You are on page 1of 28

หนวยการเรียนรูที่ 3

เสนขนาน เวลา 8 ชั่วโมง

เสนขนานและมุมภายใน

การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเ
สนขนานไปใชในการแกปญหา
เสนขนานและมุมแยง

เสนขนาน

เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน

ความรู
1. เสนขนานและมุมภายใน
2. เสนขนานและมุมแยง
3. เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
4. เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
5. การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชในการแกปญหา

คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม ทักษะ/กระบวนการ


1. รวมศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมประกอบ 1. การสื่อสารเพื่ออธิบายความสําคัญของ
การเรียนรูเกี่ยวกับเสนขนาน เสนขนาน เสนขนาน
ดวยความสนใจ ความตั้งใจเรียน 2. สามารถนําเสนอเรือ่ งเสนขนาน
และการทํางานกลุม 3. การแสดงทักษะการใชเทคโนโลยีเพื่อ
2. ตระหนักถึงความเชื่อมั่นในตนเองในการ การศึกษาเกี่ยวกับเสนขนาน
รวมศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมประกอบ 4. การนําความรูทางคณิตศาสตรมา
การเรียนรูเกี่ยวกับเสนขนาน ประยุกตหรือเชื่อมโยงไปใชในชีวิตจริง
ี ิ ี่ ี  ิ 

ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรื่อง เสนขนานและมุมภายใน
2. รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรื่อง เสนขนานและมุมแยง
3. รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรื่อง เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
4. รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรื่อง เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
5. รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรื่อง การนําสมบัติของรูปสามเหลีย่ มและเสนขนานไปใชในการ
แกปญหา
6. รวมปฏิบัติกิจกรรมฝกฝนทักษะตามแผนการจัดการเรียนรูห นวยการเรียนรูที่ 3
7. รวมปฏิบัติกิจกรรมฝกทักษะการใชภาษา สัญลักษณทางคณิตศาสตร แสดงความหมายและนําเสนอ
8. แบบบันทึกผลการอภิปราย
9. บันทึกความรู
10. การนําเสนอแฟมสะสมผลงาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ 3 เสนขนาน
ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชวงชั้น
1. ใชสมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของเสนขนานในการให
เหตุผลและแกปญหา (ค 3.2 ม.2/1)
2. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา (ค 6.1 ม. 2/1)
3. ใชความรู ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ ตาง ๆ
ไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/2)
4. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/3)
5. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูก
ตองและชัดเจน (ค 6.1 ม. 2/4)
6. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับ
ศาสตรอื่น ๆ (ค 6.1 ม. 2/5)
7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค (ค 6.1 ม. 2/6)
ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสําคัญที่ทําใหเกิดความเขาใจที่คงทน
นักเรียนจะเขาใจวา...
– เสนขนาน คือ เสนตรงสองเสนที่อยูบนระนาบ – นักเรียนสามารถนําความรูเรือ่ งเสนขนาน มา
เดียวกันและเมื่อตอเสนตรงใหยาวออกไป เสน เชื่อมโยงหรือประยุกตใชในชีวิตจริงไดอยางไร
ตรงทั้งสองจะไมตัดกัน
ความรูของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจ
นักเรียนจะรูวา... ที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
การระบุวาเสนตรงสองเสนใด ๆ ขนานกันนั้น 1. สื่อสารเพื่ออธิบายความสําคัญของระบบ
เราจะใชมุมที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดกับ จํานวนจริง
เสนตรงอีกสองเสนเปนสิ่งชวยในการตัดสิน ซึ่งมุม 2. นําเสนอเรื่องระบบจํานวนจริง
เหลานั้นอาจจะเปนมุมภายใน มุมภายนอก 3. แสดงทักษะการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มุมประชิด หรือมุมแยง คือ เกี่ยวกับระบบจํานวนจริง
1. ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว 4. นําความรูทางคณิตศาสตรมาประยุกตหรือ
ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกัน เชื่อมโยงไปใชในชีวิตจริง
ของเสนตัดจะรวมกันเปน 180 องศา
2. ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
ขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของ
เสนตัดรวมกันเปน 180 องศาแลว เสนตรงคู
นั้นจะขนานกัน (บทกลับของขอ1)
3. ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว
มุมแยงจะมีขนาดเทากัน
4. ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งและทําให
มุมแยงมีขนาดเทากันแลว เสนตรงคูนั้น
จะขนานกัน (บทกลับของขอ 3)
5. ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขาม
บนขางเดียวกันของเสนตัดจะมีขนาดเทากัน
6. ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําใหมุม
ภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากันแลว เสน
ตรงคูนั้นจะขนานกัน (บทกลับของขอ 5)
รูปสามเหลี่ยมยังมีสมบัติที่สําคัญ คือ ขนาด
ของมุมทั้งสามของรูปสามเหลีย่ มใด ๆ รวมกันได
180 องศา มุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ
เทากับผลบวกของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิดของ
มุมภายนอก และรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของ
มุมเทากันสองคูจะไดวามุมคูที่สามจะมีขนาดเทา
กันดวย และรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ
กันแบบ มุม–มุม–ดาน หรือ ม.ม.ด. คือมีมุมที่
เทากันสองคู และมีดานที่อยูตรงขามกับมุมคูที่มี
ขนาดเทากัน ยาวเทากันคูหนึ่งแลวรูปสามเหลีย่ มนี้
จะเทากันทุกประการ
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมี
ผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนตองปฏิบัติ
1) รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรือ่ ง เสนขนานและมุมภายใน
2) รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรือ่ ง เสนขนานและมุมแยง
3) รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรือ่ ง เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
4) รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรือ่ ง เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
5) รวมปฏิบัติกิจกรรมประกอบการเรียนรูเรือ่ ง การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชใน
การแกปญหา
6) รวมปฏิบัติกิจกรรมฝกฝนทักษะตามแผนการจัดการเรียนรูหนวยการเรียนรูที่ 3
7) รวมปฏิบัติกิจกรรมฝกทักษะการใชภาษา สัญลักษณทางคณิตศาสตร แสดงความหมายและนํา
เสนอ
8) แบบบันทึกผลการอภิปราย
9) บันทึกความรู
10)การนําเสนอแฟมสะสมผลงาน
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2) การสนทนาซักถาม 2) แบบบันทึกการสนทนาซักถาม
3) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน 3) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน
รายบุคคลหรือเปนกลุม รายบุคคลหรือเปนกลุม
4) การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม 4) แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม
และคานิยม และคานิยม
5) การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ 5) แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ดาน ไดแก การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต
3.1 ดัดแปลง และนําไปใช การมีมุมมองที่หลากหลาย การใหความสําคัญใสใจในความรูสึกของ
3.1 ผูอื่นและการรูจักตนเอง
3.2 สมรรถนะสําคัญ เชน ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะชีวิต
3.1 และการใชเทคโนโลยี
3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค เชน มีวินัย ใฝเรียนรู เปนอยูพอเพียง รักชาติ ศาสน กษัตริย
3.1 รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ 3 ระบบจํานวนจริง เวลา 8 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 เสนขนานและมุมภายใน 1
แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 เสนขนานและมุมแยง 1
แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน 2
แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม 2
แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชในการ 2
แกปญหา
แผนการจัดการเรียนรูที่ 9
เสนขนานและมุมภายใน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 ระบบจํานวนจริง เวลา 1 ชัว่ โมง
1 สาระสําคัญ
การระบุวาเสนตรงสองเสนใด ๆ ขนานกันนั้น เราจะใชมุมที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดกับ
เสนตรงอีกสองเสนเปนสิ่งชวยในการตัดสิน ซึ่งมุมเหลานั้นอาจจะเปนมุมภายใน มุมภายนอก
มุมประชิด หรือมุมแยง คือ
1. ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลวขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของ
เสนตัดจะรวมกันเปน 180 องศา
2. ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําใหขนาดของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด
รวมกันเปน 180 องศาแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน (บทกลับของขอ1)
2 ตัวชี้วัดชวงชัน้
1. ใชสมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของเสนขนานในการให
เหตุผลและแกปญหา (ค 3.2 ม.2/1)
2. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา (ค 6.1 ม. 2/1)
3. ใชความรู ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
สถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/2)
4. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/3)
5. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได
อยางถูกตองและชัดเจน (ค 6.1 ม. 2/4)
6. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร
ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ (ค 6.1 ม. 2/5)
7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค (ค 6.1 ม. 2/6)
3 จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขทีท่ ําใหเสนตรงสองเสนขนานกันได (K)
2. ทํางานเปนระเบียบเรียบรอย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง (A)
3. การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนําเสนอและการเชื่อมโยงหลักการความรู
ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น (P)
4 การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู
ดานความรู (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. ตรวจผลการทําแบบทดสอบกอน – แบบทดสอบกอนเรียน –
เรียน
2. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การใหขอเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู
และการอภิปรายรวมกัน
3. ตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะ – กิจกรรมฝกทักษะ 3.1 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
3.1
4. ตรวจผลการทํากิจกรรมตาม – ใบงานที่ 14 เสนขนาน (1) ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ใบงานที่ 14, 15 และ 16 – ใบงานที่ 15 เสนขนาน (2)
– ใบงานที่ 16 เสนขนานและ
มุมภายใน
ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (A)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมขณะทํางาน – แบบประเมินพฤติกรรมขณะ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
รวมกับกลุม ทํางานรวมกับกลุม
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ – แบบประเมินดานคุณธรรม ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรม และคานิยม
และคานิยม
ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมการสือ่ สาร – แบบประเมินดานทักษะ/ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
การเชื่อมโยงหลักการความรู กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร
2. ประเมินพฤติกรรมตาม รายการ
ประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
3. สังเกตขณะปฏิบัติตามกิจกรรม – กิจกรรมฝกทักษะ 3.1 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ฝกทักษะ 3.1
4. สังเกตขณะปฏิบัติตามใบงานที่ – ใบงานที่ 14 เสนขนาน (1) ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
14, 15 และ16 – ใบงานที่ 15 เสนขนาน (2)
– ใบงานที่ 16 เสนขนานและ
มุมภายใน
5 สาระการเรียนรู
เสนขนาน
– เสนขนานและมุมภายใน
6. แนวทางบูรณาการ
ศิลปะ ประดิษฐแผนผังความคิดเรื่อง จํานวนจริง
ภาษาตางประเทศ นําเสนอเรื่อง จํานวนจริง ดวยวิธีตาง ๆ ดวยภาษาตางประเทศ
การงานอาชีพฯ ทําแผนพับใบความรูเกี่ยวเรื่อง จํานวนจริง โดยใชคอมพิวเตอร
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบ ทเรียน
1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวยการเรียนรูที่ 3 จํานวน 25 ขอ เวลา 25 นาที
2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู
3. สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่มีลักษณะบางอยางที่ขนานกัน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
1. รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับเสนขนานวามีลักษณะอยางไร มีอะไรที่บงบอกวาเปนเสนขนาน ครู
นําสื่อหรือภาพที่มีสวนประกอบของเสนขนานใหนักเรียนสังเกต
2. ใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งทีน่ ักเรียนคิดวามีสวนประกอบของเสนขนานในสิ่งนั้น ๆ ซึ่งแตละ
คนยกตัวอยางไมซ้ํากัน
3. ใหนักเรียนสรุปความหมายของเสนขนานและตัวอยางสิ่งที่เปนเสนขนานในใบงานที่ 14 เสน
ขนาน (1)
4. สนทนาเกี่ยวกับการเขียนสัญลักษณแทนคําวา ขนาน
5. ใหนักเรียนทําใบงานที่ 15 เสนขนาน (2) โดยพิจารณาวาเสนตรงสองเสนที่กําหนดขนานกัน
หรือไม โดยใชนิยามในการพิจารณาและใชสัญลักษณ (//) แทนคําวา ขนาน
6. ครูและนักเรียนชวยกันตรวจใบงานที่ 14 เสนขนาน (1)
8. ครูตั้งคําถามวาการพิจารณาเสนตรงสองเสนใด ๆ วาขนานกันหรือไมนนั้ ถาไมใชนิยามใน
การพิจารณา นักเรียนจะมีวิธพี ิจารณาอยางอืน่ อีกหรือไม
9. ครูติดแผนกระดาษ 2 แผน ลักษณะดังรูปบนกระดาน

