You are on page 1of 75

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔


หน่วยที่ ๑๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง จำนวน ๗ คาบ
แผนการสอนที่ ๒๐ เรื่ อง การอ่านในใจบทเรี ยน เวลา ๑ คาบ
สอนวันที่ ๒ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๔
............................................................................................................................................................................

สาระสำคัญ
การอ่านในใจเป็ นการอ่านที่เข้าใจเรื่ องราวได้เพียงคนเดียว ผูอ้ า่ นต้องใช้สมาธิ ในการอ่าน ศึกษาคำยาก
ตั้งจุดหมายในการอ่าน อ่านอย่างพินิจ พิจารณา จะทำให้จบั ใจความสำคัญของเรื่ องที่อ่าน สามารถตอบคำถาม
ลำดับเหตุการณ์ของเรื่ อง และนำไปเขียนเป็ นแผนภาพโครงเรื่ อง เพื่อเล่าเรื่ องและเขียนเรื่ องได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ความรู้
๑. อ่านในใจบทเรี ยนตามหลักการอ่านในใจที่ดี
๒. ตั้งคำถาม ตอบคำถาม อภิปรายและสรุ ปข้อคิดจากเรื่ องที่อ่านได้
ทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( A )
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตามกำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู ้ )
๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง

สาระการเรียนรู้
๑. การอ่านในใจบทเรี ยน เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง
๒. การตั้งคำถาม ตอบคำถามและสรุ ปข้อคิดของเรื่ อง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนการเรี ยนรู ้
๒. นักเรี ยนอ่านบทร้อยกรองจากแผนภูมิบทร้อยกรอง “เที่ยวเมืองพระร่ วง” หรื อจากหนังสื อเรี ยน
สาระการเรี ยนรู้พ้ืนฐาน ชุดภาษาเพื่อชีวิต “วรรณคดี ลำนำ” ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ หน้า ๑๖๔ โดยอ่านเป็ น
ทำนองธรรมดาดังๆ พร้อมกัน แล้วสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของบทร้อยกรอง โดยครู ช่วยถามนำ เพื่อกระตุน้ ให้
นักเรี ยนตอบ จากนั้นฝึ กอ่านเป็ นทำนองเสนาะตามครู จนคล่อง
๓. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาถึงรู ปภาพในบทเรี ยนหน้า ๑๖๕ ครู ช่วยถามนำ เพื่อกระตุน้
ให้นกั เรี ยนร่ วมกันตอบปากเปล่าตามความเข้าใจและ ความรู ้สึกนึกคิดของนักเรี ยน
๔. นักเรี ยนอ่านในใจในหน่วยที่ ๑๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง โดยอ่านเป็ นรายบุคคล (เน้นการอ่าน
พินิจพิจารณา)
๕. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๖ คน (หรื อตามความเหมาะสม) ให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมดังต่อไปนี้
- นักเรี ยนตั้งคำถามจากเรื่ องที่อ่านให้ได้มากที่สุด เพื่อที่จะได้ถามกลุ่มอื่น
- นักเรี ยนร่ วมกันเขียนคำถามลงในแถบประโยค
- นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนำแถบประโยคคำถามติดไว้ที่กระเป๋ าผนัง (คำถามอาจซ้ำกันได้)
- นักเรี ยนกลุ่มใดตอบคำถามจากเพื่อนหรื อกลุ่มอื่นได้ให้นำแถบคำตอบไปต่อหลังคำถามนั้น
- จากนั้นให้นกั เรี ยนร่ วมกันอ่านประโยคคำถามและคำตอบพร้อมกันทั้งหมด
- นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมาอ่านคำถามและคำตอบหน้าชั้นเรี ยน อีกครั้ง
๖. มอบหมายให้นกั เรี ยนทำแบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชุดภาษาเพื่อชีวิต ทำเป็ นการบ้าน
๗. นักเรี ยนทำใบงาน
๘. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้


๑. แผนภูมิบทร้อยกรอง
๒. แถบประโยค
๓. กระเป๋ าผนัง
๔. ใบงาน
๕. แบบเรี ยนภาษาพาที ป.๔
๖. แบบฝึ กหัดทักษะทางภาษา ชุดภาษาเพื่อชีวิต

การวัดผลประเมินผล
๑. ด้ านความรู้ (K) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการอ่าน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. แบบประเมินการตอบคำถาม
๔. แบบประเมินใบงาน
๕. แบบฝึ กหัด
๒. ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นการบริหารวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................หัวหน้าการบริ หารวิชาการ
(นางสาววิไลลักษณ์ จานตาดี)
ตำแหน่ง ครู คศ. ๑

ความคิดเห็นผู้อำนวยการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(นายนวทัศน์ แนวสุ ข)
ตำแหน่ง ผูอำ ้ นวยการโรงเรี ยนบ้านท่าผักชี

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ ทเี่ กิดขึน้ กับผู้เรียน


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................
(นางสาวนลินี ชัยงาม)
ตำแหน่ง ครู ผชู ้ ่วย
วันที่........เดือน......................พ.ศ……….

แบบทดสอบก่ อนการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๑๗

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย  ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. นักเรียนคิดว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้ าเจ้ าอยู่หัวทรงอธิบายเกีย่ วกับเรื่องวาจาสิ ทธิ์ของ พระร่ วงไว้


อย่ างไร
ก. พระร่ วงเป็ นผูม้ ีบุญญาธิการและมีอานุภาพวาจาสิ ทธิ์ ตามตำนาน
ข. พระร่ วงเป็ นผูท้ ี่ประชาชนนับถือ ดังนั้นจะบัญชาให้ทำอะไรก็ได้ตามนั้น
ค. ยังไม่สามารถสรุ ปแน่นอนได้
ง. พระร่ วงเป็ นลูกเจ้าเมืองเป็ นผูม้ ีบุญญาธิ การมาเกิดจึงมีวาจาสิ ทธิ์
๒. วันพ่ อขุนรามคำแหงมหาราช ตรงกับวันใด
ก. ๑๗ มกราคม ข. ๒๕ มีนาคม
ค. ๖ เมษายน ง. ๒๓ ตุลาคม
๓. ชื่อของมัคคุเทศก์น้อย ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักใด
ก. หลักที่ ๑ ข. หลักที่ ๒
ค. หลักที่ ๓ ง. หลักที่ ๔
๔. ข้ อใดกล่ าวไม่ ถูกต้ องเกีย่ วกับมัคคุเทศก์น้อย
ก. พ่อแม่ขายของที่ระลึก ข. พ่อเป็ นช่างแกะสลักไม้
ค. แม่เป็ นช่างสี ง. มัคคุเทศก์นอ้ ยมีความรู ้ไม่แพ้มคั คุเทศก์ตวั จริ ง
๕. ข้ อใดกล่ าวถึงเกีย่ วกับขอมดำดินไม่ ถูกต้ อง
ก. นายทหารของขอม ข. พญาเดโช
ค. พญาสี หราชเดโช ง. ปลอมตัวมาจับพระร่ วง
๖. บทละครพูด เรื่อง พระร่ วง เป็ นบทพระราชนิพนธ์ ของกษัตริย์พระองค์ ใด
ก. รัชกาลที่ ๒ ข. รัชกาลที่ ๔
ค. รัชกาลที่ ๕ ง. รัชกาลที่ ๖
๗. นักเรียนคิดว่า พระร่ วง มีคุณสมบัติพเิ ศษอย่ างไร
ก. มีอานุภาพ ข. มีวาจาสิ ทธิ์
ค. เก่งกล้าสามารถ ง ข้อ ก และ ข
๘. นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดนายร่ วงจึงหนีไปบวชที่เมืองสุ โขทัย
ก. ทราบว่าพระเจ้าพันธุมสุ ริยวงศ์ให้ทหารมาจับตน
ข ทราบว่าพระเจ้าพันธุมสุ ริยวงศ์จะให้ส่งน้ำมากขึ้น
ค. ทราบว่าพระเจ้าพันธุมสุ ริยวงศ์โกรธที่แสดงปาฏิหาริ ยใ์ ห้น ้ำไหลออกจากชะลอมจนหมด
ง. ถูกทุกข้อ
๙. ทำไมพระร่ วงจึงรู้ ว่าผู้มาถามหาพระร่ วง ที่แท้ น้ันเป็ นศัตรู
ก. สังเกตจากการแต่งกาย
ข. สังเกตจากรู ปร่ างหน้าตา
ค. สังเกตจากเสี ยงพูด
ง. ถูกทุกข้อ
๑๐. “มัคคุเทศก์” หมายถึงใคร
ก. ผูนำ้ เที่ยว ข. ผูนำ
้ ทาง
ค. ผูช้ ้ ีทาง ผูบ้ อกทาง ง. ถูกทุกข้อ

เฉลยแบบทดสอบก่อนการเรียนรู ้ หน่ วยที่ ๗


๑ ก
๒ ก
๓ ก
๔ ค
๕ ค
๖ ง
๗ ค
๘ ก
๙ ง
๑๐ ง

ใบงาน

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. เรื่ องเที่ยวเมืองพระร่ วง ที่นกั เรี ยนอ่านนี้ อยูใ่ นหนังสื ออะไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๒. ขอมดำดิน เป็ นใคร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๓. ใครเป็ นคนเล่านิทานเรื่ องนี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๔. คนเล่านิทานเรื่ องนี้ มีนิทานอยูเ่ ต็มท้องเปรี ยบเหมือนกับอะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๕. คนเล่านิทานเรื่ องนี้ กล่าวทักทายนักฟังนิทาน ถึงเรื่ องอะไรบ้าง………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………...
๖. คนเล่านิทานเรื่ องนี้ เล่านิทานที่ไหน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๗. จากนิทานเรื่ องนี้ ใครเป็ นต้นเหตุของเรื่ อง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๙. สุ ดท้ายของเรื่ องเป็ นอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๑๐. เรื่ องนี้ให้ขอ้ คิดอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
หน่วยที่ ๑๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง จำนวน ๗ คาบ
แผนการสอนที่ ๑๙ เรื่ อง การอ่านออกเสี ยงและเขียนตามคำบอก เวลา ๑ คาบ
สอนวันที่ ๖ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๔
............................................................................................................................................................................

