนอื่น อาจไหม ทำใหเกิดการบาดเจ็บและความเสียหายอื่นๆ
4. อยาวางเครือ่ งประจุไฟตากฝนหรือหิมะ
5. การใชอปุ กรณอนื่ ทีน่ ำมาตอพวงซึง่ แคนนอนไมไดขายและแนะนำใหใช อาจทำใหเกิดประกายไฟ ไฟชอต หรือ
เกิดการบาดเจ็บ
6. เพือ่ ลดความเสีย่ งตอความเสียหายของปลัก๊ และสายไฟ จับหัวปลัก๊ เมือ่ ตองการถอดเครือ่ งประจุไฟออก
7. ตรวจสอบใหดวี า สายไฟจะไมขวางทางเดิน หรือถูกเหยียบ หรือทำใหขาดเสียหาย หรือเกิดความตึงมากเกิน
ไป
8. ไมควรใชเครือ่ งประจุไฟกับสายไฟหรือปลัก๊ ไฟทีช่ ำรุด ใหเปลีย่ นใหเรียบรอยเสียกอน
9. หามใชเครือ่ งประจุไฟหากพบการพองตัวของเครือ่ ง หลนกระแทกอยางแรง หรือมีความเสียหายทีพ่ บเห็นดวย
ตาในทุกๆ กรณี ใหนำไปตรวจสอบโดยชางที่ศูนยบริการเสียกอน
10. หามแกะ ดัดแปลง หรือถอดแยกชิน้ สวนของเครือ่ งประจุไฟ ใชบริการจากชางทีศ่ นู ยบริการเทานัน้ การถอด
และประกอบเองอาจทำใหเกิดไฟชอตและประกายไฟ
11. เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการเกิดประกายไฟ ควรถอดสายไฟของเครือ่ งชารจจากปลัก๊ กอนทำความสะอาด

คำแนะนำในการดูแลรักษา
ผใู ชไมจำเปนตองทำการดูแลรักษาใดๆ เวนแตทไี่ ดแนะนำไวในคมู อื หากเกิดปญหา ใหตดิ ตอทีศ่ นู ย
บริการเทานัน้

เฉพาะในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา:
แบตเตอรีชนิด Lithium ion/polymer ทีใ่ หพลังงานกับอุปกรณชนิ้
นี้สามารถนำไปรีไซเคิลได โปรดแจงที่โทร. 1-800-8-BATTERY
เพื่อสอบถามวิธีนำแบตเตอรีไปรีเซเคิล
สำหรับรัฐคาลิฟอรเนีย, สหรัฐอเมริกา:
แบตเตอรีลิเธียมมีสารประกอบชนิด Perchlorate ซึ่งตองการการทำลายที่มี
ประสิทธิภาพดูรายละเอียดที่ www.dtsc.ca.gov/hazardouswaste/perchlorate/
คำเตือน
มีความเสี่ยงในการระเบิดหากนำแบตเตอรีผิดประเภทมาใช และการทิ้งแบตเตอรี
ที่ไมใชแลว ขึ้นอยูกับกฏหมายของพื้นที่นั้นๆ
ࢌÒã¨ÇÔ¸ãÕ ªŒ¡ÅŒÍ§Í‹ҧÃÇ´àÃçÇ
¡ÒûÃѺµÑé§àÁ¹Ù ............................................................... ¹.244
¨Í¤Çº¤ØÁẺàÃçÇ ..................................................... ¹.245
¤Ø³ÀҾ㹡Òúѹ·Ö¡ ...................................................... ¹.246
Picture Style ................................................................... ¹.246
ʋǹµ‹Ò§æ ¢Í§µÑǡŌͧ ..................................................... ¹.247
ÃкººÑ¹·Ö¡ÀÒ¾¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ................................................ ¹.249
¡ÒÃ㪌á¿Åªã¹µÑǡŌͧ .................................................... ¹.249
ÃкººÑ¹·Ö¡ÀÒ¾ÊÌҧÊÃä ................................................ ¹.250
Program AE .................................................. ¹.250
Shutter priority AE ............................................. ¹.250
Shutter priority AE ............................................. ¹.250
AF: ÃкºÍÍⵌ⿡ÑÊ ......................................................... ¹.251
¨Ø´â¿¡ÑÊ ................................................................ ¹.251
¤ÇÒÁäÇáʧ .............................................................. ¹.252
Ãкº¢Ñºà¤Å×è͹ ........................................................ ¹.252
Live View ............................................................... ¹.253
¶‹ÒÂÀҾ¹µÃ .......................................................... ¹.254
Custom Functions .......................................................... ¹.254
àÅ‹¹´ÙÀÒ¾ ....................................................................... ¹.255