รูปที่ 1 รูปที่ 2
10. สนทนาเกี่ยวกับรูปดังกลาว โดยที่ครูตั้งคําถามเหลานี้ เชน
– เสนใดเปนเสนตัด
– เกิดมุมกี่มุม
11. สนทนาเกี่ยวกับการเรียกชือ่ ของมุมทั้ง 4 (1, 2 เปนมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสน
ตัด l และ 3, 4 เปนมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด l เชนกัน)
12. ครูเขียนรูปดังแผนกระดาษอีกหลาย ๆ รูปแลวสุมถามนักเรียนทีละคนเกี่ยวกับมุมภายใน
ที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดโดยใหนักเรียนตอบมุมใหสมบูรณ เชน มุม A B C มุม B C A เปน
ตน
13. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนทํากิจกรรมในหนังสือเรียน
14. ครูเขียนรูปดังแผนกระดาษแลวตั้งคําถามวา รูปที่ 1 มุม 1 รวมกับมุม 2 ไดเทาไร แลว
ในรูปที่ 2 มุม 1 รวมกับมุม 2 ไดเทาไร
15. ครูเฉลยโดยใหนักเรียน 1 คนออกมาวัดมุมโดยใชไมโปรแทรกเตอรแลวนํามุมมารวมกัน
16. ครูถามถึงผลรวมของมุม 3 และมุม 4 เหมือนมุม 1 และ 2 หรือไม
17. ใหนักเรียนหาผลรวมของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดในกิจกรรมจากหนังสือเรียน
18. อภิปรายเกีย่ วกับความสัมพันธระหวางผลรวมของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดกับ
เสนขนาน
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเ รียน
1. นักเรียนทําใบงานที่ 16 เสนขนานและมุมภายใน
2. นักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะ 3.1ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2 เลม 1
ขั้นที่ 4 การนําไปใช
นักเรียนและครูรวมกันสนทนาตามหัวขอที่รวมกันทํากิจกรรมเพื่อนําเขาสู เรื่องสมบัติของจํานวน
จริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
ขั้นที่ 5 สรุปความคิดรวบยอด
นักเรียนชวยกันอภิปรายและสรุปบทเรียนจํานวนจริงโดยมีครูเปนผูใหคําแนะนําเพื่อความถูกตอง
และสมบูรณของเนื้อหา
8 กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนกลุมเดิมรวมกันแผนผังความคิดเรื่องจํานวนจริงเพื่อใชประกอบการเรียนในบทตอไป
9 สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. ใบงานที่ 14 เสนขนาน (1)
2. ใบงานที่ 15 เสนขนาน (2)
3. ใบงานที่ 16 เสนขนานและมุมภายใน
4. กระดาษรูปเสนขนาด 2 รูป 2 แผน
5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
6. สื่อการเรียนรู คณิตศาสตร สมบูรณแบบ ม. 2 เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
แหลงการเรียนรูเพิ่มเติม
1. หนังสือเสริมความรูคณิตศาสตร
2. บุคคลตาง ๆ เชน ครู เพื่อน ญาติ ผูรูดานคณิตศาสตร
3. อินเทอรเน็ต ขอมูลในการศึกษาเรื่อง ระบบจํานวนจริง
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู _________________________________________
แนวทางการพัฒนา__________________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรค ในการจัดการเรียนรู_ _____________________________________
แนวทางแกไขปญหา _________________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
เหตุผล__________________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู _______________________________________
_______________________________________________________________

ลงชื่อ _______________________________ ผูสอน


_______ / ________ / ________

แผนการจัดการเรียนรูที่ 10
เสนขนานและมุมแยง
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 ระบบจํานวนจริง เวลา 1 ชัว่ โมง
1 สาระสําคัญ
การระบุวาเสนตรงสองเสนใด ๆ ขนานกันนั้น เราจะใชมุมที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดกับ
เสนตรงอีกสองเสนเปนสิ่งชวยในการตัดสิน ซึ่งมุมเหลานั้นอาจจะเปนมุมภายใน มุมภายนอก
มุมประชิด หรือมุมแยง คือ
1. ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว มุมแยงจะมีขนาดเทากัน
2. ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งและทําใหมุมแยงมีขนาดเทากันแลว เสนตรงคูนั้นจะ
ขนานกัน (บทกลับของขอ 1)
2 ตัวชี้วัดชวงชัน้
1. ใชสมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของเสนขนานในการให
เหตุผลและแกปญหา (ค 3.2 ม.2/1)
2. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา (ค 6.1 ม. 2/1)
3. ใชความรู ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
สถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/2)
4. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/3)
5. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได
อยางถูกตองและชัดเจน (ค 6.1 ม. 2/4)
6. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร
ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ (ค 6.1 ม. 2/5)
7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค (ค 6.1 ม. 2/6)
3 จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขทีท่ ําใหเสนตรงสองเสนขนานกันได (K)
2. ทํางานเปนระเบียบเรียบรอย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง (A)
3. การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนําเสนอและการเชื่อมโยงหลักการความรู
ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น (P)
4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานความรู (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การใหขอเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู
และการอภิปรายรวมกัน
2. ตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะ – กิจกรรมฝกทักษะ 3.2 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
3.2

ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (A)


วิธีการวัดและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมขณะทํางาน – แบบประเมินพฤติกรรมขณะ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
รวมกับกลุม ทํางานรวมกับกลุม
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ – แบบประเมินดานคุณธรรม ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรม และคานิยม
และคานิยม

ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมการสือ่ สาร - แบบประเมินดานทักษะ/ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
การเชื่อมโยงหลักการความรู กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ
ประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
3. สังเกตขณะปฏิบัติตามกิจกรรม - กิจกรรมฝกทักษะ 3.2 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ฝกทักษะ 3.2

5 สาระการเรียนรู
เสนขนาน
– เสนขนานและมุมแยง
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย นําเสนอสมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ ดวยวิธีตาง ๆ
ศิลปะ ประดิษฐหนังสือเลมเล็กเรื่อง สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวก
และการคูณ
สุขศึกษาฯ คิดเกมคณิตศาสตรที่ใชความรูเรื่อง สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการ
บวกและการคูณ
ภาษาตางประเทศ นําเสนอสมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ ดวยวิธีตาง ๆ
ดวยภาษาตางประเทศ
การงานอาชีพฯ ทําแผนพับใบความรูเกี่ยวกับสมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวก
และการคูณโดยใชคอมพิวเตอร
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบ ทเรียน
นักเรียนและครูสนทนาถึงบทเรียนและกิจกรรมจากแผนการจัดการเรียนที่ 9 เสนขนานและมุม
ภายใน
– การพิจารณาเสนตรงสองเสนใด ๆ วาขนานกันหรือไม โดยใชบทนิยาม
– ทบทวนความสัมพันธของเสนขนานกับมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัด
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูตั้งคําถามวาการพิจารณาวาเสนตรงสองเสนขนานกันหรือไมนอกจากการใชบทนิยามและ
ผลรวมของมุมภายในที่อยูขางเดียวกันของเสนตัดแลวยังมีวิธีพิจารณาแบบอื่นอีกหรือไม
2. ครูติดแผนกระดาษ 2 แผนลักษณะดังรูป บนกระดาน
รูปที่ 1 รูปที่ 2
3. สนทนาเกี่ยวกับการเรียกชื่อของมุมทั้ง 4 (1 และ 4 เปนมุมแยงกัน, 2 และ 3 เปนมุม
แยงกัน)
4. ครูเขียนรูปดังแผนกระดาษอีกหลาย ๆ รูปแลวสุมถามนักเรียนทีละคนวามุมใดที่เปนมุม
แยงกันบาง
5. ใหนักเรียนทํากิจกรรมในหนังสือเรียน
6. ครูตั้งคําถามวา มุมแยงแตละคูมีขนาดของมุมเทาไรและมีอะไรที่เหมือนกัน ใหนักเรียนวัด
ขนาดของมุมแยงในกิจกรรมจากหนังสือเรียน
7. ในทํานองเดียวกันถากําหนดใหมุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงสองเสนจะขนานกันหรือ
ไม ใหนักเรียนศึกษาบทพิสูจนในหนังสือเรียน
8. อภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธของเสนขนานกับมุมแยง
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเ รียน
ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะ 3.2 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2 เลม 1
ขั้นที่ 4 การนําไปใช
นักเรียนและครูรวมกันสนทนาตามหัวขอที่รวมกันกิจกรรมเพื่อนําเขาสู เรื่องเสนขนานและมุม
ภายนอกกับมุมภายใน
ขั้นที่ 5 สรุปความคิดรวบยอด
นักเรียนชวยกันอภิปรายและสรุปบทเรียนเสนขนานและมุมภายใน โดยมีครูเปนผูใหคําแนะนํา
เพื่อความถูกตอง และสมบูรณของเนื้อหา
8 กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนกลุมเดิมรวมกันทําแผนผังความคิดเรื่อง เสนขนานและมุมภายใน และออกแบบ
ทดสอบปรนัยจํานวน 20–30 ขอ (ซึ่งครูสามารถดัดเลือกมาเปนแบบทดสอบนักเรียนได) เพื่อใช
ประกอบการเรียนในบทตอไป
9 สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. กระดาษรูปเสนขนาด 2 รูป 2 แผน
2. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
3. สื่อการเรียนรู คณิตศาสตร สมบูรณแบบ ม. 2 เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
แหลงการเรียนรูเพิ่มเติม
1. หนังสือเสริมความรูคณิตศาสตร
2. บุคคลตาง ๆ เชน ครู เพื่อน ญาติ ผูรูดานคณิตศาสตร
3. อินเทอรเน็ต ขอมูลในการศึกษาเรื่อง ระบบจํานวนจริง
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู _________________________________________
แนวทางการพัฒนา__________________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรค ในการจัดการเรียนรู_ _____________________________________
แนวทางแกไขปญหา _________________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
เหตุผล__________________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู _______________________________________
_______________________________________________________________

ลงชื่อ _______________________________ ผูสอน


_______ / ________ / ________
แผนการจัดการเรียนรูที่ 11
เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 ระบบจํานวนจริง เวลา 2 ชัว่ โมง