สาระสำคัญ
การอ่านออกเสี ยง เป็ นทักษะการสื่ อสารที่ทำให้คนอื่นสามารถรับรู ้เรื่ องราว เนื้ อหาสาระจากผูอ้ า่ นได้
ด้วย ดังนั้นควรอ่านให้ถูกต้องตามหลักการอ่าน จึงจะทำให้การอ่านประสบความสำเร็ จ กระทำได้โดยฝึ กอ่าน
คำยาก ฝึ กอ่านตามลักษณะของเสี ยงและคำประพันธ์ รู ้จกั ใช้น ้ำเสี ยงตามอารมณ์ของ
ตัวละคร เน้นจังหวะหนักเบาเหมือนเสี ยงพูด จะทำให้อ่านได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว และช่วยให้สื่อสารได้อย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ความรู้
๑. อ่านออกเสี ยงคำยาก
๒. อ่านประโยคในบทเรี ยน
๓. อ่านอกเสี ยงในบทเรี ยน
๔. เขียนตามคำบอก
ทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( A )
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตามกำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู ้ )

๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง

สาระการเรียนรู้
๑. หน่วยที่ ๑๗ เที่ยวเมืองพระร่ วง
๒. การอ่านออกเสี ยงเนื้อเรื่ องในบทเรี ยน
๓. การเขียนตามคำบอก

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสนทนาทบทวนบทเรี ยนจากชัว่ โมงที่ผา่ นมา
๒. นักเรี ยนฝึ กอ่านคำยากในบทเรี ยนจากบัตรคำที่ครู เตรี ยมมา
๓. สนทนาความหมายของคำยากโดยให้นกั เรี ยนค้นคว้าหาความหมายจากพจนานุกรมแล้วทำลงใน
ใบงาน
๔. นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงจากแถบประโยค หรื อแผนภูมิประโยคที่ครู เขียนบนกระดานดำ โดยสังเกต
คำที่ขีดเส้นใต้
๕. นักเรี ยนฝึ กอ่านออกเสี ยงในบทเรี ยน โดยครู อ่านให้นกั เรี ยนฟังเป็ นตัวอย่างแล้วให้นกั เรี ยนอ่าน
ตาม จากนั้นให้นกั เรี ยนฝึ กอ่านคนละ ๑ ย่อหน้า
๖. นักเรี ยนฝึ กอ่านในกลุ่มของตนเองจนคล่อง
๗. นักเรี ยนคนใดที่อ่านบกพร่ อง ให้มาอ่านกับครู เป็ นรายบุคคล
๘. นักเรี ยนเขียนตามคำบอก เสร็ จแล้วตรวจคำตอบจากบัตรเฉลยที่ครู แสดงให้ดู
๙. มอบหมายให้ทำแบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชุดภาษาเพื่อชีวิต เป็ นการบ้าน
๑๐. นักเรี ยนทำใบงาน (ภาคผนวก)
๑๑. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้


๑. บัตรเฉลย
๒. บัตรคำยาก
๓. แถบประโยค
๔. กระเป๋ าผนัง
๕. พจนานุกรม
๖. ใบงาน
๗. หนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ชุดวรรณคดีลำนำ
๘. แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชุดภาษาเพื่อชีวิต ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

การวัดผลประเมินผล
๑. ด้ านความรู้ (K) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการอ่าน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. แบบประเมินการตอบคำถาม
๔. แบบประเมินใบงาน
๕. แบบฝึ กหัด
๒. ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นการบริหารวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................หัวหน้าการบริ หารวิชาการ
(นางสาววิไลลักษณ์ จานตาดี)
ตำแหน่ง ครู คศ. ๑

ความคิดเห็นผู้อำนวยการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(นายนวทัศน์ แนวสุ ข)
ตำแหน่ง ผูอำ
้ นวยการโรงเรี ยนบ้านท่าผักชี

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ ทเี่ กิดขึน้ กับผู้เรียน


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................
(นางสาวนลินี ชัยงาม)
ตำแหน่ง ครู ผชู ้ ่วย
วันที่........เดือน......................พ.ศ……….

ใบงาน
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนความหมายของคำที่กำหนดให้ถูกต้องจากพจนานุกรม

ชะลอม
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
ทนาย
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
บวงสรวง
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
ปลาต
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
มัคคุเทศก์
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
รัฐสี มา
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
ฤษยา
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
ศัตรู
หมายถึง……………………………………………………………………………………..
ใบงานที่ ๒

คำชี้แจง ให้ นักเรียนเขียนคำอ่านจากคำที่กำหนดให้ อย่ างถูกต้ อง

ตัวอย่าง น้ำผึง้ อ่านว่า น้ำ – ผึง้

๑.มัคคุเทศก์ อ่านว่า …………………………………..


๒.สุ โขทัย อ่านว่า …………………………………..
๓.อุทยาน อ่านว่า …………………………………..
๔.ประวัติศาสตร์ อ่านว่า …………………………………..
๕.สถานที่ อ่านว่า …………………………………..
๖.มหาราช อ่านว่า …………………………………..
๗.พระมหากษัตริ ย ์ อ่านว่า …………………………………..
๘.บวงสรวง อ่านว่า …………………………………..
๙.ดวงพระวิญญาณ อ่านว่า …………………………………..
๑๐.สมโภช อ่านว่า …………………………………..
ใบงาน
เรื่อง การเขียนรายงานการอ่ านหนังสื อ

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนไปอ่านหนังสื อนิทานแล้วเติมข้อความลงในแบบรายงานการอ่านหนังสื อให้ได้ใจความ


สมบูรณ์

แบบรายงานการอ่ านหนังสื อ
เรื่ อง ………………………………………………………………………………………..................
ชื่อผูแ้ ต่ง ………………………………………………………………………………………………
ตัวละคร ……………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
เนื้อเรื่ องย่อ…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ตัวละครที่ชอบมากที่สุด ………………………………………………………………………………..
ชอบเพราะ ……………………………………………………………………………………………..
ตัวละครที่ไม่ชอบมากที่สุด …………………………………………………………………………….
ไม่ชอบเพราะ …………………………………………………………………………………………
ข้อคิดที่ได้จากเรื่ อง……………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….
เมื่ออ่านหนังสื อเล่มนี้แล้ว ชอบเพราะ ………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
ไม่ชอบเพราะ …………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
หน่วยที่ ๑๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง จำนวน ๗ คาบ
แผนการสอนที่ ๑๙ เรื่ อง เรี ยนรู้คำพร้อมนำไปใช้ เวลา ๑ คาบ
สอนวันที่ ๗ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๔
............................................................................................................................................................................

สาระสำคัญ
การเรี ยนรู้คำ คำยาก สำนวน และความหมาย ในบทเรี ยน ถือเป็ นการพัฒนาทักษะทางภาษาที่ผเู ้ รี ยน
ควรได้รับการฝึ กฝน เพื่อพัฒนาทักษะให้ถูกต้อง จึงจะทำให้การเรี ยนรู ้ภาษาเป็ นไปด้วยดีและเกิดการพัฒนา
ขึ้นตามมา

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ความรู้
๑. อ่าน และเขียนคำ คำยาก ข้อความ และสำนวนภาษาไทยในบทเรี ยน
๒. นำคำ คำยาก ข้อความ และสำนวนภาษาในบทเรี ยนไปใช้
ทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( A )
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตามกำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน
๓. มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔. ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู ้ )
๖. รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง

สาระการเรียนรู้

๑. อ่าน และเขียนคำ คำยาก ข้อความ และสำนวนในบทเรี ยน


๒. การนำคำ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษาในบทเรี ยนไปใช้ให้เกิดประโยชน์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนและครู ช่วยกันเล่าเรื่ องเพื่อทบทวนบทเรี ยนจากชัว่ โมงที่ผา่ นมา
๒. นักเรี ยนอ่านบทร้อยกรองจากแผนภูมิบทร้อยกรอง “เที่ยวเมืองพระร่ วง” โดยอ่านเป็ นทำนอง
ธรรมดาดังๆ พร้อมกัน แล้วสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหา ใจความสำคัญและความหมายของบทร้อยกรอง โดยครู
ช่วยถามนำ เพื่อกระตุน้ ให้นกั เรี ยนตอบ
๓. นักเรี ยนดูบตั รคำที่ครู ยกแสดงให้ดู แล้วร่ วมกันสนทนา แสดงความคิดเห็น และอภิปรายถึงคำ
ความหมายของคำ จากนั้นครู ถามนำเพื่อกระตุน้ ให้เกิดการอยากรู ้ และจุดประกายความคิดให้นกั เรี ยนตอบ
นักเรี ยนร่ วมกันตอบปากเปล่าตามความเข้าใจ ความรู ้สึกนึกคิดของนักเรี ยน
๔. นักเรี ยนทบทวนบทเรี ยนโดยอ่านในใจในบทเรี ยน
๕. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔ - ๖ คน (หรื อตามความเหมาะสม) ให้ทำ ใบงาน (งานกลุ่ม ) และ
ปฏิบตั ิตามขั้นตอนในใบงาน
๖. มอบหมายให้นกั เรี ยนทำแบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชุดภาษาเพื่อชีวิต (ทำเป็ นการบ้าน)
๗. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้


๑. แผนภูมิบทร้อยกรอง
๒. บัตรคำ
๓. ใบงาน
๔. แบบเรี ยนภาษาไทย ชุด วรรณคดีลำนำ
๕..แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชุด ภาษาเพื่อชีวิต
๖. กระเป๋ าผนัง

การวัดผลประเมินผล
๑. ด้ านความรู้ (K) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการอ่าน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. แบบประเมินการตอบคำถาม
๔. แบบประเมินใบงาน
๕. แบบฝึ กหัด
๒. ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นการบริหารวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................หัวหน้าการบริ หารวิชาการ
(นางสาววิไลลักษณ์ จานตาดี)
ตำแหน่ง ครู คศ. ๑

ความคิดเห็นผู้อำนวยการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(นายนวทัศน์ แนวสุ ข)
ตำแหน่ง ผูอำ ้ นวยการโรงเรี ยนบ้านท่าผักชี

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ ทเี่ กิดขึน้ กับผู้เรียน


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................
(นางสาวนลินี ชัยงาม)
ตำแหน่ง ครู ผชู ้ ่วย
วันที่........เดือน......................พ.ศ……….
ใบงาน ชิ้นงานที่ ๑ (งานกลุ่ม)

นักเรี ยนหาคำศัพท์ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษาที่ควรศึกษา หาความหมายจากพจนานุกรม แล้วกรอกลง


ในตารางที่กำหนดให้ (จัดทำเป็ นพจนานุกรมคำของกลุ่ม)

คำ คำอ่าน ชนิดของคำ ความหมาย


ตัวอย่ าง
มัคคุเทศก์ มัก – คุ -เทด คำนาม ผูนำ
้ เที่ยว ผูนำ
้ ทาง, ผูช้ ้ ีทาง, ผูบ้ อก
ทาง

ใบงาน ชิ้นงานที่ ๒ (งานกลุ่ม)

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มนำคำศัพท์ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษา ไปแต่งประโยคชนิดต่างๆ

คำ ประโยคจากคำ / กลุ่มคำ
ตัวอย่ าง
มัคคุเทศก์ มัคคุเทศก์มีชื่อเล่นว่าน้อย

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
หน่วยที่ ๑๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง จำนวน ๗ คาบ
แผนการสอนที่ ๑๙ เรื่ อง ฝึ กเขียนและเรี ยนรู ้ “โคลงสี่ สุภาพ” เวลา ๑ คาบ
สอนวันที่ ๙ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๔
............................................................................................................................................................................