¤Óá¹Ð¹Ó㹡ÒÃàÃÔÁè µŒ¹ãªŒ«Í¿·áÇÃ
Ἃ¹«Í¿·áÇÃ EOS DIGITAL Solution............................... ¹.256
¡ÒõԴµÑ駫Ϳ·áÇÃ........................................................... ¹.257
¤‹ÙÁ×Í¡ÒÃ㪌«Í¿·áÇÃ........................................................... ¹.258
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว
การปรับตั้งเมนู
ปมุ
ปมุ
จอภาพ
ปุ ม ควบคุ ม
แบบทิศทาง

1. กดปุม เพื่อแสดงรายการฟงกชั่นตางๆ ที่ปรับตั้งได


2. กดปมุ เพือ่ เลือกแถบรายการของฟงกชนั่ จากนัน้ กดปมุ
เพื่อเลือกแบบที่ตองการ
3. กดปมุ เพือ่ แสดงผลการปรับตัง้
4. หลังจากปรับตั้งรายการที่ตองการแลว กดปุม
ระบบบันทึกภาพขัน้ พืน้ ฐาน ระบบถายภาพยนตร

การปรับตั้งเมนู

แถบรายการ
ระบบบันทึกภาพสรางสรรค

รายการของเมนู รายการที่ปรับตั้ง
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

จอควบคุมแบบเร็ว
ในขณะที่จอภาพแสดงขอมูลการถายภาพ
ใหกดปุม
จอควบคุมแบบเร็วจะปรากฏขึ้น

ชองรับแสง
ความไวชัตเตอร ความไวแสง
ระดับคาแสง / เพิม่ รายละเอียด
ปรับตั้งการชดเชยแสง ในสวนสวาง
ชดเชยแสงแฟลช
ระบบบันทึกภาพ
ระบบ Auto Lighting
คุณภาพในการบันทึก Optimizer
ระบบขับเคลือ่ น
Picture Style ระบบวัดแสง
สมดุลสีขาว ระบบออโตโฟกัส
กดปมุ เพือ่ เลือกฟงกชนั่ จากนัน้ หมุนวงแหวน
เพือ่ ปรับตัง้ ตามทีต่ อ งการ
ในระบบบันทึกภาพขัน้ พืน้ ฐาน (ยกเวน ) ผใู ชสามารถจะเลือก
ระบบขับเคลือ่ นและคุณภาพในการบันทึกภาพเองได
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

คุณภาพในการบันทึก
เลือก [ Quality] จากนัน้ กด
กดปมุ เพือ่ เลือกระดับคุณภาพทีต่ อ งการ จากนัน้ กด
ระดับคุณภาพ
พิกเซล
วงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพ
จำนวนภาพที่ถายได

กดปมุ
กดปมุ เพือ่ เลือก Picture Style ที่
ตองการ จากนัน้ กดปมุ

นิยาม
ใหสสี นั ทีฉ่ ดู ฉาดสดใส และภาพถายทีค่ มชัดสูง
ใหสผี วิ ทีส่ วยงาม และใหภาพทีค่ มชัดเล็กนอย
ทองฟาสีฟา ฉูดฉาด สีเขียวสดใส และใหภาพทีค่ มชัดสูงมาก
ภาพสีเอกรงค (ภาพขาวดำ)
สำหรับ (Neutral) และ (Faithful) ดูจากคมู อื การใชกลอง
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

สวนตางๆ ของกลอง
สวิตซเปด/ปด กลอง วงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพ
ปุมปรับตั้ง
ความไวแสง
ปมุ แฟลช
วงแหวนควบคุมหลัก