1 สาระสําคัญ
การระบุวาเสนตรงสองเสนใด ๆ ขนานกันนั้น เราจะใชมุมที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดกับ
เสนตรงอีกสองเสนเปนสิ่งชวยในการตัดสิน ซึ่งมุมเหลานั้นอาจจะเปนมุมภายใน มุมภายนอก
มุมประชิด หรือมุมแยง คือ
1. ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัดแลว มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขาม
บนขางเดียวกันของเสนตัดจะมีขนาดเทากัน
2. ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําใหมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากันแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน (บทกลับของขอ 1)
2 ตัวชี้วัดชวงชัน้
1. ใชสมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของเสนขนานในการให
เหตุผลและแกปญหา (ค 3.2 ม.2/1)
2. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา (ค 6.1 ม. 2/1)
3. ใชความรู ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
สถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/2)
4. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/3)
5. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได
อยางถูกตองและชัดเจน (ค 6.1 ม. 2/4)
6. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร
ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ (ค 6.1 ม. 2/5)
7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค (ค 6.1 ม. 2/6)
3 จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกสมบัติของเสนขนานและเงื่อนไขทีท่ ําใหเสนตรงสองเสนขนานกันได (K)
2. ทํางานเปนระเบียบเรียบรอย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง (A)
3. การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนําเสนอและการเชื่อมโยงหลักการความรู
ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น (P)
4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานความรู (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การใหขอเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู
และการอภิปรายรวมกัน
2. ตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะ – กิจกรรมฝกทักษะ 3.3 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
3.3

ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมขณะทํางาน – แบบประเมินพฤติกรรมขณะ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
รวมกับกลุม ทํางานรวมกับกลุม
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ – แบบประเมินดานคุณธรรม ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรม และคานิยม
และคานิยม

ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมการสือ่ สาร – แบบประเมินดานทักษะ/ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
การเชื่อมโยงหลักการความรู กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ
ประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
3. สังเกตขณะปฏิบัติตามกิจกรรม – กิจกรรมฝกทักษะ 3.3 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ฝกทักษะ 3.3

5 สาระการเรียนรู
เสนขนาน
– เสนขนานกับมุมภายนอกและมุมภายใน
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย เขียนเรียงความหัวขอ การเทากันของจํานวนจริง
ศิลปะ ประดิษฐงานศิลปที่มีความคิดรวบยอดเรื่อง การเทากันของจํานวนจริง
ภาษาตางประเทศ อานและเขียนสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองดวยภาษาตางประเทศ
การงานอาชีพฯ นําเสนอความรูเกี่ยวกับสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองโดยใช
คอมพิวเตอร
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบ ทเรียน
ทบทวนการพิจารณาเสนตรงสองเสนใด ๆ วาขนานกันหรือไม โดยใชบทนิยามมุมภายในและ
มุมแยง
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูตั้งคําถามวา การพิจารณาเสนตรงสองเสนใด ๆ วาขนานกันหรือไมนอกจากการ
ใชบทนิยาม มุมภายในและมุมแยงแลวยังมีวิธีพิจารณาแบบอื่นอีกหรือไม
2. ครูติดแผนกระดาษ 2 แผนลักษะดังรูปบนกระดาน

รูปที่ 1 รูปที่ 2

3. สนทนาเกีย่ วกับการเรียกชื่อมุมทั้ง 4 (1 และ 2 เปนมุมภายนอก 3 และ 4 เปนมุม


ภายใน 1 และ 3 เปนมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูต รงขามบนขางเดียวกันของ
เสนตัด l, 2 และ 4 เปนมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูต รงขามบนขางเดียวกัน
ของเสนตัด l )
4. ครูเขียนรูปดังแผนกระดาษอีกหลาย ๆ รูปแลวสุมนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับมุม
ภายนอกและมุมภายในทีละคน
5. ครูตั้งคําถามวารูปที่ 1 มุม 1 และมุม 3 มีขนาดมุมเทาไร มีอะไรที่เหมือนกันและ
มุมที่ 2 และ 4 มีขนาดมุมเทาไร ครูตั้งคําถามในทํานองนี้ในรูปที่ 2
6. ครูเฉลยคําตอบโดยใหนักเรียนวัดขนาดของมุมโดยใชไมโปรแทรกเตอร
7. สนทนาเกีย่ วกับความสัมพันธของเสนขนานกับมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูต รง
ขามบนขางเดียวกันของเสนตัด
8. ในทํานองเดียวกันครูกําหนดเสนตรงสองเสน ซึ่งมีมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู
ตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดเทากัน แลวใหนักเรียนแสดงวาเสนตรงสองเสน
นั้นขนานกันหรือไม
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเ รียน
ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะ 3.3 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 4 เลม 1
ขั้นที่ 4 การนําไปใช
นักเรียนและครูรวมกันสนทนาตามหัวขอที่รวมกันกิจกรรมเพื่อนําเขาสู เรื่อง อสมการตัวแปรเดียว
ดีกรีไมเกินสอง
ขั้นที่ 5 สรุปความคิดรวบยอด
นักเรียนชวยกันอภิปรายและสรุปบทเรียนสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองโดยมีครูเปนผูใหคํา
แนะนําเพื่อความถูกตองและสมบูรณของเนื้อหา
8 กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนกลุมเดิมรวมกันแผนผังความคิดเรื่อง จํานวนจริงเพือ่ ใชประกอบการเรียนในบทตอไป
9 สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. กระดาษรูปเสนขนาด 2 รูป 2 แผน
2. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
3. สื่อการเรียนรู คณิตศาสตร สมบูรณแบบ ม. 2 เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
แหลงการเรียนรูเพิ่มเติม
1. หนังสือเสริมความรูคณิตศาสตร
2. บุคคลตาง ๆ เชน ครู เพื่อน ญาติ ผูรูดานคณิตศาสตร
3. อินเทอรเน็ต ขอมูลในการศึกษาเรื่อง ระบบจํานวนจริง
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู _________________________________________
แนวทางการพัฒนา__________________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรค ในการจัดการเรียนรู_ _____________________________________
แนวทางแกไขปญหา _________________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
เหตุผล__________________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู _______________________________________
_______________________________________________________________