สาระสำคัญ
การเรี ยนรู้เรื่ องโคลงสี่ สุภาพ ถือเป็ นการพัฒนาทักษะทางภาษาที่ผเู ้ รี ยนควรได้รับการฝึ กฝน เพื่อ
พัฒนาทักษะทางภาษาให้ถูกต้อง จึงจะทำให้การเรี ยนรู ้ภาษาเป็ นไปด้วยดีและเกิดการพัฒนาขึ้นตามมา

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ความรู้
๑. บอกลักษณะฉันทลักษณ์ของโคลงสี่ สุภาพได้
๒. ใช้คำมาเรี ยบเรี ยงเป็ นบทร้อยกรองโคลงสี่ สุภาพได้
ทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( A )
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตามกำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู ้ )
๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง

สาระการเรียนรู้

การอ่านและการเขียนโคลงสี่ สุภาพ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. นักเรี ยนเล่นเกมต่อให้ถูกนะจ๊ะ (ภาคผนวก)
๒. ทบทวนเกี่ยวกับลักษณะของคำคล้องจอง ซึ่ งนักเรี ยนได้เรี ยนและฝึ กมาแล้ว และสรุ ปให้
นักเรี ยนได้เข้าใจดังนี้
๒.๑ คำคล้องจอง เรี ยกว่า การสัมผัส
๒.๒ กลุ่มคำ เรี ยกว่า วรรค
๓. นักเรี ยนดูแผนภูมิโคลงสี่ สุภาพที่ครู แต่งและยกให้นกั เรี ยนดู อ่านพร้อม ๆ กัน แล้วสนทนาแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะในด้านการสัมผัสคล้องจอง จากนั้นดูแผนผังโคลงสี่ สุภาพและแลกเปลี่ยนการ
เรี ยนรู ้ร่วมกัน
๔. ดูแผนผังโคลงสี่ สุภาพที่ครู นำมาติดบนกระดานดำให้นกั เรี ยนดูแล้วสนทนากับนักเรี ยนเกี่ยวกับ
ลักษณะของโคลงสี่ สุภาพในเรื่ องจำนวนคำในวรรคและสัมผัสบังคับ
๔. ตัวแทนนักเรี ยนนำแผนผังโคลงสี่ สุภาพที่ครู เตรี ยมไว้มาติดบนกระดาน แล้วให้เพื่อนหาคำมาแทน
รู ปแผนภูมิที่กำหนดให้

๕. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและตั้งข้อสังเกตในประเด็นต่อไปนี้


๕.๑ จำนวนวรรค
๕.๒ จำนวนคำในวรรค
๕.๓ จังหวะสัมผัสในวรรค
๖. นักเรี ยนช่วยกันโยงเส้นสัมผัสของคำประพันธ์หรื อบทร้อยกรองที่ยกมาให้ดูเป็ นตัวอย่าง แล้ว
เขียนเป็ นแผนผังบังคับการสัมผัสโคลงสี่ สุภาพลงในสมุด
๗. ตัวแทนนักเรี ยนนำแผนภูมิกลอนแปดที่เว้นคำบางคำไว้ มาติดบนกระดานแล้วให้เพื่อนหาคำที่
เหมาะสมมาเติมในช่องว่างนั้น
๘. แบ่งกลุ่มนักเรี ยนตามความเหมาะสม ให้แต่ละกลุ่มแต่งโคลงสี่ สุภาพบรรยายภาพที่ครู กำหนดให้
กลุ่มละ ๑ บท
๙. แต่ละกลุ่มออกมาเสนองาน โดยการเขียนกลอนที่แต่งบนกระดานและอ่านให้เพื่อน ๆ ฟัง เสร็ จแล้ว
คัดส่ งครู
๑๐.จัดประกวดแต่งโคลงสี่ สุภาพเป็ นกลุ่ม หรื อรายบุคคล โดยครู กำหนดแผนภูมิโคลงสี่ สุภาพให้แล้ว
ให้นกั เรี ยนมาเติมคำให้ครบวรรคของโคลงสี่ สุภาพ
๑๑. แต่ละกลุ่ม หรื อแต่ละคนออกมาอ่านกลอนที่แต่งโคลงสี่ สุภาพให้เพื่อนๆ ฟังหน้าชั้นเรี ยนแล้วส่ ง
ครู ตรวจ
๑๒.แต่ละคนรับใบงาน ปฏิบตั ิตามขั้นตอนในใบงานแล้วส่ งครู ตรวจ
๑๓. ทำใบงานและร่ วมกันคัดเลือกคำประพันธ์ที่แต่งโคลงสี่ สุภาพได้ดี มาติดที่ป้ายนิเทศ
หน้าชั้นเรี ยน
๑๔. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปบทเรี ยน

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้


๑. แผนผังคำประพันธ์โคลงสี่ สุภาพ
๒. แผนภูมิโคลงสี่ สุภาพ
๓. ใบความรู้
๔. ใบงาน
๕.แบบเรี ยนภาษาไทย วรรณคดีลำนำ ชุดภาษาเพื่อชีวิต
๖. แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชุดภาษาเพื่อชีวิต

การวัดผลประเมินผล
๑. ด้ านความรู้ (K) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการอ่าน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. แบบประเมินการตอบคำถาม
๔. แบบประเมินใบงาน
๕. แบบฝึ กหัด
๒. ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
ความคิดเห็นการบริหารวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................หัวหน้าการบริ หารวิชาการ
(นางสาววิไลลักษณ์ จานตาดี)
ตำแหน่ง ครู คศ. ๑

ความคิดเห็นผู้อำนวยการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...............................................
(นายนวทัศน์ แนวสุ ข)
ตำแหน่ง ผูอำ ้ นวยการโรงเรี ยนบ้านท่าผักชี

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ ทเี่ กิดขึน้ กับผู้เรียน


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................
(นางสาวนลินี ชัยงาม)
ตำแหน่ง ครู ผชู ้ ่วย
วันที่........เดือน......................พ.ศ……….
ภาคผนวก
เกม ต่ อให้ ถูกนะจ๊ ะ

จุดประสงค์ เพื่อเป็ นการฝึ กการต่อคำคล้องจอง และเพื่อสร้างความสนุกสนานให้นกั เรี ยนก่อนเข้าสู่ บทเรี ยน


อุปกรณ์
- บัตรคำ ไก่ขนั ฟ้ าร้อง
- สลาก
วิธีเล่ น
๑. นักเรี ยนและครู สนทนาเกี่ยวกับคำคล้องจอง การต่อคำคล้องจอง และให้นกั เรี ยนลองต่อคำ
คล้องจองสองพยางค์จากบัตรคำ
๓. แบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มตามความเหมาะสม ให้แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนจับสลากว่า กลุ่มใดจะได้
ออกเล่นเริ่ มต้นเขียนคำคล้องจอง และกลุ่มใดเขียนคำคล้องจองเป็ นกลุ่มต่อไป โดยให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มเข้า
แถวเรี ยงหนึ่ง
ั ญาณเริ่ มเล่น คนที่อยูห่ วั แถวกลุ่มแรกจะได้ออกมาเขียนคำสองพยางค์ บนกระดาน
๔. เมื่อครู ให้สญ
ดำ แล้ววิ่งกลับออกไปต่อท้ายแถวของกลุ่มตน กลุ่มที่ได้เล่นกลุ่มสองคนที่อยู่ หัวแถว ให้วิ่งออกมาเขียนคำ
คล้องจองสองพยางค์กบั กลุ่มแรก แล้ววิ่งไปต่อท้ายแถวกลุ่มตน กลุ่มต่อไปก็วิ่งออกมาเขียนคำคล้องจอง
แล้วกลับไปต่อท้ายแถวกลุ่มตน เช่นเดียวกับกลุ่มอื่น ๆ
๕. ครู จดั กิจกรรมเช่นนี้ไปเรื่ อย ๆ จนนักเรี ยนได้ออกมาเขียนครบทุกคน หรื อตามเวลาที่ กำหนด
๖. นักเรี ยนและครู ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง และสรุ ปลักษณะคำคล้องจอง

ใบงาน
การแต่ งโคลงสี่ สุภาพ

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่งโคลงสี่ สุภาพ ตั้งชื่อเรื่ องโดยให้มีเนื้ อหากล่าวถึงความรักชาติ เสร็ จแล้วให้เพื่อน
แสดงความคิดเห็นและส่ งครู ตรวจ จากนั้นอ่านผลงานของตนเองเป็ นทำนองเสนาะให้เพื่อนฟัง
เรื่ อง…โคลงสี่ สุภาพของฉัน………
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย (วรรณคดีลำนำ) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง เวลาเรี ยน ๗ ชัว่ โมง
เรื่ อง กิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษา เวลาเรี ยน ๑ ชัว่ โมง สอนวัน
ที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรี ยนที่ ………