ปุมชัตเตอร

สวิตซปรับเลือกระบบโฟกัส

ระบบ Live View ปมุ ล็อคคาแสง


ปุมถายภาพยนตร
ปมุ เลือกจุดโฟกัส

เซนเซอรเปดและปด
การแสดงผล
ของจอภาพ ปุมควบคุม
แบบทิศทาง
ปมุ ตรวจสอบ
ชวงความชัด
ปุม ปรับชองรับแสง /
ชดเชยแสง ปุมปรับตั้ง
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

แสดงขอมูลของระบบถายภาพนิ่ง
ชองรับแสง
ความไวชัตเตอร ความไวแสง
ระดับคาแสง
ระบบบันทึกภาพ
สมดุลสีขาว
Picture Style ระบบ Auto Lighting
คุณภาพในการบันทึก Optimizer
ระบบขับเคลือ่ น
จอควบคุมแบบเร็ว
ระบบออโตโฟกัส จำนวนภาพที่ถายได
ระดับพลังงาน ระบบวัดแสง

สัญญาณแสดงการทำงานของจุดโฟกัส
พืน้ ทีว่ ดั แสงเฉพาะจุด

จุดโฟกัสอัตโนมัติ
สัญญาณยืนยันความชัด
ล็อคคาแสง
แฟลชพรอมทำงาน ความเร็วในการถายตอเนื่อง
ชดเชยแสงแฟลช ถายภาพเอกรงค
ความไวชัตเตอร ความไวแสง
ชองรับแสง ระดับคาแสง
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

ระบบบันทึกภาพขั้นเบื้องตน
การปรับตัง้ ตางๆ ทีจ่ ำเปนจะถูกปรับตัง้ ใหโดยอัตโนมัติ
ผใู ชเพียงกดชัตเตอร และกลองจะทำหนาทีท่ งั้ หมด

ระบบบันทึกภาพขั้นเบื้องตน

(แสดงก็ตอ เมือ่ ตัง้ เปนระบบ < >)


กดปมุ จากนัน้ กดปมุ เพือ่ เลือกฟงกชนั่

หมุนวงแหวน เพือ่ ปรับตัง้ ฟงกชนั่

การใชแฟลชในตัวกลอง
ระบบบันทึกภาพขั้นพื้นฐาน
เมือ่ จำเปน แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึน้ ทำงานโดยอัตโนมัตใิ นสภาพแสงนอย
หรือเมื่อถายภาพยอนแสง (ยกเวนในระบบ < > )
ระบบบันทึกภาพสรางสรรค
กดปมุ เพือ่ ใหแฟลชยกตัวขึน้ ทำงาน
จากนั้นจึงถายภาพ
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

ระบบบันทึกภาพสรางสรรค
ระบบบันทึกภาพ ผใู ชสามารถปรับควบคุมกลองไดอยางอิสระ
สรางสรรค สำหรับการใชงานถายภาพในหลากหลาย
สถานการณ

กลองจะปรับตัง้ ความไวชัตเตอรและชองรับแสงใหโดยอัตโนมัติ ในลักษณะเดียวกับระบบ


บันทึกภาพ
หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไปที่

หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไปที่
หมุนวงแหวน เพือ่ เลือกความไวชัตเตอรที่
ตองการ จากนัน้ โฟกัสไปทีว่ ตั ถุ
กลองจะเลือกชองรับแสงใหโดยอัตโนมัติ
ถาตัวเลขแสดงชองรับแสงมีการกระพริบ เตือน ให
หมุน จนกวาชองรับแสงจะหยุดกระพริบ

หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไปที่
หมุนวงแหวน เพือ่ เลือกชองรับแสงทีต่ อ ง
การ จากนัน้ โฟกัสไปทีว่ ตั ถุ
กลองจะเลือกความไวชัตเตอรใหโดยอัตโนมัติ

ถาตัวเลขแสดงความไวชัตเตอรมกี ารกระพริบ
เตือน ใหหมุน จนกวาความไวชัตเตอร
จะหยุดกระพริบ
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