ลงชื่อ _______________________________ ผูสอน


_______ / ________ / ________
แผนการจัดการเรียนรูที่ 12
เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 ระบบจํานวนจริง เวลา 2 ชั่วโมง
1 สาระสําคัญ
รูปสามเหลี่ยมยังมีสมบัติที่สําคัญ คือ ขนาดของมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ รวมกันได
180 องศา มุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ เทากับผลบวกของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิดของ
มุมภายนอก และรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเทากันสองคูจะไดวามุมคูที่สามจะมีขนาดเทา
กันดวย และรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม–มุม–ดาน หรือ ม.ม.ด. คือมีมุมที่
เทากันสองคู และมีดานที่อยูตรงขามกับมุมคูที่มีขนาดเทากัน ยาวเทากันคูหนึ่งแลวรูปสามเหลี่ยมนี้
จะเทากันทุกประการ
2 ตัวชี้วัดชวงชัน้
1. ใชสมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของเสนขนานในการให
เหตุผลและแกปญหา (ค 3.2 ม.2/1)
2. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา (ค 6.1 ม. 2/1)
3. ใชความรู ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
สถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/2)
4. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/3)
5. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได
อยางถูกตองและชัดเจน (ค 6.1 ม. 2/4)
6. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร
ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ (ค 6.1 ม. 2/5)
7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค (ค 6.1 ม. 2/6)
3 จุดประสงคการเรียนรู
1. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม-มุม-ดาน เทากันทุกประการ (K)
2. ทํางานเปนระเบียบเรียบรอย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง (A)
3. การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนําเสนอและการเชื่อมโยงหลักการความรู
ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น (P)
5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานความรู (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การใหขอเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู
และการอภิปรายรวมกัน
2. ตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะ – กิจกรรมฝกทักษะ 3.4 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
3.4
4. ตรวจผลการทํากิจกรรมตามใบ – ใบงานที่ 17 แลววัดขนาดของ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
งานที่ 17, 18 มุม
– ใบงานที่ 18 เสนขนานและรูป
สามเหลี่ยม
ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (A)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมขณะทํางาน – แบบประเมินพฤติกรรมขณะ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
รวมกับกลุม ทํางานรวมกับกลุม
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ – แบบประเมินดานคุณธรรม ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ดานคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรม และคานิยม
และคานิยม

ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมการสือ่ สาร – แบบประเมินดานทักษะ/ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
การเชื่อมโยงหลักการความรู กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ
ประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
3. สังเกตขณะปฏิบัติตามกิจกรรม – กิจกรรมฝกทักษะ 3.4 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ฝกทักษะ 3.4
4. สังเกตขณะปฏิบัติตามใบงานที่ – ใบงานที่ 17 แลววัดขนาดของ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
17, 18 มุม
– ใบงานที่ 18 เสนขนานและรูป
สามเหลี่ยม

5 สาระการเรียนรู
รูปสามเหลี่ยมและเสนขนาน
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย นําเสนอสมบัติการไมเทากัน ดวยวิธีตาง ๆ
ศิลปะ ประดิษฐงานศิลปที่มีความคิดรวบยอดเรื่อง สมบัติการไมเทากัน
สุขศึกษาฯ คิดเกมคณิตศาสตรที่ใชความรูเรื่องการแยกตัวประกอบ
ภาษาตางประเทศ นําเสนอสมบัติการไมเทากัน ดวยวิธีตาง ๆ ดวยภาษาตางประเทศ
การงานอาชีพฯ ทําปายนิเทศความรูเกี่ยวกับอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองโดยใช
คอมพิวเตอร
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบ ทเรียน
1. สนทนาเกี่ยวกับขนาดของมุมตรง โดยใหนกั เรียนใชไมโปรแทรกเตอรวัดวามีขนาดกี่องศา
2. สนทนาเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ
ดาน–ดาน–ดาน (ด.ด.ด.) มุม–ดาน–มุม (ม.ด.ม.) ดาน–มุม–ดาน (ด.ม.ด.) และดาน–
ฉาก–ดาน (ด.ฉ.ด.)
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูตั้งคําถามวามุมภายในของรูปสามเหลีย่ มใด ๆ มีขนาดกี่องศา นักเรียนมีวิธีการคิด
อยางไร
2. ใหนักเรียนทุกคนวาดรูปสามเหลี่ยมลงในใบงานที่ 17 แลววัดขนาดของมุม
3. สนทนาเกี่ยวกับมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมในใบงานที่ 17
4. ครูตั้งคําถามวา ถาตองการทราบมุมภายในของรูปสามเหลีย่ มโดยไมใชไมโปรแทรกเตอรวัด
จะมีวิธีทําอยางไรใหนักเรียนทําใบงานที่ 18 เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
5. สนทนาเกี่ยวกับมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมกับเสนขนานที่ไดจากใบงานที่ 18
6. ครูเขียนรูปดังนี้บนกระดาน

7. สนทนาเกีย่ วกับชื่อเรียกของมุมที่ 4 (มุมประชิด) แลวถามนักเรียนวามุมที่ 4 มีขนาด