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว
ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วดั
ท ๒.๑ ป.๔/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่ งบรรทัด
ท ๒.๑ ป.๔/๒ เขียนสื่ อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
ท ๒.๑ ป.๔/๓ เขียนแผนภาพ โครงเรื่ อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พฒั นางานเขียน
ท ๒.๑ ป.๔/๔ เขียนย่อความจากเรื่ องสั้นๆ
ท ๒.๑ ป.๔/๕ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ท ๒.๑ ป.๔/๖ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ท ๒.๑ ป.๔/๗ เขียนเรื่ องตามจินตนาการ
ท ๒.๑ ป.๔/๘ มีมารยาทในการเขียน
ท ๔.๑ ป.๔/๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริ บทต่าง ๆ
ท ๔.๑ ป.๔/๒ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค
ท ๔.๑ ป.๔/๓ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ
ท ๔.๑ ป.๔/๔แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ท ๔.๑ ป.๔/๕ แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ
ท ๔.๑ ป.๔/๖ บอกความหมายของสำนวน
ท ๔.๑ ป.๔/๗ เปรี ยบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้
สาระสำคัญ
๑. การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็ นความสามารถในการเขียนคำ ประโยคหรื อเรื่ องราวได้อย่างถูกต้อง
แปลกใหม่ไม่ซ้ำแบบใคร มีคุณค่า โดยจะต้องเขียนได้อย่างหลากหลาย และคล่องแคล่ว เสร็ จทันเวลาที่
กำหนด
๒. การฝึ กให้ผเู้ รี ยนแสดงความคิดต่อสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด ซึ่ งอาจจะเป็ นภาพ ข้อความ บุคคล หรื อ
เหตุการณ์ โดยไม่จำกัดความคิดเห็น เป็ นการฝึ กที่จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่ดีได้วิธีหนึ่ง
๓. การฝึ กให้ผเู้ รี ยนเขียนเรื่ องจากการวิเคราะห์โครงเรื่ อง จะทำให้ผเู ้ รี ยนเป็ นคนที่มีเหตุผล รู ้ จกั
วิเคราะห์วิจารณ์เรื่ อง ซึ่ งจะช่วยให้สามารถเขียนเรื่ องอย่างสร้างสรรค์ได้
๔.การแต่งประโยคจะนำไปสู่ การเขียนบรรยายภาพ เป็ นการเพิ่มพูนทักษะการอ่านและเขียน เป็ นการ
ช่วยทำกิจกรรมหนังสื ออ่านในชั้นเรี ยนได้เป็ นอย่างดี

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ความรู้
๑. แต่งประโยคจากคำที่กำหนดให้
๒. บอกแนวคิดของบทเรี ยน
๓. บอกลักษณะโครงเรื่ องในบทเรี ยน
๔. เขียนเรื่ องใหม่ตามแนวคิดในบทเรี ยน
ทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( A )
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตามกำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน
๓. มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู ้ )
๖. รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง
สาระการเรียนรู้
๑. การแต่งประโยค
๒. การเขียนเรื่ องจากโครงเรื่ อง
๓. การเขียนเรื่ องจากภาพ (นิทาน)
๔. กิจกรรมทำหนังสื ออ่านในชั้นเรี ยน

หลักฐานหรือร่ องรอยของการเรียนรู้ /การวัดและประเมินผล


ความรู้ (K)
ภาระงาน/ชิ้น วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน
งาน
๑. การเขียน ตรวจผลงาน แบบประเมินผล ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
บรรยายภาพ งาน ๗๐% นักเรี ยน
๒. ทำใบงาน –สังเกต แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
พฤติกรรม พฤติกรรม ๗๐% นักเรี ยน
–ตรวจกิจกรรม –.แบบประเมิน
ใบงาน
๓. ตอบคำถาม ถามตอบ คำถาม ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
เกี่ยวกับเรื่ อง ๗๐ % นักเรี ยน
๔. ทำแบบ ตรวจแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
ฝึ กหัด ๗๐ % นักเรี ยน
ทักษะ/กระบวนการ (P)
ภาระงาน/ชิ้น วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน
งาน
๑. กระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
ทำงาน พฤติกรรม ๗๐ % นักเรี ยน

๒. กระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


กลุ่ม พฤติกรรม ๗๐ % นักเรี ยน
๓. กระบวนการ สังเกตรู ปแบบ แบบประเมิน ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
นำเสนอผลงาน และวิธีการนำ การนำเสนอผล ๗๐ % นักเรี ยน
เสนอ งาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ ผูป้ ระเมิน
ประเมิน
๑. ความรับผิดชอบ สังเกต แบบประเมิน ได้คะแนน ครู
เอาใจใส่ ทำงานเสร็ จ พฤติกรรม คุณลักษณะอัน แต่ละข้อไม่ นักเรี ยน
ทันตามกำหนดเวลา พึงประสงค์ น้อยกว่าระดับ
๒. รักการทำงาน มี ๓
วินยั ในการทำงาน เห็น ตามรู บริ คก์
คุณค่าและความสำคัญ
ของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน
ใจกว้างมีเหตุผล
ยอมรับฟังความคิดเห็น
ซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือใน
การทำงานภายในกลุ่ม
และทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้
(แสวงหาความรู้ )
๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑.นักเรี ยนอ่านบัตรคำที่ครู แสดงให้ดูแล้วแต่งเป็ นประโยค คำ หรื อ วลี ด้วยปากเปล่าให้มากที่สุด
๒.นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ น ๓ กลุ่ม ๆ ละ ๓ - ๕ คน(หรื อตามความเหมาะสม) ให้แต่ละกลุ่ม
แข่งขันเขียนประโยคจากคำที่กำหนดให้มาให้มากที่สุดโดยครู กำหนดคำนั้นมาให้มากที่สุดตามเวลาที่กำหนด
ลงบนกระดาษที่แจกให้ แล้วส่ งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
๓. นักเรี ยนฝึ กเขียนเรื่ องจากโครงเรื่ อง ด้วยภาษาของตนเองดังนี้
๓.๑) นำแผนภูมิโครงสร้างของเรื่ องติดบนกระดานดำให้นกั เรี ยนดูดงั นี้
อะไร : .................................................................................
รู ปร่ าง : .................................................................................
ชนิด : .................................................................................
อาหาร : .................................................................................
ที่อยู่ : .................................................................................
ประโยชน์ : ...............................................................................
โทษ : .................................................................................
๓.๒) นักเรี ยนศึกษาเรื่ องอุทยานประวัติศาสตร์ที่ใดที่หนึ่งในห้องสมุด แล้วช่วยกันทำโครง
เรื่ อง โดยการเติมรายละเอียดลงในโครงสร้างของเรื่ อง
๓.๓) นักเรี ยนเขียนเรื่ องตามโครงสร้างของเรื่ อง แล้ววาดภาพประกอบลงในใบงาน เสร็ จ
แล้วส่ งครู ตรวจ
๓.๔) นักเรี ยนฝึ กเขียนเรื่ องจากภาพ โดยมีข้ นั ตอนการเขียน ดังนี้
๓.๕) นักเรี ยนดูภาพในใบงานที่ครู แจกให้
๓.๖) นักเรี ยนและครู ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับภาพและการกระทำของตัวละครในภาพ
๓.๗) นักเรี ยนบอกเหตุการณ์ในภาพเป็ นตอน ๆ ไป แล้วเล่าเรื่ องจากภาพตามความเข้าใจ
๓.๘) นักเรี ยนเขียนบรรยายจากภาพในใบงาน ประมาณ ๔-๕ บรรทัด โดยข้อความตอน
ท้ายให้เขียนบอกแนวคิดจากเรื่ องในภาพด้วย
๓.๙) ให้นกั เรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน ๒ - ๓ คน และช่วยกันสรุ ปการเขียนเรื่ อง
จากภาพ
๔. ให้นกั เรี ยนทำแบบฝึ กหัดทักษะภาษา หน่วยที่ ๗ เป็ นการบ้าน
๕. ให้นกั เรี ยนทำใบงาน (ภาคผนวก)

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้


๑. บัตรคำ
๒. ใบงาน
๓. แผนภูมิวิเคราะห์โครงเรื่ อง
๔. หนังสื อแบบเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
๕. แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
๖.สี เทียน สี ดินสอ
๗.หนังสื อส่ งเสริ มการอ่าน
๘.ภาพจากบทเรี ยน
การวัดผลประเมินผล
๑. ด้ านความรู้ (K) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการอ่าน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. แบบประเมินการตอบคำถาม
๔. แบบประเมินใบงาน
๕. แบบฝึ กหัด
๒. ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ……………………………………..
( …………………………………. )
ตำแหน่ง……………………………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน (เก่ง ดี มีสุข)
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….
……………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………….………………………
ลงชื่อ ……………………………….…ผูส้ อน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง……… …….
………../…………./………….
ใบงาน
โรงเรี ยน.........................................................................ภาคเรี ยนที่ …. ปี การศึกษา .........
ชื่อ.......................................................................ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เลขที่..............
วันที่………….เดือน…………………………พ.ศ. ……….

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเรื่ องตามโครงสร้างของเรื่ อง แล้ววาดภาพประกอบ

......................................................... ............................................................................................
................................................................................................ .....................................................
................................................................................................ .....................................................
................................................................................................ .....................................................
................................................................................................ .....................................................
................................................................................................ .....................................................
............................................................................................... ......................................................
................................................................................................ .....................................................
................................................................................................ .....................................................