ระบบออโตโฟกัส
ปรับสวิตซทกี่ ระบอกเลนสไปที่

กดปมุ
กดปมุ เพือ่ เลือกระบบออโตโฟกัส
จากนัน้ กด

สำหรับถายภาพสิง่ ทีอ่ ยนู งิ่

สลับการทำงานของระบบออโตโฟกัส
โดยอัตโนมัติ

สำหรับถายภาพสิง่ ทีเ่ คลือ่ นที่


เลือกจุดโฟกัส
กดปมุ

กดปมุ เพือ่ เลือกจุดโฟกัส

ขณะมองผานชองเล็งภาพ ผใู ชสามารถเลือก


จุดโฟกัสไดโดยการหมุน จนจุดโฟกัสที่
พอใจกระพริบเปนสีแดง

เมือ่ กดปมุ กลองจะสลับเปลีย่ น


การเลือกจุดโฟกัส เปนการเลือกจุดกึง่ กลาง กับ
การเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัติ
¨
¨
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

ความไวแสง
กดปมุ เพือ่ เลือกระบบออโตโฟกัส
หมุนวงแหวน หรือกดปมุ
เพือ่ ปรับตัง้ คาความไวแสงตามทีต่ อ งการ

ถาเลือกความไวแสง “AUTO” กลองจะเลือก


ความไวแสงทีเ่ หมาะสมใหโดยอัตโนมัติ และ
เมือ่ ผใู ชแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ กลอง
จะแสดงคาความไวแสงทีป่ รับตัง้ ไวใหทราบ

ระบบขับเคลื่อน
กดปมุ
กดปมุ เพือ่ เลือกระบบขับเคลือ่ น
เมือ่ ไดระบบทีต่ อ งการแลว กดปมุ
ถายภาพครัง้ ละภาพ
ถายภาพตอเนือ่ ง
ถายภาพดวยระบบหนวงเวลา / รีโมท
หนวงเวลาถายภาพ 2 วินาที
หนวงเวลาถายภาพและถายภาพตอเนื่อง
สามารถเลือกใช และ
เมือ่ ใชระบบถายภาพทุกๆ ระบบ
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

ถายภาพดวย Live View


กดปมุ < > เพือ่ แสดงภาพในแบบ
Live View

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ เพือ่ โฟกัส

กดชัตเตอรจนสุดเพือ่ ถายภาพ

เมือ่ ตองการปรับเปลีย่ นการปรับตัง้ ของระบบ Live View ใหใชเมนู


[ Live View function settings]
อายุการใชงานของแบตเตอรีเมื่อถายภาพดวย Live View
อุณหภูมิ ไมใชแฟลช ใชแฟลช 50 %
ที่ 23 Cํ / 73 Fํ ประมาณ 200 ภาพ ประมาณ 180 ภาพ
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

ถายภาพยนตร
หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไปที่

แตะชัตเตอรเบาๆ เพือ่ โฟกัส

กดปมุ < > เพือ่ เริม่ ถายภาพยนตร และ


เมือ่ ตองการหยุด ใหกด < > อีกครั้ง

เมือ่ ตองการถายภาพนิง่ ใหกดปมุ ชัตเตอร

Custom Functions
⌫  


    
 
  ⌫   
 
  
 
  
 ⌫ 

 ⌫
àขาใจวิธใี ชกลองอยางรวดเร็ว

เลนดูภาพ

ภาพดัชนี ขยายดูภาพ

เลือกภาพ
ลบภาพ
เลนดูภาพ
แสดงขอมูลการถายภาพ
¤íาแนะนำในการเริม่ ตนใชซอฟทแวร
แผนซีดนี ี้ ประกอบดวยซอฟทแวรหลายแบบ สำหรับใชกบั กลอง EOS DIGITAL

ซอฟทแวรนจี้ ะชวยในการตอเชือ่ มกลองกับคอมพิวเตอร เพือ่ ถายโอนภาพ


(ภาพนิง่ /ภาพยนตร) ทีถ่ า ยไวในตัวกลองไปยังคอมพิวเตอร สามารถควบคุมกลอง
และควบคุมการถายภาพสำหรับกลองทีต่ อ เชือ่ มอยู ผานการควบคุมจากคอมพิวเตอร