กี่องศา และ 1 + 2 มีขนาดกี่องศา ใหนักเรียนหาคําตอบโดยใชไมโปรแทรกเตอรวดั
แลวขนาดของมุม 1 + 2 มีความสัมพันธกับขนาดของ 4 อยางไร ใหนักเรียนศึกษา
การพิสูจนเพิ่มเติมในหนังสือเรียน
8. ครูเขียนรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการบนกระดาน แลวตั้งคําถามวาจะทราบ
ไดอยางไรวารูปสามเหลี่ยมสองรูปนี้เทากันทุกประการ (พิจารณาจากความสัมพันธ ด.
ด.ด. หรือ ด.ม.ด. หรือ ม.ด.ม.)
9. ถาใชความสัมพันธ มุม–มุม–ดาน (ม.ม.ด.) สามารถบอกไดหรือไมวารูปสามเหลีย่ ม
สองรูปนั้นเทากัน
10. ครูกําหนดขนาดของมุมของรูปสามเหลี่ยม 2 มุมและความยาวดานอีกหนึ่งดาน
ใหนกั เรียนทุกคนวาดภาพรูปสามเหลี่ยมตามที่ครูกําหนด
11. ทุกคนนํารูปสามเหลี่ยมทีไ่ ดมาเปรียบเทียบกันวาเหมือนกันทุกประการหรือไม (ถา
นักเรียนวาดตามขอกําหนด รูปที่ไดจะเหมือนกัน)
12. อภิปรายเกีย่ วกับรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการ โดยมีความสัมพันธแบบ
มุม–มุม–ดาน
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเ รียน
ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะ 3.4 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2 เลม 1
ขั้นที่ 4 การนําไปใช
นักเรียนและครูรวมกันสนทนาตามหัวขอที่รวมกันกิจกรรมเพื่อนําเขาสู เรื่อง การนําสมบัติของ
รูปสามเหลีย่ มและเสนขนานไปใชในการแกปญหา
ขั้นที่ 5 สรุปความคิดรวบยอด
นักเรียนชวยกันอภิปรายและสรุปบทเรียนอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง โดยมีครูเปนผูให
คําแนะนําเพื่อความถูกตองและสมบูรณของเนื้อหา
8 กิจกรรมเสนอแนะ
นักเรียนกลุมเดิมรวมกันทําแผนผังความคิดเรื่อง จํานวนจริงเพื่อใชประกอบการเรียนในบท
ตอไป
9 สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
2. สื่อการเรียนรู คณิตศาสตร สมบูรณแบบ ม. 2 เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
แหลงการเรียนรูเพิ่มเติม
1. หนังสือเสริมความรูคณิตศาสตร
2. บุคคลตาง ๆ เชน ครู เพื่อน ญาติ ผูรูดานคณิตศาสตร
3. อินเทอรเน็ต ขอมูลในการศึกษาเรื่อง ระบบจํานวนจริง
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู __________________________________________
แนวทางการพัฒนา__________________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรค ในการจัดการเรียนรู_ _____________________________________
แนวทางแกไขปญหา ________________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
เหตุผล__________________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู _______________________________________
_______________________________________________________________

ลงชื่อ _______________________________ ผูสอน


_______ / ________ / ________

แผนการจัดการเรียนรูที่ 13
การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชในการแกปญหา
กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 ระบบจํานวนจริง เวลา 2 ชั่วโมง
1 สาระสําคัญ
สมบัติที่สําคัญ คือ ขนาดของมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ รวมกันได 80 องศา มุมภายนอก
ของรูปสามเหลีย่ มใด ๆ เทากับผลบวกของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิดของมุมภายนอก และเสนตรง
สองเสนใด ๆ ขนานกันนั้น เราจะใชมุมที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดกับเสนตรงอีกสองเสนเปนสิ่งชวย
ในการตัดสิน ซึ่งนําไปใชในการแกปญหา
2 ตัวชี้วัดชวงชัน้
1. ใชสมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและสมบัติของเสนขนานในการให
เหตุผลและแกปญหา (ค 3.2 ม.2/1)
2. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญ  หา (ค 6.1 ม. 2/1)
3. ใชความรู ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
สถานการณ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/2)
4. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม (ค 6.1 ม. 2/3)
5. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได
อยางถูกตองและชัดเจน (ค 6.1 ม. 2/4)
6. เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร
ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ (ค 6.1 ม. 2/5)
7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค (ค 6.1 ม. 2/6)
3 จุดประสงคการเรียนรู
1. ใชสมบัติที่เกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานในการใหเหตุผล
และแกปญหาได (K)
3. ทํางานเปนระเบียบเรียบรอย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง (A)
4. การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนําเสนอและการเชื่อมโยงหลักการความรู
ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น (P)
4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานความรู (K)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การใหขอเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู
และการอภิปรายรวมกัน
2. ตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะ – กิจกรรมฝกทักษะ 3.5 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
3.5
3. ตรวจผลการทํากิจกรรมตามใบ – ใบงานที่ 19 การนําสมบัติของรูป ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
งานที่ 19, 20 และ21 สามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชใน
การแกปญหา (1)
– ใบงานที่ 20 การนําสมบัติของ
รูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไป
ใชในการแกปญหา (2)
– ใบงานที่ 21 การตั้งปญหาเกี่ยว
กับเสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
3.ตรวจผลการทําแบบทดสอบวัด – แบบทดสอบวัดความรูประจํา ผานเกณฑเฉลี่ย 75%
ความรูประจําหนวย หนวย
4. การทําแบบทดสอบหลังเรียน – แบบทดสอบหลังเรียน ผานเกณฑเฉลี่ย 50%

ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (A)


วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมขณะทํางาน – แบบประเมินพฤติกรรมขณะ ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
รวมกับกลุม ทํางานรวมกับกลุม
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ – แบบประเมินดานคุณธรรม ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม
จริยธรรม และคานิยม

ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมการสือ่ สาร – แบบประเมินดานทักษะ/กระบวน ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
การเชื่อมโยงหลักการความรู การ
ทางคณิตศาสตร
2. ประเมินพฤติกรรมตามรายการ
ประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
3. สังเกตขณะปฏิบัติตามกิจกรรม – กิจกรรมฝกทักษะ 3.5 ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
ฝกทักษะ 3.5
4. สังเกตขณะปฏิบัติตามใบงานที่ – ใบงานที่ 19 การนําสมบัติของรูป ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
งานที่ 19, 20 และ21 สามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชใน
การแกปญหา (1)
– ใบงานที่ 20 การนําสมบัติของ
รูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไป
ใชในการแกปญหา (2)
– ใบงานที่ 21 การตั้งปญหาเกี่ยว
กับเสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
5. ประเมินแฟมสะสมผลงาน – แบบบันทึกความคิดเห็น ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป
เกี่ยวกับการประเมินชิ้นงาน
ในแฟมสะสมผลงาน
- แบบประเมินแฟมสะสมผลงาน ผานเกณฑเฉลี่ย 3 ขึ้นไป

5 สาระการเรียนรู
การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชในการแกปญหา
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย นําเสนอคาสมบูรณของจํานวนจริงดวยวิธีตาง ๆ
ภาษาตางประเทศ นําเสนอคาสมบูรณของจํานวนจริง ดวยวิธีตา ง ๆ ดวยภาษาตางประเทศ
การงานอาชีพฯ ทําสื่อการเรียนรูเกี่ยวกับคาสมบูรณของจํานวนจริงโดยใชคอมพิวเตอร
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบ ทเรียน
ทบทวนเรื่องเสนขนานกับรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานกับมุมตาง ๆ
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูยกตัวอยางการนําสมบัติของเสนขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใชในการแกปญหา เชน

แลวตั้งคําถาม ใหนักเรียนตอบพรอมกัน เชน


1. 1 เทากับกี่องศาเพราะเหตุผลใด
2. 3 เทากับกี่องศาเพราะเหตุผลใด
3. 2 เทากับกี่องศาเพราะเหตุผลใด
4. 4 เทากับกี่องศาเพราะเหตุผลใด
2. ครูยกตัวอยางอีก 3–4 ตัวอยางแลวตั้งคําถามสุมถามนักเรียนทีละคน
3. ใหนักเรียนศึกษาตัวอยางและการใหเหตุผลเพิ่มเติมในหนังสือเรียน หรือหนังสือตาง ๆ ที่
เกี่ยวของ
4. ใหนักเรียนแบงกลุมทําใบงานที่ 19 การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชใน
การแกปญหา (1) แลวสงใบงานที่ครู
5. ครูคัดลอกรูปในใบงานบนกระดาน แลวสุมถามนักเรียนเกี่ยวกับคําถามตาง ๆ ในใบงาน
อยางนอยขอละ 2 คน
6. ใหนักเรียนทุกคนจับฉลากเลือกทําแบบฝกหัดในใบงานที่ 20 การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยม
และเสนขนานไปใชในการแกปญหา (2) คนละ 1 ขอ แลวสงใบงานที่ครู
7. นักเรียนที่จับไดขอเดียวกันรวมกลุมปรึกษาถึงคําตอบของแตละคนวาเปนอยางไรของใครที่
ถูกตอง แลวสงตัวแทนเสนอวิธีคิดบนกระดานตามลําดับขอของกลุม
9. ใหนักเรียนตั้งปญหาที่ตองใชสมบัตขิ องเสนขนานและรูปสามเหลี่ยมในการแกปญหา 3–5 ขอ
แลวแสดงวิธที ําพรอมใหเหตุผลในการหาคําตอบในใบงานที่ 21 การตั้งปญหาเกี่ยวกับเสน
ขนานและรูปสามเหลี่ยม
10. ครูและนักเรียนชวยกันตรวจใบงานของนักเรียนทีละคน บนกระดาน
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเ รียน
ใหนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะ 3.5 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2 เลม 1
ขั้นที่ 4 การนําไปใช
นักเรียนและครูรวมกันสนทนาตามหัวขอที่รวมกันกิจกรรมเพื่อนําเขาสู เรื่องคาสมบูรณของ
จํานวนจริง
ขั้นที่ 5 สรุปความคิดรวบยอด
นักเรียนชวยกันอภิปรายและสรุปบทเรียนอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองโดยมีครูเปนผูให
คําแนะนําเพื่อความถูกตองและสมบูรณของเนื้อหา
8 กิจกรรมเสนอแนะ
จัดใหมีการประกวดสรางสื่อนําเสนอโดยใชโปรแกรมคอมพิเตอร หรือสรางเว็ตไซตเรื่อง
ระบบจํานวนจริง เพื่อใชประกอบบทเรียน
9 สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. รูปสามเหลี่ยม ABC
2. ใบงานที่ 19 การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชในการแกปญหา (1)
3. ใบงานที่ 20 การนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมและเสนขนานไปใชในการแกปญหา (2)
4. ใบงานที่ 21 การตั้งปญหาเกี่ยวกับเสนขนานและรูปสามเหลี่ยม
5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม. 2 เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
6. สื่อการเรียนรู คณิตศาสตร สมบูรณแบบ ม. 2 เลม 1 (บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช
จํากัด)
แหลงการเรียนรูเพิ่มเติม
1. หนังสือเสริมความรูคณิตศาสตร
2. บุคคลตาง ๆ เชน ครู เพื่อน ญาติ ผูรูดานคณิตศาสตร
3. อินเทอรเน็ต ขอมูลในการศึกษาเรื่อง ระบบจํานวนจริง
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู _________________________________________
แนวทางการพัฒนา__________________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรค ในการจัดการเรียนรู_ _____________________________________
แนวทางแกไขปญหา _________________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
เหตุผล__________________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู _______________________________________
_______________________________________________________________
ลงชื่อ _______________________________ ผูสอน
_______ / ________ / ________

You might also like