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย (วรรณคดีลำนำ) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง เวลาเรี ยน ๗ ชัว่ โมง
เรื่ อง การแสดงความคิดเห็นในบทเรี ยน เวลาเรี ยน ๑ ชัว่ โมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรี ยนที่ ………
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง

ตัวชี้วดั
ท ๕.๑ ป.๔/๑ ระบุขอ้ คิดจากนิทานพื้นบ้านหรื อนิทานคติธรรม
ท ๕.๑ ป.๔/๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง
ท ๕.๑ ป.๔/๓ ร้องเพลงพื้นบ้าน
ท ๕.๑ ป.๔/๔ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสำคัญ
๑. การคิดวิเคราะห์บทเรี ยนอย่างมีเหตุผล เป็ นเครื่ องบ่งชี้ถึงการมีทกั ษะในการฟัง
๒.การฝึ กคิดและออกมาพูดอภิปราย ข้อคิดเห็นของเราให้คนอื่นฟัง ถือว่าเป็ นคนที่มีความสามารถและ
แสดงออกอย่างถูกต้อง
๓. การมีทกั ษะในการเขียน ทำให้คดั ลายมือได้ถูกต้อง รวดเร็ ว และสวยงาม

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ความรู้
๑. บอกเหตุผลของการกระทำของตัวละครในบทเรี ยน
๒. ประเมินการกระทำของตัวละครในบทเรี ยน
๓. กำหนดแนวปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมที่ได้จากบทเรี ยน
๔. คัดตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่ งบรรทัดได้ถูกต้อง สวยงาม
๕. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรี ยนและสรุ ปเป็ นข้อคิดเห็น
ทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( A )
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตามกำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู ้ )
๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง
สาระการเรียนรู้
๑. กิจกรรมพัฒนาทักษะทางภาษา การแสดงความคิดเห็น และข้อคิด จากบทเรี ยน บทที่ ๗ เรื่ อง
เที่ยวเมืองพระร่ วง
๒. การคัดลายมือจากบทเรี ยน
หลักฐานหรือร่ องรอยของการเรียนรู้ /การวัดและประเมินผล
ความรู้ (K)
ภาระงาน/ชิ้น วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน
งาน
๑. การวิเคราะห์ สังเกตพฤติกรรม ได้คะแนนไม่ต ่ำ ครู ครู
ตัวละคร กว่า นักเรี ยน นักเรี ยน
๗๐ %
๒. ทำใบงาน –สังเกต แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
พฤติกรรม พฤติกรรม ๗๐% นักเรี ยน
–ตรวจกิจกรรม –.แบบประเมิน
ใบงาน
๓. ตอบคำถาม ถามตอบ คำถาม ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
เกี่ยวกับเรื่ อง ๗๐ % นักเรี ยน

๔. ทำแบบ ตรวจแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


ฝึ กหัด ๗๐ % นักเรี ยน
ทักษะ/กระบวนการ (P)

ภาระงาน/ชิ้น วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน


งาน
๑. กระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
ทำงาน พฤติกรรม ๗๐ % นักเรี ยน

๒. กระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


กลุ่ม พฤติกรรม ๗๐ % นักเรี ยน
๓. กระบวนการ สังเกตรู ปแบบ แบบประเมิน ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
นำเสนอผลงาน และวิธีการนำ การนำเสนอผล ๗๐ % นักเรี ยน
เสนอ งาน
๔. คัดลายมือตัว ตรวจผลงาน แบบประเมินการ ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
บรรจงเต็ม คัดลายมือ ๗๐ % นักเรี ยน
บรรทัด และครึ่ ง
บรรทัด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ ผูป้ ระเมิน
ประเมิน
๑. ความรับผิดชอบ สังเกต แบบประเมิน ได้คะแนน ครู
เอาใจใส่ ทำงานเสร็ จ พฤติกรรม คุณลักษณะอัน แต่ละข้อไม่ นักเรี ยน
ทันตามกำหนดเวลา พึงประสงค์ น้อยกว่าระดับ
๒. รักการทำงาน มี ๓
วินยั ในการทำงาน เห็น ตามรู บริ คก์
คุณค่าและความสำคัญ
ของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน
ใจกว้างมีเหตุผล
ยอมรับฟังความคิดเห็น
ซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือใน
การทำงานภายในกลุ่ม
และทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้
(แสวงหาความรู้ )
๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. สนทนากับนักเรี ยนเกี่ยวกับความรักชาติและประวัติศาสตร์ความเป็ นมาของชาติไทย
มีให้แสดงความคิดเห็น
๒. นักเรี ยนประเมินการกระทำของตัวละครในเรื่ อง จากแถบประโยคคำถามที่ครู แสดงให้นกั เรี ยน
อ่าน
๓. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์
๔. นักเรี ยนแต่ละคนสมมติตนเองว่าเป็ นตัวละครในเรื่ อง แล้วจะปฏิบตั ิตนอย่างไร โดยเขียนตอบลง
ในสมุดนำมาเสนอผลงานหน้าชั้น เช่น อาจเขียนขึ้นต้นได้ดงั นี้
ถ้าหากฉันเป็ น.................................................ฉันจะ...............................................................
๕. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันกำหนดแนวปฏิบตั ิตนที่ได้จากเนื้อเรื่ องใน
บทเรี ยน เพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
๖. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปข้อวิเคราะห์ที่ได้จากนักเรี ยนทั้งหมด
๗. นักเรี ยนเลือกข้อความจากบทเรี ยนตนใดตอนหนึ่งที่นกั เรี ยนชอบ แล้วคัด
ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่ งบรรทัด ส่ งครู ตรวจ
๘. ครู แนะนำการคัดลายมือแก่นกั เรี ยนเกี่ยวกับการคัดตัวอักษรให้ถูกต้องและ
การปฏิบตั ิตนในการเขียน
๙. แสดงผลงานนักเรี ยนไว้บนป้ ายนิเทศผลงานนักเรี ยน
๑๐. นักเรี ยนทำใบงาน (ภาคผนวก)
๑๑. มอบหมายให้นกั เรี ยนทำแบบฝึ กหัดทักษะภาษา บทที่ ๗ (การบ้าน)
สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
1. บัตรคำ
2. ฉลาก
3. ใบงาน
4. แถบประโยคคำถาม
5. กระเป๋ าผนัง
6. แผนภูมิเพลงสยามมานุสติ
7. หนังสื อแบบเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ (วรรณคดีลำนำ)
8. แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….

บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย


……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ……………………………………..
( …………………………………. )
ตำแหน่ง……………………………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน (เก่ง ดี มีสุข)
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………….………………………

ลงชื่อ ……………………………….…ผูส้ อน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………..
………../…………./………….

ใบงาน

โรงเรี ยน.........................................................................ภาคเรี ยนที่ … ปี การศึกษา .............


ชื่อ.......................................................................ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เลขที่..............
วันที่………….เดือน…………………………พ.ศ. ……….

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนสรุ ปใจความบทละครพูดต่อไปนี้ให้ถูกต้องและแสดงความคิดเห็น


อย่าเห็นแก่ตวั มัวพะวง
ลุ่มหลงฤษยาไม่ควรที่;
อย่าต่างคนต่างแข่งกันแย่งดี
อย่าให้ช่องไพรี ที่มุ่งร้าย
แม้เราฤษยากันและกัน
ไม่ชา้ พลันจะพากันฉิบหาย;
ระวังการยุยงส่ งร้าย,
นัน่ และเครื่ องทำลายสามัคคี

…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………….………………
ใบงาน

โรงเรี ยน.........................................................................ภาคเรี ยนที่ … ปี การศึกษา .............


ชื่อ.......................................................................ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เลขที่..............
วันที่………….เดือน…………………………พ.ศ. ……….

คำชี้แจง นักเรี ยนคัดนิทานเรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง ตอนที่นกั เรี ยนชอบ ด้วยตัวบรรจง


เต็มบรรทัด

……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย (วรรณคดีลำนำ) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
หน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๗ เรื่ อง เที่ยวเมืองพระร่ วง เวลาเรี ยน ๗ ชัว่ โมง
เรื่ อง การอ่านเสริ มเพิ่มความรู้ เวลาเรี ยน ๑ ชัว่ โมง สอนวัน
ที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรี ยนที่ ………
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหา ใน
การดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑ อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท ๑.๑ ป.๔/๒อธิบายความหมายของ คำ ประโยค และสำนวนจากเรื่ องที่อ่าน
ท ๑.๑ ป.๔/๓ อ่านเรื่ องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนด และตอบคำถามจากเรื่ องที่อ่าน
ท ๑.๑ ป.๔/๔ แยกข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นจากเรื่ องที่อ่าน
ท ๑.๑ ป.๔/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ท ๑.๑ ป.๔/๖ สรุ ปความรู้และข้อคิดจากเรื่ องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ท ๑.๑ ป.๔/๗ อ่านหนังสื อที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน
ท. ๑.๑ ป.๔/๘ มีมารยาทในการอ่าน
ท ๕.๑ ป.๔/๑ ระบุขอ้ คิดจากนิทานพื้นบ้านหรื อนิทานคติธรรม
ท ๕.๑ ป.๔/๒ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง
ท ๕.๑ ป.๔/๓ ร้องเพลงพื้นบ้าน
ท ๕.๑ ป.๔/๔ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
สาระสำคัญ
การอ่านหนังสื อเพิ่มเติมหรื ออ่านเสริ มบทเรี ยน จะช่วยให้นกั เรี ยนรักการอ่านและเกิดนิสยั รัก
การอ่านตามมา

จุดประสงค์ การเรียนรู้
ความรู้
1. สามารถอ่านเรื่ องที่กำหนดให้ได้อย่างถูกต้อง
2. สามารถตั้งและตอบคำถามจากเรื่ องที่อ่านได้
ทักษะ/กระบวนการ
กระบวนการทำงาน กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( A )
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตามกำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู ้ )
๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง
สาระการเรียนรู้
๑. การอ่านเสริ มเพิ่มความรู้ บทละครพูด
๒. การอ่านบทร้อยกรอง ชวนอ่านชวนคิด
หลักฐานหรือร่ องรอยของการเรียนรู้ /การวัดและประเมินผล
ความรู้ (K)
ภาระงาน/ชิ้น วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน
งาน
๑. การจับใจ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินการ ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
ความสำคัญของ อ่าน ๗๐% นักเรี ยน
เรื่ องและอ่าน
ออกเสี ยง

๒. ทำใบงาน –ตรวจกิจกรรม –.แบบประเมิน ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


ใบงาน ๗๐% นักเรี ยน

๓. ตอบคำถาม ถามตอบ คำถาม ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


เกี่ยวกับเรื่ อง ๗๐ % นักเรี ยน

๔. ทำแบบ ตรวจแบบฝึ กหัด แบบฝึ กหัด ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


ฝึ กหัด ๗๐ % นักเรี ยน

๕. ทำแบบ ตรวจแบบ แบบทดสอบ ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


ทดสอบหลัง ทดสอบหลัง หลังเรี ยน ๗๐ % นักเรี ยน
เรี ยน เรี ยน
ทักษะ/กระบวนการ (P)
ภาระงาน/ชิ้น วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผูป้ ระเมิน
งาน
๑. กระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
ทำงาน พฤติกรรม ๗๐ % นักเรี ยน