ซอฟทแวรทแี่ นะนำเปนพิเศษสำหรับผใู ชทมี่ กั จะถายภาพในแบบ RAW ผใู ช


สามารถดูภาพ ปรับแตงภาพ และประมวลผลไฟลภาพแบบ RAW ดวยความเร็วสูง
พรอมทัง้ สามารถปรับแตงไฟลแบบ JPEG ในขณะทีร่ กั ษาลักษณะของภาพตนฉบับ
เดิมไวดว ย

เปนซอฟทแวรทเี่ หมาะสำหรับผทู มี่ กั จะถายภาพเปนไฟล JPEG ซึง่ ผใู ชสามารถ


จะ ดู/ปรับแตง/จัดการ/คนหา/พิมพ ภาพทีเ่ ปนไฟล JPEG ไดโดยงาย นอกจากนีย้ งั
ใชเลนและปรับแตงภาพยนตร รวมทัง้ จับภาพนิง่ จากภาพยนตรทถี่ า ยดวย

ซอฟทแวรนี้ออกแบบมาสำหรับผูใชในระดับกาวหนา ซึ่งมีประสบการณในการ
ตกแตงภาพมากอน ซอฟทแวรจะสามารถแกไข Picture Style ซึง่ ผใู ชสามารถ
จะสรางรวมทัง้ บันทึก Picture Style ทีส่ รางขึน้ ไดดว ย
¤íาแนะนำในการเริม่ ตนใชซอฟทแวร

การติดตั้งซอฟทแวร
ไมควรเชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอรกอนจะทำการติดตั้งซอฟทแวร เพราะอาจทำใหเกิด
ปญหาในการติดตั้งซอฟทแวรในภายหลัง
หากมีซอฟทแวรรุนกอนติดตั้งอยูแลวในเครื่องคอมพิวเตอร ใหทำการติดตั้งซอฟทแวรใหม
โดยปฏิบตั ติ ามคำแนะนำดานลางนี้ (ซอฟทแวรรนุ ใหมจะทับซอฟทแวรรนุ เกาโดยอัตโนมัต)ิ

ติดตั้งแผนซีดี EOS DIGITAL Solution Disk


สำหรับเครือ่ งแมคอินทอช ใหดบั เบิลคลิกทีไ่ อคอนของแผนซีด-ี รอม ซึง่ ปรากฏทีห่ นา
จอเพือ่ เปดแผนซีด-ี รอม จากนัน้ ดับเบิลคลิกที่ [Canon EOS Digital Installer]

คลิก [Easy Installation] และทำตามคำแนะนำที่ปรากฏบนหนา


จอเพื่อทำการติดตั้ง
สำหรับแมคอินทอช คลิก [Install]

คลิก [Restart] และนำแผนซีดีออกจากเครื่องหลังจากที่เปดเครื่อง


ใหม แ ล ว
เมือ่ คอมพิวเตอรถกู เปดใหมอกี ครัง้ การติดตัง้ จะเสร็จสมบูรณ
¤íาแนะนำในการเริม่ ตนใชซอฟทแวร

คูมือการใชซอฟทแวร
คมู อื การใชซอฟทแวร จะเปนไฟลทอี่ ยภู ายในแผน ซีด-ี รอม แผนนี้

การสำเนาและอานคูมือการใชในแบบ PDF
ใส แ ผ น ซี ดี [Software INSTRUCTION MANUAL] เข า ใน
คอมพิวเตอร
ดับเบิลคลิกที่ไอคอนของซีดี-รอม
สำหรับวินโดวส จะเปนไอคอนทีแ่ สดงใน [My Computer]
สำหรับแมคอินทอช จะแสดงไอคอนทีห่ นาจอ
COPY โฟลเดอร [English] เขามาเก็บในคอมพิวเตอร
คมู อื การใชในแบบ PDF ทีถ่ กู copy ไป จะเปนไฟลทมี่ ชี อื่ เหลานี้

ดับเบิลคลิกไฟล PDF ที่ copy มา


ตองติดตัง้ ซอฟทแวร Adobe Reader (เวอรชนั่ 6.0 ขึน้ ไป) ในคอมพิวเตอรเพือ่ อานไฟล
สามารถดาวนโหลด Adobe Reader ไดจากอินเตอรเนต โดยไมเสียคาใชจา ย

You might also like