๒. กระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู


กลุ่ม พฤติกรรม ๗๐ % นักเรี ยน
๓. กระบวนการ สังเกตรู ปแบบ แบบประเมิน ได้คะแนนไม่ต ่ำกว่า ครู
นำเสนอผลงาน และวิธีการนำ การนำเสนอผล ๗๐ % นักเรี ยน
เสนอ งาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ ผูป้ ระเมิน
ประเมิน
๑. ความรับผิดชอบ สังเกต แบบประเมิน ได้คะแนน ครู
เอาใจใส่ ทำงานเสร็ จ พฤติกรรม คุณลักษณะอัน แต่ละข้อไม่ นักเรี ยน
ทันตามกำหนดเวลา พึงประสงค์ น้อยกว่าระดับ
๒. รักการทำงาน มี ๓
วินยั ในการทำงาน เห็น ตามรู บริ คก์
คุณค่าและความสำคัญ
ของงาน
๓.มีน้ำใจรู้จกั แบ่งปัน
ใจกว้างมีเหตุผล
ยอมรับฟังความคิดเห็น
ซึ่ งกันและกัน
๔.ให้ความร่ วมมือใน
การทำงานภายในกลุ่ม
และทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้
(แสวงหาความรู้ )
๖.รักความเป็ นไทย
๗. ความพอเพียง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. ครู และนักเรี ยนสนทนาทบทวนบทเรี ยนจากชัว่ โมงที่ผา่ นมา
๒. นักเรี ยนอ่านคำยากจากบัตรคำ ในบทกลอนชวนอ่าน ชวนคิดและบทอ่านเสริ มเพิ่มความรู ้จากบัตร
คำที่ครู แสดงให้ดู
๓.ร่ วมกันตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านว่า อ่านแล้วตอบคำถาม สรุ ปใจความจากเรื่ องที่อา่ นได้
๔. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม (สมาชิกตามความเหมาะสม) แล้วให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้หรื ออ่านในลักษณะเพื่อน
ช่วยกัน คือตรวจความถูกต้องกันเอง ให้คนที่เก่งช่วยพาอ่าน และถามตอบกันเองภายในกลุ่ม
๕. นักเรี ยนอ่านออกเสี ยงตามเป็ นจังหวะจนคล่องหรื อเป็ นทำนองเสนาะ
๖. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายซักถามเนื้ อหาสาระการเรี ยนรู ้ โดยตั้งคำถามให้เพื่อน ๆ ตอบ
๗.นักเรี ยนทุกคนเขียนคำถามและคำตอบลงในสมุด (เน้นคัดสวยงาม)
๘. นักเรี ยนและครู ช่วยกันสรุ ปเนื้อหาสาระการเรี ยนรู ้จากบทเรี ยนทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง
๙. มอบหมายให้นกั เรี ยนทำใบงานและแบบฝึ กหัดทักษะภาษา บทที่ ๗ (เป็ นการบ้าน)
๑๐.นักเรี ยนทำแบบทดสอบหลังการเรี ยนรู ้ (ภาคผนวก)

สื่ อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้


๑. บัตรคำ
๒. ใบงาน
๓. หนังสื อแบบเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ชุดวรรณคดีลำนำ
๔. แบบฝึ กหัดทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ชุดภาษาเพื่อชีวิต
๕.แบบทดสอบหลังการเรี ยนรู้

การวัดผลประเมินผล
๑. ด้ านความรู้ (K) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการอ่าน
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. แบบประเมินการตอบคำถาม
๔. แบบประเมินใบงาน
๕. แบบฝึ กหัด
๖. แบบทดสอบหลังเรี ยน
๒. ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน
๓. ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ประเมินจาก
๑. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน

กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมต่ อเนื่อง/การบูรณาการ
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย


……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( …………………………………. )
ตำแหน่ง……………………………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน (เก่ง ดี มีสุข)
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………….………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผูส้ อน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………..
………../…………./………….

ใบงาน

โรงเรี ยน.........................................................................ภาคเรี ยนที่ … ปี การศึกษา .............


ชื่อ.......................................................................ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เลขที่..............
วันที่………….เดือน…………………………พ.ศ. ……….

คำชี้แจง นักเรี ยนสรุ ปใจความสำคัญ ของบทร้อยกรองชวนอ่าน ชวนคิด


ตามใจนึก
ถ้าทุกสิ่ งเป็ นไปตามใจนึก คงพิลึกสับสนอลหม่าน
เพราะมนุษย์ฟงเฟ้ ุ้ อทะเยอทะยาน ความต้องการมีมากหากประมวล
อันระเบียบตัวบทและกฎหมาย คงจะคลายศักดิ์สิทธิ์ บินผันผวน
โลกคงกลับขมขื่นไม่ชื่นชวน ด้วยปั่ นป่ วนตามวิสยั ใจนึกเอย
(ฐะปะนีย ์ นาครทรรพ)
สรุ ปใจความสำคัญ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
ใบงาน

โรงเรี ยน.........................................................................ภาคเรี ยนที่ … ปี การศึกษา .............


ชื่อ.......................................................................ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เลขที่..............
วันที่………….เดือน…………………………พ.ศ. ……….

คำชี้แจง นักเรี ยนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. บทละครพูด หมายความว่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๒. บทละครพูด ได้ รับอิทธิพลมาจากที่ใด


……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
๓. ผู้ให้ กำเนินบทละครพูด คือใคร
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

๔. นายมัน่ คือใคร
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
แบบทดสอบหลังการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๗
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. นักเรียนคิดว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้ าเจ้ าอยู่หัวทรงอธิบายเกีย่ วกับเรื่องวาจาสิ ทธิ์ของ พระร่ วงไว้


อย่ างไร
ก. พระร่ วงเป็ นผูม้ ีบุญญาธิการและมีอานุภาพวาจาสิ ทธิ์ ตามตำนาน
ข. พระร่ วงเป็ นผูท้ ี่ประชาชนนับถือ ดังนั้นจะบัญชาให้ทำอะไรก็ได้ตามนั้น
ค. ยังไม่สามารถสรุ ปแน่นอนได้
ง. พระร่ วงเป็ นลูกเจ้าเมืองเป็ นผูม้ ีบุญญาธิ การมาเกิดจึงมีวาจาสิ ทธิ์
๒. วันพ่ อขุนรามคำแหงมหาราช ตรงกับวันใด
ก. ๑๗ มกราคม ข. ๒๕ มีนาคม
ค. ๖ เมษายน ง. ๒๓ ตุลาคม
๓. ชื่อของมัคคุเทศก์น้อย ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักใด
ก. หลักที่ ๑ ข. หลักที่ ๒
ค. หลักที่ ๓ ง. หลักที่ ๔
๔. ข้ อใดกล่ าวไม่ ถูกต้ องเกีย่ วกับมัคคุเทศก์น้อย
ก. พ่อแม่ขายของที่ระลึก ข. พ่อเป็ นช่างแกะสลักไม้
ค. แม่เป็ นช่างสี ง. มัคคุเทศก์นอ้ ยมีความรู ้ไม่แพ้มคั คุเทศก์ตวั จริ ง
๕. ข้ อใดกล่ าวถึงเกีย่ วกับขอมดำดินไม่ ถูกต้ อง
ก. นายทหารของขอม ข. พญาเดโช
ค. พญาสี หราชเดโช ง. ปลอมตัวมาจับพระร่ วง
๖. บทละครพูด เรื่อง พระร่ วง เป็ นบทพระราชนิพนธ์ ของกษัตริย์พระองค์ ใด
ก. รัชกาลที่ ๒ ข. รัชกาลที่ ๔
ค. รัชกาลที่ ๕ ง. รัชกาลที่ ๖
๗. นักเรียนคิดว่า พระร่ วง มีคุณสมบัติพเิ ศษอย่ างไร
ก. มีอานุภาพ ข. มีวาจาสิ ทธิ์
ค. เก่งกล้าสามารถ ง ข้อ ก และ ข
๘. นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดนายร่ วงจึงหนีไปบวชที่เมืองสุ โขทัย
ก. ทราบว่าพระเจ้าพันธุมสุ ริยวงศ์ให้ทหารมาจับตน
ข ทราบว่าพระเจ้าพันธุมสุ ริยวงศ์จะให้ส่งน้ำมากขึ้น
ค. ทราบว่าพระเจ้าพันธุมสุ ริยวงศ์โกรธที่แสดงปาฏิหาริ ยใ์ ห้น ้ำไหลออกจากชะลอมจนหมด
ง. ถูกทุกข้อ
๙. ทำไมพระร่ วงจึงรู้ ว่าผู้มาถามหาพระร่ วง ที่แท้ น้ันเป็ นศัตรู
ก.สังเกตจากการแต่งกาย
ข.สังเกตจากรู ปร่ างหน้าตา
ค.สังเกตจากเสี ยงพูด
ง. ถูกทุกข้อ
๑๐. “มัคคุเทศก์” หมายถึงใคร
ก. ผูนำ้ เที่ยว ข. ผูนำ
้ ทาง
ค. ผูช้ ้ ีทาง ผูบ้ อกทาง ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยแบบทดสอบหลังการเรียนรู ้ บทที่ ๗

๑ ก
๒ ก
๓ ก
๔ ค
๕ ค
๖ ง
๗ ค
๘ ก
๙ ง
๑๐ ง
แบบประเมินแบบ Rubrics
หลังแผนการจัดการเรียนรู้
แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานระหว่ างเรียน
ความหมาย
๑. ตั้งใจ หมายถึง ความมานะ อดทนทำงานจนเสร็ จ ( A )
๒. ความร่ วมมือ หมายถึง สมาชิกในกลุ่มให้ความร่ วมมือทำงานจนเสร็ จ ( A )
๓. ความมีวนิ ยั หมายถึง ผลงาน หรื อการทำงานเป็ นระบบระเบียบเรี ยบร้อย สะอาด สวยงาม
และได้เนื้อหาครบถ้วน ทันหรื อตรงต่อเวลา ( A,K )
๔. คุณภาพของผลงาน หมายถึง ผลงานเรี ยบร้อย สวยงาม เนื้ อหาครบถ้วน ภาษาที่ใช้เหมาะ
สม ( P – Product, K )
๕. การนำเสนอผลงาน หมายถึง การพูดอธิ บายนำเสนอผลงานได้ตามลำดับ
และเนื้อหาถูกต้อง ( P – Process, K )

เกณฑ์ การประเมิน
๔ หมายถึง ทำได้ดีมาก ๓ หมายถึง ทำได้ดี
๒ หมายถึง ทำได้พอใช้ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง

ความตั้งใจ ความร่ วมมือ ความมีวินยั คุณภาพของ การนำเสนอ รวม


เลขที่
(๔) (๔) (๔) ผลงาน (๔) ผลงาน (๔) (๒๐)

เกณฑ์ การประเมินการเขียน Mind Mapping


แนวทางการประเมินองค์ความรู้ ระบบความคิดรวบยอดจากแผนผังความคิด Mind Mapping

ระดับคะ หัวข้อการพิจารณา
แนน
ความคิดรวบยอด ความคิดรอง ความคิดย่อย การเชื่อมโยงความคิด ความสวยงาม

๔ เขียนแผนที่ความคิดที่ ขยายความคิดรองได้ ขยายความคิดย่อยได้ถูก เชื่อมโยงความคิดรวบ มีสีสวยงาม ประณี ต


แสดงความคิดรวบยอด ถูกต้อง ต้อง ยอดหลัก ความคิดรอง แยกประเด็นหลักประเด็นรอง
หลักถูกต้อง ครบทุกประเด็น ครบทุกประเด็น ความคิดย่อยได้ชดั เจน ประเด็นย่อยได้ชดั เจน
ตรงประเด็น
๓ เขียนแผนที่ความคิดที่ ขยายความคิดรองได้ ขยายความคิดย่อยได้ถูก เชื่อมโยงความคิดรวบ มีสีสวยงาม
แสดงความคิดรวบยอด ถูกต้อง แต่ไม่ครบทุก ต้อง ยอดหลัก ความคิดรอง แยกประเด็นหลักประเด็นรอง
หลักถูกต้อง ประเด็น มีจำนวนมาก แต่ไม่ครบทุกประเด็น มี ความคิดย่อยได้ ประเด็นย่อยได้
ประเด็น จำนวนมากประเด็น
๒ เขียนแผนที่ความคิดที่ ขยายความคิดรองได้ ขยายความคิดย่อยได้ถูก เชื่อมโยงความคิดรวบ มีสีสวยงาม
แสดงความคิดรวบยอด ถูกต้อง มีจำนวนน้อย ต้อง ยอดหลัก ความคิดรอง ไม่สามารถแยก ประเด็นหลัก
หลักถูกต้อง ประเด็น มีจำนวนน้อยประเด็น ความคิดย่อย ประเด็นรอง ประเด็นย่อย
๑ เขียนแผนที่ความคิดที่ ขยายความคิดรองได้ ขยายความคิดย่อยได้ไม่ ไม่เชื่อมโยงความคิด มีสีไม่สวยงาม
แสดงความคิดรวบยอด ไม่ถกู ต้อง ถูกต้อง รวบยอดหลัก ความ ไม่สามารถแยกประเด็นหลัก
หลักไม่ตรงประเด็น คิดรองความคิดย่อย ประเด็นรอง ประเด็นย่อย
แบบประเมินการเขียน Mind Mapping
กลุ่มที่.........................................................ห้อง....................

ประเด็น ความคิด ความคิด ความคิด การเชื่อมโยง ความ รวม


รวบยอด รอง ย่อย ความคิด สวยงาม คะแนน
ชื่อ – สกุล ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๒๐
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐.

ลงชื่อ.................................................ผูป้ ระเมิน
( )
วันที่........เดือน..................ปี ..............

เกณฑ์ การประเมิน ๔ หมายถึง ดีมาก


๓ หมายถึง ดี
๒ หมายถึง พอใช้
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง
เกณฑ์ การให้ คะแนนกระบวนการทำงานกลุ่ม

เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับ
ประเด็นการประเมิน
๓ ๒ ๑
๑. การกำหนด – สมาชิกทุกคนมีส่วน สมาชิกส่ วนใหญ่มี สมาชิกส่ วนน้อยมี
เป้ าหมายร่ วมกัน ร่ วมในการกำหนดเป้ า ส่ วนร่ วมในการ ส่ วนร่ วมในการ
หมายการทำงานอย่าง กำหนดเป้ าหมายใน กำหนดเป้ าหมายใน
ชัดเจน การทำงาน การทำงาน
๒. การแบ่งหน้าที่ กระจายงานได้อย่าง กระจายงานได้ทวั่ ถึง กระจายงานไม่ทวั่ ถึง
รับผิดชอบ ทัว่ ถึงและตรงตาม แต่ไม่ตรงตามความ
ความสามารถของ สามารถของสมาชิก
สมาชิกทุกคน
๓. การปฏิบตั ิหน้าที่ ทำงานได้สำเร็ จตาม ทำงานได้สำเร็ จตาม ทำงานไม่สำเร็ จตาม
ที่ได้รับมอบหมาย เป้ าหมายที่ได้รับมอบ เป้ าหมายแต่ชา้ กว่า เป้ าหมาย
หมาย ตามระยะเวลา เวลาที่กำหนด
ที่กำหนด
๔. การประเมินและ สมาชิกทุกคนร่ วม สมาชิกบางส่ วนมี สมาชิกบางส่ วนไม่มี
ปรับปรุ งผลงาน ปรึ กษาหารื อ ติดตาม ส่ วนร่ วมปรึ กษาหารื อ ส่ วนร่ วมปรึ กษาหารื อ
ตรวจสอบและปรับ – แต่ไม่ช่วยปรับปรุ งผล และไม่ช่วยปรับปรุ ง
ปรุ งผลงานเป็ นระยะ งาน ผลงาน
แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้......................... วิชา ..........................


ชั้น.................................................... กลุ่มที่…...........….....

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
๓ ๒ ๑
๑. การกำหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
๒. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
๓. การปฏิบตั ิตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
๔. การประเมินและปรับปรุ งผลงาน
รวม

ลงชื่อ ผูป้ ระเมิน


( )
เกณฑ์การประเมิน
๑๑ – ๑๒ = ดีมาก
๘ – ๑๐ = ดี
๕–๗ = พอใช้
๐–๔ = ปรับปรุ ง
เกณฑ์การประเมินการนำเสนอผลงาน

หัวข้ อการพิจารณา/ระดับการปฏิบัติหรือพฤติกรรม
ระดับ เนือ้ หา กลวิธีการนำเสนอ ขั้นตอนการนำเสนอ การใช้ ภาษา ตอบคำถาม/เวลา
คะแนน
๔ มีการเรี ยงลำดับเนื้ อหาได้ มีการนำเข้าสู่ เนื้ อเรื่ อง มี มีการนำเสนออย่างต่อ ออกเสี ยงถูกต้องตาม ตอบคำถามได้อย่างมี
ดี ความ สัมพันธ์กบั เนื้ อเรื่ อง เนื่องราบรื่ นเป็ นไปตาม อักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ ภูมิรู้ และมีความ
มีความต่อเนื่อง เร้าใจผูฟ้ ัง ขั้นตอน ภาษาเหมาะสม เข้าใจง่าย ชัดเจน มีแหล่งอ้างอิง
มีประโยชน์ มีความมัน่ ใจ มีการใช้สำนวนโวหาร ใช้เวลาตามกำหนด
ให้แง่คิด
๓ มีการเรี ยงลำดับเนื้ อหาได้ มีการนำเข้าสู่ เนื้ อเรื่ อง มี การนำเสนอต่อเนื่ อง มี ออกเสี ยงถูกต้องตาม ตอบคำถามได้ค่อนข้าง
ดี ความ สัมพันธ์กบั เนื้ อเรื่ อง การข้ามขั้นตอนบ้าง อักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ ชัด เจน มีแหล่งอ้างอิง
มีความต่อเนื่อง เร้าใจผูฟ้ ัง ภาษาเหมาะสมเข้าใจง่าย ใช้เวลาเกินกำหนด ๑
มีประโยชน์ ไม่มีความมัน่ ใจในการนำ ไม่มีการใช้สำนวนโวหาร นาที
ให้แง่คิดน้อย เสนอ
๒ มีการเรี ยงลำดับเนื้ อหาได้ มีการนำเข้าสู่ เนื้ อเรื่ อง มี การนำเสนอต่อเนื่ อง ออกเสี ยงถูกต้องตาม ตอบคำถามได้ไม่ค่อย
ดี ความ สัมพันธ์กบั เนื้ อเรื่ อง ไม่มีข้ นั ตอนเป็ นส่ วน อักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ ชัดเจน
มีความต่อเนื่อง ไม่ เร้าใจผูฟ้ ัง ใหญ่ ภาษาเข้าใจยาก ไม่มีการ มีแหล่งอ้างอิงเป็ นบาง
มีประโยชน์นอ้ ยให้แง่คิด ไม่มีความมัน่ ใจในการนำ ใช้สำนวนโวหาร ส่ วน
น้อย เสนอ ใช้เวลาเกินกำหนด
๒ นาที
๑ มีการเรี ยงลำดับเนื้ อหาได้ มีการนำเข้าสู่ เนื้ อเรื่ อง การนำเสนอ ออกเสี ยงถูกต้องตาม ตอบคำถามไม่ได้เป็ น
ดี ไม่มีความ สัมพันธ์กบั เนื้ อ ไม่ต่อเนื่องนำเสนอ อักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ ส่ วนใหญ่
ไม่มีความต่อเนื่ อง เรื่ อง ไม่เร้าใจผูฟ้ ัง สับสน ภาษาไม่เหมาะสม เข้าใจ ใช้เวลาเกินกำหนด ๕
มีประโยชน์นอ้ ยให้แง่คิด ไม่มีความมัน่ ใจ ยาก นาที
น้อย
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

กลุ่มที่............................................................ห้อง....................

เนื้อหา กลวิธี ขั้นตอน การใช้ การตอบ รวม


ประเด็น ๔ การนำ การนำเสนอ ภาษา คำถาม คะแนน
เสนอ ๔ ๔ /เวลา ๒๐
ชื่อ – สกุล ๔ ๔
สมาชิก
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.

ลงชื่อ......................................................ผูป้ ระเมิน
( )
วันที่......เดือน..............................ปี ................

เกณฑ์ การประเมิน ๔ หมายถึง ดีมาก


๓ หมายถึง ดี
๒ หมายถึง พอใช้
๑ หมายถึง ต้องปรับปรุ ง
เกณฑ์การให้คะแนนการแต่งบทร้อยกรอง
๑. รู ปแบบของฉันทลักษณ์
๔ คะแนน = มีฉนั ทลักษณ์ถูกต้องตามรู ปแบบคำประพันธ์
๓ คะแนน = มีฉนั ทลักษณ์ตามรู ปแบบคำประพันธ์แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด
๒ คะแนน = มีฉนั ทลักษณ์ที่ถูกต้องตามรู ปแบบคำประพันธ์เพียงเล็กน้อย
๑ คะแนน = มีฉนั ทลักษณ์ตามรู ปแบบคำประพันธ์แต่ไม่ถูกต้อง
๒. สาระ/ความรู้
๒ คะแนน = มีสาระความรู ้ครบถ้วนตามหัวข้อชื่อเรื่ องที่แต่ง
๑ คะแนน = มีสาระความรู ้เพียงเล็กน้อย ไม่ครบถ้วนตามหัวข้อหรื อชื่อเรื่ อง
๓. ข้ อคิด/คติธรรม
๒ คะแนน = มีขอ้ คิดและคติธรรมที่ครบถ้วนชัดเจน
๑ คะแนน = มีขอ้ คิดหรื อคติธรรมเพียงเล็กน้อย
๔. ใช้ คำเหมาะสมไพเราะ
๔ คะแนน = ใช้คำได้เหมาะสม และมีความไพเราะดี
๓ คะแนน = ใช้คำเป็ นเพียงบางคำที่เหมาะสม และมีความไพเราะ
๒ คะแนน = ใช้คำไม่ได้เหมาะสม แต่มีความไพเราะพอสมควร
๑ คะแนน = ใช้คำเหมาะสมบ้าง และมีความไพเราะเพียงเล็กน้อย
๕. เรียบเรียงถ้ อยคำ/สัมผัส
๔ คะแนน = เรี ยบเรี ยงถ้อยคำได้ดีมีสมั ผัสคล้องจองครบถ้วน
๓ คะแนน = เรี ยบเรี ยงถ้อยคำมีสมั ผัสคล้องจองแต่ไม่ครบถ้วนทุกคำ
๒ คะแนน = เรี ยบเรี ยงถ้อยคำมีสมั ผัสคล้องจองที่ถูกต้องเพียงบางคำ
๑ คะแนน = มีการเรี ยบเรี ยงถ้อยคำมีสมั ผัส แต่ไม่ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
๖. ความหมายตรงเนือ้ เรื่อง
๒ คะแนน = ใช้คำที่มีความหมายตรงหัวข้อเรื่ อง
๑ คะแนน = ใช้คำมีความหมายใกล้เคียงแต่ไม่ตรงเรื่ อง
๗. ความคิดสร้ างสรรค์
๒ คะแนน = มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
๑ คะแนน = มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์เพียงเล็กน้อย

แบบประเมินชิ้นงาน

รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
๑…………………………………….เลขที่……………ชั้น…………..
๒…………………………………….เลขที่……………ชั้น…………..
๓…………………………………….เลขที่……………ชั้น…………..
๔…………………………………….เลขที่……………ชั้น…………..
๕…………………………………….เลขที่……………ชั้น…………..
๖.…………………………………….เลขที่……………ชั้น………….

ชิ้นงานเรื่อง……………………..

คะแนน
เกณฑ์ การประเมิน คะแนนทีไ่ ด้
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
๑. รู ปแบบถูกต้อง
๒. จัดรู ปแบบน่าสนใจ สวยงาม
๓. ความครบถ้วนในเนื้ อหาสาระที่เสนอ
๔. การใช้คำเหมาะสม
๕. การสะกดคำถูกต้อง

ลงชื่อ………………….…………… ผูป้ ระเมิน


( )
แบบประเมินคุณภาพผลงานการแต่ งบทร้ อยกรอง

คุณค่า ความงามของภาษา

รวมคะแนน
การประเมินผลงาน
แต่งบทร้อยกรอง หมายเหตุ

ความคิดสร้างสรรค์
เรี ยบเรี ยงคำ/สัมผัส
ความหมายตรงเรื่ อง
ข้อคิด / คติธรรม
ใช้คำเหมาะสมไพเราะ
รู ปแบบของฉันท์ลกั ษณ์
สาระ / ความรู ้

กลุ่มที่ ๔ ๒ ๒ ๔ ๔ ๒ ๒ ๒๐









๑๐
๑๑
๑๒
๑๓

ลงชื่อ ผูป้ ระเมิน


(.............................................)

แบบประเมินการเขียนเรื่องสั้ น กลุ่มที่……
คำชี้แจง ขีดเครื่องหมาย ( / ) ในช่ องที่ผ่านการประเมิน
รายการประเมิน
๑. ชื่อ และจำนวนตัวละครที่ปรากฏมีความเหมาะสม ๒ คะแนน
๒. แนวคิดของเรื่ องมีความน่าสนใจ ๒ คะแนน
๓. ฉาก ( เวลา สถานที่ ) เหมาะสม ๒ คะแนน
๔. ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับเรื่ อง ๒ คะแนน
๕. มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ๒ คะแนน
รายการประเมิน / เกณฑ์การประเมิน รวม
เลขที่

ชื่อ – สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๐
๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐

หมายเหตุ ๑. เกณฑ์การประเมิน ๒ หมายถึง ดี


๑ หมายถึง พอใช้
๐ หมายถึง ต้องปรับปรุ ง
๒. ผลการประเมินแต่ละเกณฑ์ นักเรี ยนต้องได้ระดับ ๑ ขึ้นไปทุกรายการจึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์
( ลงชื่อ )…………………………………..ผูป้ ระเมิน
( .......................................... )
แบบประเมินการอ่ าน
คำชี้แจง ขีดเครื่องหมาย ( / ) ในช่ องที่ผ่านการประเมิน
รายการประเมิน
๑. อ่านออกเสี ยงคล่องแคล่ว ชัดเจน ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒ คะแนน
๒. การเว้นวรรคตอนถูกต้อง ๒ คะแนน
๓. ไม่อ่านตกหล่น หรื อตู่ตวั ๒ คะแนน
๔. จับหนังสื อถูกต้อง ๒ คะแนน
๕. ใช้น ้ำเสี ยงได้เหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน ๒ คะแนน
รายการประเมิน / เกณฑ์การประเมิน รวม
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๐
เลขที่

ชื่อ – สกุล
๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐.
หมายเหตุ ๑. เกณฑ์การประเมิน
๒ หมายถึง ดี
๑ หมายถึง พอใช้
๐ หมายถึง ต้องปรับปรุ ง
๒. ผลการประเมินแต่ละเกณฑ์ นักเรี ยนต้องได้ระดับ ๑ ขึ้นไปทุกรายการจึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์
( ลงชื่อ )……………………………………..ผูป้ ระเมิน
( ………………………. )
แบบประเมินการอ่ านบทร้ อยกรอง
คำชี้แจง ขีดเครื่องหมาย ( / ) ในช่ องที่ผ่านการประเมิน
รายการประเมิน
๑. อ่านเสี ยงดัง ฟังชัด ๒ คะแนน
๒. อ่านไพเราะ น้ำเสี ยงนุ่มนวล ๒ คะแนน
๓. อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี และถูกวรรคตอน ๒ คะแนน
๔. อ่านทำนองเสนาะถูกต้องตามประเภทของบทร้อยกรอง ๒ คะแนน
๕. มีบุคลิกดี มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง ๒ คะแนน
ชื่อ – สกุล รายการประเมิน/เกณฑ์การประเมิน
เลขที่

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ รวม
๑๐
๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๗.
๘.
๙.
๑๐.
หมายเหตุ ๑. เกณฑ์การประเมิน ๒ หมายถึง ดี
๑ หมายถึง พอใช้
๐ หมายถึง ต้องปรับปรุ ง
๒. ผลการประเมินแต่ละเกณฑ์ นักเรี ยนต้องได้ระดับ ๑ ขึ้นไปทุกรายการจึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์
( ลงชื่อ )……………………………………..ผูป้ ระเมิน
( นาง........................................ )
แบบสั งเกตพฤติกรรมนักเรียน
คำชี้แจง ให้ทำเครื่ องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่กำหนด
ชั้น…………โรงเรี ยน…………………………………ภาคเรี ยนที่……………….
บทที่……………แผนการสอนที่………………………..เรื่ อง…………………….………………..

ผ่าน / ไม่ผา่ นสรุ ปผลการประเมิน


รายการสังเกต

เลข
ที่

ชื่อ – สกุล
ในการฟังและพูดมีมารยาท
สนในเรื่ องที่เรี ยน

หรื อเติมคำอ่านไม่ต่คำ

ได้ถูกต้องทำใบงาน
ได้ถูกต้องจับหนังสื อ
เสี ยงดัง ฟังชัดอ่านคำได้ถูกต้อง
ในการอ่านมีสมาธิ


๒๑ ๐ ๒๑ ๐ ๒๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒๑ ๐ ๒๑ ๐ ๒๑ ๐









๑๐
๑๑


๑๓
๑๔
๑๕
เกณฑ์ การให้ คะแนน ๒ = ดี, ๑ = ปานกลาง, ๐ = ต้ องปรับปรุ งแก้ไข
(ลงชื่อ)……………………………………….ผูป้ ระเมิน
วันที่……….เดือน…………………….พ.ศ………………
แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ชื่อกลุ่ม........................................................................กลุ่มที่.................
สมาชิกกลุ่ม ๑. ....................................................................เลขที่....................
๒. ....................................................................เลขที่....................
๓. ....................................................................เลขที่....................
๔. ....................................................................เลขที่....................

ระดับการประเมิน
รายการประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
๑. ความรับผิดชอบเอาใจใส่ ทำงานเสร็ จทันตาม
กำหนดเวลา
๒. รักการทำงาน มีวนิ ยั ในการทำงาน เห็นคุณค่าและ
ความสำคัญของงาน
๒. มีน ้ำใจรู้จกั แบ่งปัน ใจกว้างมีเหตุผล ยอมรับฟัง
ความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
๔. ให้ความร่ วมมือในการทำงานภายในกลุ่มและทำงาน
ร่ วมกับผูอ้ ื่น
๕. มีความสนใจใฝ่ รู้ (แสวงหาความรู้ )
๖. รักความเป็ นไทย
๗. มีมารยาทในการอ่าน และ การฟัง การดูและการพูด

เกณฑ์การประเมิน
๔ หมายถึง ระดับดีมาก
๓ หมายถึง ระดับดี
๒ หมายถึง ระดับพอใช้
๑ หมายถึง ระดับปรับปรุ ง
เกณฑ์การผ่าน : แต่ละรายการต้องไม่นอ้ ยกว่า ระดับ ๓

You might also like